The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สารานุกรมพืชในประเทศไทย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kuninobu.kento, 2020-09-04 01:10:38

สารานุกรมพืชในประเทศไทย

สารานุกรมพืชในประเทศไทย

สารานกุ รมพืชในประเทศไทย กลาย

กล้วยหนู พบทอี่ นิ เดยี ภมู ภิ าคอนิ โดจนี และมาเลเซยี ฟลิ ปิ ปนิ ส์ ในไทยสว่ นมากพบทาง
ภาคตะวันออกเฉยี งใต้ และภาคใต้ ขึน้ ตามป่าดบิ แล้ง และป่าดบิ ชนื้ ความสงู ถึง
Cyrtandra cupulata Ridl. ประมาณ 800 เมตร
วงศ์ Gesneriaceae
เอกสารอ้างองิ
ไมพ้ ุ่ม สงู ไดถ้ ึง 2 ม. มขี นสีนำ�้ ตาลแดงหนาแนน่ ตามกงิ่ ก้านใบและเสน้ แขนงใบ Meade, C.V. (2000). A systematic revision of the Uvaria L. group (Annonaceae)
ด้านลา่ ง ใบเรียงตรงข้าม รูปรี รูปขอบขนาน หรือแกมรูปไขก่ ลับ ยาว 13-46 ซม. in Continental Asia. Ph.D. Thesis, University of Dublin, Trinity College.
ปลายแหลมยาว โคนสอบเรยี ว ขอบจักฟันเลื่อย กา้ นใบยาว 1-2 ซม. ชอ่ ดอกสน้ั Zhou, L., Y.C.F. Su and R.M.K. Saunders (2009). Molecular phylogenetic
มไี ดถ้ ึง 10 ดอก ก้านดอกสน้ั ใบประดบั สีเขยี วอมขาว ยาวได้ถงึ 6 ซม. เชอ่ื มตดิ กนั support for a broader delimitation of Uvaria (Annonaceae), inclusive of
คลา้ ยรปู ถว้ ย ขอบจกั ฟนั เลอื่ ย มขี นประปราย ใบประดบั ยอ่ ยยาวประมาณ 4 ซม. Anomianthus, Cyathostemma, Ellipeia, Ellipeiopsis and Rauwenhoffia.
หลอดกลบี เลย้ี งยาว 1-1.5 ซม. แยกเปน็ 2 แฉก รปู สามเหลย่ี มปลายกลม ดอกสขี าว Systematics and Biodiversity 7(3): 249–258.
ดา้ นในมปี ้ืนสีน้ำ� ตาลแดง ยาว 3-4.5 ซม. กลบี กลม เสน้ ผา่ นศนู ย์กลางประมาณ
8 มม. 3 กลบี ล่างขนาดเลก็ กวา่ เลก็ นอ้ ย กา้ นชอู บั เรณยู าว 0.6-1 ซม. อนั ทเ่ี ปน็ หมนั
ยาว 1-5 มม. เกสรเพศเมียยาวได้ถงึ 2.5 ซม. รงั ไขเ่ กล้ยี ง กา้ นเกสรเพศเมียมขี น
ผลรปู ทรงกระบอก ปลายแหลม ยาว 1-2.5 ซม. ผลแก่มสี ะเก็ดสีน�ำ้ ตาล (ดขู อ้ มูล
เพมิ่ เติมที่ กลว้ ยกระแต, สกุล)

พบทคี่ าบสมทุ รมลายู และภาคใตต้ อนลา่ งของไทยทนี่ ราธวิ าส และยะลา ขนึ้ ตาม
ริมล�ำธาร ในปา่ ดบิ ชน้ื ความสงู 50-200 เมตร

เอกสารอ้างอิง
Bramley, G.L.C., A. Weber and Q.C.B. Cronk. (2004). The genus Cyrtandra
(Gesneriaceae) in Peninsular Malaysia and Singapore. Edinburgh Journal
of Botany 60(3): 336-340.

กลว้ ยหน:ู ใบประดบั สเี ขยี วอมขาว เชื่อมติดกนั คลา้ ยรูปถ้วย ขอบจักฟนั เล่อื ย กลีบดอกสีขาวดา้ นในมีปนื้ สีนำ�้ ตาล กลว้ ยอา้ ยพอน: ดอกสีแดงอมม่วง กลีบดอก 6 กลีบ ขนาดเท่า ๆ กนั เรียง 2 วง เรียงซอ้ นเหล่ือม (ภาพ: ยะลา - RP)
แดง ผลรปู ทรงกระบอก ปลายแหลม (ภาพ: นราธิวาส - MP)
กลางหนิ
กลว้ ยอ้ายพอน, สกลุ
Lysimachia fletcheri C. M. Hu & Bennell
Uvaria L. วงศ์ Primulaceae
วงศ์ Annonaceae
ไมล้ ม้ ลกุ สงู 5-40 ซม. แตกกง่ิ ตำ�่ มรี วิ้ ใบเรยี งเวยี น รปู ไขห่ รอื แกมรปู ขอบขนาน
ไมพ้ มุ่ ไมต้ น้ หรอื ไมเ้ ถา มขี นกระจกุ รปู ดาวกระจาย ใบเรยี งเวยี น ชอ่ ดอกแบบ ยาว 1.2-3 ซม. ปลายแหลม มตี ิ่งแหลม โคนสอบเรยี ว แผน่ ใบมีขนท้งั สองด้าน
ช่อกระจกุ ชอ่ กระจะ มักลดรปู มีดอกเดยี วหรอื เปน็ คู่ ออกตามปลายกิง่ ซอกใบ เสน้ แขนงใบข้างละ 3-4 เสน้ ดอกออกเดย่ี ว ๆ ตามซอกใบ ก้านดอกรูปเสน้ ดา้ ย
ตรงขา้ มใบ หรอื ตามกง่ิ ฐานดอกนนู (torus) เวา้ สว่ นมากมขี น กลบี เลยี้ ง 3 กลบี ยาว 1-1.2 ซม. กลบี เล้ียงแยกจรดโคน ตดิ ทน กลีบรปู ใบหอก ยาว 4-5.5 มม.
เรยี งจรดกัน เชือ่ มตดิ กันท่โี คน กลบี ดอก 6 กลบี ขนาดเทา่ ๆ กัน เรยี ง 2 วง ดอกสีเหลือง หลอดกลบี ดอกสั้น กลีบรปู ไข่แกมรปู ขอบขนาน ยาว 3.5-5 มม.
เรยี งซอ้ นเหลอื่ ม เกสรเพศผจู้ ำ� นวนมาก อบั เรณรู ปู ขอบขนานหรอื รปู แถบ แกนอบั เรณู กา้ นชอู บั เรณเู ชอื่ มตดิ กนั ทโี่ คน กา้ นทแี่ ยกยาว 1-1.5 มม. อบั เรณยู าวประมาณ
ปลายตดั หรอื มน คารเ์ พลจำ� นวนมาก ออวลุ สว่ นมากมจี ำ� นวนมาก เรยี ง 1-2 แถว 1 มม. มรี เู ปดิ ทป่ี ลาย รงั ไขเ่ กลยี้ ง ผลรปู กลม ๆ เสน้ ผ่านศนู ยก์ ลางประมาณ 3 มม.
กา้ นเกสรเพศเมียมขี น ยอดเกสรจัก 2 พู ม้วนเข้า ผลกลุ่ม ผลยอ่ ยแยกกันคล้าย แตกเป็น 5 ซีก (ดขู อ้ มลู เพ่ิมเตมิ ท่ี เหลอื งสยาม, สกุล)
ผลสดมีหลายเมลด็ มกี า้ น เมล็ดส่วนมากเรยี ง 2 แถว
พบทพี่ มา่ ในไทยพบทางภาคเหนอื ทดี่ อยเชยี งดาว จงั หวดั เชยี งใหม่ และดอย
สกุล Uvaria มี 150-190 ชนดิ พบในแอฟริกา มาดากสั การ์ เอเชีย ออสเตรเลยี หวั หมด จงั หวดั ตาก ขน้ึ ใตร้ ม่ เงาหรอื ทโี่ ลง่ บนเขาหนิ ปนู ความสงู 1000-2100 เมตร
และหมเู่ กาะแปซิฟิก ในไทยอาจมีไดถ้ งึ 25 ชนดิ ขอ้ มูลดา้ นชวี โมเลกลุ ไดร้ วมเอา
สกลุ Anomianthus, Cyathostemma, Ellipeia, Ellipeiopsis และ Rauwenhoffia เอกสารอ้างอิง
แต่ยงั ไมไ่ ด้รบั การยอมรับในวงกว้าง ชือ่ สกุลมาจากภาษาละตนิ “uva” เป็นกระจกุ Hu, C.M.. (1999). Primulaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(1): 159.
ตามลักษณะของผลกลุม่ ทม่ี ีผลย่อยตดิ เป็นกระจกุ
กลางหนิ : ไมล้ ้มลุกแตกก่ิงตำ�่ ปลายใบเปน็ ต่งิ แหลม ดอกออกตามซอกใบ กา้ นดอกยาว ผลรปู กลม กลีบเล้ียงตดิ ทน
กล้วยอ้ายพอน (ภาพ: ดอยหัวหมด ตาก - RP)

Uvaria lurida Hook. f. & Thomson กลาย
ไม้เถาเนือ้ แข็ง มขี นสัน้ นมุ่ สนี ำ�้ ตาลแดงตามก่ิงอ่อน แผ่นใบดา้ นลา่ ง ก้านใบ
Mitrephora keithii Ridl.
กา้ นดอก กลบี เลยี้ งดา้ นนอก กลบี ดอก และรงั ไข่ ใบรปู ขอบขนานหรอื แกมรปู ไขก่ ลบั วงศ์ Annonaceae
ยาว 10-15 ซม. ก้านใบยาว 0.7-1 ซม. ชอ่ ดอกมดี อกเดยี ว ก้านดอกยาว 1-2 ซม.
กลีบเลยี้ งคลา้ ยหมวก กลีบรปู ไข่กว้าง ยาวประมาณ 1 ซม. ดอกสแี ดงอมมว่ ง ไมพ้ ่มุ หรือไมต้ น้ สูงได้ถงึ 5 ม. ใบรูปรหี รอื รูปขอบขนาน ยาว 7-15 ซม. กา้ นใบ
กลีบรูปไข่กลับกวา้ ง โคนเรียวแคบ ปลายมนกลม เวา้ เข้า ยาวประมาณ 2 ซม. ยาวประมาณ 5 มม. ดอกออกเด่ียว ๆ ตรงข้ามใบใกล้ปลายก่ิง สีเหลืองนวล
เกสรเพศผู้สีเหลอื ง ยาวประมาณ 3.5 มม. ผลย่อยรปู ขอบขนาน ยาว 1.5-3 ซม. หรอื เขม้ มกี ลน่ิ หอม ดอกบานเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง 2.5-3 ซม. กา้ นดอกยาวประมาณ
มสี ันตามยาว คอดตามเมลด็ ก้านผลย่อยยาว 5-12 ซม. มี 2-10 เมลด็ รูปไข่ แบน ๆ
ยาว 0.8-1.1 ซม.

31

กลบี เทยี น สารานุกรมพชื ในประเทศไทย

5 มม. กลบี เลย้ี ง 3 กลบี รปู สามเหลี่ยมกว้าง ยาว 2-3 มม. กลบี ดอกวงนอกรปู ไข่ ก่วม, สกุล
ยาว 1.5-2 ซม. วงในรปู ไขก่ ลบั โคนเรยี วเปน็ กา้ นกลบี สน้ั กวา่ กลบี วงนอกเลก็ นอ้ ย
ปลายจรดกนั คลา้ ยกระเชา้ ขอบและเสน้ กลางกลบี เปน็ สนั นนู มลี ายเสน้ สมี ว่ งแดง Acer L.
เกสรเพศผปู้ ลายมรี ยางคส์ นั้ ๆ กา้ นชอ่ ผลยาว 1-1.5 ซม. ผลยอ่ ยรปู ทรงกระบอก วงศ์ Sapindaceae
ยาว 1-3 ซม. คอดตามเมลด็ ก้านยาวได้ถงึ 1 ซม. ผลออ่ นสีขาวนวล สุกสแี ดงอมส้ม
(ดูขอ้ มูลเพ่มิ เตมิ ท่ี มหาพรหม, สกุล) ไม้ต้น ไม่มีหูใบ มีเกลด็ หุม้ ตา (winter buds) ใบเดี่ยว เรยี บ จกั เปน็ พู หรือเปน็
ใบประกอบรปู ฝา่ มือ มี 3-5 ใบยอ่ ย เรียงตรงข้าม ชอ่ ดอกมหี ลายแบบ ดอกขนาดเลก็
พบทพี่ มา่ คาบสมทุ รมลายู และภาคตะวนั ตกเฉยี งใตข้ องไทยทเ่ี พชรบรุ ี และ มที ง้ั แบบดอกเพศผรู้ ว่ มตน้ หรอื แยกตน้ กบั ดอกสมบรู ณเ์ พศ กลบี เลยี้ งและกลบี ดอก
ประจวบครี ขี นั ธ์ ขนึ้ ตามปา่ ดิบแล้ง ความสูงถงึ ประมาณ 700 เมตร ส่วนมากมจี ำ� นวนอยา่ งละ 5 กลีบ เกสรเพศผูส้ ว่ นมากมี 8 อนั มี 2 คาร์เพล
เช่ือมตดิ กัน แต่ละคาร์เพลมีออวลุ 1-2 เม็ด ก้านเกสรเพศเมียแยก 2 แฉก ผลแบบ
เอกสารอา้ งองิ ปีกเดยี ว ส่วนมากติดเปน็ คู่ มเี มล็ดเดียว
ปยิ ะ เฉลิมกลิน่ . (2544). พรรณไม้วงศก์ ระดังงา. ส�ำ นักพิมพบ์ า้ นและสวน กรงุ เทพฯ.
สกุล Acer เดมิ อยู่ภายใตว้ งศ์ Aceraceae ปจั จบุ นั อยู่วงศย์ ่อย Hippocastanoideae
กลาย: กลีบดอก 3 กลีบวงในเรยี งจรดกนั คล้ายกระเช้า โคนเรยี วเป็นก้านกลีบ ผลยอ่ ยรูปทรงกระบอก สกุ สแี ดงอมส้ม ร่วมกบั สกลุ มะเนียงน�้ำ Aesculus มี 126 ชนิด พบทั้งในเขตรอ้ นและเขตอบอนุ่
(ภาพ: แกง่ กระจาน เพชรบรุ ี - PK) ในจนี มพี ืชถน่ิ เดียวถึง 66 ชนิด ในไทยมี 6 ชนดิ ชอ่ื สกลุ เป็นภาษาละตินหมายถงึ
ตน้ เมเปลิ ซึ่งมาจากภาษากรีกโบราณ Akkadian “arku” หมายถงึ มีหางยาว ตาม
กลบี เทยี น ลกั ษณะของปลายใบหลายชนิด

Ranunculus siamensis Tamura ก่วม
วงศ์ Ranunculaceae
Acer oblongum Wall. ex DC.
ไม้ล้มลุก บางคร้งั ทอดเลอื้ ย สูง 30-80 ซม. กง่ิ มขี นแข็งสีขาว ใบเรียงเวียน ไม้ตน้ สงู ไดถ้ งึ ประมาณ 20 ม. ใบรปู รีถึงรูปใบหอก ยาว 5-17 ซม. โคนกลมหรือ
ใบทโี่ คนตน้ เปน็ ใบเดย่ี วหรอื มี 3 ใบยอ่ ย กา้ นใบยาว 6-20 ซม. โคนกา้ นคลา้ ยกาบ
ใบย่อยรูปไข่กลับ ยาว 3.5-7 ซม. ใบตอนปลายกง่ิ แฉกลกึ 2-4 แฉก ขอบจกั ซีฟ่ นั รปู ลม่ิ แผน่ ใบดา้ นลา่ งมนี วล เสน้ โคนใบขา้ งละ 1 เสน้ เสน้ แขนงใบขา้ งละ 6-7 เสน้
ไมเ่ ปน็ ระเบยี บ ใบทล่ี ำ� ตน้ มี 2-4 ใบ ขนาดเลก็ กวา่ ใบทโ่ี คนตน้ ไรก้ า้ น ชอ่ ดอกแบบ เสน้ โคนใบโคง้ ไมถ่ งึ กง่ึ กลางแผน่ ใบ กา้ นใบยาว 2-5 ซม. ชอ่ ดอกแบบชอ่ เชงิ หลน่ั
ช่อเชิงหลนั่ มี 3-7 ดอก ใบประดับรูปแถบหรือมี 3 แฉก ก้านดอกยาว 2-10 ซม. ออกตามซอกใบใกลป้ ลายกง่ิ ยาวไมเ่ กนิ 10 ซม. มขี นสน้ั นมุ่ ก้านดอกยาว 1-2 ซม.
มีขนแขง็ ดอกเส้นผา่ นศนู ยก์ ลาง 0.7-1.5 ซม. กลบี เลีย้ ง 5 กลีบ รูปไข่ ยาว 4-5 มม. กลบี เลี้ยงรปู ขอบขนาน ดอกสเี หลอื งอมเขียว กลบี รปู ไขก่ ลับ จานฐานดอกจกั เป็นพู
ดอกสเี หลือง มี 5 กลีบ รปู รหี รือรูปไขก่ ลับ ยาว 7-8 มม. เกสรเพศผจู้ ำ� นวนมาก ตนื้ ๆ อยดู่ า้ นนอกวงเกสรเพศผู้ รงั ไขม่ ขี นสนั้ นมุ่ ผลรปู รี นนู ชดั เจน ยาวประมาณ
ยาวประมาณ 3 มม. คารเ์ พลจำ� นวนมาก แตล่ ะคาร์เพลมีชอ่ งเดยี ว ผลยอ่ ยแบบ 7 มม. ผนังด้านในมขี นยาวหนาแน่น ปกี ยาว 1.5-2.5 ซม. กางออกกว้าง
ผลแหง้ เมลด็ ลอ่ น ตดิ เปน็ ชอ่ กลมเปน็ กระจกุ แนน่ เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง 1-1.2 ซม.
แบน มขี อบและจะงอย พบทอ่ี นิ เดีย ปากีสถาน ภูฏาน เนปาล จีนตอนใต้ พมา่ ลาว และเวียดนาม ใน
ไทยพบกระจายหา่ ง ๆ ยกเวน้ ภาคตะวนั ออกเฉยี งใต้ และภาคใต้ ขนึ้ ตามปา่ ดบิ แลง้
พบทเ่ี นปาล อนิ เดยี พมา่ เวยี ดนามตอนบน ในไทยพบทางภาคเหนอื ทเ่ี ชยี งใหม่ และปา่ ดบิ เขา ความสงู ถงึ ประมาณ 1600 เมตร
ข้นึ ตามทีช่ ืน้ แฉะในปา่ เตง็ รงั หรอื ป่าสน ความสงู 850-1500 เมตร
กว่ มขาว
สกลุ Ranunculus L. มปี ระมาณ 650 ชนดิ สว่ นมากพบในเขตอบอ่นุ ทางซีกโลกเหนือ
ในไทยมี 3 ชนิด ชอื่ สกลุ เปน็ ภาษาละตินหมายถึงกบขนาดเลก็ หมายถงึ ถิ่นทอี่ ยู่ Acer laurinum Hassk.
ตามท่ชี ื้นแฉะคลา้ ยกบ
เอกสารอ้างอิง ชือ่ พ้อง Acer garrettii Craib
Tamura, M. (2011). Ranunculaceae. In Flora of Thailand Vol. 11(1): 65-68.
ไม้ตน้ สูงไดถ้ งึ 35 ม. ใบรปู รีถงึ รปู ใบหอก ยาว 9-15 ซม. โคนรปู ล่มิ กว้างหรอื
กลีบเทียน: ใบแฉกลึก 2-4 แฉก ดอกสเี หลือง ผลย่อยเป็นช่อกระจุกแน่น (ภาพ: แมส่ ะนาม เชยี งใหม่ - PK) กลม แผน่ ใบดา้ นลา่ งมนี วลและมขี นสนั้ เสน้ โคนใบขา้ งละ 1 เสน้ โคง้ เลยกง่ึ กลาง
แผน่ ใบ เสน้ แขนงใบขา้ งละ 5-6 เสน้ กา้ นใบยาวไดถ้ งึ 10 ซม. ชอ่ ดอกแบบชอ่ กระจะ
แยกแขนงสัน้ ๆ ออกตามซอกใบ หรือยาวได้ถึง 10 ซม. มีขนสน้ั นุ่ม ก้านดอก
ยาว 0.5-1.5 ซม. ขยายในผลเลก็ นอ้ ย กลบี เลยี้ งรปู ไขแ่ คบ ๆ ยาว 2.5-3 มม. ดอก
สเี หลอื งออ่ น ๆ กลบี ยาวเทา่ ๆ กลบี เลยี้ ง เกสรเพศผู้ 4-12 อนั ติดบนจานฐานดอก
ก้านชูอบั เรณูยาวประมาณ 5 มม. ลดรูปในดอกเพศเมีย ผลรปู รเี ปน็ เหล่ียมมน
แบน ๆ ยาวประมาณ 1.5 ซม. ปีกยาว 4-7 ซม.

พบท่อี ินเดีย เนปาล จนี ตอนใต้ พม่า ภูมภิ าคอินโดจนี และมาเลเซีย ฟลิ ปิ ปินส์
ในไทยพบทางภาคเหนือทีเ่ ชยี งใหม่ แม่ฮ่องสอน นา่ น ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือท่ี
เลย และภาคตะวนั ตกเฉยี งใตท้ ก่ี าญจนบรุ ี ขน้ึ ตามปา่ ดบิ แลง้ และปา่ ดบิ เขา ความสงู
500-1500 เมตร

ก่วมเชียงดาว

Acer chiangdaoense Santisuk
ไม้ตน้ สว่ นมากสงู 5-15 ม. ลำ� ตน้ มกั แคระแกรน็ มีขนละเอยี ดตามกิ่งออ่ น

ใบออ่ น และชอ่ ดอก ใบรปู ไข่หรือรปู ไข่กวา้ ง ยาว 4-11 ซม. ขอบเรยี บ แผน่ ใบด้านล่าง
มนี วล เสน้ โคนใบขา้ งละ 1-2 เสน้ เสน้ แขนงใบขา้ งละ 3-4 เสน้ คลู่ า่ งโคง้ ถงึ ประมาณ
กงึ่ กลางใบ ชอ่ ดอกคลา้ ยชอ่ เชงิ หลนั่ แยกแขนงสนั้ ๆ ออกทป่ี ลายกง่ิ ยาว 3.5-8 ซม.
มีขนสนั้ น่มุ ก้านดอกยาว 0.5-1 ซม. กลีบเลี้ยงยาวประมาณ 2.5 มม. ดอกสีขาว
กลีบดอกยาวกว่ากลีบเลีย้ งเลก็ น้อย ช่อผลมักต้ังขนึ้ ผลรูปรเี ป็นเหลี่ยมมน ยาว
0.5-1 ซม. ปกี ยาว 1.4-1.8 ซม.

พชื ถน่ิ เดยี วของไทย พบเฉพาะทางภาคเหนอื ทด่ี อยเชยี งดาว จงั หวดั เชยี งใหม่
และดอยตุง จังหวัดเชียงราย ข้ึนตามเขาหินปนู ความสงู 1300-2200 เมตร

32

สารานกุ รมพืชในประเทศไทย กวางดูถูก

ก่วมแดง กว่ มแดง: ใบรูปฝา่ มอื มี 3 แฉก ชอ่ ดอกแบบชอ่ เชิงหลั่น ออกสัน้ ๆ ตามปลายกิ่ง จานฐานดอกอยดู่ ้านนอกวงเกสรเพศผู้
(ภาพ: ภูหลวง เลย - SSa)
Acer calcaratum Gagnep.
ไมต้ น้ สงู ไดถ้ ึง 15 ม. กง่ิ เกลยี้ ง ใบรปู ฝ่ามือมี 3 แฉก ดา้ นกว้างสว่ นมาก ก่วมภูคา: ใบรปู ฝ่ามือมี 3 แฉก ปลายแหลมยาวคลา้ ยหาง ผลมีปีกกางออก (ภาพ: ดอยภูคา นา่ น - SSa)

ยาวกวา่ ดา้ นยาว ยาว 6-15 ซม. โคนกลมหรอื เวา้ ตน้ื ขอบเรยี บ เสน้ แขนงใบรปู ฝา่ มอื กวางดูถกู
ก้านใบยาว 1.5-4.5 ซม. เปลี่ยนเป็นสีแดงก่อนร่วง ช่อดอกแบบช่อเชิงหลั่น
ออกสนั้ ๆ ตามปลายก่ิง กลบี เลย้ี งสแี ดง ยาวประมาณ 2 มม. ด้านนอกมีขนสน้ั นมุ่ Naravelia laurifolia Wall. ex Hook. f. & Thomson
กลบี ดอกสขี าว ยาวเท่า ๆ กลีบเลีย้ ง ก้านดอกยาว 1.5-2 ซม. กา้ นชอู บั เรณยู าว วงศ์ Ranunculaceae
3-4 มม. ในดอกเพศผู้ อับเรณูสีแดง จานฐานดอกอยู่ด้านนอกวงเกสรเพศผู้
เกล้ยี ง ผลรปู ไข่ กวา้ งประมาณ 7 มม. ยาวประมาณ 5 มม. ปกี ยาว 3-5 ซม. ไมเ้ ถา ก่ิงมขี นสั้นน่มุ มรี ิ้วละเอยี ด มือจับ 3 อันท่ีลดรูปจากใบ ยาว 10-15 ซม.
ใบประกอบมี 2 ใบย่อย เรียงตรงขา้ ม กา้ นใบยาว 3-8 ซม. ใบยอ่ ยรูปรหี รือรูปไข่
พบทจ่ี นี ตอนใต้ พมา่ และเวยี ดนาม ในไทยพบทางภาคเหนอื ทเี่ ชยี งใหม่ นา่ น ยาว 7-17 ซม. ปลายแหลม แผน่ ใบคอ่ นขา้ งหนา เสน้ แขนงใบออกจากโคนขา้ งละ
และภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ทเ่ี ลย ขน้ึ ตามปา่ ดบิ เขา ความสงู 1300-2200 เมตร 1-3 เสน้ เส้นใบแตกแขนง ก้านใบยอ่ ยยาว 0.8-2.8 ซม. ชอ่ ดอกแบบชอ่ กระจุก
แยกแขนง มีขนสนั้ นมุ่ ก้านชอ่ ยาว 3-10 ซม. ใบประดับรูปแถบ ยาวประมาณ 3 มม.
ก่วมภคู า ใบประดบั ยอ่ ย 2 ใบ ขนาดเล็ก ก้านดอกยาว 1-5.5 ซม. กลีบเล้ยี ง 4 กลีบ รูปไข่
ยาว 4-9 มม. ดา้ นนอกมขี นสน้ั นมุ่ พบั งอกลบั ดอกสเี หลอื ง มี 10-12 กลบี รปู กระบอง
Acer pseudowilsonii Y. S. Chen ยาว 0.8-1.8 ซม. เกสรเพศผู้จ�ำนวนมาก แผ่กว้าง ยาวได้ถงึ 5 มม. อบั เรณกู างออก
ไม้ตน้ สูงได้ถงึ 30 ม. กงิ่ เกลยี้ ง ใบรปู ฝ่ามือมี 3 แฉก หรอื จกั มนที่โคนทั้งสองข้าง ชว่ งโคน แกนอบั เรณปู ลายมรี ยางคส์ น้ั ๆ คารเ์ พลจำ� นวนมาก แตล่ ะคารเ์ พลมชี อ่ งเดยี ว
ผลยอ่ ยออกเปน็ กระจกุ รปู กระสวย ยาวประมาณ 1 ซม. มขี นสนั้ นมุ่ ปลายมหี าง ยาว
ยาว 10-13 ซม. กวา้ ง 11.5-14 ซม. เปลี่ยนเปน็ สเี หลืองสม้ หรือแดงก่อนผลดั ใบ 3-4 ซม. มขี นยาวน่มุ ยาว 3-4 มม.
ปลายแหลมยาวคลา้ ยหาง เสน้ แขนงใบรปู ฝา่ มอื กา้ นใบยาว 4.5-5.5 ซม. ชอ่ ดอกแบบ
ชอ่ กระจกุ แยกแขนงออกตามปลายกิง่ หอ้ ยลง ยาว 10-20 ซม. กลบี เลย้ี งยาว พบทพ่ี มา่ ภมู ภิ าคอนิ โดจนี ภมู ภิ าคมาเลเซยี และฟลิ ปิ ปนิ ส์ ในไทยพบทกุ ภาค
ประมาณ 1 มม. มีขนสนั้ นมุ่ กลีบดอกสีขาว ขนาดเทา่ ๆ กลีบเล้ียง หรือยาวกว่า ขึน้ ตามชายป่าดิบแล้ง และป่าดบิ ช้ืน ทโ่ี ล่ง ความสงู ถึงประมาณ 500 เมตร
เลก็ นอ้ ย ขอบจกั กา้ นชอู บั เรณยู าวประมาณ 1 มม. อบั เรณสู แี ดง ผลรปู รี ยาวประมาณ
1 ซม. ปกี ยาว 3-3.5 ซม. กางออก ก้านผลยาว 1.3-1.8 ซม. สกุล Naravelia DC. มี 6 ชนดิ พบเฉพาะในเอเชียเขตร้อน ในไทยมี 4 ชนิด
คลา้ ยกบั สกลุ Clematis ท่ีสว่ นมากไมม่ ีกลีบดอก ช่ือสกุลมาจากภาษาสงิ หล
พชื ถน่ิ เดยี วของไทย พบทางภาคเหนอื ทดี่ อยภคู า จงั หวดั นา่ น ขนึ้ ตามปา่ ดบิ เขา “narawael” ท่ใี ชเ้ รียก N. zeylanica (L.) DC.
ความสงู 1000-1400 เมตร เคยระบวุ า่ เปน็ ชนิด A. wilsonii Rehder เอกสารอา้ งอิง
Tamura, M. (2011). Ranunculaceae. In Flora of Thailand Vol. 11(1): 61-65.
เอกสารอา้ งอิง
Chen, Y.S. (2010). A new species of Acer (Aceraceae) from northern Thailand.
Blumea 55(3): 242-245.
Santisuk, T. (1998). A systematic study of the genus Acer (Aceraceae) in
Thailand. Natural History Bulletin of the Siam Society 46: 93-104.
Xu, T., Y. Chen, P.C. de Jong, H.J. Oterdoom and C.S. Chang. (2006).
Aceraceae. In Flora of China Vol. 11: 516-549.

ก่วม: มีเกลด็ หุ้มตา ใบเรยี งตรงขา้ ม ด้านล่างมีนวล ชอ่ ดอกแบบชอ่ เชงิ หล่นั ผลรปู รี นูนชดั เจน ปกี กางออกกวา้ ง
(ภาพ: ภูหนิ รอ่ งกลา้ เพชรบรู ณ์ - SSa)

กว่ มขาว: ชอ่ ดอกแบบกระจะแยกแขนงส้ัน ๆ ออกตามซอกใบ มขี นส้นั นุม่ ผลรูปรเี ปน็ เหล่ียมมน แบน ๆ (ภาพ:
ภหู ลวง เลย - SSa)

กว่ มเชียงดาว: ใบรปู ไขห่ รอื รูปไข่กวา้ ง ช่อดอกคลา้ ยช่อเชงิ หล่นั แยกแขนงสน้ั ๆ ช่อผลตั้งขึน้ ผลรูปรเี ป็นเหล่ยี มมน กวางดูถูก: ใบประกอบมี 2 ใบยอ่ ย กลบี ดอกรปู กระบอง ผลย่อยมหี างยาว มีขนส้ันนุ่ม (ภาพ: กุยบุรี ประจวบครี ขี นั ธ์;
(ภาพ: ดอยตุง เชยี งราย - RP) ภาพดอก - PK, ภาพผล - SSi)

33

กอกแดง สารานกุ รมพชื ในประเทศไทย

กอกแดง รวมกาบหมุ้ เชอ่ื มตดิ กนั ทโ่ี คนหรอื แยกกนั กาบหมุ้ ผลประมาณหนง่ึ ในสาม โคนหนา
เกลด็ เรียงสลบั สนี ำ�้ ตาลเทาเชื่อมติด (ดขู ้อมลู เพิม่ เติมที่ กอ่ ดำ� , สกลุ )
Dacryodes kingii (Engl.) Kalkman
วงศ์ Burseraceae พบทก่ี มั พชู า เวยี ดนาม และคาบสมทุ รมลายู ในไทยพบกระจายหา่ ง ๆ ทกุ ภาค
ขึ้นตามป่าดบิ แล้ง ปา่ ดิบชื้น และปา่ สนเขา ความสูงถงึ ประมาณ 1300 เมตร
ชอื่ พอ้ ง Santiria kingii Engl.
เอกสารอ้างองิ
ไม้พ่มุ หรอื ไม้ต้น สงู ไดถ้ งึ 12 ม. แยกเพศต่างต้น ไมม่ หี ูใบ กิ่งมชี อ่ งอากาศ Phengklai, C. (2008). Fagaceae. In Flora of Thailand Vol. 9(3): 287-289, 295.
ใบประกอบปลายคี่ เรยี งเวยี น กา้ นใบยาว 15-20 ซม. โคนโปง่ พอง ใบย่อยมี
6-8 คู่ รูปขอบขนาน ยาว 20-60 ซม. โคนกลม เบีย้ ว เส้นแขนงใบข้างละ 18-38 เส้น ก่อขร้ี วิ้ : ใบรูปใบหอกกลับ ผลแยกกัน กาบหมุ้ ผลน้อยกว่ากงึ่ หน่งึ (ภาพ: น้�ำตกรามนั พงั งา - SSi)
ก้านใบย่อยยาว 0.2-2 ซม. ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ออกตามปลายกิ่ง ยาว
0.3-1.2 ม. มขี นละเอียด ช่อแขนงยาวได้ถึง 50 ซม. กลีบเลย้ี งรปู ถว้ ย มี 3 กลีบ ก่อข้ีหน:ู ผลส่วนมากเช่อื มตดิ กนั ท่โี คน กาบห้มุ ผลประมาณหน่งึ ในสาม เกลด็ เช่อื มตดิ กัน (ภาพ: ภเู ขียว ชัยภูมิ - SSi)
ขนาดเลก็ ดอกสแี ดง มี 3 กลบี เรยี งซอ้ นเหลื่อม หนา รูปไข่ ยาวประมาณ 3 มม.
ในดอกเพศเมียยาว 5-6 มม. เกสรเพศผู้ 6 อนั ตดิ ท่ีโคนจานฐานดอก ก้านชูอบั เรณู กอ่ งข้าวดอย
ยาวประมาณ 1.5 มม. ลดรูปในดอกเพศเมีย จานฐานดอกรูปถว้ ย หนา รงั ไข่ลดรูป
ในดอกเพศผู้ ไรก้ า้ นเกสรเพศเมีย ยอดเกสรจัก 3 พู ผลสด เปลือกหนา แหง้ ผิวย่น Abutilon sinense Oliv.
รปู รหี รอื รปู ขอบขนาน ยาว 2-2.5 ซม. ปลายผลมเี กสรเพศเมียตดิ ทน มี 3 ไพรีน วงศ์ Malvaceae
เปลอื กบาง สว่ นมากเจรญิ อันเดียว กา้ นผลยาว 5-8 มม.
ไม้พมุ่ สงู ไดถ้ ึง 3.5 ม. มขี นรปู ดาวแขง็ และขนส้นั นมุ่ ตามแผน่ ใบ กา้ นใบ
พบทคี่ าบสมทุ รมลายแู ละภาคใตต้ อนลา่ งของไทยทนี่ ราธวิ าส ขน้ึ ตามปา่ ดบิ ชน้ื ก้านดอก กลีบเลี้ยง และผล ใบรปู ไขก่ วา้ งเกือบกลม ยาว 7-13 ซม. ปลายยาว
ความสูง 100-300 เมตร ตา่ งจากชนดิ อน่ื ๆ ทใ่ี บประกอบและชอ่ ดอกขนาดใหญ่ คล้ายหาง โคนรูปหวั ใจ ขอบจักซี่ฟนั ห่าง ๆ ก้านใบยาว 8-20 ซม. ดอกออกเด่ยี ว ๆ
และดอกสแี ดง ตามซอกใบ ดอกสีเหลืองมสี ีมว่ งอมแดงที่โคน รปู ระฆัง ห้อยลง ก้านดอกยาว
3-5 ซม. กลีบเลย้ี งรปู ใบหอก ยาว 2-3 มม. กลีบดอกรปู ไข่กลบั ยาว 3.5-5 ซม.
สกลุ Dacryodes Vahl มีประมาณ 34 ชนดิ ในไทยมี 5 ชนิด ชือ่ สกุลมาจากภาษา เส้าเกสรยาว 2.5-3 ซม. มี 8-10 คารเ์ พล ก้านเกสรเพศเมียแยกเป็น 8-10 แฉก
กรกี “dakryodes” การไหลของน้ำ�ยางหรือชันคล้ายหยดน�ำ้ ตา ลกั ษณะท่ัวไป ยอดเกสรรูปโล่ ผลแบบผลแหง้ แยกเป็น 8-10 ซีก รูปรี ยาว 2-3 ซม. ปลายเปน็
คล้ายกบั สกุล Santiria ทีไ่ พรีนมีเปลือกบางและมีช่องเดียว แต่ผลแหง้ ไม่ย่นและ ตง่ิ แหลม แตล่ ะซกี มี 7-9 เมลด็ เมลด็ มขี นสาก (ดขู อ้ มลู เพม่ิ เตมิ ที่ มะกอ่ งขา้ ว, สกลุ )
เกสรเพศเมยี ตดิ ทนด้านข้าง ตา่ งจากสกุล Canarium ที่ผนังไพรนี หนา มี 3 ช่อง
เอกสารอ้างองิ พบทจ่ี นี ตอนใต้ และภาคเหนอื ของไทยทดี่ อยเชยี งดาว จงั หวดั เชยี งใหม่ ขน้ึ ตาม
Leenhout, P.W. (1955). Burseraceae. In Flora Malesiana Vol. 5: 224. ทโ่ี ลง่ เขาหินปนู ความสูง 1800-2200 เมตร แยกเปน็ var. edentatum Feng
Pooma, R. (1999). A preliminary account of Burseraceae in Thailand. Thai Forest พบเฉพาะท่จี ีนตอนใต้ ใบรปู กลม ขอบเรยี บหรอื จกั มน

Bulletin (Botany) 27: 59. กอ่ งข้าวหลวง

กอกแดง: ใบประกอบปลายคี่ เรยี งเวียน ช่อดอกแบบชอ่ แยกแขนงขนาดใหญ่ ออกตามปลายก่ิง ดอกสแี ดง มี 3 กลีบ Abutilon persicum (Burm. f.) Merr.
(ภาพ: แวง้ นราธวิ าส - RP)
ชือ่ พอ้ ง Sida persica Burm f.
กอ่ ขีร้ ้วิ
ไม้พมุ่ สงู ไดถ้ งึ 3 ม. มีขนสน้ั ขนต่อม และขนรูปดาวตามลำ� ต้น กิง่ แผน่ ใบ
Lithocarpus falconeri (Kurz) Rehder ดา้ นล่าง กา้ นใบ เส้าเกสร และผล ใบรูปไข่กวา้ ง ยาว 4-20 ซม. ปลายยาวคลา้ ยหาง
วงศ์ Fagaceae โคนรปู หวั ใจ ขอบใบจกั ซฟี่ นั กา้ นใบยาวไดถ้ งึ 8 ซม. ดอกออกเดย่ี ว ๆ หรอื คลา้ ย
ชอ่ แยกแขนงตามปลายกง่ิ ทใ่ี บลดรปู กา้ นดอกยาว 2.5-3 ซม. มขี อ้ ตอ่ ทจี่ ดุ กง่ึ กลาง
ช่อื พ้อง Quercus falconeri Kurz กลบี เลย้ี งแฉกลกึ ประมาณกง่ึ หนงึ่ ขยายในผล กลบี ดอกรปู ไขก่ ลบั กวา้ ง ยาว 3-4 ซม.
มขี นกระจายดา้ นนอก เสา้ เกสรยาวประมาณ 4 มม. กา้ นเกสรเพศผยู้ าว 2-2.5 ซม.
ไมต้ ้น สูงได้ถึง 20 ม. ใบรูปขอบขนานหรือรูปใบหอกกลบั ยาว 12-35 ซม. มี 5-6 คาร์เพล ผลแห้งแยกเปน็ 5-6 ซีก รปู ครงึ่ วงกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-2 ซม.
เสน้ แขนงใบโค้งจรดกนั ก้านใบหนา ยาว 1-1.5 ซม. ช่อดอกเพศผู้ยาว 10-30 ซม. แต่ละซีกมี 4-6 เมล็ด (ดขู ้อมูลเพิม่ เติมท่ี มะก่องข้าว, สกุล)
ใบประดบั รปู แถบ ยาว 0.5-1 ซม. ชอ่ ดอกเพศเมยี สนั้ กวา่ ผลรปู กรวยแยกกนั กวา้ ง
1.5-2 ซม. สูง 2-3 ซม. รวมกาบ ผิวมนี วลเป็นมนั วาว กาบรูปถว้ ยหุ้มผลน้อยกว่า พบในแอฟรกิ า เอเชยี เขตรอ้ น และออสเตรเลยี ในไทยพบทว่ั ทกุ ภาค ขนึ้ เปน็
กง่ึ หนงึ่ เกลด็ เรยี งสลบั รปู สามเหลยี่ ม โคนเชอ่ื มตดิ กนั (ดขู อ้ มลู เพม่ิ เตมิ ท่ี กอ่ ดำ� , สกลุ ) วัชพืช ล�ำต้นเป็นเส้นใยใช้ท�ำเชือก น้�ำสกัดจากใบผสมรากเทียนก่ิง Lawsonia
inermis L. พรกิ ไทย และข้าว กนิ แกโ้ รคดีซา่ น
พบทพ่ี มา่ คาบสมทุ รมลายู ในไทยสว่ นมากพบทางภาคใต้ ขน้ึ ตามปา่ ดบิ แลง้
และปา่ ดิบชืน้ ความสูงถึงประมาณ 300 เมตร เอกสารอา้ งองิ
Tang, Y., M.G. Gilbert and L.J. Dorr. (2007). Malvaceae. In Flora of China Vol.
กอ่ ข้หี นู 12: 276.
van Borssum Waalkes, J. (1966). Malesian Malvaceae revised. Blumea 14: 161.
Lithocarpus harmandii (Hickel & A. Camus) A. Camus

ช่อื พ้อง Pasania harmandii Hickel & A. Camus

ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. ใบรูปรี รูปขอบขนาน หรือแกมรปู ไขก่ ลบั โคนเบ้ียว ยาว
11-22 ซม. เสน้ ใบยอ่ ยไมช่ ดั เจน กา้ นใบยาว 2-3.5 ซม. ชอ่ ดอกเพศผู้ยาว 5-17 ซม.
ชอ่ ดอกเพศเมียยาวกว่าเลก็ น้อย ผลรูปกรวย ไรก้ ้าน กวา้ ง 1.2-2 ซม. สงู 2-3 ซม.

34

สารานกุ รมพืชในประเทศไทย ก่อเดือย

กอ่ งข้าวดอย: ดอกห้อยลงสเี หลือง โคนมปี น้ื สีมว่ งอมแดง ผลมี 8-10 ซีก (ภาพ: ดอยเชียงดาว เชียงใหม่ - SSi) ก่อดำ�

Lithocarpus truncatus (King ex Hook. f.) Rehder

ชื่อพอ้ ง Quercus truncata King ex Hook. f.

ไมต้ น้ สูงไดถ้ ึง 20 ม. ใบรูปขอบขนาน รูปใบหอก หรือรปู ใบหอกกลบั ยาว
12-29 ซม. กา้ นใบยาว 1-2 ซม. ชอ่ ดอกยาว 5-15 ซม. สว่ นมากแตกแขนง ผลรปู กรวย
กวา้ ง 2.5-3.5 ซม. สงู 2-3 ซม. รวมกาบ กาบหมุ้ ผลเกอื บตลอดผลยกเวน้ ชว่ งปลาย
เช่อื มติดกนั ท่ีโคนหรือแยกกนั เกล็ดเชอ่ื มตดิ กนั มีขนสั้นนุ่ม

พบทอี่ ินเดีย จีนตอนใต้ พม่า ลาว และเวยี ดนาม ในไทยพบกระจายหา่ ง ๆ
ยกเวน้ ภาคตะวนั ออกเฉยี งใต้ และภาคใต้ ขึ้นตามป่าสนเขาและป่าดบิ เขา ความสงู
900-1300 เมตร

เอกสารอา้ งองิ
Huang, C., Y. Zhang and B. Batholomew. (1999). Fagaceae. In Flora of China
Vol. 4: 333, 343, 349.
Phengklai, C. (2008). Fagaceae. In Flora of Thailand Vol. 9(3): 243-351.

กอ่ งขา้ วหลวง: ขอบใบจักซ่ีฟัน ผลแบบผลแหง้ แยกเป็น 5-6 ซกี (ภาพ: ปา่ ละอู ประจวบคีรีขันธ์ - RP) ก่อแจง: ผลรปู กรวยกว้างไมเ่ ชื่อมติดกนั มีกา้ นสนั้ ๆ กาบหุ้มชว่ งโคน เรียงเป็นช้นั หรือ 5-7 วง มนี วล ผวิ เกล้ยี งเป็น
มันวาว ช่วงปลายผลมีนวล (ภาพ: นำ�้ ตกโตนปริวรรต พงั งา - SSi)
ก่อแจง
ก่อด�ำ: L. lucidus ผลรปู ไข่กวา้ ง กาบหุ้มผลเฉพาะชว่ งโคน ผิวมนี วล เกลด็ เชือ่ มติดกันเรียงเปน็ ชัน้ หรือ 5-7 วง
Lithocarpus reinwardtii (Korth.) A. Camus (ภาพ: นราธวิ าส - RP)

ช่อื พอ้ ง Quercus reinwardtii Korth. ก่อด�ำ: L. truncatus ชอ่ ดอกแบบช่อหางกระรอก แยกแขนง กาบหมุ้ ผลเกอื บตลอดความยาว เชอ่ื มติดกันทโ่ี คน
หรือแยกกนั เกลด็ เชื่อมติดกัน (ภาพ: ภูกระดึง เลย - SSi)
ไมต้ น้ สูงได้ถงึ 30 ม. ใบรูปรหี รอื รูปขอบขนาน ยาว 13-15 ซม. ก้านใบยาว
1-1.5 ซม. ชอ่ ดอกเพศผแู้ ละเพศเมยี สว่ นมากแยกกนั ชอ่ ดอกเพศผยู้ าว 10-20 ซม. กอ่ เดอื ย, สกลุ
รงั ไขท่ เ่ี ปน็ หมนั เกลยี้ ง ชอ่ ดอกเพศเมยี ยาว 7-20 ซม. ผลไมเ่ ชอื่ มตดิ กนั รปู กรวยกวา้ ง
กวา้ ง 1.7-2.2 ซม. สงู 1.5-2 ซม. รวมกาบ ผวิ เกล้ยี งเป็นมันวาว ยกเวน้ ช่วงปลายผล Castanopsis (D. Don) Spach
มนี วล ก้านสั้น กาบมนี วล หมุ้ เฉพาะโคน เรยี งเปน็ ช้นั ๆ หรอื 5-7 วง วงศ์ Fagaceae

พบทพี่ มา่ กมั พชู า คาบสมทุ รมลายู และสมุ าตรา ในไทยพบทางภาคตะวนั ออก ไมต้ น้ แยกเพศร่วมตน้ ชอ่ ดอกเพศเมียออกทโี่ คนชอ่ เพศผู้ หรอื แยกคนละชอ่
เฉยี งใต้ และภาคใต้ ข้ึนตามปา่ ดิบชน้ื ความสงู ถึงประมาณ 400 เมตร ตายอดมีเกล็ดเรียงซ้อนตรงข้ามสลับตั้งฉากหุ้ม กิ่งมีช่องอากาศ หูใบร่วงง่าย
ใบเรยี งเวยี นหรอื เรยี งสลบั ระนาบเดยี ว ปลายใบสว่ นมากแหลมยาว เสน้ แขนงใบยอ่ ย
กอ่ ด�ำ , สกุล

Lithocarpus Blume
วงศ์ Fagaceae

ไมต้ ้น แยกเพศร่วมตน้ ช่อดอกเพศเมียออกทโี่ คนช่อเพศผหู้ รือแยกกัน กิ่งมี
ชอ่ งอากาศ ตายอดมเี กลด็ เรยี งซอ้ นเหลอื่ ม สว่ นมากมขี นสนั้ นมุ่ ตามกงิ่ ออ่ น แผน่ ใบ
ด้านลา่ ง ก้านใบ ชอ่ ดอก ใบประดับ และกลีบรวม หใู บร่วงง่าย ใบเรียงเวียน ปลายใบ
สว่ นมากแหลมยาว แผน่ ใบด้านล่างสีออ่ นหรือมีนวล เสน้ ใบยอ่ ยแบบข้นั บันได
ขอบใบสว่ นมากเรยี บ ชอ่ ดอกเพศผแู้ บบชอ่ หางกระรอก สว่ นมากตงั้ ขนึ้ ใบประดบั
และใบประดบั ย่อยขนาดเลก็ รว่ งเร็ว กลบี รวม 6 กลบี ขนาดเล็ก ดอกเพศผู้
ออกเดย่ี ว ๆ หรอื เปน็ กระจกุ เกสรเพศผู้ 10-12 อนั สว่ นมากเกลยี้ ง รงั ไขท่ เ่ี ปน็ หมนั
สว่ นมากมขี นยาว ดอกเพศเมยี ออกกระจกุ หรอื ออกเดยี่ ว ๆ ยอดเกสรเพศเมยี เปน็ ตมุ่
รังไข่ใตว้ งกลีบ มี 3-6 ชอ่ ง แต่ละช่องมอี อวลุ 2 เมด็ ก้านเกสรเพศเมียสว่ นมากมี
3 อนั ผลแบบเปลอื กแขง็ เมลด็ เดยี วมกี าบหมุ้ เชอื่ มตดิ กนั หรอื แยกกนั สว่ นมาก
ไรก้ ้าน ใบประดับคลา้ ยเกล็ดเรียงหนาแนน่ หรอื เรยี งเปน็ ชัน้ ๆ

สกลุ Lithocarpus มปี ระมาณ 300 ชนิด ส่วนใหญพ่ บในเอเชียเขตรอ้ น ในไทย
มี 58 ชนดิ ช่อื สกลุ มาจากภาษากรกี “litho” หนิ และ “karpos” ผล ตามลักษณะ
ผลที่แข็งคลา้ ยหนิ

กอ่ ด�ำ

Lithocarpus lucidus (Roxb.) Rehder

ชอื่ พ้อง Quercus lucidus Roxb.

ไม้ตน้ สูงได้ถงึ 15 ม. ใบรปู ขอบขนานหรอื แกมรปู ไขก่ ลบั ยาว 7-15 ซม. ก้านใบ
ยาว 0.5-1 ซม. ชอ่ ดอกยาว 9-20 ซม. ผลรปู ไข่กวา้ ง กว้าง 3-4 ซม. สูง 2-2.5 ซม.
รวมกาบ โคนแบน ปลายรปู กรวย ผวิ มนี วล กาบหมุ้ ผลเฉพาะชว่ งโคน เกลด็ เชอื่ ม
ตดิ กันเรยี งเปน็ ชัน้ หรอื 5-7 วง

พบที่อินเดีย พม่า และภมู ภิ าคมาเลเซยี ในไทยพบทางภาคตะวันออกเฉยี งใต้
ทีจ่ ันทบรุ ี และภาคใตท้ ่ีสงขลา นราธิวาส ขน้ึ ตามป่าดบิ ชนื้ ความสงู ระดบั ต�่ำ ๆ

35

ก่อเดอื ย สารานุกรมพชื ในประเทศไทย

แบบขั้นบันได ขอบใบเรียบหรือจักซี่ฟัน ก้านใบเป็นข้อ ช่อดอกเพศผู้แบบช่อ กอ่ แดง
หางกระรอก ตง้ั ขนึ้ ใบประดบั และใบประดบั ยอ่ ยขนาดเลก็ รว่ งเรว็ กลบี รวม 6 กลบี
ขนาดเลก็ ดอกเพศผอู้ อกเดยี่ วหรอื เปน็ กระจกุ เกสรเพศผสู้ ว่ นมากมี 12 อนั เปน็ หมนั Quercus kingiana Craib
ในดอกเพศเมีย ดอกเพศเมยี ออกเดย่ี วหรือเป็นกระจุก 3-7 ดอกในแต่ละกาบ ไมต้ ้น สงู ไดถ้ งึ 30 ม. ใบรปู รี รูปขอบขนาน หรอื แกมรปู ไข่ ยาว 8-20 ซม.
รังไขใ่ ต้วงกลีบ มี 3 ช่อง เป็นหมนั ในดอกเพศผู้ มักมีขน แต่ละชอ่ งมอี อวุล 2 เม็ด
ยอดเกสรเพศเมยี เปน็ ตมุ่ กา้ นเกสรเพศเมยี 3 อนั ผลแบบเปลอื กแขง็ เมลด็ เดยี ว ขอบจักช่วงครึง่ บนของแผน่ ใบ เส้นแขนงใบข้างละ 9-14 เสน้ จรดขอบใบ กา้ นใบ
มี 1-4 ผลในแต่ละกาบ กาบแห้งแตกหรอื แยกออก มีหนามกระจกุ หนามเป็นตมุ่ ยาว 1-4 ซม. ชอ่ ดอกเพศผ้ยู าว 10-15 ซม. ชอ่ ดอกเพศเมียออกเปน็ กระจกุ 3-10 ช่อ
หรอื ผวิ เรียบเรียงเปน็ วง ตัง้ ตรง ยาว 1-3 ซม. ผลรปู ไข่ ปลายบมุ๋ กว้าง 1.5-3.5 ซม. สูง 1.4-2.5 ซม. รวมกาบ
มขี นคลา้ ยไหม กาบรูปกรวยกลับหุ้มเกนิ กง่ึ หนึ่ง เกลด็ หนาเรยี งสลับ
สกุล Castanopsis มี 110-120 ชนิด ส่วนใหญพ่ บในเอเชียเขตร้อนและก่งึ เขตร้อน
ในไทยมี 33 ชนิด ชือ่ สกุลหมายถึงคลา้ ยกับสกลุ Castanea ซ่งึ มาจากภาษากรีก พบทจ่ี นี ตอนใต้ พมา่ ในไทยพบทางภาคเหนอื และภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื
“kastana” ท่ใี ชเ้ รยี ก เกาลัด C. sativa Mill. หรอื Chesnut tree ข้นึ ตามป่าเบญจพรรณ ปา่ ดบิ เขา และปา่ สนเขา ความสูง 500-2100 เมตร เนือ้ ไม้
นิยมใชท้ �ำถงั หมักแอลกอฮอล์
กอ่ เดอื ย
ก่อตลับ
Castanopsis acuminatissima (Blume) A. DC.
Quercus rex Hemsl.
ชอื่ พอ้ ง Castanea acuminatissima Blume
ช่ือพอ้ ง Cyclobalanopsis rex (Hemsl.) Schottky
ไม้ตน้ สูงไดถ้ ึง 40 ม. ใบรปู รหี รอื รูปขอบขนาน ยาว 5.5-13 ซม. ขอบจักซฟ่ี ัน
ช่วงปลายใบ แผ่นใบด้านล่างสีเขียวเทาหรือสีน้�ำตาล ดอกเพศผู้และเพศเมีย ไมต้ ้น สงู ไดถ้ ึง 30 ม. ใบรูปรี รปู ขอบขนาน หรอื แกมรปู ไข่ ยาว 9-30 ซม.
ส่วนมากแยกคนละช่อ ชอ่ ดอกยาว 8-15 ซม. ช่อดอกเพศผแู้ ตกแขนงจำ� นวนมาก ขอบจกั หา่ ง ๆ ชว่ งปลายใบ หรอื เรยี บ แผ่นใบด้านลา่ งมีนวล เสน้ แขนงใบขา้ งละ
ดอกสว่ นมากออกเด่ียว ๆ ชอ่ ดอกเพศเมยี ส่วนมากไม่แตกแขนง ผลรูปกลมหรอื 12-22 เสน้ ก้านใบยาว 1-3 ซม. ช่อดอกเพศผูย้ าว 5-15 ซม. ช่อดอกเพศเมียยาว
รปู ไข่ กว้าง 0.8-1.3 ซม. สูง 1-1.5 ซม. รวมกาบหุม้ กาบหมุ้ ท้ังผล ผวิ มหี นามโค้ง 1-2 ซม. มี 2-3 ดอก ผลรูปกลมแปน้ กวา้ ง 3-5 ซม. สูง 1.5-2.5 ซม. รวมกาบ
เลก็ น้อย แต่ละกาบมผี ลเดยี ว ผลอ่อนมีขนสนั้ นมุ่ กาบหุ้มผลชว่ งโคน เกล็ดเช่อื มติดกนั เรียง 5-7 วง

พบที่อนิ เดยี พมา่ ไต้หวัน ญ่ีปุน่ ภมู ิภาคอินโดจนี และมาเลเซีย นวิ กินี ขึน้ ตาม พบทอี่ นิ เดยี พมา่ จนี ตอนใต้ ลาว เวยี ดนาม และภาคเหนอื ของไทยทเ่ี ชยี งใหม่
ป่าดิบชน้ื ป่าดิบแล้ง และป่าดบิ เขา ความสงู 800-1400 เมตร ไม้นยิ มใชเ้ พาะ และตาก ข้นึ ตามปา่ ดิบเขาหรอื ทโ่ี ลง่ บนเขาหินปนู ความสูง 900-1600 เมตร
เหด็ หอม ผลคั่วกนิ เนอื้ ข้างใน
เอกสารอ้างองิ
เอกสารอ้างองิ Huang, C., Y. Zhang and B. Batholomew. (1999). Fagaceae. In Flora of China
Huang, C., Y. Zhang and B. Batholomew. (1999). Fagaceae. In Flora of China Vol. 4: 370, 379, 390.
Vol. 4: 317. Phengklai, C. (2008). Fagaceae. In Flora of Thailand Vol. 9(3): 352, 373-377.
Phengklai, C. (2008). Fagaceae. In Flora of Thailand Vol. 9(3): 180-187.

กอ่ เดือย: แผ่นใบดา้ นล่างสนี ำ�้ ตาล ชอ่ ดอกเพศผแู้ ตกแขนง กาบหุม้ ทั้งผล ผวิ มหี นามโคง้ เลก็ นอ้ ย แตล่ ะกาบมีผลเดยี ว กอ่ แดง: ก่ิงมชี อ่ งอากาศ ผลรูปไข่ ปลายบ๋มุ กาบหุ้มผลเกนิ กึ่งหนง่ึ เกล็ดหนาเรียงสลบั (ภาพ: เชียงใหม่ - SSi)
(ภาพ: ปัว น่าน - SSi)
ก่อตลบั : ขอบใบจกั ห่าง ๆ ผลกลมแป้น กาบห้มุ ผลช่วงโคน เกล็ดเช่อื มตดิ กันเรยี งเปน็ วง (ภาพ: อุ้มผาง ตาก - RP)
กอ่ แดง, สกุล
ก่อตาหมหู ลวง
Quercus L.
วงศ์ Fagaceae Lithocarpus lindleyanus (Wall. ex A. DC.) A. Camus
วงศ์ Fagaceae
ไมต้ น้ แยกเพศร่วมตน้ แยกชอ่ บนก่งิ เดียวกนั กิง่ มกั มีชอ่ งอากาศ สว่ นมากมี
ขนส้ันนุ่มตามก่ิงอ่อน หูใบ แผ่นใบด้านล่าง ก้านใบ ช่อดอก และกลีบรวม หูใบ ชอ่ื พ้อง Quercus lindleyana Wall. ex A. DC.
ขนาดเลก็ รว่ งเรว็ ใบเรยี งเวยี น สว่ นมากขอบจกั ซฟี่ นั หรอื จกั เปน็ พู เสน้ แขนงใบยอ่ ย
แบบขน้ั บนั ได ชอ่ ดอกเพศผแู้ บบชอ่ หางกระรอกหอ้ ยลง บางครง้ั แยกแขนง ชอ่ ดอก ไมต้ ้น สูงได้ถงึ 15 ม. ใบรูปไขก่ ลบั หรอื แกมรูปขอบขนาน ยาว 13-28 ซม. ก้านใบ
เพศเมยี แบบชอ่ เชงิ ลดออกเดย่ี ว ๆ ใบประดบั ขนาดเลก็ ดอกเพศผูอ้ อกเดี่ยว ๆ ยาว 1-2 ซม. ช่อดอกตัง้ ข้นึ แยกแขนง ช่อดอกเพศผู้ยาว 6-15 ซม. ช่อดอกเพศเมยี
หรอื เป็นกระจกุ เรียงห่าง ๆ บนแกนชอ่ กลบี รวม 4-7 กลบี ขนาดเลก็ เกสรเพศผู้ ยาว 10-40 ซม. ดอกออกเปน็ กระจกุ 3-10 ดอก ผลรปู กรวย กวา้ ง 1.2-1.5 ซม.
4-7 อัน ส่วนมากไมม่ ีรังไข่ท่เี ปน็ หมัน ดอกเพศเมียออกเด่ยี ว ๆ กลบี รวม 5-6 กลีบ สงู 2-2.5 ซม. รวมกาบ ผวิ เกลี้ยงมนี วลเล็กน้อย โคนเช่ือมตดิ กันหรอื แยก กาบหมุ้ ผล
รังไข่ใต้วงกลบี ส่วนมากมี 3 ช่อง แต่ละชอ่ งมีออวลุ 2 เมด็ กา้ นเกสรเพศเมียส่วนมาก ไม่เกินก่งึ หน่ึง เกล็ดเรยี งสลบั (ดูขอ้ มูลเพ่ิมเติมที่ กอ่ ดำ� , สกุล)
มี 3 อัน ผลแบบเปลอื กแขง็ เมลด็ เดยี ว มีกาบหุม้ ใบประดับคลา้ ยเกลด็ เรียงซอ้ น
เหลอ่ื มเรียงเป็นชน้ั ๆ สว่ นมากมขี นสัน้ นมุ่

สกลุ Quercus มีประมาณ 600 ชนิด สว่ นมากพบในเขตอบอุ่นทางซกี โลกเหนือ
ท้งั ในอเมริกา ยโุ รป เอเชีย และแอฟรกิ าตอนบน ในไทยมีประมาณ 30 ชนดิ
ช่อื สกลุ เป็นภาษาละตนิ โบราณทใี่ ชเ้ รยี กพืชกลุม่ นี้

36

สารานกุ รมพชื ในประเทศไทย ก่อภวู วั

พบที่พม่า เวียดนาม และกัมพูชา ในไทยพบทางภาคเหนือที่แม่ฮ่องสอน ก่อพวง
เชียงใหม่ ขึน้ ตามปา่ เต็งรังหรือปา่ ดิบเขา ความสงู 700-1500 เมตร
Lithocarpus fenestratus (Roxb.) Rehder
เอกสารอา้ งองิ
Phengklai, C. (2008). Fagaceae. In Flora of Thailand Vol. 9(3): 299-301. ชือ่ พ้อง Quercus fenestrata Roxb.

