The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

SAR 62 โรงเรียนเพียงหลวง ๒ ในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wcr_t, 2021-09-21 00:06:42

SAR 62 โรงเรียนเพียงหลวง ๒

SAR 62 โรงเรียนเพียงหลวง ๒ ในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี

คำนำ

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self – Assessment Report : SAR)
ปกี ารศึกษา 2562 ฉบับน้ี เป็นการนำเสนอผลการดำเนินงานในการพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาในรอบ
ปีทผี่ า่ นมา ซ่ึงเปน็ ผลมาจากการดำเนินงานทั้งหมดของสถานศึกษาท่ีครอบคลมุ มาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษา และนำเสนอรายงานต่อคณะกรรมการสถานศึกษา หน่วยงานตน้ สังกัด หน่วยงานทเ่ี กีย่ วข้อง และ
เปิดเผยใหส้ าธารณชนไดร้ ับทราบ ซงึ่ รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา จะเปน็ ฐานขอ้ มลู ในการพัฒนา
สถานศกึ ษา และรองรบั การประเมนิ คุณภาพภายนอก

หวังเปน็ อย่างย่งิ วา่ เอกสารฉบับน้ี จะเปน็ ประโยชน์ในการวางแผนพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษาให้ดี
ยิง่ ขึน้ ตอ่ ไป

โรงเรยี นเพียงหลวง ๒
ในทลู กระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สริ ิวฒั นาพรรณวดี

สารบญั

เรื่อง หน้า
ส่วนท่ี 1 ขอ้ มลู พนื้ ฐาน 1
1
1.1 ขอ้ มูลทวั่ ไป 1
1.2 ขอ้ มูลครูและบุคลากร 4
1.3 ข้อมูลนักเรยี น 7
1.4 สรุปขอ้ มูลผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นระดับสถานศึกษา 9
1.5 ผลการทดสอบระดับชาติของผูเ้ รยี น 16
1.6 สรปุ การใชแ้ หล่งเรยี นร้ภู ายในและภายนอกสถานศกึ ษา 18
1.7 ข้อมลู งบประมาณ 18
1.8 ข้อมูลสภาพชุมชนโดยรวม 18
1.9 ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ. 2554-2558) 20
ส่วนที่ 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา 20
2.1 ผลการดำเนนิ งานตามมาตรฐานการศึกษา เพ่ือการประกันคุณภาพภายใน
ของสถานศึกษาระดับการศกึ ษาปฐมวยั 35
2.2 ผลการดำเนินงานตามมาตรฐานการศึกษา เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
ของสถานศกึ ษาระดับการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน ( 3 มาตรฐาน ) 48
สว่ นท่ี 3 สรุปผล แนวทางการพัฒนาและความต้องการการชว่ ยเหลอื 48
3.1 จุดเดน่ ของสถานศึกษา 48
3.2 จุดทคี่ วรพฒั นาของสถานศึกษา 50
3.3 แนวทางการพฒั นาในอนาคต 50
3.4 ความตอ้ งการการช่วยเหลอื 51
ส่วนที่ 4 ภาคผนวก
4.1 คำสัง่ แตง่ ตั้งคณะกรรมการประเมนิ คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา
4.2 ประกาศโรงเรียน เรอ่ื ง ใหใ้ ชม้ าตรฐานการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ระดบั การศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน
เพือ่ การประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษา
4.3 ประกาศโรงเรียน เร่อื ง กำหนดคา่ เป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาข้นั พนื้ ฐานระดับ
การศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน เพ่ือการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
4.4 บันทึกการใหค้ วามเหน็ ชอบรายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา

ส่วนท่ี 1

ข้อมลู พื้นฐาน

1.1 ข้อมูลท่วั ไป

ชือ่ สถานศึกษาโรงเรยี นเพียงหลวง ๒ ในทูลกระหมอ่ มหญิงอบุ ลรัตนราชกญั ญา สิริวัฒนาพรรณวดี ตั้งอย่เู ลขท่ี -

หมู่ 7 ตำบลสายตะกู อำเภอบ้านกรวด จงั หวัดบุรีรมั ย์ รหัสไปรษณยี ์ 31180 โทรศัพท.์ .....-....โทรสาร.........

อีเมล์ [email protected] website:.........-..........กลมุ่ เครอื ขา่ ยพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาบา้ นกรวด 3

สังกัด สำนักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษาบรุ รี มั ย์ เขต 2

เปดิ สอนระดบั ชัน้ อนบุ าล 1 ถึงระดบั ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 3 เขตพ้ืนท่ีบรกิ าร 3 หมบู่ า้ นได้แก่ หมู่ 7 หมู่ 9 หมู่ 16

วนั -เดือน-ปี ท่ีกอ่ ตงั้ 1พฤษภาคม 2524

ผู้บรหิ ารคนปจั จุบัน ชือ่ นายไพเรศ เสชัง วทิ ยฐานะ ชำนาญการพิเศษ

วฒุ ิการศกึ ษาสูงสดุ กศ.ม. สาขา การบรหิ ารการศึกษา

ดำรงตำแหนง่ ทโ่ี รงเรียนน้ีต้ังแต่ 9 กรกฎาคม 2555 จนถึงปัจจุบนั เป็นเวลา..7...ป.ี .10....เดอื น

1.2 ข้อมูลครูและบุคลากร ปีการศึกษา 2561

1) จำนวนขา้ ราชการครูและบุคลากร

ตำแหนง่ ผ้อู ำนวยการ รองผูอ้ ำนวยการ ครผู ู้สอน พนักงาน ครูอัตรา นักการภารโรง เจา้ หน้าที่อื่นๆ
ราชการ จ้าง

จำนวน(คน) 1 - 14 - 1 1 2

หมายเหตุ เจ้าหน้าที่อืน่ ๆ

จานวนข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา

ปกี ารศึกษา 2562

16 14
14

12

10

8

6

4

21 0 0 1 1 2
0
พนักงานราชการ ครูอัตราจ้าง นักการภารโรง เจ้าหนา้ ท่อี ่นื ๆ
ผู้อานวยการ รองผู้อานวยการ ครผู ้สู อน

2

2) วทิ ยฐานะ ครูผชู้ ่วย คศ.1 คศ.2 คศ.3 คศ.4
วิทยฐานะ 2 4 2 70

จำนวน (คน) วิทยฐานะของขา้ ราชการครู ปีการศึกษา 2562

ครผู ชู้ ่วย คศ.1 คศ.2 คศ.3 คศ.4

0%

47% 40%

13%

0%

3) วฒุ ิการศกึ ษาสูงสดุ ของบุคลากร

วฒุ กิ ารศกึ ษา ม.6 ปวช. ปวส. ปรญิ ญา ป. ปริญญาโท ปริญญาเอก
20 ตรี บณั ฑติ
จำนวน (คน)
0 13 0 3 0

วุฒกิ ารศกึ ษาสงู สุดของบคุ ลากร
ปีการศกึ ษา 2562

ม.6 ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ป.บัณฑติ ปริญญาโท ปรญิ ญาเอก

0% 0% 11% 0%0%
17%

72%

3

4) สาชาวิชาท่จี บการศกึ ษาของขา้ ราชการครแู ละภาระงานสอน

วิชาเอก จำนวน (คน) ภาระการสอนของครู 1 คน (ชม./
สปั ดาห์)
ประถมศกึ ษา 2
ปฐมวัย 1 25
คณิตศาสตร์ 1 25
ภาษาไทย 3 21
พลศกึ ษา 1 17
สังคมศึกษา 1 18
ภาษาองั กฤษ 1 19
อตุ สาหกรรม 1 18
เทคโนโลยีเพือ่ การศึกษา 1 18
คอมพวิ เตอร์ 1 25
วิทยาศาสตร์ 1 25
18

สาขาวชิ าท่จี บและภาระงานสอนของครู

30 ประถมศกึ ษา
25 25 25 ปฐมวยั
คณติ ศาสตร์
20 ภาษาไทย
พลศกึ ษา
15 สงั คมศกึ ษา
ภาษาอังกฤษ
10 วิทยาศาสตร์

5 21 ภาระการสอนของครู 1 คน (ชม./
0 สปั ดาห์)

จานวน (คน)

4

1.3 ข้อมูลนกั เรยี น

จำนวนนกั เรยี นปีการศึกษา 2562 รวมทง้ั ส้นิ 164 คน

จำแนกตามระดบั ชนั้ ทเ่ี ปดิ สอน ดงั นี้

ระดับชั้น ชาย หญงิ รวม
0
อนุบาล 3 ขวบ 6 15
3 11
อนบุ าล 1 9 9 26
8 16
อนุบาล 2 8 9 18
6 10
รวมอนุบาล 17 9 14
11 13
ประถมศกึ ษาปีที่ 1 8 9 22
52 93
ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 9 6 14
9 20
ประถมศึกษาปีท่ี 3 4 6 11
21 45
ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 5 82 164

ประถมศกึ ษาปีที่ 5 2 ชาย
หญิง
ประถมศึกษาปีที่ 6 13 รวม

รวมประถม 41

มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 8

มัธยมศึกษาปที ี่ 2 11

มัธยมศึกษาปีที่ 3 5

รวมมธั ยมศึกษาตอนตน้ 24

รวมทัง้ หมด 82

จานวนนักเรียนชายหญงิ ระดบั ปฐมวยั ปีการศกึ ษา 2562

จานวน(คน) 30 15 11 26
9 8 17
20
6 3 9
10
0 อนุบาล 1 อนบุ าล 2 รวมอนบุ าล

0 ชัน้
อนุบาล 3 ขวบ

จานวน(คน) จานวนนักเรยี นชายหญงิ ระดบั ประถมศึกษา ปกี ารศึกษา 2562 5

40 ชาย
30 หญงิ
20 รวม
10
0

จานวนนักเรียนชายหญงิ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น ปี 2562

45

45

40

35

จานวน(คน) 30 24 ชาย
25 20 21 หญงิ
รวม
20 14 11 9 11
15 56
10 8 6

5

0

1.4 ผลการจัดการศึกษาตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา 6

ระดับการศึกษาปฐมวัย ปรบั ปรงุ
จำนวน รอ้ ยละ
1.4.1 ผลพฒั นาการเดก็
0 0.00
จำนวนเดก็ ผลการประเมนิ ของเด็กตามระดับคณุ ภาพ 0 0.00
1 3.70
พฒั นาการ ทเี่ ข้าประเมิน ดี พอใช้ 1 3.70

จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ

ดา้ นร่างกาย 27 25 92.59 2 7.41

ดา้ นอารมณ์และจิตใจ 27 19 70.37 8 29.63

ด้านสติปญั ญา 27 14 51.85 12 44.44

ด้านสังคม 27 23 85.19 3 11.11

ผลการประเมินพฒั นาการของเดก็ ระดบั ปฐมวัยปีการศึกษา.......

100
50
0

ระดรบัะดดบั ี ดี รระะดดบับั พพออใใชช้ ้ ระดระบั ดปบัรบั ปปรรับุง ปรงุ

7

1.4 ข้อมูลผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นระดบั สถานศึกษา
1) ร้อยละของนักเรียนท่ีมีผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน 8 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ อย่ใู นระดบั ดีขน้ึ ไป

1ระดับชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 - 6 ปีการศึกษา 2562

จำนวนนกั เรียนทไี่ ดเ้ กรด 3 ขน้ึ ไป รวม

วชิ า ป. ป.2 ป. ป. ป.5 ป.6 นร.ระดับ คดิ เปน็
1 3 4 3 ข้นึ ไป รอ้ ยละ
ภาษาไทย
คณติ ศาสตร์ 12 11 10 10 10 14 67 72.04
วทิ ยาศาสตร์
11 8 4 5 3 5 36 38.71
สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม
11 13 6 7 7 2 46 49.46
ประวัตศิ าสตร์
สุขศึกษาและพลศกึ ษา 15 18 10 9 10 15 77 82.80
ศลิ ปะ
11 18 10 8 7 13 67 72.04
การงานอาชพี และเทคโนโลยี
16 18 10 14 13 17 88 94.62
ภาษาอังกฤษ
หนา้ ท่ีพลเมือง 16 18 10 14 13 12 83 89.25

16 18 10 14 13 22 93 100.00

7 9 4 14 11 7 52 55.91

16 18 10 11 11 12 78 83.87

นักเรยี นท้ังหมดแต่ละช้นั 16 18 10 14 13 22 93 100.00

รอ้ ยละของนกั เรียนชั้นป.6ท่ีมีผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนระดบั ดีข้ึนไป จาแนกตามรายวชิ า

หนา้ ท่ีพลเมอื ง 55.91 83.87
ภาษาองั กฤษ
การงานอาชีพและเทคโนโลยี 49.46 100.00
38.71 89.25
ศลิ ปะ
สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 94.62
72.04
ประวตั ิศาสตร์
สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม 82.80

วิทยาศาสตร์ 72.04
คณิตศาสตร์

ภาษาไทย

0.00 20.00 40.0ร0้อยละ 60.00 80.00 100.00

8

2) ร้อยละของนกั เรยี นที่มีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน 8 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ อยู่ในระดับดขี ึ้นไป

