The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Wimol Chanalert, 2019-07-25 02:26:40

เนื้อหามีมุม

เนื้อหามีมุม

51
ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม
ลกั ษณะปจั จัยแวดล้อมทางกายภาพ
ธรณีวิทยา : พื้นที่ประกอบด้วยหินปูน น้าตกวังสายทองเป็นน้าตก
ที่มี 6 ช้ัน น้าตกมีความกว้างประมาณ 50 เมตร มีความสูงประมาณ 20
เมตร ช้ันท่ี 1-5 แต่ละชั้นมีความสูงเฉลี่ย 50-100 เซนติเมตร ส่วน
ช้ันท่ี 6 มีความสูงประมาณ 8 เมตร บริเวณช้ันน้าตกแสดงลักษณะ
หินย้อยที่มีอิทธิพลจากการไหลของน้าตก น้าตกหันหน้าไปทาง
ทศิ ตะวันออก มีการพอกของคราบหินปูนเป็นแอ่งคล้ายสระน้าขนาดเล็ก
พอกเป็นชั้นที่ระดับความสูงต่าง ๆ ลดหล่ันกันลงมา ลักษณะเช่นน้ี
เกิดจากลาธารที่ไหลผ่านเทือกเขาหินปูนได้นาพาสารละลายแคลเซียม
คาร์บอเนตและตะกอนแขวนลอยมา แล้วเกิดการสะสมพอกตัว
เปน็ คราบหนิ ปนู นอกจากนี้คราบหินปูนท่ีน้าตกวังสายทองยังมีรูพรุนสูง
ทาใหม้ ตี ัวยดึ เกาะชว่ ยทาให้เดนิ ไดโ้ ดยไม่ล่ืน
ลักษณะภูมปิ ระเทศ : เปน็ ภเู ขาหินปนู สลบั ซบั ซ้อน
นา้ : มนี า้ ไหลตลอดท้งั ปี
ขยะ : พบเห็นขยะในเสน้ ทางและบรเิ วณ
นา้ ตกจานวนมาก
ลกั ษณะปจั จัยแวดลอ้ มทางชีวภาพ
พชื พรรณ : บรเิ วณน้าตกเปน็ พชื พรรณท่มี กั ขนึ้ ริมน้าและ
พืชสงั คมป่าหนิ ปนู และยงั มพี ชื ป่าดิบชนื้ ด้วย
สตั วป์ า่ : สตั วท์ สี่ ามารถพบบ่อย ไดแ้ ก่ กระรอก หมูปา่
กระจง และนกชนิดต่าง ๆ เป็นต้น

52
ทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม
ปญั หาทรัพยากรธรรมชาตใิ นพ้ืนท่นี ้าตกวงั สายทอง
น้าตกส่วนใหญ่พบว่ามีการใช้ประโยชน์ด้านท่องเที่ยวและ
นันทนาการ ท้ังท่ีเป็นที่นิยมในระดับท้องถ่ิน ไปจนถึงระดับประเทศและ
ระดับนานาชาติ จึงทาให้บริเวณน้าตกมีการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิทัศน์
และมีการพัฒนาสิ่งอานวยความสะดวกเพ่ือรองรับการท่องเท่ียว ส่วน
ใหญ่น้าตกมีการจัดการปรับปรุงภูมิทัศน์อยู่ในระดับค่อนข้างดี มีการจัด
ระเบียบรา้ นค้า นอกจากนยี้ ังมปี ัญหาเกดิ จากน้ามือของมนุษย์ ที่พบมาก
ขน้ึ ทกุ ขณะ ปัญหาทีพ่ บ มีดงั น้ี
1. น้าตกถูกทาลายโดยการพัฒนาขนาดใหญ่ เช่น การสร้างเข่ือน
การเก็บกักน้าเหนือเขื่อน หรือการเปลี่ยนแปลงทางน้าทาให้ลาน้า
และน้าตกสวยงามหลายแห่งจมอยู่ในอ่างเก็บน้าเหนือเข่ือน ทาให้น้า
ทีเ่ คยไหลลงส่นู ้าตกมีน้อยลงหรือไมม่ เี ลย
2. น้าตกถูกทาลายหรอื สญู เสยี ความงดงามจนกลายเป็นแหล่งเสื่อมโทรม
เนอ่ื งจากการพฒั นาเพื่อรองรบั การท่องเทย่ี วอยา่ งขาดความรอบคอบ
3. ความแออัดในแหล่งน้าตกท่ีเป็นแหล่งท่องเที่ยว โดยเฉพาะช่วง
เทศกาล ทาให้ปัญหาท่ีเกิดขึ้น เช่น ปัญหาขยะของเสีย มีความรุนแรง
มากข้นึ ปญั หาผมู้ าใช้น้าตกไม่ไดร้ บั ความประทับใจ เนอ่ื งจากปริมาณคน
ที่มากเกินไป