ก่อตาหมูหลวง: ชอ่ ดอกต้งั ข้นึ แยกแขนง ผลรูปกรวย โคนเช่ือมติดกันมบี างกาบแยก กาบหมุ้ ผลช่วงโคนไม่เกนิ ก่งึ หนึ่ง ไมต้ ้น สูงได้ถงึ 35 ม. ใบรูปขอบขนานหรอื รปู ใบหอก ยาว 12-28 ซม. เสน้ แขนงใบ
เกล็ดเรยี งสลับ (ภาพ: ดอยสเุ ทพ เชียงใหม่ - SSi) ขา้ งละ 11-17 เส้น ก้านใบยาว 1-2.5 ซม. ชอ่ ดอกเพศผู้แยกแขนง ช่อแขนงยาว
6-20 ซม. ช่อดอกเพศเมียยาว 8-20 ซม. ผลรปู กรวย กลมแปน้ กวา้ ง 1.5-2.8 ซม.
กอ่ เต้าปนู นก สงู 2-3 ซม. รวมกาบ แต่ละกาบสว่ นมากออกเป็นกระจกุ 3 ผล กาบหุม้ เกอื บทัง้ ผล
เกลด็ รูปสามเหลี่ยม เรียงสลับซ้อนเหล่ือม เช่ือมติดกนั ที่โคน (ดูขอ้ มูลเพ่มิ เตมิ ท่ี
Quercus myrsinifolia Blume ก่อดำ� , สกลุ )
วงศ์ Fagaceae
พบทีอ่ นิ เดยี เนปาล ภฏู าน จีนตอนใต้ พม่า ลาว เวยี ดนามตอนบน ในไทยพบ
ช่อื พ้อง Cyclobalanopsis myrsinifolia (Blume) Oerst. กระจายทุกภาค ขนึ้ ตามป่าเตง็ รงั ปา่ ดิบเขา และป่าดบิ ช้นื สว่ นมากพบทคี่ วามสูง
900-1300 เมตร แต่อาจพบถึงความสงู ประมาณ 2350 เมตร
ไมต้ น้ สงู ไดถ้ ึง 30 ม. ใบรูปขอบขนานหรอื รปู ใบหอก ยาว 6-18 ซม. โคง้ เล็กนอ้ ย
โคนเบ้ยี ว แผ่นใบเกล้ยี ง ก้านใบยาว 1-3 ซม. ช่อดอกมีขนสัน้ นุ่ม ชอ่ ดอกเพศผู้ ก่อภวู ัว
ออกเป็นกระจุก 2-3 ชอ่ หรอื เป็นกระจุกแน่น ยาว 5-10 ซม. ช่อดอกเพศเมียตง้ั ขึ้น
ยาว 1-2 ซม. ดอกเปน็ กระจุก 3-5 ดอก ผลรปู โคนกว้างเกอื บกลม ขนาด 2-2.5 ซม. Lithocarpus corneus (Lour.) Rehder
รวมกาบ เกลยี้ งหรอื มขี นคลา้ ยไหม กาบหมุ้ ผลมากกวา่ กง่ึ หนงึ่ เกลด็ เชอื่ มตดิ กนั
เรียง 7-9 วง (ดูข้อมลู เพิ่มเตมิ ที่ กอ่ แดง, สกลุ ) ชื่อพ้อง Quercus cornea Lour.

พบท่จี ีนตอนใต้ ญ่ีปนุ่ เกาหลี ลาว เวยี ดนาม ในไทยพบแทบทกุ ภาค ยกเว้น ไมต้ น้ สูงไมเ่ กนิ 10 ม. ใบรปู รีหรือถงึ รปู ขอบขนาน ยาว 10-19 ซม. ขอบจัก
ภาคตะวันออกเฉียงใต้ ข้ึนตามป่าดิบช้ืน ป่าดิบแล้ง หรือป่าเต็งรัง ความสูงถึง ซีฟ่ นั หรือเรยี บ เส้นแขนงใบขา้ งละ 11-21 เสน้ กา้ นใบยาว 0.5-4.5 ซม. ช่อดอก
ประมาณ 900 เมตร ค�ำระบชุ นิดบางคร้งั เขียนว่า myrsinaefolia เพศผู้ยาว 10-15 ซม. ติดที่ปลายช่อทเ่ี ปน็ ผล ช่วงท่เี ปน็ ดอกเพศเมียยาว 8-12 ซม.
ผลรปู กลมแปน้ กวา้ ง มรี อยบมุ๋ ผวิ เรยี บมไี ข ผลออ่ นมขี นสเี งนิ บาง ๆ กาบรปู ถว้ ย
เอกสารอา้ งอิง หรือรูปคลา้ ยจาน เช่ือมตดิ กนั ทโ่ี คน หุม้ ผลเกนิ กึ่งหน่ึง กวา้ ง 3-5 ซม. โคนหนา
Huang, C., Y. Zhang and B. Batholomew. (1999). Fagaceae. In Flora of China เกลด็ รปู สามเหลยี่ มหรอื สเ่ี หลย่ี มขา้ วหลามตดั เรยี งซอ้ นเหลอ่ื ม ขอบและกลาง
Vol. 4: 398. เกลด็ มสี ันคม (ดขู ้อมลู เพมิ่ เตมิ ที่ กอ่ ดำ� , สกุล)
Phengklai, C. (2008). Fagaceae (Quercus myrsinifolia). In Flora of Thailand Vol.
9(3): 385-389. พบทจี่ นี ตอนใต้ ไตห้ วนั เวยี ดนาม และภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ตอนบนของ
ไทยท่ภี วู วั จังหวัดบงึ กาฬ ขน้ึ ตามปา่ ดบิ แล้ง ความสงู ประมาณ 200 เมตร

เอกสารอา้ งองิ
Phengklai, C. (2008). Fagaceae. In Flora of Thailand Vol. 9(3): 289-291.
Strijk, J.S., S. Rueangruea, S. Sirimongkol, S. Suddee. (2014). Lithocarpus
corneus (Fagaceae), a new record for the Flora of Thailand. Thai Forest
Bulletin (Botany) 42: 1-5.
Strijk, J.S., S. Sirimongkol, S. Rueangruea, N. Ritphet and V. Chamchumroon.
(2014). Lithocarpus orbicarpus (Fagaceae), a new species of Stone Oak
from Phang Nga province, Thailand. PhytoKeys 34: 33-45.

กอ่ เต้าปูนนก: ใบโค้งเลก็ นอ้ ย โคนเบีย้ ว ผลรูปโคนกวา้ ง กาบหุ้มผลมากกวา่ กง่ึ หนง่ึ เกล็ดเชื่อมติดกนั เรียง 7-9 วง ก่อปริวรรต: ผลรูปกลม กาบหุ้มตลอดทัง้ ผล เกลด็ หนา เรยี งไม่เป็นระเบียบเชื่อมตดิ กัน ยกเวน้ ปลายเกล็ด เปน็ ช้นั หา่ ง ๆ
(ภาพ: เขาใหญ่ ปราจีนบรุ ี - SSi) (ภาพ: โตนปริวรรต พงั งา - SSi)

ก่อปริวรรต ก่อพวง: ช่อดอกแบบช่อหางกระรอก บางคร้งั แยกแขนง กาบห้มุ เกอื บทัง้ ผล เกล็ดเรียงซ้อนเหล่ือมเชือ่ มติดกันท่ีโคน
(ภาพ: ภกู ระดึง เลย - SSi)
Lithocarpus orbicarpus Strijk
วงศ์ Fagaceae

ไมต้ ้น สูงไดถ้ งึ 15 ม. มีขนยาวนุ่มตามกง่ิ อ่อนและใบอ่อน ใบรปู ขอบขนาน
หรือรปู ใบหอก เบย้ี วเลก็ นอ้ ย ยาว 11-22 ซม. ก้านใบยาว 1-2 ซม. ชอ่ ผลออกที่ยอด
ยาว 15-21 ซม. มี 9-20 ผล ไมเ่ ช่ือมติดกนั รปู กลม กวา้ งและยาว 2.7-3.5 ซม.
รวมกาบ มขี นยาว กาบหมุ้ ตลอดทง้ั ผล เกลด็ หนา เรยี งไมเ่ ปน็ ระเบยี บเชอ่ื มตดิ กนั
ยกเว้นปลายเกลด็ เป็นชั้นหา่ ง ๆ (ดขู ้อมูลเพมิ่ เติมท่ี ก่อด�ำ, สกุล)

พชื ถนิ่ เดยี วของไทย พบทางภาคใตท้ น่ี ำ้� ตกโตนปรวิ รรต จงั หวดั พงั งา ขน้ึ ตาม
ป่าดิบชนื้ ความสงู ประมาณ 450 เมตร

37

กอมขม สารานุกรมพชื ในประเทศไทย

สกลุ Trigonobalanus Forman เคยถูกยบุ อยูภ่ ายใต้สกุล Formanodendron มี
3 ชนิด พบในเอเชยี และอเมรกิ าเขตร้อน ช่ือสกลุ มาจากภาษากรีก “trigonos”
สามเหลี่ยม และ “balanos” ผลมีกาบ ตามลกั ษณะรูปสามเหลี่ยมของผล
เอกสารอ้างอิง
Huang, C., Y. Zhang and B. Batholomew. (1999). Fagaceae (Formanodendron).

In Flora of China Vol. 4: 369.
Phengklai, C. (2008). Fagaceae. In Flora of Thailand Vol. 9(3): 409-410.

ก่อภูววั : ขอบใบจัก ผลกลมแป้น กาบเชือ่ มติดกันทโี่ คน หุ้มผลเกนิ ก่ึงหนงึ่ เกล็ดรูปสามเหลีย่ ม ขอบและกลางเกลด็ มี ก่อสามเหลี่ยม: ขอบใบเรียบ ชอ่ ผลต้งั ข้ึน แตล่ ะกาบมีหลายผล ผลรปู ไขก่ ลบั มีครีบคลา้ ยปกี 3 อนั มขี นสนี ้ำ� ตาล
สันคม (ภาพ: ภวู วั บงึ กาฬ - SSi) (ภาพ: ขุนแจ เชยี งใหม่ - TW)

กอมขม กอ่ หมวก

Picrasma javanica Blume Quercus oidocarpa Korth.
วงศ์ Simaroubaceae วงศ์ Fagaceae

ไมต้ ้น สูงไดถ้ ึง 20 ม. แยกแพศรว่ มตน้ หรอื มีดอกสมบูรณเ์ พศด้วย หูใบรปู รี ไมต้ น้ สงู ไดถ้ งึ 30 ม. หใู บรปู แถบ ยาวไดถ้ งึ 1 ซม. ขอบมขี นครยุ ใบรปู ขอบขนาน
ยาว 0.7-2.5 ซม. ร่วงเรว็ ใบประกอบเรียงเวียน มีใบยอ่ ย 2-4 คู่ ก้านใบประกอบ รูปใบหอก หรือแกมรปู ไขก่ ลับ ยาว 8-21 ซม. ก้านใบยาว 1-2.5 ซม. ช่อดอกเพศผู้
ยาว 2-6 ซม. ใบยอ่ ยรูปรหี รอื รปู ขอบขนาน ยาว 4-20 ซม. กา้ นใบย่อยสัน้ ชอ่ ดอก ออกเป็นกระจุก หอ้ ยลง ยาว 2-10 ซม. ช่อดอกเพศเมียสั้น ตง้ั ขน้ึ ออกทป่ี ลายก่งิ
แบบชอ่ กระจุกแยกแขนง ยาวไดถ้ ึง 20 ซม. กลบี เลยี้ ง 4 กลบี รูปสามเหลีย่ ม หรอื ซอกใบ ยาว 1-3 ซม. มี 3-7 ดอก ผลรูปไข่ กวา้ ง 2.5-3.5 ซม. สูง 2.5-5 ซม.
ขนาดเลก็ กลีบดอก 4 กลบี รปู รหี รอื รปู ไข่ ยาว 2-5 มม. ในดอกเพศเมยี ยาว 3-7 มม. รวมกาบ ผวิ มนี วล สว่ นมากมี 1-2 ผล ตดิ บนชอ่ คลา้ ยมกี า้ นหนาสน้ั ๆ กาบรปู ถว้ ย
ตดิ ทน ขยายในผลยาว 1-2 ซม. เกสรเพศผู้ 4 อนั ยาว 0.5-5 มม. กา้ นชูอบั เรณูมขี น หรอื จาน หุม้ ผลไมเ่ กนิ กง่ึ หน่งึ เกลด็ เรียงซ้อนเหลอ่ื ม 6-12 วง (ดขู ้อมลู เพม่ิ เติมท่ี
ท่ีโคน จานฐานดอกขยายในผล มี 4 คาร์เพล แต่ละคาร์เพลมีออวุลเม็ดเดียว ก่อแดง, สกุล)
กา้ นเกสรเพศเมยี สน้ั ยอดเกสรรูปเส้นดา้ ย ยาวประมาณ 2 มม. มี 1-4 ผลยอ่ ยตดิ บน
จานฐานดอก เสน้ ผ่านศนู ย์กลางประมาณ 1 ซม. สขี าว เขยี ว หรอื ฟ้าอมน้�ำเงิน พบท่พี ม่า เวียดนาม คาบสมุทรมลายู สุมาตรา บอรเ์ นียว ในไทยส่วนมากพบ
ทางภาคใต้ พบประปรายทางภาคเหนอื และภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ทเี่ ลย ขนึ้ ตาม
พบที่อินเดีย พม่า ภมู ภิ าคอินโดจนี และมาเลเซยี ขน้ึ รมิ ลำ� ธารในป่าดิบแลง้ ปา่ ดิบเขา และป่าดิบชนื้ ความสงู 800-1700 เมตร
และป่าดิบช้ืน ความสูง 500-700 เมตร เปลอื กบางมรี สขม มีสรรพคุณช่วยลดไข้
เอกสารอา้ งองิ
สกลุ Picrasma Blume มีประมาณ 9 ชนดิ ในไทยพบเพียงชนดิ เดียว ชอื่ สกุล Phengklai, C. (2008). Fagaceae. In Flora of Thailand Vol. 9(3): 389-391.
มาจากภาษากรีก “pikrasmos” ขม หมายถงึ พชื มรี สขม (เปลอื ก)

เอกสารอ้างอิง
Nooteboom, H.P. (1981). Simaroubaceae. In Flora of Thailand Vol. 2(4): 446-447.

กอมขม: ชอ่ ดอกแบบช่อกระจกุ แยกแขนง กลบี เล้ียงและกลบี ดอกจ�ำนวนอยา่ งละ 4 กลีบ ขยายในผล ผลย่อยติด ก่อหมวก: ชอ่ ดอกเพศเมยี ออกส้ัน ๆ ผลผวิ มีนวล สว่ นมากมี 1-2 ผล กาบหมุ้ ผลไมเ่ กนิ ก่งึ หนง่ึ เกล็ดเรยี งซ้อนเหลื่อม
บนจานฐานดอก (ภาพดอก: ปา่ ละอู ประจวบครี ีขนั ธ์ - DM; ภาพผล: แกง่ กระจาน เพชรบุรี - PK) 6-12 วง (ภาพ: ดอยภูคา น่าน - SSi)

กอ่ สามเหล่ยี ม ก่อหลบั เนื้อรว้ิ

Trigonobalanus doichangensis (A. Camus) Forman Lithocarpus cantleyanus (King ex Hook. f.) Rehder
วงศ์ Fagaceae วงศ์ Fagaceae

ช่ือพอ้ ง Quercus doichangensis A. Camus, Formanodendron doichangensis ชอื่ พ้อง Quercus cantleyana King ex Hook. f.
(A. Camus) Nixon & Crepet
ไมต้ น้ สงู ไดถ้ งึ 30 ม. ใบรปู รถี งึ รปู ใบหอก ยาว 10-20 ซม. โคนเบี้ยว เสน้ แขนงใบ
ไม้ต้น สูง 10-30 ม. แยกเพศรว่ มตน้ มีขนรูปดาวสั้นนุ่มสีนำ้� ตาลแดงตามกง่ิ ข้างละ 12-15 เสน้ ก้านใบยาว 1-1.7 ซม. ชอ่ ดอกเพศผบู้ างครัง้ แตกแขนง ยาวไดถ้ งึ
และใบออ่ น กลบี รวม และผล ใบเรยี งเวยี น รปู รหี รอื รปู ไข่ ยาว 7-18 ซม. ขอบเรยี บ 15 ซม. ชอ่ แขนงยาว 3-5 ซม. ช่อดอกเพศเมยี ยาว 8-15 ซม. ผลรปู ไข่คล้ายรปู
เสน้ แขนงใบข้างละ 10-15 เสน้ กา้ นใบยาว 0.5-1.2 ซม. ช่อดอกเพศผู้ยาว 3-14 ซม. ลกู ขา่ ง กว้าง 2.2-3 ซม. สูง 1.5-2.5 ซม. รวมกาบ ผิวมนี วล ปลายมตี งิ่ แหลม
ดอกออกเป็นกระจกุ 1-7 ดอก ใบประดบั 1 อัน ใบประดับยอ่ ย 2 อนั กลีบรวม
6 กลบี เกสรเพศผู้ 6 อนั ชอ่ ดอกเพศเมยี ยาว 8-10 ซม. ต้ังขึ้น ดอกออกเป็นกระจกุ
3 ดอก หรือหลายดอก ใบประดับ 3-5 อัน รังไข่ 3 ช่อง ก้านเกสรเพศเมยี 3 อนั
ผลรปู ไขก่ ลับ ยาว 0.5-1 ซม. มี 3 พูเป็นครบี คลา้ ยปีก มี 3-7 ผลในแตล่ ะกาบ
กาบมเี กล็ดหนาแนน่ เรยี งตามขวาง แตกเปน็ 3-5 ส่วน ดา้ นในมีขน

พบที่จีนตอนใต้ และภาคเหนือของไทยที่เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน แพร่ และ
อุตรดติ ถ์ ขน้ึ ตามที่ลาดชันและสนั เขาในป่าดบิ เขา ความสงู 900-1700 เมตร

38

สารานุกรมพืชในประเทศไทย กะฉอดไข่

กา้ นสน้ั หนา กาบเรยี วแคบชว่ งโคน ปลายบานออก หมุ้ ผลทโี่ คนไมเ่ กนิ กงึ่ หนง่ึ พบท่ีลาว และเวียดนาม ในไทยพบทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน
เกลด็ เชื่อมตดิ กนั เรียง 4-5 วง (ดขู อ้ มลู เพิ่มเติมที่ ก่อด�ำ, สกุล) ภาคตะวนั ออก และภาคตะวนั ออกเฉยี งใต้ ขนึ้ ตามปา่ ดบิ แลง้ ปา่ สนเขา และปา่ ดบิ ชนื้
ความสงู 200-950 เมตร ผลน�ำไปควั่ กนิ ได้
พบทีพ่ ม่า และคาบสมทุ รมลายู ในไทยสว่ นมากพบทางภาคใต้ กระจายหา่ ง ๆ
ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือท่ีนครพนม ภาคตะวันออกท่ีนครราชสีมา ขึ้นตาม เอกสารอา้ งองิ
หบุ เขาหรอื ริมลำ� ธารในป่าดิบแล้ง และปา่ ดบิ ชนื้ ความสงู ระดับต่ำ� ๆ Phengklai, C. (2008). Fagaceae. In Flora of Thailand Vol. 9(3): 227.

กอ่ หนิ ก่อหิน: ขอบใบเรยี บ ผลรูปลูกขา่ ง กาบหุ้มเกือบท้ังผล เรียบ รวิ้ เป็นเส้นคลน่ื (ภาพ: บุรรี มั ย์ - PK)

Lithocarpus macphailii (M. R. Hend.) Barnett กะฉอดไข่

ช่ือพอ้ ง Pasania macphailii M. R. Hend. Cheilanthes belangeri (Bory) C. Chr.
วงศ์ Pteridaceae
ไมต้ น้ สูงไดถ้ งึ 20 ม. ใบรูปรี รูปขอบขนาน หรอื แกมรปู ไขก่ ลับ ยาว 11-20 ซม.
เสน้ ใบไมช่ ดั เจน ใบยาว 0.8-1.5 ซม. ชอ่ ดอกยาว 3-15 ซม. สว่ นมากไมแ่ ยกแขนง ชื่อพอ้ ง Pteris belangeri Bory, Cheilosoria belangeri (Bory) Ching & Shing
หรือแยกแขนง เกลย้ี ง ผลรูปไข่กวา้ ง แบน กวา้ ง 2.5-3 ซม. สูง 2-2.5 ซม. รวม
กาบ รอบกรวยมขี นสน้ั นมุ่ สีเทา แยกกัน ก้านหนา ยาว 0.5-1.5 ซม. กาบหมุ้ เฟนิ ขน้ึ บนพนื้ ดนิ หรอื หนิ เหงา้ สนั้ ตรง เกลด็ เรยี วแคบมสี นี ำ้� ตาล ยาว 2-3 มม.
เกือบทง้ั ผล เกล็ดเช่อื มตดิ กนั เรียงเป็นเส้น 5-6 วง ไม่เปน็ ระเบียบ มีขนสั้นนุ่ม ใบประกอบ 2-3 ชั้น รปู ใบหอก ส่วนมากยาว 10-20 ซม. ก้านใบยาว 8-15 ซม.
(ดูข้อมูลเพ่ิมเติมที่ ก่อด�ำ, สกุล) สีน�้ำตาลแดง โคนมีเกลด็ และขนสัน้ นุ่ม ใบประกอบย่อย 12-18 คู่ เรยี งห่าง ๆ
ช่วงปลายเชือ่ มตดิ กนั ใบประกอบย่อยสามเหล่ียม เบี้ยว ยาวไดถ้ งึ 4 ซม. มกี ้านส้นั ๆ
พบที่คาบสมุทรมลายู และบอร์เนียว ในไทยพบกระจายหา่ ง ๆ ทางภาคใตท้ ่ี ใบจกั เปน็ พตู ื้น ๆ หรือลกึ จรดโคนในใบชว่ งล่าง 4-6 คู่ รปู รีหรือรปู ขอบขนาน
นครศรีธรรมราช นราธิวาส ขนึ้ ตามป่าดิบช้ืน ความสูง 100-250 เมตร เบยี้ ว ปลายมนกลม เสน้ แขนงใบไมช่ ดั เจน กลมุ่ อบั สปอรเ์ รยี งชดิ กนั เปน็ แนวยาว
หรอื แยกกนั เป็นชว่ ง ๆ ท่ขี อบหรอื ริมของรอยจัก บงั ขอบใบท่พี บั ลง
เอกสารอา้ งองิ
Phengklai, C. (2008). Fagaceae. In Flora of Thailand Vol. 9(3): 261-263, 301-305. พบทอี่ นิ เดยี เนปาล บงั กลาเทศ พมา่ ไหห่ นาน ภมู ภิ าคอนิ โดจนี และมาเลเซยี
ฟิลิปปินส์ ขึน้ ตามปา่ ดิบแล้ง และปา่ ดบิ ชื้น ความสงู ถึงประมาณ 800 เมตร
ก่อหลับเนื้อริว้ : ผลรูปไข่คลา้ ยรปู ลูกข่าง ปลายมตี ิ่งแหลม ผวิ มีนวล กาบเรียวแคบช่วงโคน หุม้ ผลไม่เกนิ กง่ึ หนงึ่
เกล็ดเช่อื มตดิ กันเรยี ง 4-5 วง (ภาพ: นราธิวาส - RP) สกลุ Cheilanthes Sw. อยู่ภายใตว้ งศ์ย่อย Cheilanthoideae มมี ากกว่า 100 ชนิด
พบในอเมริกาใต้ แอฟริกา ยุโรป เอเชยี ออสเตรเลีย และหมเู่ กาะแปซฟิ กิ ใน
กอ่ หิน: ชอ่ ดอกบางครัง้ แยกแขนง ผลรูปไขก่ วา้ ง แบน รอบกรวยมขี นสัน้ นุ่มสีเทา แยกกนั มกี า้ นหนา กาบหุ้มเกือบ ไทยมี 12 ชนดิ ชอื่ สกลุ มาจากภาษากรกี “cheilos” ขอบ และ “anthos” ดอก
ท้ังผล (ภาพ: นครศรธี รรมราช - SSi) ตามลกั ษณะกลุม่ อับสปอรเ์ รยี งตามขอบคล้ายรูปดอก
เอกสารอา้ งองิ
ก่อหนิ Gangmin, Z. and G. Yatskievych. (2013). Pteridaceae (Cheilanthes). In Flora of

Castanopsis piriformis Hickel & A. Camus China Vol. 2-3: 218, 221.
วงศ์ Fagaceae Lindsay, S. and D.J. Middleton. (2012 onwards). Ferns of Thailand, Laos and

ไม้ตน้ สูงไดถ้ ึง 30 ม. ใบรปู รหี รอื รูปขอบขนาน ยาว 8-16 ซม. ขอบเรยี บ Cambodia. http://rbg-web2.rbge.org.uk/thaiferns/
แผน่ ใบดา้ นลา่ งสนี ำ�้ ตาล กา้ นใบยาว 1-1.5 ซม. ดอกเพศผแู้ ละเพศเมยี สว่ นมาก Tagawa, M. and K. Iwatsuki. (1985). Parkeriaceae. In Flora of Thailand Vol.
แยกคนละชอ่ ชอ่ ดอกเพศผแู้ ตกแขนงจำ� นวนมาก ชอ่ แขนงยาว 8-15 ซม. ดอกออก
เปน็ กระจุก 3 ดอก หรอื หลายดอก ช่อดอกเพศเมียออกเดี่ยว ๆ ยาว 8-10 ซม. 3(2): 202-203.
ดอกออกเปน็ กระจกุ 1-3 ดอก ผลรปู ลกู ข่างหรอื คลา้ ยพีระมิด กว้าง 2-3 ซม.
ยาว 2.5-3 ซม. รวมกาบ มีขนสีเงนิ รอบ ๆ กรวย กาบหมุ้ เกือบท้งั ผล ผวิ เรียบ กะฉอดไข่: ใบประกอบ 2-3 ช้ัน อับสปอรเ์ รียงชิดกนั บงั ขอบใบท่พี ับลง (ภาพ: ภจู องนายอย อุบลราชธานี - PK)
ไมม่ หี นามหรอื เกลด็ มรี วิ้ เปน็ เสน้ คลนื่ ไมเ่ ปน็ ระเบยี บ 3-4 เสน้ แตล่ ะกาบมผี ลเดยี ว
(ดขู ้อมลู เพม่ิ เตมิ ท่ี ก่อเดือย, สกลุ )

39

กะฉอดแรด สารานุกรมพืชในประเทศไทย

กะฉอดแรด, สกุล เอกสารอา้ งอิง
Lindsay, S. and D.J. Middleton. (2012 onwards). Ferns of Thailand, Laos and
Tectaria Cav. Cambodia. http://rbg-web2.rbge.org.uk/thaiferns/
วงศ์ Tectariaceae Tagawa, M. and K. Iwatsuki. (1988). Dryopteridaceae. In Flora of Thailand Vol.
3(3): 364-384.
เฟินขนึ้ บนพื้นดนิ เหง้าสน้ั ตั้งขึน้ หรือทอดนอน มีเกลด็ บาง ๆ ใบมแี บบเดียว Xing, F., Y. Yuehong and M.J.M. Christenhusz. (2013). Tectariaceae (Tectaria).
หรอื สองแบบ ใบสว่ นมากแบบใบประกอบจักแบบขนนก ขอบเรียบ แกนใบมขี น In Flora of China Vol. 2-3: 733.
หลายเซลล์ เสน้ ใบยอ่ ยแบบรา่ งแห อบั สปอรส์ ว่ นมากรปู กลม ตดิ บนหรอื ระหวา่ ง
เส้นใบ มเี ยอ่ื คลมุ หรอื ไม่มี สปอรร์ ูปรีหรือรูปไข่ ผิวมีต่มุ หรือหนาม กะฉอดแรด: T. griffithii ใบประกอบยอ่ ย 1-2 ใบ ทีโ่ คนขนาดใหญ่ แฉกลกึ จรดโคน กล่มุ อับสปอรต์ ดิ ตามปลาย
เสน้ แขนงใบยอ่ ย เรยี งข้างละ 1-2 แถว (ภาพ: คลองแกว้ ตราด - TP)
สกลุ Tectaria มีประมาณ 230 ชนดิ พบทวั่ ไปในเขตรอ้ น ในไทยมปี ระมาณ 30
ชนดิ ช่อื สกุลมาจากภาษาละติน “tectum” คลมุ และค�ำ คณุ ศพั ท์ “aria” ตาม กะฉอดแรด: T. rockii ใบประกอบยอ่ ยชว่ งโคนแยกแขนง 2-3 ชัน้ กลมุ่ อับสปอร์ติดที่ปลายเส้นใบ กระจายหา่ ง
ลักษณะการตดิ ของอบั สปอร์ ข้างละแถวของเสน้ กลางใบยอ่ ย (ภาพ: เขาสอยดาว จนั ทบรุ ี - TP)

กะฉอดแรด กะฉอดแรดใบขน: มใี บสองแบบ ใบไมส่ ร้างสปอร์จักเป็นพแู บบขนนกหรอื มีใบประกอบย่อย 3 ใบ ใบสร้างสปอร์
ใบตั้งตรง มใี บยอ่ ย 3 ใบ รูปแถบ กล่มุ อับสปอรเ์ รยี งทั่วทงั้ แผน่ ใบด้านลา่ ง ยกเว้นขอบใบ (ภาพ: ภูสวนทราย เลย - PK)
Tectaria griffithii (Baker) C. Chr.
กะตังใบ, สกลุ
ชือ่ พอ้ ง Nephrodium griffithii Baker
Leea D. Royen ex L.
เฟนิ ขนึ้ บนดิน เหงา้ ต้ังข้ึน เกลด็ สนี ้�ำตาลเข้ม รูปแถบ ยาวได้ถงึ 2 ซม. ใบรปู วงศ์ Vitaceae
สามเหลยี่ มแกมรปู ขอบขนาน กวา้ งไดถ้ งึ 40 ซม. ยาวไดถ้ งึ 70 ซม. กา้ นใบเปราะ
ยาวเทา่ ๆ แผน่ ใบ มเี กลด็ หนาแนน่ ชว่ งโคน ใบชว่ งโคนรปู สามเหลยี่ ม เบย้ี ว ยาว ไมล้ ม้ ลุก ไมพ้ ุ่ม รอเลอ้ื ย หรอื ไมต้ ้นขนาดเลก็ หูใบสว่ นมากมคี รีบคล้ายปีก
ไดถ้ ึง 30 ซม. มกี า้ นยาว ปลายยาวคล้ายหาง ใบประกอบย่อยมี 1-2 ใบ ใบท่ีโคน รว่ งเรว็ ใบเดยี่ วหรอื ใบประกอบ เรยี งสลบั ระนาบเดยี ว แกนกลางมกั มคี รบี เปน็ ปกี
ขนาดใหญ่ แฉกลกึ จรดโคน รปู ขอบขนาน ยาวได้ถงึ 20 ซม. ปลายเรียวแหลม แคบ ๆ เสน้ ใบแบบขน้ั บันได ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง ออกทีป่ ลายกิง่
บางครั้งมกี า้ นสน้ั ๆ ใบปลาย โคนสอบเรยี วเป็นครีบ ขอบจกั เป็นพูลกึ แกนใบ หรอื ตรงขา้ มใบ ใบประดบั และใบประดบั ยอ่ ยขนาดเลก็ สว่ นมากรว่ งเรว็ กลบี เลยี้ ง
และเสน้ กลางใบดา้ นบนมขี นหยาบ เสน้ ใบเปน็ ชอ่ งรา่ งแหชดั เจน กลมุ่ อบั สปอร์ และกลีบดอกจ�ำนวนอยา่ งละ 5 กลบี กลบี เลีย้ งหนา ปลายจักตื้น ๆ ตดิ ทน กลีบดอก
ตดิ ตามปลายเสน้ แขนงใบยอ่ ย เรยี งขา้ งละ 1-2 แถว มเี ยอ่ื คลมุ เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง พบั งอกลับ แผ่นเกสรเพศผู้ทเี่ ปน็ หมนั เชื่อมตดิ กันเป็นหลอด สีขาว เกสรเพศผู้
ประมาณ 2 มม. 5 อนั ก้านชอู ับเรณเู ปน็ แผน่ บาง แกนอับเรณูหนา ไม่มีจานฐานดอก รงั ไข่มี
4-8 ชอ่ ง แต่ละชอ่ งมอี อวุลเม็ดดยี ว เกล้ียง ผลสด สว่ นมากมี 4-6 เมลด็
พบทอ่ี นิ เดยี จนี ตอนใต้ พมา่ ภมู ภิ าคอนิ โดจนี และมาเลเซยี ในไทยพบทกุ ภาค
ข้นึ ตามป่าดิบแล้ง และปา่ ดิบช้นื ความสงู ถึงประมาณ 600 เมตร สกุล Leea เดมิ อยูภ่ ายใตว้ งศ์ Leeaceae ปัจจุบนั อยภู่ ายใต้วงศ์ยอ่ ย Leeaoideae
มีประมาณ 34 ชนดิ พบในแอฟริกา เอเชีย ออสเตรเลีย และหม่เู กาะแปซฟิ กิ ในไทย
กะฉอดแรด มี 11 ชนิด ชอื่ สกลุ ตงั้ ตามนักพืชสวนชาวสกอตแลนด์ James Lee (1715-1795)
หลายชนดิ มีสรรพคุณด้านสมนุ ไพร
Tectaria rockii C. Chr.
เฟนิ ขน้ึ บนดนิ เหงา้ ทอดนอน เกลด็ แขง็ สนี ำ้� ตาลเขม้ หรอื สดี ำ� รปู แถบ ยาวประมาณ กะตงั ใบ

1.5 มม. ใบประกอบรูปสามเหล่ียมกวา้ ง กว้างยาวประมาณ 50 ซม. ก้านใบยาวได้ถึง Leea indica (Burm. f.) Merr.
80 ซม. มขี นประปราย โคนมเี กลด็ ใบประกอบย่อย 3-5 คู่ แกนกลางใบ แผ่นใบ
ดา้ นลา่ ง และเสน้ ใบมขี นละเอยี ด ใบชว่ งโคนแยกแขนง 2-3 ชน้ั รปู สามเหลย่ี ม ช่อื พอ้ ง Staphylea indica Burm. f.
เบย้ี ว ยาวไดถ้ งึ 50 ซม. ใบชว่ งปลายเรยี วแหลม โคนรปู ลม่ิ ใบยอ่ ยทโ่ี คนขนาดใหญ่
ยาวได้ถึง 20 ซม. ก้านส้ันหรือไร้ก้าน จักมน กลุ่มอับสปอร์ติดท่ีปลายเส้นใบ ไมพ้ มุ่ รอเลื้อย หรือไม้ตน้ สงู ไดถ้ ึง 7 ม. กง่ิ มีช่องอากาศ หูใบมีปกี รูปไข่กลบั
กระจายหา่ ง เรยี งขา้ งละแถวของเสน้ กลางใบยอ่ ย มเี ยอื่ คลมุ กลม เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง ยาวไดถ้ งึ 6 ซม. ใบประกอบ 1-3 ชน้ั ใบประกอบยอ่ ยมีได้ถึง 4 คู่ แกนกลาง
ประมาณ 1.5 มม. มีขนละเอยี ดหรอื เกอื บเกลี้ยง ยาว 9-70 ซม. กา้ นยาว 7-34 ซม. ใบยอ่ ยรูปไข่ แกมรปู ขอบขนานหรอื รปู ใบหอก

พบทพ่ี มา่ และภมู ภิ าคอนิ โดจนี ในไทยพบแทบทกุ ภาคยกเวน้ ภาคใต้ ขนึ้ ตาม
ปา่ ดบิ แล้ง และปา่ ดบิ เขา ความสงู 400-1200 เมตร

กะฉอดแรดใบขน

Tectaria zeilanica (Houtt.) Sledge

ชอ่ื พ้อง Ophioglossum zeilanicum Houtt., Quercifilix zeilanica (Houtt.) Copel.

เฟินขึน้ บนดนิ ทอดนอนสนั้ ๆ เกลด็ รูปสามเหล่ียม ยาวประมาณ 5 มม. ขอบจกั
ใบมสี องแบบ ใบไมส่ รา้ งสปอรอ์ อกเปน็ กระจกุ จกั แบบขนนกหรอื มใี บประกอบยอ่ ย
3 ใบ รูปรี ยาวได้ถงึ 10 ซม. กา้ นใบยาว 4-8 ซม. โคนมเี กล็ดหนาแน่น แผ่นใบ
ดา้ นลา่ ง ขอบใบ และกา้ นใบมขี นหนาแนน่ ใบทโ่ี คนรปู ขอบขนานหรอื รปู รกี วา้ ง
เบีย้ ว ยาวไดถ้ ึง 3 ซม. ปลายมนกลม โคนเวา้ ต้นื หรือเปน็ ตง่ิ กลม ยาวไดถ้ งึ 7 มม.
ใบชว่ งปลายรปู ขอบขนาน ยาวได้ถึง 7 ซม. ปลายมน โคนรปู ล่ิมกวา้ ง ขอบจักมน
หรอื จกั เปน็ พตู น้ื ๆ รูปกลมแกมสามเหลีย่ ม ใบสร้างสปอร์ใบตง้ั ตรง ก้านยาวได้ถงึ
25 ซม. มีเกล็ดประปราย มีใบย่อย 3 ใบ ยาวได้ถึง 5 ซม. ใบข้างเรียวแคบ สน้ั
โคนมักเป็นติ่ง ใบปลายรูปแถบ กวา้ งประมาณ 2.5 มม. ขอบมีขนประปราย
กลุ่มอบั สปอรเ์ รยี งทว่ั ท้งั แผ่นใบด้านลา่ ง ยกเว้นขอบใบ

พบท่ีอินเดีย ศรีลังกา จีนตอนใต้ ไห่หนาน ไต้หวัน ภูมิภาคอินโดจีนและ
มาเลเซยี ฟิลปิ ปินส์ และหมู่เกาะแปซฟิ กิ ในไทยพบทุกภาค ข้ึนตามปา่ ดิบแล้ง
และปา่ ดบิ ชื้น ความสงู ถึงประมาณ 500 เมตร

40

สารานุกรมพชื ในประเทศไทย กะทกรกสยาม

ยาวไดถ้ ึง 30 ซม. ขอบจกั ซฟี่ นั ก้านใบยาว 0.2-2 ซม. ชอ่ ดอกสว่ นมากยาวไดถ้ ึง กะทกรก, สกลุ
27 ซม. แผก่ วา้ ง กา้ นชอ่ ยาวไดถ้ ึง 10 ซม. ดอกสเี ขยี วออ่ นหรอื อมเหลอื ง ก้านดอก
ยาว 0.5-1.5 มม. กลบี เลย้ี งรูปถว้ ยยาวประมาณ 2 มม. ปลายจักตืน้ ๆ กลบี ดอก Passiflora L.
ยาว 3-4 มม. แฉกลกึ ประมาณกงึ่ หนง่ึ หลอดเกสรเพศผทู้ เี่ ปน็ หมนั ยาว 1.2-2.2 มม. วงศ์ Passifloraceae
โคนแยกกนั กา้ นชอู ับเรณยู าวประมาณ 1 มม. กา้ นเกสรเพศเมียยาว 1-2 มม.
ผลจกั เป็นพูเล็กน้อย เสน้ ผา่ นศูนยก์ ลาง 0.9-1 ซม. ผลแก่สนี ำ�้ ตาลแดง ไม้เถา ไม่มีมือจับ หูใบขนาดเล็ก ใบเรียงเวียน ช่อดอกแบบช่อกระจุกออก
ตามซอกใบ ตรงข้ามช่อบางคร้ังมีมือจับ ใบประดับขนาดเล็กหรือเชื่อมติดกัน
พบตั้งแตอ่ นิ เดยี ถึงออสเตรเลีย และหมเู่ กาะแปซฟิ ิก ในไทยพบทกุ ภาค ขน้ึ กลบี เลย้ี งและกลบี ดอกจำ� นวนอยา่ งละ 5 กลบี แยกกนั สว่ นมากเรยี งซอ้ นเหลอื่ ม
หลากหลายสภาพปา่ ความสงู ถึงประมาณ 2000 เมตร คลา้ ยกับ กระตังใบแดง บางคร้ังไม่มีกลีบดอก กะบงั เรยี งเป็นวง รูปเสน้ ดา้ ย เปน็ รยางค์ หรือเปน็ เกลด็
L. rubra Blume และ L. guineensis G. Don ซ่งึ ทั้งสองชนดิ มีกลีบเล้ียงและ คลา้ ยจานฐานดอก สว่ นมากมตี อ่ มน�้ำต้อยเรียงเป็นวง มกี า้ นชูเกสรร่วม เกสรเพศผู้
กลีบดอกสีแดง 5-8 อนั อบั เรณูติดดา้ นหลัง ไหวได้ รังไขม่ ีช่องเดยี ว มี 3-5 คาร์เพล พลาเซนตา
ตามแนวตะเข็บ กา้ นเกสรเพศเมยี 3-4 อัน ยอดเกสรเป็นตุม่ ผลคลา้ ยผลสดมี
กะตังใบเตีย้ หลายเมลด็ ผวิ เปน็ ร่างแหหรือรูพรนุ มีเย่ือหุ้มสด

Leea thorelii Gagnep. สกลุ Passiflora มปี ระมาณ 400 ชนดิ ส่วนมากพบในอเมรกิ าเขตร้อน ในไทย
ไม้ลม้ ลกุ ทอดนอนหรอื ต้งั ตรง สงู ได้ถงึ 1 ม. มีหวั ใต้ดิน มีขนกระจายตามแผน่ ใบ มพี ืชพนื้ เมือง 3 ชนิด หลายชนิดที่เปน็ ไมป้ ระดบั และมี 2 ชนิดท่เี ป็นไมผ้ ล คอื
เสาวรส P. edulis Sims และสคุ นธรส P. quadrangularis L. ชือ่ สกลุ เปน็ ภาษาละตนิ
ก้านใบ และชอ่ ดอก หใู บติดบนก้านใบเปน็ ปกี แคบ ๆ ยาว 1-3 ซม. ใบประกอบมี หมายถงึ ดอกไม้ทีเ่ ป็นสญั ลกั ษณ์ความหลงใหล และการตรงึ กางเขนของพระเยซู
3 ใบย่อยหรอื มใี บประกอบยอ่ ย 1-3 ใบ แกนกลางยาวไดถ้ ึง 10 ซม. ก้านใบยาว
3-10 ซม. ใบยอ่ ยมีหลายรูปแบบ ยาวได้ถึง 12 ซม. ขอบจกั ฟันเลอื่ ย โคนเบ้ียว กะทกรก
ก้านใบยอ่ ยยาวไดถ้ งึ 8 มม. มปี ีกแคบ ๆ ชอ่ ดอกแบบช่อกระจุก แผ่กวา้ ง กา้ นช่อยาว
1-5 ซม. กลีบเลย้ี งยาว 1-1.2 มม. ปลายจกั ตนื้ ๆ กลีบดอกยาว 2-3 มม. แฉกลกึ Passiflora foetida L.
ประมาณก่ึงหนึง่ หลอดเกสรเพศผ้ทู ีเ่ ปน็ หมันยาวเท่า ๆ กา้ นเกสรเพศเมีย ยาว ไม้เถาลม้ ลุก มขี นต่อมยาวตามหใู บ กา้ นใบ แผ่นใบ และใบประดบั หูใบจกั
1-2 มม. ผลจกั เป็นพู เส้นผา่ นศนู ยก์ ลาง 6-8 มม. สกุ สีม่วงด�ำ
ชายครยุ ลกึ ใบรปู ไขห่ รอื แกมรปู ขอบขนาน ยาว 3-13 ซม. โคนแฉกลกึ มตี อ่ มนำ้� ตอ้ ย
พบเฉพาะในภูมิภาคอินโดจนี ในไทยพบทางภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ และ ใกล้ขอบใบ ก้านใบยาว 2-6 ซม. ชอ่ ดอกลดรูปคล้ายออกเด่ียว ๆ ตรงขา้ มมีมือจับ
ภาคตะวนั ออก ข้นึ ตามป่าเตง็ รัง และปา่ เบญจพรรณ ความสงู 100-400 เมตร ใบประดับและใบประดบั ย่อยจกั ลึก เชือ่ มติดกัน ติดทน หุ้มผล ดอกสีขาวหรอื
อมมว่ ง กลบี เลย้ี งและกลบี ดอกคลา้ ยกนั รปู รี ยาว 1.5-2 ซม. ดา้ นหลงั กลบี เลย้ี ง
เอกสารอา้ งองิ มีสนั เป็นเขาสีเขียว กะบงั เรียง 3-5 วง วงนอกยาวประมาณ 1 ซม. วงในยาว 1-3 มม.
Chen, Z. and J. Wen. (2007). Leeaceae. In Flora of China Vol. 12: 169-170. ขอบในบาง จานฐานดอกสงู 1-2 มม. ก้านชูเกสรร่วมยาว 5-7 มม. อับเรณูยาว
van Welzen, P.C. (2010). Leeaceae. In Flora of Thailand Vol. 10(2): 209-230. ประมาณ 4 มม. รงั ไขเ่ กลยี้ ง กา้ นเกสรเพศเมยี ยาว 4-6 มม. ผลเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง
1.5-3 ซม.
กะตังใบ: กลีบเลี้ยงและกลีบดอกสีเขยี ว ผลกลมหรือจกั เป็นพเู ล็กนอ้ ย (ภาพ: ขนุ พระวอ ตาก - RP)
มีถ่ินก�ำเนิดในอเมริกาใต้ และหมู่เกาะในทะเลแคริบเบียน เป็นวัชพืชท่ัวไป
กะตงั ใบเต้ยี : ไมล้ ม้ ลุกทอดนอน มหี ัวใต้ดนิ ใบประกอบมใี บประกอบย่อย 1-3 ใบ กลบี เล้ียงขนาดเลก็ ผลจักเปน็ พู ความสงู ถึงประมาณ 1200 เมตร ผลสุกและยอดอ่อนกินได้ ตน้ มพี ิษตอ่ สตั วเ์ ลย้ี ง
(ภาพ: บรุ รี มั ย์ - RP)
กะทกรกสยาม

Passiflora siamica Craib
ไมเ้ ถาลม้ ลกุ ยาวไดถ้ ึง 8 ม. ลำ� ต้นเปน็ เหลย่ี ม มขี นสนี ำ้� ตาลหนาแนน่ ตามกง่ิ

แผ่นใบด้านล่าง และช่อดอก ใบรปู รีถึงรูปใบหอกแกมรปู ไข่ ยาว 5-23 ซม. โคนรปู ลิ่ม
หรอื เว้าต้ืน กา้ นใบยาว 1-4 ซม. มักมีตอ่ ม 2 ตอ่ ม ก้านชอ่ สัน้ หรอื ไรก้ ้าน กา้ นดอก
ยาว 0.3-1.5 ซม. ดอกสขี าวครมี อมชมพู กลบี เลย้ี งและกลบี ดอกคลา้ ยกนั รปู รี ยาว
1-1.5 ซม. กะบังเรยี ง 2 วง วงนอกยาว 0.7-1 ซม. วงในยาว 2-5 มม. ขอบในบาง
พับจบี สงู 2-3 มม. ก้านชูเกสรรว่ มยาว 3-5 มม. อบั เรณยู าวประมาณ 4 มม.
รงั ไขม่ ขี น กา้ นเกสรเพศเมยี ยาว 5-7 มม. มี 1-2 ผล ในแตล่ ะชอ่ เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง
1.5-2 ซม. มขี นประปราย สุกสีน�้ำเงนิ อมดำ�

พบทอี่ นิ เดยี พมา่ จนี ตอนใต้ ลาว และเวยี ดนาม ในไทยพบกระจายหา่ ง ๆ ทาง
ภาคเหนือ ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ และภาคตะวนั ตกเฉยี งใต้ ข้ึนตามปา่ ดบิ แลง้
และปา่ ดิบเขา ความสูง 400-1500 เมตร

เอกสารอา้ งอิง
de Wilde, W.J.J.O. and B.E.E. Duyfjes. (2010). Passifloraceae. In Flora of
Thailand Vol. 10(2): 251-257.
Wang, Y., S.E. Krosnick and P.M. Jørgensen. (2007). Passifloraceae (Passiflora).
In Flora of China Vol. 13: 141-147.

กะตังใบแดง: L. rubra ใบยอ่ ยขนาดเลก็ ช่อดอก กลบี เลยี้ งและกลบี ดอกสีแดง กลบี เลยี้ งเกลีย้ ง ผลจกั เปน็ พูต้ืน ๆ กะทกรก: มขี นต่อมยาวท่วั ไป หูใบจกั ชายครุย กะบงั เรียงเปน็ วง ใบประดบั จกั ลึก ห้มุ ผล (ภาพ: กรงุ เทพฯ - RP)
(ภาพ: ตรงั - RP)
41

กะป้อดอย สารานุกรมพชื ในประเทศไทย

กะทกรกสยาม: ช่อดอกสนั้ กา้ นช่อสนั้ มากหรือไรก้ า้ น กลบี เลี้ยงและกลีบดอกลา้ ยกัน กะบังเรียง 2 วง มี 1-2 ผล สกุล Strobocalyx (Blume ex DC.) Spach เคยถูกยบุ ใหอ้ ยภู่ ายใตส้ กุล
ในแต่ละช่อ (ภาพ: ภฝู อยลม เลย - MT) Gymnanthemum และ Vernonia มี 7 ชนิด พบท่ีอินเดีย จีนตอนใต้ เอเชยี
ตะวันออกเฉียงใต้ ช่ือสกุลมาจากภาษากรีก “strobe” บิดเปน็ เกลยี ว “kalyx”
กะป้อดอย ถ้วย ตามลกั ษณะของวงใบประดบั รปู ถว้ ยเรยี งซ้อนเหลอ่ื มคล้ายบดิ เป็นเกลียว
เอกสารอ้างองิ
Torenia cordifolia Roxb. Chen, Y. and M.G. Gilbert. (2011). Asteraceae (Vernonia arborea). In Flora of
วงศ์ Linderniaceae
China Vol. 20-21: 358.
ไม้ลม้ ลกุ สูงไดถ้ งึ 40 ซม. มีขนยาวประปรายตามสันของลำ� ต้น ข้อ กา้ นใบ Robinson, H., S.C. Keeley, J.J. Skvarla, and R. Chan. 2008. Studies on the
แผ่นใบ ก้านดอก และกลีบเลยี้ ง ใบรปู ไขห่ รอื แกมรปู ขอบขนาน ยาว 1.5-5 ซม.
โคนกลมหรอื เวา้ ตนื้ ๆ ขอบใบจกั ฟันเลือ่ ย กา้ นใบยาว 0.2-1.7 ซม. ดอกออกเปน็ Gymnantheminae (Vernonieae: Asteraceae) III: restoration of the genus
กระจกุ คลา้ ยชอ่ ซรี่ ่ม มี 2-8 ดอก ก้านดอกยาว 0.5-4 ซม. กลบี เล้ยี งยาว 0.7-1 ซม. Strobocalyx and the new genus Tarlmounia. Proceedings of the Biological
ขยายในผล หลอดกลบี มีสนั เป็นครบี 5 อัน กว้างประมาณ 1 มม. ดอกสมี ่วง ยาว Society of Washington 121: 19-33.
1.3-2 ซม. กลีบบนปลายเว้าตื้น โคนก้านชอู ับเรณคู ่ลู า่ งมีเดือยรปู เส้นดา้ ยยาว
ประมาณ 0.5 มม. ผลรปู ขอบขนาน ยาว 7-8 มม. มีกลีบเลย้ี งห้มุ (ดขู อ้ มลู เพ่ิมเติมท่ี กะพวมพรา้ ว: ชอ่ ดอกแบบชอ่ กระจุกแนน่ แยกแขนง ดอกรูปกรวย มี 3-5 ดอก ในแต่ละชอ่ ติดบนวงใบประดบั ท่ี
แววมยรุ า, สกลุ ) เรียงซ้อนเหลื่อม ก้านเกสรเพศเมยี แยก 2 แฉก เรยี วยาวมว้ นงอ (ภาพ: แวง้ นราธิวาส - MP)

พบทอ่ี ินเดยี ภฏู าน จนี ตอนใต้ พม่า กัมพชู า และเวียดนาม ในไทยพบทาง กะเพรา
ภาคเหนอื และภาคตะวันตกเฉียงใต้ ขน้ึ ตามชายป่า ท่งุ หญ้า หรือเขาหินปนู ความสูง
700-1300 เมตร Ocimum tenuiflorum L.
วงศ์ Lamiaceae
เอกสารอา้ งองิ
Hong, D., H. Yang, C.L. Jin, M.A. Fischer, N.H. Holmgren and R.R. Mill. (1998). ไม้ล้มลุก สงู ได้ถงึ 1 ม. ลำ� ตน้ เป็นเหลี่ยม มขี นตอ่ ม ขนยาว หรอื ขนสัน้ นุ่ม
In Flora of China Vol. 18: 39. ตามล�ำตน้ แผน่ ใบ ชอ่ ดอก ใบประดับ ก้านดอก และกลบี เลยี้ ง ใบเรียงตรงข้าม
Yamazaki, T. (1990). Scrophulariaceae. In Flora of Thailand Vol. 5(2): 211. รูปรหี รอื รปู ขอบขนาน ยาว 0.5-4.5 ซม. กา้ นใบยาว 0.5-1.5 ซม. ช่อดอกแบบ
ชอ่ กระจกุ รอบแกนช่อหา่ ง ๆ คลา้ ยชอ่ เชิงลด ยาวไดถ้ งึ 10 ซม. ใบประดบั รปู ไข่
กะปอ้ ดอย: ใบเรยี งตรงข้าม โคนเวา้ ต้นื ๆ ดอกออกเปน็ กระจุกคล้ายช่อซร่ี ่ม หลอดกลีบมีสันเปน็ ครีบ กลบี ดอกรปู ยาว 2-3 มม. ก้านดอกขยายในผล ยาว 2.5-4 มม. กลบี เล้ยี งและกลบี ดอกรูปปากเปดิ
ปากเปดิ (ภาพ: ทองผาภมู ิ กาญจนบรุ ี - SSi) หลอดกลบี เลีย้ งยาว 1-1.5 มม. ขยายในผล ยาว 3-4 มม. กลบี บนกลม กลีบลา่ ง
รูปใบหอก ดอกสีมว่ งหรอื ขาว หลอดกลบี ดอกยาว 2-3 มม. กลีบบน 4 กลบี กลีบลา่ ง
กะพวมพร้าว 1 กลีบ ขนาดใหญ่กว่ากลีบบน เกสรเพศผู้ส้ัน 2 อนั ยาว 2 อนั ยื่นพน้ ปากหลอด
กลีบดอก โคนมีขนเปน็ กระจกุ รงั ไขม่ ี 4 พู ผลกลม เมล็ดรปู ไข่
Strobocalyx arborea (Buch.-Ham.) Sch. Bip.
วงศ์ Asteraceae พบทว่ั ไปในเอเชียเขตรอ้ น เปน็ วัชพืชและปลูกเป็นผักสวนครัว มสี รรพคณุ รอ้ น
ชาวฮนิ ดถู อื เปน็ ไมศ้ กั ดสิ์ ทิ ธิ์ ซง่ึ อาจหมายถงึ กะเพราชนดิ อน่ื ๆ ดว้ ย เชน่ กะเพราชา้ ง
ช่อื พอ้ ง Vernonia arborea Buch.-Ham. หรอื ย่ีหร่า O. gratissimum L. โหระพา O. basilicum L. และกะเพราแขก O.
kilimandscharicum Baker ex Gürke
ไม้ตน้ สงู 10-15 ม. มขี นสนี ำ�้ ตาลแดงตามกงิ่ อ่อน แผน่ ใบดา้ นลา่ ง กา้ นใบ
กา้ นช่อดอก และวงใบประดบั ใบเรียงเวยี น รปู ไข่หรอื แกมรปู ขอบขนาน ยาว สกุล Ocimum L. อยู่ภายใตว้ งศ์ยอ่ ย Nepetoideae มปี ระมาณ 65 ชนดิ สว่ นใหญ่
10-25 ซม. ปลายแหลมยาว กา้ นใบยาว 1-3.5 ซม. ชอ่ ดอกแบบช่อกระจกุ แนน่ พบในแอฟริกาและอเมริกาใต้ ไทยเป็นพืชพ้นื เมืองเพียงชนดิ เดียว ชอื่ สกุลมาจาก
แยกแขนง ออกตามปลายก่ิง ก้านชอ่ กระจุกสน้ั ตดิ บนวงใบประดับที่เรยี งซอ้ น ภาษากรกี “okimon” ทีใ่ ชเ้ รียกพืชทม่ี ีกล่นิ หอมเชน่ ใบโหระพา
เหล่อื มกนั ประมาณ 5 วง ยาว 2-3 มม. แต่ละช่อมี 3-5 ดอก ไมม่ ีใบประดับย่อย เอกสารอ้างองิ
ดอกสชี มพอู มมว่ ง หลอดกลบี ดอกยาว 5-7 มม. ปลายแยกเปน็ 5 แฉก รปู ขอบขนาน Suddee, S., A.J. Paton and J. Parnell. (2005). A taxonomic revision of tribe
ยาวประมาณ 1.5 มม. เกสรเพศผู้ 5 อนั ตดิ ภายในหลอดกลบี ดอก รงั ไขใ่ ตว้ งกลบี
มชี อ่ งเดยี ว กา้ นเกสรเพศเมียแยก 2 แฉก เรยี วยาวม้วนงอ ผลแหง้ เมล็ดล่อน Ocimeae Dumort. (Lamiaceae) in continental South East Asia III. Ociminae.
รปู ไขก่ ลบั ยาวประมาณ 2 มม. มี 8-10 สัน มีขนยาว แพปพัสเป็นขนแขง็ ตดิ ทน Kew Bulletin 60: 26-27.
เรียง 2 วง วงในยาว 5-7 มม. วงนอกสั้น
กะเพรา: ช่อดอกกระจกุ รอบแกน กลีบเลีย้ งและกลบี ดอกรูปปากเปดิ กลบี ดอกกลบี บน 4 กลบี กลบี ล่าง 1 กลบี
พบที่อินเดีย เนปาล ศรีลงั กา จีนตอนใต้ พม่า เวยี ดนาม คาบสมทุ รมลายู รังไข่มี 4 พู (ภาพ: cultivated - RP)
และภาคใตข้ องไทย ขนึ้ ตามปา่ ดบิ ชน้ื หรอื รมิ ลำ� ธาร ความสงู ถงึ ประมาณ 400 เมตร

42

สารานุกรมพืชในประเทศไทย กะอวม

กะเพราตะนาวศรี สกลุ Eclipta L. อยภู่ ายใต้เผ่า Heliantheae มี 4 ชนดิ พบในอเมริกา ในไทย
พบเปน็ วชั พชื ชนดิ เดียว ชอื่ สกุลมาจากภาษากรีก “ekleipo” ไมม่ ี อาจหมายถงึ
Teucrium scabrum Suddee & A. J. Paton แพปพสั ลดรปู เปน็ เกล็ดเหมือนไมม่ ี
วงศ์ Lamiaceae เอกสารอ้างอิง
Chen, Y. and D.J. Nicholas Hind. (2011). Asteraceae (tribe Heliantheae). In
ไม้ล้มลุก สูง 15-60 ซม. มีขนต่อมประปรายท่ัวไป ใบบางครง้ั เรียงรอบข้อ 3 ใบ
รูปรีหรอื รปู ไข่ ยาว 2-6 ซม. ก้านใบยาวไดถ้ งึ 1.5 ซม. ช่อดอกยาว 5-30 ซม. Flora of China Vol. 20-21: 869.
ดอกตดิ เปน็ กระจกุ ละ 2 ดอก เปน็ ชน้ั หา่ ง ๆ บนแกนชอ่ ใบประดบั รปู ไข่ ยาวประมาณ
1.2 ซม. ก้านดอกยาว 3-5 มม. กลีบเลย้ี งยาว 4-5 มม. เส้นกลีบ 10 เส้น กลีบบน กะเม็ง: ชอ่ กระจุกแน่นออกตามซอกใบ 1-2 ช่อ วงใบประดบั ติดทน แพปพสั ลดรูปเปน็ เกล็ด (ภาพ: กรุงเทพฯ - RP)
รูปไข่ กลีบล่าง 4 กลีบ ยาวกว่ากลีบบนเลก็ น้อย ดอกสีมว่ งอ่อน กลบี รปู ปากเปดิ
ยาว 0.8-1.2 ซม. กลบี บนขอบขนานกวา้ ง ปลายจรดกนั กลีบปากลา่ งกลีบขา้ ง กะอวม
รปู สามเหลย่ี มขนาดเล็ก กลีบกลางรปู ไขก่ ลบั ยน่ื แผ่ออก เกสรเพศผ้ยู น่ื เลยพ้น
กลีบดอก รังไขจ่ ักเป็นพูตืน้ กา้ นเกสรเพศเมยี ยาวเท่า ๆ เกสรเพศผู้ ผลแหง้ เมล็ดล่อน Acronychia pedunculata (L.) Miq.
รูปไข่ เส้นผ่านศนู ย์กลางประมาณ 1 มม. มีต่อมประปราย วงศ์ Rutaceae

พืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคเหนือท่ีตาก และภาคตะวันตกเฉียงใต้ท่ี ช่ือพ้อง Jambolifera pedunculata L.
กาญจนบุรี ขน้ึ บนเขาหนิ ปูนทเ่ี ปดิ โล่ง ความสงู 500-1000 เมตร
ไมพ้ ่มุ หรอื ไมต้ ้น สงู ไดถ้ ึง 20 ม. ใบประกอบมีใบเดียว เรียงตรงขา้ ม รูปรี รูปไข่
สกลุ Teucrium L. อยู่ภายใต้วงศ์ยอ่ ย Ajugoideae มปี ระมาณ 250 ชนิด สว่ นใหญ่ หรือแกมรปู ขอบขนาน ยาว 3.5-25 ซม. แผ่นใบมีต่อมนำ�้ มัน ก้านใบยาวไดถ้ ึง
พบในแถบเมดิเตอร์เรเนียน ในไทยมี 2 ชนดิ ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “teukrion” 5 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจกุ หรอื แยกแขนง ออกตามซอกใบ ยาวไดถ้ ึง 25 ซม.
อาจมาจาก Teukros ผู้ตงั้ เมอื ง Salamis ในไซปรัส กา้ นดอกยาว 0.2-1.2 ซม. กลบี เลย้ี ง 4 กลบี รปู สามเหลย่ี มขนาดเลก็ ดอกสขี าว
เอกสารอ้างองิ เรียงจรดกนั ในตาดอก มี 4 กลบี รปู ใบหอก ยาว 0.4-1.2 ซม. พบั งอกลับ ปลายมี
Suddee, S. and A.J. Paton. (2008). Teucrium scabrum (Lamiaceae), a new ตง่ิ แหลม เกสรเพศผู้ 8 อัน ยาวเท่า ๆ กลบี ดอก โคนกา้ นชูอับเรณแู ผ่กวา้ ง มขี น
จานฐานดอกสเี หลอื งออ่ น หนาคล้ายนวม รังไขม่ ี 4 ช่องเชื่อมติดกนั แต่ละชอ่ ง
species from Thailand. Kew Bulletin 63: 675-678. มอี อวุล 2 เม็ด รงั ไขแ่ ละกา้ นเกสรเพศเมียส่วนมากมขี น ผลผนังช้ันในแขง็ จกั ต้นื ๆ
4 พู เสน้ ผ่านศนู ยก์ ลาง 0.5-1.5 ซม. เมลด็ รูปรี ยาว 3-7 มม. มเี ยื่อหุ้ม
กะเพราตะนาวศร:ี ดอกเรยี งเป็นกระจุกละ 2 ดอก เปน็ ชน้ั หา่ ง ๆ บนแกนช่อ มีขนตอ่ มท่ัวไป กลบี บนปลายจรดกัน
กลีบกลางรปู ไขก่ ลบั ยน่ื แผ่ออก (ภาพ: ตาก - PK) พบท่ีอนิ เดีย ศรลี ังกา ภูฏาน บังกลาเทศ จีนตอนใต้ ไตห้ วัน พมา่ ภูมภิ าคอินโดจีน
และมาเลเซยี ฟลิ ปิ ปนิ ส์ นวิ กนิ ี ในไทยพบทกุ ภาค ความสงู ถงึ ประมาณ 2500 เมตร
กะเม็ง มีสรรพคุณตา้ นจลุ ชีพ ใหน้ ำ�้ มนั หอมระเหย รากแกโ้ รคปวดตามข้อ

Eclipta prostrata (L.) L. สกลุ Acronychia J. R. Forst. & G. Forst. มี 48 ชนดิ พบในเอเชีย ออสเตรเลยี
วงศ์ Asteraceae และหมู่เกาะแปซิฟกิ ในไทยพบเพยี งชนดิ เดียว ชือ่ สกลุ มาจากภาษากรกี “akros”
ยอด และ “onychos” เล็บ ตามลักษณะของกลบี ดอก
ชอ่ื พ้อง Verbesina prostrata L., Eclipta angustata Umemoto & H. Koyama, เอกสารอา้ งองิ
E. alba Hassk. Zhang, D. and T.G. Hartley. (2008). Rutaceae. In Flora of China Vol. 11: 76-77.