ระดับช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 1 -3 ปีการศึกษา 2562

จำนวนนกั เรยี นทไ่ี ดเ้ กรด 3 ขนึ้ ไป รวม รวม
นร นร

ม.1 ม.2 ม.3 ภ.1. ภ.2.
ระดับ คิดเปน็ ระดบั คดิ เปน็

3 ขน้ึ 3 ข้นึ

วิชา ภ.1 ภ.2 ภ.1 ภ.2 ภ.1 ภ.2 ไป รอ้ ยละ ไป ร้อยละ

ภาษาไทย 1 3 7 2 4 4 12 26.67 9 20.00

คณติ ศาสตร์ 1 1 3 3 2 0 6 13.33 4 8.89

วิทยาศาสตร์ 3 1 4 0 2 0 9 20.00 1 2.22

สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม 7 6 10 16 6 6 23 51.11 28 62.22

สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา 13 12 18 18 10 10 41 91.11 40 88.89

ศลิ ปะ 6 8 1 7 3 6 10 22.22 21 46.67

การงานอาชพี และเทคโนโลยี 13 12 18 18 7 7 38 84.44 37 82.22

ภาษาองั กฤษ 2 3 6 6 5 5 13 28.89 14 31.11

นักเรยี นทั้งหมดแต่ละช้ัน 14 14 20 20 11 11 45 100 45 100

รอ้ ยละของนักเรียนชนั้ ม.1-3 ทม่ี ีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น ระดับดีขน้ึ ไป ปีการศึกษา 2562

ภาษาอังกฤษ 283.819.11
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
22.22 46.67 828.42.244 ภาคเรียนที่ 2
ศลิ ปะ 889.18.911 ภาคเรียนท่ี 1
สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา
สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม 51.11 62.22

วิทยาศาสตร์ 2.22 20.00
คณิตศาสตร์ 8.8913.33
20.0026.67
ภาษาไทย

0.00 20.00 40.00 60.00 80.00 100.00

9

1.5 ผลการทดสอบระดบั ชาติของผูเ้ รียน ประจำปีการศึกษา 2562
1) ผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพืน้ ฐานผเู้ รียนระดับชาติ (NT) ประจำปีการศกึ ษา 2562

ด้าน คะแนนเฉล่ยี ร้อยละ คะแนนเฉลี่ยรอ้ ยละ คะแนนเฉล่ยี รอ้ ยละของ

ของโรงเรยี น ของระดับเขตพืน้ ที่ ระดบั ประเทศ

ด้านคณิตศาสตร์ 50.00 49.98 44.94
ด้านภาษาไทย 48.30 47.59 46.46
เฉลยี่ ทัง้ 2 ดา้ น 49.15 48.79 45.70

ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพืน้ ฐานผเู้ รียนระดบั ชาติ (NT) 8
ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 ประจาปกี ารศกึ ษา 2560

50.00 49.98 48.30 49.15 48.79
44.94 47.59 45.70

46.46

ด้านคณิตศาสตร์ ด้านภาษาไทย เฉลีย่ ท้งั 2 ดา้ น
คะแนนเฉล่ยี รอ้ ยละของระดบั เขตพื้นท่ี
คะแนนเฉล่ยี ร้อยละของโรงเรยี น
คะแนนเฉล่ยี ร้อยละของระดบั ประเทศ

10

2) ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพ้ืนฐานผเู้ รียนระดับชาติ (NT) ประจำปีการศึกษา 2560-2562

2.1) เปรยี บเทียบผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพนื้ ฐาน ผู้เรยี นระดับชาติ (NT)

และร้อยละผลตา่ งระหวา่ งปีการศึกษา 2560-2562

ความสามารถ ปี 2560 ปี 2561 ผลตา่ ง 2559- ปี 2562 ผลตา่ ง 2561-
2560 2562

ดา้ นภาษา 60.00 48.57 -11.43 48.30 -0.27

ด้านคำนวณ 52.94 43.57 -9.37 50.00 6.43

ดา้ นเหตุผล 52.67 50.71 -1.96 -50.71

รวมเฉล่ียทัง้ 3 ดา้ น 55.20 47.62 -7.59 49.15 -14.85

เปรียบเทียบผลการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐานระดบั ชาติ (NT)
ระหวา่ งปกี ารศกึ ษา 2560-2562

60.00 60.00
50.00 48.57
40.00 48.30
30.00
20.00 52.94
10.00 43.57
0.00
50.00
ดา้ นภาษา 52.67

50.71
55.20

47.62
49.15

ปี 2560
ปี 2561
ปี 2562

ดา้ นคานวณ ด้านเหตุผล รวมเฉล่ยี ทง้ั 3 ด้าน

11

2.2) เปรยี บเทยี บผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพื้นฐานของนกั เรยี นระดับชาติ (NT)
ระดบั ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2561-2562 จำแนกตามร้อยละของระดับคุณภาพ

ความสามารถด้านภาษาไทย ความสามารถด้านคณิตศาสตร์

ระดับคณุ ภาพ ปี2561 ปี 2562 ปี2561 ปี 2562

ปรบั ปรงุ จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ
พอใช้
ดี 3 25.00 1 10.00 2 16.67 1 10.00
ดมี าก 4 33.33 4 40.00 6 50.00 5 50.00
รวม 5 41.67 5 50.00 3 25.00 3 30.00
0 0.00 0 0.00 1 8.33 1 10.00
12 100 10 100.00 12 100.00 10 100.00

12

3) ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ นั้ พื้นฐาน (O-NET)

3.1) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ นั้ พืน้ ฐาน (O-NET) ปกี ารศกึ ษา 2562

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2562 ระดับประถมศึกษาปที ่ี 6

ระดับ/รายวชิ า ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ

คะแนนเฉล่ยี ของโรงเรียน 47.19 21.18 28.75 26.62

คะแนนเฉลี่ยระดบั จังหวัด 48.51 32.21 34.63 31.11

คะแนนเฉลย่ี สงั กดั สพฐ.ทัง้ หมด 47.95 31.60 34.30 30.86

คะแนนเฉลี่ยระดบั ประเทศ 49.07 32.90 35.55 34.42

แผนภมู แิ สดงผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ (O-NET) ปกี ารศกึ ษา 2562

ระดับช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 6
100

90

80

70

60 47.19
48.51
50 47.95
49.07
40 21.18
32.21
30 31.60
32.90
20 28.75
34.63
34.30
35.55
26.62
31.11
30.86
34.42

10

0

ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ

คะแนนเฉลีย่ ของโรงเรียน คะแนนเฉล่ยี ระดับจังหวัด

คะแนนเฉลยี่ สงั กดั สพฐ.ทง้ั หมด คะแนนเฉลย่ี ระดบั ประเทศ

13

3.2) เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ้นั พ้นื ฐาน (O-NET) ปีการศกึ ษา 2560-2562

ระดบั ประถมศึกษาปีที่ 6

ผลตา่ ง ผลตา่ ง

รายวิชา ปี 2560 ปี 2561 2560- ปี 2562 2561-

2561 2562

ภาษาไทย 44.11 53.39 9.28 47.19 -6.20

ภาษาองั กฤษ 24.17 28.93 4.76 21.18 -7.75

คณติ ศาสตร์ 33.89 30.00 -3.89 28.75 -1.25

วทิ ยาศาสตร์ 37.17 36.29 -0.88 26.62 -9.67

รวมเฉลยี่ 34.84 37.15 2.32 30.94 -6.22

เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ น้ั พน้ื ฐาน (O-NET)
ปกี ารศึกษา 2560-2562
ระดบั ประถมศกึ ษาปีที่ 6

100 44.11
90 53.39
80
70 47.19
60 24.17
50
40 28.93
30 21.18
20
10 33.89
0 30.00
28.75
ภาษาไทย
37.17
36.29
26.62

ภาษาองั กฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์

ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562

14

3.3)ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้นั พื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2562 ระดบั
มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3

ระดับ/รายวชิ า ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ

คะแนนเฉลย่ี ของโรงเรยี น 52.50 16.67 26.00 23.67

คะแนนเฉลี่ยระดับจงั หวดั 54.00 24.74 29.62 30.52

คะแนนเฉลี่ย สังกัด สพฐ.ทง้ั หมด 55.91 26.98 30.22 32.98

คะแนนเฉล่ียระดับประเทศ 55.14 26.73 30.07 33.25

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ัน้ พ้ืนฐาน (O-NET) ปกี ารศกึ ษา 2562
ระดบั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3

100 52.50
90 54.00
80
70 55.91
60 55.14
50 16.67
40 24.74
30 26.98
20 26.73
10 26.00
0 29.62
30.22
ภาษาไทย 30.07
23.67
30.52
32.98
33.25

คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ

คะแนนเฉล่ยี ของโรงเรยี น คะแนนเฉล่ยี ระดับจังหวดั

คะแนนเฉล่ีย สงั กดั สพฐ.ทงั้ หมด คะแนนเฉลย่ี ระดบั ประเทศ

15

3.2) เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขั้นพืน้ ฐาน (O-NET) ปกี ารศึกษา 2560-2562

ระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3

รายวิชา ปี 2560 ปี 2561 ผลต่าง ปี 2562 ผลต่าง
2560- 2561-2562
2561

ภาษาไทย 51.14 41.75 -9.39 52.50 10.75

ภาษาองั กฤษ 30.00 27.00 -3 23.67 -3.33

คณิตศาสตร์ 28.86 26.00 -2.86 16.67 -9.33

วิทยาศาสตร์ 33.43 31.00 -2.43 26.00 -5.00

รวมเฉลีย่ 35.86 31.44 -4.42 29.71 -1.73

เปรียบเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้นั พนื้ ฐาน (O-NET)
ปกี ารศกึ ษา 2560-2562
ระดับมธั ยมศึกษาปีที่ 3

100

90

80

70

60 51.14
41.75
50
52.5
40
30.00
30 27.00

20 23.67

28.86
26.00

16.67

33.43
31.00

26

10

0

ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์

ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562

16

1.6 ข้อมูลการใชแ้ หล่งเรียนรู้ภายในและภายนอกสถานศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2562

จำนวนนักเรียนท่ีใชแ้ หล่งเรียนรใู้ นโรงเรยี น ปีการศึกษา 2562

แหลง่ /ชน้ั ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3

ห้องสมดุ 50 50 50 30 35 38 35 30 32

แปลงเกษตร 40 45 42 100 120 130 120 120 120

ห้องสหกรณ์ 30 35 30 40 50 50 20 20 30

หอ้ งคอมพิวเตอร์ 40 40 40 90 100 130 140 145 145

จานวนนกั เรียนที่ใช้แหล่งเรียนรู้ในโรงเรยี น ปกี ารศกึ ษา 2562

130
145

140 145
100

90

50
50

40 40 40 40 130 20 20 30
120 120 120 120

30 35 30 100

40 45 42

510 50 50
30 35 38 35 30 32

ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3
ห้องสมดุ แปลงเกษตร ห้องสหกรณ์ ห้องคอมพวิ เตอร์

17

จำนวนนักเรยี นทีใ่ ช้แหล่งเรยี นรู้นอกโรงเรยี น ปีการศึกษา 2562

แหลง่ /ช้ัน ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3
สวนยางพารา 20 25 30 28 35 40 30 20 20
วัดประจำหมูบ่ ้าน 40 45 40 50 35 40 35 35 30
อนามยั สายโท 11 ใต้ 15 14 20 15 20 30 16 20 30
รอบ ๆ หมบู่ า้ น 30 20 20 35 35 39 40 20 30
สระนำ้ ในหม่บู า้ น 5 10 15 20 15 30 25 25 25

จานวนนกั เรียนท่ีใช้แหลง่ เรยี นร้นู อกโรงเรยี น ปีการศึกษา 2562

30

51 10 20 15 39 25
30 20 15 25

14 35 35 25
15 20 30 40
20 15 20
45 30
40 40 20
40 50 35 16
20 25 20 30
30 28 35 40
ป.1 ป.2 35
ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 35 30
สวนยางพารา
วัดประจาหม่บู ้าน อนามยั สายโท 11 ใต้ 30 20 20

ม.1 ม.2 ม.3

รอบๆหมู่บ้าน สระน้าในหมบู่ า้ น

18

1.7 ข้อมูลงบประมาณ

รายรบั จำนวน/บาท รายจา่ ย จำนวน/บาท

เงนิ งบประมาณ 5,768,660 งบดำเนินการ 80,000.00

เงินเดือน-ค่าจา้ ง 5,688,660

เงินนอกงบประมาณ 999,711.00 งบพฒั นาคุณภาพการจดั การศึกษา 999,771.00

เงินอ่นื ๆ(ระบ)ุ 490,120 งบอนื่ ๆ(ระบุ) 442,340

รวมรายรบั 7,258,491 รวมรายจา่ ย 7,210,771

งบดำเนนิ การ คิดเป็นรอ้ ยละ 1.10 ของรายรับ

เงินเดอื น เงินคา่ จ้าง คิดเป็นร้อยละ 78.37 ของรายรับ

งบพัฒนาคุณภาพการจัดการศกึ ษา คิดเปน็ ร้อยละ 13.77 ของรายรับ

เงินอื่น ๆ (งบสนับสนุนจาก อบต.) คิดเป็นรอ้ ยละ 6.75 ของรายรบั

1.8 ข้อมลู สภาพชุมชนโดยรวม

1) สภาพชุมชนรอบบรเิ วณโรงเรียนมลี ักษณะ เป็นทรี่ าบ พ้นื ท่ีสว่ นใหญป่ ลกู ยางพารา