53
ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม
4. น้าตกถูกทาลายโดยภัยธรรมชาติ เช่น การเปลี่ยนแปลงทางน้า โดย
แผ่นดินไหว ดินถล่ม เป็นตน้
5. ความขัดแย้งในสังคม เช่น ปัญหาการใช้น้าระหว่างเพ่ือการท่องเที่ยว
กบั เพอ่ื การเกษตร
6. การขาดแนวทางที่เหมาะสมในการรับมือและป้องกันผลกระทบด้าน
ต่าง ๆ ทั้งจากกิจกรรมมนุษย์และการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศท่ี
อาจมตี อ่ ระบบนิเวศของแหลง่ ธรรมชาตปิ ระเภทน้า

54
ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม
แนวทางอนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติในพน้ื ท่นี า้ ตกวงั สายทอง
มาตรการจัดระเบียบร้านค้าและปรับภูมิทัศน์ในแหล่งน้าตก
ควรจาแนกเขตการใช้พ้ืนท่ีให้เหมาะสม ร้ือถอนสิ่งก่อสร้างที่อยู่ใกล้ตัว
น้าตก และจัดระเบียบรา้ นคา้ ให้ดูสะอาดและไมร่ กรงุ รงั สาหรับน้าตกท่ีมี
ปัญหาเร่ืองภูมิทัศน์ ควรมีมาตรการในการจัดเขตการใช้พ้ืนที่และมีการ
พัฒนาสิ่งอานวยความสะดวกที่กลมกลืนกับสภาพภูมิทัศน์ และอยู่ใน
ตาแหนง่ ทเี่ หมาะสม นอกจากนั้น จาเป็นต้องมีการจัดการเกี่ยวกับความ
ขัดแย้งในการใชน้ ้า โดยเฉพาะในช่วงฤดูแล้ง เพื่อให้สามารถมีน้าทั้งภาค
การเกษตร และนา้ หลอ่ เล้ียงสภาพนา้ ตกให้ยงั คงความชมุ่ ช้นื
สาหรับพฤติกรรมของนักท่องเที่ยวที่ไม่เหมาะสม เช่น ท้ิงขยะ
ไม่เป็นที่ เมาสุราและสง่ เสยี งดงั ควรมมี าตรการจัดการกับพฤติกรรมของ
นักท่องเท่ียวท่ีไม่เหมาะสม ได้แก่ การขอความร่วมมือ การบังคับใช้
กฎระเบียบอย่างเคร่งครัด เป็นต้น ในแหล่งน้าตกหินปูนท่ีมีการปีนป่าย
เหยียบย่าของคนเป็นจานวนมากต่อเนื่องกันในน้าตก จนกระทั่งหินปูน
ไม่สามารถก่อฟอร์มตัวอย่างเป็นธรรมชาติได้ ดังนั้น เพื่อความสวยงาม
ของการก่อตัวของหินปูน จึงควรกาหนดเขตท่ีอนุญาตให้นักท่องเท่ียวลง
เล่นน้าในบางจดุ เท่านั้นและปิดจุดทมี่ ีสภาพเส่ือมโทรมเพื่อให้เกิดการฟ้ืน
ตวั ตามธรรมชาติ

55
ทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม
ประชาสัมพันธ์ในชุมชนในพื้นท่ีรู้จักแหล่งธรรมชาติอันควร
อนุรักษ์ ให้ข้อมูล ความรู้ที่ถูกต้องเก่ียวกับการใช้ประโยชน์ที่เหมาะสม
และใหท้ ราบถึงความสาคญั ของแหลง่ ธรรมชาติน้นั ๆ
กระตุ้นทุกรูปแบบให้เกิดการมีส่วนร่วมของประชาชนท้องถ่ิน
และหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง สร้างเครือข่ายของชุมชนในการป้องกันการ
ลักลอบทาลายแหลง่ ธรรมชาติ