ไม้ลม้ ลุก ทอดนอน สงู ไดถ้ งึ 50 ซม. ลำ� ต้นส่วนมากมสี นี ำ้� ตาลแดง มขี นเอน กะอวม: ชอ่ กระจุกแยกแขนง กลีบดอกพบั งอกลับ ผลจกั ตนื้ ๆ 4 พู (ภาพซา้ ยบน: เขาเขยี ว ชยั ภูมิ - SSi; ภาพขวาบน:
ตามกงิ่ แผน่ ใบ กา้ นชอ่ ดอก และวงใบประดบั ใบเรยี งตรงขา้ ม รปู รถี งึ รปู ใบหอก มุกดาหาร - PK; ภาพซา้ ยล่าง: ภหู ินร่องกล้า พิษณุโลก - PK; ภาพขวาล่าง: เขาพระวหิ าร ศรีสะเกษ - RP)
ยาว 1-5.5 ซม. โคนสอบเรียวเปน็ กา้ นใบส้นั ๆ หรือไร้กา้ น ขอบจักฟนั เล่ือยตืน้ ๆ
เส้นออกใกลโ้ คนใบขา้ งละเสน้ ชอ่ ดอกแบบชอ่ กระจกุ แนน่ ออกตามซอกใบ 1-2 ช่อ
ก้านชอ่ สนั้ หรอื ยาวได้ถึง 4 ซม. ชอ่ เส้นผา่ นศูนย์กลาง 5-7 มม. ขยายในผลได้ถงึ
1 ซม. วงใบประดับรปู ถว้ ย ใบประดับ 8-12 อนั เรียง 2 วง วงนอกรปู ไข่ ยาว 4-6 มม.
วงในขนาดเลก็ กว่า ติดทน ฐานดอกแบน มีกาบรปู แถบ ยาวประมาณ 3 มม.
ดอกวงนอกมี 20-40 ดอก เรียง 2 วง เป็นดอกเพศเมีย สขี าว กลบี รปู แถบ ยาว
1.5-2.5 มม. ปลายจกั 2 พู ดอกวงในสมบรู ณเ์ พศ มี 15-30 ดอก หลอดกลีบดอก
ยาวประมาณ 1.5 มม. ปลายจกั 4 แฉก ยอดเกสรเพศเมียแยก 2 แฉก ผลแหง้
เมลด็ ลอ่ น มี 3-4 เหลย่ี ม รปู ขอบขนานปลายตดั ยาว 3-3.5 มม. มขี นและตมุ่ กระจาย
แพปพสั คล้ายเกล็ดขนาดเลก็ 2 อนั

มถี ิน่ ก�ำเนดิ ในอเมรกิ าเหนอื อเมริกากลาง และอเมริกาใต้ ข้นึ เปน็ วชั พืชท้งั
ในยุโรป แอฟริกา เอเชีย และออสเตรเลยี ความสูงถึงประมาณ 1000 เมตร ทง้ั ตน้
มสี รรพคุณดา้ นสมนุ ไพรหลายอย่าง

43

กะออก สารานุกรมพืชในประเทศไทย

กะออก 1.5-6 ซม. กา้ นดอกยาว 1-4 มม. ใบประดับรูปใบหอกขนาดเลก็ ใบประดับยอ่ ยมี
1 คู่ รปู เสน้ ดา้ ย ยาว 1-2 มม. กลบี เลย้ี ง 5 กลบี แฉกลกึ เกอื บจรดโคน ยาวประมาณ
Artocarpus elasticus Rienw. ex Blume 3.5 มม. ดอกรปู แตร สมี ว่ ง ยาว 1-1.3 ซม. หลอดกลบี ดอกเรยี วแคบ กลีบบนจัก
วงศ์ Moraceae 2 พู กลบี ลา่ ง 3 กลบี ปลายเว้าตนื้ ดา้ นในมขี นอยุ สขี าว เกสรเพศผอู้ ันส้นั 2 อนั
อันยาว 2 อนั ไม่ยืน่ พ้นปากหลอดกลบี ดอก รงั ไข่เกลยี้ ง กา้ นเกสรเพศเมยี เรียวยาว
ไมต้ น้ สงู ไดถ้ งึ 45 ม. โคนตน้ มพี พู อน แยกแพศรว่ มตน้ นำ�้ ยางสขี าว กง่ิ มชี อ่ งอากาศ ยอดเกสรจกั 2 พู ผลแหง้ แตก รปู รี ยาวประมาณ 3 มม.
หใู บรูปขอบขนาน ยาว 4-20 ซม. หุ้มยอด มขี นยาว ใบเรยี งเวียน ใบออ่ นขอบจกั ลกึ
3-5 พู ใบแกร่ ปู รหี รือรปู ขอบขนาน ยาว 13-60 ซม. ก้านใบยาวได้ถงึ 10 ซม. พบในภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ชอ่ ดอกเพศผแู้ บบช่อเชิงลด ออกเดี่ยว ๆ รูปทรงกระบอก ยาว 6-15 ซม. กา้ นช่อ และภาคตะวันออก ขนึ้ ตามที่โล่งทีช่ ื้นแฉะ ความสูงไม่เกิน 200 เมตร สว่ นต่าง ๆ
หนา ยาว 3.5-7.5 ซม. มขี นประปราย กลบี รวมเป็นหลอดสัน้ ๆ ปลายจักต้ืน ๆ ใหน้ ำ้� มันหอมระเหย มีสรรพคุณตา้ นอนมุ ูลอสิ ระ
2 พู เกสรเพศผู้ 1 อัน ยาวประมาณ 1 ซม. ช่อดอกเพศเมยี แบบชอ่ กระจุกแน่น
ออกเด่ยี ว ๆ ตามซอกใบ รูปรี กา้ นชอ่ หนา ยาว 4.5-12 ซม. มขี นประปราย กลบี รวม สกลุ Limnophila R. Br. เดมิ อยภู่ ายใตว้ งศ์ Scrophulariaceae มปี ระมาณ 40 ชนดิ
เป็นหลอดสัน้ ๆ มขี นรูปล่ิมแคบหรอื รปู เสน้ ดา้ ย ยาว 0.6-1.2 ซม. ยอดเกสรเพศเมยี พบในแอฟริกา เอเชีย ออสเตรเลีย และหมูเ่ กาะแปซฟิ ิก ในไทยมปี ระมาณ 20 ชนิด
แยก 2 แฉก ชอ่ ผลรปู รกี วา้ ง ยาว 6-17 ซม. ปลายกลบี รวมตดิ บนผนงั ชอ่ ดา้ นนอก สว่ นมากเป็นพชื น้�ำ ชื่อสกุลมาจากภาษากรกี “limne” ทช่ี ้ืนแฉะ และ “philos” ชอบ
มี 2 ขนาด ผนังช่อช้ันกลางนมุ่ ผลยอ่ ยรูปรี ยาว 0.8-1 ซม. หมายถึงพืชท่ชี อบขนึ้ ตามทชี่ น้ื แฉะ

พบท่ีพมา่ ภูมิภาคมาเลเซยี ฟลิ ปิ ปินส์ (ปาลาวัน) ในไทยพบทางภาคเหนือที่ เอกสารอา้ งอิง
ตาก ภาคตะวนั ออกเฉยี งใตท้ ช่ี ลบรุ ี ภาคตะวนั ตกเฉยี งใตท้ กี่ าญจนบรุ ี และภาคใต้ Yamazaki, T. (1990). Scrophulariaceae. In Flora of Thailand Vol. 5(2): 171.
ขึ้นตามปา่ ดบิ แลง้ และป่าดบิ ช้นื ความสงู ระดับตำ�่ ๆ ผลสุกและเมล็ดกินได้
กะออม: ใบเรียงตรงข้าม โคนเว้าตนื้ ๆ ดอกออกเป็นกระจุกคลา้ ยช่อซี่ร่ม หลอดกลบี มีสันเปน็ ครีบ ดอกรปู แตร
สกุล Artocarpus J. R. Forst. & G. Forst. อยูภ่ ายใต้เผา่ Artocarpeae แยก กลีบบนจัก 2 พู กลบี ลา่ ง 3 กลีบ ปลายเวา้ ตืน้ ดา้ นในมีขนอยุ สีขาว (ภาพ: ทองผาภูมิ กาญจนบุรี - SSi)
เปน็ สกุลย่อย Artocarpus และ Pseudojaca ตามการเรยี งตวั ของใบแบบเรียง
เวียนหรือเรยี งสลบั ระนาบเดยี ว หใู บขนาดใหญ่หุ้มยอดหรือหใู บขนาดเลก็ ดา้ น กนั เกรา, สกลุ
ขา้ ง และช่อผลมหี นามหรือเรียบ ตามล�ำ ดับ มีประมาณ 45 ชนิด ส่วนใหญพ่ บ
ในภมู ิภาคมาเลเซีย ในไทยมพี ชื พืน้ เมือง 12 ชนดิ เปน็ ไม้ผลตา่ งถ่ิน 2 ชนดิ คอื Fagraea Thunb.
สาเก A. altilis (Parkinson) Fosberg มถี ่นิ ก�ำ เนิดในฟิลปิ ปนิ ส์ หมู่เกาะโมลกุ กะ วงศ์ Gentianaceae
นวิ กินี และขนุน A. heterophyllus Lam. มถี น่ิ ก�ำ เนดิ ในอินเดยี ส่วนจำ�ปาดะ A.
integer (Thunb.) Merr. ทน่ี ยิ มปลกู ทางภาคใต้ พบกระจายทว่ั ไปในปา่ ดบิ ชน้ื ไมพ้ มุ่ ไมต้ น้ หรอื ไมเ้ ถา บางครง้ั องิ อาศยั ใบเรยี งตรงขา้ ม แผน่ ใบสว่ นมากหนา
ระดับต่�ำ ๆ ช่ือสกลุ มาจากภาษากรกี “artos” ขนมปงั และ “kapos” ผล หมาย เสน้ แขนงใบไมช่ ดั เจน หูใบรูปติ่งหู ดอกออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นช่อแบบช่อกระจกุ
ถึงผลของสาเกทม่ี ีแป้งนำ�ไปปรุงอาหารให้รสชาตเิ หมอื นขนมปงั กลบี เลย้ี งหนา มี 5 กลบี เรยี งซอ้ นเหล่ือม กลบี ดอกหนา เช่อื มตดิ กนั เปน็ หลอด มี
เอกสารอ้างองิ 5 กลีบ สั้นกวา่ หลอดกลบี เกสรเพศผู้ 5 อัน ติดภายในหลอดกลีบดอก รังไขม่ ี
Berg, C.C, E.J.H. Corner and F.M. Jarrett. (2006). Moraceae: genera other 2 ชอ่ ง ก้านเกสรเพศเมีย 1 อนั โคนกา้ นติดทนในผล ผลสดมหี ลายเมลด็ เมลด็
เป็นเหลยี่ ม
than Ficus. In Flora Malesiana Vol. 17(1): 88.
Berg, C.C., N. Pattharahirantricin and B. Chantarasuwan. (2011). Moraceae. สกุล Fagraea Thunb. เคยอยู่ภายใตว้ งศ์ Loganiaceae มีประมาณ 75 ชนิด
พบในเอเชีย และออสเตรเลีย ในไทยมี 6 ชนดิ ชอื่ สกุลตงั้ ตามนักพฤกษศาสตร์
In Flora of Thailand Vol. 10(4): 484-485. ชาวสวีเดน Jonas Theodorus Fragraeus (1729-1797)

กะออก: กงิ่ มีชอ่ งอากาศ หูใบหุ้มยอดจนมดิ มีขนยาว ชอ่ ดอกเพศผู้แบบชอ่ เชงิ ลด ดอกเพศเมยี ออกเป็นช่อกระจกุ แนน่ กันเกรา
ในผลปลายกลีบรวมตดิ บนผนงั ช่อดา้ นนอก มี 2 ขนาด (ภาพ: นำ�้ ตกโคคลาน ตรงั - RP)
Fagraea fragrans Roxb.
สาเก: ใบแก่แฉกลกึ (ภาพซา้ ย: cultivated - RP); จำ� ปาดะ: ก้านชอ่ ไมข่ ยายเป็นขอบ (ภาพขวา: ยะลา - RP) ไมต้ ้น สูงได้ถงึ 30 ม. เปลอื กแตกเป็นรอ่ ง หใู บยาว 1-2 มม. ใบเรียงตรงขา้ ม รูปรี

กะออม รปู ขอบขนาน แกมรปู ไขห่ รอื รปู ไขก่ ลบั ยาว 7-11 ซม. ปลายแหลมหรอื ยาวคลา้ ยหาง
เส้นแขนงใบขา้ งละ 5-9 เสน้ ช่อดอกแบบช่อกระจุก ยาว 4-12 ซม. ก้านชอ่ ยาว
Limnophila geoffrayi Bonati 2-6.5 ซม. ก้านดอกยาว 3-6 มม. กลีบเลย้ี ง 5 กลบี ยาว 2-3 มม. ปลายกลบี กลม
วงศ์ Plantaginaceae ดอกรูปแตร สีครีมเปลีย่ นเป็นสเี ขม้ ก่อนร่วง หลอดกลบี ดอกยาว 0.7-1.2 ซม.
กลบี รูปขอบขนาน ยาว 5-8 มม. พบั งอกลบั เกสรเพศผู้ 5 อนั ย่นื พ้นปากหลอด
ไมล้ ม้ ลกุ สงู ไดถ้ งึ 35 ซม. ลำ� ตน้ และกงิ่ มขี น ใบเรยี งตรงขา้ ม รปู รี รปู ไข่ หรอื กลบี ดอก กา้ นชูอบั เรณูแผ่กวา้ ง ยาว 1.5-2 ซม. ก้านเกสรเพศเมยี ยาวได้ถงึ 6 ซม.
รูปใบหอก ยาว 1-3 ซม. โคนสอบเรยี วจรดลำ� ตน้ ขอบใบจกั ฟนั เลือ่ ยหา่ ง ๆ ยอดเกสรเพศเมยี รปู โลห่ รอื จกั 2 พู ผลสดมหี ลายเมลด็ เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง 5-8 มม.
แผน่ ใบดา้ นบนสาก มจี ดุ โปรง่ แสงดา้ นลา่ ง ชอ่ ดอกแบบชอ่ กระจะ กา้ นชอ่ ยาว สุกสีเหลืองหรอื อมแดง ปลายมตี ง่ิ แหลม เมลด็ ขนาดประมาณ 1 มม. เปน็ เหล่ียม

พบท่ีอนิ เดยี พม่า ภมู ิภาคอินโดจนี และมาเลเซยี นวิ กนิ ี ในไทยพบทกุ ภาค
ขน้ึ ตามชายฝง่ั ทะเล ปา่ เบญจพรรณ ปา่ ดบิ แลง้ และปา่ ดบิ ชนื้ เปน็ ไมป้ ระดบั หรอื
ไมข้ ้างถนน ดอกมีกล่นิ หอม เปลือกและดอกใช้แก้พิษงู ใบแกไ้ ข้และโรคปวดข้อ

เอกสารอา้ งอิง
Griffin, O. and J. Parnell. (1997). Loganiaceae. In Flora of Thailand Vol. 6(3):
198-199.

44

สารานกุ รมพชื ในประเทศไทย กนั ภัยมหิดล

กนั เกรา: ช่อดอกแบบชอ่ กระจุก ดอกรูปแตร ผลสด สกุ สเี หลอื งหรืออมแดง ปลายมตี ง่ิ แหลม (ภาพดอก: ดงฟ้าหว่ น พชื ถน่ิ เดยี วของไทย พบทางภาคกลางทส่ี ระบรุ ี และภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื
อุบลราชธาน,ี ภาพผล: บงึ โขงหลง บงึ กาฬ; - RP) ท่ีนครราชสีมา ปราจีนบุรี ชยั ภมู ิ บรุ รี ัมย์ ข้นึ ตามทีโ่ ลง่ ในป่าเบญจพรรณ และป่าเตง็ รงั
ความสูงถงึ ประมาณ 300 เมตร เป็นไมป้ ระดบั และไม้มงคล ปลกู ต้นเดียวจะไมต่ ิดฝัก
กนั ภัย, สกุล เน่อื งจากไมผ่ สมในต้นเดยี วกัน

Afgekia Craib กนั ภัยมหดิ ล
วงศ์ Fabaceae
Afgekia mahidolae B. L. Burtt & Chermsir.
ไมเ้ ถามเี นอื้ ไม้ หใู บออกเปน็ คู่ รว่ งเรว็ หรอื ตดิ ทน ใบประกอบปลายค่ี เรยี งเวยี น ไมเ้ ถา ยาวไดถ้ งึ 15 ม. มขี นคลา้ ยไหมหนาแนน่ ตามลำ� ตน้ หใู บ แผน่ ใบ ใบประดบั
หใู บย่อยรปู เส้นด้าย ตดิ เป็นคู่ ใบย่อยเรยี งตรงขา้ ม ชอ่ ดอกแบบชอ่ กระจะหรือ
แยกแขนง ใบประดบั หุม้ ตาดอก ร่วงพรอ้ มดอก กลีบเลย้ี ง 5 กลบี รูปปากเปดิ ชอ่ ดอก กลีบเลย้ี งและกลบี ดอกดา้ นนอก หใู บรูปเคยี ว ยาวประมาณ 1.5 ซม.
ดอกรปู ดอกถัว่ กลบี กลางมีสันนนู คล้ายเดือย (calluses) ท่ีโคน 1 คู่ เขา้ ใจวา่ แกนกลางใบประกอบยาว 8-18 ซม. ก้านใบส้นั หรอื ยาวไยาดถ้ งึ 2.5 ซม. ใบย่อย
เป็นตวั ช้ีตอ่ มนำ้� ตอ้ ย แผน่ กลีบพบั งอกลับ กลบี ปกี และกลบี คู่ลา่ งยาวเทา่ ๆ กัน มี 4-6 คู่ รูปไขห่ รือรูปขอบขนาน ยาว 1.5-7.5 ซม. ปลายกลม มตี ิง่ แหลม กา้ นใบยอ่ ย
มกี า้ นกลบี สน้ั ๆ กลบี คลู่ า่ งเชอ่ื มตดิ กนั รปู คมุ่ เกสรเพศผยู้ าวเทา่ ๆ กลบี คลู่ า่ งหรอื ยาว 2-4 มม. ชอ่ ดอกยาว 10-15 ซม. ใบประดบั ยอ่ ยรปู ใบหอก ยาว 1.5-3 ซม.
ยาวกวา่ เลก็ นอ้ ย ก้านชอู บั เรณแู ยก 1 อันทโี่ คน เชือ่ มติดกัน 9 อนั รงั ไขม่ ขี นยาว กา้ นดอกยาว 0.7-1 ซม. กลีบเลยี้ งยาว 5-7 มม. ดอกสมี ่วงอ่อน กลบี กลางรปู รี
มกี ้าน ออวุล 2 เม็ด ก้านเกสรเพศเมียเรยี วยาว ฝักแข็งแตกยาก เปลอื กหนา มี ดา้ นในมสี เี ขม้ ยาวประมาณ 2 ซม. มสี เี หลอื งแตม้ ใกลโ้ คน กลบี ปกี รปู ขอบขนาน
1-2 เมลด็ เมล็ดมขี ั้ว มสี เี ขม้ ยาวประมาณ 1.5 ซม. กลบี คลู่ า่ งยาวเทา่ ๆ กลบี ปกี ฝกั รปู รหี รอื ขอบขนาน
ยาว 7-9 ซม. เมล็ดกลม ขนาดประมาณ 1.5 ซม.
สกุล Afgekia อยภู่ ายใต้เผ่า Milletieae มี 3 ชนิด พบในจีนตอนใต้ พม่า และ
ภมู ภิ าคอินโดจีน ชอ่ื สกลุ ตง้ั ตามนายแพทย์ชาวไอริช Arthur Franci George Kerr พบทลี่ าวและเวยี ดนาม ในไทยทางภาคตะวนั ตกเฉยี งใตท้ กี่ าญจนบรุ ี ขน้ึ ตาม
(1877-1942) ผบู้ ุกเบิกการสำ�รวจและเกบ็ ตวั อย่างพรรณไม้ในไทย และผกู้ อ่ ตงั้ ทโ่ี ล่งในปา่ เบญจพรรณท่ีเป็นหินปนู ความสงู ประมาณ 100 เมตร ค�ำระบุชนดิ
หอพรรณไม้แหง่ แรกของไทย หรอื พพิ ธิ ภณั ฑพ์ ชื สริ นิ ธร (BK) ในปจั จบุ ัน ตัง้ ตามพระนามของสมเด็จพระราชชนนีศรสี ังวาลย์ (พระยศในขณะน้นั )

กนั ภัย เอกสารอ้างองิ
Burtt, B.L. and C. Chermsirivathana. (1971). A second species of Afgekia
Afgekia filipes (Dunn) R. Geesink (Leguminosae). Notes from the Royal Botanic Garden, Edinburgh 31(1):
131-133.
ชอ่ื พ้อง Adinobotrys filipes Dunn Craib, W.G. (1927). Contributions to the Flora of Siam. Bulletin of Miscellaneous
Information Kew 1927: 376-378.
ไมเ้ ถา ยาวไดถ้ งึ 20 ม. หใู บรปู สามเหลย่ี ม ยาว 5-6 มม. แกนกลางใบประกอบ Phan Ke Loc and J.E. Vidal. (2001). Leguminosae-Papilionoideae, Millettieae.
ยาว 25-35 ซม. ใบย่อยมี 6-9 คู่ รปู ขอบขนาน ยาว 6-10 ซม. โคนกลม เบี้ยว Flore du Cambodge, du Laos et du Vietnam 30: 8-15.
ใบออ่ นมขี นส้นั น่มุ สีเงิน กา้ นใบยอ่ ยยาว 3-4 มม. ชอ่ ดอกแยกแขนงสนั้ ๆ ออก Wei, Z. and L. Pedley. (2010). Fabaceae (Afgekia). In Flora of China Vol. 10: 174.
ตามซอกใบทร่ี ว่ งหรอื ตามกง่ิ ใบประดบั รปู รี ยาวไดถ้ งึ 2 ซม. มขี นยาว กา้ นดอก
ยาว 1-2.5 ซม. กลบี เลย้ี งยาวประมาณ 5 มม. ดอกสีมว่ งออ่ น ยาว 2-2.5 ซม. กันภัย: A. filipes ชอ่ ดอกแยกแขนงสั้น ๆ ฝักเปลอื กหนา มขี นกำ� มะหยีห่ นาแน่น มเี มล็ดเดยี ว (ภาพดอก: ขุนวาง
กลบี กลางรปู รี ขอบกลบี มว้ น ปลายกลบี มตี งิ่ แหลม โคนกลบี ดา้ นในมสี เี หลอื งออ่ น เชยี งใหม่ - RP; ภาพผล: แมว่ งก์ กำ� แพงเพชร - RP; เมล็ด: แกง่ กระจาน เพชรบุรี - PK)
กลบี ปีกและกลีบคู่ลา่ งรูปขอบขนาน สีเขม้ กว่าเล็กน้อย ฝกั รปู รี ยาว 10-15 ซม.
มขี นกำ� มะหย่หี นาแน่น มเี มลด็ เดียว แบน รูปรี ยาว 7-8 ซม. กันภยั : A. sericea มขี นคล้ายไหมหนาแนน่ หูใบออกเปน็ คู่ รูปเคยี ว หใู บยอ่ ยรูปเสน้ ดา้ ย 1 คู่ ช่อดอกแบบช่อกระจะ
ใบประดบั รูปไข่ โอบก้านช่อดอก (ภาพ: cultivated - RP)
พบที่จีนตอนใต้ และพม่า ในไทยพบทางภาคเหนือท่ีเชียงใหม่ ล�ำปาง
ก�ำแพงเพชร และภาคตะวันตกเฉียงใต้ท่ีเพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ขึ้นตามชาย
ปา่ ดิบแลง้ และป่าดบิ เขา ความสงู 700-1700 เมตร แยกเป็น var. tomentosa
(Z. Wei) Y. F. Deng & H. D. Qin พบเฉพาะในจนี มีขนสน้ั นมุ่ สนี ้ำ� ตาลหนาแน่น
ตามช่อดอกและใบ แผน่ ใบหนา

กันภยั

Afgekia sericea Craib
ไมเ้ ถา ยาวไดถ้ งึ 15 ม. มขี นคลา้ ยไหมหนาแนน่ ตามลำ� ตน้ หใู บ แผน่ ใบ ชอ่ ดอก

ใบประดบั กลบี เลย้ี งและกลบี ดอกดา้ นนอก หใู บรปู เคยี ว ยาว 1.5-2 ซม. แกนกลาง
ใบประกอบยาว 15-23 ซม. กา้ นใบยาว 2-5 ซม. ใบยอ่ ย 4-8 คู่ รูปรหี รอื รูปขอบขนาน
ยาว 4-8 ซม. ปลายมน มตี ่งิ แหลม ก้านใบยาว 2-4 มม. ใบประดบั รูปไข่ โอบกา้ น
ช่อดอก ยาว 1-2.5 ซม. ช่อดอกยาวได้ถงึ 1 ม. ใบประดบั ย่อยรูปใบหอก ยาว 3-3.5 ซม.
ก้านดอกยาว 1-1.5 ซม. กลีบเลี้ยงยาว 5-7 มม. ดอกสีเขียวอ่อนอมมว่ ง กลบี ปีก
สีมว่ งเขม้ กลีบกลางรูปรี ยาว 2.5-3 ซม. กลีบปีกและกลบี คู่ล่างรปู ขอบขนาน
ยาวประมาณ 2.5 ซม. ฝกั รปู รหี รอื ขอบขนาน ยาว 7-9 ซม. เมลด็ แบน เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง
ประมาณ 1.5 ซม.

45

กัลปพฤกษ์ สารานุกรมพชื ในประเทศไทย

กันภัยมหดิ ล: ใบประกอบ ใบยอ่ ยเรียงตรงข้าม ปลายมีติ่งแหลม หูใบรปู เคียว กลีบดอกกลีบกลางดา้ นในมสี ีเขม้ มีสี กากหมากตาฤาษี, สกุล
เหลอื งแต้มใกลโ้ คน (ภาพ: cultivated - RP)
Balanophora J. R. Forst. & G. Forst.
กัลปพฤกษ์ วงศ์ Balanophoraceae

Cassia bakeriana Craib ไมล้ ม้ ลกุ กนิ ซาก เบยี นราก ไมม่ คี ลอโรฟลิ ล์ ไมม่ รี ะบบราก สว่ นหวั ตดิ กบั ราก
วงศ์ Fabaceae พชื ทใี่ หอ้ าศยั แยกเพศรว่ มตน้ หรอื ตา่ งตน้ ใบคลา้ ยเกลด็ เรยี งเวยี น เรยี งตรงขา้ ม
สลบั ตง้ั ฉาก หรอื เรยี งสลบั ระนาบเดยี ว ชอ่ ดอกออกทปี่ ลายลำ� ตน้ รปู รี รปู ไขก่ ลบั กลม
ไม้ตน้ สงู ได้ถงึ 15 ม. มีขนกิ่งตามกง่ิ อ่อน แผ่นใบ ใบประดับ กลีบเล้ียง และฝกั หรอื คล้ายรปู กระบอง ใบประดับคล้ายกาบ ชอ่ ดอกเพศผคู้ ลา้ ยชอ่ เชงิ ลดหรอื
ใบประกอบยาว 15-40 ซม. มใี บยอ่ ย 5-8 คู่ ใบยอ่ ยรปู ขอบขนานหรอื รปู ใบหอกกลบั ชอ่ กระจะ ชอ่ ดอกเพศเมยี คลา้ ยชอ่ เชงิ ลด ดอกเพศผกู้ ลบี รวมสว่ นมากมี 3-6 กลบี
ปลายกลมมตี ง่ิ แหลม โคนกลม กา้ นใบยาวประมาณ 2 มม. ชอ่ ดอกแบบชอ่ กระจะ ใบประดบั ยอ่ ยปลายตดั เกสรเพศผู้ 3-5 อนั เชอ่ื มตดิ กนั ดอกเพศเมยี จำ� นวนมาก
ยาว 5-12 ซม. ออกตามซอกใบท่ีหลดุ รว่ ง ใบประดับและใบประดบั ยอ่ ยสแี ดง ไมม่ กี ลบี รวม รงั ไข่มีช่องเดยี ว ตดิ บนแกนช่อดอก ก้านเกสรเพศเมยี 1 อนั ติดทน
อมนำ้� ตาล กลบี เลย้ี งรปู ใบหอกยาว 0.9-1.2 ซม. ดอกสขี าวอมชมพู กลบี รปู ใบหอก ผลแหง้ ไมแ่ ตก ขนาดเลก็
แกมรูปไข่ ยาว 3.5-4.5 ซม. เกสรเพศผู้อนั ยาว 3 อัน โค้งงอ ก้านชูอับเรณูยาว
3.5-5 ซม. ปอ่ งกลาง อันสัน้ 4 อนั ก้านชูอบั เรณยู าวประมาณก่งึ หน่ึงของอนั ยาว สกุล Balanophora มปี ระมาณ 15 ชนดิ ส่วนใหญ่พบในเขตรอ้ น ในไทยมี 5-6 ชนดิ
แตอ่ บั เรณยู าวกว่าประมาณ 2 เท่า 3 อนั ลดรปู ยาว 1-1.5 ซม. อบั เรณูขนาดเล็ก ช่ือสกลุ มาจากภาษากรีก “balanos” กาบรปู ถ้วย และ “phoros” เกดิ ตามลกั ษณะ
รงั ไขย่ าวประมาณ 4 ซม. ก้านยาว 1-1.5 ซม. ฝักยาว 30-40 ซม. มี 30-40 เมลด็ ชอ่ ผลที่มีใบประดบั คลา้ ยกาบรปู ถว้ ย
(ดขู อ้ มูลเพ่ิมเตมิ ท่ี ราชพฤกษ,์ สกลุ )
กากหมากตาฤาษี
พบทพี่ มา่ ในไทยพบกระจายห่าง ๆ ยกเว้นภาคตะวันออกเฉยี งใต้ และภาคใต้
ขนึ้ ตามป่าเบญจพรรณ และปา่ ดิบแล้ง ความสูง 300-1000 เมตร เป็นไม้ประดับ Balanophora fungosa J. R. Forst. & G. Forst.
ดอกมขี นาดใหญท่ ส่ี ุดในสกลุ Cassia ของไทย ไม้ล้มลุกกินซาก แยกเพศต่างต้น หัวใต้ดินออกเดี่ยว ๆ หรือแยกแขนง

เอกสารอา้ งองิ จ�ำนวนมาก กลม ๆ ผวิ มีตุ่มรปู ดาวกระจาย ใบเรียงเวียน เรยี งซ้อนเหล่อื ม 10-20 ใบ
Larsen, K., S.S. Larsen and J.E. Vidal. (1972). Leguminosae-Caesalpinioideae. ชอ่ ดอกเพศผ้รู ูปรีกวา้ ง ยาวไดถ้ ึง 12 ซม. ใบประดบั คลา้ ยกาบรูปรีกว้าง ปลายตดั
In Flora of Thailand Vol. 4(1): 105. ยาวประมาณ 5 มม. ก้านดอกย่อยยาว 0.7-1 ซม. กลบี รวมมี 4-5 กลีบ รปู รีแกม
รูปใบหอก ยาว 3-7 มม. เกสรเพศผู้ 4-5 อนั คล้ายรูปเกือกม้า ชอ่ ดอกเพศเมีย
รปู รีหรือรูปไข่กลับ มกั มขี นาดเล็กกวา่ ชอ่ ดอกเพศผู้ ยาวไดถ้ งึ 6 ซม.

พบทอ่ี นิ เดยี ไหห่ นาน ไตห้ วนั ญป่ี นุ่ ภมู ภิ าคอนิ โดจนี และมาเลเซยี ฟลิ ปิ ปนิ ส์
นวิ กนิ ี ออสเตรเลยี และหมเู่ กาะแปซฟิ กิ ความสงู ถงึ ประมาณ 2000 เมตร มคี วาม
ผนั แปรสงู บางครงั้ แยกเปน็ 2 ชนดิ ยอ่ ยตามลกั ษณะหวั ใตด้ นิ และชอ่ ดอก ยางเหนยี ว
จากหวั ใตด้ ินใชท้ ำ� กบั ดักนก ใช้เป็นคบไฟ

เอกสารอา้ งอิง
Hansen, B. (1972). Balanophoraceae. In Flora of Thailand Vol. 2(2): 177-181.
Perry, L.M. (1980). Medicinal plants of East and Southeast Asia. Massachusetts
Institute of Technology.

กลั ปพฤกษ์: ช่อดอกแบบช่อกระจะ ออกตามกง่ิ ขา้ ง ๆ กลีบดอกมกี า้ น เกสรเพศผู้ 3 อนั โคง้ งอ ป่องกลาง อนั สนั้ กากหมาก: ชอ่ ดอกเพศผู้คล้ายชอ่ เชิงลด ใบประดบั รปู ไขก่ วา้ ง (ภาพซา้ ย ช่อดอกเพศผ:ู้ เชียงใหม,่ ภาพขวา
4 อัน แตอ่ บั เรณูยาวกว่าอนั ยาว (ภาพ: cultivated - SSi) ชอ่ ดอกเพศเมยี : นำ้� หนาว เพชรบูรณ;์ - SSi)

กากหมาก กากหมากตาฤๅษี: ช่อดอกเพศผมู้ ี 3 ดอก ขนาดใหญก่ วา่ ชอ่ ดอกเพศเมยี ใบประดับคลา้ ยกาบ (ภาพ: ดอยอ่างขาง
เชยี งใหม่ - HB)
Balanophora latisepala (Tiegh.) Lecomte

ชอ่ื พ้อง Balaniella latisepala Tiegh.

ไมล้ ม้ ลกุ กินซาก แยกเพศต่างต้น สงู 10-25 ซม. เหงา้ แตกแขนง ผิวมีตุ่ม
รปู ดาวท่วั ไป ใบเรยี งสลับระนาบเดยี วห่าง ๆ 3-6 ใบ ชอ่ ดอกเพศผ้เู รยี วแคบ
ยาว 5-9 ซม. เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง 1.5-2.5 ซม. ใบประดบั รปู ไขก่ วา้ ง กวา้ งประมาณ
5 มม. บางครงั้ คล้ายแยก 2 แฉก ก้านดอกยาว 1.5-6 มม. กลบี รวมสว่ นมากมี
4-5 กลบี รปู ไข่ ขนาดไม่เท่ากัน เรยี ง 2 แถว พบั งอกลบั กลบี ข้างยาว 3-3.5 มม.
กลีบกลางกว้างยาว 3-4 มม. อับเรณยู าวประมาณ 5 มม. ชอ่ ดอกเพศเมียคล้าย
รปู ทรงกระบอก ยาว 1-7 ซม. เสน้ ผ่านศนู ย์กลาง 0.5-2 ซม.

พบท่พี ม่า ภมู ิภาคอินโดจนี คาบสมทุ รมลายู สมุ าตรา และบอร์เนียว ในไทย
พบทกุ ภาค ขน้ึ เบยี นรากพชื อนื่ ตามถน่ิ ทอี่ ยหู่ ลากหลายรวมทงั้ เขาหนิ ปนู ความสงู
ถึงประมาณ 1600 เมตร

46

สารานกุ รมพืชในประเทศไทย กาซะลองค�ำ

กา้ งปลาขาว กา้ งปลาดนิ : ไมพ้ ุ่มเต้ียเกาะเลื้อยบนพน้ื ดิน แผน่ ใบดา่ ง กงิ่ มขี น ดอกเพศเมยี ออกเดย่ี ว ๆ กลบี เล้ยี งคลา้ ยสีเ่ หล่ยี ม
ขา้ วหลามตัดมน ๆ ปลายเกสรเพศเมยี โคง้ กลบั (ภาพ: ป่าละอู ประจวบคีรีขนั ธ์ - RP)
Flueggea virosa (Roxb. ex Willd.) Voigt
วงศ์ Euphorbiaceae กาซะลองค�ำ , สกลุ

ช่ือพ้อง Phyllanthus virosa Roxb. ex Willd. Radermachera Zoll. & Moritzi
วงศ์ Bignoniaceae
ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 4 ม. แยกเพศตา่ งต้น กิง่ ด้านลา่ งมกั เปน็ หนาม หูใบขนาดเลก็
ติดทน ใบเรยี งสลับระนาบเดียว รปู รหี รือรูปไข่กลับ มนี วลด้านลา่ ง ช่อดอกแบบ ไมต้ น้ ใบประกอบ 1-3 ชนั้ เรยี งตรงขา้ มสลบั ฉาก ชอ่ ดอกแบบชอ่ แยกแขนง
ชอ่ กระจกุ ออกตามซอกใบ ไมม่ กี ลบี ดอก ดอกเพศผจู้ ำ� นวนมาก เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง หรอื ลดรปู ดคู ลา้ ยออกเปน็ กระจกุ ออกทปี่ ลายกงิ่ หรอื ตามกง่ิ กลบี เลย้ี งรปู หลอด
ประมาณ 1.5 มม. กลีบเลย้ี ง 5 กลบี เรียงซอ้ นเหลือ่ ม รปู ไข่ สเี ขยี วออ่ น กา้ นดอก หรือระฆงั คลา้ ยกาบ แฉกลกึ ไม่เทา่ กัน หรอื ขอบตัด ดอกรปู ดอกเข็ม รปู กรวย
ยาว 2-6 มม. เกสรเพศผู้ 5 อนั กา้ นชูอับเรณยู าวประมาณ 2 มม. จานฐานดอก หรือรปู ระฆัง ปลายแยก 5 แฉก คลา้ ยรปู ปากเปดิ เกสรเพศผู้ 2 คู่ ยาวไมเ่ ทา่ กัน
เปน็ ตอ่ มสเี หลอื ง 5 ตอ่ ม มเี กสรเพศเมยี ทเ่ี ปน็ หมนั ดอกเพศเมยี ออกเปน็ กระจกุ และอาจมที เ่ี ปน็ หมนั 1 อนั จานฐานดอกเปน็ วง รงั ไขม่ ี 2 ชอ่ ง ออวลุ จำ� นวนมาก
มีได้ถึง 10 ดอก คล้ายดอกเพศผู้ ใหญก่ ว่าเล็กนอ้ ย ก้านดอกยาวได้ถึง 1.2 ซม. เรยี ง 2 แถวในแตล่ ะชอ่ ง กา้ นเกสรเพศเมยี ไมย่ น่ื พน้ ปากหลอดกลบี ดอก ยอดเกสร
จานฐานดอกบางเปน็ วง รงั ไข่ 3 ชอ่ ง แตล่ ะชอ่ งมอี อวลุ 2 เม็ด กา้ นเกสรเพศเมยี สน้ั รูปล้ิน แยกเปน็ 2 แฉก ผลแห้งแตกกลางพู รปู แถบ มสี ันเปน็ เหล่ยี ม 2 สัน ผนงั กน้ั หนา
ยอดเกสร 3 อนั ยาวประมาณ 1 มม. ปลายแยกเปน็ แฉก ผลคลา้ ยผลผนังชนั้ ในแขง็ เมลด็ แบน มีปกี ใสท่ปี ลายท้งั สองดา้ น
เส้นผ่านศนู ย์กลาง 3-5 มม. ผลแก่สีขาว เมล็ดรปู สามเหลีย่ ม
สกลุ Radermachera มีประมาณ 15 ชนิด พบในเอเชยี เขตร้อน โดยเฉพาะ
พบทแี่ อฟรกิ า เอเชยี เขตรอ้ น และออสเตรเลยี ในไทยพบทกุ ภาค ขน้ึ ตามทโี่ ลง่ เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ ในไทยมี 6 ชนดิ ชอื่ สกลุ ตงั้ ตามนกั พฤกษศาสตรช์ าว
ชายป่า ขา้ งถนน ความสงู ถงึ ประมาณ 700 เมตร ทงั้ ต้นมีสรรพคุณแก้โรคผวิ หนัง ดตั ช์ Jacobus C. M. Radermacher (1741-1783)
อักเสบ แก้ไข้ และโรคปวดขอ้
กาซะลองคำ�
สกุล Flueggea Willd. มี 14 ชนิด พบในเขตรอ้ นและก่ึงเขตรอ้ น ในไทยมชี นิดเดยี ว
ชอ่ื สกลุ ตง้ั ตามนกั พฤกษศาสตร์ชาวเยอรมัน Johannes Flüggé (1775-1816) Radermachera ignea (Kurz) Steenis
เอกสารอ้างองิ
Barker, C. and P.C. van Welzen. (2005). Euphorbiaceae (Flueggea). In Flora of ช่อื พอ้ ง Mayodendron igneum (Kurz) Kurz, Spathodea igneum Kurz

Thailand Vol. 8(1): 299-303. ไมต้ น้ สงู 10-15 ม. ใบประกอบ 2-3 ชั้น ยาว 18-60 ซม. ใบประกอบย่อยมี
3-4 คู่ ใบยอ่ ย 3-5 คู่ รปู ไข่แกมรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 5-12 ซม. เบี้ยว
กา้ งปลาขาว: ดอกเพศเมยี ออกเปน็ กระจุก ก้านเกสรเพศเมยี ส้ัน ยอดเกสร 3 อัน ปลายแยกเปน็ แฉก ผลแก่สขี าว มกั มีตอ่ มทโ่ี คนดา้ นหลงั ใบ ชอ่ ดอกแบบชอ่ กระจุกส้นั ๆ ออกตามล�ำต้นและกิง่
(ภาพผลแก่: ยา่ นตาขาว ตรัง - RP; ภาพผลออ่ นและดอกเพศเมยี : แม่สอด ตาก - PK) มี 5-13 ดอก ดอกสีส้ม กา้ นดอกยาว 0.5-1 ซม. กลีบเล้ยี งติดกนั ประมาณกึง่
หนึง่ คลา้ ยกาบ หลอดกลีบยาว 1.5-2 ซม. ดอกรปู กรวย ยาว 4.5-7 ซม. ปลายแยก
ก้างปลาดนิ เปน็ แฉกรปู กลม ยาวประมาณ 5 มม. เกสรเพศผมู้ ขี น กา้ นชอู บั เรณยู าวประมาณ
4.5 ซม. แกนอับเรณูปลายเปน็ ติง่ แหลม ฝกั ยาว 30-45 ซม.
Breynia repens Welzen & Pruesapan
วงศ์ Phyllanthaceae พบทจ่ี นี ตอนใต้ ไต้หวัน พมา่ ลาว และเวยี ดนาม ในไทยพบกระจายทุกภาค
ข้นึ ตามปา่ ดิบแล้ง และเขาหนิ ปูน ความสูงถึงประมาณ 1000 เมตร
ไมพ้ มุ่ เตย้ี เกาะเลอ้ื ยบนพน้ื ดนิ รากออกตามขอ้ กง่ิ มขี นยาว หใู บยาว 2-3 มม.
ตดิ ทน มขี นดา้ นนอก ใบชว่ งโคนรปู คลา้ ยสเี่ หลยี่ มขา้ วหลามตดั ยาว 0.6-1 ซม. เอกสารอ้างองิ
กวา้ ง 0.7-1.5 ซม. ปลายกลม โคนตดั ใบอน่ื ๆ รปู รี ยาว 2.4-5.3 ซม. ปลายแหลม Santisuk, T. (1987). Bignoniaceae. In Flora of Thailand Vol. 5(1): 41.
โคนรปู ลม่ิ แผ่นใบดา่ งรปู ก้างปลา ด้านล่างมขี น เส้นแขนงใบขา้ งละ 4-8 เสน้ Zhang, Z.Y. and T. Santisuk. (1998). Bignoniaceae (Mayodendron). In Flora of
เรยี งจรดกนั กา้ นใบยาว 0.7-2 มม. ดอกเพศผอู้ อกเด่ียว ๆ หรอื เป็นคตู่ ามซอกใบ China Vol. 18: 218.
ดอกเพศเมยี ออกเดยี่ ว ๆ กา้ นดอกยาวประมาณ 4 มม. กลบี เลย้ี งคลา้ ยสเ่ี หลยี่ ม
ขา้ วหลามตดั มน ๆ มขี นดา้ นนอก 3 กลบี นอกกวา้ งประมาณ 1.8 มม. ยาวประมาณ กาซะลองค�ำ: ใบประกอบ 2-3 ชน้ั ชอ่ ดอกแบบชอ่ กระจกุ สน้ั ๆ ตามลำ� ตน้ และกง่ิ กลบี ดอกรปู กรวย กลบี เลย้ี ง
1.4 มม. 3 กลีบในขนาดใหญก่ ว่าเลก็ น้อย ปลายเกสรเพศเมียโค้งกลบั (ดขู อ้ มูล คล้ายกาบ (ภาพ: แมแ่ ตง เชยี งใหม่ - SSi)
เพมิ่ เตมิ ท่ี ครามน�ำ้ , สกลุ )

พชื ถน่ิ เดยี วของไทย พบทางภาคตะวนั ตกเฉยี งใตท้ ปี่ า่ ละอู จงั หวดั ประจวบครี ขี นั ธ์
ขนึ้ ใตร้ ม่ เงาในป่าดิบแล้ง ความสูงประมาณ 400 เมตร

เอกสารอ้างอิง
van Welzen, P.C. and K. Pruesapan. (2011). Four new species of Breynia
(Phyllanthaceae/Euphorbiaceae sensu lato) and one new combination from
Thailand and Malaysia. Thai Forest Bulletin (Botany) 38: 117-119.

47

กาญจนกิ า สารานุกรมพืชในประเทศไทย

กาญจนิกา กาตดิ ขาว

Santisukia pagetii (Craib) Brummitt Erycibe albida Prain
วงศ์ Bignoniaceae ไมพ้ มุ่ หรอื ไมต้ น้ สงู 3-10 ม. กงิ่ มรี วิ้ และขนแขง็ เอน ใบรปู ขอบขนานหรอื รปู ใบหอก

ชื่อพ้อง Radermachera pagetii Craib, Barnettia pagetii (Craib) Santisuk ยาว 14-30 ซม. ปลายแหลมยาว มีต่ิงส้ัน ๆ ก้านใบยาว 0.5-2 ซม. ช่อดอกแบบ
ชอ่ กระจกุ ตามซอกใบ มไี ดถ้ งึ 10 ดอก กา้ นดอกสน้ั เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง 1.5-2 ซม.
ไมต้ ้น สงู ไดถ้ งึ 20 ม. ใบประกอบยาว 17-35 ซม. ใบย่อยมี 5-10 คู่ รปู ไข่ กลบี เลย้ี งเกอื บเกลย้ี ง ขอบมขี นครยุ กลบี คนู่ อกรปู กลม 3 กลบี ดา้ นในรปู ไข่ ยาว
รปู ขอบขนานหรอื รปู ใบหอก ยาว 5-7 ซม. ปลายแหลมยาว โคนเบย้ี ว กา้ นใบยอ่ ยยาว 2.2-3.5 มม. ดอกสขี าว หลอดกลบี ดอกยาว 2-5 มม. มแี ถบขนสนี ำ�้ ตาลดา้ นนอก
1-5 มม. ชอ่ ดอกยาว 20-35 ซม. มีขนและตอ่ มประปราย หลอดกลีบเลีย้ งยาว ปลายกลีบแยก 2 พู กลบี ยาวกว่าพู อบั เรณูยาวประมาณ 1.5 มม. ปลายยน่ื พน้
1.5-2 ซม. มีตอ่ มหนาแนน่ ดอกรปู แตร สีขาว ยาว 4.5-5.5 ซม. หลอดกลบี ดอก หลอดกลบี ดอกเลก็ นอ้ ย รงั ไขร่ ปู ทรงกระบอก ยาวประมาณ 2 มม. ยอดเกสรเพศเมยี
ตรง ฝักรูปขอบขนาน ยาว 10-16 ซม. มตี อ่ มหนาแนน่ ผนังกั้นกว้าง 2.5-3 ซม. มรี ้วิ 5 อนั ผลรปู รี ยาวประมาณ 1.5 ซม. ผิวมตี ุม่ กระจาย
เมลด็ ยาวประมาณ 2.5 ซม. รวมปกี (ดขู อ้ มูลเพม่ิ เติมท่ี แคสนั ตสิ ขุ , สกุล)
พบที่คาบสมทุ รมลายู สุมาตรา และภาคใตข้ องไทย ขนึ้ ตามปา่ ดบิ ช้ืน ความสูง
พชื ถ่นิ เดยี วของไทย พบทางภาคเหนอื ตอนล่าง และภาคตะวันตกเฉียงใต้ท่ี ถงึ ประมาณ 1100 เมตร
อทุ ยั ธานี กาญจนบรุ ี ราชบรุ ี เพชรบรุ ี และประจวบครี ขี นั ธ์ ขน้ึ บนเขาหนิ ปนู ทแ่ี หง้ แลง้
หรอื ใกลช้ ายทะเล ความสูงถงึ ประมาณ 200 เมตร เอกสารอ้างอิง
Staples, G. (2010). Convolvulaceae. In Flora of Thailand Vol. 10(3): 387-395.
เอกสารอ้างองิ
Santisuk, T. (1987). Bignoniaceae (Barnettia pagetii). In Flora of Thailand Vol.
5(1): 57-60.

กาญจนิกา: ช่อดอกแบบช่อกระจกุ แยกแขนง ออกตามปลายกง่ิ ดอกรูปแตร หลอดกลบี ดอกตรง ฝักรูปขอบขนาน กาตดิ : ไม้พุม่ รอเล้อื ย ช่อดอกแบบชอ่ กระจุก ดอกหนาแนน่ ดอกสีเหลอื งครีม ปลายกลีบดอกจกั เปน็ พตู ืน้ กลบี เลีย้ ง
มตี อ่ มหนาแน่น (ภาพ: เขาหลวง กำ� แพงเพชร - RP) ติดทน ผลแกส่ อี มสม้ (ภาพลกั ษณะวิสยั และดอก: แก่งกระจาน เพชรบรุ ี - PK; ภาพผล: ระนอง - RP)

กาติด, สกุล กาติดขาว: ช่อดอกแบบช่อกระจุกตามซอกใบ ดอกสีขาว กลีบดอกดา้ นนอกมีแถบขนสีนำ้� ตาล ปลายกลีบแยก 2 พู
(ภาพ: เขาสก สุราษฎรธ์ านี - PK)
Erycibe Roxb.
วงศ์ Convolvulaceae กาบกลว้ ย

ไมเ้ ถาเนอ้ื แขง็ ไมพ้ ุ่มรอเล้ือย หรอื ไม้ตน้ ขนาดเลก็ ใบเรียงเวยี น ช่อดอกออก Pisonia umbellifera (J. R. Forst. & G. Forst.) Seem.
เปน็ กลมุ่ แนน่ แบบชอ่ กระจะ หรอื ชอ่ แยกแขนง ใบประดบั รว่ งเรว็ กลบี เลย้ี ง 5 กลบี วงศ์ Nyctaginaceae
ยาวเทา่ ๆ กัน แยกจรดโคน ตดิ ทน ดอกรูปกงลอ้ มีกลิ่นหอม มี 5 กลีบ แฉกลกึ
กลบี แยก 2 พู ด้านนอกมแี ถบขน เกสรเพศผู้ 5 อัน อยภู่ ายในหลอดกลีบดอก ชือ่ พ้อง Pisonia excelsa Blume, Ceodes umbellifera J. R. Forst. & G. Forst.
โคนอบั เรณรู ปู หัวใจ เรณไู ม่มีหนาม รงั ไข่ 1 หรอื 2 ช่อง แตล่ ะช่องมอี อวลุ 4 เมด็
ไรก้ า้ นเกสรเพศเมีย ยอดเกสรมรี วิ้ 5 หรอื 10 อนั หรือบดิ เป็นเกลยี ว ผลสด ไม้ต้น สงู ได้ถึง 25 ม. ใบเรยี งเวยี นหรือเกอื บตรงขา้ ม รปู รีถงึ รูปใบหอก หรือ
ผนังหนา สว่ นมากมเี มล็ดเดียว แกมรปู ไข่ ยาว 10-30 ซม. กา้ นใบยาว 1-2.5 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจกุ คลา้ ย
ชอ่ ซรี่ ม่ แยกแขนง ออกตามปลายกงิ่ ยาว 4-12 ซม. ดอกสมบรู ณเ์ พศและแยกเพศ
สกลุ Erycibe มีประมาณ 75 ชนดิ สว่ นมากพบในเอเชียเขตรอ้ น ในไทยมี รว่ มตน้ กา้ นดอกยาว 1-6 มม. ใบประดบั ยอ่ ย 1-3 ใบ ดอกเพศผกู้ ลบี รวมเวา้ เหนอื
ประมาณ 10 ชนิด ชอื่ สกุลมาจากภาษากรกี “erusibe” เช้ือราเปน็ วง หมายถึง รังไข่ รูประฆัง ด้านนอกมีขนสีนำ้� ตาลประปราย ปลายแยก 5 กลบี สัน้ ๆ เกสรเพศผู้
เปน็ วงขาวตามลักษณะดอกหรอื ส่งิ ปกคลุมเป็นวง ๆ 7-10 อนั กา้ นชอู บั เรณยู าวไมเ่ ทา่ กนั โคนเชอ่ื มตดิ กนั เปน็ วง ดอกเพศเมยี รปู ทรงกระบอก
ยาวเทา่ ๆ ดอกเพศผู้ กลบี ตดิ ทนหมุ้ รงั ไขค่ ลา้ ยรงั ไขใ่ ตว้ งกลบี ยอดเกสรเพศเมยี
กาติด จกั ชายครยุ ยนื่ เลยพน้ ปากหลอดกลบี ดอกเลก็ นอ้ ย ผลเปน็ แทง่ เรยี ว ยาว 2.5-4 ซม.
มี 5 สัน มเี มือกเหนยี ว กา้ นยาว 1-1.5 ซม. มเี มล็ดเดียว รปู ขอบขนาน มรี อ่ งตื้น
Erycibe citriniflora Griff.
ไมเ้ ถาเนอื้ แขง็ หรอื ไมพ้ มุ่ รอเลอื้ ย สงู 5-8 ม. กง่ิ ออ่ นมขี นรปู ดาว ใบรปู ขอบขนาน พบทฮ่ี าวาย มาดากสั การ์ ไหห่ นาน ไตห้ วนั หมเู่ กาะอนั ดามนั เวยี ดนาม ภมู ภิ าค
มาเลเซยี ฟิลิปปนิ ส์ และออสเตรเลีย ในไทยสว่ นมากพบทางภาคตะวันตกเฉียงใต้
หรอื รปู ใบหอกแกมรปู ไข่กลบั ยาว 8-30 ซม. ปลายแหลมยาว แผ่นใบบาง กา้ นใบ และภาคใต้ ข้ึนตามปา่ ดบิ ชืน้ หรอื เขาหนิ ปูน ความสงู ถึงประมาณ 400 เมตร
ยาว 0.7-1.5 ซม. ชอ่ ดอกแบบช่อกระจุก ออกตามซอกใบ มไี ดถ้ งึ 20 ดอก ก้านดอก สารสกัดจากใบแก้พิษจากปลาทะเล
ยาว 1.5-3 มม. กลบี เลยี้ งมขี นกระจกุ รปู ดาวสนี ำ�้ ตาลแดงดา้ นนอก กลบี คนู่ อกกลม
กลีบใน 3 กลบี รปู ไข่กวา้ ง ยาว 2.5-3.5 มม. ดอกสเี หลอื งครมี หลอดกลบี ดอก
ยาว 2.5-4 มม. มีแถบขนสีน�้ำตาลแดงดา้ นนอก กลบี ยาว 0.7-1 ซม. ปลายจัก
เปน็ พตู นื้ อบั เรณยู าว 1.7-2 มม. ปลายยนื่ พน้ หลอดกลบี ดอก รงั ไขร่ ปู ทรงกระบอก
ยาว 1-1.5 มม. ยอดเกสรเพศเมียมรี วิ้ 10 อนั ผลรูปรี ยาวประมาณ 2 ซม. ผลแก่
สแี ดงอมสม้

พบทพี่ มา่ และคาบสมทุ รมลายู ในไทยพบทางภาคตะวนั ตกเฉยี งใตท้ อ่ี ทุ ยั ธานี
ภาคตะวนั ออกเฉียงใต้ และภาคใต้ ขนึ้ ตามปา่ ดิบแลง้ และปา่ ดบิ ชนื้ ความสงู ถงึ
ประมาณ 500 เมตร

48

สารานกุ รมพชื ในประเทศไทย กาฝากมะมว่ ง

สกุล Pisonia L. มปี ระมาณ 40 ชนิด ส่วนใหญ่พบในอเมริกาเขตร้อน ในไทยเปน็ กาฝากชมพู
พชื พน้ื เมือง 2 ชนดิ อกี ชนิดคอื คัดเค้าหมู P. aculeta L. เป็นไม้พมุ่ หรอื ไมเ้ ถามหี นาม
ผลส้ันกว่า พบทุกภาค และเป็นไม้ประดับ 1 ชนิด คือ แสงจันทร์ P. grandis R. Br. Dendrophthoe incarnata (Jack) Miq.
ชอื่ สกลุ ต้งั ตามนกั พฤกษศาสตรช์ าวดตั ซ์ Willem Piso (1611-1678)
เอกสารอ้างองิ ชอื่ พอ้ ง Loranthus incarnatus Jack
Larsen, K. (1991). Nyctaginaceae. In Flora of Thailand Vol. 5(3): 366-374.
Lu, D. and M.G. Gilbert. (2003). Nyctaginaceae. In Flora of China Vol. 5: 430-431. กาฝากพมุ่ มขี นกระจกุ รปู ดาวสนั้ นมุ่ ตามกงิ่ ออ่ น ชอ่ ดอก ดอก กา้ นชอู บั เรณู
และรงั ไข่ ใบเรยี งหา่ ง ๆ รปู ไขห่ รอื แกมรปู ขอบขนาน ยาว 10-30 ซม. ปลายแหลม
กาบกล้วย: ชอ่ ดอกแบบช่อกระจกุ คลา้ ยชอ่ ซีร่ ่ม แยกแขนง ออกตามปลายก่งิ ผลเป็นแท่งเรยี ว มี 5 สนั (ภาพซา้ ย หรอื มน โคนรูปล่มิ หรอื เว้าตน้ื เสน้ ใบชัดเจน กา้ นใบยาว 0.7-3 ซม. ช่อดอกแบบ
บนและภาพขวา: ธารโต ยะลา - RP); คดั เค้าหม:ู มหี นาม ผลสนั้ กว่า (ภาพซ้ายล่าง: ไทยประจนั ราชบุรี - SSi) ช่อกระจะ ดอกเรยี งแน่น แกนชอ่ ยาว 5-8.5 ซม. กา้ นดอกส้ัน ดอกสีชมพูหรือ
อมแดง ปลายสเี ขยี ว ดอกตมู เรยี วแคบ หลอดกลบี ดอกยาว 4-8.5 ซม. กลบี ดอก
กาฝากขน 5 กลบี ยาว 3-8 มม. พับงอกลับ ก้านชูอบั เรณทู ่ไี ม่แนบติดหลอดกลีบดอก ยาวเท่า ๆ
หรือสนั้ กว่าอับเรณู อับเรณยู าว 3-7 มม. ผลรปู ไข่ มีขนส้นั นุ่มหนาแน่น
Scurrula ferruginea (Jack) Danser
วงศ์ Loranthaceae พบที่คาบสมุทรมลายูและสุมาตรา ในไทยพบทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวนั ตกเฉยี งใต้ และภาคใต้ เบยี นตน้ ไมห้ ลายชนดิ ในปา่ ดบิ แลง้ และปา่ ดบิ ชน้ื
ช่อื พ้อง Loranthus ferrugineus Jack ส่วนมากพบท่ีความสูงไม่เกนิ 200 เมตร

กาฝากพมุ่ มขี นกระจกุ รปู ดาวและขนแยกแขนงหนาแนน่ ตามกง่ิ ออ่ น ชอ่ ดอก กาฝากมะมว่ ง, สกลุ
และดอก ใบเรียงตรงข้าม รปู รหี รอื รูปไขก่ ลบั ยาว 3-10 ซม. ปลายมนหรือกลม
โคนรูปลิ่มหรือเวา้ ตืน้ ชอ่ ดอกแบบชอ่ กระจะออกตามข้อส้ัน ๆ คล้ายช่อซรี่ ม่ มี Dendrophthoe Mart.
2-5 ดอก ก้านดอกยาว 0.5-4 มม. ใบประดบั เรียวแคบ ยาว 1-3 มม. กลีบเลี้ยง วงศ์ Loranthaceae
เปน็ แผ่นบาง ๆ ติดเหนอื รงั ไขค่ ลา้ ยเปน็ หลอดรูปลูกขา่ ง หลอดกลีบดอกยาว
0.5-1.5 ซม. กลบี แฉกลกึ ดา้ นเดยี วมากกวา่ หรอื ประมาณกงึ่ หนง่ึ ปลายแยก 4 กลบี กาฝากพมุ่ มีปุ่มปม ใบเรียงเวยี นหรือเรยี งตรงขา้ ม แผน่ ใบหนา ช่อดอกแบบ
รปู ขอบขนาน ยาว 4-5 มม. ด้านในเกลย้ี ง เกสรเพศผู้ 4 อนั ตดิ ตรงข้ามเหนือ ชอ่ กระจะไมแ่ ยกแขนง หรอื ชอ่ เชงิ ลด ออกตามซอกใบหรอื ตามขอ้ ใบประดบั ยอ่ ย
กลบี ดอก กา้ นชอู บั เรณเู ชอ่ื มตดิ หลอดกลบี ดอก ชว่ งทแี่ ยกยาวเทา่ ๆ อบั เรณู อบั เรณู มใี บเดยี ว กลีบเลี้ยงเป็นแผน่ บาง ๆ ตดิ เหนอื รังไขค่ ลา้ ยหลอดกลบี เล้ยี ง รูปไข่
ยาวประมาณ 1 มม. รงั ไขใ่ ตว้ งกลบี ยอดเกสรเปน็ ตมุ่ ผลสดมเี มลด็ เดยี ว รปู คลา้ ย หรือรูปคนโท ตดิ ทน กลีบดอก 4 หรือ 5 กลีบ เช่ือมติดกนั เกินก่งึ หนง่ึ เกสรเพศผู้
กระบอง ปลายกลม ยาว 0.8-1 ซม. รวมกา้ นยาว 4-6 มม. มี 4 หรอื 5 อัน ตดิ ตรงข้ามเหนอื กลีบดอก ก้านชอู ับเรณูเชอื่ มตดิ หลอดกลีบดอก
รงั ไขใ่ ต้วงกลีบ ก้านเกสรเพศเมยี 1 อนั มี 5 เหลี่ยม ยอดเกสรเปน็ ตุม่ ผลสดมี
พบทอ่ี นิ เดีย จีนตอนใต้ ลาว เวยี ดนาม ภมู ิภาคมาเลเซยี ฟิลปิ ปินส์ (ปาละวนั ) เมล็ดเดยี ว ไร้ก้าน
ในไทยพบทกุ ภาค ขน้ึ ตามปา่ ดบิ แลง้ และปา่ ดบิ ชน้ื ความสงู ถงึ ประมาณ 1000 เมตร
สกลุ Dendrophthoe มปี ระมาณ 40 ชนดิ พบในแอฟรกิ า เอเชีย และออสเตรเลีย
สกลุ Scurrula L. คล้ายกับสกุล Taxillus แต่ผลส่วนมากรปู ไข่ โคนไมเ่ รียวแคบ ในไทยมี 6 ชนดิ ชอื่ สกลุ มาจากภาษากรกี “dendron” ตน้ ไม้ และ “phthio”
และไมม่ กี ้าน มี 20-40 ชนดิ ในไทยมี 7 ชนดิ ชอ่ื สกุลเปน็ ภาษาละติน หมายถงึ ทำ�ลาย หมายถงึ เปน็ กาฝากทม่ี กั ท�ำ ลายพชื ทใ่ี ห้อาศัย
ตวั ตลกจิว๋ ตามลกั ษณะของผล
เอกสารอ้างอิง กาฝากมะม่วง
Barlow, B.A. (2002). Loranthaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(4): 695-702.
Qiu, H. and M.G. Gilbert. (2003). Loranthaceae. In Flora of China Vol. 5: 227, 231. Dendrophthoe pentandra (L.) Miq.