มีประชากรประมาณ 1,130 คน บริเวณใกล้เคียง โดยรอบโรงเรยี น ไดแ้ ก่ ชุมชน สถานีอนามัย

วดั สวนยางพารา อาชพี หลกั ของชุมชน คอื เกษตรกรรม ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ

ประเพณ/ี ศิลปวัฒนธรรมทอ้ งถ่นิ ทเ่ี ปน็ ท่รี ู้จักโดยทั่วไป คือ บุญผ้าเวส บญุ ข้าวประดับดิน แซนโฎนตา

2) ผ้ปู กครองส่วนใหญ่ จบการศึกษาระดบั ชน้ั ป.6 อาชีพหลกั คือ เกษตรกรรม

ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพทุ ธ ฐานะทางเศรษฐกิจ/รายไดโ้ ดยเฉล่ยี ต่อครอบครวั ตอ่ ปี 20,000 บาท

จำนวนคนเฉล่ยี ตอ่ ครอบครัว 4 คน

3) โอกาสและขอ้ จำกัดของโรงเรียน

โอกาส คอื โรงเรียนเพียงหลวง ๒ ไดร้ ับความร่วมมือสนับสนนุ จากชุมชน ผู้นำชุมชน ตลอดมา

ชุมชน ผูน้ ำชุมชน องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ อีกท้ังยงั อยู่ใกลแ้ หลง่ เรียนรใู้ นชมุ ชน

เชน่ วัด โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตำบลสายตะกู โรงเรียนไม่มีความเสย่ี งต่อยาเสพติด

เพราะอยูไ่ กลจากแหลง่ ม่ัวสมุ และชุมชนให้ความร่วมมือ ในการสอดส่องดแู ลเป็นอย่างดี

ข้อจำกัด คือ โรงเรยี นอยู่ไกลสำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาบุรีรัมยเ์ ขต 2 ทำให้เกิด

ความล่าชา้ ในการรับสง่ งาน

1.9 ผลการประเมินคณุ ภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ. 2554-2558)

โรงเรียน เพียงหลวง ๒ ได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกจาก สมศ. รอบสาม

(พ.ศ. 2553 – 2555) เม่ือวันท่ี 1 เดือน กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ 2555 ถึงวันท่ี 3 เดือน กมุ ภาพันธ์

พ.ศ 2555 ผลการประเมิน สรปุ ดงั น้ี

19

ปจั จยั ภายในโรงเรยี น

จดุ เด่น จุดควรพฒั นา

ด้านผลการจดั การศึกษา ด้านผลการจัดการศกึ ษา

สถานศึกษามีผู้เรียนที่มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี การส่งเสริมลพัฒนาด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน

ผู้เรียนมีคุณธรรม จรยิ ธรรมและค่านิยมท่ีพึงประสงค์ ผู้เรียน โดยเฉพาะผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้

มีความใฝ่รู้ และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ผู้เรียนคิดเป็น ทำเปน็ ภาษาต่างประเทศ คณติ ศาสตร์ ภาษาไทย และสังคมศึกษา ศาสนา

สถานศึกษาใผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน/ และวฒั นธรรม

วิสัยทศั น์ พันธกิจและวัตปุ ระสงคข์ องการจัดตั้งสถานศึกษา ดา้ นการบริหารจดั การศึกษา

มีผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อน การส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และกิจกรรม

เอกลกั ษณข์ องสานศึกษา เสรมิ ทักษะทางวิชาการทีห่ ลากหลายเพมิ่ ขนึ้ เพ่อื พฒั นาสู่ความเป็น

ด้านการบรหิ ารจดั การศึกษา เลศิ

สถานศึกษามีประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและ ด้านการจดั การเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคัญ

การพัฒนาสถานศึกษา มีผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษา การนำผลการประเมินกระบวนการจัดการเรียนรู้ของครูไป

เพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐาน และพัฒนาสู่ความ พัฒนาครูแต่ละคนอย่างเป็นระบบ ครูควรบันทึกข้อมูลหลังสอน

เป็นเลิศสอดคลอ้ งกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษา ตรามจุดประสงค์การเรียนรู้ที่ตั้งไว้ในแ ผนการจัดการเรียนรู้ที่

ด้านการจัดการเรียนการสอนท่เี น้นผู้เรยี นเปน็ สำคัญ ครอบคลุมทัง้ ด้านความรู้ ทักษะกระบวนการเรียนรู้ และเจตคติต่อ

สถานศึกษามีประสิทธิภาพในการจัดประสบการณ์ การเรยี นรู้

การเรียนรู้ทเ่ี นน้ ผ้เู รยี นเปน็ สำคัญ ดา้ นการประกนั คณุ ภาพภายใน

ด้านการประเมินคุณภาพภายใน การกำหนดมาตรฐานการศึกษา จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพ

สถานศึกษามีประสิทธิภาพในการดำเนินงานโดย การศึกษา ข้อมูลสารสนเทศ ปฏิบัติตามแผน ติดตามตรวจสอบ

ระบบการประกนั คุณภาพภายใน ประเมนิ คณุ ภาพภายใน จดั ทำรายงานประจำปี และพฒั นาคุณภาพ

การศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานให้เป็นระบบชัดเจนและ

ต่อเนอ่ื ง

ปัจจยั ภายนอกสถานศกึ ษา

โอกาส อปุ สรรค

โรงเรียนเพียงหลวง ๒ ดีรับความร่วมมือ สนับสนุน นักเรียนส่วนใหญ่มีฐานะยากจน ทำให้ขาดโอกาสในการ

จากชุมชนตลอดมา อีกทงั้ ยงั ใกลแ้ หลง่ เรยี นร้ใู นชมุ ชน เช่นม เรียนใหส้ ูงขึน้ ผู้ปกครองมีรายไดน้ ้อย

วัด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลสายตะกู สถานศกึ ษา

ไม่มีความเสี่ยงต่อยาเสพติด เพราะอยู่ไกลจากแหล่งมั่วุสม

และชุมชนใหค้ วามร่วมมอื ในการสอดสอ่ งดูแลเป็นอย่างดี

20

ส่วนท่ี 2
ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา

ผลการประเมินตนเองตามมาตรฐานการศึกษา ระดบั ปฐมวัย
มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของเด็ก ระดับคณุ ภาพ : ดีเลิศ

๑. กระบวนการพัฒนา จำนวน จำนวน รอ้ ยละ คา่ คะแนน ระดับ ความ
เด็กมีพัฒนาการด้านรา่ งกาย นักเรยี นท่ีอยู่ นักเรยี น ที่ได้ นำ้ หนกั ท่ไี ด้ คณุ ภาพ หมาย
ในระดบั 3 ท้งั หมด
มาตรฐาน / ตัวบง่ ช้ี 96.43 1.00 0.96 5 ดเี ลิศ
ขน้ึ ไป 28 1.50 1.50 5 ดีเลิศ
1.1 มนี ้ำหนักส่วนสงู เปน็ ไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 1.50 1.45 5 ดเี ลิศ
1.2 มที กั ษะการเคลื่อนไหวตามวยั 27 1.00 1.00 5 ดีเลศิ
1.3 มสี ขุ นสิ ัยในการดแู ลสุขภาพของตน
1.4 หลกี เลี่ยงต่อสภาวะทีเ่ สี่ยงตอ่ โรค อบุ ัติเหตุ 28 28 100 5.00 4.91 5 ดเี ลศิ

ภัย และส่งิ เสพตดิ 27 28 96.43

สรุปมาตรฐาน 28 28 100

เดก็ มีพัฒนาการด้านอารมณ์ และจิตใจ จำนวน จำนวน รอ้ ยละ ค่า คะแน ระดับ ความ
นกั เรียน นกั เรียน ท่ไี ด้ น้ำหนัก นทไ่ี ด้ คณุ ภาพ หมาย
มาตรฐาน / ตัวบ่งชี้ ที่อยู่ใน ท้ังหมด
ระดับ3 96.43 1.00 0.96 5 ยอดเยี่ยม
2.1 ร่าเริงแจ่มใส มีความร้สู ึกทด่ี ตี ่อตนเอง ขึ้นไป 28 89.29 1.00 0.89 5 ยอดเยี่ยม
2.2 มคี วามมั่นใจและกล้าแสดงออก 28 82.14 1.00 0.82 4 ยอดเย่ยี ม
2.3 ควบคมุ อารมณ์ตนเองได้เหมาะสมกับวัย 27 28 100.0 2.00 2.00 5 ยอดเยย่ี ม
2.4 ชื่นชมศลิ ปะ ดนตรี การเคลือ่ นไหว และ 25 28
23 5.00 4.68 5 ยอดเยยี่ ม
รักธรรมชาติ 28
สรุปมาตรฐาน

21

เดก็ มีพฒั นาการด้านสังคม จำนวน จำนวน รอ้ ยละ ค่า คะแนน ระดับ ความ
นักเรยี นท่ี นกั เรยี น ท่ีได้ นำ้ หนกั ทไ่ี ด้ คุณภาพ หมาย
มาตรฐาน / ตัวบง่ ช้ี ท้ังหมด
อยูใ่ น 89.29 2.00 1.79 4 ดีเลิศ
3.1 มวี ินยั รบั ผิดชอบ เชอื่ ฟังคำสง่ั สอนของ ระดบั 3 28
พอ่ แม่ ครูอาจารย์ ข้ึนไป

3.2 มีความซื่อสตั ย์สุจริต ชว่ ยเหลอื แบ่งปนั 25
3.3 เล่น และทำงานร่วมกบั ผูอ้ นื่ ได้
3.4 ประพฤติตนตามวัฒนธรรมไทย และ 22 28 78.57 1.00 0.79 4 ดเี ลศิ
24 28 85.71 1.00 0.86 4 ดเี ลิศ
ศาสนาท่ตี นนับถือ 28 28 100.00 1.00 1.00 5 ยอดเยย่ี ม

สรปุ มาตรฐาน 5.00 4.43 4 ดเี ลิศ

เด็กมีพฒั นาการด้านสติปญั ญา

จำนวน

มาตรฐาน / ตวั บง่ ช้ี นกั เรยี นที่ จำนวน ร้อยละ ค่า คะแนน ระดบั ความ
อยู่ใน นกั เรยี น ที่ได้ น้ำหนกั ที่ได้ คณุ ภาพ หมาย
ระดบั 3 ทง้ั หมด

ข้ึนไป

4.1 สนใจเรียนรู้ส่ิงรอบตวั ซกั ถามอยา่ งตั้งใจ ดเี ลิศ

และรกั การเรียนรู้ 22 28 78.57 1.00 0.79 4

4.2 มคี วามคิดรวบยอดเกี่ยวกบั สิง่ ต่างๆ ท่ี ดเี ลิศ

เกิด จากประสบการณ์การเรียนรู้ 23 28 82.14 1.00 0.82 4

4.3 มีทักษะทางภาษาทีเ่ หมาะสมกับวัย ยอด

26 28 92.86 1.00 0.93 5 เยี่ยม

4.4 มีทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ดี

และคณิตศาสตร์ 20 28 71.43 1.00 0.71 3

4.5 มีจินตนาการและความคิดสรา้ งสรรค์ 22 28 78.57 1.00 0.79 4 ดเี ลศิ

สรปุ มาตรฐาน 5.00 4.04 4 ดเี ลิศ

22

๒. ผลทเี่ กิดจากการพัฒนา
จากการประเมินผลตามมาตรฐานท่ี 1 นกั เรียนมีพัฒนาการดา้ นรา่ งกายโดยสังเกตจากสภาพจริงพบว่า

นักเรยี นท่จี ากเมือ่ กอ่ นท่เี ข้าเรียนใหม่ มนี ำ้ หนกั และส่วนสงู ตำ่ กว่าเกณฑห์ ลายคน พอปลายปีการศึกษานักเรยี น
ทกุ คนมนี ้ำหนกั และสว่ นสงู ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ของกรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข

จากการประเมินผลตามมาตรฐานที่ 2 นกั เรยี นมีพฒั นาการด้านอารมณ์ และจิตใจ โดยสังเกตจากสภาพ
จรงิ พบว่า นักเรียนมคี วามกล้าแสดงออก เช่น งานวนั แม่ วนั ขน้ึ ปีใหม่ วันเด็ก ทำให้ผ้ปู กครองชื่นชมผลงานของ
ลกู หลานในการกลา้ แสดงออก

จากการประเมนิ ผลตามมาตรฐานท่ี 3 นักเรยี นมีพฒั นาการดา้ นสังคม โดยสงั เกตจากสภาพจรงิ พบว่า
นักเรยี นมพี ัฒนาการทางสงั คมเป็นทีน่ ่าพอใจ มีความรบั ผิดชอบ ในการทำงานดีข้ึน ใชว้ ัสดุ อปุ กรณ์ และเลน่
เครื่องเลน่ ต่าง ๆ ได้อย่างปลอดภัย สำหรับในการอยูร่ ว่ มกับผอู้ ่นื การทำกิจกรรมร่วมกับผูอ้ ่นื นักเรียนส่วนมาก
สามารถปฏบิ ตั ิได้ดี