56
ทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม
แนวทางการต้งั รับและการปรับตัวสาหรับหน่วยงานและชุมชน
ควรติดตามและเฝ้าระวงั การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศอย่าง
ต่อเน่ืองเพื่อทราบถึงสถานการณ์ในแต่ละปีโดยเฉพาะช่วงฤดูแล้ง ซึ่งจะ
ส่งผลกระทบต่อปริมาณน้าตก และปริมาณน้าใช้ที่ชุมชนบริเวณโดยรอบ
ตอ้ งการ
ควรมีการอนุรักษ์และฟ้ืนฟูไม้ริมน้าสาหรับให้เป็นแนวกันชน
ริมน้า (Riparian zone) เพื่อรักษาความชุ่มช้ืน และลดการสูญเสียน้า
จากการระเหยน้าบริเวณผวิ หนา้ ลาธารหรอื แหลง่ นา้ เหนือน้าตกได้
ควรมีการกักเก็บหรือสารองน้าอุปโภค/บริโภคไว้สาหรับใช้
ในชว่ งฤดูแล้งโดยการสร้างสระขนาดเลก็ ในชุมชน
ควรให้หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องกับการเกษตร เช่น กรมวิชาการ
เกษตร กรมพัฒนาที่ดิน ส่งเสริมและให้ความรู้เก่ียวกับพืชทนแล้ง และ
พืชใช้น้าน้อยเพ่ือให้เกษตรกรปรับเปลี่ยนการปลูกพืชในช่วงแล้งได้ ซึ่ง
จะลดการใช้น้า และลดความเสียหายของพืชเกษตรจากการขาดน้า
ใหก้ บั เกษตรกรเองด้วย
ควรมกี ารควบคมุ ไฟป่า และการเผาซากพืชในพ้ืนท่ีเกษตรกรรม
ของชุมชนในบริเวณโดยรอบน้าตกโดยเฉพาะเหนือน้าตกเนื่องจากช่วง
ฤดูแล้งสภาพอากาศจะแห้งประกอบกับอุณหภูมิสูงขึ้นจึงง่ายต่อการเกิด
ไฟ และลุกลามไปยงั บริเวณข้างเคยี งได้ง่าย

57
ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม
แนวทางตัง้ รับและการปรบั ตัวสาหรบั การทอ่ งเที่ยว
สาหรับน้าตกบางแห่งที่มีปริมาณน้ามากในช่วงฤดูฝน และมีน้า
น้อยในช่วงฤดูแล้ง ควรจัดทาแหล่งกักเก็บหรือสารองน้าเหนือบริเวณ
น้าตกเพ่ือให้มีน้าไหลหล่อเลี้ยงระบบนิเวศน้าตกได้ตลอดปี เนื่องจาก
หากปล่อยให้น้าตกขาดน้าไปเลยอาจกระทบต่อการฟื้นฟูสภาพน้าตก
และกระทบต่อความสวยงามของนา้ ตกได้
เนื่องจากมีแนวโน้มที่อุณหภูมิสูงสุดจะมากขึ้น และปริมาณ
น้าฝนน้อยลงในช่วงฤดูแล้ง จึงควรมีการประชาสัมพันธ์ให้กับ
นักท่องเที่ยวเก่ียวกับช่วงเดือนที่เหมาะสมท่ีจะท่องเท่ียวในแต่ละน้าตก
รวมทั้งสภาพอากาศที่อาจร้อนจัดขึ้นในบางเดือนซึ่งต้องเตรียมการ
ป้องกนั ภาวะขาดน้าหรือภาวะลมแดดของนกั ท่องเท่ยี วดว้ ย
ควรมีการพัฒนากิจกรรมท่องเท่ียวอื่นๆในพื้นท่ี เช่น การศึกษา
ธรรมชาติ การป่ันจักรยาน และอ่ืนๆ เพื่อให้นักท่องเท่ียวมีทางเลือกใน
การประกอบกจิ กรรมมากข้ึนในช่วงฤดแู ลง้ ที่มีนา้ น้อยในน้าตก

58
ทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม

59
ทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม

60
ทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม

61
ทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม

62
ทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม

63
ทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม

64
ทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม


Click to View FlipBook Version