ชือ่ พอ้ ง Loranthus pentandrus L.

กาฝากพมุ่ มขี นสนั้ นมุ่ ตามกงิ่ ออ่ น ชอ่ ดอก และดอก ใบเรยี งหา่ ง ๆ รปู รหี รอื
รปู ขอบขนาน ยาว 6-14 ซม. ปลายส่วนมากกลม โคนรูปลิ่ม เสน้ ใบชดั เจน ก้านใบ
ยาว 0.5-2 ซม. ชอ่ ดอกแบบช่อกระจะออกตามขอ้ มี 6-12 ดอก แกนชอ่ ยาว
1-3.5 ซม. กา้ นดอกยาว 1-4 มม. ดอกสเี ขยี วหรอื อมเหลอื ง ดอกตมู มี 5 สนั คอหลอด
เวา้ มักมีสเี ข้ม หลอดกลีบยาว 6-1.2 ซม. กลีบดอก 5 กลบี ยาว 4-8 มม. พบั งอกลับ
กา้ นชูอบั เรณูทไ่ี มแ่ นบตดิ หลอดกลบี ดอกยาวเทา่ ๆ หรอื ยาวกว่าอับเรณูเล็กน้อย
มีขนกระจกุ รปู ดาวประปราย อับเรณูยาว 2-5 มม. ผลรปู ไขห่ รอื รูปคนโท ยาว
0.8-1 ซม. สุกสสี ้ม

พบทอี่ นิ เดยี จนี ตอนใต้ พมา่ ภมู ภิ าคอนิ โดจนี และมาเลเซยี ฟลิ ปิ ปนิ ส์ ขนึ้ เบยี น
พืชหลายชนิดโดยเฉพาะไม้ผล ในธรรมชาติพบความสูงถึงประมาณ 1600 เมตร
แตส่ ว่ นมากพบระดับตำ่� ๆ ทัง้ ตน้ มสี รรพคุณตา้ นอนมุ ูลอสิ ระ แต่อาจมีผลตอ่ หัวใจ

เอกสารอ้างอิง
Barlow, B.A. (2002). Loranthaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(4): 670-676.
Qiu, H. and M.G. Gilbert. (2003). Loranthaceae. In Flora of China Vol. 5: 227.

กาฝากขน: ช่อดอกมขี นหนาแน่น หลอดกลบี ดอกแฉกลกึ ดา้ นเดยี ว (ภาพ: เขาพระวิหาร ศรสี ะเกษ - RP) กาฝากชมพู: ชอ่ ดอกแบบชอ่ กระจะออกตามขอ้ ดอกเรียงแนน่ สชี มพู มี 5 กลบี พบั งอกลับ ผลรปู ไข่ มีขนหนาแน่น
(ภาพ: กาญจนบุรี - PK)

49

กาฝากรัก สารานุกรมพืชในประเทศไทย

กาฝากมะมว่ ง: ชอ่ ดอกแบบช่อกระจะ ออกตามข้อ กลบี ดอกพบั งอกลับ ผลรปู คนโท สุกสสี ้ม (ภาพ: กรุงเทพฯ - RP) อับเรณูยาว 5-8 มม. โคนมเี ดอื ยขนาดเล็ก ก้านเกสรเพศเมียรปู กรวย ยาวเท่า ๆ
เกสรเพศผู้ เหนอื โคนเป็นขอ้ ยอดเกสรเป็นตมุ่ ผลสดมีเมลด็ เดียว
กาฝากรัก
พบที่คาบสมุทรมลายู สุมาตรา และบอร์เนียว ในไทยพบทางภาคใต้ที่พังงา
Notothixos malayanus Oliv. ตรงั ปตั ตานี นราธวิ าส ขนึ้ เบยี นตน้ ไมห้ ลายชนดิ ความสงู ถงึ ประมาณ 1700 เมตร
วงศ์ Santalaceae
สกุล Lepidaria Tiegh. มี 8 ชนิด พบเฉพาะในภมู ภิ าคมาเลเซีย และฟิลปิ ปนิ ส์
กาฝากพมุ่ สงู ไดถ้ งึ 50 ซม. ก่ิงมีแถบสีขาวเป็นรวิ้ กิ่งออ่ นมีสะเกด็ รปู รม่ โดยเฉพาะบอร์เนยี ว ในไทยมีชนิดเดียว ช่อื สกุลมาจากภาษากรกี “lepidos”
หนาแนน่ มสี ะเกด็ รปู กงิ่ แยกแขนงประปรายตามใบประดบั ยอ่ ยและเกลด็ หมุ้ ยอด เกล็ด หมายถงึ วงกลีบประดบั เรยี งซ้อนเหล่ือมคล้ายเกลด็
เกล็ดหุ้มยอดเรียงสลับตัง้ ฉาก ตดิ เหนอื ข้อประมาณ 1 มม. ใบประดบั ยอ่ ย 2 ใบ เอกสารอา้ งองิ
ใบเรียงตรงขา้ ม รปู รกี วา้ ง กว้าง 2.5-4 ซม. ปลายมน โคนสอบเรียว เสน้ โคนใบ Barlow, B.A. (2002). Loranthaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(4): 686-687.
ข้างละ 1-2 เส้น ก้านใบยาว 2-5 มม. ชอ่ ดอกออกท่ปี ลายกิง่ เปน็ กระจุกหรือรูปพดั
ดอกเจรญิ จากดา้ นนอก ก้านช่อยาวประมาณ 2 มม. มไี ด้ถึง 7 ดอก ดอกเพศผ้อู ยู่ กาฝากวงกลบี ซอ้ น: ชอ่ ดอกตดิ บนวงกลบี ประดับ กลบี ดอกแฉกลกึ ดา้ นเดยี ว (ภาพ: น้�ำตกโตนปรวิ รรต พงั งา - SSi)
กลางชอ่ 1-3 ดอก ดอกรูปแตร กลีบรวม 4 กลบี ยาวประมาณ 1 มม. ในดอกเพศเมยี
ส้ันกว่า ติดทน ผลคลา้ ยผลสดมหี ลายเมลด็ รูปรีแคบ ยาว 6-8 มม. สีเขยี วเปลี่ยนเป็น กาฝากวงกลีบแดง
สีขาว กา้ นผลยาวประมาณ 6 มม.
Tolypanthus pustulatus Barlow
พบทคี่ าบสมทุ รมลายตู อนบนทร่ี ฐั ปนี งั ในไทยพบทางภาคกลางทพ่ี เุ ตย จงั หวดั วงศ์ Loranthaceae
สุพรรณบรุ ี ขึ้นเบยี นต้นรักใหญ่ Gluta usitata (Wall.) Ding Hou ในป่าเตง็ รงั
ผสมสนสองใบ ความสูงประมาณ 600 เมตร กาฝากพุ่ม สูงได้ถงึ 50 ซม. ใบเรียงตรงข้ามหา่ ง ๆ ใบตรงขา้ มมกั ลดรูป
รปู ขอบขนาน ยาว 9-11 ซม. แผ่นใบหนา ก้านใบยาวประมาณ 1 ซม. ชอ่ ดอก
สกลุ Notothixos Oliv. เดิมอยูภ่ ายใตว้ งศ์ Viscaceae มี 8 ชนดิ พบในเอเชีย ออกเปน็ กระจกุ สน้ั ๆ ตามซอกใบ ตดิ บนวงกลบี ประดบั รปู ระฆงั สแี ดงอมชมพู
เขตร้อนและออสเตรเลีย ในไทยมีชนดิ เดียว ช่อื สกลุ มาจากภาษากรกี “notos” มี 6-8 กลีบ เชื่อมตดิ กนั ประมาณกงึ่ หนึ่งเป็นสันนนู ยาว 1.5-2 ซม. ดอกเรียง
ทางใต้ และ “ixos” ไมจ้ ำ�พวกกาฝาก หมายถึงกาฝากทพี่ บทางซกี โลกใต้ แถวเดียว 4-6 ดอก เกือบไร้ก้าน กลีบเล้ยี ง 5 กลีบ บาง ขนาดเลก็ มีขนหนาแน่น
ดอกสีขาว มสี นั สีแดงอมชมพู เชอ่ื มตดิ กนั ประมาณ 2 ซม. ปลายแยกเป็น 5 กลีบ
เอกสารอ้างอิง ยาวประมาณ 1 ซม. พบั งอกลบั โปง่ ชว่ งปลายกลบี ถงึ ชว่ งพบั งอคลา้ ยเปน็ ตมุ่
Barlow, B.A. (2002). Viscaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(4): 710-711. เกสรเพศผู้ 5 อัน ยาวประมาณสองในสามของกลีบช่วงพับงอ รังไข่ใต้วงกลีบ
กา้ นเกสรเพศเมยี 1 อัน ยอดเกสรเปน็ ต่มุ ผลสดมเี มล็ดเดยี ว

พชื ถนิ่ เดยี วของไทย พบทภี่ วู วั จงั หวดั บงึ กาฬ ขน้ึ เบยี นตน้ ไมใ้ นวงศ์ Lauraceae
ในป่าดิบแล้ง ความสงู ประมาณ 200 เมตร

สกุล Tolypanthus Tiegh. มี 6 ชนดิ พบที่ศรลี งั กา อนิ เดยี และจนี ตอนใต้ ใน
ไทยมี 2 ชนิด อีกชนิดคือ T. lageniferus (Wight) Tiegh. ทีใ่ บประดับส่วนมากมี
5 ใบ เชือ่ มตดิ กันประมาณสองในสาม และไมม่ ีสนั กลาง พบท่อี นิ เดยี และ
ภาคตะวนั ออกของไทยท่อี ุบลราชธานี ชอื่ สกุลมาจากภาษากรีก “tolype”
เปน็ กอ้ น และ “anthos” ดอก ตามลักษณะของชอ่ ดอกทีต่ ิดบนวงใบประดับ
เอกสารอา้ งอิง
Barlow, B.A. (2005). Tolypanthus (Loranthaceae): a new genus record for

Thailand and a new species. Thai Forest Bulletin (Botany) 33: 1-7.

กาฝากรัก: กง่ิ มีแถบสีขาวเปน็ ริว้ กิ่งออ่ นมสี ะเก็ดรปู รม่ หนาแนน่ ชอ่ ดอกรูปพดั ดอกเพศผู้อยู่ตรงกลาง ผลรปู รแี คบ กาฝากวงกลบี แดง: ชอ่ ดอกออกเปน็ กระจุกส้ัน ๆ ตามซอกใบ ตดิ บนวงกลีบประดับรูประฆงั สีแดงอมชมพู มี 6-8 กลบี
สุกสขี าว (ภาพ: พุเตย สพุ รรณบรุ ;ี ภาพกิ่งและผลสุก - RP, ภาพดอกและผลอ่อน - TP) เช่อื มตดิ กันประมาณกึง่ หนงึ่ เปน็ สันนนู (ภาพ: ภวู วั บึงกาฬ - RP)

กาฝากวงกลบี ซอ้ น

Lepidaria kingii (Scort. ex King) Danser
วงศ์ Loranthaceae

ชื่อพอ้ ง Loranthus kingii Scort. ex King

กาฝากพมุ่ ลำ� ตน้ มกั มปี มุ่ ปม ใบเรยี งตรงขา้ ม รปู ไขห่ รอื ขอบขนาน ยาว 9-20 ซม.
เห็นเส้นใบชัดเจนท้ังสองดา้ น ก้านใบยาว 1-3 ซม. ช่อดอกออกเป็นกระจุกส้นั ๆ
ตามซอกใบ ไร้ก้าน ตดิ บนวงกลบี ประดบั ที่เรยี งซ้อนเหล่อื มสลับตั้งฉาก 6-10 คู่
สแี ดงอมสม้ เรยี งกนั ยาว 3-8.5 ซม. คบู่ นรปู ขอบขนาน มสี นั กลางกลบี หมุ้ ชอ่ ดอก
ยาว 1.5-3 ซม. ดอกสีแดงอมสม้ หลอดกลีบตรง ยาว 4-9 ซม. มีริว้ สีเหลอื ง
ปลายแยก 6 แฉก แฉกลึกด้านเดียว กลบี ยาว 3-6 มม. พับงอกลบั เกสรเพศผู้ 6 อัน

50

สารานุกรมพชื ในประเทศไทย กา้ มก้งุ ภวู ัว

กาฝากเสม็ด พบทคี่ าบสมทุ รมลายู และภาคใตต้ อนลา่ งของไทยทยี่ ะลา ปตั ตานี นราธวิ าส
ขึน้ ตามปา่ ดบิ ช้นื หรือริมลำ� ธาร ความสงู ถงึ ประมาณ 1300 เมตร
Helixanthera cylindrica (Jack) Danser
วงศ์ Loranthaceae เอกสารอ้างองิ
Chen, J. and S.S. Renner. (2007). Melastomataceae. In Flora of China Vol.
ชื่อพอ้ ง Loranthus cylindricus Jack 13: 377.
Renner, S.S., G. Clausing, N. Cellinese and K. Meyer. (2001). Melastomataceae.
กาฝากพมุ่ มขี นกระจายตามขอ้ กง่ิ ออ่ นหรอื ชอ่ ดอก ใบเรยี งเกอื บตรงขา้ มหรอื In Flora of Thailand Vol. 7(3): 468-475.
คลา้ ยเรียงรอบขอ้ รูปรหี รือรปู ไข่ ยาว 5-20 ซม. เสน้ แขนงใบชัดเจนท้ังสองดา้ น
เส้นแขนงใบย่อยเรยี งขนานกันไม่ชัดเจน กา้ นใบยาว 0.8-3 ซม. ชอ่ ดอกแบบช่อ กา้ มกุ้งขน: ลำ� ต้นสนั้ โคนใบรูปหัวใจ ก้านใบและช่อดอกมขี นสากหรือเกลี้ยง ชอ่ ดอกแบบชอ่ ซีร่ ่ม เกสรเพศผู้ 8 อนั
กระจะออกตามขอ้ หรอื ปลายกง่ิ มไี ดถ้ งึ 25 ดอก แกนชอ่ ยาว 5-25 ซม. ใบประดบั อนั ยาว 4 อัน อนั ส้ัน 4 อนั (ภาพ: ยะลา - RP)
ขนาดเลก็ ก้านดอกยาวไดถ้ ึง 2.5 ซม. กลีบเลยี้ งบางขนาดเลก็ ติดทรี่ งั ไข่ ดอกสแี ดง
อมส้ม ด้านในมีสเี หลอื ง มี 5 กลีบ แยกจรดโคน ยาว 1.5-4 ซม. เกสรเพศผู้ 5 อนั ก้ามก้งุ ขน
กา้ นชอู บั เรณทู ไี่ มแ่ นบตดิ หลอดกลบี ดอกยาวกวา่ อบั เรณเู ลก็ นอ้ ย อบั เรณรู ปู แถบ
ยาว 0.5-1.2 ซม. รงั ไข่รปู ทรงกระบอก ยาว 5-8 มม. ก้านเกสรเพศเมียยาวเท่า ๆ Begonia cathcartii Hook. f.
เกสรเพศผู้ ยอดเกสรเปน็ ตุม่ วงศ์ Begoniaceae

พบทพ่ี มา่ ภมู ภิ าคอนิ โดจนี คาบสมทุ รมลายู และชวา ในไทยพบกระจายทาง ไม้ลม้ ลกุ สงู ได้เกอื บ 1 ม. มีขนสากและขนแยกแขนงสนี ำ�้ ตาลแดงหนาแนน่
ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ภาคตะวนั ออกเฉยี งใต้ และภาคใต้ ขน้ึ เบยี นตน้ ไมห้ ลายชนดิ ตามเหงา้ ลำ� ตน้ หใู บ กา้ นใบ ชอ่ ดอก ใบประดบั กลบี รวมดา้ นนอก และผลออ่ น
ตามชายป่า สวนปา่ หรือสวนยางพารา ความสูงถงึ ประมาณ 1300 เมตร หใู บรปู ไข่ ยาวประมาณ 1 ซม. ติดทน ใบรปู ไข่ ยาว 6-20 ซม. ปลายแหลมยาว
โคนรูปหัวใจ แผ่นใบมีขนคล้ายหนาม ก้านใบยาวได้ถึง 25 ซม. ช่อดอกยาว
สกลุ Helixanthera Lour. มปี ระมาณ 35 ชนดิ พบในแอฟริกาและเอเชีย ในไทย 10-25 ซม. ดอกเพศผู้ 6-8 ดอก ดอกเพศเมยี 2 ดอก ใบประดบั รปู ไข่ ยาวประมาณ
มี 8 ชนดิ ช่อื สกลุ มาจากภาษากรกี “helix” บิดเวียน และ “anthera” อบั เรณู ตาม 2 ซม. ติดทน ดอกสีขาวอมชมพู ดอกเพศผู้กา้ นยาว 1-2 ซม. มี 4 กลีบ ยาว 1-2 ซม.
ลกั ษณะของอบั เรณรู ปู แถบ แห้งแลว้ คลา้ ยบดิ เวียน เกสรเพศผูโ้ คนเชอื่ มตดิ กนั ดอกเพศเมียก้านยาว 1.5-2 ซม. มี 5 กลีบดอก ขนาด
เอกสารอ้างองิ ไม่เท่ากัน รูปไขก่ ลับ ยาว 0.5-1.5 ซม. รงั ไข่มีขนหนาแน่น ก้านเกสรเพศเมีย 2 อนั
Barlow, B.A. (2002). Loranthaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(4): 680-681. โคนเช่ือมตดิ กัน ยอดเกสรบิดเวียน ผลเกลย้ี ง ยาวประมาณ 2 ซม. ปกี บนรปู รี
ยาว 1.5-1.7 ซม. ปีกคูล่ า่ งแคบ กว้าง 3-4 มม. (ดูขอ้ มูลเพ่มิ เตมิ ท่ี ส้มก้งุ , สกุล)
กาฝากเสม็ด: ชอ่ ดอกแบบชอ่ กระจะ กลบี ดอก 5 กลีบ แยกจรดโคน อบั เรณรู ปู แถบ (ภาพ: ละอุ่น ระนอง - RP)
พบท่ีอินเดีย เนปาล ภูฏาน พม่า และภาคเหนือของไทยท่ีดอยอินทนนท์
ก้ามกงุ้ , สกุล จังหวดั เชียงใหม่ ขน้ึ ตามปา่ ดิบเขา ความสงู 1800-2300 เมตร

Phyllagathis Blume เอกสารอ้างอิง
วงศ์ Melastomataceae Craib, W.G. (1931). Begoniaceae. Florae Siamensis Enumeratio 1: 772.

ไมล้ ม้ ลกุ ใบเรยี งตรงขา้ ม มกั มขี นาดไมเ่ ทา่ กนั บางครง้ั ลดรปู มใี บเดยี ว ชอ่ ดอก กา้ มกุง้ ขน: สว่ นต่าง ๆ มขี นหนาแนน่ ใบประดบั ติดทน ผลแก่เกลีย้ ง มี 3 ปีก ปีกคลู่ ่างแคบ (ภาพ: ดอยอนิ ทนนท์
แบบชอ่ วงแถวคหู่ รอื ชอ่ ซรี่ ม่ ฐานดอกรปู ถว้ ยมกั เปน็ เหลยี่ ม กลบี เลย้ี งและกลบี ดอก เชยี งใหม่ - RP)
จ�ำนวนอยา่ งละ 4 กลีบ พบนอ้ ยทม่ี ี 5 กลีบ กลบี เล้ยี งรปู สามเหล่ียมขนาดเลก็
ส่วนมากติดทน เกสรเพศผู้มี 4 หรอื 8 อนั พบนอ้ ยทม่ี ี 10 อัน ยาวเท่า ๆ กนั ก้ามกงุ้ ภูวัว
อับเรณูมรี เู ปิดดา้ นบน มเี ดือยส้ันเป็นรยางค์ รังไขใ่ ตว้ งกลบี มี 4 หรือ 5 ช่อง
พลาเซนตารอบแกนรว่ ม ผลแบบผลแห้งแตก เมลด็ จำ� นวนมาก มตี ุ่ม Phyllagathis nanakorniana Wangwasit, Norsaengsri & Cellin.
วงศ์ Melastomataceae
สกลุ Phyllagathis มปี ระมาณ 57 ชนดิ พบทีจ่ นี ตอนใต้ พมา่ ภมู ภิ าคอนิ โดจีน
และมาเลเซีย ในไทยมี 5 ชนดิ ชื่อสกลุ มาจากภาษากรกี “phyllon” ใบ และ ไม้ล้มลุกขนาดเล็ก มใี บเดยี ว รูปหัวใจ กวา้ ง 3.5-15 ซม. ยาว 2.7-12.5 ซม.
“agathis” ก้อนเสน้ ดา้ ย อาจหมายถงึ ใบออกเป็นกระจุกจากโคนลำ�ต้นใต้ดิน ขอบมตี งิ่ แหลมตามปลายเสน้ แขนงใบ แผน่ ใบดา้ นลา่ งมกั มสี นี ้�ำตาลแดง เสน้ โคนใบ
ขา้ งละ 3-5 เสน้ ก้านใบยาวไดถ้ งึ 6.5 ซม. ชอ่ ดอกออกจากเหง้า มี 1-3 ช่อ
ก้ามกุ้งขน

Phyllagathis hispida King
ไมล้ ม้ ลกุ ลำ� ตน้ สนั้ มขี นสากหรอื เกลย้ี ง ใบรปู ไข่ ยาว 10-25 ซม. โคนรปู หวั ใจ

ขอบจกั ซี่ฟนั ต้ืน ๆ เสน้ โคนใบ 6-10 เส้น เส้นแขนงใบยอ่ ยแบบขน้ั บันได ก้านใบ
ยาวไดถ้ งึ 10 ซม. ชอ่ ดอกแบบชอ่ ซรี่ ม่ มขี นสากหรอื เกลยี้ ง กา้ นชอ่ ยาว 4-10 ซม.
ฐานดอกยาวประมาณ 1 ซม. กลบี เลีย้ งร่วงเร็ว ดอกสีชมพูอมมว่ งหรอื สีขาว กลีบรปู ไข่
ยาวประมาณ 1.3 ซม. เกสรเพศผู้ 8 อนั อนั สนั้ 4 อนั ตดิ บนกลบี เลย้ี ง ยาวประมาณ
5 มม. อันยาว 4 อัน ติดบนกลีบดอก ยาวประมาณ 1.2 ซม. รวมเดอื ย มีเกล็ด
4 อนั รอบโคนกา้ นเกสรเพศเมยี รงั ไขม่ ี 4 ชอ่ ง ผลรปู รยี าวประมาณ 6 มม. เมลด็
ยาวประมาณ 1 มม.

51

กา้ มกุง้ หัว สารานกุ รมพชื ในประเทศไทย

บางคร้งั แยกแขนง กา้ นชอ่ ยาว 6-17 ซม. ใบประดบั ยอ่ ย 2 ใบ รปู แถบขนาดเลก็ กา๋ ย
ฐานดอกรปู ถ้วยยาวประมาณ 3 มม. ก้านดอกยาว 0.4-1 ซม. กลบี เล้ียงและ
กลีบดอกจำ� นวนอย่างละ 4-5 กลบี ดอกสีชมพู กลบี รูปไข่ ยาว 5-6 มม. เกสรเพศผู้ Artabotrys suaveolens (Blume) Blume
8-10 อนั เปน็ หมนั 4-5 อนั ผลรปู ระฆงั เปน็ เหลยี่ ม กวา้ ง 2.5-3 มม. สงู ประมาณ วงศ์ Annonaceae
2 มม. (ดขู อ้ มลู เพม่ิ เตมิ ที่ ก้ามกุง้ , สกลุ )
ชือ่ พอ้ ง Unona suaveolens Blume, Artabotrys blumei Hook. f. & Thomson
พชื ถนิ่ เดยี วของไทย พบเฉพาะทภี่ วู วั จงั หวดั บงึ กาฬ ขน้ึ ตามหนา้ ผาหนิ ทราย
ในป่าดบิ แลง้ ความสูง 200-350 เมตร ค�ำระบชุ นิดตั้งตามช่ือดร.วรี ะชยั ณ นคร ไม้เถาเนือ้ แข็ง ยาวได้ถงึ 25 ม. กงิ่ ออ่ นมขี นประปราย ใบรูปรี รูปไข่ หรือ
อดตี ผ้อู ำ� นวยการองค์การสวนพฤกษศาสตร์ รปู ขอบขนาน ยาวได้ถงึ 12 ซม. เสน้ แขนงใบไม่ชดั เจน กา้ นใบยาว 3-5 มม. ชอ่ ดอก
แยกแขนงสนั้ ๆ ก้านช่อรปู ตะขอสน้ั กวา่ กา้ นดอก ก้านดอกยาวไดถ้ ึง 1.5 ซม.
ก้ามกงุ้ หัว กลีบเล้ียงรูปสามเหล่ียม กว้างประมาณ 3 มม. ดอกสีครีมอมเหลืองหรือชมพู
กลบี หนา รปู สามเหลย่ี มกวา้ ง กวา้ ง 5-6 มม. วงในแคบกวา่ เลก็ นอ้ ย ปลายเรยี วยาว
Phyllagathis tuberosa (C. Hansen) Cellin. & S. S. Renner รูปแถบ ยาว 0.8-1.2 ซม. โคนแผ่กวา้ งเปน็ ก้านกลบี มีขนสนั้ นมุ่ มี 4-7 คารเ์ พล
กา้ นผลยาว 5-8 มม. ส่วนมากมี 1-3 ผลย่อย รปู รี ยาว 1-1.5 ซม. ไรก้ ้าน เมลด็ รปู รี
ชื่อพ้อง Tylanthera tuberosa C. Hansen ยาวประมาณ 1 ซม. มรี อ่ งตามยาว (ดขู ้อมูลเพิม่ เตมิ ท่ี การเวก, สกลุ )

ไมล้ ม้ ลกุ ไมม่ ีล�ำต้น มเี หงา้ มีขนยาวหา่ ง ๆ ตามแผน่ ใบ กา้ นใบ ก้านชอ่ ดอก พบทพี่ มา่ ภมู ภิ าคอนิ โดจนี และมาเลเซยี ในไทยพบทางภาคตะวนั ตกเฉยี งใต้
และฐานดอก มี 1-3 ใบ รปู ไข่ ยาว 2-5 ซม. โคนตดั เวา้ ตน้ื หรือแหลม ขอบเรยี บ และภาคใต้ ขึน้ ตามปา่ ดิบชืน้ ความสูงถงึ ประมาณ 300 เมตร
มีขนครุย เสน้ โคนใบขา้ งละ 2 เส้น เสน้ แขนงใบยอ่ ยไมช่ ัดเจน ก้านใบยาว 1-3 ซม.
ชอ่ ดอกออกจากเหง้า ก้านชอ่ ยาว 2-7 ซม. มี 3-7 ดอก ใบประดับ 2 ใบ รูปแถบ ก๋ายขน
ขนาดเลก็ ฐานดอกรปู ถว้ ย ยาว 1-2 มม. กา้ นดอกยาวประมาณ 4 มม. ดอกสชี มพู
กลีบรูปไข่ ยาวประมาณ 3.5 มม. เกสรเพศผู้ 4 อัน ยาวเท่า ๆ กัน ผลรูประฆัง Artabotrys uniflorus Craib
ยาวประมาณ 1.5 มม. (ดูขอ้ มลู เพิ่มเตมิ ท่ี กา้ มกงุ้ , สกุล) ไมเ้ ถาเนอื้ แขง็ มขี นสน้ั นมุ่ สนี ำ้� ตาลแดงตามกง่ิ กา้ นใบ ใบ ชอ่ ดอก กา้ นชอ่ คลา้ ย

พชื ถน่ิ เดยี วของไทย พบเฉพาะทางภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ทภี่ เู มย่ี ง จงั หวดั ตะขอ กลีบเลย้ี งและกลบี ดอกดา้ นนอก และรังไข่ ใบรถี งึ รูปใบหอก ยาวไดถ้ งึ
เพชรบรู ณ์ และภาคตะวนั ออกทโี่ ขงเจยี ม จงั หวดั อบุ ลราชธานี ขนึ้ บนกอ้ นหนิ หรอื 15 ซม. ปลายแหลมยาวหรอื ยาวคลา้ ยหาง แผน่ ใบบาง เสน้ แขนงใบเรยี งจรดกนั
ดนิ ทราย ในปา่ เต็งรงั หรอื ปา่ ดิบแลง้ ความสงู 300-700 เมตร กา้ นใบยาว 2-5 มม. ชอ่ ดอกมดี อกเดยี ว กา้ นชอ่ รปู ตะขอ ยาวเทา่ ๆ กา้ นดอกหรอื
สัน้ กว่า ก้านดอกยาว 5-8 มม. กลบี เลย้ี งรปู สามเหล่ียม ยาว 4-6 มม. ปลายแหลมยาว
เอกสารอา้ งอิง พับงอกลบั ดอกสคี รีมอมเหลอื ง กลบี หนา รูปสามเหลยี่ ม ยาว 6-7 มม. วงใน
Renner, S.S., G. Clausing, N. Cellinese and K. Meyer. (2001). Melastomataceae แคบกวา่ ปลายรปู แถบ ยาว 1.5-2 ซม. เกสรเพศผยู้ าวประมาณ 1 มม. ปลายมี
(Phyllagathis). In Flora of Thailand Vol. 7(3): 468-475. ขนสั้นนุม่ ผลย่อยมี 4-12 ผล รูปไข่ปลายแหลม ยาวประมาณ 2.5 ซม. ไร้ก้าน
Wangwasit, K., N. Cellinese and M. Norsaengsri. (2010). Phyllagathis nana- เมล็ดรูปรี ยาวประมาณ 1.5 ซม. (ดูข้อมูลเพ่มิ เตมิ ที่ การเวก, สกุล)
korniana (Melastomataceae), a new species from Thailand. Blumea 55(3):
246-248. พบทพี่ ม่า ในไทยพบทางภาคใตท้ ี่ระนอง พังงา ขน้ึ ริมลำ� ธารในป่าดิบช้ืน ความสงู
ระดบั ตำ่� ๆ

เอกสารอา้ งอิง
Craib, W.G. (1915). Contributions to the Flora of Siam. Additamentum VIII. Bulletin
of Miscellaneous Information Kew 1915: 435.
Turner, I.M. (2012). Annonaceae of Borneo: a review of the climbing species.
Gardens’ Bulletin Singapore 64(2): 389.

ก้ามกุ้งภวู วั : ไม้ลม้ ลุกขนาดเลก็ มีใบเดียว ช่อดอกแบบวงแถวคู่ กลีบดอกมี 4 หรอื 5 กลบี ผลรูประฆงั เปน็ เหลี่ยม
(ภาพ: ภูววั บึงกาฬ - PK)

ก๋าย: ชอ่ ดอกแยกแขนงสัน้ ๆ กา้ นชอ่ ดอกรปู ตะขอ ปลายกลบี ดอกรปู แถบ ยาวเท่า ๆ กัน (ภาพ: นราธวิ าส - MP)

กา้ มกุ้งหัว: ไมล้ ้มลกุ ไม่มีล�ำต้น มีใบเดียว ชอ่ ดอกยาว ช่อดอกแบบวงแถวคู่ เกสรเพศผู้ 4 อัน ผลรูประฆงั (ภาพ: กา๋ ยขน: มีขนส้ันนมุ่ ทั่วไป เส้นแขนงใบเรียงจรดกนั ชอ่ ดอกมดี อกเดยี ว ผลกลุ่ม ผลย่อยไร้ก้าน รปู ไขป่ ลายแหลม
โขงเจยี ม อุบลราชธานี - PK) (ภาพ: น้ำ� ตกโตนปริวรรต พงั งา - SSi)

52

สารานกุ รมพชื ในประเทศไทย ก้าว

กายอม มถี ิ่นกำ� เนิดในอินเดียและศรลี งั กา เปน็ ไม้ประดับท�ำเป็นซมุ้ ทั่วไปในเขตร้อน
ดอกมีกล่ินหอม ใช้ท�ำน้�ำหอมและใส่ในใบชา ผลมีสรรพคุณรักษาโรคผิวหนัง
Rhododendron veitchianum Hook. ลกั ษณะทว่ั ไปคล้ายกับ A. siamensis Miq. ทด่ี อกขนาดเล็กกวา่ และมีขนหนา
วงศ์ Ericaceae แน่นกว่า

ไมพ้ มุ่ ขนึ้ บนดนิ หรอื องิ อาศยั สงู 1-3 ม. กงิ่ ออ่ นมขี นแขง็ กระจาย มเี กลด็ รงั แค เอกสารอา้ งอิง
ตามกา้ นใบ กา้ นดอก รังไข่ และผล ใบเรียงเวยี น รปู ไข่กลับหรือรปู ขอบขนาน ปิยะ เฉลิมกลน่ิ . (2545). พรรณไมว้ งกระดังงา. สำ�นกั พมิ พ์บ้านและสวน กรงุ เทพฯ.
ยาว 6-10 ซม. แผ่นใบดา้ นล่างมเี กลด็ สนี �้ำตาลทองหนาแน่น กา้ นใบยาว 0.5-1 ซม. Li, B. and M.G. Gilbert. (2011). Annonaceae. In Flora of China Vol. 19: 701, 703.
ชอ่ ดอกมี 1-5 ดอก กา้ นดอกสน้ั กลีบเลี้ยงจกั ตื้น ๆ ไมช่ ดั เจน ขอบมขี นครุย
ดอกรปู ลำ� โพงสีขาว มปี ืน้ สเี หลอื งทีโ่ คนดา้ นใน ยาว 5-6.5 ซม. หลอดกลีบดอก
ยาว 2-4 ซม. ขอบกลบี จกั มนไมเ่ ป็นระเบยี บ เกสรเพศผู้ 10 อนั สนั้ กวา่ กลีบดอก
เล็กน้อย โคนก้านชอู บั เรณูมขี น ผลทรงกระบอก ยาวประมาณ 3 ซม. (ดขู อ้ มลู
เพมิ่ เติมที่ กหุ ลาบพันปี, สกลุ )

พบทพี่ มา่ ลาว เวยี ดนาม ในไทยพบทางภาคเหนอื ทด่ี อยอนิ ทนนท์ ดอยสเุ ทพ
และดอยเชยี งดาว จงั หวดั เชยี งใหม่ ขึ้นตามท่โี ลง่ หรอื คาคบไม้ในป่าดิบเขา ความ
สูง 1300-2500 เมตร

เอกสารอา้ งองิ
Cullen, J. (1980). A revision of Rhododendron 1. subgenus Rhododendron
section Rhododendron & Pogonathum. Notes from the Royal Botanic
Garden Edinburgh 39(1): 55.

กายอม: ดอกรปู ล�ำโพง กลบี จกั มนไมเ่ ป็นระเบียบ มปี ้ืนสีเหลอื งด้านใน เกสรเพศผู้ 10 อนั สัน้ กวา่ กลบี ดอกเลก็ น้อย การเวก: ล�ำตน้ มีช่องอากาศ มีหนามยาว กลบี เลย้ี งพับงอกลับ กลบี ดอก 6 กลีบ เรียง 2 วง ยาวเท่าๆ กนั ผลย่อย
(ภาพ: ดอยอนิ ทนนท์ เชียงใหม่ - RP) รปู รีเกอื บกลม มกี ้านผลสน้ั ๆ ปลายผลเปน็ ติง่ แหลม (ภาพ: cultivated - PK)

การเวก, สกลุ กา้ ว, สกลุ

Artabotrys R. Br. Tristaniopsis Brongn. & Griseb.
วงศ์ Annonaceae วงศ์ Myrtaceae

ไม้เถา ใบเรยี งสลบั ระนาบเดียว ชอ่ ดอกแบบชอ่ กระจกุ ส้นั ๆ มี 1 หรือหลายดอก ไมพ้ มุ่ หรือไม้ต้นขนาดเล็ก หูใบขนาดเล็ก ร่วงเรว็ ใบเรยี งเวียน เสน้ แขนงใบ
สว่ นมากออกตรงขา้ มใบ กา้ นดอกตดิ ทน โคง้ งอรปู ตะขอ ฐานดอก (torus) แบน มเี ส้นแขนงใบย่อยแซม เส้นขอบใน 1 เส้น แผ่นใบสว่ นมากมตี ่อม ชอ่ ดอกแบบ
หรอื เว้า กลบี เล้ยี ง 3 กลีบ เรียงจรดกัน เช่ือมตดิ กันท่โี คน กลบี ดอก 6 กลบี เรียง 2 วง ชอ่ กระจกุ กลบี เลีย้ งและกลีบดอกอย่างละ 5 กลบี ใบประดับขนาดเลก็ รว่ งเรว็
ยาวเทา่ ๆ กนั กลบี เรยี งจรดกนั โคนเวา้ เกสรเพศผจู้ ำ� นวนมาก แกนอบั เรณชู ว่ ง ฐานดอกรูปถ้วย กลีบเล้ยี งเช่ือมติดกนั เป็นหลอด ติดทน กลบี ดอกแยกกนั เกสรเพศผู้
ปลายกวา้ ง ตัด คารเ์ พลจ�ำนวนมาก มีออวลุ 2 เม็ด ตดิ ทโ่ี คน เกสรเพศเมยี รูปไข่ จำ� นวนมาก ยาวไม่เท่ากนั เชื่อมติดกนั เปน็ มัด ส่วนมากมี 5 มดั ตดิ ตรงข้าม
หรือคล้ายกระบอง ผลย่อยคล้ายผลสดออกเป็นกระจุกแยกกัน ไร้ก้านหรือมี กลบี ดอก อบั เรณปู ลายมรี ยางคเ์ ปน็ ตอ่ ม รงั ไขก่ ง่ึ ใตว้ งกลบี กา้ นเกสรเพศเมยี 1 อนั
กา้ นสั้น ๆ แต่ละผลยอ่ ยมี 1-2 เมลด็ ผลแห้งแตกเป็น 3 ซกี เมลด็ ขนาดเล็ก แบน มีปกี ยน่

สกลุ Artabotrys อย่ภู ายใต้วงศย์ ่อย Annonoideae มีประมาณ 100 ชนดิ พบใน สกลุ Tristaniopsis มปี ระมาณ 40 ชนดิ พบในพม่า ภูมภิ าคอนิ โดจีน ภูมิภาค
แอฟรกิ าและเอเชียเขตรอ้ นหรอื กงึ่ เขตร้อน ในไทยอาจมีมากกวา่ 20 ชนิด ชือ่ มาเลเซีย และออสเตรเลีย ในไทยมี 2 ชนิด ชื่อสกลุ หมายถึงสกลุ ทคี่ ล้ายกับ
สกุลมาจากภาษากรีก “artane” หรอื “artao” ตะขอ และ “botrys” เป็นกระจุก สกลุ Tristania
ตามลกั ษณะของก้านช่อดอกทโี่ ค้งงอคลา้ ยตะขอ
ก้าว
การเวก
Tristaniopsis burmanica (Griff.) Peter G. Wilson & J. T. Waterh. var.
Artabotrys hexapetalus (L. f.) Bhandari rufescens (Hance) J. Parn. & NicLugh.

ชอ่ื พ้อง Annona hexapetala L. f. ชอ่ื พอ้ ง Tristania burmanica Griff. var. rufescens (Hance) Gagnep.

ไมเ้ ถาเนอ้ื แขง็ ยาวไดถ้ งึ 10 ม. ลำ� ตน้ มชี อ่ งอากาศ มกั มหี นามยาว 2-4 ซม. ไม้พุ่มหรอื ไมต้ ้น สูงไม่เกิน 10 ม. เปลอื กแตกเป็นแผน่ ใบรูปรีหรือรูปไข่ ยาว
กิ่งเกลีย้ งหรือมีขนประปราย ใบเรยี งเวียน รูปขอบขนาน ยาว 6-25 ซม. แผน่ ใบ 3-10 ซม. เสน้ แขนงใบข้างละ 10-20 เส้น เสน้ ขอบในห่างจากขอบใบไม่เกิน 1 มม.
ดา้ นลา่ งมขี นละเอยี ดตามเสน้ กลางใบ ชอ่ ดอกมี 1-2 ดอก กา้ นชอ่ ยาวเทา่ ๆ กา้ นดอก แผน่ ใบหนา ดา้ นลา่ งมขี นยน่ สนี ำ�้ ตาลแดง กา้ นใบยาว 0.5-1.5 ซม. กา้ นใบออ่ น
หรอื สน้ั กว่าเลก็ นอ้ ย ก้านดอกยาว 1.5-2 ซม. กลีบเล้ียงรปู ไข่ ยาว 5-8 มม. พับงอกลบั มีขนคล้ายไหม ก้านดอกยาว 2-4 มม. หลอดกลีบเลย้ี งยาว 3-4 มม. กลีบยาว
ด้านนอกมีขนละเอียด กลีบดอกรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก กลีบช้ันในขนาด ประมาณ 1 มม. มีขน ดอกสขี าวหรอื อมเหลอื ง เส้นผ่านศูนยก์ ลาง 1.5-2.5 มม.
เล็กกว่าเล็กน้อย ยาว 3-4.5 ซม. โคนกลบี ดา้ นนอกมขี นละเอียด คอด เกสรเพศผู้ เกสรเพศผู้ 5 มัด มดั ละ 4-9 อัน เชอื่ มติดกันท่ีโคน ก้านชอู ับเรณยู าวประมาณ
วงดา้ นนอกสว่ นมากเป็นหมัน รยางค์มี 3 สัน ผลยอ่ ยมี 7-15 ผล รปู รกี ว้าง 2.5 มม. มขี นประปราย กา้ นเกสรเพศเมยี ยาวประมาณ 1 มม. ผลยาวประมาณ
ยาว 2.5-4 ซม. กา้ นส้ันหรือไร้กา้ น ปลายมีติง่ แหลม เมลด็ ยาว 1.5-2 ซม. 5 มม. เมลด็ ยาวประมาณ 4 มม.

พบทพี่ มา่ ลาว กมั พชู า และเวยี ดนาม ในไทยพบกระจายหา่ ง ๆ แทบทกุ ภาค
ยกเวน้ ภาคใต้ ขนึ้ ตามปา่ เตง็ รงั ปา่ เตง็ รงั ผสมสนเขา และปา่ ดบิ เขา ความสงู ถงึ ประมาณ
1300 เมตร สว่ น var. burmanica แผน่ ใบไมม่ ขี นสนี ำ�้ ตาลแดง พบทพ่ี มา่ กมั พชู า
เวยี ดนาม และภาคตะวนั ออกเฉียงใต้ ภาคตะวนั ตกเฉยี งใต้ และภาคใตข้ องไทย

เอกสารอ้างอิง
Parnell, J. and P. Chantaranothai. (2002). Myrtaceae. In Flora of Thailand Vol.
7(4): 912-914.

53

กาหยเี ขา สารานกุ รมพชื ในประเทศไทย

มถี น่ิ กำ� เนดิ ในภมู ภิ าคมาเลเซยี แถบเกาะชวา บอรเ์ นยี ว ฟลิ ปิ ปนิ ส์ และหมเู่ กาะ
ซนุ ดาน้อย เปน็ ไมป้ ระดับทวั่ ไปในเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ บางคร้ังพบกระจายใน
ธรรมชาติตามป่าเบญจพรรณท่ีแหง้ แลง้

เอกสารอ้างอิง
Larsen, K., S.S. Larsen and J.E. Vidal. (1984). Leguminosae-Caesalpinioideae.
In Flora of Thailand Vol. 4(1): 11-13.

กา้ ว: ใบเรียงเวยี น แผ่นใบหนา เส้นแขนงใบมเี ส้นแขนงใบยอ่ ยแซม เสน้ ขอบใน 1 เส้น ช่อดอกแบบชอ่ กระจุก กาหลง: ช่อดอกแบบช่อกระจะส้นั ๆ เกสรเพศผ้ยู าวไมเ่ ทา่ กนั ฝกั แบน รปู แถบ ขอบเปน็ สนั (ภาพ: cultivated;
ออกตามซอกใบ (ภาพ: ตาก - RP) ภาพดอก - RP; ภาพผล - PK)

กาหยีเขา กาหลอ

Dialium indum L. Etlingera corneri Mood & Ibrahim
วงศ์ Fabaceae ไมล้ ม้ ลุก สงู 3-4 ม. ล�ำต้นมีขนสั้นนุ่ม ใบมขี า้ งละ 10-11 ใบ รูปขอบขนาน

ไมต้ ้น สูง 20-25 ม. มขี นละเอียดตามแกนใบประกอบ ชอ่ ดอก กลีบเลย้ี ง ถึงรูปรี ยาว 15-65 ซม. แผน่ ใบด้านล่างสเี ขียวหรือมว่ งแดง กา้ นใบยาว 1-4 ซม.
และผล ใบประกอบปลายคี่ เรียงเวยี น แกนกลางยาว 10-20 ซม. ใบยอ่ ยมี 2-4 คู่ ฐานดอกสูง 1-1.5 ซม. วงใบประดับเรียงซอ้ นเหลอ่ื มแนน่ รูปถ้วย สงู 7-9 ซม.
รปู ไข่แกมรูปขอบขนานหรือแกมรปู ใบหอก ยาว 7-10 ซม. เส้นแขนงใบขา้ งละ เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางประมาณ 7.5 ซม. กา้ นชอ่ ดอกตง้ั ตรง ยาวไดถ้ งึ 90 ซม. ใบประดบั
8-10 เส้น เรยี งจรดกันใกล้ขอบใบ ก้านใบยอ่ ยยาว 4-5 มม. ชอ่ ดอกแบบชอ่ สแี ดง รปู ขอบขนานหรอื แกมรปู ไขก่ ลบั ปลายพบั งอ วงนอกยาว 6.5-8.5 ซม. วงใน
แยกแขนง ยาวไดถ้ งึ 15 ซม. กา้ นดอกยาว 3-4 มม. กลบี เลย้ี ง 5 กลบี เรยี งซอ้ นเหลอ่ื ม ยาว 3.5-7.5 ซม. ใบประดับยอ่ ยยาวประมาณ 3.5 ซม. หลอดกลบี เลี้ยงยาวได้ถงึ
รูปไข่แกมรูปขอบขนาน ยาว 5-6 มม. ไม่มกี ลบี ดอก เกสรเพศผู้ 2 อัน กา้ นชูอับเรณสู นั้ 4 ซม. หลอดกลบี ดอกยาว 2-2.5 ซม. กลีบปากตง้ั ตรง ยาว 1.6-2.5 ซม. สแี ดง
อบั เรณยู าว 4-5 มม. รงั ไขม่ ขี นยาวคลา้ ยไหม กา้ นเกสรเพศเมยี รปู เสน้ ดา้ ย ยอดเกสร ขอบสีขาวม้วนออก ชอ่ ผลเสน้ ผ่านศนู ย์กลางประมาณ 10 ซม. ผลยอ่ ยรูปไข่ สขี าว
แบน ผลรูปกลม ๆ แห้งไมแ่ ตก ยาว 2-3 ซม. สกุ สีด�ำ ผิวคลา้ ยกำ� มะหยี่ เนื้อในยุย่ เปลี่ยนเป็นสสี ม้ แดง เกลีย้ ง ยาว 3.5-4 ซม.
เป็นปุย มีเมล็ดเดียว รปู รี เป็นเหลี่ยม ยาว 1-1.5 ซม. มรี ว้ิ ตามยาว
พบทางตอนบนของคาบสมทุ รมลายู และภาคใต้ตอนลา่ งของไทย ที่สงขลา
พบทคี่ าบสมทุ รมลายู ชวา และทางภาคใตข้ องไทยตงั้ แตร่ ะนองลงไป ขน้ึ ตาม สตูล ยะลา และนราธวิ าส ข้นึ ตามท่ีช้นื แฉะในป่าดบิ ชืน้ ความสูง 200-500 เมตร
ปา่ ดิบชืน้ ความสงู ระดบั ต�ำ่ ๆ
กาหลา, สกลุ
สกลุ Dialium L. อยภู่ ายใต้กลุ่ม Dialieae มี 28 ชนดิ ในไทยมี 3 ชนดิ ชือ่ สกุล
อาจมาจากภาษากรกี “dialyo” หรือ “dialeyin” ไมม่ ี หมายถงึ ไมม่ กี ลบี ดอก Etlingera Giseke
เอกสารอา้ งองิ วงศ์ Zingiberaceae
Larsen, K., S.S. Larsen and J.E. Vidal. (1984). Leguminosae-Caesalpinioideae.
ไมล้ ม้ ลกุ เหงา้ ทอดเลอื้ ย ลำ� ตน้ เทยี มตงั้ ตรง ลน้ิ กาบเรยี บหรอื จกั 2 พู ใบเรยี งสลบั
In Flora of Thailand Vol. 4(1): 87-88. ระนาบเดยี ว ชอ่ แบบชอ่ เชงิ ลดหรอื ชอ่ กระจกุ แนน่ ออกจากเหงา้ กา้ นชอ่ โผลพ่ น้
พนื้ ดนิ ตงั้ ตรง หรอื อยใู่ ตด้ นิ ดอกเรยี งเปน็ วงรปู ถว้ ยบนฐานดอก วงใบประดบั
กาหยเี ขา: ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ผลสุกสดี �ำ ผวิ คล้ายก�ำมะหย่ี (ภาพ: แวง้ นราธวิ าส - MP) จำ� นวนมาก วงนอกไมม่ ดี อก แตล่ ะใบประดบั มดี อกเดยี ว ใบประดบั ยอ่ ยเปน็ หลอด
กลบี เลย้ี งเชอื่ มตดิ กนั เปน็ หลอด แยกดา้ นเดยี ว ปลายจกั 3 แฉก ตดิ ทน กลบี ดอก
กาหลง เชอ่ื มตดิ กนั เปน็ หลอด ยาวเทา่ ๆ หรอื ยาวกวา่ กลบี ดอก กลบี ดอก 3 กลบี สน้ั กวา่
หลอดกลีบ ไมม่ ีแผ่นเกสรเพศผู้ทีเ่ ปน็ หมัน กลบี ปากรูปลิ้น ปลายแยก 3 แฉก
Bauhinia acuminata L. ยาวกว่ากลบี ดอก กลีบกลางบางคร้งั จกั 2 พู โคนกลบี ขา้ งหุม้ เกสรเพศผู้ เชื่อมตดิ
วงศ์ Fabaceae กา้ นเกสรเพศผู้ อบั เรณบู ดิ งอ แกนอับเรณไู ม่มีรยางค์ รังไขม่ ี 3 ช่อง ออวลุ จ�ำนวนมาก
ผลสด มสี ันตามยาว
ไม้พุ่ม สงู ได้ถึง 3 ม. หูใบรปู แถบ ยาวประมาณ 1 ซม. ใบรปู ไขก่ วา้ ง ยาวไดถ้ ึง
14 ซม. แฉกลึกถึงประมาณกง่ึ หน่ึง โคนรปู หัวใจ เสน้ โคนข้างละ 4-5 เส้น แผ่นใบ สกุล Etlingera อยภู่ ายใตว้ งศย์ ่อย Alpinioideae มีประมาณ 110 ชนดิ พบใน
ด้านลา่ งมีขนสน้ั นุ่ม กา้ นใบยาว 3-4 ซม. ช่อดอกแบบชอ่ กระจะส้ัน ๆ มี 3-10 ดอก เอเชียโดยเฉพาะภมู ิภาคมาเลเซีย และทางตอนบนของออสเตรเลยี ในไทยมี
ก้านดอกยาว 0.5-2 ซม. ใบประดบั ติดใตก้ ง่ึ กลางกา้ นดอก ตาดอกรปู กระสวย ประมาณ 15 ชนิด ชือ่ สกลุ ตงั้ ตามนักพฤกษศาสตร์ชาวเยอรมัน Andreas Ernst
ยาวได้ถึง 4 ซม. ปลายแยก 5 แฉกเล็ก ๆ ฐานดอกยาวประมาณ 5 มม. มรี ้ิว Etlinger (1730-1790)
กลีบเล้ยี งยาวประมาณ 2 ซม. ดอกสีขาว กลบี รปู ขอบขนาน ยาว 4-6 ซม. เกสรเพศผู้
10 อัน ยาวไมเ่ ท่ากนั ก้านชูอบั เรณูยาว 1.5-2.5 ซม. โคนมขี น อับเรณยู าว 4-5 มม. กาหลา
กา้ นเกสรเพศเมียยาวประมาณ 1.5 ซม. ฝักแบน รปู แถบ ยาวประมาณ 10 ซม.
ขอบเปน็ สนั มี 5-11 เมล็ด (ดขู ้อมูลเพมิ่ เติมที่ ชงโค, สกุล) Etlingera elatior (Jack) R. M. Sm.

ชือ่ พอ้ ง Alpinia elatior Jack

ไมล้ ้มลกุ สงู 3-6 ม. ใบมไี ดถ้ งึ ข้างละ 17 ใบ รปู ใบหอก ยาวไดถ้ ึง 85 ซม.
กา้ นใบยาว 3-4 ซม. กา้ นดอกยาว 0.8-2 ม. ฐานดอกยาว 4-9 ซม. วงใบประดบั
สชี มพู หรอื ขาว เรียงซ้อนเหล่อื มทีโ่ คน รปู รี วงนอกยาว 5.5-10 ซม. วงในยาว
4-7.5 ซม. ใบประดบั ยอ่ ยยาว 2-2.5 ซม. แฉกลึกด้านเดียว หลอดกลบี เลย้ี งยาว

54

สารานุกรมพชื ในประเทศไทย ก�ำเบอ้

3-4 ซม. หลอดกลบี ดอกสชี มพู แดง หรือสขี าวอมเหลอื งในใบประดับสขี าว กาหลา: วงใบประดับสีชมพู หรอื ขาว เรียงซ้อนเหลื่อมท่โี คน ช่อผลรปู รกี วา้ งเกือบกลม (ภาพ: cultivated - RP)
กลีบปากสแี ดงเข้ม ขอบสีเหลอื ง ยาวประมาณ 2 ซม. ช่อผลรปู รีกวา้ งเกือบกลม
หรือเรียวแคบ ยาวได้ถึง 20 ซม. ผลยอ่ ยรูปไข่กว้าง ยาวประมาณ 2.5 ซม. ผวิ เรียบ กาหลาขีแ้ มว: ใบประดับวงนอกเรยี งซอ้ นเหล่อื มแนน่ รปู ถว้ ย ด้านนอกมขี นหนาแนน่ (ภาพ: ยะลา - RP)
มีขนละเอยี ด
กาหลาถว้ ย: ใบประดบั สชี มพอู มมว่ งหรอื มีป้ืนขาวแซม วงนอกปลายพับงอกลับ ผลยอ่ ยปลายเรียว (ภาพ:
พบทค่ี าบสมทุ รมลายู ชวาสมุ าตรา และภาคใตต้ อนลา่ งของไทย ขน้ึ ตามปา่ ดบิ ชน้ื cultivated - JM)
ความสูงระดบั ตำ่� ๆ เป็นไม้ประดับท่ัวไปในเขตร้อน
ก�ำ เบอ้ , สกลุ
กาหลาขี้แมว
Gagnepainia K. Schum.
Etlingera maingayi (Baker) R. M. Sm. วงศ์ Zingiberaceae

ชื่อพ้อง Amomum maingayi Baker ไมล้ ม้ ลกุ เหงา้ สน้ั รากมหี วั ใตด้ นิ ใบเรยี งสลบั ระนาบเดยี ว กาบเรยี งซอ้ นเหลอ่ื ม
มีขนสั้นนุ่ม มีล้นิ กาบ ชอ่ ดอกออกจากเหงา้ แบบชอ่ เชงิ ลด ไม่มใี บประดับและ
ไม้ล้มลกุ สงู 3-4 ม. เหงา้ ทอดนอนมรี ากคำ�้ ยัน ใบมขี า้ งละประมาณ 17 ใบ ใบประดับย่อย ดอกออกเด่ียว ๆ บนแกนช่อ กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นหลอด
รูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาวไดถ้ งึ 65 ซม. แผน่ ใบมักมปี ืน้ สนี ้�ำตาลอมชมพู แฉกลึกดา้ นเดียว ปลายแยก 3 แฉกต้นื ๆ ตดิ ทน กลบี ดอกเชอ่ื มตดิ กนั เปน็ หลอด
กา้ นใบสน้ั ฐานดอกสงู 1.5-2 ซม. ชอ่ วงใบประดบั สงู 2-3 ซม. เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง ยาวกว่าหลอดกลีบเล้ียง มี 3 กลีบ กลีบรูปขอบขนานแกมรูปไข่ พับงอกลับ
ประมาณ 4 ซม. ก้านชอ่ ดอกยาวไดถ้ งึ 1 ม. ใบประดับวงนอกเรียงซอ้ นเหลื่อม แผน่ เกสรเพศผทู้ เ่ี ปน็ หมนั ดา้ นขา้ งรปู ไขก่ ลบั เกอื บกลม กลบี ปากปลายแยก 3 แฉก
รูปถว้ ย ยาว 3-4 ซม. ดา้ นนอกมขี นหนาแน่น วงในแคบกวา่ สนี �้ำตาลแดง ยาว กลีบกลางเรยี วยาว ปลายกลบี เวา้ ต้ืน โคนมตี อ่ ม 2 ตอ่ มรปู เสน้ ด้าย ตดิ กา้ น
3-3.5 ซม. ใบประดบั ยอ่ ยยาวประมาณ 2 ซม. หลอดกลบี เลย้ี งยาว 2.5-3 ซม. เกสรเพศเมยี กา้ นเกสรเพศผู้ 1 อัน ยาวกวา่ กลบี ปาก โค้งงอ อบั เรณรู ปู แถบ
หลอดกลบี ดอกยาวประมาณ 1.5 ซม. กลบี ปากตง้ั ตรง บานออก ยาว 1.5-2 ซม. กางออก ยอดสนั ส้ัน ไม่มรี ยางคด์ ้านขา้ ง รังไขม่ ีขนสน้ั นมุ่ ผลแห้งแตก มขี นส้ันนุ่ม
สีชมพู ชว่ งโคนมีปน้ื สีแดงขอบสขี าว ชอ่ ผลกลม เส้นผ่านศนู ย์กลาง 5-7 ซม. ปลายมีกลบี เลย้ี งตดิ ทน เมล็ดกลม มีเยอื่ หุ้มสขี าว
ผลยอ่ ยรปู ไข่ สีแดงสด เกล้ียง ยาวประมาณ 2.5 ซม.
สกุล Gagnepainia มี 2 ชนดิ พบในภมู ภิ าคอินโดจีนและพมา่ ชือ่ วิทยาศาสตร์
พบทค่ี าบสมทุ รมลายู และภาคใตต้ อนลา่ งของไทย ขน้ึ ตามปา่ ดบิ ชนื้ ความสงู มักสับสนกัน ชื่อท่ถี ูกต้องคือ G. godefroyi (Baill.) K. Schum. ดอกสีขาว
ระดบั ตำ่� ๆ และ G. harmandii (Baill.) K. Schum. ดอกสเี ขยี ว ส่วน G. thoreliana (Baill.) K.
Schum. เป็นช่ือพ้องของชนิดทีส่ อง (Jana Leong-Skornickova, pers. comm.)
กาหลาถ้วย ชือ่ สกลุ ต้งั ตามนกั พฤกษศาสตร์ชาวฝรั่งเศส Francois Gagnepain (1866-1952)

Etlingera venusta (Ridl.) R. M. Sm.

ชอื่ พอ้ ง Hornstedtia venusta Ridl.

ไม้ลม้ ลุก สูง 2.5-4 ม. ใบมีข้างละประมาณ 10 ใบ รูปขอบขนาน ยาว 15-80 ซม.
แผน่ ใบเกล้ยี ง กา้ นใบส้นั มาก ฐานดอกสูง 2-3 ซม. ชอ่ วงใบประดบั สูง 8-9 ซม.
เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง 7-7.5 ซม. กา้ นชอ่ ดอกยาว 60-80 ซม. ใบประดบั สชี มพอู มมว่ ง
หรอื มปี น้ื ขาวแซม เรยี งซอ้ นเหลอ่ื มแนน่ รปู ถว้ ย รปู รหี รอื รปู ขอบขนาน วงนอก
ยาว 7.5-12 ซม. ปลายพบั งอกลับ วงในแคบกวา่ ยาว 2-8 ซม. ใบประดับยอ่ ย
ยาวประมาณ 3 ซม. หลอดกลีบเลีย้ งยาวประมาณ 4 ซม. หลอดกลบี ดอกรปู แถบ
ยาว 1-1.2 ซม. กลบี ปากตง้ั ตรง ยาว 2-2.2 ซม. สขี าว โคนมีปื้นสีแดง ช่อผลกลม
กว้าง เสน้ ผ่านศูนย์กลาง 13-15 ซม. ผลยอ่ ยรูปไข่ ปลายเรยี ว สีแดง เกลี้ยง ยาว
ประมาณ 5 ซม.

พบทคี่ าบสมทุ รมลายู และภาคใตต้ อนลา่ งของไทย ขนึ้ ตามปา่ ดบิ ชน้ื ความสงู
ระดับตำ่� ๆ คล้ายกบั กาหลอ แต่ก้านใบสั้นมาก และผลไม่มีใบประดับติดทน

เอกสารอา้ งอิง
Khaw, S.H. (2001). The genus Etlingera (Zingiberaceae) in Peninsular Malaysia
including a new species. Gardens’ Bulletin Singapore 53(1-2): 191-239.
Mood, J. and H. Ibrahim. (2000). A new species of Etlingera (Zingiberaceae)
from peninsular Malaysia and southern Thailand. Nordic Journal of Botany
20(3): 279-283.
Wu, D. and K. Larsen. (2000). Zingiberaceae. In Flora of China Vol. 24: 356-357.