จากการประเมินผลตามมาตรฐานที่ 3 นักเรยี นมีพฒั นาการดา้ นสงั คม โดยสงั เกตจากสภาพจรงิ พบว่า
นกั เรยี นมีพฒั นาการทางสังคมเปน็ ทนี่ ่าพอใจ มคี วามรับผดิ ชอบ ในการทำงานดขี ้นึ ใช้วัสดุ อปุ กรณ์ และเล่น
เคร่อื งเลน่ ตา่ ง ๆ ได้อย่างปลอดภยั สำหรบั ในการอย่รู ่วมกับผู้อื่น การทำกิจกรรมรว่ มกับผอู้ ืน่ นกั เรียนส่วนมาก
สามารถปฏิบัติได้ดี
๓. ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชงิ ประจกั ษ์ ท่ีสนบั สนนุ ผลการประเมินตนเอง

-กจิ กรรมวงกลมตามหนว่ ยการเรยี นรู้
-โครงการอาหารกลางวัน
-โครงการอาหารเสริมนม
-โครงการสง่ เสรมิ สขุ ภาพ
-บนั ทกึ การชัง น้ำหนัก-วดั สว่ นสูง
-บันทกึ พัฒนาการ
๔. แผนพัฒนาเพอ่ื ยกระดับคณุ ภาพใหส้ ูงขึน้

การจัดทำหลักสูตรใหมใ่ ห้สอดคลอ้ งกับ หลักสูตรปฐมวัย2561 และการสอนตามเทคนิคแบบใหมๆ่ stem
bbl และประเมนิ การสอน การจัดหลักสตู รจากพฒั นาการนักเรียน 1:1 เพือ่ ใหไ้ ด้ผลการพัฒนาท่มี ีคณุ ภาพ

23

มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
ระดับคุณภาพ : ดีเลิศ

๑. กระบวนการพฒั นา

ครปู ฏบิ ัติงานตามบทบาทหน้าท่ีอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ และเกดิ ประสทิ ธผิ ล

จำนวน

มาตรฐาน / ตวั บ่งช้ี ครทู ่อี ยู่ จำนวน รอ้ ยละ คา่ คะแนน ระดับ ความ
ใน ครู ทไี่ ด้ น้ำหนกั ทไ่ี ด้ คณุ ภาพ หมาย

ระดบั 3 ทั้งหมด

ข้ึนไป

1.ครเู ข้าใจปรัชญา หลักการ และธรรมชาตขิ อง

การจัดการศกึ ษาปฐมวยั และสามารถ

นำมาประยุกต์ใช้ในการจัดประสบการณ์ 2 2 100.0 2.00 2.00 5 ยอดเยยี่ ม

2 ครูจดั ทำแผนการจดั ประสบการณ์ที่

สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั และ

สามารถจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ท่ีหลากหลาย

สอดคลอ้ งกบั ความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล 2 2 100.0 2.00 2.00 5 ยอดเยย่ี ม

3 ครูบริหารจัดการช้นั เรยี น ที่สร้างวินัยเชงิ บวก 2 2 100.0 2.00 2.00 5 ยอดเยี่ยม

4 ครูใชส้ ่ือและเทคโนโลยีทเ่ี หมาะสม สอดคล้อง 2 2 100.0 2.00 2.00 5 ยอดเยย่ี ม
กบั พัฒนาการของเด็ก
2 2 100.0 2.00 2.00 5 ยอดเยย่ี ม
5 ครูใชเ้ ครื่องมือการวดั และประเมินพฒั นาการ
ของเด็กอย่างหลากหลาย และสรุปรายงานผล 2 2 100.0 2.00 2.00 5 ยอดเยี่ยม
พฒั นาการของเด็กแก่ ผูป้ กครอง 2
6 ครวู จิ ยั และพัฒนาการจัดการเรยี นรู้ท่ีตน 2 ยอดเยี่ยม
รับผิดชอบและใช้ผลในการปรับการจดั 2
ประสบการณ์ 2 100.0 2.00 2.00 5
7 ครจู ัดสง่ิ แวดลอ้ มให้เกิดการเรียนรู้ได้ 2 100.0 2.00 2.00 5 ยอดเยย่ี ม
ตลอดเวลา
8 ครมู ปี ฏสิ ัมพนั ธ์ท่ีดีกบั เด็ก และผู้ปกครอง ยอดเยีย่ ม
9 ครูมวี ุฒิและความรคู้ วามสามารถในดา้ น
การศึกษาปฐมวยั 2 100.0 2.00 2.00 5

24

จำนวน

มาตรฐาน / ตัวบ่งช้ี ครูที่อยู่ จำนวน ร้อยละ คา่ คะแนน ระดับ ความ
ใน ครู ที่ได้ น้ำหนัก ที่ได้ คุณภาพ หมาย

ระดับ3 ทงั้ หมด

ขึ้นไป

10 ครูจดั ทำสารนิทัศน์ และนำมาไตรต่ รองเพื่อ ยอดเย่ยี ม

ใช้ประโยชนใ์ นการพัฒนาเด็ก 2 2 100.0 2.00 2.00 5

สรุปมาตรฐาน 20.00 20.00 5 ยอดเยีย่ ม

ผู้บรหิ ารปฏบิ ัตงิ านตามบทบาทหน้าที่อย่างมปี ระสิทธิภาพ และเกิดประสทิ ธิผล

มาตรฐาน / ตวั บง่ ชี้ ระดับ ค่า คะแนน ระดับ ความ
ท่ีได้ น้ำหนัก ทไ่ี ด้ คณุ ภาพ หมาย

1 ผูบ้ รหิ ารเข้าใจปรัชญาและหลักการจัดการศึกษาปฐมวัย 2 3 3.00 1.80 ดี

2 ผู้บริหารมีวิสยั ทศั น์ ภาวะผู้นำและความคดิ รเิ รม่ิ ท่เี นน้ 2 3 3.00 1.80 ดี
การพฒั นาเด็กปฐมวยั

3 ผบู้ ริหารใชห้ ลักการบริหารแบบมีสว่ นรว่ มและใช้ข้อมูล

การประเมนิ ผลหรอื การวจิ ัยเปน็ ฐานคดิ ทงั้ ด้าน

วชิ าการ ดี
และการจัดการ 3 4 3.00 2.40

4 ผ้บู ริหารสามารถบริหารจดั การการศึกษาใหบ้ รรลุ 3 4 3.00 2.40 ดี
เปา้ หมายตามแผนพัฒนาคณุ ภาพสถานศึกษา

5 ผูบ้ ริหารส่งเสริมและพฒั นาศกั ยภาพบุคลากรใหม้ ี 3 4 3.00 2.40 ดี
ประสทิ ธิภาพ

6 ผู้บริหารให้คำแนะนำ คำปรึกษาทางวชิ าการและเอาใจ 3 4 3.00 2.40 ดี
ใสก่ ารจดั การศกึ ษาปฐมวัยเต็มศักยภาพและเต็มเวลา

7 เดก็ ผูป้ กครองและชมุ ชน พึงพอใจผลการบรหิ าร 3 4 2.00 1.60 ดี
จดั การศกึ ษาปฐมวัย

สรปุ มาตรฐาน 20.00 14.80 3 ดี

25

สถานศกึ ษามีการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาตามท่ีกำหนดในกฎกระทรวง

มาตรฐาน / ตวั บง่ ช้ี ระดับ คา่ นำ้ หนัก คะแนน ระดับ ความ
ท่ไี ด้ ทีไ่ ด้ คุณภาพ หมาย

1 กำหนดมาตรฐานการศกึ ษาปฐมวัยของสถานศึกษา 4 1.00 0.80 ดเี ลศิ

2 จัดทำ และดำเนนิ การตามแผนพัฒนาการจัด

การศึกษาของสถานศกึ ษาท่ีมุ่งพัฒนาคุณภาพ ตาม

มาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา 4 1.00 0.80 ดีเลิศ

3 จดั ระบบข้อมูลสารสนเทศและใชส้ ารสนเทศในการ

บริหารจัดการ 4 1.00 0.80 ดเี ลิศ

4 ติดตามตรวจสอบและประเมนิ ผลการดำเนนิ งาน

คุณภาพภายในตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา 4 0.50 0.40 ดเี ลศิ

5 นำผลการประเมินคณุ ภาพ ท้ังภายในและภายนอกใช

วางแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนอ่ื ง 4 0.50 0.40 ดเี ลศิ

6 จัดทำรายงานประจำปที เ่ี ปน็ รายงานการประเมินคณุ ภาพ

ภายใน 4 1.00 0.80 ดีเลศิ

สรุปมาตรฐาน 5.00 4.00 4 ดีเลศิ

๒. ผลท่เี กดิ จากการพฒั นา
- ผู้บริหารมีความสามารถในการวเิ คราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศต่าง ๆ ในปัจจุบนั สกู่ รอบการพัฒนา

เดก็ ปฐมวยั มคี วามสามารถในการเป็นผนู้ ำ มคี วามสามารถในการริเรมิ่ วธิ ีการใหม่ ๆ มาพัฒนาปรับปรงุ และ
เผยแพร่

- ผบู้ รหิ ารใชห้ ลักการบรหิ ารแบบมสี ่วนรว่ ม โดยเปดิ โอกาสให้ครู ผเู้ รียน ผูป้ กครองชมุ ชนและหนว่ ยงาน
อื่น ได้รับรูแ้ ละให้ข้อมลู สารสนเทศ ให้ความคดิ เห็นและข้อเสนอแนะ ในการบรหิ ารจดั การศกึ ษาและสง่ เสริม
พฒั นาคุณภาพผ้เู รยี นให้บรรลุเปา้ หมาย

-จดั การศึกษาโดยให้ผูเ้ กี่ยวข้องทกุ ฝ่ายมสี ่วนรว่ มในการกำหนดเป้าหมายรว่ มรบั ผดิ ชอบดำเนินงานตาม
บทบาทหนา้ ท่ี มีการนิเทศ ติดตาม กำกับ และประเมินผลการดำเนนิ งาน

โรงเรยี นดำเนินการการจดั ทำหลักสูตร มรี อ่ งรอยหลักฐานชัดเจน ตรวจสอบได้ เพ่ือให้ผู้มีส่วนเกี่ยวขอ้ ง
เกดิ ความตระหนกั และเขา้ ใจการจัดการศกึ ษาปฐมวัยอยา่ งชดั เจน ถานศกึ ษามีการกำหนดโครงการ กจิ กรรมเพื่อ
สร้างการมสี ่วนรว่ มและแสวงหาความรว่ มมอื กบั ผูป้ กครอง ชมุ ชน และทอ้ งถิ่นในการจัดการศกึ ษา และพฒั นา
คุณภาพการศึกษาระดับปฐมวยั ของสถานศึกษา

สถานศกึ ษามมี าตรฐานการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษาท่ีเกดิ จากการศึกษา สถานศึกษากำหนด
ผูร้ ับผดิ ชอบและจัดทำระบบสารสนเทศใหเ้ ปน็ หมวดหมู่ ถกู ต้อง ครอบคลมุ ทนั สมยั และพร้อมใช้ สถานศึกษานำ

26

ผลการตดิ ตามตรวจสอบคณุ ภาพการศึกษาและผลการประเมินคณุ ภาพภายในและภายนอกสถานศึกษา ระดบั
การศกึ ษาปฐมวยั มาวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ และเลือกสรรข้อมูลสารสนเทศไปใชป้ ระโยชนใ์ นการปรับปรุงและ
พฒั นา

๓. ขอ้ มูล หลกั ฐาน เอกสารเชงิ ประจกั ษ์ ท่ีสนบั สนนุ ผลการประเมนิ ตนเอง
-หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยของสถานศกึ ษา
-รายงานการวิจยั
-แผนพัฒนาการจัดการศึกษา
-แผนการจัดประสบการณ์ เอกสารรายงานผลการประเมนิ พฒั นาการเด็ก
-แผนปฏิบตั กิ ารประจำปี
-บนั ทึกการประชมุ คำสงั่ การปฏบิ ัติงานของโรงเรยี น
-สมดุ นิเทศ//สมุดเย่ียมของโรงเรียน
-รายงานการประเมินภายนอกของ สมศ.
-รายงานการประเมินคุณภาพภายในโดยหนว่ ยงานตน้ สงั กัด

รายงานประจำปีของโรงเรียน
-แผนพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
-รายงานการวจิ ยั
-หลกั สตู รสถานศกึ ษา

๔. แผนพฒั นาเพื่อยกระดับคณุ ภาพใหส้ งู ข้ึน
การจัดทำหลักสูตรใหม่ใหส้ อดคล้องกบั หลกั สตู รปฐมวยั 2560 และการสอนตามเทคนคิ แบบใหม่ๆ stem

bbl และประเมนิ การสอน การจัดหลักสตู รจากพัฒนาการนักเรยี น 1:1 เพือ่ ให้ได้ผลการพัฒนาที่มีคณุ ภาพ

27

มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั ประสบการณท์ ่ีเนน้ เดก็ เป็นสำคญั
ระดบั คณุ ภาพ : ดีเลศิ

๑. กระบวนการพัฒนา

มาตรฐาน / ตวั บ่งช้ี ระดับ ค่านำ้ หนัก คะแนน ระดับ ความ
ท่ีได้ ที่ได้ คุณภาพ หมาย

1 มีหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษาและนำสู่

การปฏิบตั ไิ ด้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 4 4.00 3.20 ดี

2 มีระบบและกลไกใหผ้ ้มู สี ว่ นร่วมทกุ ฝา่ ยตระหนักและ

เขา้ ใจการจัดการศึกษาปฐมวัย 3 4.00 2.40 ดี

3 จดั กิจกรรมเสรมิ สร้างความตระหนักรู้และความเขา้ ใจ

หลกั การจดั การศกึ ษาปฐมวยั 3 4.00 2.40 ดี

4 สรา้ งการมีส่วนร่วมและแสวงหาความรว่ มมือกบั

ผปู้ กครอง ชุมชน และทอ้ งถ่นิ 3 4.00 2.40 ดี

5 จดั สง่ิ อำนวยความสะดวกเพื่อพฒั นาเด็กอย่างรอบ ดี

ดา้ น 3 4.00 2.40

สรปุ มาตรฐาน 20.00 12.80 3 ดี

๒. ผลท่ีเกิดจากการพัฒนา
นักเรียนมพี ฒั นาการดา้ นสติปัญญา โดยสังเกตจากสภาพจรงิ พบวา่ ครูปฏบิ ัติงานตามบทบาท หน้าทอ่ี ย่าง

มปี ระสิทธภิ าพและเกิดประสิทธผิ ล การดำเนนิ งานตาม ประสบผลสำเรจ็ เปน็ ท่ีน่าพอใจ นกั เรยี นไดเ้ รยี นร้จู ากการ
จดั การเรียนการสอนท่มี ีประสิทธิภาพเนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคญั สง่ ผลใหผ้ เู้ รียนความพร้อมทางด้านรา่ งกาย อารมณ์
สังคม และสตปิ ัญญาซึง่ มีความพร้อมสามารถเรียนตอ่ ในระดับช้นั ต่อไปที่สงู ขน้ึ ได้

๓. ขอ้ มูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจกั ษ์ ที่สนบั สนนุ ผลการประเมนิ ตนเอง
-กิจกรรมการเรยี นการสอน (แผนจดั ประสบการณ์)
-สอื่ และแหลง่ การเรยี นร้๔ู . แผนพฒั นาเพ่ือยกระดับคุณภาพให้สงู ขน้ึ
-โครงงานบา้ นวิทยาศาสตร์น้อย
-กจิ กรรมเสรมิ ประสบการณ์
-กิจกรรมการเรยี นการสอนตามหน่อยการเรยี นรู้

28

สรปุ ผลการประเมนิ ในภาพรวมระดับปฐมวัย

ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาอยู่ในระดับดีเลิศ
จากผลการดำเนนิ งาน โครงการ และกิจกรรมต่าง ๆ สง่ ผลใหส้ ถานศึกษาจัดการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา
ประสบผลสำเรจ็ ตามท่ีต้งั เป้าหมายไวใ้ นแต่ละมาตรฐาน จากผลการประเมินสรุปว่าไดร้ ะดบั ดมี าก ทั้งน้ี เพราะ

จำนวน จำนวน

มาตรฐาน / ตวั บง่ ชี้ นกั เรยี น นกั เรียน รอ้ ยละ/ ค่า คะแนน ระดับ ความ
/ครู ท่ี / ระดับ น้ำหนั ทไ่ี ด้ คุณภา หมาย
อยใู่ น ที่ได้
ระดับ3 จำนวน ก พ
ครู

ขึน้ ไป ทง้ั หมด

ดา้ นท่ี 1 มาตรฐานดา้ นคณุ ภาพผ้เู รียน 20.0 18.05 5 ยอดเย่ียม

มาตรฐานที่ 1 เดก็ มพี ฒั นาการด้านร่างกาย ยอด ยอดเยี่ยม

เยย่ี ม 4.91 5

1.1 มนี ำ้ หนกั ส่วนสูงเปน็ ไปตามเกณฑ์ ยอด ยอดเยย่ี ม
มาตรฐาน
27 28 96.43 เยีย่ ม 0.96 5

1.2 มที กั ษะการเคลือ่ นไหวตามวยั 100.0 ยอด ยอดเยี่ยม

28 28 0 เยี่ยม 1.50 5

1.3 มสี ขุ นสิ ัยในการดแู ลสขุ ภาพของตน ยอด ยอดเยี่ยม

27 28 96.43 เยย่ี ม 1.45 5

1.4 หลีกเลย่ี งต่อสภาวะที่เสี่ยงตอ่ โรค 100.0 ยอด ยอดเยย่ี ม

อบุ ตั ิเหตุ ภยั และสิ่งเสพติด 28 28 0 เยี่ยม 1.00 5

มาตรฐานท่ี 2 เดก็ มีพฒั นาการด้านอารมณ์ ยอด ยอดเยีย่ ม
และจิตใจ
เยี่ยม 4.68 5

2.1 ร่าเริงแจม่ ใส มคี วามรู้สึกที่ดีต่อตนเอง ยอด ยอดเย่ยี ม

27 28 96.43 เยย่ี ม 0.96 5

2.2 มีความมั่นใจและกล้าแสดงออก ยอด ยอดเยย่ี ม

25 28 89.29 เยยี่ ม 0.89 5

2.3 ควบคุมอารมณ์ตนเองได้เหมาะสมกบั วัย 23 28 82.14 ดีเลิศ 0.82 4 ยอดเยย่ี ม

2.4 ชน่ื ชมศลิ ปะ ดนตรี การเคลอื่ นไหว และ 100.0 ยอด ยอดเยี่ยม

รักธรรมชาติ 28 28 0 เยี่ยม 2.00 5

มาตรฐานที่ 3 เดก็ มีพัฒนาการด้านสังคม ดีเลิศ 4.43 4 ยอดเยยี่ ม

29

จำนวน จำนวน

มาตรฐาน / ตัวบง่ ช้ี นักเรียน นกั เรยี น ร้อยละ/ ค่า คะแนน ระดับ ความ
/ครู ท่ี / ระดบั น้ำหนั ทไ่ี ด้ คุณภา หมาย
3.1 มวี ินัย รับผดิ ชอบ เช่อื ฟังคำส่ังสอนของ อยูใ่ น ทไี่ ด้
พอ่ แม่ ครูอาจารย์ ระดบั 3 จำนวน ก พ
ครู

ข้นึ ไป ทง้ั หมด

ดีเลิศ ยอดเยี่ยม

25 28 89.29 1.79 4

3.2 มีความซือ่ สตั ยส์ ุจรติ ช่วยเหลอื แบง่ ปัน 22 28 78.57 ดเี ลศิ 0.79 4 ยอดเยี่ยม
3.3 เล่น และทำงานร่วมกับผอู้ ่ืนได้ 24 28 85.71 ดีเลิศ 0.86 4 ยอดเยี่ยม
3.4 ประพฤติตนตามวฒั นธรรมไทย และ 28
100.0 ยอดเยย่ี ม
ศาสนาท่ตี นนับถือ 22 28 0 1.00 1.00 5
มาตรฐานที่ 4 เดก็ มพี ัฒนาการดา้ น
23 ยอดเยีย่ ม
สตปิ ญั ญา
4.1 สนใจเรยี นรู้ส่งิ รอบตวั ซักถามอยา่ งตั้งใจ 26 5.00 4.04 4
20 28 78.57 1.00 0.79 4 ยอดเยี่ยม
และรกั การเรยี นรู้ 22
4.2 มีความคดิ รวบยอดเกยี่ วกบั ส่งิ ตา่ งๆ ที่ 28 82.14 1.00 0.82 4 ยอดเยี่ยม
2
เกิดจากประสบการณก์ ารเรยี นรู้ 28 92.86 1.00 0.93 5 ยอดเยี่ยม
4.3 มที กั ษะทางภาษา ทีเ่ หมาะสมกบั วยั 28 71.43 1.00 0.71 3 ยอดเย่ยี ม
4.4 มที กั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
28 78.57 1.00 0.79 4 ยอดเยี่ยม
และคณิตศาสตร์
4.5 มจี นิ ตนาการและความคิดสรา้ งสรรค์ 65.0
ด้านท่ี 2 มาตรฐานดา้ นการจดั การศึกษา ยอดเยย่ี ม
มาตรฐานที่ 5 ครปู ฏิบตั งิ านตามบทบาท
หน้าท่ี อย่างมีประสิทธิภาพ และเกิด 20.0
ประสิทธิผล 0 20.00 5
5.1 ครูเขา้ ใจปรชั ญา หลกั การ และธรรมชาติ 2 100.0 2.00 2.00 5 ยอดเย่ียม
ของการจัดการศึกษาปฐมวัย และสามารถ 0
นำมาประยุกตใ์ ช้ในการจดั ประสบการณ์

30

จำนวน จำนวน

มาตรฐาน / ตวั บ่งชี้ นักเรยี น นกั เรยี น ร้อยละ/ ค่า คะแนน ระดับ ความ
/ครู ท่ี / ระดับ น้ำหนั ที่ได้ คุณภา หมาย
อยใู่ น ทไ่ี ด้
ระดบั 3 จำนวน ก พ
ครู

ข้ึนไป ท้ังหมด

5.2 ครูจัดทำแผนการจัดประสบการณท์ ่ี 2 2 100.0 2.00 2.00 5 ยอดเย่ยี ม

สอดคลอ้ งกับหลักสตู รการศึกษาปฐมวยั และ 0

สามารถจดั ประสบการณ์การเรียนรทู้ ี่

หลากหลาย สอดคลอ้ งกบั ความแตกต่าง

ระหว่างบคุ คล

5.3 ครบู รหิ ารจดั การชัน้ เรียน ทสี่ ร้างวนิ ัยเชิง 2 2 100.00 2.00 2.00 5 ยอดเยี่ยม

บวก

5.4 ครูใช้สอ่ื และเทคโนโลยที ่ีเหมาะสม 2 2 100.00 2.00 2.00 5 ยอดเยย่ี ม

สอดคล้องกับพฒั นาการของเด็ก

5.5 ครใู ช้เคร่อื งมอื การวัด และประเมนิ 2 2 100.00 2.00 2.00 5 ยอดเยย่ี ม

พัฒนาการของเด็กอย่างหลากหลาย และสรปุ

รายงานผลพัฒนาการของเดก็ แกผ่ ปู้ กครอง

5.6 ครูวจิ ยั และพัฒนาการจัดการเรยี นรทู้ ่ีตน 2 2 100.00 2.00 2.00 5 ยอดเยย่ี ม

รบั ผิดชอบ และใช้ผลในการปรับการจัด

ประสบการณ์

5.7 ครจู ดั สิง่ แวดล้อมให้เกิดการเรยี นร้ไู ด้ 2 2 100.00 2.00 2.00 5 ยอดเยยี่ ม

ตลอดเวลา

5.8 ครูมปี ฏิสัมพนั ธ์ท่ดี ีกับเด็กและผู้ปกครอง 2 2 100.00 2.00 2.00 5 ยอดเยย่ี ม

5.9 ครมู วี ฒุ ิและความรู้ความสามารถในดา้ น 2 2 100.00 2.00 2.00 5 ยอดเยย่ี ม
การศกึ ษาปฐมวยั 2 2 100.00 2.00 2.00 5 ยอดเยี่ยม
5.10 ครจู ดั ทำสารนทิ ัศน์ และนำมาไตรต่ รอง
เพ่อื ใชป้ ระโยชนใ์ นการพฒั นาเด็ก 14.8 ดี
20.00 0 3
มาตรฐานที่ 6 ผบู้ รหิ ารปฏิบัติงานตาม ดี
บทบาทหนา้ ท่ีอย่างมีประสทิ ธิภาพ และเกิด
ประสิทธิผล

31

จำนวน จำนวน

มาตรฐาน / ตวั บ่งชี้ นกั เรียน นกั เรียน ร้อยละ/ ค่า คะแนน ระดับ ความ
/ครู ที่ / ระดับ น้ำหนั ที่ได้ คณุ ภา หมาย
อยู่ใน ทีไ่ ด้
ระดับ3 จำนวน ก พ ดี
ครู ดี

ข้นึ ไป ทงั้ หมด ดีเลศิ
ดีเลศิ
6.1 ผบู้ รหิ ารเข้าใจปรัชญาและหลกั การจดั ดเี ลศิ

การศกึ ษาปฐมวยั 3.00 1.80 3 ดี ดเี ลศิ
ดีเลศิ
6.2 ผูบ้ ริหารมีวสิ ยั ทัศน์ ภาวะผนู้ ำและ ดี