กาหลอ: ลำ� ต้นมีขนส้ันนุม่ ก้านชอ่ ดอกตง้ั ตรง วงใบประดบั เรียงซอ้ นเหลื่อมแนน่ รปู ถว้ ย สีแดง ปลายพบั งอ (ภาพ:
เบตง ยะลา - RP)

55

กำ� เบอ้ สารานุกรมพืชในประเทศไทย

ก�ำ เบอ้ กำ�แพงเจด็ ชั้น

Gagnepainia godefroyi (Baill.) K. Schum. Salacia chinensis L.
วงศ์ Celastraceae
ชอื่ พ้อง Hemiorchis godefroyi Baill.
ชื่อพอ้ ง Salacia latifolia Wall.
ไมล้ ้มลกุ ใบรปู ขอบขนาน รปู ใบหอก หรอื แกมรูปไขก่ ลับ ยาว 20-35 ซม.
ปลายแหลม มีตง่ิ แผ่นใบเกลีย้ ง กา้ นใบยาวได้ถงึ 10 ซม. ชอ่ ดอกยาว 30-40 ซม. ไมเ้ ถาเนอ้ื แขง็ หรอื ไมพ้ มุ่ รอเลอ้ื ย สงู ไดถ้ งึ 4 ม. ใบเรยี งตรงขา้ มหรอื เกอื บตรงขา้ ม
มขี นสน้ั นมุ่ ดอกสขี าวหรอื อมมว่ ง กลบี เลย้ี งยาวประมาณ 1.5 ซม. หลอดกลบี ดอก รปู รี รปู ไข่ หรอื รปู ไข่กลับ ยาว 4-17 ซม. ขอบใบเรยี บหรอื จกั มน ก้านใบยาว
ยาว 1.8-2 ซม. กลบี หลงั ยาวประมาณ 1 ซม. กลบี คูข่ ้างสน้ั กว่าเล็กน้อย แผน่ 1-1.5 ซม. ช่อดอกแบบชอ่ กระจุกหรือแยกแขนงสัน้ ๆ มี 3-6 ดอกในแตล่ ะชอ่
เกสรเพศผทู้ เี่ ปน็ หมนั ยาวเทา่ ๆ กลบี ขา้ ง ขอบมสี เี หลอื งแตม้ กลบี ปากกลบี กลาง กา้ นดอกยาว 0.5-1 ซม. กลบี เลยี้ ง 5 กลบี รปู สามเหลย่ี มปลายมนกลม ยาวประมาณ
ยาวประมาณ 4 มม. กลบี ดา้ นขา้ งรปู ไขก่ ว้าง ยาวประมาณ 3 มม. มรี ยางคส์ ้ัน ๆ 1 มม. ขอบจักชายครุย ดอกสีเขยี วอมเหลอื ง มี 5 กลบี รูปรหี รอื รปู ไข่กวา้ ง ยาว
4 อัน อับเรณูยาวประมาณ 4 มม. ผลรปู ไข่ ยาว 2-3 ซม. 3-4 มม. ปลายกลม จานฐานดอกรปู เบาะหนา เส้นผา่ นศูนยก์ ลาง 1.5-2 มม.
ขอบมปี ่มุ เล็ก ๆ เกสรเพศผู้ 3 อัน ติดบนขอบจานฐานดอก ก้านชูอบั เรณูสน้ั
พบในภมู ภิ าคอนิ โดจนี และพมา่ ในไทยพบทางภาคเหนอื ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื อบั เรณูเปิดตามขวาง รังไข่มี 3 ช่อง จมอยใู่ นจานฐานดอก กา้ นเกสรเพศเมียส้นั
และภาคตะวนั ตกเฉยี งใต้ ขนึ้ ตามปา่ เบญจพรรณทเ่ี ปน็ หนิ ปนู ความสงู ถงึ ประมาณ ผลสดรปู กลม ๆ เสน้ ผ่านศูนยก์ ลาง 1-2 ซม. สุกสีแดง มีเมล็ดเดียว
500 เมตร
พบทอี่ นิ เดยี ศรลี งั กา จนี พมา่ ภมู ภิ าคอนิ โดจนี และภมู ภิ าคมาเลเซยี ฟลิ ปิ ปนิ ส์
ก�ำ เบอ้ ออสเตรเลีย และหมเู่ กาะแปซิฟกิ ข้ึนหลากหลายสภาพปา่ โดยเฉพาะป่าโปรง่ ที่
แห้งแลง้ ความสงู ถงึ ประมาณ 1550 เมตร รากและเนอื้ ไม้มีสรรพคุณฟอกโลหิต
Gagnepainia harmandii (Baill.) K. Schum. แกป้ วดตามข้อ แกป้ ระดง แก้พิษโลหิต ท�ำใหส้ ดชืน่

ช่อื พอ้ ง Hemiorchis thoreliana Baill., Gagnepainia thoreliana (Baill.) K. Schum. สกุล Salacia L. มี 150-200 ชนิด พบในเขตรอ้ น ในไทยมี 11 ชนดิ ช่ือสกลุ ต้งั
ตามเทพเจา้ น�ำ้ ใตด้ นิ หรอื น้ำ�พขุ องชาวโรมนั Salacia หลายชนิดมีสรรพคณุ ดา้ น
ไม้ล้มลุก ใบรปู ขอบขนานยาว 10-30 ซม. ก้านยาวได้ถงึ 13 ซม. แผน่ ใบมขี น สมุนไพร
สน้ั นมุ่ ทงั้ สองด้าน ด้านบนมเี สน้ สขี าวแซม ชอ่ ดอกยาว 15-40 ซม. มีขนสั้นนุ่ม
ดอกสเี ขยี ว กลีบเลย้ี งยาว 1-1.8 ซม. หลอดกลบี ดอกยาว 1.5-2 ซม. กลีบดอก เอกสารอ้างอิง
ยาวเทา่ ๆ กนั ยาว 6-9 มม. หรอื กลบี ข้างส้นั กว่าเล็กน้อย แผ่นเกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน Hou, D., I.A. Savinov and P.C. van Welzen. (2010). Celastraceae. In Flora of
ยาวเทา่ ๆ กลีบดอก กลีบปากกลีบกลางคล้ายรูปกระบอง ยาว 2-3 มม. กลีบด้านขา้ ง Thailand Vol. 10(2): 189-190.
กว้างและยาวกวา่ เลก็ น้อย มีรยางค์ 2 อัน อับเรณยู าวประมาณ 4 มม. ผลรปู ไข่ Peng, H. and M. Funston. (2008). Celastraceae (Salacia). In Flora of China Vol.
ยาว 2-3.5 ซม. 11: 487-489.

พบในภมู ภิ าคอนิ โดจนี ในไทยพบกระจายหา่ ง ๆ ทางภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื
ภาคตะวนั ออก ภาคกลาง และภาคตะวนั ออกเฉยี งใต้ ขน้ึ ตามปา่ ดบิ แลง้ ผสมเตง็ รงั
และปา่ เบญจพรรณ ความสงู ถงึ ประมาณ 700 เมตร

เอกสารอ้างองิ
Picheansoonthon, C. and S. Tiyaworanant. (2010). The genus Gagnepainia
K. Schum. (Zingiberaceae) in Thailand. Journal of the Royal Institute of
Thailand 2: 91-99.

ก�ำเบ้อ: G. godefroyi แผ่นใบเกลีย้ ง ช่อดอกออกจากเหงา้ แบบชอ่ เชิงลด ดอกออกเดย่ี ว ๆ บนแกนชอ่ สีขาวหรอื กำ� แพงเจ็ดชน้ั : ไม้เถาเนื้อแข็ง เนื้อไม้เป็นชน้ั ๆ ใบเรยี งตรงข้าม ชอ่ ดอกแบบช่อกระจกุ หรอื แยกแขนงสั้น ๆ
อมม่วง ก้านเกสรเพศผู้ 1 อนั ยาวกวา่ กลบี ปาก โคง้ งอ (ภาพ: อ้มุ ผาง ตาก - JM) ดอกสีเขยี วอมเหลอื ง จานฐานดอกรูปเบาะหนา เกสรเพศผู้ 3 อัน ตดิ บนขอบจานฐานดอก ผลสกุ สีแดง (ภาพดอกและผล:
ภเู วยี ง ขอนแกน่ - PT; ภาพเนอื้ ไม้: กรุงเทพฯ - RP)
ก�ำเบ้อ: G. harmandii แผน่ ใบมขี นสน้ั นมุ่ ทงั้ สองดา้ น ดา้ นบนมเี สน้ สขี าวแซม ดอกสเี ขียว ผลมีขนสั้นนมุ่ กลีบเลีย้ ง
ติดทน (ภาพ: จันทบุรี - JM) ก�ำ ยานเครือ, สกลุ

Byttneria Loefl.
วงศ์ Malvaceae

ไม้เถาหรือไม้พุ่มรอเล้อื ย หใู บขนาดเล็ก รว่ งเร็ว ใบเรียงเวียน เรียบ หรือจักเปน็ พู
เสน้ แขนงใบย่อยแบบขน้ั บนั ได ช่อดอกแบบชอ่ กระจุกแยกแขนง ไม่มีรว้ิ ประดบั
กลีบเลี้ยง 5 กลีบ แฉกลึก กลบี ดอก 5 กลีบ แยกจรดโคน รูปคุ่ม กา้ นกลีบโคง้ งอ
เส้าเกสรเป็นหลอดบาง ๆ เกสรเพศผ้ทู ส่ี มบูรณม์ ี 5 อนั ติดตรงขา้ มกลีบดอก
เกสรเพศผทู้ ่ีเป็นหมัน 5 อนั เป็นแผน่ บาง ๆ ตดิ ตรงข้ามกลบี เลี้ยง อับเรณูหันออก
รงั ไข่มี 5 ช่อง แต่ละชอ่ งมีออวุล 2 เมด็ ก้านเกสรเพศเมียเชอื่ มติดกนั ปลายแยกเป็น
5 แฉก บางครัง้ ไม่ชดั เจน ผลแหง้ แตกตามรอยประสานเปน็ 5 ส่วน มีขนยาว
หรอื ขนคลา้ ยหนาม แต่ละซกี มเี มล็ดเดียว

สกุล Byttneria เคยอยภู่ ายใต้วงศ์ Sterculiaceae หรอื Byttneriaceae ปจั จบุ นั
อยภู่ ายใต้วงศ์ย่อย Byttnerioideae มี 135 ชนดิ พบในอเมรกิ าใต้ แอฟริกา
มาดากสั การ์ และเอเชยี เขตร้อน ในไทยมี 4 ชนดิ

56

สารานุกรมพชื ในประเทศไทย กำ� ลงั เสือโคร่ง

กำ�ยานเครอื ก�ำลงั ช้างสาร: ชอ่ ดอกแบบชอ่ กระจกุ ดอกขนาดใหญร่ ูปกรวยกวา้ ง กลบี ดอกเรยี งซอ้ นทับด้านขวาในตาดอก
กลีบเลี้ยงคลา้ ยใบประดบั ผลแตกแนวเดยี ว รปู ขอบขนาน ขนาดใหญ่ (ภาพ: พบพระ ตาก - RP)
Byttneria pilosa Roxb.
ไมเ้ ถา มขี นรปู ดาวและขนยาวกระจายตามกงิ่ ใบ กา้ นใบ ชอ่ ดอก และดอก กำ�ลังววั เถลงิ

ใบรปู หวั ใจ ยาว 7-16 ซม. จกั 5-7 พู พกู ลางปลายยาวคลา้ ยหาง ขอบจกั ฟนั เลอื่ ย Anaxagorea luzonensis A. Gray
เส้นโคนใบข้างละ 2-3 เสน้ ก้านใบยาว 2-15 ซม. ช่อดอกยาวไดถ้ งึ 20 ซม. ก้านดอก วงศ์ Annonaceae
ยาวประมาณ 2.5 มม. กลบี เลี้ยงยาวประมาณ 3 มม. กลบี ดอกยาว 4-5 มม. เสา้ เกสร
รปู ถว้ ย รงั ไขม่ ตี อ่ มกระจาย กา้ นเกสรเพศเมยี รปู ลมิ่ แคบ ผลกลม เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง ไม้พมุ่ สูง 0.5-2 ม. เกลี้ยง ใบรูปรหี รือรูปขอบขนาน ยาว 10-16 ซม. โคนกลม
2-2.5 ซม. รวมขนยาว ปลายขนสว่ นมากเปน็ ตะขอ ก้านผลยาว 1-2 ซม เมล็ดรูปรี เส้นแขนงใบข้างละ 6-9 เสน้ กา้ นใบยาว 0.6-2 ซม. ดอกออกเดี่ยวหรอื เปน็ กระจกุ
ผิวมี 3 สนั ต้นื ๆ 2-3 ดอก ตามซอกใบ ตรงขา้ มใบ หรอื ตามลำ� ตน้ กา้ นดอกยาว 0.6-1 ซม. ใบประดบั
1 คู่ กลบี เลยี้ ง 3 กลบี รปู ไขก่ วา้ ง ยาวประมาณ 5 มม. ดอกสเี ขยี วอมขาว กลบี วงนอก
พบที่พม่า จนี ตอนใต้ อินเดยี ลาว เวยี ดนาม และคาบสมุทรมลายู ในไทยพบ 3 กลบี รปู ขอบขนาน ยาวประมาณ 1.5 ซม. กลบี วงใน 3 กลบี รปู ใบหอก ยาว
ทุกภาค ขนึ้ กระจายตามชายป่า ความสูงถึงประมาณ 500 เมตร 0.6-1 ซม. มีก้านกลบี สั้น ๆ เกสรเพศผยู้ าวประมาณ 3 มม. มี 5-7 คาร์เพล มี 3-6
ผลยอ่ ยแห้งแล้วแตก รูปกระบอง ยาว 1.5-3 ซม. กา้ นผลยาว 1.5-2 ซม. มี 2 เมลด็
เอกสารอ้างองิ รปู ไขก่ ลบั ยาวประมาณ 1 ซม. สนี ำ�้ ตาลดำ� เปน็ มนั วาว (ดขู อ้ มลู เพม่ิ เตมิ ที่ จำ� ปนู , สกลุ )
Phengklai, C. (2001). Sterculiaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(3): 544-550.
Tang, Y., M.G. Gilbert and L.J. Dorr. (2007). Sterculiaceae. In Flora of China พบทศ่ี รลี งั กา อนิ เดยี ไหห่ นาน พมา่ ลาว เวยี ดนาม คาบสมทุ รมลายู บอรเ์ นยี ว
Vol. 12: 322-323. ชวา สมุ าตรา และฟลิ ปิ ปนิ ส์ ในไทยพบทางภาคเหนอื ตอนลา่ งจนถงึ ภาคใต้ ขนึ้ ตาม
ปา่ ดิบแลง้ และปา่ ดบิ ชื้น ความสงู 100-700 เมตร เป็นไม้ประดับในรม่
กำ� ยานเครือ: มีขนรูปดาวและขนยาวกระจาย ใบรูปหัวใจ จกั 5-7 พู ผลมขี นยาว ปลายขนเป็นตะขอ (ภาพ:
ทองผาภูมิ กาญจนบรุ ี - RP) เอกสารอ้างอิง
Li, B. and M.G. Gilbert. (2011). Annonaceae (Anaxagorea). In Flora of China
ก�ำ ลังชา้ งสาร Vol. 19: 673.

Beaumontia murtonii Craib กำ� ลงั ววั เถลิง: ดอกออกเดยี่ วหรือเปน็ กระจุก 2-3 ดอก กลีบดอกวงนอก 3 กลบี วงใน 3 กลีบ เกสรเพศผู้จ�ำนวนมาก
วงศ์ Apocynaceae ผลรปู กระบอง (ภาพซา้ ย: cultivated, ภาพขวา: นำ้� ตกสีข่ ีด นครศรธี รรมราช; - RP)

ไมเ้ ถา ล�ำต้นมีชอ่ งอากาศ กิง่ มีขนสั้นนมุ่ ใบเรยี งตรงข้าม มีตอ่ มยาวตามซอกใบ ก�ำ ลงั เสอื โครง่
ใบรปู รหี รอื รปู ไขก่ ลบั ยาว 9-30 ซม. กา้ นใบยาว 1-2.5 ซม. ชอ่ ดอกแบบชอ่ กระจกุ
ยาวได้ถึง 20 ซม. มี 3-15 ดอก ใบประดับขนาดใหญ่ รว่ งเร็ว กลีบเลยี้ งคล้าย Betula alnoides Buch.-Ham. ex D. Don
ใบประดบั 5 กลีบ รปู ไข่ ยาว 2.5-4 ซม. ดอกสีขาว กลีบดอกเรยี งซ้อนทับด้าน วงศ์ Betulaceae
ขวาในตาดอก ดอกบานรูปกรวยกวา้ ง หลอดกลบี ยาว 4-6 ซม. ปลายแยกเป็น
5 กลบี ยาว 1.8-5.6 ซม. เกสรเพศผู้ 5 อนั ติดใตก้ ง่ึ กลางหลอดกลีบ ก้านชูอับเรณู ไมต้ น้ สงู ไดถ้ ึง 30 ม. แยกเพศรว่ มตน้ เปลอื กลอกเป็นแผน่ บาง ๆ ตายอด
ยาว 1.5-3.5 ซม. ยนื่ พน้ ปากหลอดกลบี อบั เรณแู นบตดิ กบั เกสรเพศเมยี อบั เรณู มเี กลด็ เรยี งซอ้ นเหลอ่ื มหนาแนน่ มตี อ่ มชนั และขนยาวหนาแนน่ ตามกง่ิ แผน่ ใบ
ยาว 1-1.4 ซม. โคนเป็นเงย่ี ง จานฐานดอกจัก 5 พู มี 2 คาร์เพล เชือ่ มตดิ กนั ด้านล่าง กา้ นใบ และก้านช่อดอก ใบเรยี งเวียน รปู ไข่ หรือแกมรูปขอบขนาน
เรยี วยาวเปน็ กา้ นเกสรเพศเมยี มขี นหนาแนน่ ออวลุ จำ� นวนมาก กา้ นเกสรเพศเมยี ยาว 4-14 ซม. ปลายแหลมยาวหรือยาวคล้ายหาง ขอบจกั ฟนั เลอ่ื ย กา้ นใบยาว
ยาวประมาณ 3.6 ซม. รวมยอดเกสรเพศเมีย ผลแตกแนวเดียว รูปขอบขนาน 1.5-4 ซม. ชอ่ ดอกแบบชอ่ เชงิ ลด หอ้ ยลง รปู ทรงกระบอก ใบประดบั เรยี งซอ้ นเหลอื่ ม
ยาวได้ถงึ 20 ซม. ผวิ มีชอ่ งอากาศ เมลด็ จำ� นวนมาก เรียว ยาว 1-2 ซม. ปลายมี ปลายจกั 3 พู แต่ละใบประดบั มี 3 ดอก ใบประดับยอ่ ย 1 คู่ ไม่มกี ลีบดอก
กระจุกขน ยาว 3-8 ซม.

พบที่จีนตอนใต้ ภูมิภาคอินโดจีน และคาบสมุทรมลายู ในไทยพบกระจาย
ห่าง ๆ ทางภาคเหนือตอนล่าง ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออกเฉยี งใต้
และภาคตะวนั ตกเฉยี งใต้ ขนึ้ ตามปา่ เบญจพรรณ และปา่ ดบิ แลง้ โดยเฉพาะรมิ ลำ� ธาร
ความสูงระดบั ตำ�่ ๆ ยางมพี ษิ ใชอ้ าบหัวลกู ศร

สกุล Beaumontia Wall. มี 10 ชนิด พบในเอเชียเขตร้อน ในไทยมพี ืชพ้นื เมอื ง
3 ชนดิ เป็นไมป้ ระดับ 1 ชนดิ คอื หิรัญญิการ์ B. multiflora Teijsm. & Binn. มี
ถนิ่ ก�ำ เนดิ ในอนิ โดนีเซีย และมาเลเซีย กลีบเล้ียงขนาดเลก็ กว่า ก้านชูอับเรณู
ส้ัน ชื่อสกุลต้ังตาม Lady Diane Beaumont (1786-1854) ผูส้ ง่ ตวั อย่างพรรณไม้
ให้กบั Nathaniel Wallich นกั พฤกษศาสตรช์ าวดัตช์ ท่ีสวนพฤกษศาสตร์กัลกตั ตา
ในอนิ เดีย
เอกสารอา้ งอิง
Middleton, D.J. (1999). Apocynaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(1): 103-104.

57

กบี ม้าลม สารานุกรมพืชในประเทศไทย

กลบี เล้ยี ง 4 กลีบ คล้ายเกล็ดรูปแถบ ชอ่ ดอกเพศผู้ออกเดี่ยว ๆ ออกกอ่ นผลใิ บ พบทอี่ นิ เดยี บงั กลาเทศ จนี ตอนใต้ พมา่ ลาว กมั พชู า ภมู ภิ าคมาเลเซยี นวิ กนิ ี
ยาวได้ถึง 20 ซม. เกสรเพศผู้ 2 อนั อับเรณูเช่ือมติดกนั ช่อดอกเพศเมียมี 2-5 ช่อ ฟิลิปปินส์ ในไทยพบมากทางภาคใต้ ข้ึนตามต้นไม้ในป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น
เรยี งแบบชอ่ กระจะสน้ั ๆ ทีโ่ คน ยาว 5-10 ซม. ใบประดับยาวประมาณ 3 มม. ความสงู ระดบั ตำ�่ ๆ และชายปา่ พรุ มสี รรพคณุ แกอ้ าการคนั พษิ งู ตะขาบ และแมงปอ่ ง
มขี นสน้ั นมุ่ โคนคลา้ ยฟองนำ้� พกู ลางรปู ขอบขนาน พขู า้ งรปู เปน็ ตงิ่ รงั ไขใ่ ตว้ งกลบี
มี 2 ช่อง ออวลุ 2 เม็ด กา้ นเกสรเพศเมยี 2 อนั ติดทน ผลแห้งเมลด็ ล่อน แบน เอกสารอา้ งองิ
รปู ไขก่ ลับ ยาว 1.5-2 มม. มปี ีกบาง ๆ สว่ นมากมเี มลด็ เดยี ว Lin, Y., Z. Xianchun and P.H. Hovenkamp. (2013). Polypodiaceae (Pyrrosia). In
Flora of China Vol. 2-3: 786, 795.
พบทอ่ี นิ เดีย ภฏู าน เนปาล พม่า จีน ลาว และเวียดนาม ในไทยพบกระจาย Lindsay, S. and D.J. Middleton. (2012 onwards). Ferns of Thailand, Laos and
ทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ทีเ่ ลย เพชรบรู ณ์ ภาคตะวนั ตกเฉียงใต้ Cambodia. http://rbg-web2.rbge.org.uk/thaiferns/
ทกี่ าญจนบรุ ี และทเ่ี ขาใหญ่ จงั หวดั นครราชสมี า ปราจนี บรุ ี และนครนายก ขนึ้ ตาม Tagawa, M. and K. Iwatsuki (1989). Polypodiaceae (Drymoglossum piloselloides).
ปา่ ดิบเขา ความสงู 1000-1600 เมตร เปลือกนอกบางใชท้ �ำกระดาษ เปลือกชน้ั ใน In Flora of Thailand Vol. 3 (4): 490.
นำ�้ มนั มีกล่ินหอม มีสรรพคุณคล้ายนำ้� มนั มวย หรอื ใชเ้ คลอื บหนัง
กบี ม้าลม: เฟนิ อิงอาศยั เหงา้ ทอดยาว แผน่ ใบหนา ใบไม่สรา้ งสปอรร์ ูปรา่ งหลายแบบ ใบสร้างสปอร์รูปแถบ กลมุ่
สกลุ Betula L. หรือ birch แยกเป็นหลายสกุลยอ่ ย มีประมาณ 60 ชนดิ สว่ นมาก อับสปอร์เรียงใกลข้ อบใบเปน็ แถวยาว (ภาพ: โตะ๊ แดง นราธิวาส - PC)
เป็นพืชในเขตอบอุ่น พบทางซีกโลกเหนอื ทั้งอเมรกิ าและยุโรป และเอเชยี พบน้อย
ในอเมริกาใต้ ในไทยอาจมมี ากกว่าหน่งึ ชนดิ ชอื่ สกลุ มาจากภาษาละติน “betula” กวี ปี ่า
ทใ่ี ชเ้ รยี กพชื พวก birch tree
เอกสารอา้ งอิง Actinidia rubricaulis Dunn
Li, P.C. and A.K. Skvortsov. (1999). Betulaceae. In Flora of China Vol. 4: 304, วงศ์ Actinidiaceae

306. ไมเ้ ถาเน้ือแขง็ กง่ิ เกล้ียง มชี ่องอากาศ ใบเรียงเวียน รปู รีถงึ รปู ใบหอก ยาว
6-16 ซม. ปลายแหลมหรือแหลมยาว ขอบจกั ฟันเลื่อย เส้นแขนงใบข้างละ 6-7 เส้น
ก�ำลังเสือโครง่ : เปลอื กลอกเปน็ แผน่ บาง ๆ มีต่อมชัน ชอ่ ดอกเพศเมยี มี 2 ชอ่ เรยี งแบบช่อกระจะส้ัน ๆ ชอ่ ดอก เสน้ ใบไม่ชดั เจน กา้ นใบยาว 1-3 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจกุ ออกสั้น ๆ ตามซอกใบ
ห้อยลง รูปทรงกระบอก ใบประดบั เรียงซ้อนเหล่ือมหนาแนน่ (ภาพ: ดอยผ้าห่มปก เชียงใหม่ - SSa) หรอื ตามก่งิ มดี อกเดียวหรอื 2-5 ดอก ใบประดับขนาดเลก็ กา้ นดอกยาวไดถ้ งึ
2.5 ซม. กลีบเล้ยี ง 5 กลบี รูปไข่ ยาว 4-5 มม. ติดทน ขอบมขี นครุย ดอกสีขาว
กบี มา้ ลม, สกลุ หรืิออมแดง มี 5 กลีบ รปู ไขห่ รือเกอื บกลมเรยี งซ้อนเหลอ่ื ม ยาว 0.7-1 ซม. เกสรเพศผู้
จำ� นวนมาก กา้ นชอู บั เรณยู าว 1-3.5 ซม. อบั เรณสู เี หลอื ง โคนรปู เงย่ี ง ไมม่ จี านฐานดอก
Pyrrosia Mirb. คารเ์ พลจ�ำนวนมากเชอ่ื มตดิ กนั มขี นสน้ั นมุ่ ออวลุ จ�ำนวนมาก กา้ นเกสรเพศเมยี
วงศ์ Polypodiaceae เทา่ จำ� นวนคารเ์ พล แผเ่ ปน็ รศั มกี ระจาย ยาวไดถ้ งึ 3 มม. ผลสดรปู ไขห่ รอื เกอื บกลม
ยาว 1.5-2 ซม. มชี ่องอากาศกระจาย ผนงั ชน้ั ในฉำ่� เมล็ดขนาดเลก็ จ�ำนวนมาก
เฟนิ องิ อาศยั หรอื ขน้ึ บนหนิ เหงา้ สน้ั หรอื ทอดนอน มเี กลด็ หนาแนน่ มขี นกระจกุ
รปู ดาวตามเหงา้ หรอื ใบออ่ น ใบไมส่ รา้ งสปอรแ์ ละใบสรา้ งสปอรค์ ลา้ ยกนั ตา่ งกนั พบทจี่ นี ตอนใต้ และภาคเหนอื ของไทยทแ่ี มฮ่ อ่ งสอน เชยี งใหม่ ขนึ้ ตามปา่ ดบิ เขา
เฉพาะความกวา้ ง สว่ นมากเรยี บ พบนอ้ ยทจี่ กั เปน็ พหู รอื รปู เงย่ี งลกู ศร เสน้ กลางใบ ความสูง 1600-1850 เมตร
ชดั เจน กลมุ่ อบั เรณรู ปู รหี รอื กลม เกดิ ตามปลายเสน้ แขนงใบ เรยี งหนงึ่ หรอื หลายแถว
ในแต่ละขา้ งของเส้นกลางใบ อับสปอร์มกี า้ นหรอื ไรก้ า้ น สกลุ Actinidia Lindl. มปี ระมาณ 55 ชนดิ พบในเอเชีย โดยเฉพาะจนี ทีม่ ีมากกวา่
50 ชนดิ ในไทยมพี ชื พืน้ เมอื ง 2 ชนิด อกี ชนิดคอื A. latifolia (Gardner & Champ.)
สกลุ Pyrrosia มปี ระมาณ 60 ชนิด พบในแอฟรกิ า มาดากัสการ์ เอเชยี เขตร้อน Merr. ดอกจำ�นวนมากกว่า และผลขนาดใหญ่กว่า สว่ นกวี ที ่เี ปน็ ไม้ผลทนี่ ยิ มปลกู
รวมจนี ตอนกลางและญ่ปี ุ่น จนถงึ นิวซีแลนด์ ในไทยมี 17 ชนดิ ชอื่ สกลุ มาจาก ทางภาคเหนือ ส่วนใหญเ่ ป็นชนิด A. deliciosa (A. Chev.) C. F. Liang & A. R.
ภาษากรกี “pyrros” สีเปลวไฟตามลักษณะของเกลด็ ทเี่ หง้า Ferguson ซึ่งถกู นำ�เข้าไปในนิวซแี ลนดจ์ นกลายเปน็ ผลไมท้ ี่ข้ึนช่อื และถกู เรียกว่า
Kiwi fruit ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “aktin” รศั มี ตามลักษณะการตดิ ของก้าน
กบี ม้าลม เกสรเพศเมีย
เอกสารอ้างองิ
Pyrrosia piloselloides (L.) M. G. Price Keng, H. (1972). Actinidiaceae. In Flora of Thailand Vol. 2(2): 139-140.
Li, J., X. Li and D.D. Soejarto. (2007). Actinidiaceae. In Flora of China Vol. 12:
ชื่อพ้อง Pteris piloselloides L., Drymoglossum piloselloides (L.) C. Presl
334, 341.
เฟนิ องิ อาศยั มขี นกระจกุ รปู ดาวสนี ำ�้ ตาลแดงหนาแนน่ ตามเหงา้ และใบออ่ น
ทั้งสองดา้ น เหง้าทอดยาว เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางประมาณ 1 มม. เกลด็ สนี �้ำตาลเข้ม กีวีปา่ : กงิ่ เกลี้ยง มีช่องอากาศ ใบเรยี งเวียน ปลายแหลมหรอื แหลมยาว ขอบจักฟันเลื่อย ผลมชี ่องอากาศ กลบี เลย้ี งติดทน
รูปโล่หรือรูปสามเหล่ียม ยาวประมาณ 1 มม. ขอบจัก ขอบช่วงโคนมีขนครุย (ภาพ: ดอยเชียงดาว เชยี งใหม่ - SSi)
แผน่ ใบหนา เรียงห่าง ๆ ใบไมส่ ร้างสปอร์รูปกลม รปู รี รปู ไข่ หรอื รูปใบหอก ยาว
1-7 ซม. ปลายมน แผ่นหนา เสน้ แขนงใบไม่ชดั เจน กา้ นใบยาว 2-8 มม. ใบสรา้ ง
สปอรร์ ูปขอบขนานถึงรูปแถบ ยาว 3-25 ซม. ปลายแหลม มน หรอื กลม ก้านใบ
ยาว 5-10 มม. กลุ่มอบั สปอรเ์ รียงใกล้ขอบใบเป็นแถวยาว กวา้ งประมาณ 2 มม.

58

สารานกุ รมพชื ในประเทศไทย กุหลาบพนั ปี

กุ๊ก ก้านใบยาว 0.2-0.6 ซม. ช่อดอกมี 2-6 ดอก กา้ นดอกยาวประมาณ 8 มม. กลีบเลี้ยง
แฉกลกึ รปู สามเหลีย่ ม ยาว 3-7 ซม. ขอบมขี นครุย ดอกรปู ระฆัง สีแดงอมชมพู
Lannea coromandelica (Houtt.) Merr. หรอื แดงเข้ม มีจุดสเี ข้มกระจาย ยาว 3.5-6 ซม. กลีบรูปไข่กลบั เกสรเพศผู้ 10 อนั
วงศ์ Anacardiaceae ยาวไม่เทา่ กนั โคนมีขน ก้านเกสรเพศเมียยาวกว่าเกสรเพศผู้ ผลรปู ไข่ ยาว 0.5-1 ซม.

ชื่อพ้อง Dialium coromandelinum Houtt. พบทจี่ นี ไตห้ วนั ญปี่ นุ่ พมา่ และลาว ในไทยพบทางภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื
ทภ่ี เู รอื ภหู ลวง และภกู ระดงึ จงั หวดั เลย ขน้ึ ตามชายปา่ หรอื รมิ ลำ� ธารในปา่ ดบิ เขา
ไมต้ ้น สงู ได้ถึง 15 ม. แยกเพศตา่ งตน้ กง่ิ แกม่ ีช่องอากาศ มีขนรูปดาวและ และป่าสน ความสูง 1000-1300 เมตร แยกเปน็ var. mesembrinum Rehder
ขนสน้ั นมุ่ ตามกงิ่ ออ่ น และแผน่ ใบดา้ นลา่ ง ใบประกอบเรยี งเวยี น ยาว 10-30 ซม. ดอกสีขาวหรือชมพู พบท่ีจีนตอนใต้ และพมา่ ตอนบน
ใบยอ่ ยมี 3-7 คู่ รปู ไขห่ รือแกมรปู ขอบขนาน ยาว 2.5-10 ซม. ปลายแหลมยาว
โคนเบย้ี ว ก้านใบย่อยยาว 1-5 มม. ใบปลายยาวไดถ้ งึ 2 ซม. ช่อดอกคลา้ ยชอ่ กหุ ลาบปา่
เชงิ ลดแยกแขนง ออกทป่ี ลายกง่ิ กอ่ นผลใิ บ ชอ่ ดอกเพศผยู้ าว 15-30 ซม. ชอ่ ดอก
เพศเมยี สน้ั กวา่ ใบประดบั ขนาดเลก็ ดอกสเี หลอื ง มกั มปี น้ื สมี ว่ งอมแดง กลบี เลยี้ ง Rhododendron moulmainense Hook.
และกลบี ดอกอยา่ งละ 4 กลบี เรยี งซ้อนเหลื่อม กลีบเล้ียงรปู ไข่ ยาว 1.5-2 มม. ไมพ้ มุ่ หรอื ไมต้ น้ สูงไดถ้ งึ 15 ม. ใบรูปรีถงึ รูปใบหอก ยาว 5-17 ซม. แผ่นใบ
ขอบมขี นครยุ กลบี ดอกรปู ขอบขนานแกมรปู ไข่ ยาว 2-2.5 มม. ปลายพบั งอกลบั
เกสรเพศผู้ 8 อนั อับเรณูตดิ ด้านหลงั จานฐานดอกเป็นวง รงั ไขเ่ กลย้ี ง มี 4 ช่อง เกล้ียง กา้ นใบยาว 1-1.5 ซม. ช่อดอกมี 1-5 ดอก ก้านดอกยาว 1-2 ซม. เกล้ยี ง
แตล่ ะชอ่ งมอี อวลุ 1 เมด็ กา้ นเกสรเพศเมยี 4 อนั ผลแบบผนงั ชนั้ ในแขง็ รปู ขอบขนาน กลบี เลยี้ งขนาดเลก็ จักต้นื ๆ ดอกรูปแตรแคบ ยาว 4-5.5 ซม. กลีบแฉกลึก สีขาว
ยาว 0.8-1 ซม. สกุ สีม่วงอมแดง เมลด็ ส่วนมากเจริญเพียงเมลด็ เดียว มีปนื้ สีเหลอื งด้านใน เกสรเพศผู้ 10 อัน ยาวเทา่ ๆ กนั ยาว 3.5-4 ซม. โคนก้านชู
อับเรณมู ขี นเป็นขยุ รังไข่เกลีย้ ง กา้ นเกสรเพศเมียยาวประมาณ 5 ซม. ผลเกลย้ี ง
พบทอ่ี นิ เดยี ศรลี งั กา พมา่ จนี ตอนใต้ ภมู ภิ าคอนิ โดจนี คาบสมทุ รมลายู และ รูปทรงกระบอก ปลายแหลมยาว ยาว 3.5-7 ซม.
ชวา ในไทยพบทกุ ภาค ขนึ้ ตามปา่ เตง็ รงั ปา่ เบญจพรรณ ปา่ ดบิ แลง้ และเขาหนิ ปนู
ความสงู ถึงประมาณ 1100 เมตร สว่ นตา่ ง ๆ ทำ� ให้ระคายเคือง มสี รรพคณุ ดา้ น พบท่ีอินเดีย จนี ไต้หวนั ญปี่ ่นุ พมา่ ภูมภิ าคอนิ โดจีน และคาบสมทุ รมลายู
สมุนไพรหลายอย่าง ในไทยพบทางภาคเหนือที่เชียงใหม่ น่าน ภาคตะวันออกท่ีเขาใหญ่ จังหวัด
ปราจนี บรุ ี และภาคใตท้ ่ีนครศรีธรรมราช ยะลา ขนึ้ ตามปา่ ดบิ แลง้ ท่ีชมุ่ ชืน้ และ
สกุล Lannea A. Rich. มปี ระมาณ 70 ชนดิ ส่วนใหญพ่ บในแอฟรกิ า ในไทยมี ป่าดบิ เขา ความสูง 700-1500 เมตร
เพียงชนิดเดยี ว ช่ือสกุลมาจากภาษาละตนิ “lana” ขนคลา้ ยขนแกะ ตามลกั ษณะของ
ก่ิงออ่ นหรอื รากในพชื บางชนดิ หรืออาจเป็นภาษาพื้นเมอื งในแอฟริกา กหุ ลาบพนั ปี, สกุล

เอกสารอา้ งองิ Rhododendron L.
Chayamarit, K. (2010). Anacardiaceae. In Flora of Thailand Vol. 10(3): 293-295. วงศ์ Ericaceae
Min, T. and A. Barfod. (2008). Anacardiaceae. In Flora of China Vol. 11: 342.
ไมพ้ มุ่ หรอื ไมต้ น้ บางครง้ั องิ อาศยั ใบเรยี งเวยี นหรอื เรยี งเปน็ กระจกุ ทปี่ ลายกงิ่
กุ๊ก: ใบประกอบปลายค่ี ปลายแหลมยาว โคนเบี้ยว ผลรปู ไข่แกมรปู ขอบขนาน สุกสีม่วงอมแดง (ภาพผลอ่อน: ขอบเรยี บ ชอ่ ดอกแบบชอ่ กระจะหรือชอ่ เชงิ หล่ันส้นั ออกสั้น ๆ ตามปลายก่ิง
เขาใหญ่ นครนายก - SSi; ผลแก่: อากาศอำ� นวย สกลนคร - PK) ใบประดบั ย่อยมหี นงึ่ คู่ รปู ไข่ กลีบเลีย้ ง 5-8 กลบี ติดทน ดอกรปู แตร รูประฆงั
หรอื เป็นหลอด มี 5–8 กลบี เรียงซ้อนเหลื่อมในตาดอก เกสรเพศผูส้ ่วนมากมี
กุหลาบขาว 5-10 อัน ยาวเทา่ ๆ กนั หรือไมเ่ ทา่ กนั ติดทโ่ี คนกลีบดอก อบั เรณมู ีรูเปดิ ด้านบน
จานฐานดอกหนา จกั เป็นพู ส่วนมากมี 5-10 พู รังไข่ส่วนมากมี 5 ชอ่ ง มักมขี น
Rhododendron ciliicalyx Franch. subsp. lyi (H. Lév.) R. C. Fang หรือเกล็ดรังแค ก้านเกสรเพศเมียติดทน ยอดเกสรเป็นตุ่มหรือรูปจาน จักมน
ผลแห้งแตกตามรอยประสาน เมล็ดขนาดเลก็ จ�ำนวนมาก รปู กระสวย มปี ีกบาง ๆ
ช่อื พ้อง Rhododendron ludwigianum Hosseus, R. lyi H. Lév. ปลายทั้งสองดา้ นมรี ยางค์ หรอื ขนรปู เสน้ ด้าย

ไมพ้ ุ่ม สูง 1-3 ม. ก่ิง ใบ และผลออ่ นมขี นยาวหนาแนน่ มเี กลด็ รังแคตามกิง่ สกลุ Rhododendron มขี นาดใหญ่ทีส่ ดุ ในวงศ์ Ericaceae แยกเป็นหลายสกุลยอ่ ย
แผน่ ใบดา้ นลา่ ง กา้ นดอก กลบี เลย้ี ง และผล ใบรปู ไขก่ ลบั หรอื รปู ขอบขนาน ยาว ตามลกั ษณะชอ่ ดอกออกตามปลายกิง่ หรอื ดา้ นข้าง มเี กลด็ หรอื ไม่มี การแตก
3-5 ซม. แผน่ ใบค่อนข้างหนา กา้ นใบยาว 2-7 มม. ชอ่ ดอก มี 2-5 ดอก ก้านดอก ของใบและการผลัดใบ มีประมาณ 1000 ชนิด พบในเอเชีย ยุโรป อเมริกาเหนอื
ยาว 3-7 มม. มีขน กลบี เล้ียงจักไม่ชดั เจน ขอบมขี นครุย ดอกรูปแตร สขี าวหรือ และออสเตรเลีย ในไทยมปี ระมาณ 10 ชนดิ ชือ่ สกุลมาจากภาษากรกี “rhodon”
อมชมพู ยาว 5-7 ซม. ปลายแฉกตืน้ ๆ ด้านนอกมีขนสนั้ นมุ่ เกสรเพศผู้ 10 อนั กุหลาบ และ “dendron” ต้นไม้ หมายถึงต้นไม้ท่ดี อกคล้ายกุหลาบ
ยาวเท่า ๆ กัน ประมาณหลอดกลบี ดอก ยืน่ พ้นปากหลอดกลีบดอกเลก็ นอ้ ย โคน
มขี นยาว อับเรณูยาวประมาณ 5 มม. รังไข่มเี กล็ดรังแค ก้านเกสรเพศเมยี ยาวกว่า กหุ ลาบพันปี
เกสรเพศผู้ ผลรปู ทรงกระบอก ยาว 0.5-1 ซม.
Rhododendron delavayi Franch.
พบที่อนิ เดยี จีนตอนใต้ พม่า ลาว และเวียดนาม ในไทยพบทางภาคเหนอื ท่ี
เชียงใหม่ น่าน พิษณโุ ลก และภาคตะวันออกเฉียงเหนือทีเ่ ลย ขึน้ ตามปา่ สนเขา ชอื่ พ้อง Rhododendron arboreum Sm. subsp. delavayi (Franch.) Chamb.
หรือที่โลง่ บนเขาหินปูน ความสูง 1600-2200 เมตร แยกเป็น subsp. ciliicalyx
พบที่จนี ตอนใต้ และเวียดนามตอนบน กา้ นเกสรเพศเมยี ยาวกว่ากลบี ดอก ไม้พ่มุ หรอื ไมต้ น้ อาจสูงไดถ้ งึ 30 ม. เปลือกแตกเป็นแผน่ มเี กลด็ ขุยและขน
สขี าวเทาอมนำ�้ ตาลเหลอื งหนาแนน่ ตามแผน่ ใบดา้ นลา่ ง กา้ นใบ กา้ นดอก และ
กหุ ลาบแดง รงั ไข่ ใบรูปขอบขนานหรอื รปู ใบหอก ยาว 7-15.5 ซม. กา้ นใบยาว 1-2 ซม. ช่อดอก
มี 10-20 ดอก กา้ นดอกยาว 0.5-1 ซม. กลีบเลี้ยงรปู สามเหล่ียม ยาว 1-2 มม.
Rhododendron simsii Planch. มตี อ่ มกระจาย ดอกรปู ระฆงั สแี ดง หลอดกลบี ดอกยาว 1.5-3 ซม. กลบี รปู รกี วา้ ง ยาว
ไมพ้ มุ่ สงู 1-5 ม. มขี นละเอยี ดหรอื ขนเอนสนี ำ้� ตาลแดงตามกงิ่ แผน่ ใบดา้ นลา่ ง 1-2 ซม. ปลายกลบี เวา้ ตนื้ มตี ่อมน�้ำต้อยเปน็ แถบหรือจุดกระจาย เกสรเพศผู้ 10 อนั
ยาวไม่เทา่ กนั ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 2.8 ซม. ผลรูปทรงกระบอก ยาว
กลบี เลยี้ ง รงั ไข่ และผล ใบรปู ไข่ รปู ไขก่ ลบั หรอื รปู ใบหอกกลบั ยาว 1.5-10 ซม. 1.5-3 ซม.

พบท่ีอนิ เดยี จนี ตอนใต้ และพม่า ในไทยพบทางภาคเหนอื เชียงใหม่ ขึ้นตาม
ป่าดบิ เขา ความสงู 2200-2500 เมตร แยกเป็น var. peramoenum (Balf. f. &
Forrest) T. L. Ming ใบเรียวแคบกวา่ เกลด็ ขยุ และขนไม่หนาแน่น พบทีอ่ ินเดีย
และทางภาตตะวันตกของจีน ค�ำระบุชนิดตั้งตามนักพฤกษศาสตร์ชาวฝร่ังเศส
Père Jean Marie Delavay (1834-1895)

59

กุหลาบพุกาม สารานุกรมพชื ในประเทศไทย

เอกสารอา้ งองิ กุหลาบพกุ าม
Chamberlain, D.F. (1982). A revision of Rhododendron II. Subgenus Hymenanthes.
Notes from the Royal Botanic Garden Edinburgh 39(2): 328-332. Pereskia bleo (Kunth) DC.
Chamberlain, D.F. and S.J. Rae. (1990). A revision of Rhododendron IV subgenus วงศ์ Cactaceae
Tsutsusi. Edinburgh Journal of Botany. 47(2): 115-116.
Fang, M., F. Ruizheng, H. Mingyou, H. Linzhen, Y. Hanbi and D.F. Chamberlain. ช่อื พ้อง Cactus bleo Kunth, Rhodocactus bleo (Kunth) F. M. Knuth
(2005). Ericaceae (Rhododendron). In Flora of China Vol. 14: 260, 272,
427, 440. ไมพ้ มุ่ แตกกอ สงู ไดถ้ งึ 5 ม. ขมุ หนามตามล�ำตน้ โปง่ นนู ตามซอกใบมหี นาม
Watthana, S. (2015). Ericaceae. In Flora of Thailand Vol. 13(1): 125-132. น้อยกวา่ ตามลำ� ต้น หนามยาว 1-1.5 ซม. ใบรูปรหี รือรูปขอบขนาน ยาว 3-15 ซม.
ก้านใบยาว 1-2.5 ซม. เสน้ แขนงใบขา้ งละ 4-6 เส้น ดอกออกตามขมุ หนามที่
กุหลาบขาว: ถิน่ ทอ่ี ยตู่ ามทโ่ี ลง่ บนเขาหินปูน มีขนยาวหนาแน่นตามกงิ่ ใบออ่ น และผลอ่อน ช่อดอกออกสนั้ ๆ ปลายกิ่ง มี 1-5 ดอก ฐานดอกรูปถ้วย ยาว 1-1.5 ซม. ใบประดบั คลา้ ยเกล็ด
ตามปลายก่งิ ดอกรูปแตร (ภาพ: ดอยเชยี งดาว เชยี งใหม;่ ภาพบน - SSi, ภาพล่าง - RP) กา้ นดอกสน้ั หนา ดอกสสี ม้ กลบี รวมจ�ำนวนมาก เรยี งเปน็ วง ๆ รปู รหี รอื รปู ไขก่ ลบั
ยาว 2-3 ซม. วงนอกสีเขยี วขนาดเล็ก และหนา เกสรเพศผจู้ ำ� นวนมาก ก้านชูอบั เรณู
ยาวไม่เท่ากนั อันยาวยาวไดถ้ งึ 1.5 ซม. โคนสขี าว ปลายสีแดง อับเรณูสขี าว รงั ไข่
ใตว้ งกลบี กา้ นเกสรเพศเมยี หนา สัน้ กว่าหรือยาวกว่าเกสรเพศผู้เลก็ นอ้ ย ผลสด
มหี ลายเมล็ด รูปกรวยคว่�ำ ปลายตดั กลางบมุ๋ กว้างและยาวเท่า ๆ กนั ยาว 4-5 ซม.
ผนงั หนา เมล็ดแบน สีดำ� ผวิ ขรุขระ

มถี ิน่ กำ� เนิดในโคลัมเบีย ปานามา และนกิ ารากวั เป็นไม้ประดับทว่ั ไป

สกลุ Pereskia Mill. ต่างจากสกลุ อ่นื ๆ ท่สี ่วนมากใชล้ ำ�ตน้ ในการสงั เคราะห์ดว้ ยแสง
มี 17 ชนดิ พบในอเมรกิ ากลางและอเมริกาใต้ ในไทยมี 2 ชนิด อกี ชนิดคอื
กหุ ลาบเมาะล�ำ เลงิ P. grandifolia Haw. ช่อดอกแผก่ ว้างดอกสชี มพู มี 6-8 กลบี
เชอื่ สกุลตั้งตามนักพฤกษศาสตร์ชาวฝรง่ั เศส Nicolas-Claude Fabri de Peiresc

เอกสารอ้างอิง
ราชบณั ฑติ ยสถาน. (2547). อนุกรมวธิ านพืชอักษร ก. พิมพค์ ร้งั ที่ 2. ราชบณั ฑิตยสถาน,
กรงุ เทพฯ.
Hawkes, M.W. (2004). Cactaceae (Pereskia). In Flora of North America Vol. 4:
101. http://www.efloras.org

กุหลาบแดง: ดอกรปู ระฆัง สแี ดงอมชมพหู รือแดงเข้ม มจี ุดสเี ขม้ กระจาย เกสรเพศผู้ 10 อัน ยาวไม่เทา่ กัน
(ภาพ: ภหู ลวง เลย - SSi)

กุหลาบปา่ : ดอกสขี าว มปี นื้ สีเหลอื งด้านใน รปู แตรแคบ กลีบแฉกลึก ก้านดอกเกล้ยี ง เกสรเพศผู้ 10 อัน ยาวเท่า ๆ กัน กุหลาบพกุ าม: ขมุ หนามตามล�ำตน้ โป่งนูน ตามซอกใบมหี นามน้อยกวา่ กลีบรวมสีส้มจำ� นวนมาก เรยี งเปน็ วง ๆ
(ภาพ: เขาเหมน นครศรธี รรมราช - RP) ผลรปู กรวยควำ�่ ปลายตดั กลางบุม๋ (ภาพ: cultivated - RP)

กุหลาบพนั ปี: ถ่นิ ทีอ่ ยชู่ ายป่าดบิ เขา ช่อดอกสัน้ ดอกรปู ระฆงั ปลายกลีบดอกเว้าตื้น (ภาพ: ดอยอินทนนท์ เชยี งใหม่ - SSi) กหุ ลาบมลายู

Rhododendron malayanum Jack
วงศ์ Ericaceae

ไมพ้ มุ่ องิ อาศยั หรอื ขนึ้ ตามพน้ื ดนิ อาจสงู ไดถ้ งึ 5 ม. มเี กลด็ สนี ำ้� ตาลแดงหนาแนน่
ตามแผน่ ใบดา้ นลา่ ง กา้ นดอก กลบี เลย้ี ง รงั ไข่ และผล ใบรปู รหี รอื รปู ขอบขนาน
ยาว 4-15 ซม. กา้ นใบยาว 1-2.2 ซม. ชอ่ ดอกออกสนั้ ๆ ตามปลายกิ่ง มี 3-8 ดอก
ใบประดบั รปู เสน้ ดา้ ย ยาวประมาณ 1.5 ซม. กา้ นดอกยาว 0.6-1.5 ซม. กลบี เลยี้ ง
จกั รปู สามเหลย่ี มตน้ื ๆ ดอกรปู แตร สแี ดงสม้ มเี กลด็ กระจายดา้ นนอก หลอดกลบี ดอก
ยาว 1.5-2.5 ซม. กลีบรูปไขก่ วา้ ง ยาว 5-7 ซม. เกสรเพศผู้ 10 อนั ยาวเทา่ ๆ กนั
ยน่ื พน้ ปากหลอดกลบี เลก็ นอ้ ย กา้ นเกสรเพศเมยี ยาวเทา่ ๆ เกสรเพศผู้ ผลรปู ทรงกระบอก
เรียวแคบ ยาว 2-2.5 ซม. เมลด็ ปลายมีรยางค์เปน็ ขนทง้ั 2 ด้าน (ดูขอ้ มูลเพิ่มเติมท่ี
กุหลาบพนั ป,ี สกลุ )

พบทคี่ าบสมทุ รมลายู สมุ าตรา ชวา และบอรเ์ นยี ว ในไทยพบทางภาคใตต้ อนลา่ ง
ทีย่ ะลา ข้ึนตามสันเขา ความสงู ถงึ ประมาณ 1500 เมตร

เอกสารอ้างองิ
Sleumer, H. (1966). Ericaceae. In Flora Malesiana Vol. 6: 532-533.
Watthana, S. (2015). Ericaceae. In Flora of Thailand Vol. 13(1): 129.

60

สารานุกรมพชื ในประเทศไทย กูดต้นดอยอา่ งขาง

กุหลาบมลายู: มเี กลด็ สีน้�ำตาลแดงหนาแน่นตามแผน่ ใบดา้ นล่าง ก้านดอก และผล กลบี ดอกรูปแตร ผลรูปทรงกระบอก ก้านใบยาว 30-40 ซม. มหี นามสั้น ๆ โคนมเี กลด็ รูปแถบ ยาวประมาณ 2 ซม.
เรยี วแคบ (ภาพ: แวง้ นราธวิ าส - MP) ใบประกอบย่อยมี 15-25 คู่ กว้าง 15-25 ซม. ยาว 30-70 ซม. คูล่ ่างยาวไมเ่ กิน
10 ซม. ใบย่อยมี 20-30 คู่ รูปขอบขนานหรอื รปู ใบหอก กว้าง 1.5-2 ซม. ยาว
กดู ดอย 7-10 ซม. ขอบจกั เปน็ พลู กึ เกอื บถงึ เสน้ กลางใบ รปู แถบ ยาวประมาณ 1 ซม. เบย้ี ว
ขอบจักซีฟ่ ัน ไร้ก้าน เสน้ กลางใบและเสน้ กลางพดู า้ นบนมีขน ดา้ นล่างเกลย้ี ง มี
Blechnum orientale L. เกลด็ สนี ำ้� ตาล กลมุ่ อบั สปอรก์ ลม เรยี งเปน็ แถวสองขา้ งของเสน้ กลางพู ขอบจกั
วงศ์ Blechnaceae
พบทไี่ ห่หนาน กัมพูชา คาบสมุทรมลายู สุมาตรา และบอร์เนียว ในไทยพบ
เฟนิ ขน้ึ บนดนิ เหงา้ ขนาดใหญต่ งั้ ตรง เกลด็ สนี ำ�้ ตาล รปู แถบ ยาว 1.5-2 ซม. แทบทกุ ภาค ยกเว้นภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ขนึ้ ตามปา่ ดิบแลง้ ปา่ ดิบช้นื และ
ปลายแหลม ขอบจัก ใบประกอบเรยี งเปน็ กระจกุ รูปไข่ รูปรี หรือรปู ขอบขนาน ป่าพรุ ความสูงถงึ ประมาณ 1000 เมตร
ยาว 25-150 ซม. กา้ นใบยาว 12-80 ซม. โคนมีเกลด็ ใบย่อยจำ� นวนมาก เรียงสลับ
รปู แถบ กวา้ ง 0.5-2.5 ซม. ยาวได้ถงึ 35 ซม. ปลายยาวคล้ายหาง โคนมนหรือตดั กูดต้นดอยอ่างขาง
ขอบเรยี บ ไรก้ า้ น ใบยอ่ ยชว่ งโคนลดรปู เสน้ แขนงใบแยกแขนงเปน็ คู่ กลมุ่ อบั สปอร์
เรียง 2 แถว ขนานกบั เสน้ กลางใบ เยื่อคลมุ กลมุ่ อบั สปอรร์ ูปแถบ Cyathea chinensis Copel.

พบในเอเชยี เขตรอ้ น ญป่ี นุ่ ออสเตรเลยี และหมเู่ กาะแปซฟิ กิ ในไทยพบทกุ ภาค ชอ่ื พอ้ ง Alsophila costularis Baker
ข้นึ ตามที่ลาดชันและเปดิ โล่ง ความสูงถึงประมาณ 1300 เมตร
เฟนิ ข้ึนบนดนิ ลำ� ตน้ ตั้งตรง สงู ได้ถึง 5 ม. ใบประกอบ 3 ช้นั แผน่ ใบกวา้ งไดถ้ ึง
สกลุ Blechnum L. มมี ากกว่า 200 ชนดิ พบท่วั ไปในเขตรอ้ น โดยเฉพาะซกี โลกใต้ 1 ม. ยาวไดถ้ ึง 2 ม. กา้ นใบยาว 45-50 ซม. มหี นามเลก็ นอ้ ยหรือไมม่ ี โคนมเี กลด็
ในไทยมี 3 ชนิด และพบเปน็ ไม้ประดบั หลายชนิด ช่ือสกลุ มาจากภาษากรกี รูปแถบ ยาวประมาณ 3.5 ซม. ใบประกอบยอ่ ยมีประมาณ 15 คู่ ใบใหญ่สุดกวา้ ง
“blechnon” ที่ใช้เรียกพชื พวกเฟนิ ประมาณ 13 ซม. ยาวประมาณ 50 ซม. ใบย่อยมีมากกว่า 30 คู่ รูปใบหอก กวา้ ง
1-2 ซม. ยาว 6-10 ซม. ไรก้ ้าน แฉกลึกประมาณสองในสามส่วน รปู เคียว ยาว
เอกสารอา้ งอิง ประมาณ 7 มม. ขอบจกั ฟนั เลอื่ ย เสน้ กลางใบและเสน้ กลางพดู า้ นลา่ งมขี นและ
Lindsay, S. and D.J. Middleton. (2012 onwards). Ferns of Thailand, Laos and เกล็ดประปราย กลุม่ อับสปอร์เรยี งเปน็ แถวสองขา้ งของเส้นกลางพู
Cambodia. http://rbg-web2.rbge.org.uk/thaiferns/
พบท่อี ินเดยี บังกลาเทศ ภูฏาน จีนตอนใต้ พม่า ลาว และเวียดนาม ในไทย
พบทางภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่เพชรบูรณ์ ข้ึนตามป่าดิบเขา
ความสงู ถงึ ประมาณ 1200 เมตร

เอกสารอา้ งองิ
Lindsay, S. and D.J. Middleton. (2012 onwards). Ferns of Thailand, Laos and
Cambodia. http://rbg-web2.rbge.org.uk/thaiferns/
Tagawa, M. and K. Iwatsuki. (1979). Cyatheaceae. In Flora of Thailand 3(1):
101-107.
Xianchun, Z. and H. Nishida. (2013). Cyatheaceae (Alsophila). In Flora of China
Vol. 2-3: 134-136.

กดู ดอย: ใบยอ่ ยจำ� นวนมาก กลมุ่ อับสปอรเ์ รยี ง 2 แถว ขนานกับเส้นกลางใบ (ภาพ: แกง่ กระจาน เพชรบรุ ี - PK) กูดตน้ : ใบประกอบ 2 ชั้น ใบย่อยจักเป็นพูลกึ เกือบถงึ เส้นกลางใบ ยอดมเี กล็ดสีนำ�้ ตาลคลำ้� กลมุ่ อบั สปอร์เรยี งเปน็
แถวสองข้างของเส้นกลางพู (ภาพ: พรุโต๊ะแดง นราธิวาส - PC)
กดู ต้น, สกุล
กูดตน้ ดอยอ่างขาง: ใบประกอบ 3 ช้ัน ใบประกอบยอ่ ยและใบยอ่ ยจำ� นวนมาก (ภาพ: ภหู ินร่องกลา้ พิษณโุ ลก - TP)
Cyathea Sm.
วงศ์ Cyatheaceae

เฟนิ ข้ึนบนพน้ื ดนิ ขนาดใหญ่ มลี �ำตน้ ใบประกอบ 1-3 ชน้ั เวียนหนาแน่น
ชว่ งยอด ใบไมส่ รา้ งสปอรแ์ ละใบสรา้ งสปอรค์ ลา้ ยกนั กา้ นใบสนี ำ้� ตาลหรอื ดำ� สว่ น
มากมเี กล็ดและขน เสน้ ใบแตกเปน็ งา่ ม ส่วนมากไม่เรยี งจรดกัน กลุ่มอบั สปอรต์ ิด
บนเสน้ ใบดา้ นลา่ ง รปู กลม มเี ยอ่ื คลมุ รปู ถว้ ยบาง ๆ หรอื ไมม่ ี เซลลผ์ นงั หนา เบยี้ ว
สปอร์รูปพรี ะมดิ

สกลุ Cyathea Sm. เป็นสกุลเฟินต้น มกี วา่ 500 ชนดิ พบทัว่ ไปในเขตรอ้ น ในไทย
มี 8 ชนดิ ส่วนใหญพ่ บทางภาคใต้ ชอื่ สกลุ มาจากภาษากรกี “kyatheion” ถว้ ยเลก็ ๆ
ตามลกั ษณะของกลุม่ อับสปอร์

กูดต้น

Cyathea latebrosa (Wall. ex Hook.) Copel.

ช่อื พ้อง Alsophila latebrosa Wall. ex Hook.

เฟินขึ้นบนดนิ ลำ� ตน้ ต้ังตรง สูง 2-6 ม. โคนตน้ มรี ากสานกนั แน่น ยอดมเี กลด็
สนี ้�ำตาลคลำ้� ใบประกอบ 2 ช้นั แผ่นใบกวา้ ง 50-150 ซม. ยาว 100-250 ซม.

61

กดู ทอง สารานุกรมพชื ในประเทศไทย

กูดทอง กดู ใบบวั : ใบสรา้ งสปอร์ก้านใบยาวกวา่ ใบไมส่ รา้ งสปอร์ โคนเวา้ ลกึ แผน่ ใบด้านล่างมีเกล็ดและขนกระจาย
กลุ่มอับสปอร์เกิดตามเส้นแขนงใบทั่วตลอดทง้ั แผ่นใบด้านล่าง (ภาพ: ภจู องนายอย อบุ ลราชธานี - PK)
Davallia repens (L. f.) Kuhn
วงศ์ Davalliaceae กดู ใบพชี

ชอื่ พ้อง Adiantum repens L. f., Humata repens (L. f.) Diels, H. vestita Goniophlebium persicifolium (Desv.) Bedd.
(Blume) Moor. วงศ์ Polypodiaceae

เฟินอิงอาศัย หรือขนึ้ บนหิน เหงา้ ทอดนอน เส้นผา่ นศนู ย์กลาง 1.5-2 มม. ช่อื พ้อง Polypodium persicifolium Desv., Schellolepis persicifolia (Desv.)
เกล้ยี ง เกลด็ หนาแน่น รปู ใบหอกถึงรปู แถบ ใบประกอบ 2 ชน้ั หรอื 3 ช้นั ในใบชว่ ง Pic. Serm.
โคนต้น รปู ขอบขนานแกมรปู สามเหล่ยี มกว้าง 0.5-14 ซม. ยาว 0.6-24 ซม. กา้ นใบ
ยาวไดถ้ งึ 15 ซม. มเี กลด็ ประปราย ใบประกอบยอ่ ยใบลา่ งขนาดใหญท่ ส่ี ดุ รปู คลา้ ย เฟนิ ขนึ้ บนดนิ หรอื เกาะหนิ เหงา้ ทอดนอน เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง 2-6 มม. เกลด็
สามเหล่ยี มหรอื แกมรปู ขอบขนาน เบยี้ ว ใบชว่ งปลายขนาดเล็ก เรียบหรือจกั เป็นพู สนี ำ�้ ตาล รปู ไข่ ยาวประมาณ 5 มม. ปลายยาวคล้ายหาง ใบประกอบชั้นเดยี ว
ไรก้ า้ นหรือแตล่ ะใบเชอ่ื มตดิ กนั ใบยอ่ ยรปู ขอบขนาน ปลายมน โคนเบีย้ ว จกั เป็นพู รูปขอบขนานถึงรูปใบหอก ยาว 40-60 ซม. ก้านใบยาว 17-40 ซม. มีเกล็ด
หรือเรยี บ คอ่ นขา้ งหนา เกล้ียง แตล่ ะใบมกี ลุ่มอบั สปอร์ 1-5 อัน ตดิ ตามขอบใบ ประปราย มใี บยอ่ ยไดถ้ งึ ขา้ งละ 20 ใบ เรยี งสลับ รปู แถบหรอื รูปใบหอก กว้าง
เยอ่ื คลุมคลา้ ยรูปคร่ึงวงกลม กวา้ งประมาณ 1 มม. โคนเช่ือมติดกัน (ดขู ้อมลู 1-2 ซม. ยาว 14-20 ซม. ปลายแหลมยาวหรอื ยาวคล้ายหาง โคนรูปล่ิม ขอบจัก
เพ่ิมเตมิ ที่ นาคราช, สกลุ ) ฟันเล่ือย กา้ นใบย่อยยาวประมาณ 5 มม. แผน่ ใบดา้ นล่างมขี นรูปดาวประปราย
เสน้ แขนงใบแบบรา่ งแห กลมุ่ อบั สปอรก์ ลม จมอยใู่ นเนอื้ ใบและเรยี งตวั เปน็ แถว
พบท่ีมาดากัสการ์ หมู่เกาะเซเชลส์และแมสคารีน เอเชียเขตร้อน ญ่ีปุ่น ท้ังสองดา้ นของเส้นกลางใบย่อย ไมม่ เี ยื่อคลมุ กล่มุ อบั สปอร์
ออสเตรเลีย และหมู่เกาะแปซิฟกิ ในไทยพบทุกภาค ข้ึนตามปา่ ดบิ เขาความสงู
1000-1600 เมตร พบทีเ่ วียดนาม คาบสมุทรมาลายู สุมาตรา ซลี เี บส และฟลิ ปิ ปินส์ ในไทยพบ
ทางภาคตะวนั ออกเฉียงใต้ และภาคใต้ ขนึ้ ตามท่ีลาดชนั หรอื บนต้นไม้ ความสงู
เอกสารอ้างอิง 400-1500 เมตร ชอ่ื ไทยมาจากคำ� ระบชุ นดิ persicifolium หมายถงึ มีใบคล้ายใบ
Lindsay, S. and D.J. Middleton. (2012 onwards). Ferns of Thailand, Laos and ต้นพีชท่ีเรียวยาว
Cambodia. http://rbg-web2.rbge.org.uk/thaiferns/
Tagawa, M. and K. Iwatsuki. (1979). Davalliaceae (Humata repens, H. vestita). สกุล Goniophlebium (Blume) C. Presl มีประมาณ 20 ชนดิ สว่ นมากพบใน
In Flora of Thailand 3(1): 166. เอเชยี เขตรอ้ น ในไทยมี 8 ชนิด ชือ่ สกลุ มาจากภาษากรกี “gonia” มมุ และ
“phleps” เสน้ ใบ ตามลกั ษณะของเส้นใบแบบร่างแห
กูดทอง: เฟินอิงอาศยั ใบประกอบ 2- 3 ช้ัน ใบประกอบยอ่ ยใบลา่ งขนาดใหญท่ สี่ ดุ ไรก้ ้านหรอื แตล่ ะใบเชือ่ มติดกนั เอกสารอา้ งอิง
กลุ่มอับสปอร์ 1-5 อนั ติดตามขอบใบ (ภาพ: ภูหนิ ร่องกลา้ พษิ ณโุ ลก; ภาพซา้ ย - TP, ภาพขวา - PK) Lindsay, S. and D.J. Middleton. (2012 onwards). Ferns of Thailand, Laos and

กดู ใบบวั Cambodia. http://rbg-web2.rbge.org.uk/thaiferns/
Tagawa, M. and K. Iwatsuki. (1989). Polypodiaceae (Polypodium persicifolium).
Parahemionitis cordata (Roxb. ex Hook. & Grev.) Fraser-Jenk.
วงศ์ Pteridaceae In Flora of Thailand 3(4): 574.