ความคดิ ริเรม่ิ ท่ีเน้นการพฒั นาเดก็ ปฐมวัย 3.00 1.80 3 ดี ดเี ลศิ

6.3 ผ้บู รหิ ารใชห้ ลกั การบริหารแบบมสี ว่ น ดี

รว่ มและใช้ข้อมูลการประเมนิ ผลหรอื การ

วิจยั เปน็ ฐานคดิ ท้ังด้านวิชาการและการ

จัดการ 4 3.00 2.40 4

6.4 ผูบ้ ริหารสามารถบรหิ ารจดั การการศึกษา

ใหบ้ รรลุเปา้ หมายตามแผนพัฒนาคณุ ภาพ

สถานศึกษา 4 3.00 2.40 4

6.5 ผู้บรหิ ารสง่ เสรมิ และพฒั นาศักยภาพ

บุคลากรให้มปี ระสทิ ธิภาพ 4 3.00 2.40 4

6.6 ผูบ้ รหิ ารใหค้ ำแนะนำ คำปรกึ ษาทาง

วชิ าการและเอาใจใสก่ ารจดั การศกึ ษาปฐมวัย

เต็มศกั ยภาพและเต็มเวลา 4 3.00 2.40 4

6.7 เด็ก ผูป้ กครองและชุมชน พงึ พอใจผล

การบริหารจดั การศึกษาปฐมวัย 4 2.00 1.60 4

มาตรฐานท่ี 7 แนวการจดั การศกึ ษา 20.0 12.80 3

7.1 มีหลกั สตู รการศึกษาปฐมวัยของ

สถานศกึ ษาและนำสกู่ ารปฏบิ ัตไิ ดอ้ ย่างมี

ประสทิ ธิภาพ 4 4.00 3.20 4

7.2 มรี ะบบและกลไกใหผ้ ู้มีส่วนรว่ มทกุ ฝ่าย

ตระหนักและเข้าใจการจดั การศึกษา

ปฐมวยั 3 4.00 2.40 3

32

จำนวน จำนวน

มาตรฐาน / ตัวบ่งชี้ นกั เรยี น นักเรียน รอ้ ยละ/ ค่า คะแนน ระดับ ความ
/ครู ที่ / ระดับ น้ำหนั ที่ได้ คุณภา หมาย
อยู่ใน ที่ได้
ระดบั 3 จำนวน ก พ ดี
ครู ดี
ดี
ข้ึนไป ท้ังหมด ดีเลิศ
ดีเลิศ
7.3 จัดกจิ กรรมเสรมิ สร้างความตระหนักรู้ ดีเลิศ

และความเขา้ ใจหลกั การจดั การศึกษา ดเี ลศิ
ดเี ลิศ
ปฐมวยั 3 4.00 2.40 3 ดเี ลิศ
ดีเลิศ
7.4 สร้างการมีส่วนร่วมและแสวงหาความ

รว่ มมอื กบั ผู้ปกครอง ชุมชน และทอ้ งถนิ่ 3 4.00 2.40 3

7.5 จดั สิง่ อำนวยความสะดวกเพ่ือพฒั นาเดก็

อยา่ งรอบดา้ น 3 4.00 2.40 3

มาตรฐานที่ 8 สถานศกึ ษามีการประกนั

คุณภาพภายในของสถานศึกษาตามที่กำหนด

ในกฎกระทรวง 5.00 4.00 4

8.1 กำหนดมาตรฐานการศกึ ษาปฐมวัยของ

สถานศกึ ษา 4 1.00 0.80 4

8.2 จดั ทำ และดำเนินการตามแผนพัฒนา

การจัดการศึกษาของสถานศกึ ษาที่มุ่งพัฒนา

คณุ ภาพ ตามมาตรฐานการศึกษาของ

สถานศกึ ษา 4 1.00 0.80 4

8.3 จดั ระบบข้อมลู สารสนเทศและใช้

สารสนเทศในการบรหิ ารจดั การ 4 1.00 0.80 4

8.4 ตดิ ตามตรวจสอบและประเมนิ ผลการ

ดำเนนิ งานคุณภาพภายในตามมาตรฐาน

การศกึ ษาของสถานศึกษา 4 0.50 0.40 4

8.5 นำผลการประเมนิ คุณภาพ ท้งั ภายในและ

ภายนอก ไปใช้วางแผนพัฒนาคุณภาพ

การศึกษาอยา่ งต่อเนือ่ ง 4 0.50 0.40 4

8.6 จดั ทำรายงานประจำปีที่เป็นรายงานการ

ประเมินคุณภาพภายใน 4 1.00 0.80 4

33

ดา้ นที่ 3 มาตรฐานกระบวนการจดั ประสบการณท์ ี่เนน้ เด็กเปน็ สำคญั 5.00 4.00 4 ดีมาก

มาตรฐานท่ี 9 สถานศกึ ษามีการสร้าง

ส่งเสรมิ สนบั สนุน ใหส้ ถานศึกษาเปน็ สังคม 5.00 4.00 4 ดเี ลศิ
แหง่ การเรยี นรู้

9.1 เปน็ แหลง่ เรียนรู้ เพอ่ื พัฒนาการเรียนรู้ 4 2.50 2.00 4 ดีเลศิ
ของเด็ก และบุคลากรในสถานศึกษา

9.2 มกี ารแลกเปลย่ี นเรียนรู้ร่วมกนั ภายใน

สถานศึกษา ระหว่างสถานศึกษากับครอบครวั

ชุมชน และองค์กรท่ีเกีย่ วข้อง 4 2.50 2.00 4 ดีเลศิ

34

สว่ นท่ี 3
สรปุ ผล แนวทางการพฒั นา และความต้องการการชว่ ยเหลือ

สรุปผลการประเมินตนเองโดยภาพรวมระดับปฐมวัย อยู่ในระดบั ดีเลศิ

จุดเดน่ ของสถานศึกษา จดุ ทค่ี วรพฒั นาของสถานศกึ ษา
1. ดา้ นคณุ ภาพของเด็ก 1. ดา้ นคณุ ภาพของเด็ก

มกี ารจัดทำหลักสตู ร และโครงการดสริม ท่ี การเข้าถงึ เกี่ยวกบั ครอครวั บา้ น ชมุ ชน
สนับสนุน พฒั นาการทุกดา้ นของนักเรยี น การ การทำงานรว่ มกนั ระหว่างโรงเรียนกับ ผปู้ กครอง
เคล่อื นไหวท่ีคลอ่ งแคลว่ และความสนใจ
กระตือรือรน้ ทีจ่ ะเข้ารว่ มกจิ กรรมของนักเรยี น

2. ด้านกระบวนการบรหิ ารและการจดั การ 2. ดา้ นกระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
มกี ารจดั ทำหลกั สูตรสถานศึกษาที่ครอบคลุมตรง การจดั การบุคลากร ท่ยี ังขาดแคลนไม่เพยี งพอต่อ
ตอ่ ความต้องการของนกั เรยี น และมีการจดั ทำ การสอน
หลกั สตู รเฉพาะเพ่ือนักเรยี นที่ตอ้ งการพเิ ศษ

3. ด้านการจดั ประสบการณ์ทเ่ี นน้ เด็กเป็นสำคญั 3. ด้านการจดั ประสบการณ์ท่ีเนน้ เด็กเปน็ สำคัญ

มีการจัดทำ sar รายบุคคลเพื่อประเมินนักเรยี น การใช้บคุ ลากร และสอ่ื ยังไมค่ ุ้มคา่ ในการ

ทมี่ ีความต้องการพเิ ศษอยา่ งตรงจดุ พฒั นานกั เรยี น

แนวทางการพัฒนาในอนาคต
จดั โครงการ กิจกรรมสง่ เสรมิ สนบั สนนุ ตามนโยบายเก่ยี วกบั การจัดการศึกษาปฐมวยั ทค่ี รอบคลุม

และมมปี ระสิทธิภาพทม่ี ากข้ึน การจดั สรรบุคคลากรท่ีเพียงพอตอ่ ภาระงาน
ความต้องการการชว่ ยเหลือ

การขาดแคลนบคุ ลากรและมีบุคคลากรมากเกนิ ไปในบางรายวชิ า ส่งผลให้นกั เรยี นไม่ได้รบั การพฒั นาได้
อย่างมปี ระสิทธิภาพ

35

ผลการดำเนนิ งานตามมาตรฐานการศกึ ษา เพือ่ การประกันคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา
ระดับการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน ( 3 มาตรฐาน )

มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผู้เรียน ระดับคณุ ภาพ : ดเี ลิศ

1. วธิ ีการพฒั นา / กระบวนการพฒั นา

โรงเรียนเพยี งหลวง ๒ ในทูลกระหมอ่ มหญงิ อบุ ลรัตนราชกัญญา สริ วิ ฒั นาพรรณวดี มกี ระบวนการพฒั นา
ผู้เรียนดว้ ยวิธกี ารทีห่ ลากหลาย ครูจดั การเรียนรใู้ หเ้ ปน็ ไปตามศักยภาพของผ้เู รยี น และเปน็ ไปตามมาตรฐานและ
ตัวชีว้ ดั ของหลักสตู ร มีการออกแบบการจัดการเรยี นรูท้ ่ีเหมาะสมกับผเู้ รียน โดยมีการจดั การเรยี นรู้ทั้งรปู แบบการ
ระดมสมอง แบบลงมอื ปฏบิ ัติจรงิ แบบร่วมมอื กันเรียนรู้ แบบใชก้ ระบวนการคิด การเรยี นรู้แบบสะเตม็ ศกึ ษา
(STEM) การเรยี นรู้แบบกระบวนการใชส้ มองเปน็ ฐาน(BBL) และเนน้ เรือ่ งการอา่ นออกของผ้เู รียนเปน็ เร่ืองสำคัญ
ทส่ี ดุ โดยมุง่ พฒั นาให้ผ้เู รียนทุกคนอ่านออกและเขียนได้ตง้ั แต่ระดับชั้น ป. 1 พฒั นาครูทุกคนใหม้ ีความสามารถใน
การนำเทคนิควิธีสอนใหต้ รงตามศักยภาพผเู้ รยี น ใช้สอื่ เทคโนโลยใี นการจัดการเรยี นการสอน มีแหลง่ เรยี นร้แู ละ
แหล่งสืบค้นขอ้ มูล ไดแ้ ก่ ห้องสมุดเพ่ือการเรยี นรู้ และ การจัดการเรยี นรู้ผา่ นระบบ DLIT (Smart TV) ครรู ่วมกัน
กำหนดแผนการจดั การเรียนรู้ การวดั และประเมนิ ผลแบบบูรณาการ ครเู นน้ การใช้คำถาม และเน้นให้ผเู้ รียนได้ลง
มือปฏบิ ตั จิ ริง เพ่ือพัฒนาทักษะการคิดของผู้เรยี น

นอกจากนี้ สถานศึกษาได้มีการดำเนนิ การเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิตของผูเ้ รียน เพ่ือใหอ้ ยู่ในสงั คมได้อย่างมี
ความสขุ เนน้ การพฒั นาด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ที่เหมาะสมกบั วยั ของผูเ้ รยี น และสอดคล้องกับหลักปรชั ญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี ง ซง่ึ ได้ดำเนินการภายใต้โครงการการพฒั นาสภาพแวดล้อมภายในโรงเรียนใหเ้ ป็นฐานการเรียนรู้
ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ประกอบด้วย กิจกรรมฐานการเรียนรู้ทีห่ ลากหลาย ไดแ้ ก่ การเล้ยี งไก่ พนั ธ์ุ
ไข่ การเล้ยี งปลาในสระ การเพาะเห็ด ห้องสมดุ เพ่ือการเรยี นรู้ การปลูกมะนาวในท่อ การเล้ียงหมูหลุม และการ
ปลกู ผกั ไรส้ ารพษิ จัดกิจกรรมการพัฒนาคณุ ธรรมผู้เรียนโดย เนน้ ให้ผู้เรียนมีวนิ ยั ซ่อื สัตย์ รบั ผิดชอบ และมีจิต
สาธารณะ นำภมู ิปัญญาท้องถ่ินมาร่วมกนั วางแผนการจัดการเรียนการสอน และมีการเรียนรูใ้ นสโู่ ลกกว้างผ่าน
โครงการศึกษาแหลง่ เรยี นรู้ เป็นต้น

2. ผลทีเ่ กิดจากการพัฒนา
ในดา้ นผลการประเมินผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น ผเู้ รยี นสามารถอ่านออกและอ่านคลอ่ งตามมาตรฐานการ

อา่ นในแตล่ ะระดับชั้น สามารถเขียนสื่อสารได้ รจู้ กั การวางแผน และสามารถทำงานรว่ มกับผ้อู ่ืนไดด้ ตี ามหลัก
ประชาธปิ ไตย กล้าแสดงออก สืบคน้ ข้อมลู หรือแสวงหาความรูจ้ ากสอ่ื เทคโนโลยีไดด้ ้วยตนเอง รวมท้ังสามารถ
จำแนกแยกแยะได้ว่าสงิ่ ไหนดี สำคัญ จำเป็น รวมทง้ั ร้เู ทา่ ทันส่อื และสงั คมท่ีเปลีย่ นแปลงอยา่ งรวดเรว็ ผเู้ รยี นรู้
และตระหนักถงึ โทษและพษิ ภัยของสง่ิ เสพติดตา่ ง ๆ รักการออกกำลงั กาย นักเรยี นทุกคน สามารถเล่นกฬี าได้อย่าง
นอ้ ยคนละประเภท ยอมรับในกฎกตกิ าของกลมุ่ ของสถานศกึ ษา ของสังคม มีทศั นคติทด่ี ตี อ่ อาชีพสุจรติ รวมถงึ มี
ความเข้าใจเร่ืองความแตกต่างระหว่างบุคคล ทง้ั น้ี มผี ลการดำเนนิ งานเชงิ ประจักษจ์ ากการประเมินในด้านตา่ ง ๆ
ดังน้ี