ชื่อพอ้ ง Hemionitis cordata Roxb. ex Hook. & Grev. กูดใบพีช: ใบประกอบชัน้ เดียว มใี บย่อยจ�ำนวนมาก กลุ่มอบั สปอร์กลม จมอยู่ในเน้อื ใบและเรยี งตวั เปน็ แถวทัง้ สอง
ดา้ นของเสน้ กลางใบย่อย ไม่มีเยื่อคลุมกล่มุ อบั สปอร์ (ภาพ: แกง่ กระจาน เพชรบรุ ี - PK)
เฟนิ ขนึ้ บนพน้ื ดนิ เหงา้ สน้ั มเี กลด็ สนี ำ�้ ตาล เรยี วแคบ ยาว 2-3 มม. มขี นปกุ ปยุ
ใบมี 2 แบบ ใบไม่สร้างสปอร์ก้านยาวได้ถึง 8 ซม. ใบสร้างสปอร์ ก้านยาวได้ถงึ กดู เยือ่ , สกุล
20 ซม. ด้านบนเป็นรอ่ ง มเี กล็ดและขนปกคลมุ ใบไม่สรา้ งสปอร์รูปไขห่ รือแกม
รูปขอบขนาน ยาวไดถ้ งึ 7 ซม. ปลายกลม โคนเว้าลึก แผ่นใบดา้ นล่างมเี กล็ด Microsorum Link
และขนกระจาย ขอบมีขนหนาแน่น เส้นแขนงใบแบบร่างแห ใบสร้างสปอร์ วงศ์ Polypodiaceae
ขนาดเล็กและบางกวา่ ปลายแหลมมน กลมุ่ อับสปอรเ์ กิดตามเสน้ แขนงใบท่วั
ตลอดท้งั แผ่นใบดา้ นลา่ ง เฟนิ องิ อาศยั ขนึ้ บนหนิ หรอื บนพนื้ ดนิ เหงา้ ทอดเลอื้ ย หนา สว่ นมากมไี ข เกลด็
รปู คลา้ ยโล่ ใบสรา้ งสปอรแ์ ละใบไมส่ รา้ งสปอรเ์ หมอื นกนั หรอื ตา่ งกนั ใบเรยี บหรอื
พบท่อี นิ เดีย ศรีลังกา จนี ตอนใต้ ไหห่ นาน ไตห้ วัน พม่า ภูมิภาคอนิ โดจนี จกั แบบขนนก เสน้ ใบเรยี งจรดกนั แบบรา่ งแห หรอื แตกเปน็ งา่ ม ปลายมรี ปู คลา้ ย
คาบสมุทรลายู ชวา ฟิลปิ ปินส์ ในไทยพบทุกภาค ขนึ้ ตามป่าดบิ แลง้ และป่าดิบช้ืน หยดนำ�้ กลมุ่ อบั สปอรเ์ รยี งกระจายหรอื เปน็ แถวระหวา่ งเสน้ ใบ เชอ่ื มตดิ กนั เปน็
ความสูงถงึ ประมาณ 600 เมตร ปนื้ บนเส้นใบ อบั สปอร์เปน็ ตุ่มกวา้ งหรอื ยน่

สกุล Parahemionitis Panigrahi มีเพยี ง 2 ชนิด พบเฉพาะในเอเชยี อกี ชนดิ หนึ่งคือ สกุล Microsorum มปี ระมาณ 40 ชนดิ พบในเอเชยี เขตร้อน และแอฟริกา ใน
P. arifolia (Burm. f.) Panigrahi พบท่ศี รลี งั กา และชวา ช่ือสกลุ หมายถงึ สกลุ ที่ ไทยมี 9 ชนดิ ช่ือสกุลมาจากภาษากรีก “mikros” ขนาดเล็ก และ “soros” ท่อ
คล้ายกบั สกลุ Hemionitis หรอื หลอด ตามลกั ษณะของเสน้ ใบ
เอกสารอา้ งอิง
Gangmin, Z. and T.A. Ranker. (2013). Pteridaceae (Parahemionitis). In Flora of

China Vol. 2-3: 235.
Lindsay, S. and D.J. Middleton. (2012 onwards). Ferns of Thailand, Laos and

Cambodia. http://rbg-web2.rbge.org.uk/thaiferns/
Tagawa, M and K. Iwatsuki. (1985). Parkeriaceae (Hemionitis arifolia). In Flora

of Thailandnd Vol. 3(2): 191-192.

62

สารานุกรมพืชในประเทศไทย กูดหางค่าง

กดู เยื่อ กดู โยง: เฟินองิ อาศยั ใบยอ่ ยโค้งรปู เคียว โคนเปน็ ตงิ่ หูด้านเดียว กลุม่ อบั สปอร์กลม เรียงชิดขอบใบดา้ นละแถว
(ภาพ: พรโุ ตะ๊ แดง นราธิวาส - PC)
Microsorum membranaceum (D. Don) Ching
กูดหางคา่ ง
ชื่อพ้อง Polypodium membranaceum D. Don
Bolbitis heteroclita (C. Presl) Ching ex C. Chr.
เฟนิ สว่ นมากขนึ้ บนหนิ เหงา้ เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางกวา่ 6 มม. เกลด็ รปู ขอบขนาน วงศ์ Dryopteridaceae
แกมรปู สามเหล่ียม ยาวได้ถึง 1 ซม. กลางแผน่ เกลด็ มกั มีขน ใบเรียงชดิ ไปใน
ทางเดยี วกนั รปู ขอบขนานหรอื รปู ใบหอก สว่ นมากยาว 25-100 ซม. ขอบสว่ นมาก ชอ่ื พอ้ ง Acrostichum heteroclitum C. Presl
เปน็ คลนื่ เลก็ นอ้ ย แผน่ ใบบาง โคนสอบเรยี วเปน็ ปกี จรดกา้ นใบ ยาวไดถ้ งึ 15 ซม.
ชอ่ งรา่ งแหชดั เจน กลมุ่ อบั สปอรต์ ดิ บนเสน้ ใบ รปู กลม การกระจายไมเ่ ปน็ ระเบยี บ เฟนิ ขนึ้ บนดนิ หรอื สง่ สว่ นของลำ� ตน้ เกาะตามตน้ ไมห้ รอื กอ้ นหนิ เหงา้ ทอดนอน
ระหวา่ งเส้นแขนงใบ เสน้ ผ่านศนู ยก์ ลางประมาณ 1.5 มม. เสน้ ผา่ นศูนย์กลาง 3-8 มม. เกล็ดสนี ำ้� ตาลเข้ม รปู ใบหอก ยาว 4-5 มม. ขอบจัก
ใบไมส่ รา้ งสปอรเ์ ปน็ ใบเดยี่ วหรอื ใบประกอบ กา้ นใบยาว 10-30 ซม. โคนมเี กลด็
พบท่อี ินเดีย ศรีลงั กา ภฏู าน เนปาล จนี ไหห่ นาน ไตห้ วัน ลาว เวยี ดนามตอนบน ใบยอ่ ยมี 1-2 คู่ รูปขอบขนาน แผ่นใบบาง ยาว 7-15 ซม. ปลายยาวคล้ายหาง
และฟิลิปปินส์ ในไทยพบเฉพาะทางภาคเหนือ ข้ึนตามป่าดิบเขาท่ีค่อนข้างช้ืน ไร้ก้าน ใบปลายรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 50-80 ซม. รวมปลายที่ยาว
ความสงู 1000-1700 เมตร คลา้ ยหาง เสน้ กลางใบมกั มตี าพเิ ศษ ใบสรา้ งสปอรเ์ ปน็ ใบประกอบ กวา้ ง 4-12 ซม.
ยาว 15-19 ซม. กา้ นใบยาว 7-15 ซม. โคนมเี กลด็ ใบยอ่ ยมี 2-6 คู่ รปู ขอบขนาน
เอกสารอ้างอิง หรือรปู ใบหอก ยาว 5-10 ซม. ปลายแหลมถึงเรยี วแหลม โคนรูปลมิ่ ขอบเรียบ
Lindsay, S. and D.J. Middleton. (2012 onwards). Ferns of Thailand, Laos and หรอื จักมน กา้ นใบสน้ั กลมุ่ อบั สปอร์กระจายบนแผ่นใบดา้ นล่าง ไม่มีเยอ่ื คลมุ
Cambodia. http://rbg-web2.rbge.org.uk/thaiferns/ ผนงั สปอรห์ นา
Tagawa, M. and K. Iwatsuki. (1989). Polypodiaceae (Microsorum). In Flora of
Thailand 3(4): 523-534. พบทอ่ี นิ เดีย เนปาล บังกลาเทศ พม่า จนี ตอนใต้ ใต้หวนั ญ่ปี ่นุ ภูมิภาคอนิ โดจีน
Xianchun, Z. and H.P. Nooteboom. (2013). Polypodiaceae (Microsorum). In และมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ นิวกีนี ในไทยพบทุกภาค ข้ึนตามที่ชุ่มช้ืนใกล้ล�ำธาร
Flora of China Vol. 2-3: 830-831. ความสูงถงึ ประมาณ 1000 เมตร

กดู เยื่อ: ใบเรยี งชดิ ไปในทางเดียวกนั โคนสอบเรียวเป็นปกี กลุ่มอบั สปอร์การกระจายไมเ่ ปน็ ระเบียบระหวา่ งเสน้ สกุล Bolbitis Schott เคยอยูภ่ ายใตว้ งศ์ Aspleniaceae หรอื Lomariopsidaceae
แขนงใบ (ภาพ: แจซ้ ้อน ล�ำปาง; ภาพวสิ ัย - TP; ภาพอับสปอร์ - PK) มีประมาณ 80 ชนดิ พบทั่วไปในเขตรอ้ น โดยเฉพาะในเอเชยี และหมเู่ กาะแปซฟิ กิ
ในไทยมี 13 ชนดิ ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “bolbos” หวั ตามลกั ษณะของตาพเิ ศษ
กูดโยง ตามเส้นกลางใบ
เอกสารอ้างอิง
Nephrolepis radicans (Burm. f.) Kuhn Lindsay, S. and D.J. Middleton. (2012 onwards). Ferns of Thailand, Laos and
วงศ์ Lomariopsidaceae
Cambodia. http://rbg-web2.rbge.org.uk/thaiferns/
ชือ่ พอ้ ง Polypodium radicans Burm. f. Tagawa, M. and K. Iwatsuki. (1989). Lomariopsidaceae. In Flora of Thailand

เฟินอิงอาศัย แทงไหลยาวเล้ือยพันต้นไม้อ่ืน รากคล้ายเส้นลวด เหง้าส้ัน Vol. 3(3): 320.
เสน้ ผา่ นศูนยก์ ลาง 3-5 มม. มเี กลด็ สีนำ�้ ตาลคล้ำ� หนาแนน่ ยาวประมาณ 3 มม. Xing, F., W. Faguo and K. Iwatsuki. (2013). Dryopteridaceae (Bolbitis). In Flora
โคนกลมกว้าง แนบชิดเหง้า ปลายเรียวแคบ ใบประกอบชัน้ เดียว ก้านใบยาว
5-20 ซม. มีเกลด็ ประปราย แผ่นใบรปู แถบ โ คบและปลายเรียวแคบ กว้าง 6-8 ซม. of China Vol. 2-3: 713, 719.
ยาว 50-80 ซม. ใบย่อยมี 20-40 คู่ รปู เคยี ว กวา้ งประมาณ 1 ซม. ยาว 3-4 ซม.
โคนมนหรือตดั เปน็ ต่งิ หดู ้านเดยี ว ขอบจัก กลมุ่ อบั สปอร์กลม เรยี งชดิ ขอบใบ กูดหางคา่ ง: เฟินขน้ึ บนดนิ สว่ นของล�ำตน้ เกาะตามตน้ ไม้หรือกอ้ นหิน ใบสรา้ งสปอรเ์ ป็นใบประกอบ ใบย่อยมี 2-6 คู่
ด้านละแถว มีเย่อื คลมุ กลมุ่ อบั สปอรก์ ระจายอย่ทู ่วั แผน่ ใบดา้ นลา่ ง (ภาพ: แก่งกระจาน เพชรบรุ ี - PK)

พบทอี่ นิ เดยี พมา่ ลาว กมั พชู า ภมู ภิ าคมาเลเซยี ฟลิ ปิ ปนิ ส์ นวิ กนิ ี และหมเู่ กาะ
นวิ แคลโิ ดเนีย ในไทยพบทางภาคใต้ตอนลา่ งที่นราธวิ าส ยะลา ข้ึนตามปา่ ดบิ ชื้น
ความสูงระดบั ตำ�่ ๆ และปา่ พรุ

สกุล Nephrolepis Schott เคยอยูภ่ ายใตว้ งศ์ Oleandraceae หรือ Davalliaceae
มปี ระมาณ 30 ชนิด พบทวั่ ไปในเขตรอ้ น ในไทยมี 8 ชนดิ ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก
“nephros” ไต และ “lepis” เกลด็ ตามลกั ษณะของเกล็ด
เอกสารอา้ งองิ
Lindsay, S. and D.J. Middleton. (2012 onwards). Ferns of Thailand, Laos and

Cambodia. http://rbg-web2.rbge.org.uk/thaiferns/
Tagawa, M. and K. Iwatsuki. (1989). Oleandraceae (Nephrolepis). In Flora of

Thailand 3(2): 170-178.

63

กูดฮ่อม สารานกุ รมพืชในประเทศไทย

กูดฮ่อม, สกุล เอกสารอ้างอิง
Lindsay, S. and D.J. Middleton. (2012 onwards). Ferns of Thailand, Laos and
Selliguea Bory Cambodia. http://rbg-web2.rbge.org.uk/thaiferns/
วงศ์ Polypodiaceae Lu, S., P.H. Hovenkamp and M.G. Gilbert. (2013). Polypodiaceae (Selliguea).
In Flora of China Vol. 2-3: 773, 775, 779.
เฟนิ องิ อาศยั หรอื ขนึ้ บนหนิ เหงา้ ทอดนอน เกลด็ สนี ำ้� ตาลเขม้ หรอื ดำ� หนาแนน่ Tagawa, M. and K. Iwatsuki. (1989). Polypodiaceae (Crypsinus). In Flora of
ปลายเรียวแหลม ใบไมส่ ร้างสปอรแ์ ละใบสร้างสปอร์เหมือนหรือตา่ งกัน เรยี งห่าง ๆ Thailand Vol. 3(4): 556, 559-561.
ใบเด่ยี ว รปู ฝ่ามือ หรือจกั เป็นพู ก้านใบมเี กล็ดทีโ่ คน เส้นใบชดั เจน เรียงจรดกัน
เปน็ ชอ่ งรา่ งแห มเี สน้ ใบยอ่ ย กลมุ่ อบั สปอรร์ ปู กลม เรยี งแถวเดยี วหรอื หลายแถว กดู ฮ่อม: เฟนิ อิงอาศยั เหงา้ มีขนหนาแน่น ใบจักเป็นพู 3-8 คู่ พปู ลายยาวกว่าพูข้าง โคนเชือ่ มตดิ กันเป็นปีก
ในแต่ละขา้ งเสน้ กลางใบ อบั สปอร์มีก้าน เซลลผ์ นังหนา อบั สปอรร์ ปู รี ผวิ มตี ุ่ม (ภาพ: ภหู ลวง เลย - TP)
หรือปุ่มกระจาย
กูดฮอ่ มใบขน: ใบรปู เง่ยี งลกู ศร หรือจักข้างละพู โคนคอด แผ่นใบด้านล่างมีขนสั้นนุม่ กลมุ่ อับสปอรเ์ รยี งแถวเดยี ว
สกลุ Selliguea บางครัง้ อยภู่ ายใตว้ งศ์ Drynariaceae มี 110-115 ชนดิ ซง่ึ รวมสกุล (ภาพ: ภูหินรอ่ งกลา้ พิษณุโลก - TP)
Crypsinus หรอื บางครง้ั รวมถึงสกลุ Phymatopteris พบ เอเชยี ออสเตรเลีย
และหมู่เกาะแปซฟิ ิก ในแอฟรกิ าใต้และมาดากัสการ์พบแห่งละชนดิ เดยี ว พบมาก กดู ฮ่อมใบเล็ก: ใบมี 2 แบบ ใบไมส่ ร้างสปอร์ขนาดเล็ก กา้ นส้ัน ใบสรา้ งสปอรร์ ปู ใบหอก ก้านยาว ขอบใบหนา
ในนิวกนิ ี ในไทยมี 12 ชนดิ หรือ 16 ชนดิ (รวมสกลุ Phymatopteris) กลุ่มอบั สปอรเ์ รียงแถวเดยี ว (ภาพ: ภหู ลวง เลย - TP)

กูดฮอ่ ม เกซอนลา

Selliguea oxyloba (Wall. ex Kunze) Fraser-Jenk. Clerodendrum quadriloculare (Blanco) Merr.
วงศ์ Lamiaceae
ชอ่ื พ้อง Polypodium oxylobum Wall. ex Kunze, Crypsinus oxylobus (Wall.
ex Kunze) Sledge ชือ่ พอ้ ง Ligustrum quadriloculare Blanco

เฟนิ องิ อาศยั เหงา้ เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางประมาณ 3 มม. มขี นหนาแนน่ เกลด็ ยาว ไมพ้ ุ่ม สูง 2-5 ม. ใบรูปรหี รอื รปู ขอบขนาน ยาว 15-20 ซม. แผ่นใบดา้ นล่าง
ประมาณ 5 มม. ขอบเกลด็ จักฟันเลือ่ ย ใบจักเป็นพู 3-8 คู่ กว้างไดถ้ ึง 25 ซม. สมี ว่ งแดงอมเขยี ว ชอ่ ดอกแบบชอ่ กระจกุ แยกแขนงออกสน้ั ๆ ทปี่ ลายกง่ิ หลอด
ยาวได้ถงึ 30 ซม. พรู ูปขอบขนาน ยาวไดถ้ ึง 15 ซม. พูปลายยาวกว่าพูข้าง ปลาย กลีบเลี้ยงยาว 0.7-1 ซม. ปลายแยกเปน็ 5 กลบี รปู สามเหลีย่ ม ยาว 3-5 มม.
เรียวแหลม โคนเช่ือมติดกนั เปน็ ปกี แผ่นใบบาง เกลี้ยง กล่มุ อบั สปอร์ตดิ ระหวา่ ง สมี ่วงอมแดง ตดิ ทน ดอกรปู ดอกเขม็ หลอดกลีบดอกยาว 7-10 ซม. ด้านนอก
เส้นแขนงใบ เรยี งแถวเดียว เสน้ ผ่านศนู ย์กลาง 3-4 มม. สีชมพอู มแดง ปลายแยกเปน็ 5 กลีบ รปู ใบหอก ยาว 1-1.5 ซม. ด้านนอกสขี าว
อมชมพู ดา้ นในสขี าว กลบี คอ่ นขา้ งหนา เกสรเพศผู้ 4 อนั ยน่ื พน้ ปากหลอดกลบี ดอก
พบที่อินเดีย จีนตอนใต้ พม่า และภูมิภาคอินโดจีน ในไทยส่วนมากพบทาง ผลรปู ไข่ สกุ สมี ว่ งอมด�ำ กลบี เลย้ี งสแี ดง มี 4 ไพรนี (ดขู อ้ มลู เพมิ่ เตมิ ที่ นางแยม้ , สกลุ )
ภาคเหนอื กระจายห่าง ๆ ทางภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือที่เลย ภาคตะวนั ออกที่
เขาใหญ่ จงั หวดั ปราจนี บรุ ี และภาคตะวนั ตกเฉยี งใตท้ ก่ี าญจนบรุ ี ขนึ้ ตามปา่ ดบิ เขา มีถน่ิ กำ� เนิดที่ฟลิ ปิ ปนิ ส์ และนวิ กินี ในไทยปลูกเปน็ ไม้ประดับ โดยเฉพาะทาง
ความสงู 1000-2300 เมตร ภาคเหนอื ทมี่ อี ากาศเยน็ ไมต่ ดิ ผล ขยายพนั ธด์ุ ว้ ยไหล ใบมสี รรพคณุ ใชส้ มานแผลสด
แผลนำ�้ รอ้ นลวก
กูดฮ่อมใบขน
เอกสารอ้างอิง
Selliguea hirsuta (Tagawa & K. Iwats.) S. Linds. Staples, G.W. and D.R. Herbst. (2005). A tropical garden flora. Bishop Museum
Press, Honolulu, Hawai`i.
ชอื่ พ้อง Crypsinus hirsutus Tagawa & K. Iwats.

เฟินขึ้นบนกอ้ นหิน เหงา้ เส้นผา่ นศูนยก์ ลาง 3-4 มม. เกลด็ ยาวประมาณ 4 มม.
ใบรูปเงี่ยงลูกศร หรือจักข้างละพู กว้างได้ถงึ 21 ซม. ยาวไดถ้ ึง 24 ซม. พขู า้ ง
รูปเคยี ว กวา้ ง 2-3 ซม. ยาวได้ถงึ 12 ซม. ปลายแหลม พปู ลายยาวไดถ้ ึง 20 ซม.
โคนคอด แผ่นใบบาง ด้านล่างมขี นสั้นนุ่ม ก้านใบยาวได้ถงึ 12 ซม. มขี นส้นั นุ่ม
หนาแนน่ เสน้ แขนงใบชดั เจน เสน้ ใบชดั เจนหรอื ไมช่ ดั เจน กลมุ่ อบั สปอรต์ ดิ ระหวา่ ง
เส้นแขนงใบเรียงแถวเดยี ว เส้นผา่ นศนู ยก์ ลางประมาณ 3 มม.

พืชถิ่นเดยี วของไทย พบทางภาคเหนือท่เี ชียงใหม่ เชยี งราย ตาก พิษณุโลก
และภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ทเ่ี ลย ขน้ึ ตามโขดหนิ ทแี่ หง้ หรอื ทช่ี มุ่ ชน้ื ในปา่ ดบิ เขา
ความสูง 1000-1800 เมตร

กูดฮอ่ มใบเลก็

Selliguea rhynchophylla (Hook.) Fraser-Jenk.

ชือ่ พ้อง Polypodium rhynchophyllum Hook., Crypsinus rhynchophyllus
(Hook.) Copel.

เฟนิ องิ อาศยั เหงา้ เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางประมาณ 1 มม. เกลด็ ยาวประมาณ 5 มม.
ใบไมส่ รา้ งสปอรร์ ปู ไขห่ รอื แกมรปู ขอบขนาน ยาว 2-3.5 ซม. โคนและปลายแหลม
กา้ นยาว 0.5-2 ซม. ใบสร้างสปอรร์ ูปใบหอก ยาว 5-14 ซม. ช่วงกว้างอยูเ่ หนือ
โคนเล็กน้อย ช่วงมสี ปอรเ์ รยี วแคบ โคนรูปลิ่ม ก้านยาว 1.5-5 ซม. เสน้ แขนงใบ
ไมช่ ัดเจน แผ่นใบและขอบหนา เกลยี้ ง สีนำ�้ ตาลเขม้ หรอื ดำ� กลมุ่ อับสปอร์ติด
ระหวา่ งเสน้ แขนงใบ เรยี งแถวเดยี ว เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางประมาณ 2.5 มม.

พบทอ่ี นิ เดยี พมา่ จนี ตอนใต้ ภมู ภิ าคอนิ โดจนี ฟลิ ปิ ปนิ ส์ ในไทยพบทางภาคเหนอื
ที่เชียงใหม่ พิษณุโลก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือท่ีเลย ภาคตะวันออกเฉียงใต้ท่ี
จันทบุรี และภาคตะวันตกเฉียงใต้ท่ีกาญจนบุรี ส่วนมากขึ้นตามต้นไม้ที่มีมอส
ปกคลุมในป่าดบิ เขา ความสูง 1200-1700 เมตร

64

สารานุกรมพชื ในประเทศไทย เกล็ดนาคราชใบคล่นื

เกซอนลา: ดอกแบบชอ่ กระจกุ แยกแขนงสั้น ๆ ออกท่ปี ลายก่ิง เกสรเพศผู้ 4 อนั ยืน่ พน้ ปากหลอดกลีบดอก เกลด็ นาคราช
(ภาพ: cultivated; ภาพซ้าย - RP, ภาพขวา - SSi)
Oleandra Cav.
เกล็ดเข้ วงศ์ Oleandraceae

Parashorea densiflora Slooten & Symington subsp. kerrii (Tardieu) เฟนิ ข้นึ บนพนื้ ดิน องิ อาศยั หรอื ขึน้ บนหิน เหงา้ ทอดนอนหรือตั้งตรง เกลด็ สี
Pooma น้�ำตาลดำ� รูปโล่ หนา เรียงซ้อนเหลื่อม ขอบมักมขี นครุย ใบเรยี บ กา้ นใบเปน็ ข้อ
สว่ นทเี่ ปน็ ขอ้ ตดิ ทนกบั เหงา้ เสน้ กลางใบดา้ นลา่ งมกั มเี กลด็ ขนาดเลก็ เสน้ ใบบาง
วงศ์ Dipterocarpaceae คร้ังแยกสองงา่ ม กลุ่มอบั สปอร์ออกเดี่ยว ๆ เรียงแถวเดียวในแตล่ ะขา้ งของ
เส้นกลางใบ มีเยื่อคลมุ รปู กลม ติดทน ส่วนมากสนี ้�ำตาลแดง อบั สปอร์มรี อย
ช่อื พ้อง Parashorea kerrii Tardieu เชอ่ื มเดยี ว (monolete spores) มีแผน่ คลา้ ยปีก มีหนามเล็ก ๆ หรือขอบจัก

ไม้ต้น สูง 30-40 ม. มีพูพอน โคนต้นมชี ่องอากาศเปน็ คอร์กกระจาย หใู บรูปไข่ สกุล Oleandra เคยอยู่ภายใตว้ งศ์ Davalliaceae ปจั จุบันเป็นสกลุ เดยี วของวงศ์
ยาวประมาณ 5 มม. ใบเรยี งเวียน รปู ขอบขนานหรอื รปู ใบหอกแกมรูปไข่ ยาว มี 15-20 ชนิด พบในเขตรอ้ นอเมรกิ าใต้ แอฟรกิ า เอเชีย และหมู่เกาะแปซิฟกิ
5-18 ซม. แผน่ ใบดา้ นลา่ งมเี กลด็ ขยุ สเี หลอื งและตอ่ มสแี ดงกระจาย ใบออ่ นมนี วล ในไทยมี 4 ชนดิ ช่อื สกลุ หมายถงึ ลกั ษณะใบทค่ี ล้ายกบั พืชพวกยี่โถ Nerium
เส้นแขนงใบขา้ งละ 10-12 เส้น เสน้ ใบยอ่ ยแบบขัน้ บนั ได ก้านใบยาว 1-1.5 ซม. oleander L.
ช่อดอกแยกแขนง ยาว 10-30 ซม. ก้านดอกยาว 2-3 มม. ใบประดบั รูปไข่ ยาว
ประมาณ 4 มม. กลีบเลยี้ ง 5 กลีบ รปู สามเหล่ียม กลบี คนู่ อกเรยี วกว่าเลก็ นอ้ ย เกล็ดนาคราช
พบั งอ ติดทน เกสรเพศผู้ 15 อนั เรยี ง 3 วง อับเรณูมี 4 พู ยาวประมาณ 3 มม.
แกนอบั เรณปู ลายมรี ยางคเ์ ปน็ ตงิ่ รงั ไขม่ ขี นสนั้ นมุ่ กา้ นเกสรเพศเมยี รปู เสน้ ดา้ ย Oleandra musifolia (Blume) C. Presl
ยาวประมาณ 2 มม. แต่ละช่อมกั ติดผลเดยี ว ผลเปลือกแขง็ เสน้ ผ่านศนู ย์กลาง
2.5-3 ซม. ผวิ เป็นคอรก์ ปลายเป็นตง่ิ ส้นั ๆ กลีบเลีย้ งหนา พับงอ ยาว 5-7 มม. ช่อื พอ้ ง Aspidium musifolium Blume

พบทล่ี าว (เวียงจนั ทน์) และภาคตะวันออกเฉยี งเหนือตอนบนของไทยท่ภี ูวัว เฟนิ องิ อาศยั ขนึ้ บนดนิ หรอื บนหนิ เหงา้ ทอดเลอ้ื ย เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง 4-5 มม.
จังหวัดบึงกาฬ ข้ึนริมล�ำธารในป่าดิบแล้ง ความสูงประมาณ 200 เมตร เดิมมี มรี ากค้�ำ เกลด็ รูปใบหอก ยาว 3-7 มม. ใบเรียงกระจายเปน็ กลุ่ม กลุ่มละ 2-4 ใบ
สถานภาพเป็นชนิด P. kerrii Tardieu และเปน็ ชอื่ พ้องของ P. buchananii รปู ใบหอกหรอื รปู แถบ ยาว 12-80 ซม. แผน่ ใบมขี นประปราย กา้ นยาว 5-8.5 ซม.
(C. E. C. Fisch.) Symington ซ่ึงผลกลบี เล้ยี งขยายเป็นปกี และยงั ไปคลา้ ยกบั สว่ นโคนถงึ ทเี่ ปน็ ขอ้ ตอ่ สว่ นมากสน้ั หรอื ยาวไดถ้ งึ 2 ซม. มขี นและเกลด็ หนาแนน่
P. dussaudii Tardieu ตา่ งกนั ที่มีแผน่ ใบเกลยี้ ง ใบประดับรูปใบหอก แต่ยงั ไม่มี เส้นใบแยกแขนงคร้งั เดียวหรอื สองครง้ั ใกลเ้ ส้นกลางใบ กลมุ่ อับสปอร์มเี ยือ่ คลมุ
ขอ้ มลู ผลวา่ มปี กี หรอื ไมม่ ี ปจั จบุ นั จงึ ใหเ้ ปน็ ชนดิ ยอ่ ยของ P. densiflora Slooten ขนาดประมาณ 2 มม. เกลยี้ ง เรยี งขา้ งละแถวใกล้เสน้ กลางใบ
& Symington ทพ่ี บแถบคาบสมทุ รมลายู ผลกลมเปน็ คอรก์ กลบี เลย้ี งไมข่ ยายเปน็ ปกี
แตห่ ใู บรปู แถบ ชอ่ ดอกส้ันกว่า เส้นแขนงใบขา้ งละ 13-20 เสน้ พบทศ่ี รลี งั กา ไหห่ นาน ลาว เวยี ดนาม ภมู ภิ าคมาเลเซยี ในไทยพบทางภาคเหนอื
ภาคกลางทเ่ี ขาใหญ่ จงั หวดั นครนายก ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ทภ่ี กู ระดงึ จงั หวดั เลย
สกลุ Parashorea Kurz อยภู่ ายใตเ้ ผา่ Shoreae ทโี่ คนกลบี เลย้ี งในผลเรยี งซอ้ นเหลอ่ื ม ภาคตะวันออกเฉียงใต้ที่จันทบุรี ภาคตะวันตกเฉียงใต้ที่กาญจนบุรี และภาคใต้
มี 14 ชนดิ พบท่ีพมา่ จนี ตอนใต้ ภมู ภิ าคอนิ โดจีนและมาเลเซยี ในไทยมี 2 ชนิด อีกชนดิ ขน้ึ ตามป่าดบิ เขา ความสงู 1100-1500 เมตร
คือ ไข่เขียว P. stellata Kurz ทกี่ ลีบเลี้ยงขยายเปน็ ปีก 5 ปีก ยาวเทา่ ๆ กันในผล ชื่อ
สกลุ หมายถึงสกุลท่ีคลา้ ยกบั สกลุ Shorea เกลด็ นาคราชใบคล่ืน

เอกสารอ้างองิ Oleandra undulata (Willd.) Ching
Ashton, P.S. (1982). Dipterocarpaceae. In Flora Malesiana Vol. 9(2): 380-381.
Pooma, R. (2002). Further notes on Thai Dipterocarpaceae. Thai Forest Bulletin ชอ่ื พ้อง Polypodium undulatum Willd.
(Botany) 30: 10-12.
เฟนิ องิ อาศยั ขน้ึ บนดนิ หรอื บนหนิ เหงา้ ทอดเลอ้ื ย เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง 3-5 มม.
เกลด็ รปู ไขแ่ กมรปู ขอบขนาน ยาว 6-7 มม. มขี นยาว ใบเรยี งกระจายหรอื เรยี งชดิ กนั
รปู ใบหอก โคนเรยี วแคบ ยาว 15-30 ซม. แผ่นใบด้านล่างมขี นสน้ั นุม่ กา้ นใบ
ยาวได้ถึง 20 ซม. ส่วนโคนถึงที่เปน็ ข้อตอ่ ยาว 1.5-12 ซม. มีขน เสน้ ใบแยกแขนง
คร้ังเดียวหรือสองคร้ังใกล้เส้นกลางใบ กลุ่มอับสปอร์มีเย่ือคลุมขนาดประมาณ
2.2 มม. มีขนยาว เรียงเป็นระเบียบหรอื กระจายขา้ งละแถวใกล้เส้นกลางใบ

พบทีอ่ ินเดยี จนี ตอนใต้ พมา่ ลาว กมั พูชา และคาบสมุทรมลายู ในไทยพบ
ทกุ ภาค ขึ้นตามป่าดิบแล้ง บนหนิ ทรายหรือหนิ ปูนท่ีค่อนขา้ งแห้งแล้ง ความสงู ถึง
ประมาณ 1000 เมตร

เอกสารอา้ งองิ
Lindsay, S. and D.J. Middleton. (2012 onwards). Ferns of Thailand, Laos and
Cambodia. http://rbg-web2.rbge.org.uk/thaiferns/
Tagawa, M. and K. Iwatsuki. (1989). Oleandraceae (Nephrolepis). In Flora of
Thailand 3(2): 179-182.
Xianchun, Z. and P.H. Hovenkamp. (2013). Oleandraceae. In Flora of China
Vol. 2-3: 747-748.

เกล็ดเข:้ แผน่ ใบดา้ นล่างมขี ยุ เกล็ดสีเหลือง ผลเปลือกแขง็ ผวิ เปน็ คอร์ก ปลายเป็นติง่ สน้ั ๆ กลบี เลี้ยงหนา พบั งอ เกลด็ นาคราช: เฟนิ ข้ึนบนลานหนิ กลมุ่ อบั สปอรเ์ รยี งข้างละแถวใกลเ้ ส้นกลางใบ (ภาพ: ภหู ินร่องกลา้ พษิ ณโุ ลก - PK)
มกั ติดผลเพียงผลเดียวในแต่ละช่อ (ภาพซา้ ยและภาพขวาบน: ภวู ัว บึงกาฬ - RP); ไขเ่ ขยี ว: กลบี เลยี้ งขยายเปน็ ปีก 5 ปกี
ยาวเทา่ ๆ กันในผล (ภาพขวาลา่ ง: ยะลา - RP) 65

เกล็ดมณี สารานกุ รมพืชในประเทศไทย

เกลด็ นาคราชใบคล่ืน: ใบเรยี งกระจายหรอื เรยี งชดิ กนั แผ่นใบดา้ นล่างมขี นส้นั นมุ่ กลุม่ อบั สปอร์มีเยอ่ื คลมุ มขี นยาว ก้านเกสรเพศเมยี เชื่อมตดิ กันทีโ่ คน มีขน มี 1-5 ผลยอ่ ย ยาว 5-10 ซม. มีขนสน้ั นุม่
เรียงเป็นระเบียบหรอื กระจายขา้ งละแถวใกล้เสน้ กลางใบ (ภาพ: ภจู องนายอย อุบลราชธานี - TP) ผลแก่สีแดง แตกแนวเดยี ว มี 1-4 เมลด็ รปู รี ยาว 1.5-3 ซม. (ดูขอ้ มลู เพิม่ เตมิ ท่ี
ปอขนนุ , สกลุ )
เกล็ดมณี
มถี ่ินก�ำเนิดท่อี นิ เดีย จีน เวียดนาม มาเลเซีย และอนิ โดนีเซีย ในไทยปลูกเปน็
Epirixanthes elongata Blume ไมป้ ระดับ เมลด็ ตม้ หรอื อบกนิ ได้ รสชาตคิ ลา้ ยเกาลดั
วงศ์ Polygalaceae
เอกสารอ้างอิง
ไมล้ ม้ ลุกกนิ ซาก สูง 5-20 ซม. ลำ� ต้นสีเหลือง เกลย้ี งหรอื มขี นประปราย Phengklai, C. (2001). Sterculiaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(3): 641.
ใบคลา้ ยเกลด็ ขนาดเลก็ รปู สามเหลยี่ ม ยาว 1-2.5 มม. ปลายยาวคลา้ ยหาง ไรก้ า้ น Tang, Y., M.G. Gilbert and L.J. Dorr. (2007). Sterculiaceae. In Flora of China
ชอ่ ดอกแบบชอ่ เชงิ ลด ออกทป่ี ลายกง่ิ ยาว 1-6 ซม. ใบประดบั รปู ไขแ่ กมรปู ขอบขนาน Vol. 12: 306.
ยาวประมาณ 1 มม. ปลายยาวคลา้ ยหาง ขอบมขี นครยุ ติดทนหรือร่วงก่อนติดผล
ไมม่ ีใบประดบั ยอ่ ย ดอกสีขาวอมเหลอื ง กลีบเลี้ยงโคนเช่อื มติดกัน มี 5 กลบี รูปไข่ เกาลัด: ช่อดอกหอ้ ยลง กลีบเลี้ยงปลายเชอื่ มติดกัน ผลแตกแนวเดียว มขี นสัน้ นมุ่ (ภาพ: cultivated - RP)
ยาวประมาณ 1 มม. ปลายแหลมยาว กลีบดอก 3 กลีบ กลีบคู่บนรูปใบพาย ยาว
1.2-1.7 มม. เชอ่ื มตดิ กันประมาณก่ึงหนึง่ กลีบลา่ งรปู คุม่ ยาว 1.1-1.6 มม. เกสรเพศผู้ แกแล
5 อัน กา้ นชูอับเรณูเชือ่ มตดิ กนั ประมาณ 1.4 มม. จานฐานดอกจกั พเู ดยี ว รงั ไข่มี
2 ชอ่ ง แตล่ ะชอ่ งมอี อวลุ เมด็ เดยี ว กา้ นเกสรเพศเมยี ยาว 0.6-1 มม. ผลแหง้ ไมแ่ ตก Maclura cochinchinensis (Lour.) Corner
รปู คลา้ ยไต กวา้ งประมาณ 1 มม. เมลด็ รปู รีขนาดเล็ก สีดำ� วงศ์ Moraceae

พบท่ีอินเดีย พม่า จีนตอนใต้ เวียดนาม คาบสมุทรมลายู สุมาตรา ชวา ชือ่ พอ้ ง Vanieria cochinchinensis Lour.
บอรเ์ นยี ว และหมเู่ กาะโมลกุ กะ ในไทยพบกระจายหา่ ง ๆ ทกุ ภาค ขน้ึ บนซากใบไม้
ใตร้ ม่ เงาในป่าดิบแล้ง และป่าดบิ ชื้น ความสูงถึงประมาณ 600 เมตร ไมพ้ มุ่ หรอื รอเลอื้ ย มหี นามยาวไดถ้ งึ 4 ซม. นำ้� ยางสขี าว หใู บรว่ งเรว็ ใบเรยี งเวยี น
รปู รี รปู ไข่ หรอื รปู ขอบขนาน ยาวไดถ้ งึ 14 ซม. แผน่ ใบดา้ นลา่ งมขี นสน้ั นมุ่ หรอื เกลยี้ ง
สกุล Epirixanthes Blume มี 5 ชนิด สว่ นใหญ่พบในภมู ิภาคมาเลเซีย ในไทย ก้านใบยาว 0.3-2 ซม. ชอ่ ดอกแบบชอ่ กระจกุ แน่นหรอื คลา้ ยช่อเชงิ ลดส้นั ๆ
มีชนิดเดียว ชือ่ สกุลมาจากภาษากรกี “epi” ดา้ นบน และ “xanthos” สเี หลอื ง ใบประดบั ขนาดเล็ก กลบี รวม 4 กลบี เรยี งตรงข้ามสลับต้ังฉาก มขี นประปราย
ตามลกั ษณะลำ�ต้น ชอ่ ดอกเพศผู้ออกเด่ยี ว ๆ หรอื เป็นคตู่ ามซอกใบ กา้ นชอ่ ยาว 0.3-1 ซม. ชอ่ เส้น
ผ่านศนู ย์กลาง 0.3-1 ซม. กลบี ยาว 1-1.5 มม. เกสรเพศผู้ 4 อนั ยาวประมาณ
เอกสารอ้างอิง 1 มม. ชอ่ ดอกเพศเมยี กา้ นชอ่ ยาวประมาณ 1 ซม. กลบี ยาวประมาณ 1 มม. ขยาย
Pendry, C. (2001). Polygalaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(3): 498-499. ในผล ก้านเกสรเพศเมยี สัน้ ยอดเกสรเพศเมยี ยาว 2-3 มม. บิดงอ ผลเช่ือมติดกนั
เส้นผา่ นศนู ยก์ ลาง 1-2 ซม. สุกสแี ดงอมสม้

พบท่ีศรลี งั กา อินเดีย ภฏู าน จนี ญ่ีปุน่ ไต้หวัน ภมู ภิ าคอินโดจนี และมาเลเซีย
ฟลิ ปิ ปินส์ นวิ กีนี ออสเตรเลีย และหม่เู กาะแปซิฟกิ ในไทยพบทุกภาค เนือ้ ไมแ้ ก้ไข้
ทอ้ งรว่ ง บำ� รุงก�ำลัง ขบั ปัสสาวะ ตา้ นเชอื้ ไวรสั ใหส้ ีเหลอื งใชย้ อ้ มผา้ ไหม

สกลุ Maclura Nutt. มปี ระมาณ 10 ชนิด พบในอเมริกาเหนอื และใต้ แอฟริกา
เอเชยี ออสเตรเลยี และหมเู่ กาะแปซฟิ กิ ชอื่ สกุลต้ังตามนกั ธรณวี ิทยาชาวอเมริกัน
ทเ่ี กดิ ในสกอตแลนด์ William Maclure (1763-1840)
เอกสารอ้างอิง
Berg, C.C., N. Pattharahirantricin and B. Chantarasuwan. (2011). Moraceae in

Flora of Thailand Vol. 10(4): 655-656.
Wu, Z., Z.K. Zhou and M.G. Gilbert. (2003). Moraceae. In Flora of China Vol. 5: 35.

เกลด็ มณ:ี ไม้ลม้ ลุกกินซาก ช่อดอกแบบชอ่ เชิงลด กลีบคูบ่ นรูปใบพาย เชือ่ มติดกนั ประมาณก่งึ หนง่ึ เมลด็ สีดำ� แกแล: ไมพ้ ่มุ หรือรอเลือ้ ย มีหนามยาว ใบเรียงเวยี น ช่อดอกแบบชอ่ กระจกุ แน่น ผลเช่อื มตดิ กนั (ภาพดอก:
(ภาพ: ศรพี งั งา พงั งา - SSi) ชุมพร - PK; ภาพผล: สรุ าษฎร์ธานี - RP)

เกาลัด

Sterculia monosperma Vent.
วงศ์ Malvaceae

ไม้พ่มุ หรอื ไม้ตน้ สูงได้ถึง 10 ม. หูใบคล้ายรยางค์ รว่ งเร็ว ใบรูปรีหรือรปู
ขอบขนาน ยาว 8-30 ซม. เสน้ แขนงใบเรยี งจรดกนั ใกล้ขอบใบ เสน้ โคนข้างละ
1 เสน้ ก้านใบยาว 2-5 ซม. ชอ่ ดอกหอ้ ยลง ยาว 20-30 ซม. มขี นประปราย
ดอกเพศผจู้ �ำนวนมาก ดอกเพศเมียมีน้อยกวา่ ใหญ่กวา่ เลก็ นอ้ ย กา้ นดอกยาว
ประมาณ 1 ซม. กลบี เลยี้ งยาวประมาณ 1 ซม. เชอ่ื มตดิ กนั ประมาณกง่ึ หนงึ่ ปลาย
เชอ่ื มตดิ กนั ขอบมขี น เกสรเพศผู้ 10 อนั กา้ นชเู กสรรว่ มเรยี วยาว อบั เรณไู รก้ า้ น

66

สารานกุ รมพชื ในประเทศไทย แก้วน�้ำคา้ ง

แก้ว สกลุ Guaiacum L. มีประมาณ 5 ชนดิ พบเฉพาะในทวปี อเมริกา ชือ่ สกุลมา
จากภาษาสเปนในอเมริกาใต้ “guaiac” หรือ “guayaco” ทใ่ี ช้เรียกแกว้ เจ้าจอม
Murraya paniculata (L.) Jack เอกสารอา้ งอิง
วงศ์ Rutaceae ราชบณั ฑติ ยสถาน. (2547). อนุกรมวธิ านพชื อักษร ก. พมิ พ์ครงั้ ท่ี 2. ราชบัณฑิตยสถาน,

ชือ่ พอ้ ง Chalcas paniculata L., Murraya exotica L. กรุงเทพฯ.
Staples, G.W. and D.R. Herbst. (2005). A tropical garden flora. Bishop Museum
ไมพ้ มุ่ หรือไมต้ ้นขนาดเล็ก สงู ได้ถึง 10 ม. ใบประกอบช้นั เดียว เรยี งเวียน ก้านใบ
ไม่มีปีก ใบยอ่ ยมี 3-9 ใบ เรียงสลบั ระนาบเดียว รูปไข่กลับ ยาว 2.5-7 ซม. โคนเบ้ยี ว Press, Honolulu, Hawai`i.
ชอ่ ดอกแบบช่อกระจะ ออกส้นั ๆ ตามปลายกิง่ กลบี เลี้ยง 5 กลีบ เชื่อมตดิ กันท่โี คน
รปู ไขห่ รือรปู ขอบขนาน ยาวได้ถงึ 2 มม. ตดิ ทน กลีบดอก 5 กลีบ รูปขอบขนาน แก้วเจา้ จอม: ใบประกอบปลายคู่ มใี บยอ่ ย 2-3 คู่ ไร้กา้ น กลีบดอกสีฟ้าอมมว่ ง ผลรูปหวั ใจ ปลายมีต่งิ แหลม
แกมรปู ไข่กลบั ยาว 1-2 ซม. เรียงซอ้ นเหล่ือม ฐานดอกรปู วงแหวน เกสรเพศผู้ ขอบผลหนา (ภาพ: cultivated; ภาพดอก - RP, ภาพผล - SSi)
10 อนั ยาวไมเ่ ทา่ กนั ยาวประมาณกึ่งหนง่ึ ของกลีบดอก รังไข่มี 2-5 ชอ่ ง แตล่ ะช่อง
มีออวลุ 1-2 เมด็ ก้านเกสรเพศเมยี ยาวประมาณ 7 มม. ยอดเกสรรูปโล่ ผลสดมี แก้วน้ำ�ค้าง, สกลุ
หลายเมล็ด รปู รี ยาว 1-2 ซม. สกุ สีแดง มี 1-2 เมลด็ มีขนเหนียวหมุ้
Codonoboea Ridl.
พบทอ่ี นิ เดยี ปากสี ถาน ศรลี งั กา ภฏู าน เนปาล จนี พมา่ ภมู ภิ าคอนิ โดจนี และ วงศ์ Gesneriaceae
มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ นิวกินี ออสเตรเลีย และหมูเ่ กาะแปซฟิ ิก ในไทยพบทกุ ภาค
โดยเฉพาะตามเขาหนิ ปนู ทางภาคใต้ ความสงู ถงึ ประมาณ 600 เมตร เปน็ ไมป้ ระดบั ไม้ล้มลุก โคนต้นมักมีเนื้อไม้ ใบส่วนมากเรียงตรงข้าม พบน้อยท่ีเรียงเวียน
เนื้อไม้สขี าวนวล ใช้แกะสลัก ใบใชแ้ กป้ วดท้อง แก้คันบวมตามผวิ หนงั ปลายใบส่วนมากแหลมยาวและโคนเบี้ยวเล็กน้อย ขอบมักจักฟันเล่ือย ช่อดอก
แบบชอ่ กระจกุ มหี นง่ึ หรอื หลายชอ่ ออกตามซอกใบหรอื แนบตดิ กา้ นใบ แตล่ ะชอ่
สกุล Murraya J. Koenig ex L. มีประมาณ 10 ชนิด ในไทยมี 3-4 ชนดิ สำ�หรับ มหี น่งึ หรือหลายดอก ใบประดบั ขนาดเล็ก กลีบเลย้ี ง 5 กลบี แยกจรดโคน ตดิ ทน
แกว้ ท่เี ป็นไมป้ ระดบั มีหลากสายพนั ธ์ุ เช่น แก้วหมิ าลยั แกว้ แคระ หรอื แก้ว ดอกรปู แตร ปลายแยกเปน็ 5 กลีบ กลบี ลา่ ง 3 กลีบ ยาวกวา่ คู่บน เกสรเพศผู้ 2 อัน
เวยี ดนาม ชอื่ สกลุ ต้งั ตามนกั พฤกษศาสตร์ชาวสวีเดน Johan Andreas Myrray ตดิ ภายในหลอดกลบี ไมย่ นื่ พน้ ปากหลอดกลบี ดอก อบั เรณเู ชอื่ มตดิ กนั ปลายแกน
(1740-1791) มรี ยางคค์ ลา้ ยเดอื ยสนั้ ๆ เกสรเพศผทู้ เี่ ปน็ หมนั 3 อนั ขนาดเลก็ จานฐานดอกเรยี บ
เอกสารอ้างองิ เปน็ วง หรอื จกั เปน็ พู รังไข่รูปทรงกระบอกเรยี วจรดกา้ นเกสรเพศเมยี ยอดเกสร
Ridley, H.N. (1922). Rutaceae. Flora of the Malay Peninsula Vol. 1: 353. คล้ายโล่หรือรูปกระบอง ผลแห้งแตกตามยาวด้านบน รูปทรงกระบอก เมล็ด
Zhang, D. and T.G. Hartley. (2008). Rutaceae (Murraya). In Flora of China Vol. จ�ำนวนมาก ขนาดเล็ก

11: 85-86. สกุล Codonoboea เคยอยภู่ ายใตส้ กลุ Didymocarpus sect. Codonoboea และ
มีหลายชนดิ เคยอยู่ภายใต้สกลุ Henckelia ซึ่งเป็นสกลุ ทเ่ี คยถูกยุบไปรวมกับสกุล
แก้ว: หลากสายพนั ธ์ุ กลบี ดอกเรยี งซอ้ นเหล่ือม เกสรเพศผยู้ าวไม่เท่ากัน ยอดเกสรเพศเมยี รูปโล่ ผลสกุ สแี ดง Didymocarpus และคล้ายกบั สกลุ Loxocarpus ท่มี ีเกสรเพศผู้ทสี่ มบูรณ์ 2 อนั
(ภาพ: cultivated, ภาพบนซา้ ย: แกว้ , ภาพบนขวา: แก้วเวยี ดนาม, ภาพล่างซ้ายและขวา: แกว้ แคระ; - RP) ผลชี้ขึน้ และแตกดา้ นบน แต่ผลสัน้ โคนหนา ปัจจุบนั มปี ระมาณ 120 ชนิด ส่วนมาก
พบในภูมภิ าคมาเลเซีย ในไทยมปี ระมาณ 14 ชนดิ ช่อื สกุลมาจากภาษากรกี
แก้วเจ้าจอม “kodon” ระฆงั และชอื่ สกุล Boea

Guaiacum officinale L. แก้วนำ้�ค้าง
วงศ์ Zygophyllaceae
Codonoboea hispida (Ridl.) Kiew
ไมต้ ้น สงู ได้ถึง 15 ม. ขอ้ พองเปน็ ปุ่ม ใบประกอบปลายคู่ ก้านใบยาว 0.5-1 ซม.
ใบยอ่ ยมี 2-3 คู่ รปู ไข่กลับหรอื รูปรีกวา้ ง ปลายมนกลม โคนรปู ลมิ่ กวา้ ง ไรก้ า้ น ชอ่ื พอ้ ง Didymocarpus hispidus Ridl., Henckelia hispida (Ridl.) A. Weber
ช่อดอกแบบชอ่ กระจกุ มี 3-4 ดอก ออกตามปลายกง่ิ กลบี เลี้ยงขนาดเลก็ 5 กลบี
ดอกสีฟ้าอมม่วงหรอื ขาว มี 5 กลีบ รูปขอบขนานหรอื แกมรปู ไข่กลบั ยาว 1-2 ซม. ไมล้ ม้ ลกุ สงู 30-50 ซม. มขี นสากตามแผน่ ใบดา้ นลา่ ง ชอ่ ดอก และกลบี เลย้ี ง
รวมก้านสัน้ ๆ เกสรเพศผู้ 10 อัน อบั เรณูติดทีด่ า้ นหลงั รังไข่ 2-5 ชอ่ ง เกสรเพศเมีย ใบรปู รหี รือรูปไข่ ยาว 3.5-11 ซม. เส้นแขนงใบข้างละ 7-12 เส้น กา้ นใบยาว
1 อนั ผลแห้งแตกรปู หัวใจ แบน ยาว 1.5-2 ซม. ปลายมีติ่งแหลม ขอบหนา 2 ข้าง 0.5-2 ซม. ชอ่ ดอกมี 1-3 ดอก กา้ นชอ่ ยาว 7.5 ซม. ก้านดอกยาว 5-8 มม. กลีบเล้ยี ง
สเี หลอื งอมสม้ มี 1-2 เมลด็ เมล็ดมเี ย่ือหมุ้ สีแดง รปู แถบ ยาว 3-8 มม. ดอกสีขาว ยาว 2.5-3 ซม. ด้านนอกมขี นกระจาย ดา้ นในมี
ขนยาวและตมุ่ ประปราย มปี น้ื สเี หลอื ง 2 แนว มเี สน้ สมี ว่ งแดงแซม กา้ นเกสรเพศเมยี
มีถ่ินก�ำเนิดในอเมริกาใต้ อเมริกากลาง และรัฐฟลอริดาของสหรัฐอเมริกา ยาว 1.3-1.8 ซม. มีขนหนาแน่น ผลยาว 3.5 ซม.
เปน็ ดอกไมป้ ระจ�ำชาตขิ องจาไมก้า อยู่ในบัญชีที่ 2 ของ CITES เนือ้ ไม้โดยเฉพาะ
แกน่ มีความแขง็ แรงสงู เปน็ ไมป้ ระดบั ทั่วไปในเขตร้อน ชือ่ สามญั Lignum vitae พบทีค่ าบสมุทรมลายู และภาคใต้ของไทยทีน่ ครศรธี รรมราช ยะลา ขนึ้ ตาม
หมายถงึ ไมแ้ หง่ ชีวิต wood of life อนึง่ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยู่หวั ป่าดิบเขา ความสูง 1300-1400 เมตร
ทรงนำ� ต้นกล้ามาจากเกาะชวา และทรงปลกู ท่ีวังสวนสุนนั ทา เปน็ ดอกไม้ประจ�ำ
มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา แกว้ นำ้�คา้ ง

Codonoboea appressipilosa (B. L. Burtt) D. J. Middleton

ชอ่ื พ้อง Henckelia appressipilosa B. L. Burtt

ไมล้ ม้ ลกุ สงู ไดถ้ งึ 30 ซม. มขี นยาวหนาแนน่ ตามแผน่ ใบทงั้ สองดา้ น ชอ่ ดอก
กลบี เลี้ยงด้านนอก ใบเรยี งเวียน รปู ไข่กลบั หรือรูปใบหอกกลบั ยาว 12-18 ซม.
โคนสอบ ขอบจกั ลึกชว่ งโคน เสน้ แขนงใบข้างละ 25-30 เส้น ไร้กา้ น ชอ่ ดอกมี

67

แก้วทับทิม สารานุกรมพืชในประเทศไทย

1-3 ชอ่ แตล่ ะชอ่ มี 1-3 ดอก ก้านชอ่ ยาว 2.5-4 ซม. กา้ นดอกยาวประมาณ 8 มม. ถึงรูปใบหอก หรือรปู เคยี ว ยาว 5-16 ซม. ปลายแหลมยาว โคนเบยี้ วเล็กน้อย
กลีบเลี้ยงรูปใบหอก ยาว 5-6 มม. ดอกสขี าว ยาว 4.7-5 ซม. ดา้ นนอกมีขนหนาแน่น เส้นแขนงใบขา้ งละ 9-16 เสน้ กา้ นใบยาว 1-2 ซม. ช่อดอกมี 1-5 ชอ่ แต่ละช่อมี
ด้านในกลีบปากล่างมีปื้นสีเหลืองเข้ม 2 แนว ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 2-4 ดอก มีตอ่ มสีมว่ งแดงกระจาย ก้านชอ่ ยาว 6-8.5 ซม. กา้ นดอกยาว 2-3 มม.
3.8 ซม. มีขนสั้นหนาแนน่ กลบี เลยี้ งสมี ว่ งเขม้ รปู ใบหอกปลายมน ยาว 2.5-3 มม. ดอกสมี ว่ งอมแดง โคนสขี าว
ปลายกลบี สีขาวอมเหลอื ง ยาวประมาณ 2 ซม. ด้านนอกมขี นประปราย ดา้ นใน
พชื ถน่ิ เดยี วของไทย พบเฉพาะทอี่ ำ� เภอแวง้ และสคุ ริ นิ จงั หวดั นราธวิ าส ขน้ึ ตาม มตี มุ่ เลก็ และขนประปรายรอบปากหลอดกลบี กา้ นเกสรเพศเมยี ยาว 1.3-1.8 ซม.
ปา่ ดิบชนื้ ใกล้ลำ� ธาร ความสูงระดับต�่ำ ๆ มขี นสน้ั หนาแน่น ผลเหยียดตรง ยาว 2.5-3.5 ซม. มีขนประปราย

แกว้ ทับทมิ พชื ถนิ่ เดยี วของไทย พบเฉพาะทส่ี คุ ริ นิ และสไุ หงโกลก จงั หวดั นราธวิ าส ขนึ้ ตาม
ปา่ ดิบชื้น ความสงู 200-300 เมตร
Codonoboea reptans (Jack) C. L. Lim
แกว้ อคั นี
ชอ่ื พ้อง Didymocarpus reptans Jack, Henckelia reptans (Jack) Spreng.
Codonoboea inaequalis (Ridl.) Kiew
ไมล้ ้มลกุ แตกก่งิ ตำ่� สูง 10-30 ซม. มีขนสนั้ หนาแน่นตามแผน่ ใบดา้ นล่าง
ช่อดอก กลบี เลยี้ ง และผล ใบรูปรี ยาว 3-10 ซม. แผน่ ใบด้านลา่ งมกั มีสีม่วงแดง ชื่อพอ้ ง Didymocarpus inaequalis Ridl., Henckelia inaequalis (Ridl.) A. Weber
เส้นแขนงใบข้างละ 8-10 เสน้ ก้านใบยาว 1-2 ซม. ช่อดอกมี 1-3 ดอก ก้านช่อยาว
3.5-4.5 ซม. ก้านดอกยาว 5-8 มม. กลีบเลีย้ งรปู ใบหอก ยาว 4-5 มม. ดอกสีขาวหรอื ไม้ลม้ ลุก แตกกิง่ ตำ�่ สูง 10-50 ซม. มขี นส้นั หนาแนน่ ตามกิ่งออ่ น แผ่นใบ
อมมว่ ง ยาวประมาณ 2 ซม. ดา้ นนอกมขี นส้ันประปราย ด้านในสีเหลอื งออ่ น ทงั้ สองด้าน ช่อดอก และกลบี เล้ียง ใบเรยี งเวยี น รูปรถี งึ รูปใบหอก มักเบีย้ ว
ดา้ นล่างมีป้ืนสีเหลอื ง 2 แนว และเส้นสีนำ�้ ตาลอมม่วงแซม ก้านเกสรเพศเมยี ยาว 2.5-8 ซม. เส้นแขนงใบขา้ งละ 6-12 เสน้ กา้ นใบยาว 0.5-2 ซม. ช่อดอกมี
ยาว 1.2-1.3 ซม. มขี นสั้นละเอยี ด ผลยาว 3-3.5 ซม. ผลออ่ นสมี ่วงแดง 2-4 ดอก ก้านช่อยาว 2-3 ซม. ก้านดอกยาว 0.3-1 ซม. กลีบเลีย้ งโคนสมี ว่ งแดง
รปู สามเหล่ยี มแคบ ยาว 3-4 มม. ดอกสขี าวอมม่วงหรือชมพู ยาว 4.5-5 ซม.มี
พบทคี่ าบสมทุ รมลายแู ละสมุ าตรา ในไทยพบทางภาคใตต้ อนลา่ งทย่ี ะลา ขน้ึ ตาม ขนประปราย หลอดกลีบด้านในสีขาว มีตมุ่ เล็ก ๆ รอบปากหลอดกลบี ดา้ นลา่ ง
ปา่ ดิบชน้ื ความสงู 100-800 เมตร เปน็ ชนิดท่ีมีความผนั แปรสงู แยกเป็น var. มีปืน้ สเี หลอื ง 2 แนว ก้านเกสรเพศเมยี ยาว 3-3.5 ซม. มีขนละเอยี ด ผลเหยียดตรง
modesta (Ridl.) C. L. Lim และ var. monticola (Ridl.) C. L. Lim ลักษณะ ยาว 3-5 ซม. มีขนประปราย
ทางสัณฐานแตกตา่ งกนั ยงั ไม่ชดั เจน ซ่งึ ในไทยมรี ายงานเฉพาะชนิดย่อยทส่ี อง
พบทค่ี าบสมทุ รมลายู และภาคใตต้ อนลา่ งของไทยทส่ี งขลา และยะลา ขน้ึ ตาม
แก้วบุษรา ซอกหนิ หรือบนดินในป่าแคระตามยอดเขาทีม่ ีหินโผล่ ความสงู 500-900 เมตร

Codonoboea filicalyx (B. L. Burtt) D. J. Middleton เอกสารอ้างองิ
Burtt, B.L. (2001). Flora of Thailand: annotated checklist of Gesneriaceae. Thai
ช่อื พอ้ ง Henckelia filicalyx B. L. Burtt Forest Bulletin (Botany) 29: 81-109.
Kiew, R. and C.L. Lim. (2011). Names and new combinations for peninsular
ไมล้ ม้ ลกุ ทอดนอน ลำ� ตน้ สน้ั มไี หลยาวไดถ้ งึ 30 ซม. มขี นสน้ั นมุ่ ตามลำ� ตน้ Malasian species of Codonoboea Ridl. Gardens’ Bulletin Singapore 62(2):
แผน่ ใบทงั้ สองดา้ น ชอ่ ดอก กลีบเลยี้ ง และผล ใบเรียงชิดกนั ที่ปลายยอด รปู รี รปู ไข่ 253-275.
หรือรปู ใบหอก ยาว 4.5-10 ซม. ปลายแหลมหรอื มน ขอบเรยี บ แผน่ ใบด้านบน Middleton, D.J., A. Weber, T.L. Yao, A. Sontag and M. Möller. (2013). The
มขี นคลา้ ยไหมสขี าวเปน็ ลายตามแนวเสน้ กลางใบและเสน้ แขนงใบ เสน้ แขนงใบ current status of the species hitherto assigned to Henckelia (Gesneriaceae).
ขา้ งละ 4-8 เสน้ กา้ นใบยาว 1.5-4 ซม. ชอ่ ดอกมีดอกเดียว กา้ นช่อยาว 2.5-3.5 ซม. Edinburgh Journal of Botany 70(3): 385-404.
กา้ นดอกยาวประมาณ 3 มม. กลีบเล้ียงรปู ใบหอก ยาว 7-8 มม. ดอกสีเหลอื งออ่ น
โคนสขี าว ยาว 3.5-4.5 ซม. ดา้ นนอกมขี นสน้ั ดา้ นในคอหลอดมตี มุ่ เลก็ ๆ กลบี ปาก แก้วน�้ำค้าง: C. hispida กา้ นใบสัน้ ช่อดอกมี 1-3 ดอก กลบี เล้ยี งรูปแถบ กลีบดอกด้านในมีปน้ื สเี หลือง 2 แนว มี
ด้านลา่ งมีปน้ื สเี หลอื งเขม้ 2 แนว ก้านเกสรเพศเมียยาว 3-3.5 ซม. มีขนสนั้ น่มุ เสน้ สีม่วงแดงแซม (ภาพซา้ ย: ยะลา - MP); แก้วนำ�้ ค้าง: C. appressipilosa ใบเรียงเวียน โคนสอบ เส้นแขนงใบ
ผลยาว 2-3 ซม. จำ� นวนมาก ไรก้ า้ น กลีบดอกด้านในกลบี ปากลา่ งมีปืน้ สีเหลืองเข้ม 2 แนว (ภาพขวา: นราธิวาส - MP)

พชื ถนิ่ เดยี วของไทย พบทางภาคใตต้ อนลา่ งทน่ี ราธวิ าส ยะลา ขน้ึ ตามสนั เขาใน แกว้ ทบั ทมิ : ใบเรียงตรงข้าม ชอ่ ดอกมี 1-3 ดอก กลีบดอกดา้ นในมักมีสเี หลอื งออ่ น ด้านลา่ งมีปื้นสีเหลอื ง 2 แนว
ปา่ ดบิ ชืน้ ความสูง 300-1100 เมตร และเส้นสนี �้ำตาลอมมว่ งแซม (ภาพ: ยะลา - MP)

แกว้ พรหมมนิ ทร์

Codonoboea pumila (Ridl.) C. L. Lim

ชอ่ื พอ้ ง Didymocarpus pumilus Ridl., Henckelia nana (Ridl.) A. Weber

ไมล้ ม้ ลกุ ทอดนอน ลำ� ตน้ สน้ั มไี หลแยกออกดา้ นขา้ ง มขี นสน้ั นมุ่ หนาแนน่
ตามยอด แผ่นใบทงั้ สองดา้ น มปี ระปรายตามชอ่ ดอก กลีบเล้ียง กลีบดอก และผล
ใบเรียงชดิ กันท่ปี ลายยอด รปู รหี รอื รปู ไข่ ยาว 4.5-7.5 ซม. ปลายกลมหรือแหลม
เสน้ แขนงใบข้างละ 6-10 เสน้ ก้านใบยาว 1-4.5 ซม. ชอ่ ดอกมีดอกเดยี ว ก้านชอ่ ยาว
4-6.5 ซม. ก้านดอกยาว 3-5 มม. กลีบเลย้ี งมสี มี ว่ งแดงแตม้ รปู ไข่ ยาว 1.2-3 มม.
ดอกสขี าวอมมว่ งอ่อน ๆ ยาวประมาณ 2 ซม. กา้ นเกสรเพศเมยี ยาว 1-1.5 ซม. มี
ขนสัน้ ผลยาว 1.3-2.5 ซม. ผลอ่อนสมี ว่ งแดง

พบที่คาบสมทุ รมลายู และภาคใตต้ อนลา่ งของไทยทยี่ ะลา ข้ึนตามปา่ ดิบเขา
ความสูง 1400-1500 เมตร

แก้วสไุ หงโกลก

Codonoboea kolokensis (B. L. Burtt) D. J. Middleton

ชือ่ พ้อง Henckelia kolokensis B. L. Burtt

ไม้ล้มลุก ลำ� ตน้ ตั้งตรง สูง 20-60 ซม. มีขนสัน้ น่มุ หนาแนน่ กิ่งออ่ น แผ่นใบ
ด้านล่างมขี นตามเสน้ กลางใบและเสน้ แขนงใบ ชอ่ ดอก และกลีบเลี้ยง ใบรปู รี

68

สารานกุ รมพืชในประเทศไทย โกงกางน้ำ� จดื

สกลุ Theobroma L. มีประมาณ 20 ชนดิ พบเฉพาะในอเมริกากลางและ
อเมริกาใต้ ชื่อสกุลมาจากภาษากรกี “theos” พระเจ้า และ “broma” อาหาร
หมายถึงอาหารของพระเจ้า สว่ นคำ�ระบุชนิด “cacao” มาจากภาษา Nahuatl
(Aztec) “xocol” หมายถึงขม
เอกสารอา้ งอิง
Royal Botanic Gardens, Kew. Theobroma cacao (cocoa tree). http://www.kew.

org/plants-fungi/Theobroma-cacao.htm

แก้วบุษรา: แผ่นใบดา้ นบนมขี นคล้ายไหมตามเสน้ กลางใบและเส้นแขนงใบ ช่อดอกมีดอกเดียว (ภาพ: ยะลา - MP)

แก้วพรหมมนิ ทร์: ไมล้ ม้ ลกุ ทอดนอน มขี นส้ันนมุ่ หนาแน่นแผ่นใบทง้ั สองดา้ น ชอ่ ดอกมดี อกเดยี ว (ภาพ: ยะลา - MP) โกโก้: ดอกออกเปน็ กระจกุ ตามลำ� ตน้ กระจุกละ 3-5 ดอก กลีบเลย้ี งพับงอกลับ ผลเรยี บหรือเปน็ ร่องตนื้ ๆ 10 ร่อง
(ภาพ: cultivated - RP)
แกว้ สไุ หงโกลก: กลบี เลย้ี งสีม่วงเข้ม ดอกสมี ว่ งอมแดง โคนสีขาว ปลายกลีบสีขาวอมเหลือง ผลเหยยี ดตรง (ภาพ:
นราธวิ าส - MP) โกงกางน้ำ�จืด

แกว้ อคั น:ี มีขนส้ันหนาแน่นตามก่งิ อ่อน แผน่ ใบทงั้ สองดา้ น ใบเรียงเวยี น เบย้ี ว ดอกสขี าวอมมว่ งหรอื ชมพู ด้านลา่ ง Marcania grandiflora J. B. Imlay
มีปนื้ สเี หลือง 2 แนว ผลเหยยี ดตรง (ภาพ: นราธิวาส - MP) วงศ์ Acanthaceae

โกโก้ ไม้พมุ่ สูงได้ถึง 2 ม. โปง่ ตามข้อ มีขนสั้นนุ่มตามใบประดับ ใบประดบั ย่อย
กลบี เลยี้ งและกลบี ดอกดา้ นนอก ใบเรยี งตรงขา้ มสลบั ตง้ั ฉาก รปู ไข่ ยาว 6-15 ซม.
Theobroma cacao L. ปลายแหลม โคนมน กา้ นยาว 1-3.5 ซม. ใบประดับ 1 ใบ ใบระดับยอ่ ย 2 ใบ
วงศ์ Sterculiaceae รปู ใบหอก ยาวประมาณ 4 มม. ชอ่ ดอกแบบชอ่ กระจุก ออกสั้น ๆ ตามซอกใบ
ใกล้ปลายก่งิ มี 1-2 ดอก ก้านดอกหนา ยาว 3-5 มม. กลบี เลีย้ ง 5 กลีบ ยาวไม่
ไม้ต้น สงู ไดถ้ งึ 10 ม. ใบเรยี งเวียน รูปรี รูปไข่ หรือแกมรปู ขอบขนาน ยาว เท่ากัน รปู ใบหอกหรอื รปู แถบ ยาว 1.5-2.5 ซม. ติดทน ดอกสีขาว กลบี รปู ปากเปิด
10-35 ซม. แผ่นใบเกลย้ี งหรอื มีขนรูปดาวกระจายด้านลา่ ง กา้ นใบยาว 1-2 ซม. หลอดกลบี ดอกยาว 2-5 ซม. โคนดา้ นในมขี นยาว กลบี บนรปู ขอบขนาน ปลายแยก
ปลายกา้ นปอ่ ง ดอกออกเปน็ กระจกุ ตามกงิ่ และลำ� ตน้ กระจกุ ละ 3-5 ดอก สคี รมี 2 กลบี รปู รกี วา้ ง ยาวประมาณ 6 มม. กลบี ลา่ ง 3 กลบี โคง้ กลบั รปู รี ยาวประมาณ
หรืออมชมพู ดอกเส้นผ่านศนู ยก์ ลาง 1-2 ซม. กลบี เลี้ยง 5 กลบี พบั งอกลบั กลีบดอก 1 ซม. เกสรเพศผู้ 2 อนั ตดิ ทโ่ี คนหลอดกลีบ ไมย่ ื่นพ้นหลอดกลีบ จานฐานดอก
5 กลีบ บาง ติดระหวา่ งกลีบเลี้ยง ส้ันกว่ากลบี เลยี้ งเลก็ นอ้ ย เกสรเพศผู้ 10 อัน รปู วงแหวน รงั ไขแ่ ละกา้ นเกสรเพศเมยี มขี นยาว กา้ นเกสรเพศเมยี ยาวประมาณ
โคนเชื่อมติดกัน ยอดเกสรเพศเมยี แยกเป็น 5 แฉก ผลรูปรีหรือรปู ขอบขนาน 3.5 ซม. ปลายแยก 2 แฉก ผลแหง้ แตก รปู ทรงกระบอก ปลายปอ่ ง ยาวประมาณ
ยาว 12-30 ซม. ผิวเรยี บหรอื เปน็ ร่องตืน้ ๆ 10 ร่อง เปลือกในแขง็ เนอื้ เป็นปยุ 3 ซม. มี 4 เมลด็ แบน รูปรี ยาว 6-7 มม. มีสนั กลาง
มีกลน่ิ หอม เมล็ดจำ� นวนมากเรียง 5 แถว มีเย่อื ห้มุ บาง ๆ
พืชถ่ินเดียวของไทย พบทางภาคกลางทลี่ พบุรี สระบุรี และภาคตะวันตกเฉยี งใต้
มถี น่ิ กำ� เนดิ ในอเมรกิ าใตแ้ ละเมก็ ซโิ ก สารจากเมลด็ มรี สขม ใชผ้ ลติ ชอ็ กโกแลต ทก่ี าญจนบรุ ี เพชรบรุ ี ขนึ้ บนเขาหนิ ปนู เตยี้ ๆ ทแี่ หง้ แลง้ ความสงู ไมเ่ กนิ 100 เมตร
มีสารโพลีฟีนอลท่ีช่วยลดอนุมูลอิสระของไลโปโปรตีนความแน่นต�่ำช่วยป้องกัน
โรคหัวใจ ไขมันจากเมลด็ (Cocoa Butter) ใช้ท�ำสบู่ และเคร่ืองสำ� อาง และยงั มี สกุล Marcania J. B. Imlay มีเพยี งชนิดเดียว ชอื่ สกุลตั้งตามนักเคมชี าวอังกฤษ
สาร theobromine มีฤทธิ์ขับปสั สาวะ ขยายหลอดเลอื ด และคลายกลา้ มเน้อื ทเี่ ข้ามาสำ�รวจและเกบ็ ตัวอยา่ งพรรณไมใ้ นไทยช่วงปี ค.ศ. 1919-1931 Alexander
Marcan (1883-1953)
เอกสารอ้างองิ
Imlay, J.B. (1939). Contributions to the Flora of Siam. Bulletin of Miscellaneous

Information Kew 1939: 136-137.

โกงกางน�้ำจืด: ใบเรยี งตรงขา้ มสลับตง้ั ฉาก ช่อดอกมี 1-2 ดอก กลบี เล้ียงรูปแถบ กลบี ดอกรปู ปากเปดิ กลีบปากมี
ขนยาวดา้ นใน ผลรปู ทรงกระบอก ปลายป่อง (ภาพ: ลพบุรี - RP)

69

โกงกางหูช้าง สารานกุ รมพชื ในประเทศไทย

โกงกางหชู า้ ง เอกสารอา้ งอิง
Cuatrecasas, J. (1958). The Colombian species of Juanulloa. Brittonia 10(3):
Guettarda speciosa L. 146-147.
วงศ์ Rubiaceae
โกลด์ฟงิ เกอร:์ กลบี เลยี้ งเช่อื มติดกนั เป็นสันหุ้มกลีบดอก กลีบดอกยนื่ เลยหลอดกลบี เลี้ยง (ภาพ: cultivated - RP)
ไม้พมุ่ หรอื ไม้ตน้ สูงไดถ้ ึง 10 ม. แยกเพศตา่ งตน้ หรอื แกมสมบูรณเ์ พศ
แตกกงิ่ ตำ่� หใู บรปู สามเหลย่ี ม ยาวไดถ้ งึ 1 ซม. รว่ งเรว็ ใบเรยี งตรงขา้ ม รปู ไขก่ ลบั กวา้ ง ไก่เขา
เกอื บกลม ยาว 10-25 ซม. โคนกลมหรือเว้าต้นื แผ่นใบหนา มขี นกระจายด้านล่าง
ก้านใบยาว 1.5-4 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนงเป็นวงแถวคู่ ก้านยาว Aeschynanthus superbus C. B. Clarke
5-10 ซม. กลบี เล้ียงขนาดเลก็ ไมช่ ดั เจน ดอกรูปดอกเข็ม สขี าว หลอดกลบี ยาว วงศ์ Gesneriaceae
1.5-3 ซม. มี 6-9 กลบี เรยี งซอ้ นเหลอื่ ม รปู รี ยาว 4-8 มม. ดา้ นนอกมขี นกำ� มะหย่ี
ปากหลอดมีขนยาว เกสรเพศผู้ 6-9 อัน ไรก้ ้าน ตดิ ใกลป้ ากหลอด รงั ไข่มี 4-9 ชอ่ ง ไมพ้ มุ่ องิ อาศัย ใบรปู รถี ึงรูปใบหอก หรอื แกมรูปไข่กลับ ยาว 8-22 ซม. กา้ นใบ
แตล่ ะชอ่ งมอี อวลุ 1 เมด็ กา้ นเกสรเพศเมยี รปู เสน้ ดา้ ย ยาวเทา่ ๆ หลอดกลบี ดอก ยาว 0.5-1.8 ซม. กา้ นชอ่ ดอกยาว 1-4 ซม. มี 5-15 ดอก ใบประดับสีแดง ตดิ ทน
ยอดเกสรเปน็ ตมุ่ ผลผนงั ชน้ั ในแขง็ เปน็ ใย เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง 1.5-2.5 ซม. กา้ นยาว รูปรี ยาว 4-6 ซม. ก้านดอกยาว 0.8-1.3 ซม. กลบี เลี้ยงแยกจรดโคน รปู รีหรอื
3.5-10 ซม. มี 4–9 ไพรนี รูปขอบขนาน ยาว 1.4-4 ซม. ดอกสีแดง หลอดกลบี ดอกยาว 5.5-8.5 ซม. มรี ้ิว
สีเข้ม ดา้ นในมขี นตอ่ ม กลบี บนยาว 1.1-2 ซม. แฉกลกึ 5-8 มม. กลบี ลา่ งคขู่ ้างยาว
พบตามชายฝง่ั มหาสมทุ รอนิ เดยี แปซฟิ กิ แอฟรกิ าตะวนั ออก และออสเตรเลยี 1-2 ซม. กลีบกลางบานออก ยาว 1-1.6 ซม. พบั งอกลับ เกสรเพศผูค้ ู่หนา้ ยาว
ในไทยพบทางภาคตะวนั ออกเฉยี งใต้ และภาคใต้ ขน้ึ ตามโขดหนิ รมิ ทะเล ความสงู 3.7-4 ซม. รังไข่มขี นตอ่ ม ก้านเกสรเพศเมยี ยาว 0.6-1.8 ซม. ผลยาว 32-50 ซม.
ไม่เกนิ 50 เมตร เปลือกรสฝาดเปน็ ยาสมาน ลดกรด แกไ้ ข้ แก้โรคลมชัก ขนยาว 4-8 มม. (ดขู ้อมลู เพ่ิมเติมที่ วา่ นไก่แดง, สกุล)

สกุล Guettarda L. มีประมาณ 80 ชนิด ส่วนใหญ่พบในอเมรกิ าเขตรอ้ น ในไทยมี พบทอี่ นิ เดยี ภฏู าน จนี ตอนใต้ พมา่ ตอนบน และภาคเหนอื ของไทยทเ่ี ชยี งใหม่
ชนิดเดียว ช่ือสกุลตัง้ ตามนักพฤกษศาสตร์ชาวฝรัง่ เศส Jean-Étienne Guettard และน่าน ขนึ้ บนต้นไมใ้ นปา่ ดบิ เขา ความสงู 900-1700 เมตร
(1715-1786)
เอกสารอ้างอิง ไกแ่ ดงยา่ น
Chen, T. and C.M. Taylor. (2011). Rubiaceae (Guettarda). In Flora of China
Aeschynanthus pulcher (Blume) G. Don
Vol. 19: 145.
Wong, K.M. (1988). The Antirheoideae (Rubiaceae) of the Malay Peninsula. ชื่อพอ้ ง Aeschynanthus parvifolius R. Br., Trichosporum pulchrum Blume

Kew Bulletin 43: 496. ไมพ้ มุ่ องิ อาศยั ใบรปู รี รูปไข่ หรือรปู ขอบขนาน ยาว 1-6 ซม. กา้ นใบยาว 2-6 มม.
ช่อดอกไร้กา้ นหรอื ยาวไดถ้ งึ 1 ซม. มี 1-4 ดอก มขี นละเอยี ด ใบประดับรูปรี ยาว
โกงกางหูชา้ ง: ใบเรียงตรงข้าม รปู ไข่กลับกวา้ งเกือบกลม โคนกลมหรอื เว้าตื้น ช่อดอกแบบชอ่ กระจุกแยกแขนง 3-6 มม. กลบี เล้ียงเชอื่ มติดกนั 1-3 ซม. สีมว่ งอมแดง ปลายจักต้ืน ๆ ยาว 1-5 มม.
เปน็ วงแถวคู่ กลีบดอกด้านนอกมีขนกำ� มะหยี่ ปากหลอดมขี นยาว ผลมีก้านยาว (ภาพ: ชมุ พร - RP) ดอกสีสม้ อมแดง หลอดกลบี ดอกยาว 4-6.5 ซม. กลบี บนยาว 0.5-1.2 ซม. แฉกลกึ
2-4 มม. กลบี ล่างรูปไขแ่ กมสามเหลีย่ ม ยาว 0.6-1.2 ซม. มีต่อมด้านใน เกสรเพศผู้
โกลด์ฟิงเกอร์ คู่หน้ายาว 3-4.5 ซม. กา้ นเกสรเพศเมยี ยาวประมาณ 1.5 ซม. ผลยาว 20-40 ซม.
เมลด็ มปี มุ่ กระจาย ขนยาว 6-9 มม. (ดขู ้อมลู เพ่มิ เตมิ ที่ วา่ นไกแ่ ดง, สกลุ )
Juanulloa mexicana (Schltdl.) Miers
วงศ์ Solanaceae พบทคี่ าบสมุทรมลายู สมุ าตรา ชวา เวยี ดนาม และภาคใตต้ อนลา่ งของไทยท่ี
ยะลา ปัตตานี และนราธวิ าส ข้นึ ตามคบไมห้ รอื โขดหนิ ในป่าดิบชื้น และปา่ ดิบเขา
ช่ือพอ้ ง Laureria mexicana Schltdl., Juanulloa aurantiaca Otto & A. Dietr. ความสูงถงึ ประมาณ 2000 เมตร

ไมพ้ มุ่ กง่ึ เลอื้ ย หรอื องิ อาศยั มขี ยุ ละเอยี ดตามกง่ิ ออ่ น กา้ นใบ แผน่ ใบดา้ นลา่ ง เอกสารอ้างอิง
ชอ่ ดอก กลบี เลยี้ ง และกลบี ดอก ใบเรยี งเวยี น รปู รหี รอื รปู ไขก่ ลบั ยาว 7-15 ซม. Middleton, D.J. (2007). A revision of Aeschynanthus (Gesneriaceae) in Thailand.
กา้ นใบยาว 1.5-3 ซม. ชอ่ ดอกแบบชอ่ กระจะแยกแขนงสน้ั ๆ ยาว 4-15 ซม. ใบประดบั Edinburgh Journal of Botany 64(3): 412-414, 422.
คลา้ ยใบ กา้ นดอกยาวประมาณ 1 ซม. ดอกสีส้ม กลบี เลี้ยงเชือ่ มตดิ กันเปน็ สัน
ห้มุ กลีบดอก ยาว 3-5 ซม. มี 5 กลบี แยกจรดโคนในผล กลีบดอกย่ืนเลยหลอด ไก่เขา: ใบประดบั ติดทน กลบี เลีย้ งแยกจรดโคน ดอกมีรว้ิ สเี ขม้ กลบี ลา่ งพบั งอกลบั (ภาพ: ดอยภคู า นา่ น - RP)
กลีบเลีย้ ง ยาว 5-6 ซม. มี 5 กลีบ รูปรกี วา้ ง ยาวประมาณ 5 มม. เรยี งซ้อนเหลอ่ื ม
เกสรเพศผู้ 5 อัน ตดิ เหนอื โคนหลอดกลีบดอก จุดติดมขี นยาว กา้ นชอู บั เรณูยาว
2.5-3 ซม. อบั เรณยู าว 1-1.2 ซม. จานฐานดอกจักเป็นพู กา้ นเกสรเพศเมียยาว
กว่าเกสรเพศผูเ้ ล็กน้อย ผลสดมหี ลายเมลด็

มถี นิ่ กำ� เนดิ ทอี่ เมรกิ าเขตรอ้ น ในธรรมชาตนิ กฮมั มงิ่ เบริ ด์ เปน็ ตวั ชว่ ยผสมเกสร

สกลุ Juanulloa Ruiz & Pav. มีประมาณ 10 ชนดิ พบในอเมริกาเขตรอ้ น ชอ่ื สกุล
ตัง้ ตามนักวิทยาศาสตรช์ าวสเปน Jorge Juan y Santacilla (1713-1773)

70

สารานุกรมพชื ในประเทศไทย ขมหนิ

ไกแ่ ดงย่าน: ช่อดอกมี 1-4 ดอก มขี นละเอยี ด กลบี เลยี้ งเช่ือมตดิ กันเป็นหลอด (ภาพ: นราธวิ าส - MP) ตดิ ทน กลบี ดอกเรียงซ้อนเหลอื่ มในตาดอก มี 5 กลบี รปู ขอบขนาน ยาว 3-4 มม.
โคนมลี ิ้นส้นั ๆ เกสรเพศผู้ 10 อัน เชอ่ื มตดิ กันเปน็ หลอด ยาวไมเ่ ท่ากนั 2 ชุด
ไกฟ่ า้ ยาวกว่ากลีบเล้ียงเลก็ น้อย ตดิ ทน รังไข่มี 3 ชอ่ ง แตล่ ะชอ่ งมีออวุล 1-2 เมด็ สว่ นมาก
พฒั นาช่องเดียว กา้ นเกสรเพศเมีย 3 อัน ติดทน ผลผนงั ชั้นในแขง็ รูปขอบขนาน
Aristolochia ringens Vahl ยาว 0.8-1 ซม. สุกสแี ดง เมลด็ แบน เรยี ว ยาว 6-8 มม. ผิวเปน็ รอ่ ง
วงศ์ Aristolochiaceae
พบที่พมา่ คาบสมทุ รมลายู บอร์เนยี ว สมุ าตรา ชวา และฟลิ ิปปนิ ส์ ในไทย
ไม้เถา มีต่อมทั่วไป ก่งิ ออ่ นมขี นส้ันนมุ่ หใู บเทียมเป็นแผน่ คลา้ ยใบ รูปคลา้ ยไต พบทางภาคตะวนั ตกเฉียงใต้ และภาคใต้ ข้ึนตามปา่ ดิบชน้ื ใกลช้ ายฝ่ังทะเล
มี 2 พู ขนาดไม่เท่ากนั ยาว 1.5-2.5 ซม. และ 0.6-1.5 ซม. ใบรปู หวั ใจกวา้ ง ยาว
5-6 ซม. กวา้ ง 6-7 ซม. ปลายแหลม มน หรือกลม โคนเวา้ ลกึ รปู หัวใจ แผ่นใบด้านล่าง สกลุ Erythroxylum P. Browne มีประมาณ 230 ชนิด ส่วนมากพบในอเมริกาใต้
มนี วล กา้ นใบยาว 3-8 ซม. เส้นโคนใบขา้ งละ 2-3 เส้น ดอกออกเด่ียว ๆ ตามซอกใบ ในไทยมี 3 ชนิด และมีทน่ี ำ�เขา้ มาปลกู เพ่ือการศึกษาวจิ ยั คอื โคคา E. no-
กา้ นดอกยาว 5-7 ซม. หลอดกลบี โคง้ งอ มลี ายร่างแหสมี ่วงอมนำ้� ตาลแดง โคนเป็น vogranatense (D. Morris) Hieron. แผ่นใบมีเสน้ ผ่านเสน้ ร่างแหขา้ งละ 1 เสน้
กระเปาะยาว 6-8 ซม. มจี ดุ สีเขยี วกระจาย กลีบบนรูปใบพาย ยาว 4.5-6 ซม. ของเสน้ กลางใบ ตา่ งจาก โคคา ชนดิ E. coca Lam. ทใ่ี บขนาดเล็กกวา่ ทั้งสอง
กลบี ลา่ งรปู ใบหอก คลา้ ยหาง ยาว 9-15 ซม. ปลายมน ผลรปู ทรงกระบอกเปน็ เหลย่ี ม ชนดิ ใบมสี าร crystalline tropane alkaloid หรือ cocaine มฤี ทธกิ์ ระตุ้นระบบ
ยาว 5-7.5 ซม. เมล็ดขนาดเล็ก รูปหวั ใจ แบน ดา้ นข้างมีปีก ยาว 1-1.2 ซม. (ดขู อ้ มลู ประสาทและระงับความตอ้ งการของร่างกาย เป็นยาเสพติดใหโ้ ทษประเภท 2
เพมิ่ เตมิ ที่ กระเชา้ สีดา, สกุล) ตามพระราชบัญญตั ยิ าเสพติดใหโ้ ทษ พ.ศ. 2522 ของไทย ในทางการแพทย์
ใช้เปน็ ยาชาเฉพาะท่ี และยังเปน็ ส่วนผสมทสี่ ำ�คัญของเคร่อื งดื่มทใ่ี ห้กลิ่นโคคา
มถี น่ิ กำ� เนดิ ในอเมรกิ าใต้ ดอกมกี ลนิ่ แรง ใบเปน็ อาหารตวั ออ่ นของผเี สอื้ ถงุ ทอง หรือทเ่ี รียกว่านำ้�ด�ำ ชอ่ื สกุลมาจากภาษากรกี “erythros” สีแดง และ “xylon”
เป็นหนึง่ ในประมาณ 5 ชนดิ ทเ่ี ป็นไม้ตา่ งถนิ่ ของสกุล ชนดิ อื่น ๆ ไดแ้ ก่ ไก่ฟ้าใหญ่ เนื้อไม้ ตามลักษณะของเนอื้ ไมใ้ นพืชหลายชนิดของสกลุ
A. gigantea Mart. นกกระทุง A. labiata Willd. เหนยี งนกกระทงุ A. littoralis เอกสารอา้ งองิ
Parodi ทงั้ สามชนดิ มถี ิน่ กำ� เนดิ ในบราซิล และนกกระทุงใหญ่ A. macrophylla Chung, R.C.K. and M. Brink. (1999). In Plant Resources of South-East Asia
Lam. มถี ิน่ ก�ำเนดิ ทางตะวนั ออกของสหรัฐอเมริกา
12(1) Medicinal and Poisonous Plants 1: Backhuys Publishers, Leiden.
เอกสารอ้างองิ Harwood, B. and K. Chayamarit. (2011). Erythroxylaceae. In Flora of Thailand
Phuphathanaphong, L. (1987). Aristolochiaceae. In Flora of Thailand Vol. 5(1): 13.
Vol. 11(1): 8-13.

ไกรทอง: ดอกออกเป็นกระจุกตามซอกใบ ผลสกุ สแี ดง เกสรเพศเมียติดทน (ภาพ: เกาะสรุ ินทร์ พงั งา - SSi)

ไกฟ่ ้า: หูใบเทียมเป็นแผ่นคล้ายใบ แผน่ ใบด้านล่างมนี วล หลอดกลีบดอกโคง้ งอ กลีบลา่ งรูปใบหอก ยาวคลา้ ยหาง โคคา: E. novogranatense แผน่ ใบมีเสน้ ผ่านเส้นรา่ งแหขา้ งละ 1 เส้น (ภาพ: cultivated - RP)
(ภาพซา้ ย: cultivated - RP); ไก่ฟ้าใหญ่ (ภาพบนขวา: cultivated - RP); เหนยี งนกกระทงุ (ภาพลา่ งขวา: cultivated - RP)
ขมหนิ
ไกรทอง
Pilea microphylla (L.) Liebm.
Erythroxylum cuneatum (Miq.) Kurz วงศ์ Urticaceae
วงศ์ Erythroxylaceae
ชือ่ พอ้ ง Parietaria microphylla L.
ชอื่ พ้อง Urostigma cuneatum Miq.
ไมล้ ้มลุก ทอดนอน แยกเพศร่วมต้น ลำ� ตน้ และใบอวบน้ำ� เกล้ียง มีผลึก
ไม้ตน้ อาจสูงไดถ้ ึง 30 ม. หใู บอย่ใู นซอกกา้ นใบ ยาวประมาณ 6 มม. ติดทน ซสิ โทลทิ หนาแนน่ หใู บเปน็ เยอ่ื บางขนาดเลก็ ตดิ ทน ใบเรยี งตรงขา้ มขนาดไม่
ใบเรยี งเวียน รูปรหี รอื รูปไข่กลบั ยาว 4-10 ซม. ปลายมนหรือเว้าต้นื ก้านใบยาว เท่ากัน รูปรีหรอื รปู ไขก่ ลับ ยาว 2-7 มม. ปลายมน แผ่นใบด้านล่างมผี ลึกซสิ โทลิท
3-7 มม. ดอกออกเปน็ กระจกุ ตามซอกใบ ใบประดบั 2 ใบ ขนาดเลก็ กา้ นดอกยาว เปน็ ขดี กระจาย เสน้ แขนงใบไมเ่ ดน่ ชดั กา้ นใบยาว 1-4 มม. ชอ่ ดอกแบบชอ่ กระจกุ
0.3-1 ซม. ขยายในผล หลอดกลบี เลย้ี งสน้ั กลบี รปู สามเหลย่ี มขนาดเลก็ มี 5 กลบี อดั แน่นตามซอกใบ แตล่ ะชอ่ มไี ดถ้ ึง 15 ดอก กา้ นช่อยาวได้ถึง 6 มม. หรอื ไร้กา้ น
ดอกขนาดเลก็ ดอกเพศผู้ กลีบรวม 3-4 กลีบ รูปไข่ เกสรเพศผู้ 3-4 อัน ดอกเพศเมยี
กลบี รวม 3 กลีบ รปู ขอบขนาน ยาวเท่า ๆ ผล เกสรเพศผู้ทเ่ี ปน็ หมนั คล้ายเกลด็
ยอดเกสรเพศเมยี คลา้ ยขนแปรง ผลแหง้ เมลด็ ลอ่ น รปู ไข่ ยาว 0.4-0.5 มม. ผวิ เรยี บ
มีวงกลีบรวมหมุ้

มีถ่นิ กำ� เนดิ ในอเมรกิ าใต้ เปน็ วชั พชื ท่ัวไป ความสูงถึงประมาณ 1000 เมตร

สกลุ Pilea Lindl. มปี ระมาณ 400 ชนิด พบในเขตรอ้ นและกง่ึ เขตรอ้ น ใน
ไทยมีมากกวา่ 10 ชนดิ และมไี ม้ประดับหลายชนิด เช่น สะระแหนป่ ระดับ P.
nummulariifolia (Sw.) Wedd. มีถน่ิ ก�ำ เนิดแถบแครบิ เบยี น และนกกระทา P.
cadierei Gagnep. & Guillaumin มถี ่นิ กำ�เนิดในจีนและเวียดนาม ช่อื สกลุ มาจาก

71

ขมนิ้ ต้น สารานกุ รมพืชในประเทศไทย

ภาษาละติน “pileus” หรือ “pilleus” หมวก หรือภาษากรกี “pilos” หมวก ตาม ขมนิ้ ฤาษี
ลักษณะดอกเพศเมยี หรือกลีบเล้ยี งทหี่ ้มุ ผล
เอกสารอา้ งอิง Tinomiscium petiolare Hook. f. & Thomson
Chen, J., and A.K. Monro. (2003). Urticaceae. In Flora of China Vol. 5: 119. วงศ์ Menispermaceae

ขมหิน: ล�ำต้นอวบนำ้� ชอ่ ดอกแบบช่อกระจุกอดั แน่นออกตามซอกใบ (ภาพซ้าย: กรงุ เทพฯ - RP); สะระแหนป่ ระดบั : ไมเ้ ถาเน้ือแขง็ ขนาดใหญ่ แยกเพศต่างต้น น้�ำยางสขี าว กิ่งอ่อนมีรว้ิ และ
ไม้พุม่ ทอดเลอ้ื ย (ภาพขวาบน: cultivated - RP); นกกระทา: ใบมีปนื้ ขาว (ภาพขวาลา่ ง: cultivated - RP) ขนส้ันนมุ่ หนาแน่น ใบเรยี งเวยี น รปู รหี รือรปู ไข่ ยาว 10-30 ซม. ปลายแหลมยาว
โคนมน กลม หรอื เวา้ ตน้ื แผน่ ใบมรี ว้ิ ละเอยี ดดา้ นบน เสน้ โคนใบขา้ งละ 1-2 เสน้
ขม้ินต้น ก้านใบยาว 6-20 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจะออกหนาแน่นตามก่ิงหรือล�ำต้น
ยาว 5-35 ซม. มขี นสน้ั น่มุ ดอกเพศผู้กา้ นดอกยาว 2.5-5 มม. กลบี เล้ยี ง 9 กลีบ
Mahonia duclouxiana Gagnep. เรียง 3 วง วงนอกขนาดเล็ก วงในรปู รี ยาว 4-5 มม. พับงอกลบั กลบี ดอก 6 กลีบ
วงศ์ Berberidaceae รูปรี ยาว 2.5-3.5 มม. เกสรเพศผู้ 6 อัน สน้ั กวา่ กลีบดอก แกนอบั เรณูหนา เปน็ หมนั
ในดอกเพศเมยี รปู แถบ ดอกเพศเมียคล้ายดอกเพศผู้ มี 3 คาร์เพล แยกกัน
ช่อื พอ้ ง Mahonia siamensis Takeda ex Craib ยอดเกสรจกั หลายพูสั้น ๆ เป็นหมนั ในดอกเพศผู้ ผลผนังช้ันในแข็ง มี 3 ผลย่อย
รปู รี ยาวไดถ้ ึง 4 ซม. ตดิ บนแกนหนา (carpophore) สเี ขยี วเป็นมันวาว แกส่ ีขาว
ไม้พมุ่ สูงได้ถึง 4 ม. เนือ้ ไมส้ เี หลือง ใบประกอบยาว 20-70 ซม. ใบย่อยมี 4-9 คู่ หรอื เหลอื ง ผนังชนั้ ในย่น ยาว 2-2.5 ซม. มเี มลด็ เดยี ว แบน
รูปขอบขนานแกมรูปไขห่ รอื รปู ใบหอก ยาว 4-15 ซม. โคนกลม เบยี้ ว ขอบจักซ่ีฟนั
หา่ ง ๆ ปลายจกั แหลมคลา้ ยหนาม ไรก้ า้ น ใบปลายกา้ นยาว 1-3 ซม. ชอ่ ดอกแบบ พบทจ่ี นี ตอนใต้ พม่า เวียดนาม คาบสมุทรมลายู และนวิ กนิ ี ในไทยพบทาง
ช่อกระจะ ออกทีป่ ลายก่ิง มีหลายช่อ ยาวได้ถึง 30 ซม. ใบประดบั รปู ใบหอก ภาคเหนือกระจายลงทางภาคใต้ ขนึ้ ตามป่าดบิ แลง้ ปา่ ดบิ ชนื้ และปา่ ดบิ เขา ความสงู
ยาว 2-3.5 ซม. ดอกสีเหลือง ก้านดอกยาว 3-6 มม. ใบประดับย่อยยาว 3-7 มม. ถงึ ประมาณ 1300 เมตร น้�ำยางใชท้ าแก้ปวดข้อ กล้ามเน้อื ผลใชเ้ บอื่ ปลา
กลบี เล้ยี งคลา้ ยกลบี ดอก มี 9 กลบี เรียง 3 วง วงนอกสน้ั กวา่ วงใน วงในยาวได้ถึง
8 มม. กลีบดอก 6 กลบี รูปรีปลายมน ยาว 5-8 มม. โคนมีตอ่ ม เกสรเพศผู้ 6 อัน สกลุ Tinomiscium Miers ex Hook. f. & Thomson อาจมีเพยี งชนิดเดยี ว หรือ
ตดิ ตรงข้ามกลีบดอก ยาว 3.5-5.5 มม. อับเรณมู รี ยางค์ ก้านเกสรเพศเมยี ยาว มีไดถ้ ึง 7 ชนดิ พบเฉพาะในเอเชียเขตรอ้ น ชื่อสกลุ มาจากภาษาละติน “tinus”
2-3 มม. ตดิ ทน ผลสด มีนวล สกุ สมี ่วงเข้ม เส้นผา่ นศูนย์กลาง 5-8 มม. มี 4-7 เมล็ด พืช และภาษากรกี “mischos” ลำ�ตน้ หมายถงึ พชื ทีอ่ อกดอกตามล�ำ ต้น
เอกสารอ้างองิ
พบทีอ่ ินเดยี จนี ตอนใต้ พมา่ และทางภาคเหนือของไทยที่แม่ฮอ่ งสอน และ Forman, L.L. (1991). Menispermaceae. In Flora of Thailand Vol. 5(3): 303-306.
เชยี งใหม่ ข้นึ ตามป่าดิบเขา หรือทโี่ ล่งบนเขาหนิ ปนู ความสงู 1000-2200 เมตร Hu, Q., X. Luo, T. Chen and M.G. Gilbert. (2008). Menispermaceae. In Flora of

สกลุ Mahonia Nutt. อย่ภู ายใตว้ งศ์ย่อย Berberidoideae มปี ระมาณ 60 ชนดิ พบ China Vol. 7: 6.
ในอเมรกิ าและเอเชยี หลายชนิดเป็นไม้ประดบั และผลหลายชนดิ กินได้ ในไทยมี
ชนิดเดยี ว ชอ่ื สกลุ ตัง้ ตามนักพืชสวนชาวไอริช Bernard M’Mahon (1775-1816) ขม้นิ ฤๅษ:ี ไม้เถาเนอื้ แขง็ ขนาดใหญ่ ชอ่ ดอกแบบชอ่ กระจะออกหนาแน่นตามลำ� ตน้ ผลมี 3 ผลยอ่ ย ผลอ่อนสเี ขยี ว
เอกสารอา้ งองิ เป็นมนั วาว (ภาพ: ดอยตุง เชียงราย - MB)
Ahrendt, L.W.A. (1961). Berberis and Mahonia a taxonomic revision. Journal of
ขยัน
the Linnean Society, Botany. London 57: 322.
Ying, J., D.E. Boufford and A.R. Brach. (2011). Berberidaceae. In Flora of China Lysiphyllum strychnifolium (Craib) A. Schmitz
วงศ์ Fabaceae
Vol. 19: 775.
ชอ่ื พ้อง Bauhinia strychnifolia Craib
ขมนิ้ ตน้ : ใบประกอบ ขอบใบจกั แหลม ช่อดอกแบบชอ่ กระจะ ออกท่ปี ลายกงิ่ มหี ลายชอ่ กลีบเล้ยี งคลา้ ยกลีบดอก
เรียงเป็นวง ผลมนี วล (ภาพ: ดอยเชยี งดาว เชียงใหม;่ ภาพดอก - SSi, ภาพผล - NP) ไม้เถา ยาวไดถ้ ึง 5 ม. มีมือจบั ใบรูปขอบขนานแกมรูปไข่ ยาว 4-15 ซม.
ปลายแหลมยาว โคนกลมหรอื เว้าตืน้ เสน้ แขนงใบข้างละ 3-5 เสน้ คูล่ า่ งออก
72 ชดิ โคน ปลายโคง้ จรดกนั กา้ นใบยาว 2-3.5 ซม. ชอ่ ดอกแบบชอ่ กระจะ ออกตาม
ปลายก่งิ ยาวไดถ้ งึ 1 ม. ใบประดับรูปลิม่ ตดิ ทน ยาวไดถ้ ึง 1 ซม. หลอดกลบี เล้ียง
สชี มพูอ่อนหรอื แดง รูปถ้วย ยาว 0.5-1 ซม. ดอกสแี ดงถึงแดงเขม้ กลีบรูปไขก่ ลบั
ยาว 1.2-1.5 ซม. เกสรเพศผู้ 3 อัน ก้านชูอับเรณสู ีแดง ย่ืนพน้ หลอดกลบี ดอก
เกสรเพศผู้ทีเ่ ป็นหมนั 7 อนั ยาวไมเ่ ทา่ กนั รังไขม่ ีขนสั้น กา้ นเกสรเพศเมยี ยาว
ประมาณ 7 มม. ยอดเกสรเพศเมียไมช่ ัดเจน ฝักรูปใบหอก ยาว 15-16 ซม. ปลาย
มจี ะงอย มี 8-9 เมลด็ (ดูข้อมูลเพิ่มเตมิ ที่ อรพมิ , สกุล)

พชื ถน่ิ เดยี วของไทย พบทางภาคเหนอื และภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ขนึ้ หนาแนน่
หรอื กระจายหา่ ง ๆ ในป่าเบญจพรรณหรอื ท่ีโลง่ ความสูงถงึ ประมาณ 300 เมตร
ในทางสมุนไพรรู้จักกันในช่ือย่านางแดง เน่ืองจากมีสรรพคุณคล้ายกับ ย่านาง
Tiliacora triandra (Colebr.) Diels ใช้ถอนพิษ แก้ไข้

เอกสารอา้ งองิ
Larsen, K. and S.S. Larsen. (1984). Leguminosae-Caesalpinioideae. In Flora of
Thailand Vol. 4(1): 24.

สารานุกรมพืชในประเทศไทย ขอ่ ย

ขยัน: ถ่นิ ทอ่ี ยตู่ ามทโี่ ลง่ ทีแ่ หง้ แลง้ ขึ้นหนาแนน่ ชอ่ ดอกแบบช่อกระจะ เกสรเพศผ้ยู ่ืนพน้ หลอดกลีบดอก วงนอกรูปไข่ ติดทน วงในรปู ใบหอกร่วงพรอ้ มผล ดอกสมี ่วง เกสรเพศเมยี ยืน่ ยาว
ฝักรปู ใบหอก ปลายมจี ะงอย (ภาพ: ก�ำแพงเพชร - RP) ดอกวงนอกจำ� นวนมากเปน็ ดอกเพศเมยี กลบี รปู เสน้ ดา้ ย ยาว 3-5 มม. ดอกวงใน
มี 2-7 ดอก คลา้ ยเปน็ ดอกเพศผู้ รปู หลอด ยาวกวา่ วงนอกเลก็ นอ้ ย ปลายจักต้ืน ๆ
ขยมุ้ ตีนหมา 5 จกั มตี อ่ มกระจาย เกสรเพศผู้ 5 อนั ตดิ ภายในหลอดกลบี ยนื่ พน้ ปากหลอดกลบี
โคนอบั เรณเู ปน็ เงยี่ ง มหี าง ยอดเกสรแยก 2 แฉก ผลแหง้ เมลด็ ลอ่ น ยาวประมาณ
Ipomoea pes-tigridis L. 1 มม. เปน็ เหลี่ยม แพปพัสยาวเท่า ๆ กลบี ดอก
วงศ์ Convolvulaceae
พบทีอ่ ินเดยี พมา่ ไหห่ นาน ไตห้ วนั ภมู ิภาคอินโดจนี และมาเลเซยี ในไทยพบ
ไมเ้ ถาลม้ ลกุ มขี นสากตามลำ� ตน้ กงิ่ แผน่ ใบทงั้ สองดา้ น วงใบประดบั และ ทางภาคกลาง ภาคตะวนั ตกเฉยี งใต้ และภาคใต้ ขน้ึ ตามชายฝง่ั ทะเล ชายปา่ โกงกาง
กลีบเลยี้ ง ใบรูปฝ่ามือ มี 5-9 พู กว้างยาวได้ถงึ 13 ซม. โคนเว้าลกึ พรู ูปรหี รือ ใบมกี ลิ่นหอม มีสรรพคณุ ดา้ นสมนุ ไพรหลายอยา่ ง เช่น ช่วยเจริญอาหาร แกไ้ ข้
รปู ขอบขนาน โคนเชอ่ื มตดิ กนั เปน็ แผน่ กา้ นใบยาว 2-8 ซม. ชอ่ ดอกแบบกระจกุ แนน่ ขบั เหง่อื ขับปสั สาวะ บรรเทาโรคเบาหวาน เปน็ ต้น
ออกตามซอกใบ กา้ นยาว 4-11 ซม. ใบประดับวงนอกรูปขอบขนาน ยาว 2-2.5 ซม.
วงในขนาดเลก็ และแคบกว่า ก้านดอกส้ัน กลีบเล้ยี งรปู ใบหอก ยาว 1-1.4 ซม. สกุล Pluchea Cass. อยู่ภายใต้เผ่า Inuleae มีประมาณ 80 ชนิด พบในอเมริกา
ดอกรปู ลำ� โพง สีขาว บานตอนกลางคืน ยาว 3-4 ซม. ผลแหง้ แตก รปู ไข่ ยาว ฮาวาย แอฟริกา เอเชยี และออสเตรเลีย ในไทยมี 3 ชนิด ชอื่ สกุลต้งั ตาม
ประมาณ 7 มม. แตกเป็น 4 ซีก เมล็ดรปู รี ยาวประมาณ 4 มม. มีขน (ดูขอ้ มูล นักธรรมชาตวิ ิทยาชาวฝรงั่ เศส Noël-Antoine Pluche (1688-1761)
เพ่มิ เตมิ ที่ ผกั บุง้ , สกลุ ) เอกสารอา้ งองิ
Chen, Y. and A.A. Anderberg. (2011). Asteraceae (tribe Inuleae). In Flora of
พบท่ีแอฟริกา อินเดยี ปากีสถาน เนปาล ศรีลงั กา พม่า จนี ตอนใต้ ภมู ิภาค
อนิ โดจนี และมาเลเซยี ฟลิ ปิ ปนิ ส์ นวิ กนิ ี ออสเตรเลยี และหมเู่ กาะแปซฟิ กิ ในไทย China Vol. 20-21: 847-848.
พบทกุ ภาค ขน้ึ ตามที่โลง่ ชายป่า ป่าเสอ่ื มโทรม ความสงู ถงึ ประมาณ 300 เมตร
ท้งั ต้นบดใชร้ ะงบั พิษสนุ ขั บ้า ใบบดละเอียดพอกปากแผล ฝี หรอื สวิ ขลู่: ขอบใบจกั ซฟี่ ัน แผน่ ใบคอ่ นข้างหนา โคนสอบเรียว ช่อดอกแบบชอ่ กระจุกแน่นเรียงแบบช่อกระจกุ แยกแขนง
วงใบประดบั รปู ทรงกระบอก กลีบดอกรปู เส้นดา้ ย เกสรเพศเมียยื่นยาว (ภาพ: สามร้อยยอด ประจวบคีรีขนั ธ์- RP)
เอกสารอ้างอิง
Staples, W.G. (2010). Convolvulaceae. In Flora of Thailand Vol. 10(3): 421-422. ข่อย, สกุล

ขยมุ้ ตีนหมา: มขี นสากหนาแนน่ ทวั่ ไป ใบรปู ฝ่ามือ มวี งใบประดับ กลบี ดอกรูปลำ� โพง (ภาพผล: ปราจีนบุรี - PK; Streblus Lour.
ภาพดอก: บ้านตาก ตาก - RP) วงศ์ Moraceae

ขลู่ ไมพ้ ุม่ รอเลอื้ ยหรอื ไมต้ ้น แยกเพศต่างตน้ หรือรว่ มต้น สว่ นมากมีหนาม หใู บ
แยกหรอื เชอื่ มติดกนั รว่ งเรว็ ใบเรียงสลับระนาบเดียว เนอื้ ใบมผี ลกึ ซิสโทลทิ
Pluchea indica (L.) Less. ชอ่ ดอกแบบช่อกระจะ ช่อเชงิ ลด หรือชอ่ กระจกุ ออกตามซอกใบ ใบประดบั และ
วงศ์ Asteraceae ใบประดบั ยอ่ ยขนาดเลก็ บางครง้ั ดอกสมบรู ณเ์ พศ ชอ่ ดอกเพศผดู้ อกจำ� นวนมาก
เกสรเพศผู้ 3-5 อนั ชอ่ ดอกเพศเมยี มักมดี อกเดยี ว กลีบรวมสว่ นมากมี 4 กลบี
ช่อื พ้อง Baccharis indica L. บางคร้ังขยายในผล ก้านเกสรเพศเมยี สน้ั ยอดเกสรเพศเมียแยก 2 แฉก ผลสด
ผนังชน้ั ในแข็ง แห้งแตกหรอื ไมแ่ ตก โคนมักขยายดา้ นเดียว มีเมลด็ เดยี ว
ไม้พุ่ม สงู ได้ถึง 2 ม. มีขนตามก่งิ อ่อน วงใบประดบั และฐานดอก ใบเรยี งเวียน
รปู ไข่กลับหรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 2-9 ซม. ปลายแหลม มีตง่ิ โคนสอบเรียว สกลุ Streblus มปี ระมาณ 22 ชนิด ส่วนมากพบในเอเชยี เขตร้อน ในไทยมี 6 ชนดิ
ขอบจักซี่ฟัน แผ่นใบค่อนข้างหนา ไร้ก้านหรือมีก้านส้ัน ๆ ช่อดอกแบบช่อ ชอ่ื สกุลอาจมาจากภาษาละตนิ “strebula” สว่ นโคง้ ท่สี ด หมายถึงผลสดทมี่ ักขยาย
กระจกุ แน่น เรยี งแบบชอ่ กระจกุ แยกแขนง มักแผ่กวา้ งได้กวา่ 10 ซม. กา้ นชอ่ ส้ัน ท่ีโคนดา้ นเดยี ว หรอื มาจากภาษากรกี “streblos” บิดเวยี น ตามลำ�ต้นที่มกั บิดงอ
วงใบประดบั รปู ทรงกระบอก ยาว 5-6 มม. ใบประดบั เรยี งซ้อนเหล่ือม 6-7 วง หลายชนดิ มสี รรพคุณดา้ นสมนุ ไพรหลายอยา่ งโดยเฉพาะเปลือกและน�้ำ ยางมี
สรรพคณุ ตา้ นเชื้อแบคทีเรีย

ข่อย

Streblus asper Lour.
ไม้ตน้ สูงไดถ้ งึ 15 ม. มักแตกกอ หใู บยาว 3-5 มม. ใบรปู รี รปู ไขก่ ลับ หรอื

รปู ขอบขนาน ยาวได้ถงึ 13 ซม. แผน่ ใบสาก ขอบจักฟันเลอื่ ย เสน้ แขนงใบขา้ งละ
4-8 เสน้ กา้ นใบยาว 1-5 มม. ชอ่ ดอกเพศผแู้ บบชอ่ กระจกุ แนน่ เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง
0.5-1 ซม. ก้านช่อยาวได้ถงึ 1.5 ซม. ดอกเกือบไรก้ ้าน กลีบรวมยาวประมาณ 2 มม.
เกสรเพศผู้ยาวเทา่ ๆ กลีบรวม ช่อดอกเพศเมียก้านช่อยาวไดถ้ งึ 2 ซม. กลีบรวม
ขยายในผล ยาว 5-8 มม. มขี นสัน้ นมุ่ ยอดเกสรเพศเมียขยายในผลยาวไดถ้ งึ 1.2 ซม.
ผลเส้นผา่ นศนู ยก์ ลาง 6-8 มม. สกุ สเี หลอื งอมสม้

พบทอี่ ินเดยี ศรลี งั กา ภฏู าน บงั กลาเทศ จีนตอนใต้ พมา่ ภูมภิ าคอินโดจนี
และมาเลเซยี ฟลิ ปิ ปนิ ส์ ในไทยพบทกุ ภาค ขนึ้ ตามชายปา่ ทโี่ ลง่ หรอื บนเขาหนิ ปนู
ความสงู ถึงประมาณ 700 เมตร เนอื้ ไม้ทบุ ใช้แปรงฟนั แกเ้ หงือกอกั เสบ

73

ข่อยน้�ำ สารานุกรมพชื ในประเทศไทย

ขอ่ ยน�้ำ ขอ่ ยน�้ำ: ดอกเพศเมียออกเดยี่ ว ๆ กลีบรวมขยายในผล (ภาพซ้าย: ยะลา - RP); ข่อยใบใหญ:่ ช่อดอกเพศผแู้ บบ
ชอ่ เชิงลด มีช่อเดยี ว (ภาพขวา: กุยบรุ ี ประจวบครี ีขนั ธ์ - SSi)
Streblus taxoides (Heyne ex Roth) Kurz
ข่อยหนาม: ขอบใบจักฟันเลื่อยเปน็ หนาม ช่อดอกเพศผู้แบบช่อเชงิ ลด 1-2 ช่อ ออกตามซอกใบ กา้ นชอ่ สน้ั (ภาพ:
ชือ่ พอ้ ง Trophis taxoides Heyne ex Roth น�้ำตกตาดขาม สกลนคร - PK)

ไม้พมุ่ สูงไดถ้ ึง 5 ม. แยกเพศต่างตน้ มหี นามยาวประมาณ 1.5 ซม. หใู บยาว ขันทองพยาบาท
2-5 มม. ติดทน มขี นครยุ ใบรูปรีถึงรูปใบหอก ยาว 2-18 ซม. ขอบจักฟันเลือ่ ย
ชว่ งปลาย เสน้ แขนงใบขา้ งละ 6-12 เสน้ กา้ นใบยาว 1-6 มม. ชอ่ ดอกเพศผแู้ บบ Suregada multiflora (A. Juss.) Baill.
ช่อเชงิ ลดสนั้ ๆ หรือเปน็ กระจุกแนน่ ตามกิง่ สน้ั 1-4 ช่อ ยาว 4-8 มม. ดอกเกือบไรก้ ้าน วงศ์ Euphorbiaceae
กลีบรวมยาวประมาณ 1.5 มม. เกสรเพศผู้ยาวประมาณ 2 มม. ช่อดอกเพศเมยี
ออกเดยี่ ว ๆ หรอื เปน็ กระจกุ มดี อกเดยี ว กลบี รวมรปู ใบหอก ยาว 2-5 มม. ขยาย ชือ่ พอ้ ง Gelonium multiflorum A. Juss.
ในผลยาวได้ถงึ 2 ซม. ยอดเกสรยาว 0.5-3 มม. ผลรูปรี ยาว 0.5-1 ซม.
ไมต้ น้ สงู ไม่เกนิ 15 ม. แยกเพศต่างต้น หูใบเชื่อมตดิ กันขนาดเลก็ ร่วงเรว็
พบทอี่ ินเดยี ภฏู าน ศรลี ังกา จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซยี ใบเรยี งเวยี น รปู รหี รอื รปู ขอบขนาน ยาว 12-15 ซม. แผน่ ใบมจี ดุ โปรง่ แสง ชอ่ ดอก
ฟลิ ปิ ปนิ ส์ ในไทยพบทกุ ภาค ขนึ้ ตามปา่ ดบิ แลง้ และปา่ ดบิ ชน้ื ความสงู ถงึ ประมาณ แบบชอ่ กระจุกสัน้ ๆ ออกตรงขา้ มใบ กา้ นช่อยาวได้ถงึ 1 ซม. กา้ นดอกยาว 4-6 มม.
300 เมตร กลบี เล้ยี ง 5 กลบี เรยี งซอ้ นเหลอ่ื ม รปู รี ยาว 3-4 มม. ไม่มีกลบี ดอก จานฐานดอก
เปน็ วง มีตอ่ มกระจาย เกสรเพศผู้จ�ำนวนมาก ยาวเทา่ ๆ กลีบเล้ียง อบั เรณูตดิ
ขอ่ ยใบใหญ่ ด้านหลัง เปน็ หมันในดอกเพศเมยี รังไข่ 3 ชอ่ ง แตล่ ะช่องมีออวุล 1 เม็ด กา้ น
เกสรเพศเมียสนั้ ยอดเกสรแยก 2 แฉก ผลสด ผนงั ชน้ั ในแข็ง จกั เปน็ พูตืน้ ๆ ยาว
Streblus macrophyllus Blume 2.5-3.5 ซม. แตกเป็น 3 สว่ น มีคอลวิ เมลลา เมล็ดมีเย่อื หุ้มสขี าว
ไมต้ ้น สูงได้ถงึ 12 ม. บางครงั้ มหี นามยาวประมาณ 5 มม. หใู บยาวได้ถงึ 1 ซม.
พบท่ีอนิ เดยี บงั กลาเทศ พม่า ภมู ิภาคอินโดจนี และคาบสมุทรมลายู ในไทย
ใบรปู ไขก่ ลบั รปู ขอบขนาน หรอื รปู ใบหอก ยาว 6-22 ซม. ขอบเรยี บหรอื จกั ฟนั เลอื่ ย พบทุกภาค ขึน้ ตามปา่ เบญจพรรณ ปา่ ดิบแลง้ ปา่ ละเมาะ และชายปา่ ที่แห้งแล้ง
เสน้ แขนงใบขา้ งละ 6-10 เส้น ก้านใบยาว 2-8 มม. ชอ่ ดอกเพศผูแ้ บบช่อเชิงลด ความสงู ไมเ่ กิน 500 เมตร น้�ำคัน้ จากใบใช้แกไ้ ข้
ออกเดีย่ ว ๆ ยาว 1.5-14 ซม. กา้ นช่อยาว 2-4 มม. ดอกไร้กา้ น กลีบรวมยาว 1-1.2 มม.
เกสรเพศผยู้ าวประมาณ 2 มม. ชอ่ ดอกเพศเมยี ออกเดย่ี ว ๆ มี 1-10 ดอก เรยี งคลา้ ย สกลุ Suregada Roxb. ex Rottler อย่ภู ายใต้วงศย์ อ่ ย Crotonoideae มปี ระมาณ
ช่อกระจะ ก้านชอ่ ยาว 0.2-1 ซม. ก้านดอกส้นั กลีบรวมยาว 1-2 มม. กลีบคใู่ น 30 ชนิด พบในแอฟริกา มาดากัสการ์ และเอเชยี ในไทยมชี นิดเดยี ว ชือ่ สกลุ มา
ขยายในผลยาว 0.7-1 ซม. ยอดเกสรยาว 1.5-3 มม. ผลเส้นผ่านศนู ยก์ ลาง 1-1.5 ซม. จากภาษาเตลูกู ในอินเดีย “soora gade” ทใี่ ช้เรียกพืชชนดิ นี้
เอกสารอ้างอิง
พบท่ีจนี ตอนใต้ พมา่ เวยี ดนาม คาบสมทุ รมลายู บอร์เนียว และฟลิ ิปปินส์ ใน Chantharaprasong, J. (2007). Euphorbiaceae (Suregada). In Flora of Thailand
ไทยพบทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ทก่ี าญจนบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรขี นั ธ์ ข้ึนตาม
ป่าดิบแล้งท่ีเปน็ หินปูน ความสงู ระดับต่�ำ ๆ Vol. 8(2): 564-566.

ขอ่ ยหนาม

Streblus ilicifolius (Vidal) Corner

ชอ่ื พ้อง Taxotrophis ilicifolius Vidal

ไม้พุ่มหรอื ไม้ตน้ สูงไดถ้ งึ 20 ม. หนามยาว 1-4.5 ซม. กิ่งมีขน หูใบยาว 3-8 มม.
ใบรูปรี รปู ไข่กลบั ยาว 4-25 ซม. ปลายมีติง่ คล้ายหนาม ขอบจักฟันเล่อื ยเปน็
หนามห่าง ๆ เสน้ แขนงใบข้างละ 8-12 เส้น กา้ นใบยาว 0.2-1 ซม. ช่อดอกเพศผู้
แบบช่อเชิงลด 1-2 ชอ่ ยาว 1-5 ซม. ก้านช่อและก้านดอกสัน้ มาก กลบี รวมยาว
ประมาณ 1 มม. เกสรเพศผู้ยาว 2-2.5 มม. ชอ่ ดอกเพศเมียแบบชอ่ กระจะ
ออกเดย่ี ว ๆ กา้ นช่อยาวประมาณ 1.5 ซม. มี 1-3 ดอก กา้ นดอกยาว 2-8 มม.
กลบี รวมยาว 1-2 มม. กลีบคู่ในขยายในผลยาวไดถ้ งึ 1 ซม. มขี นครุย ยอดเกสรยาว
2-3.5 มม. ผลเส้นผ่านศนู ยก์ ลางประมาณ 1 ซม. กลีบรวมห้มุ ประมาณก่ึงหน่ึง

พบทอ่ี นิ เดยี บงั กลาเทศ จนี ตอนใต้ พมา่ ลาว เวยี ดนาม ภมู ภิ าคมาเลเซยี และ
ฟิลปิ ปนิ ส์ ในไทยพบกระจายท่ัวไปทกุ ภาค โดยเฉพาะตามเขาหินปูน ความสูงถึง
ประมาณ 500 เมตร

เอกสารอ้างองิ
Berg, C.C., N. Pattharahirantricin and B. Chantarasuwan. (2011). Moraceae. In
Flora of Thailand Vol. 10(4): 667-674.
Wu, Z., Z.K. Zhou and M.G. Gilbert. (2003). Moraceae. In Flora of China Vol.
5: 28-30.