36

นกั เรียนต้องได้รับการพัฒนาด้านการอ่าน
ปีการศกึ ษา 2562

กลมุ่ เครือขา่ ยพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาบา้ นกรวด 3

สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาบุรีรัมย์ เขต 2

ที่ จำนวนนกั เรยี นท่ตี อ้ งพัฒนาจากคร้ังที่ 2 หมายเหตุ
ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1

1 1 คน
ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๒
ผา่ นยกชน้ั
ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๓
ผา่ นยกชนั้
ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๔
ผ่านยกชนั้
ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๕
ผ่านยกชั้น
ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๖
ผ่านยกชั้น

คิดเป็นรอ้ ยละ 0.61 ของนกั เรียนท้งั หมด 164 คน

37

2) การประเมนิ ความสามารถด้านการอา่ นออกของผ้เู รยี น (Reading Test : RT)
ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศกึ ษา 2562

รอ้ ยละของผลการประเมนิ

รวม 2 สมรรถนะ

อ่านรู้เร่อื ง

อา่ นออกเสียง

คะแนนเฉล0่ยี ระดบั ประเท1ศ0 คะแน2น0เฉล่ยี ระดับสัง3ก0ดั คะแ4น0นเฉล่ียระดับเ5ข0ตพนื้ ที่ 6ค0ะแนนเฉลย่ี ระ7ด0ับโรงเรยี น 80

3) ผลการประเมินด้วยข้อสอบมาตรฐานกลาง ปกี ารศึกษา 2562
3.1 กลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย

รอ้ ยละของผลการประเมนิ

ป.2
ป.4
ป.5
ม.1
ม.2

0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100
ปรับปรงุ พอใช้ ดี ดีมาก

38

3.2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

รอ้ ยละของผลการประเมิน

ป.2
ป.4
ป.5
ม.1
ม.2

0 10 20 30 40 50 60 70 80 90
ปรับปรงุ พอใช้ ดี ดมี าก

3.3 กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์

รอ้ ยละของผลการประเมนิ

ป.2
ป.4
ป.5
ม.1
ม.2

0 10 20 30 40 50 60 70 80 90
ปรบั ปรุง พอใช้ ดี ดีมาก

39

3.4 กลุ่มสาระการเรียนภาษาอังกฤษ

ร้อยละของผลการประเมนิ

ป.2
ป.4
ป.5
ม.1
ม.2

0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100
ปรบั ปรุง พอใช้ ดี ดีมาก

4) ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ั้นพื้นฐาน (O-NET) ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6
ปีการศึกษา 2562

ร้อยละ

คะแนนเฉลี่ยระดบั ประเทศ

คะแนนเฉลย่ี สังกดั สพฐ.ทัง้ หมด

คะแนนเฉลย่ี ระดบั จังหวัด

คะแนนเฉลย่ี ของโรงเรียน

0.00 10.00 20.00 30.00 40.00 50.00 60.00
ภาษาอังกฤษ วทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ ภาษาไทย

40

5) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ นั้ พน้ื ฐาน (O-NET) ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3
ปีการศึกษา 2562

ร้อยละ

คะแนนเฉลีย่ ระดบั ประเทศ

คะแนนเฉล่ีย สงั กดั สพฐ.
ท้งั หมด

คะแนนเฉล่ยี ระดับจังหวัด

คะแนนเฉลยี่ ของโรงเรยี น 60.00

0.00 10.00 20.00 30.00 40.00 50.00
ภาษาอังกฤษ วิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ ภาษาไทย

6) ผลการทดสอบความสามารถพนื้ ฐานระดับชาติ (NT) ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 3
ปีการศึกษา 2562

คะแนนเฉล่ียระดบั ประเทศ

คะแนนเฉลี่ย สังกดั สพฐ.
ทั้งหมด

คะแนนเฉลีย่ ระดบั จงั หวดั

คะแนนเฉล่ียเขตพนื้ ท่ี

คะแนนเฉล่ียของโรงเรียน

0.00 10.00 20.00 30.00 40.00 50.00 60.00
ด้าคณิตศาสตร์ ดา้ นภาษาไทย

41

7) การประเมนิ คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ ป. 1 – 6 ปกี ารศึกษา 2562

ดเี ยย่ี ม ดี

100
50
50

100
64.29
35.71
38.1
61.9

72.73

0
0
0

ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6

8) การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ม. 1 – 3 ปีการศกึ ษา 2562

ดเี ย่ียม ดี

65
35

52.17
47.83

71.43
28.57

ม.1 ม.2 ม.3

42

3. ข้อมลู หลกั ฐาน เอกสารเชงิ ประจกั ษ์ ที่สนบั สนุนผลการประเมนิ ตนเอง

ประเดน็ ภาพความสำเรจ็ ด้านคุณภาพผ้เู รียนทสี่ นบั สนนุ ผลการประเมนิ ตนเอง ได้แก่

1) โครงการพัฒนาการอา่ นการเขียนภาษาไทย กจิ กรรมพฒั นาการอา่ นออก เขยี นได้ กิจกรรมอา่ นคล่อง

เขยี นคล่อง อา่ นออกยกชน้ั 2) โครงการสง่ เสรมิ สขุ ภาพและสุนทรียภาพผูเ้ รยี น กิจกรรมแอโรบคิ กิจกรรมสายใย

รักครอบครัวอบอนุ่ กิจกรรมส่งเสริมความเปน็ เลิศดา้ นดนตรี ศิลปะ กจิ กรรมกีฬาโฎนตาแกมส์ (กีฬา)

3) โครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมและคา่ นยิ มที่พงึ ประสงค์ กิจกรรมออมทรัพย์ กิจกรรมสหกรณ์ในโรงเรยี น

กิจกรรมโรงเรียนวิถีพุทธ กิจกรรมส่งเสรมิ คา่ นิยมหลกั 12 ประการ 4) โครงการพัฒนาผ้เู รยี นให้มที ักษะหนงึ่

โรงเรยี นหนึง่ ผลติ ภณั ฑ์ (ประดษิ ฐบ์ ายศรี) 5) โครงการสง่ เสริมศักยภาพผเู้ รียนเพ่ือยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น

กิจกรรมแขง่ ขันทักษะทางวิชาการ กจิ กรรมพิชติ NT กิจกรรมพิชติ O-NET กจิ กรรมศกึ ษาจากแหล่ง

เรียนรูภ้ ายนอก กจิ กรรมคา่ ยวิชาการ กิจกรรมคลินิกนกั เรียนเรยี นรวม กิจกรรมสัญญาการอ่านประสานผู้ปกครอง

4. แผนพฒั นาเพ่ือยกระดบั คุณภาพให้สงู ขนึ้
1) พฒั นาให้นักเรียนมที ักษะในการอา่ น การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณเป็นไปตามเกณฑท์ ่ี

โรงเรียนกำหนดในแต่ระดบั ช้ัน
2) พัฒนาให้นักเรียนมคี วามสามารถในการคิดจำแนก แยกแยะ ใคร่ครวญไตรต่ รอง พิจารณาอย่าง

รอบคอบโดยใชเ้ หตผุ ลประกอบการตัดสนิ ใจ มีการอภิปรายแลกเปลยี่ นความคิดเห็น และแกป้ ัญหาอย่างมีเหตผุ ล
3) พัฒนาให้นักเรียนมีความสามารถในการรวบรวมความรูไ้ ด้ท้งั ดว้ ยตนเองและการทำงานเปน็ ทมี

เช่อื มโยงองค์ความรู้ และประสบการณ์มาใช้ในการสรา้ งสรรคส์ ่งิ ใหม่ ๆ
4) พัฒนาให้นักเรียน มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สารเพอ่ื พัฒนาตนเอง และ

สงั คมในดา้ นการเรียนรู้ การส่ือสาร การทำงาน อย่างสรา้ งสรรค์ และมคี ุณธรรม
5) พฒั นาให้นักเรยี น มีความก้าวหน้าในการเรียนรู้ตามหลกั สูตรสถานศึกษาจากพืน้ ฐานเดมิ ในด้านความรู้

ความเขา้ ใจ ทักษะ กระบวนการต่าง ๆ รวมทัง้
6) พัฒนาให้นักเรยี นมคี วามก้าวหน้าในผลการทดสอบระดับชาติ มคี วามรู้ ทักษะพื้นฐานในการจัดการเจต

คติทด่ี ีพรอ้ มทจ่ี ะศกึ ษาต่อในระดับช้ันทสี่ งู ข้นึ มีพฤติกรรมเปน็ ผทู้ ี่มคี ุณธรรม จริยธรรม เคารพในกฎกติกา
7) พัฒนาให้นักเรียนมคี ่านยิ มและจิตสำนึกตามที่สถานศึกษามคี วามภมู ิใจในทอ้ งถิ่น เหน็ คุณคา่ ของความ

เปน็ ไทย มสี ่วนรว่ มในการอนุรกั ษ์วัฒนธรรมประเพณีไทยรวมท้งั ภมู ปิ ญั ญาไทย
8) พฒั นาให้นักเรยี น มกี ารรักษาสุขภาพกาย สุขภาพจิต อารมณ์ และสงั คม แสดงออกอย่างเหมาะสมใน

แต่ละชว่ งวัย

43

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหาร ระดับคุณภาพ : ยอดเยย่ี ม
สถานศึกษา

1. วธิ ีการพฒั นา / กระบวนการพฒั นา

โรงเรียนได้ดำเนินการวิเคราะห์สภาพปัญหา ผลการจัดการศึกษาที่ผ่านมา โดยการศึกษาข้อมูล
สารสนเทศจากผลการนิเทศ ติดตาม ประเมินการจัดการศึกษาตามนโยบายการปฏิรูปการศึกษา และจัดประชุม
ระดมความคดิ เห็น จากบุคลากรในสถานศกึ ษาเพ่ือวางแผนร่วมกันกำหนดเป้าหมาย ปรบั วสิ ยั ทัศน์ กำหนดพนั ธกิจ
กลยุทธ์ ในการจดั การศึกษาของสถานศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน มกี ารปรบั แผนพฒั นาคุณภาพจัดการศึกษา
แผนปฏิบัติการประจำปี ให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา และนโยบายการปฏิรูปการศึกษา
พร้อมทงั้ จัดหาทรัพยากร จดั สรรงบประมาณ มอบหมายงานใหผ้ ู้รับผิดชอบ ดำเนินการพัฒนาตามแผนงานเพ่ือให้
บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ มีการดำเนินการนิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน และสรุปผลการ
ดำเนินงาน

2. ผลการดำเนนิ งาน
2.1 สถานศึกษามีการกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจสอดคล้องกับสภาพปัญหาความต้องการ

พัฒนาของสถานศึกษา นโยบายการปฏิรูปการศึกษา ความต้องการของ ชุมชน ท้องถิ่น และสอดคล้องกับแนว
ทางการปฏิรูปตามแผนการศกึ ษาชาติ

2.2 แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี สอดคล้องกับการพัฒนาผู้เรียนทุก
กลุ่มเป้าหมาย มกี ารพฒั นาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ความเช่ียวชาญ ตามมาตรฐานตำแหน่งข้อมูล
สารสนเทศมีความถูกต้อง ครบถ้วน ทันสมัย นำไปประยุกต์ใช้ได้ ดำเนินการอย่างเป็นระบบ และมีกิจกรรมจัด
สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมทก่ี ระตนุ้ ผู้เรยี นใหใ้ ฝเ่ รยี นรู้

2.3 สถานศึกษามีการปรบั แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี ให้สอดคลอ้ งกบั
สภาพปัญหา ความตอ้ งการพัฒนา และนโยบายการปฏิรูปการศึกษา โดยผ้มู สี ่วนได้ส่วนเสยี มสี ่วนร่วมในการพฒั นา
และร่วมรับผิดชอบ

2.4 ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย และเครือข่ายการพัฒนาคุณภาพการศึกษา มีส่วนร่วมในการร่วมวางแผนพัฒนา
คุณภาพการศกึ ษา และรบั ทราบ รับผดิ ชอบต่อผลการจดั การศึกษา

2.5 สถานศึกษามีการนิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษาที่เหมาะสม
เปน็ ระบบ และต่อเนือ่ ง เปดิ โอกาสให้ผูเ้ ก่ยี วขอ้ งมีส่วนรว่ มในการจัดการศกึ ษา

2.6 สถานศึกษามีรูปแบบการบริหารและการจัดการเชิงระบบ โดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วม ยึดหลัก
ธรรมาภบิ าล และแนวคิดหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง โดยมงุ่ พัฒนาผเู้ รียนตามแนวทางปฏิรปู การศึกษา

2.7 สถานศกึ ษามีการระดมทรัพยากรเพ่ือการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาจากหนว่ ยงานต้นสังกดั ชมุ ชน
และหนว่ ยงานอ่ืนทเ่ี กีย่ วข้อง สง่ ผลให้สถานศกึ ษามีสอื่ และแหล่งเรียนรูท้ ม่ี ีคุณภาพ