ข่อย: ขอบจกั ฟนั เลื่อย ชอ่ ดอกเพศผู้แบบช่อกระจกุ แนน่ ชอ่ ดอกเพศเมียมกั มีดอกเดียว ยอดเกสรเพศเมยี แยก 2 แฉก ขนั ทองพยาบาท: ชอ่ ดอกเพศผู้ ออกตรงขา้ มใบ เกสรเพศผจู้ ำ� นวนมาก ไม่มีกลบี ดอก ผลแตกเปน็ 3 ส่วน (ภาพดอก:
กลีบรวมขยายในผล ผลสุกสเี หลอื งอมสม้ (ภาพดอกเพศผู้และดอกเพศเมยี : ศรสี ะเกษ - SSi; ภาพผล: มกุ ดาหาร - PK) ภหู นิ รอ่ งกลา้ พษิ ณุโลก - SSi; ภาพผล: มุกดาหาร - PK)

74

สารานุกรมพืชในประเทศไทย ขางหวั หมู

ขางแดง ขางนาง: แผ่นใบหนา เสน้ แขนงใบจำ� นวนมากเรียงจรดกันเปน็ เสน้ ขอบใน ช่อดอกแบบช่อกระจกุ เกสรเพศผู้
เชือ่ มติดกันเป็น 5 มดั (ภาพ: ยะลา - RP)
Embelia tsjeriam-cottam (Roem. & Schult.) A. DC.
วงศ์ Primulaceae ขางหวั หมู

ช่ือพอ้ ง Ardisia tsjeriam-cottam Roem. & Schult., Embelia villosa Wall. Miliusa velutina (Dunal) Hook. f. & Thomson
วงศ์ Annonaceae
ไมพ้ ุม่ รอเลื้อย สงู ไดถ้ งึ 5 ม. แยกเพศต่างต้นแกมดอกสมบูรณ์เพศ มขี นสน้ั นมุ่
ตามกิ่งอ่อน กา้ นใบ แผน่ ใบด้านลา่ ง ชอ่ ดอก และกลีบเลย้ี ง ใบเรยี งเวียน รปู รี ชอื่ พอ้ ง Uvaria velutina Dunal, U. villosa Roxb.
หรือรปู ไข่กลับ ยาว 6-15 ซม. ขอบเรยี บหรือจกั ซฟี่ ันตื้น ๆ กา้ นใบยาว 0.5-1.5 ซม.
ชอ่ ดอกแบบชอ่ กระจะ ออกเปน็ กระจกุ 1-3 ชอ่ ชอ่ ดอกเพศผยู้ าว 4-13 ซม. บางครงั้ ไม้ตน้ สงู ไดถ้ ึง 20 ม. มขี นส้ันนุ่มตามกิ่ง แผ่นใบ กา้ นใบ ก้านช่อ กลีบเลยี้ ง และ
แยกแขนง ช่อดอกเพศเมยี ยาว 1-7 ซม. ดอกสีเขยี วอ่อนหรือขาว กา้ นดอกยาว กลบี ดอกดา้ นนอก ใบเรยี งสลบั ระนาบเดยี ว รปู ไขห่ รอื รปู ขอบขนาน ยาว 8-30 ซม.
1.5-2 ซม. กลบี เลยี้ ง 4-5 กลบี รปู ไขแ่ กมรปู ขอบขนานขนาดเลก็ มตี อ่ มประปราย โคนเว้าตน้ื เบยี้ ว กา้ นใบยาว 2-7 มม. ชอ่ ดอกแบบชอ่ กระจุกออกตรงขา้ มใบ
ขอบมขี นครยุ กลบี ดอกเชอ่ื มตดิ กนั ทโ่ี คน มี 4-5 กลบี รปู ขอบขนาน ยาวประมาณ หรอื บนกง่ิ มี 3-6 ดอก ในแตล่ ะชอ่ หอ้ ยลง กา้ นชอ่ ยาวไดถ้ งึ 2.5 ซม. ใบประดบั
2.5 มม. ด้านในมีปุ่มและตอ่ มสนี �้ำตาลด�ำกระจาย พบั งอกลับ เกสรเพศผู้ 4-5 อัน ขนาดเล็ก ร่วงเร็ว ก้านดอกยาว 5-10 ซม. ฐานดอกมีขน กลบี เลี้ยงสนี �้ำตาล มี 3 กลีบ
ตดิ ทโ่ี คนกลบี ดอก ยาวเทา่ ๆ กลบี ดอก อนั ทเี่ ปน็ หมนั ตดิ ประมาณกลางกลบี ดอก รปู สามเหลี่ยมยาว 2-8 มม. กลบี ดอกมี 6 กลบี กลีบวงนอกส้ัน คล้ายกลีบเลี้ยง
เกอื บไรก้ า้ นชอู บั เรณู รงั ไขเ่ กลยี้ ง กา้ นเกสรเพศเมยี สน้ั ผลผนงั ชน้ั ในแขง็ เสน้ ผา่ น กลีบวงในสนี ำ้� ตาลเหลอื งอมเขียว รปู ใบหอกแกมรปู ไข่ ยาว 1-1.8 ซม. พับงอกลบั
ศนู ยก์ ลางประมาณ 4 มม. มเี มลด็ เดยี ว มกี า้ นสน้ั ๆ เกสรเพศผจู้ ำ� นวนมาก เรยี งหา่ ง ๆ อบั เรณมู รี ยางคส์ น้ั ๆ เปน็ ตงิ่ แหลม
คาร์เพลจ�ำนวนมาก มีขนสั้นนุ่ม ยอดเกสรเพศเมียรูปกระบอง ผลย่อยแยกกัน
พบที่อินเดีย เนปาล ศรลี งั กา พมา่ และภูมิภาคอินโดจนี ในไทยพบกระจาย เสน้ ผ่านศนู ย์กลาง 1.5-2 ซม. ก้านยาว 5-8 มม. สกุ สแี ดงอมน้�ำตาล มี 1-2 เมล็ด
หา่ ง ๆ ยกเว้นภาคใต้ ขนึ้ ตามปา่ เตง็ รงั ปา่ เบญจพรรณ และปา่ ดบิ เขา ความสูงถงึ
ประมาณ 1300 เมตร ผลและเมล็ดบดใช้ถา่ ยพยาธิ พบที่อินเดยี ปากสี ถาน พม่า จนี ตอนใต้ ภมู ภิ าคอนิ โดจนี คาบสมุทรมลายู
ในไทยพบทกุ ภาค ขน้ึ ตามป่าเบญจพรรณ ปา่ เตง็ รัง และปา่ ดิบแล้ง ความสูงถึง
สกลุ Embelia Burm. f. เดิมอยภู่ ายใต้วงศ์ Myrsinaceae มปี ระมาณ 140 ชนดิ ประมาณ 500 เมตร เปลอื กเป็นยาระบาย
พบในแอฟริกา เอเชีย ออสเตรเลีย และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยมี 13 ชนิด ช่ือ
สกลุ มาจากช่อื พื้นเมืองในศรีลังกา “aembelia” ทใี่ ช้เรียกพชื ในสกลุ นี้ สกุล Miliusa Lesch. ex A. DC. อยู่ภายใต้วงศย์ อ่ ย Malmeoideae เผ่า Miliuseae
เอกสารอา้ งองิ พบในเอเชยี เขตร้อน ออสเตรเลยี และหมู่เกาะแปซิฟกิ มีประมาณ 50 ชนดิ ในไทย
Larsen, K. and C.M. Hu. (1996). Myrsinaceae. In Flora of Thailand Vol. 6(2): มปี ระมาณ 20 ชนิด ชือ่ สกุลอาจตงั้ ตามนกั พฤกษศาสตร์ชาวอติ าลี Josephus
Mylius หรอื Joannes Mylius หรอื มาจากชื่อพืน้ เมืองในอินเดีย
157-158. เอกสารอ้างองิ
Chaowasku, T. and P.J.A. Keßler. (2013). Phylogeny of Miliusa (Magnoliales:
ขางแดง: ช่อดอกแบบช่อกระจะ ออกเปน็ กระจกุ 1-3 ช่อ ตามซอกใบ กลีบดอกดา้ นในมีปุ่มและต่อมสีน�้ำตาลดำ�
กระจาย (ภาพ: ท่งุ ใหญ่นเรศวรตะวนั ออก ตาก - PK) Annonaceae: Malmeoideae: Miliuseae), with descriptions of two new species
from Malesia. European Journal of Taxonomy 54: 1-21.
ขางนาง ________. (2013). Seven new species of Miliusa (Annonaceae) from Thailand.
Nordic Journal of Botany 31(6): 680-699.
Tristaniopsis merguensis (Griff.) Peter G. Wilson & J. T. Waterh. Li, B. and M.G. Gilbert. (2011). Annonaceae. In Flora of China Vol. 19: 680.
วงศ์ Myrtaceae
ขางหวั หมู: ชอ่ ดอกห้อยลง กลีบดอกด้านในขนาดใหญก่ วา่ กลบี ดอกด้านนอก ผลแบบผลกลมุ่ ก้านชอ่ ยาว
ชอ่ื พอ้ ง Tristania merguensis Griff. ผลยอ่ ยมกี า้ น สกุ สแี ดงอมนำ้� ตาล (ภาพดอก: สาละวิน แมฮ่ ่องสอน - RP; ภาพผล: ทา่ สองยาง ตาก - PK)

ไม้พุ่มหรอื ไมต้ น้ สูงได้ถึง 15 ม. เปลอื กลอกเปน็ แผน่ หูใบขนาดเล็ก ร่วงเรว็
ใบรูปไข่ หรอื รูปไข่กลับ ยาว 3-10 ซม. แผ่นใบหนา ด้านลา่ งมตี ่อมกระจาย
เสน้ แขนงใบจำ� นวนมากเรียงจรดกนั เปน็ เส้นขอบใน กา้ นใบยาว 2-3 มม. มีขน
ละเอยี ด ชอ่ ดอกยาวไดถ้ งึ 10 ซม. ใบประดับรูปใบหอก ยาวประมาณ 4 มม.
ก้านดอกยาวได้ถงึ 2.5 มม. ก้านดอกเทียมยาวประมาณ 1 มม. ฐานดอกรูปกรวย
กลีบเล้ียงขนาดเล็ก ดอกสีขาวหรืออมเหลือง เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 2 มม.
เกสรเพศผเู้ ช่ือมตดิ กัน 5 มดั มัดละ 5-15 อนั ติดตรงขา้ มกลีบดอก กา้ นชอู ับเรณู
ยาว 1-2.5 มม. โคนมขี น รงั ไขม่ ขี นสนั้ นมุ่ ชว่ งปลาย กา้ นเกสรเพศเมยี ยาวประมาณ
2 มม. ผลรูปรีกวา้ ง ยาว 1-1.2 ซม. (ดูขอ้ มลู เพ่มิ เติมท่ี ก้าว, สกุล)

พบทหี่ มเู่ กาะอนั ดามนั พมา่ กมั พชู า เวยี ดนาม คาบสมทุ รมลายู และบอรเ์ นยี ว
ในไทยพบกระจายหา่ ง ๆ ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก และภาคใต้
ขน้ึ ตามปา่ ดบิ แลง้ ปา่ ดบิ ชน้ื ปา่ ดบิ เขา หรอื ปา่ พรุ ความสงู ถงึ ประมาณ 1500 เมตร

เอกสารอา้ งองิ
Ashton, P.S. (2005). New Tristaniopsis Peter G. Wilson & J. T. Waterh. (Myrtaceae)
from Borneo. Gardens’ Bulletin Singapore 57(2): 271-273.
Parnell, J. and P. Chantaranothai. (2002). Myrtaceae. In Flora of Thailand Vol.
7(4): 913-914.

75

ข่าดง สารานุกรมพืชในประเทศไทย

ข่าดง เอกสารอา้ งองิ
Chaveerach, A., P. Mokkamul, R. Sudmoon and T. Tanee. (2008). A new species
Hedychium coccineum Buch.-Ham. ex Sm. of Alpinia Roxb. (Zingiberaceae) from northeastern Thailand. Taiwania,
วงศ์ Zingiberaceae 53(1): 1-5.

ไม้ลม้ ลุก สงู 1-2 ม. ลิน้ ใบยาวประมาณ 2 ซม. โคนสีมว่ ง ใบรูปใบหอก ยาว ข่าทราย: ชอ่ กระจุกแยกแขนงออกที่ยอด ต้งั ขึน้ ๆ กลบี ปากสีเหลือง มปี น้ื แดงกลางกลบี แผน่ กลบี รูปสามเหล่ยี ม
30-45 ซม. แผ่นใบด้านลา่ งมกั มีสมี ่วง เสน้ กลางใบมขี น ไร้ก้าน ชอ่ ดอกยาว แฉกลึกเกือบจรดโคน แผ่นเกสรเพศผูท้ เ่ี ปน็ หมันรูปไข่กลับ มจี ดุ แดงกระจาย ปลายจกั (ภาพ: บงึ กาฬ - MP)
20-25 ซม. แตล่ ะใบประดับมี 5-6 ดอก มีขนสนั้ นุ่ม ใบประดบั วงนอกเปน็ หลอด
ยาว 3.5-4 ซม. ใบประดบั วงในรูปขอบขนาน ยาว 2-2.5 ซม. ปลายจัก 3 พูตน้ื ๆ ขานาง, สกุล
ใบประดับยอ่ ยยาวประมาณ 1.5 ซม. ดอกสีสม้ อมแดง ยาว 4-5 ซม. หลอดกลีบเลย้ี ง
ยาวประมาณ 2.5 ซม. กลีบดอกรปู แถบ ยาวประมาณ 2.5 ซม. กลีบปากยาว Homalium Jacq.
1.5-2 ซม. ปลายแฉกลกึ กา้ นกลบี ยาวประมาณ 1 ซม. แผน่ เกสรเพศผทู้ เี่ ปน็ หมนั วงศ์ Salicaceae
ดา้ นข้างยาวประมาณ 4 ซม. เกสรเพศผ้ยู าว 5-6 ซม. อับเรณูยาว 7-8 มม. รงั ไข่
มีขนคล้ายไหม ผลเสน้ ผ่านศนู ยก์ ลางประมาณ 2 ซม. เมล็ดสีแดง (ดูขอ้ มูลเพ่มิ เตมิ ที่ ไมพ้ มุ่ หรอื ไมต้ น้ ใบเรยี งเวยี น หใู บรว่ งเรว็ ขอบใบสว่ นมากจกั ฟนั เลอ่ื ยเปน็ ตอ่ ม
ตาเหิน, สกุล) ชอ่ ดอกแบบชอ่ แขนงหรอื ลดรปู คลา้ ยชอ่ กระจะ ใบประดบั ขนาดเลก็ กลบี ดอก
เช่ือมตดิ กัน มี 5-12 กลีบ บางครงั้ ขยายในผล กลีบดอกคล้ายกลีบเล้ียง ติดท่ี
พบที่ อนิ เดยี ศรลี งั กา เนปาล จนี ตอนใต้ พมา่ และภาคเหนอื ของไทยทเ่ี ชยี งใหม่ ขอบหลอดกลีบเลยี้ งระหวา่ งกลีบ บางครงั้ ขยายในผล จานฐานดอกเปน็ ตอ่ ม
และแม่ฮ่องสอน ขึน้ ตามป่าดบิ เขา ความสงู 1000-1600 เมตร เปน็ ไมป้ ระดบั แต่ละต่อมตดิ ตรงข้ามกลีบเลีย้ ง มีขน เกสรเพศผตู้ ิดเด่ียว ๆ หรอื เป็นกระจกุ
ระหวา่ งตอ่ มจานฐานดอก อบั เรณกู ลมขนาดเลก็ ตดิ ดา้ นหลงั รงั ไขก่ งึ่ ใตว้ งกลบี
เอกสารอา้ งองิ มีช่องเดียว พลาเซนตาตามแนวตะเขบ็ 2-8 แนว ก้านเกสรเพศเมีย 2-8 อนั ยอดเกสร
Sabu, M. (2006). Zingiberaceae and Costaceae of south India. Kerala, India. เปน็ ตุ่ม ผลแห้งแตกเปน็ 2-8 ซกี ขนาดเล็ก มีกลีบเลยี้ งหมุ้
Indian Association for Angiosperm Taxonomy, Calicut University.
Wu, D. and K. Larsen. (2000). Zingiberaceae. In Flora of China Vol. 24: 375. สกุล Homalium เดิมอยู่ภายใตว้ งศ์ Flacourtiaceae ปัจจบุ ันอยวู่ งศ์ย่อย
Salicoideae มีประมาณ 150 ชนิด ในไทยมี 12 ชนดิ ช่อื สกุลมาจากภาษากรกี
ข่าดง: ใบเรียงสลบั ระนาบเดยี ว ไรก้ ้าน ช่อดอกแบบช่อเชิงลดออกทยี่ อด ใบประดบั วงนอกเปน็ หลอด ดอกสสี ม้ อมแดง “homalos” เทา่ กัน ตามจำ�นวนกลบี เลีย้ งทเี่ ท่ากับกลีบดอก และคล้ายกัน
ปลายแฉกลึก (ภาพ: เชยี งดาว เชยี งใหม่ - PK)
ขานาง
ขา่ ทราย
Homalium tomentosum (Vent.) Benth.
Alpinia macrostaminodia Chaveer. & Sudmoon
วงศ์ Zingiberaceae ช่อื พ้อง Blakwellia tomentosa Vent.

ไม้ล้มลุก เหงา้ สน้ั ลำ� ตน้ สูงไดถ้ ึง 1.8 ม. ลิ้นใบคลา้ ยกาบ ยาว 5-6 มม. ใบเรียง ไมต้ ้นผลัดใบ สูงไดถ้ งึ 40 ม. ล�ำต้นเปลาตรง เปลอื กเรียบ กิ่งออ่ นมีขนสัน้ น่มุ
สลับระนาบเดยี ว มี 5-10 ใบ รปู ขอบขนาน ยาว 16-28 ซม. ใบช่วงโคนและปลาย ใบรปู ไข่กลับ ยาว 10-25 ซม. ปลายมนมีติ่งแหลม แผน่ ใบด้านบนมีขนส้ันสาก
ขนาดเลก็ ปลายกลมมตี ง่ิ แหลม โคนกลมหรอื รปู ลม่ิ แผน่ ใบมขี นตามเสน้ กลางใบ ดา้ นลา่ งมขี นสนั้ นมุ่ กา้ นใบยาวประมาณ 5 มม. ดอกออกเปน็ กระจกุ สนั้ ๆ เรยี งเวยี น
และขอบใบ ไรก้ ้านหรอื มกี ้านยาวได้ถงึ 1 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจกุ แยกแขนง บนแกนชอ่ ห้อยลง ยาว 10-35 ซม. แตล่ ะกระจุกมี 2-5 ดอก ไร้กา้ น มีกล่นิ เหมน็
ออกทยี่ อด ต้ังขนึ้ ยาว 12-30 ซม. กา้ นช่อดอกยาว 5-15 ซม. ใบประดบั รปู ใบหอก กลีบเล้ียงและกลีบดอกอย่างละ 5-6 กลีบ หลอดกลีบเลี้ยงรูปกรวย เช่ือมติด
หรอื รปู แถบ ยาว 1-1.8 ซม. แต่ละใบประดับมี 2-3 ดอก ใบประดบั ยอ่ ยรปู ระฆงั รงั ไขเ่ กนิ กึ่งหนึง่ กลีบรปู ขอบขนาน ยาวประมาณ 1.5 มม. มขี นคล้ายขนแกะ
ยาว 0.7-1 ซม. หลอดกลบี เล้ียงยาวประมาณ 1 ซม. ปลายแยก 3 แฉก ดอกสีขาว เกสรเพศผู้ 5-6 อนั กา้ นชอู บั เรณเู กลย้ี ง กา้ นเกสรเพศเมยี 2-3 อนั สน้ั กวา่ กลบี เลยี้ ง
กลบี ดอกและหลอดกลบี ยาวเทา่ ๆ กลบี เลย้ี ง กลบี หลงั รปู ขอบขนาน ยาว 1.3-1.5 ซม. และกลีบดอก ตดิ ทน ผลรูปกรวยกลบั กลบี เลี้ยงขยายคลา้ ยปีก
กลบี คขู่ า้ งสเี หลอื งมปี น้ื แดง กลบี ปากสเี หลอื ง กลางกลบี มปี น้ื และเสน้ กลบี สแี ดง
แผน่ กลีบรปู สามเหล่ยี ม ยาวประมาณ 1.5 ซม. ปลายแฉกลกึ เกือบจรดโคน พบที่อินเดยี พม่า ภมู ิภาคอนิ โดจีนและมาเลเซีย ในไทยพบทุกภาค ขึน้ ตาม
แผน่ เกสรเพศผทู้ เ่ี ปน็ หมนั รปู ไขก่ ลบั มจี ดุ สแี ดงกระจาย ปลายจกั ยาวประมาณ ป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแลง้ และป่าดบิ ช้นื เขาหนิ ปนู ความสูง 100-350 เมตร
1 ซม. เกสรเพศผู้ยาวประมาณ 1 ซม. รังไขม่ ีขนสัน้ นุ่ม
เอกสารอ้างองิ
พชื ถนิ่ เดยี วของไทย พบทภี่ วู วั จงั หวดั บงึ กาฬ ขน้ึ ตามทโี่ ลง่ ชายปา่ หรอื ลาน Harwood, B. (2015). Salicaceae. In Flora of Thailand Vol. 13(1): 37-49.
หินทรายใกล้แหล่งน้�ำ ในปา่ เตง็ รัง ความสูง 200-300 เมตร Sleumer, H. (1985). The Flacourtiaceae of Thailand. Blumea 30: 220-221.

สกุล Alpinia Roxb. อยู่ภายใต้วงศย์ อ่ ย Alpinioideae มปี ระมาณ 200 ชนดิ พบ ขานาง: ล�ำต้นเปลาตรง เปลือกเรยี บ ช่อดอกหอ้ ยลง ดอกออกเป็นกระจุกสนั้ ๆ เรียงเวยี นบนแกนชอ่ (ภาพ:
ในเอเชยี ออสเตรเลีย และหมูเ่ กาะแปซิฟิก ในไทยเปน็ พชื พ้นื เมืองประมาณ 18 สระบุรี - RP)
ชนดิ เปน็ ไม้ตา่ งประเทศหลายชนดิ รวมถึงขา่ A. galanga (L.) Willd. หลายชนดิ
พบเป็นไม้ประดับ ช่ือสกลุ ตัง้ ตามนักพฤกษศาสตร์ชาวอิตาลี Prospero Alpino
(1553-1617)

76

สารานกุ รมพชื ในประเทศไทย ขา้ วตอก

ขามคัวะ ละเอยี ด ปลายอบั เรณมู ีจะงอยสัน้ ๆ เกสรเพศผทู้ เ่ี ปน็ หมนั 3 อนั รงั ไขแ่ ละโคน
กา้ นเกสรเพศเมียมขี นประปราย ผลยาว 5-7 มม.
Pterospermum semisagittatum Buch.-Ham. ex Roxb.
วงศ์ Sterculiaceae พบทจี่ ีนตอนใต้ พมา่ และภาคเหนอื ของไทยท่ีเชียงใหม่ และล�ำปาง ขน้ึ ตามริม
ลำ� ธารในปา่ ดบิ เขา ความสงู 1000-1500 เมตร แยกเปน็ var. crinita W. T. Wang
ไมต้ น้ สงู ไดถ้ งึ 15 ม. กงิ่ ออ่ นมขี นสนั้ นมุ่ ใบรปู ขอบขนานหรอื รปู ใบหอก ยาว กลีบเล้ียงด้านนอกมีขนคล้ายขนแกะ พบที่จีนตอนใต้ ลักษณะทั่วไปคล้ายกับ
16-25 ซม. ปลายบางคร้งั ยาวคล้ายหาง โคนเป็นเงยี่ งลกู ศร แผ่นใบด้านลา่ งมขี น จอกหนิ นอ้ ย P. heterophylla B. L. Burtt ทใี่ บคอ่ นขา้ งใหญ่ แผน่ ใบมตี มุ่ นนู ใหญ่
เสน้ แขนงใบขา้ งละ 6-7 เสน้ เสน้ โคนใบขา้ งละ 1 เสน้ ใบประดบั รปู รี ยาวประมาณ หรือใบขนาดเล็กมีตุ่มละเอียด โคนกลีบดอกด้านล่างสีม่วงเข้ม เป็นพืชถ่ินเดียว
5 ซม. ขอบจักชายครยุ กลบี เลย้ี งรูปใบหอก ยาว 4-8 ซม. มขี นสีนำ�้ ตาลแดงหนาแนน่ ของไทย พบท่ดี อยเชียงดาว จงั หวัดเชียงใหม่
กลบี ดอกรปู ใบพาย ยาว 4.5-6 ซม. ดา้ นนอกมขี นกระจาย เกสรเพศผยู้ าวประมาณ
3 ซม. เกสรเพศผูท้ เี่ ปน็ หมันยาว 4.5-5 ซม. กา้ นชูอับเรณมู ีต่อมโปร่งใส รงั ไขม่ ี เอกสารอ้างอิง
ขนหนาแน่น ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 5 ซม. โคนมีขนกระจาย ผลรปู รี ยาว Burtt, B.L. (2001). Flora of Thailand: annotated checklist of Gesneriaceae. Thai
6-8 ซม. มีขนหนาแน่น เมลด็ รูปไข่ ยาว 2.5-3 ซม. มีปกี บาง ๆ (ดขู อ้ มูลเพมิ่ เตมิ ที่ Forest Bulletin (Botany) 29: 105-106.
ลำ� ปา้ ง, สกลุ ) Wang, W., K.Y. Pan, Z.Y. Li, A.L. Weitzman and L.E. Skog. (1998). Gesneriaceae.
In Flora of China Vol. 18: 302, 308.
พบท่ีอนิ เดยี พม่า จนี ตอนใต้ เวยี ดนาม และคาบสมุทรมลายู ในไทยกระจาย
หา่ ง ๆ ทกุ ภาค ขน้ึ ตามป่าดิบแล้งและปา่ ดิบชืน้ ความสูงถึงประมาณ 900 เมตร

เอกสารอ้างอิง
Phengklai, C. (2001). Sterculiaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(3): 615.

ขาวก�ำมะหย่ี: ไม้ล้มลุกข้ึนบนหนิ มขี นขนยาวตามก้านใบ แผน่ ใบทัง้ สองด้าน ชอ่ ดอก ก้านดอก และกลบี เล้ยี ง
โคนกลีบบนด้านในมีปืน้ สเี หลอื ง โคนกลบี ลา่ งปนื้ สีเหลอื งเขม้ (ภาพ: สนั กำ� แพง เชยี งใหม่ - RP)

ขามคัวะ: เสน้ โคนใบข้างละ 1 เสน้ โคนใบเปน็ เง่ยี งลูกศร ผลมีขนหนาแนน่ (ภาพ: อ่าวพังงา พังงา - SSi) จอกหนิ นอ้ ย: P. heterophylla แผ่นใบมีตุม่ นูนกระจาย มขี นหนาแนน่ โคนกลบี ดอกดา้ นลา่ งสมี ว่ งเขม้ (ภาพ:
เชยี งดาว เชียงใหม่ - PK)
ขาวกำ�มะหยี่, สกลุ
ขา้ วตอก
Petrocosmea Oliv.
วงศ์ Gesneriaceae Serissa japonica (Thunb.) Thunb.
วงศ์ Rubiaceae
ไมล้ ้มลกุ ขนึ้ บนพ้ืนดนิ หรือหิน มีเหงา้ ไม่มีล�ำต้น ใบออกที่โคน ช่อดอกแบบ
ช่อกระจุกหรอื คลา้ ยชอ่ ซร่ี ม่ ออกตามซอกใบ ใบประดับ 2 ใบ กลบี เล้ียง 5 กลีบ ชือ่ พ้อง Lycium japonicum Thunb., Serissa foetida (L. f.) Lam.
แยกจรดโคน หรอื เชอ่ื มตดิ กนั คลา้ ยมี 3 กลบี กลบี ดอกรปู ปากเปดิ หลอดกลบี กวา้ ง
สน้ั กว่ากลีบดอก กลบี บน 2 กลีบ กลบี ลา่ ง 3 กลบี ขนาดเทา่ ๆ กัน หรอื กลีบล่าง ไม้พุ่ม สูงถึงเกือบ 1 ม. กิ่งมีขน หูใบติดก้านใบ รูปสามเหล่ียมขนาดเล็ก
ยาวกวา่ กลบี บน เกสรเพศผู้ 2 อนั ตดิ ทโ่ี คนหลอดกลบี ดา้ นลา่ ง ไมย่ นื่ พน้ ปากหลอด ปลายมีขนแขง็ ใบเรยี งตรงข้าม รปู รี รูปไข่ หรือแกมรูปขอบขนาน ยาวไดถ้ งึ 2.2 ซม.
ปลายอบั เรณเู ชอื่ มตดิ กนั แตกตามยาว เกสรเพศผทู้ เี่ ปน็ หมนั ตดิ ดา้ นบนหลอดกลบี เสน้ แขนงใบข้างละ 2-4 เส้น กา้ นใบสั้น หรอื ยาวได้ถงึ 2 มม. ช่อดอกแบบชอ่
หรือไมม่ ี ไม่มจี านฐานดอก ยอดเกสรเพศเมยี เปน็ ตุ่ม ผลแหง้ แตกเป็น 2 ซกี ยาว กระจกุ แนน่ ออกตามปลายกงิ่ มกั มดี อกเดยี ว ไรก้ า้ น ใบประดบั รปู ลมิ่ แคบ กลบี เลยี้ ง
เทา่ ๆ กลีบเล้ียง เมล็ดจำ� นวนมากขนาดเลก็ ไม่มรี ยางค์ และกลบี ดอกจำ� นวนอยา่ งละ 4-6 กลบี กลบี เลยี้ งรปู สามเหลย่ี มแคบ ยาว 1-5 มม.
ขยายในผลคลา้ ยหนาม ดอกรปู แตร สขี าวหรอื อมชมพู หลอดกลบี ดอกยาว 4-8 มม.
สกุล Petrocosmea มี 32 ชนดิ พบทอ่ี นิ เดยี จีน พม่า เวยี ดนาม ในไทยมี 6 ชนิด ด้านในมขี น กลีบรูปสามเหลี่ยม ยาว 2.5-3 มม. เกสรเพศผู้ 4-6 อัน ตดิ ใกล้ปาก
ชอื่ สกุลมาจากภาษากรีก “petros” หิน และ “kosmos” ประดบั หมายถงึ พืชท่มี กั หลอดกลบี อับเรณตู ิดด้านหลังใกลโ้ คน รังไข่ใตว้ งกลบี มี 2 ช่อง แตล่ ะชอ่ งมอี อวลุ
ขนึ้ คลา้ ยเปน็ ไมป้ ระดับบนหิน 1 เม็ด เกสรเพศเมยี มที ง้ั แบบสน้ั และแบบยาว ยอดเกสรแยกเป็น 2 พู ผลแหง้
คลา้ ยผลผนังช้ันในแขง็ เปิดดา้ นบน เสน้ ผ่านศูนย์กลาง 2-3 มม. มี 2 ไพรนี
ขาวก�ำ มะหย่ี
มถี น่ิ กำ� เนดิ ในจนี ไตห้ วัน และอาจเปน็ ไมต้ า่ งถนิ่ ในญ่ีปุ่น นยิ มท�ำเปน็ ไม้แคระ
Petrocosmea kerrii Craib ไม้พุ่มร้ัว มีท้ังกลีบซ้อน และใบด่าง ไม่ติดผล ใบขย้ีมีกลิ่นเหม็นคล้ายกับพืชใน
ไมล้ ม้ ลกุ มขี นหนาแนน่ ตามกา้ นใบ แผน่ ใบทงั้ สองดา้ น ชอ่ ดอก กา้ นดอก และ สกลุ Paederia และ Leptodermis ซึ่งตา่ งอยูภ่ ายใต้เผ่า Paederieae เหมือนกนั

กลบี เลย้ี ง ใบรปู รหี รอื รูปไข่ ยาวได้ถงึ 17 ซม. ขอบจกั ซี่ฟนั ปลายแหลมหรอื มน สกลุ Serissa Comm. ex Juss. มี 2 ชนดิ พบที่เนปาล จนี ญป่ี นุ่ และเวยี ดนาม
โคนกลม เบี้ยว ก้านใบยาวได้ถงึ 13 ซม. ช่อดอกคลา้ ยชอ่ ซี่ร่ม มีไดถ้ ึง 7 ดอก ในไทยพบเป็นไม้ประดับชนดิ เดียว ชอ่ื สกุลมาจากภาษาอินเดยี ท่ใี ช้เรียกชนดิ น้ี
กา้ นชอ่ ดอกยาวไดถ้ งึ 10 ซม. ใบประดบั รปู ใบหอก ยาวประมาณ 2 มม. กา้ นดอกยาว
1-2 ซม. กลบี เลย้ี งแยกเปน็ 3 สว่ น กลบี บน ยาว 3-5 มม. กลบี คลู่ า่ งรปู สามเหลย่ี ม เอกสารอ้างองิ
ยาว 1.5-2 มม. ดอกสขี าว โคนกลีบบนดา้ นในมีป้ืนสีเหลอื ง โคนกลบี ลา่ งมปี ้ืน Chen, T. and C.M. Taylor. (2011). Rubiaceae (Serissa). In Flora of China Vol.
สเี หลอื งเขม้ ดา้ นนอกมขี นละเอยี ด หลอดกลบี ยาว 4-5 มม. กลบี คบู่ นเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง 19: 323-324.
ประมาณ 6 มม. 3 กลีบล่างเสน้ ผา่ นศนู ย์กลางประมาณ 8 มม. ก้านชูอับเรณูมีขน Puff, C. and V. Chamchumroon. (2003). Non-indigenous Rubiaceae grown in
Thailand. Thai Forest Bulletin (Botany) 31: 87.

77

ขาวปน้ั สารานกุ รมพชื ในประเทศไทย

ข้าวตอก: ใบเรียงตรงขา้ ม หใู บติดก้านใบ ดอกรปู แตร สีขาวหรอื อมชมพู ดา้ นในมขี น ติดใกลป้ ากหลอดกลีบ และ ขาวพรหมจรรย์
มพี นั ธุ์ดอกซอ้ น (ภาพ: cultivated - RP)
Somrania albiflora D. J. Middleton
ขาวปัน้ วงศ์ Gesneriaceae

Pterocephalodes siamensis (Craib) V. Mayer & Ehrend. ไมล้ ม้ ลกุ สงู ไดถ้ งึ 20 ซม. มขี นแตกแขนงและขนตอ่ มตามกงิ่ แผน่ ใบดา้ นลา่ ง
วงศ์ Caprifoliaceae ก้านใบ ช่อดอก ก้านดอก กลีบเล้ยี ง และกลบี ดอกด้านนอก ใบเรยี งตดิ โคนต้น
หรอื เรียงตรงขา้ มบนกิง่ ขนาดไมเ่ ทา่ กัน รปู ไข่ ยาว 1.8-16.5 ซม. โคนเว้า เบ้ียว
ชือ่ พ้อง Scabiosa siamensis Craib, Pterocephalus siamensis (Craib) Verlaque ขอบจักซี่ฟัน ก้านใบยาว 3.5-14 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุกออกตามล�ำต้น
1-3 ช่อ ก้านชอ่ ยาว 5-13.5 ซม. ใบประดับรปู ใบหอก ยาว 2.5-5 มม. กา้ นดอกยาว
ไมล้ ้มลกุ สงู 10-50 ซม. ล�ำต้นอวบหนา ใบติดรอบโคนต้นหรือปลายกง่ิ แบบ 5.5-7.5 มม. หลอดกลีบเล้ียงส้นั มี 5 กลีบ รูปสามเหลี่ยมแคบ ยาวประมาณ 4 มม.
กหุ ลาบซอ้ น รปู ขอบขนาน รปู ใบหอก หรือแกมรปู ไขก่ ลับ จักตน้ื ๆ 3-5 พู ยาว ดอกสขี าว สมมาตรดา้ นข้าง หลอดกลีบดอกรปู ทรงกระบอก ยาว 0.9-1 ซม.
3-13 ซม. ปลายมน โคนสอบคล้ายปีกเป็นก้านใบโอบลำ� ต้น ขอบจกั ซฟ่ี ันห่าง ๆ กลบี รปู ไขก่ วา้ ง กลบี บน 2 กลบี กวา้ งประมาณ 4.5 มม. กลบี ลา่ ง 3 กลบี กวา้ งประมาณ
ช่อดอกแบบชอ่ กระจุกแนน่ ออกเดีย่ ว ๆ เส้นผา่ นศนู ยก์ ลาง 3-4 ซม. กา้ นช่อยาว 3.5 มม. เกสรเพศผู้ 2 อนั ตดิ ใต้จุดกงึ่ กลางหลอดกลบี ดอก ก้านชูอบั เรณูยาว
5-20 ซม. มขี นสน้ั นมุ่ วงใบประดบั คล้ายใบ 2-3 วง รูปใบหอก ยาว 1-2 ซม. ประมาณ 4 มม. เกสรเพศผู้ทเ่ี ปน็ หมนั 3 อนั จานฐานดอกสีเหลอื ง ขอบจกั มน
ใบประดับรูปแถบ ยาวประมาณ 1 ซม. กลบี เลย้ี งเปน็ ขนแขง็ มีประมาณ 15 อนั มี 2 คารเ์ พล ยาวประมาณ 1.1 ซม. รวมยอดเกสรเพศเมยี ผลแหง้ แตก รปู กระสวย
ยาวประมาณ 7.5 มม. มีขนรปู ตะขอ ดอกสีขาว หลอดกลบี ดอกยาว 1-1.2 ซม. ยาว 0.7-1.1 ซม. เมล็ดขนาดเล็กจ�ำนวนมาก
กลีบรูปรกี วา้ ง กลบี บน 1 กลีบ กลบี ลา่ ง 3 กลีบ ยาวประมาณ 3.5 มม. ดา้ นนอก
มีขน เกสรเพศผู้ 4 อัน ยื่นพ้นปากหลอดกลบี ดอก อับเรณสู มี ว่ งอ่อน รงั ไขใ่ ต้ พชื ถิน่ เดียวของไทย พบทางภาคใต้ที่ระนอง ข้ึนตามหินปนู ทีช่ ุม่ ชืน้ ความสงู
วงกลีบ กา้ นเกสรเพศเมียสน้ั กว่าเกสรเพศผู้ ผลแหง้ เมลด็ ลอ่ น ติดกับวงใบประดบั ถึงประมาณ 550 เมตร
มีเมลด็ เดยี ว
สกุล Somrania D. J. Middleton สกุลพชื ถนิ่ เดยี วของไทย มี 3 ชนิด อกี 2 ชนดิ
พชื ถิน่ เดยี วของไทย พบทางภาคเหนอื ที่ดอยหวั หมด จงั หวดั ตาก และดอย ดอกขนาดใหญก่ วา่ คือ S. lineata D. J. Middleton & Triboun พบทพ่ี ังงา
เชยี งดาว จังหวัดเชียงใหม่ ขน้ึ ตามเขาหนิ ปนู ทเี่ ปดิ โล่ง ความสงู 900-2200 เมตร กลบี ดอกด้านในมปี นื้ สเี หลอื งอมน�ำ้ ตาล 2 แนว และ S. flavida D. J. Middleton
เดมิ อยู่สกลุ Scabiosa ที่มกี ลีบเลย้ี ง 5 อนั และใบติดตามล�ำตน้ ลกั ษณะทัว่ ไป & Triboun พบทีส่ ุราษฎร์ธานี ป้นื สีเหลอื ง กา้ นใบสัน้ กวา่ ช่ือสกุลตั้งตามช่อื
คล้ายกบั Pterocephalodes hookeri (C. B. Clarke) V. Mayer & Ehrend. ดร.สมราน สุดดี นกั พฤกษศาสตรก์ รมอทุ ยานแหง่ ชาติ สตั วป์ า่ และพนั ธพุ์ ืช
ซงึ่ บางขอ้ มลู ระบใุ หเ้ ปน็ ชือ่ พ้องของ Pterocephalus hookeri (C. B. Clarke) เอกสารอา้ งอิง
E. Pritz. กลีบเลยี้ งเป็นขนแข็งเปน็ แฉกคลา้ ยขนนก 20 อัน Middleton, D.J. and P. Triboun. (2012). Somrania, a new genus of Gesneriaceae

สกุล Pterocephalodes V. Mayer & Ehrend. เดมิ มหี ลายชนิดและเคยอยูภ่ ายใต้ from Thailand. Thai Forest Bulletin (Botany) 40: 9-13.
วงศ์ Dipsaceae ปจั จบุ ันอยภู่ ายใตว้ งศ์ยอ่ ย Dipsacoideae เปน็ สกลุ ทแี่ ยกออก ________. (2013). A new species of Somrania (Gesneriaceae) from Thailand.
มาจากสกุล Pterocephalus ปัจจบุ นั อาจมีเพียงชนดิ เดยี วหรอื 3 ชนดิ ชื่อสกุล
หมายถึงสกุลที่คล้ายกับสกลุ Pterocephalus Gardens’ Bulletin Singapore 65(2): 181-184.

เอกสารอ้างอิง ขาวพรหมจรรย์: S. albiflora มขี นกระจาย ขอบใบจักซ่ฟี ัน ชอ่ ดอกแบบชอ่ กระจุกออกตามลำ� ต้น ดอกสมมาตร
Craib, W.G. (1933). Contributions to the Flora of Siam. Bulletin of Miscellaneous ดา้ นขา้ ง (ภาพ: ถ�้ำพระขยางค์ ระนอง - RP)
Information Kew 1933: 33.
Hong, D., L. Ma and F.R. Barrie. (2011). In Flora of China Vol. 19: 655.
Mayer, V. and F. Ehrendorfer. (2000). Fruit differentiation, palynology, and
systematics in Pterocephalus Adanson and Pterocephalodes, gen. nov.
(Dipsacaceae). Botanical Journal of the Linnean Society 132(1): 47-78.

ขาวปัน้ : ใบจักต้ืน ๆ 3-5 พู โคนสอบคลา้ ยปกี ขอบจกั ซฟ่ี นั ชอ่ ดอกแบบช่อกระจกุ แน่น วงใบประดับคลา้ ยใบ ขาวพรหมจรรย์: S. lineata ใบออกตามโคนตน้ กลีบดอกดา้ นในมปี นื้ สเี หลอื งอมนำ้� ตาล 2 แนว (ภาพ: พังงา - TP)
กลีบเล้ียงเป็นขนแขง็ เกสรเพศผยู้ นื่ พน้ ปากหลอดกลบี ดอก (ภาพ: ดอยหัวหมด ตาก - PK)
ขงิ , สกลุ
78
Zingiber Mill.
วงศ์ Zingiberaceae

ไม้ล้มลุก เหง้าแตกแขนงมีกล่ินหอม ใบเรียงสลับระนาบเดียวกัน ช่อดอก
ออกจากเหง้าหรือลำ� ตน้ รูปโคนกวา้ งหรอื รูปกระสวย กาบเปน็ แผน่ คล้ายเกล็ด
ใบประดับเรียงซ้อนเหลอ่ื มชดิ กนั แตล่ ะใบประดบั มีดอกเดยี ว ใบประดบั ย่อย
ไมเ่ ปน็ หลอด กลบี เลยี้ งเชอ่ื มตดิ กนั เปน็ หลอดแยกดา้ นเดยี ว ปลายจกั ตน้ื ๆ 3 จกั
หลอดกลบี ดอกเรยี วยาว กลีบดอก 3 กลบี กลบี คูข่ า้ งเรียวแคบ แผ่นเกสรเพศผู้
ทีเ่ ปน็ หมนั ดา้ นข้างแนบติดกลบี ปากดคู ลา้ ยกลบี ปากมี 3 กลบี กลีบปากปลาย
มักเว้าตนื้ กา้ นชูอับเรณูสนั้ แกนอับเรณูเปน็ สันหมุ้ เกสรเพศเมีย รงั ไข่มี 3 ชอ่ ง
ผลแหง้ แตกเป็น 3 ซีก เมล็ดมเี ยอื่ หมุ้ สีขาว จักชายครุย

สารานุกรมพชื ในประเทศไทย ขงิ หยก

สกลุ Zingiber มปี ระมาณ 100 ชนิด สว่ นมากพบในเอเชยี เขตร้อนหรอื กึ่งเขตร้อน ไพล: ใบเรียวแคบ ใบประดับสนี ้�ำตาล ขอบสเี ขียว มขี นสน้ั น่มุ (ภาพ: cultivated - JM)
ในไทยคาดวา่ มีพืชพน้ื เมอื งถงึ 60 ชนดิ สว่ น ขิง Z. officinale Roscoe ไพล ไพลด�ำ: ใบประดบั สีเแดงดา้ น ๆ กลบี ปากสเี หลือง (ภาพซ้าย: cultivated - JM); กระทอื : ใบประดบั สเี ขยี ว
Z. montanum (J. Koenig) Link ex A. Dietr. กระทือ Z. zerumbet (L.) Roscoe ขอบบาง ซงึ่ จะเปล่ยี นเปน็ สีแดง กลีบปากสีเหลือง (ภาพขวา: cultivated - JM)
ex Sm. และไพลดำ� Z. ottensii Valeton เป็นพชื ตา่ งถิ่น ซ่งึ 3 ชนิดแรก เข้าใจวา่ ขงิ เขาหลวง: กาบดอกสแี ดง ช่อดอกรปู ไข่ กลีบปากสีม่วง มจี ดุ สีครมี กระจาย (ภาพ: cultivated - JM)
มีถ่ินกำ�เนิดในอนิ เดีย สว่ นชนิดสุดทา้ ยมถี ิ่นกำ�เนดิ ในภมู ภิ าคมาเลเซยี ช่ือสกุล
มาจากภาษากรีก “zingiberis” ท่ใี ช้เรียกพวกขงิ ข่า ขงิ ลาร์เซน: ใบประดับและกลีบดอกสีแดงอมสม้ ปลายกลบี ปากจกั 3 พู ต้ืน ๆ (ภาพ: ดอยปุย เชียงใหม่ - PK)
ขงิ หยก: ใบประดับสนี ้�ำตาลอมเขยี ว ปลายกลม มว้ นเขา้ กลบี ปากมีรอยดา่ งสมี ว่ ง (ภาพ: นครศรธี รรมราช - JM)
ขงิ เขาหลวง

Zingiber newmanii Theilade & Mood
ไมล้ ม้ ลกุ สงู ไดถ้ งึ 3 ม. มขี นทโี่ คนกาบใบถงึ กา้ นใบ ลน้ิ กาบ เสน้ กลางใบดา้ นลา่ ง

ลนิ้ กาบยาวประมาณ 1 ซม. ปลายจัก 2 พู ใบรูปขอบขนาน ยาว 40-50 ซม. กา้ นใบยาว
ประมาณ 3 มม. ชอ่ ดอกออกจากเหงา้ ก้านชอ่ ยาว 5-15 ซม. กาบดอกสแี ดง ชอ่ ดอก
รูปไข่ ยาว 10-16 ซม. ใบประดับสีแดงรปู ไข่กลบั ยาวประมาณ 5 ซม. ใบประดับย่อย
รูปรี ยาวประมาณ 3 ซม. กลีบเลยี้ งรปู ทรงกระบอก ยาวประมาณ 3.3. ซม. ดอกสขี าว
รปู ขอบขนาน กลบี หลงั ยาวประมาณ 2 ซม. กลบี ขา้ งยาวประมาณ 1.8 ซม. กลบี ปาก
สมี ่วงมีจุดสคี รมี กระจาย ยาวประมาณ 1.3 ซม. แผ่นเกสรเพศผ้ทู ่เี ป็นหมนั ยาว
ประมาณ 7 มม. อบั เรณสู คี รีม สนั สีม่วง

พชื ถนิ่ เดยี วของไทย พบทางภาคใตท้ ร่ี ะนอง นครศรธี รรมราช และตรงั ขนึ้ ตาม
ปา่ ดบิ ชื้น และทโี่ ลง่ ความสูง 150-400 เมตร

ขงิ ลาร์เซน

Zingiber larsenii Theilade
ไมล้ ้มลกุ สงู ไดถ้ งึ 1 ม. โคนกาบใบมขี นทโ่ี คนก้านใบ ลิ้นกาบยาวประมาณ 1 ซม.

ปลายจกั 2 พู ใบรปู รีหรือรปู ขอบขนาน ยาว 25-30 ซม. แผน่ ใบมกั มปี ื้นแดง
ดา้ นลา่ ง มขี นคลา้ ยไหมตามเสน้ กลางใบและขอบใบ กา้ นใบยาวประมาณ 5 มม.
ชอ่ ดอกออกจากเหงา้ กา้ นชอ่ ยาว 5-15 ซม. ชอ่ ดอกรปู ไข่ ยาว 6-7 ซม. ใบประดบั
รปู ใบหอก ยาวได้ถึง 3.2 ซม. สแี ดงอมสม้ ปลายมีขน ใบประดับย่อยรูปใบหอก
ยาวไดถ้ งึ 2.7 ซม. กลบี เลยี้ งรปู ทรงกระบอก ยาวประมาณ 1.8 ซม. กลบี ดอกสชี มพู
หรอื ส้มอมแดง ยาวได้ถงึ 7.5 ซม. กลบี หลงั รูปใบหอก ยาวประมาณ 3 ซม. กลีบข้าง
รปู ขอบขนาน ยาวประมาณ 2 ซม. กลีบปากยาวประมาณ 2 ซม. ปลายจัก 3 พู ตน้ื ๆ
แผน่ เกสรเพศผู้ทเ่ี ปน็ หมันรปู รกี วา้ ง ยาวประมาณ 8 มม.

พชื ถน่ิ เดียวของไทย พบทางภาคเหนอื ทเ่ี ชยี งใหม่ และน่าน ข้ึนตามป่าดบิ เขา
ความสงู 1400-1700 เมตร คำ� ระบชุ นดิ ตง้ั ตามนกั พฤกษศาสตรช์ าวเดนมารก์ อดตี
บรรณาธิการร่วมหนังสือพรรณพฤกษชาติของประเทศไทย Prof. Kai Larsen
(1926-2012)

ขิงหยก

Zingiber olivaceum Mood & Theilade
ไมล้ ม้ ลกุ สูงไดถ้ ึง 2 ม. มีขนประปรายตามกาบใบ เส้นกลางใบดา้ นลา่ ง ลนิ้ กาบ

ยาวประมาณ 1 ซม. ปลายตดั ใบรูปขอบขนานหรอื รูปใบหอก ยาว 25-30 ซม.
กา้ นใบยาวประมาณ 3 มม. ช่อดอกออกจากเหงา้ กา้ นช่อยาว 45-60 ซม. กาบ
สนี ำ�้ ตาลอมแดง ชอ่ ดอกรปู ไข่ ยาว 10-18 มเี มอื กเหนยี ว ใบประดบั สนี ำ้� ตาลอมเขยี ว
มจี ดุ สชี มพลู ะเอยี ด รปู ไขก่ ลบั ยาว 3.5-4 ซม. ปลายกลม มว้ นเขา้ ใบประดบั ยอ่ ย
รปู รี ยาวประมาณ 3.5 ซม. มขี น กลบี เลย้ี งรูปทรงกระบอก ยาวประมาณ 3 ซม.
กลบี ดอกสคี รมี มปี น้ื สมี ว่ ง รปู ขอบขนาน กลบี หลงั ยาวประมาณ 3 ซม. กลบี ขา้ งแคบ
กวา่ เล็กน้อย กลบี ปากมีรอยดา่ งสมี ว่ งกระจาย ยาวประมาณ 2 ซม. แผ่นเกสรเพศผู้
ทเี่ ปน็ หมันยาวประมาณ 7 มม. อับเรณสู ีเหลือง สนั สมี ่วง

พชื ถนิ่ เดยี วของไทย พบทางภาคใตท้ นี่ ครศรธี รรมราช ขนึ้ ตามปา่ ดบิ ชน้ื ความสงู
ประมาณ 500 เมตร

เอกสารอา้ งอิง
Theilade, I. (1999). A synopsis of the genus Zingiber (Zingiberaceae) in Thailand.
Nordic Journal of Botany 19(4): 389-410.
Theilade, I. and J. Mood. (2002). New gingers from SE Asia. New Plantsman n.s.
Vol. 1: 18-19.
Triboun, P., K. Larsen and P. Chantaranothai. (2014). A key to the genus
Zingiber (Zingiberaceae) in Thailand with descriptions of 10 new taxa. Thai
Journal of Botany 6(1): 53-77

79

ขีก้ า สารานุกรมพชื ในประเทศไทย

ขี้กา, สกลุ พบทอี่ นิ เดยี จนี ตอนใต้ พมา่ ภมู ภิ าคอนิ โดจนี และมาเลเซยี ออสเตรเลยี และ
หมเู่ กาะโซโลมอน ในไทยพบทกุ ภาค ขึน้ ตามทโี่ ลง่ ชายป่า ความสงู ถึงประมาณ
Trichosanthes L. 1700 เมตร แยกเป็น var. roseipulpa W. J. de Wilde & Duyfjes เนอ้ื เยื่อในผล
วงศ์ Cucurbitaceae สสี ม้ อมแดง พชื ถน่ิ เดยี วของไทย พบที่ดอยภคู า จังหวดั นา่ น

ไม้เถา ส่วนมากแยกเพศตา่ งตน้ มกั มีใบประดับท่ีโคนชอ่ ดอก (probract) ขี้กาแดง
มอื จบั สว่ นมากแยกแขนง ใบเรยี บ จกั เปน็ พู หรอื มี 3-5 ใบยอ่ ย แผน่ ใบมตี อ่ มกระจาย
ช่อดอกเพศผูม้ ีดอกเดียวหรือแบบชอ่ กระจะ ดอกเพศเมียออกเด่ียว ๆ คล้ายดอกเพศผู้ Trichosanthes inthanonensis Duyfjes & Pruesapan
กา้ นดอกขยายในผล กลบี เลยี้ งและกลบี ดอกอยา่ งละ 5 กลบี กลบี ดอกจกั ชายครยุ ไม้เถา ยาวได้ถงึ 25 ม. ล�ำตน้ ช่วงปลายสแี ดงอมมว่ ง มือจับแยก 2-5 แขนง
รปู เสน้ ดา้ ย เกสรเพศผู้ 3 อนั ตดิ ใกลป้ ากหลอดกลบี ดอก กา้ นชอู บั เรณสู นั้ อบั เรณู
ตดิ กนั จานฐานดอกจกั รปู แถบ 3 พู รงั ไขใ่ ตว้ งกลบี มชี อ่ งเดยี ว พลาเซนตาตาม ใบประดบั ที่โคนชอ่ ดอกรูปไข่ ยาว 3-8 มม. สีเขียว มีตอ่ ม ใบรูปรีกวา้ ง จกั ต้นื ๆ
แนวตะเข็บ 3 แนว ออวุลจำ� นวนมาก ก้านเกสรเพศเมยี เรยี วยาว ยอดเกสรแฉกลกึ 3-5 พู ยาว 12-24 ซม. ขอบจกั ฟนั เลื่อยห่าง ๆ กา้ นใบยาว 5-9 ซม. ช่อดอก
3-5 แฉก ผลสดมหี ลายเมลด็ เนอื้ ขา้ งในสว่ นมากสดี ำ� อมเขยี ว รสขม ถา้ สขี าวหรอื แดง ยงั ไม่เคยพบ ผลรปู ไข่ ยาว 6-8 ซม. เนือ้ ด้านในสดี ำ� อมเขยี ว ปลายผลเปน็ จะงอยสัน้ ๆ
ไม่ขม เมลด็ จ�ำนวนมาก ส่วนมากแบน กา้ นผลยาว 3-6.5 ซม. เมล็ดเบีย้ ว ยาว 1.3-1.6 ซม. ขอบมสี ัน

สกลุ Trichosanthes มปี ระมาณ 100 ชนดิ พบในเอเชยี เขตรอ้ นและกง่ึ เขตรอ้ น พชื ถน่ิ เดยี วของไทย พบทางภาคเหนอื ทดี่ อยอนิ ทนนท์ จงั หวดั เชยี งใหม่ ดอยภคู า
ออสเตรเลีย และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยมี 18 ชนดิ ช่ือสกลุ มาจากภาษากรีก จังหวัดน่าน และภาคตะวันตกเฉียงใต้ท่ีกาญจนบุรี ข้ึนตามป่าดิบเขา ความสูง
“trichos” ขน และ “anthos” ดอก ตามลักษณะชายครุยของกลบี ดอก 1300-1700 เมตร

ขี้กา ข้กี าแดง

Trichosanthes tricuspidata Lour. Trichosanthes pubera Blume subsp. rubriflos (Cayla) Duyfjes &
ไม้เถา ยาวได้ถึง 20 ม. มอื จับแยก 2-3 แขนง ใบประดับท่โี คนชอ่ ดอกรปู ไขก่ ลับ Pruesapan

ยาวประมาณ 1 ซม. ใบรปู ไข่กว้าง ยาว 7-15 ซม. จัก 3-5 พู แผน่ ใบสากดา้ นบน ช่ือพ้อง Trichosanthes rubriflos Cayla
ก้านใบยาว 3-7.5 ซม. ช่อดอกเพศผยู้ าว 7-16 ซม. ใบประดับรูปไขก่ ลับ ยาว 1.5-4 ซม.
ชายครุยมีต่อมกระจาย ดอกเพศผูก้ า้ นดอกยาว 3-5 มม. ฐานดอกยาว 3-5 ซม. ไมเ้ ถา ยาวไดถ้ งึ 20 ม. มขี นสนั้ ตามกงิ่ ใบประดบั นอก แผน่ ใบดา้ นลา่ ง ชอ่ ดอก
กลบี เลยี้ งรปู สามเหลยี่ ม ยาว 1-1.5 ซม เรยี บ หรอื จกั ตน้ื ๆ ดอกสขี าว ยาวประมาณ และรงั ไข่ มอื จับแยก 2-3 แขนง ใบประดบั ที่โคนชอ่ ดอกรปู ใบหอกหรอื รปู แถบ
1.5 ซม. ชายครุยยาวไดถ้ ึง 2 ซม. ดอกเพศเมียก้านดอกยาว 0.5-1 ซม. ผลรูป ยาว 1-5 ซม. ใบรูปไข่กวา้ งหรอื จกั ลกึ 3-5 พู ยาว 3-15 ซม. โคนเว้าลึก ขอบจกั
ไขก่ ว้าง ยาว 6-7 ซม. เนื้อดา้ นในสดี �ำอมเขียว ฟันเลอ่ื ย แผน่ ใบสากด้านบน กา้ นใบยาว 5-11 ซม. ชอ่ ดอกเพศผู้ยาวได้ถึง 22 ซม.
ใบประดบั สแี ดงอมน�้ำตาล รปู ไข่กลบั ยาว 2.5-4.5 ซม. ขอบจัก มีต่อมกระจาย
พบทพ่ี มา่ ภมู ภิ าคอนิ โดจนี และภมู ภิ าคมาเลเซยี ในไทยพบทกุ ภาค ขน้ึ ตามชายปา่ ดอกเพศผู้ก้านดอกยาว 2-6 มม. ฐานดอกยาว 2-5.5 ซม. กลบี เลี้ยงรปู ใบหอก
เขาหนิ ปนู ความสงู ถงึ ประมาณ 1200 เมตร ชนดิ ยอ่ ย subsp. javanica Duyfjes ยาว 0.7-2.3 ซม ดอกสีขาวมีเส้นกลีบสแี ดงหรือชมพู ยาว 2-3 ซม. ชายครุยยาว
& Pruesapan ใบประดบั จกั ห่าง ๆ ขอบกลีบเลี้ยงเรียบ แยกเป็น var. flavofila ประมาณ 1 ซม. ดอกเพศเมยี กา้ นดอกยาวประมาณ 1 ซม. ผลรปู รกี ว้าง ยาว 5-8 ซม.
W. J. de Wilde & Duyfjes ชายครุยสีเหลือง พบเฉพาะที่แก่งกระจาน จงั หวดั เน้อื ด้านในสีดำ� อมเขียว
เพชรบรุ ี รากและผลมสี รรพคณุ เป็นยาระบาย และมีพิษตอ่ สัตว์เล้ียง
พบทีอ่ ินเดีย ศรลี งั กา จนี ตอนใต้ พม่า และภูมิภาคอินโดจนี ในไทยพบทุกภาค
ข้กี ากอน ขนึ้ ตามทโ่ี ลง่ และชายปา่ ความสงู ถงึ ประมาณ 1700 เมตร แยกเปน็ var. fissisepala
Duyfjes & Pruesapan กลีบเลี้ยงในดอกเพศผู้จักลึก ส่วน subsp. pubera
Trichosanthes quinquangulata A. Gray พบเฉพาะในภมู ิภาคมาเลเซีย ช่อดอกเพศผูม้ ใี บประดับสีเขียว และดอกสขี าว
ไม้เถา ยาวได้ถึง 20 ม. มอื จบั แยก 2-5 แขนง ใบประดับโคนช่อดอกรปู ขอบ
เอกสารอา้ งอิง
ขนานแกมรูปไขก่ ลับ ยาว 0.8-1.5 ซม. ใบรปู รีกว้าง ยาว 8-20 ซม. จักต้ืน ๆ หรอื de Wilde, W.J.J.O. and B.E.E. Duyfjes. (2008). Cucurbitaceae. In Flora of
จกั ลึก 3-5 พู โคนแฉกลึก แผ่นใบสากดา้ นบน กา้ นใบยาว 2.5-10 ซม. ชอ่ ดอกเพศผู้ Thailand Vol. 9(4): 514-540.
ยาว 10-30 ซม. ใบประดบั รปู ไข่กลับ ยาว 1.5-2.5 ซม. มีต่อมใกล้เส้นกลางกลีบ
ก้านดอกยาว 0.2-1 ซม. ฐานดอกยาว 3-5 ซม. กลบี เลยี้ งรูปสามเหล่ียมแคบ ข้กี า: ใบจัก 3-5 พู ใบประดบั ขอบจกั ชายครยุ มีต่อมกระจาย (ภาพดอก: มกุ ดาหาร - RP; ภาพผล: สตูล - PK)
ยาว 1-1.5 ซม. จกั ตน้ื ๆ ใกลโ้ คน ดอกสขี าว ยาวประมาณ 2 ซม. ชายครุยยาว
1-1.5 ซม. ดอกเพศเมยี กา้ นดอกยาว 0.5-2 ซม. ผลกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 5-7 ซม. ขก้ี าขาว: ใบจักลกึ เป็นพู ผลรปู รแี คบ (ภาพซา้ ย: เขาพระวหิ าร ศรีสะเกษ - RP); ข้ีกากอน: ดอกเพศเมียออกเดย่ี ว ๆ
เนอื้ ดา้ นในสีดำ� อมเขียว กลีบดอกจักชายครยุ รูปเสน้ ด้าย (ภาพขวา: เขานิพันธ์ สรุ าษฎร์ธานี - RP)

พบทจ่ี นี ตอนใต้ พมา่ ภมู ภิ าคอนิ โดจนี และภมู ภิ าคมาเลเซยี นวิ กนิ ี ในไทยพบ
ทกุ ภาค ข้นึ ตามที่โลง่ ชายป่า บนเขาหนิ ปูน ความสูงถึงประมาณ 1000 เมตร
เมล็ดบดเปน็ ผงแก้ปวดท้อง นำ้� มันจากเมล็ดแกค้ ัน

ขี้กาขาว

Trichosanthes pilosa Lour.
ไมเ้ ถา ยาวได้ถงึ 10 ม. มีขนส้ันตามกงิ่ แผน่ ใบดา้ นล่าง ชอ่ ดอก และรงั ไข่

มอื จบั แยก 2-3 แขนง ไมม่ ใี บประดบั ทโี่ คนช่อดอก ใบรูปไข่กวา้ งหรอื จัก 3-5 พู
ยาว 10-25 ซม. ขอบเรียบหรอื จกั ฟนั เลื่อย มีต่อมเลก็ น้อย กา้ นใบยาว 3-7 ซม.
ชอ่ ดอกเพศผู้ยาว 10-25 ซม. ใบประดบั รปู ไข่กลับหรอื รูปขอบขนาน ยาว 0.6-2 ซม.
ขอบจักซฟ่ี นั ก้านดอกยาว 0.3-2.5 ซม. ฐานดอกยาว 1.5-4.5 ซม. กลีบเล้ียง
รปู สามเหลย่ี ม ยาวไดถ้ ึง 1.5 ซม ขอบเรยี บ ดอกสขี าว กลบี รูปขอบขนานแกมรูปไข่
ยาวประมาณ 1 ซม. ชายครยุ ยาว 0.7-1.7 ซม. ดอกเพศเมยี กา้ นดอกยาวประมาณ
1 ซม. ผลรปู รแี คบ ยาว 4-6 ซม. มแี ถบสจี าง เนอื้ เยอื่ ดา้ นในสขี าวหรอื สม้ อมแดง

80


Click to View FlipBook Version