44

วธิ ีการพฒั นา ผลการพัฒนา
การพัฒนาครบู คุ ลากร ร้อยละของครทู ไ่ี ดร้ บั การอบรมพฒั นา
ทางการศกึ ษา

8% ยังไมเ่ คยได้รบั การพัฒนา
0% 1 ครัง้ /ภาคเรียน
2 ครั้ง/ภาคเรยี น
15% มากกวา่ 2 คร้งั /ภาคเรียน

77%

การมสี ว่ นร่วมของ ร้อยละของเครือขา่ ยทีเ่ ขา้ มามสี ่วนร่วมในการวางแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา
เครือข่ายในการพัฒนา
คณุ ภาพการศึกษา 0%
00%%
ไมไ่ ดม้ ีสว่ นร่วม
100% 1 ครง้ั /ภาคเรียน
2 ครั้ง/ภาคเรยี น
มากกวา่ 2 ครง้ั /ภาคเรยี น

การจดั หาทรัพยากร ผู้บริหารได้ระดมทรัพยากรสำหรับการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ทั้งในรูปของ
งบประมาณ และบุคคลที่เป็นภูมิปัญญาจากท้องถิ่นมาช่วยในการสนับสนุนการ
จัดการเรียนการสอน

45

3. ขอ้ มลู หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ท่ีสนบั สนนุ ผลการประเมินตนเอง
ประเดน็ ภาพความสำเร็จดา้ นกระบวนการบรหิ ารและการจัดการได้แก่ โรงเรยี นมีเปา้ หมายวิสยั ทัศน์ และ

พนั ธกจิ ทโ่ี รงเรียนกำหนดชดั เจน สอดคล้องกบั บรบิ ทของโรงเรยี น ความตอ้ งการของชุมชน มีระบบการบรหิ าร
จัดการคุณภาพอย่างเป็นระบบ วางแผนพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศึกษาโดยนำแผนไปปฏบิ ัติ ติดตาม
ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และปรับปรงุ พฒั นางานอยา่ งต่อเน่ือง มีการบริหารอัตรากำลัง ทรัพยากรทางการศกึ ษา
และระบบดูแลช่วยเหลอื นกั เรียน มกี ารนิเทศภายใน นำข้อมลู มาใชใ้ นการพัฒนาบคุ ลากร และผเู้ ก่ียวข้องทุก
ฝ่ายมสี ว่ นในการวางแผน ปรับปรงุ พฒั นาและร่วมกนั รบั ผิดชอบต่อการจดั การศกึ ษา มีการบริหารจดั การเกีย่ วกบั
งานวชิ าการ รวมถึงการจดั การเรยี นการสอนของกลุ่มเรยี นร่วมดว้ ย มกี ารส่งเสรมิ สนบั สนุนพฒั นาครแู ละบคุ ลากร
ตรงตามความต้องการและจัดให้มีชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชีพ มาใช้ในการพัฒนางานและการเรียนรูข้ องผู้เรียน
จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ ภายในและภายนอกห้องเรียน และสภาพแวดล้อมทางสังคมที่เอื้อต่อการจดั การ
เรียนร้ขู องผเู้ รียนท่ีมีคณุ ภาพ มีความปลอดภยั จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ สนบั สนนุ การบรหิ ารจัดการ และ
การจดั การเรยี นรทู้ ่ีเหมาะสมกบั สภาพของโรงเรียน พฒั นาบรกิ ารดา้ นเทคโนโลยี สารสนเทศ มหี อ้ งปฏบิ ัตกิ าร
คอมพิวเตอร์เพ่ือใชใ้ นการบริหารจัดการและการจัดการเรยี นรู้อย่างเหมาะสม
4. แผนพฒั นาคณุ ภาพเพอ่ื ยกระดับให้สูงขึ้น

1) มโี ครงการการบริหารจดั การเก่ียวกบั งานวิชาการ การพัฒนาหลกั สตู ร
2) กิจกรรมเสริมหลกั สูตรทีเ่ น้นคณุ ภาพผเู้ รียนรอบดา้ น
3) โครงการจัดการเรยี นการสอนนกั เรียนเรยี นรวม
4) โครงการพฒั นาครูสคู่ รูมอื อาชพี
5) โครงการจัดสภาพแวดลอ้ มให้เป็นแหลง่ เรียนรู้

46

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผูเ้ รยี น ระดับคุณภาพ : ยอดเย่ยี ม
เป็นสำคัญ

1. วธิ ีการพัฒนา / กระบวนการพัฒนา

โรงเรยี นดำเนนิ การส่งเสริมให้ครจู ดั การเรยี นการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคญั โดยการดำเนนิ งาน/กจิ กรรม
อย่างหลากหลาย ไดแ้ ก่ งานหลักสตู รมีการประชุมปฏิบัติการปรับปรงุ หลักสูตรสถานศึกษา พัฒนา สู่ประชาคม
อาเซยี นและมาตรฐานสากล มกี ารบูรณาการภาระงาน ช้ินงาน โดยทกุ ระดับชนั้ จัดทำ หน่วยบรู ณาการอาเซยี น
เศรษฐกจิ พอเพยี งปรบั โครงสรา้ งรายวิชา หน่วยการเรียนรู้ ลดเวลาเรยี น เพิ่มเวลารู้ สัดส่วนคะแนนแตล่ ะหน่วย
กำหนดคุณลักษณะอนั พึง ประสงค์ทสี่ อดคล้องกบั หน่วยการเรยี นรู้ สนับสนุนให้ครูจัดการเรียนการสอนทสี่ รา้ ง
โอกาสให้นักเรยี นทกุ คนมสี ว่ นร่วม ได้ลงมือปฏบิ ัติจรงิ จนสรุปความรู้ได้ดว้ ยตนเอง จดั การเรยี นการสอนที่เนน้
ทกั ษะการคิด เชน่ จัดการเรียนร้ดู ว้ ยโครงงาน ครมู ีการมอบหมายหน้าทีใ่ ห้นักเรยี นจดั ป้ายนเิ ทศ และบรรยากาศ
ตามสถานท่ตี ่าง ๆ ทั้งภายในห้องเรยี นและนอกห้องเรียน ครูใช้สือ่ การเรียน การสอน นวัตกรรมและเทคโนโลยี
ภูมิปญั ญาท้องถ่ินมกี ารประเมินคุณภาพและประสิทธภิ าพของสอื่ การสอนที่ใช้ ครทู ุกคนทำงานวิจยั ในชนั้ เรยี นปี
การศกึ ษาละ 1 เรื่อง และไดร้ ับการตรวจให้คำแนะนำโดยคณะกรรมการวจิ ัยของเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษา

2. ผลการดำเนนิ งาน
จากการดำเนินงาน/โครงการ/กิจกรรมอยา่ งหลากหลาย เพ่ือพัฒนาใหค้ รจู ัดการเรียนการสอนทเี่ น้น

ผูเ้ รยี นเป็นสำคัญ ส่งผลใหผ้ ลการประเมินคณุ ภาพมาตรฐานท่ี 3 อยูใ่ นระดบั ดเี ยย่ี มโดยการวางแผนอำนวยความ
สะดวก การวิเคราะหข์ ้อมูลของผู้เรยี น ซึง่ จำเป็นต้องมขี ้อมูลผเู้ รียนรอบด้านเพ่ือนำมาวิเคราะห์และจัดการได้อยา่ ง
เหมาะสม เชน่ จัดการด้านแหลง่ เรียนรู้ จัดกิจกรรมสนบั สนุน
การให้การสงเคราะห์ เปน็ ตน้ หรือการสร้างความสมั พันธก์ ับหน่วยงานอน่ื ชมุ ชน บุคคลอื่น เพ่อื เอื้อต่อการจดั การ
เรยี นรู้ รวมถึงการบริหารชน้ั เรียนให้สอดคลอ้ งกับรูปแบบหรอื วธิ ีการจัดการเรียนรู้แต่ละครง้ั และกำหนด
จดุ ประสงค์ ประเมนิ พฤติกรรมหรอื ความสามารถของผู้เรยี น กำหนดวิธีการสอน และประเมินผล
3. ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจกั ษ์ ที่สนบั สนุนผลการประเมินตนเอง

ประเด็นภาพความสำเร็จดา้ นกระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่เี นน้ ผ้เู รียนเป็นสำคัญท่ีสนบั สนนุ ผลการ
ประเมนิ ตนเอง ไดแ้ ก่หลักสตู รสถานศกึ ษา หลกั สูตรรายวชิ าเพิม่ เติม กจิ กรรมชมุ นุม ให้นักเรียนเลือกตามความ
ถนดั และความสนใจผา่ นกระบวนการคิดและปฏิบัตจิ รงิ การบนั ทึกการใช้ส่อื เทคโนโลยีและแหล่งเรียนรู้ เอกสาร
การตรวจสอบและประเมินผ้เู รยี นอยา่ งเป็นระบบ และนำผลมาพฒั นาผู้เรียนมีการบรหิ ารจดั การชน้ั เรียนเชงิ บวก
โดยครูมีวิจัยช้ันเรียนและนำผลไปแก้ไขปัญหาจริง ครมู ีการแลกเปลย่ี นเรยี นรแู้ ละให้ขอ้ มูลสะท้อนกลบั เพื่อ
พัฒนาและปรบั ปรงุ การจัดการเรียนร้โู ดยจัดกิจกรรมวชิ าการบรู ณาการ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้

47

4. แผนพฒั นาคณุ ภาพเพอื่ ยกระดบั ใหส้ ูงขน้ึ
1) โครงการปรับปรงุ หลกั สตู รสถานศกึ ษา
2) โครงการจัดการเรยี นรู้แบบโครงงาน
3) โครงการพัฒนาการใช้สอื่ เทคโนโลยี สูห่ อ้ งเรยี น
4) โครงการส่งเสริมใหค้ รจู ดั ทำแผนการจัดการเรยี นรู้และนำไปใชจ้ ริง
5) กจิ กรรมสำหรบั นักเรียนทีต่ ้องการความช่วยเหลอื เป็นพเิ ศษ/นกั เรยี นเรียนรวมใหน้ ักเรยี นมคี วามรู้

สงู ข้ึนตามระดับชนั้

สรุปผลการประเมินในภาพรวม

ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาอย่ใู นระดับ ดเี ลศิ
จากผลการดำเนินงานโครงการ และกจิ กรรมตา่ ง ๆ สง่ ผลให้สถานศกึ ษาจัดการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา
ประสบผลสำเร็จตามทตี่ งั้ เป้าหมายไวใ้ นแตล่ ะมาตรฐาน จากผลการประเมนิ สรุปว่าได้ระดบั ดี ทง้ั นี้ เพราะ จาก
ผลการดำเนินงาน โครงการ และกิจกรรมต่าง ๆ ส่งผลใหส้ ถานศึกษาจัดการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาไปตาม
เปา้ หมายทีต่ ง้ั เป้าหมายไว้ในแตล่ ะมาตรฐาน ซึ่งจากผลการประเมินสรปุ วา่ ไดร้ ะดับ ดี ผลท่ีสนบั สนนุ การประเมนิ
ตนเอง ดังน้นี ักเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 1-6 อ่านออกเขียนได้ รอ้ ยละ 99.39 มีความสามารถในการสอ่ื สารเรยี นรู้
มผี ลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นผ่านเกณฑ์ตามทีส่ ถานศึกษากำหนด ผลการทดสอบระดบั ชาติ 3 ปยี ้อนหลงั ยังไมเ่ ป็นไป
ตามเกณฑ์สถานศกึ ษา (NTและ O-NET) ต่ำกว่าค่าเฉลย่ี ระดับชาติในบางวิชาและระดบั ช้นั ท่ีสอบ โรงเรียนได้
จดั ทำหนึ่งโรงเรยี นหนึ่งผลิตภัณฑ์ (ประดิษฐบ์ ายศรี) ท่ีเกิดจากความสามารถและความชืน่ ชอบของนักเรียน ไม่มี
อัตราความเสยี่ งการตดิ สงิ่ เสพติด มโี ครงการระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี นอยา่ งเขม้ แข็งไมม่ ีการทะเลาะวิวาทในโรงเรียน
โรงเรยี น มรี ะบบเทคโนโลยีและสารสนเทศที่พร้อมใช้งาน และมีระบบอนิ เตอร์เน็ตความเร็วสงู เพ่ือใช้ในการจัดการ
เรียนการสอนในห้องปฏบิ ตั ิการคอมพิวเตอร์ ครูจดั การเรียนการสอนโดยใชโ้ ครงงานเพอ่ื ส่งเสริมการคดิ วิเคราะห์
นกั เรียน และจดั กจิ กรรม Active learning เพอื่ สง่ เสรมิ การคิดและปฏบิ ัติจรงิ ทุกชน้ั เรียน ครไู ดร้ บั การพัฒนาตาม
โครงการต่างๆ และนำความรูม้ าจดั ทำแผนการเรียนรู้ ส่ือการเรียนการสอน และเครื่องมือวดั และประเมนิ ผล
ผู้เรียน ผู้บรหิ ารมีสัมพนั ธ์ภาพทีด่ ีกับชุมชน


Click to View FlipBook Version