The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

International Arts Exhibition Project
"On the Occassion of the 20th Anniversary
of the International Arts Exhibition Project
"On the Occassion of the 20th Anniversary
of the Faculty of Fine and Applied Arts, Thammasat University",

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by teerasaks, 2022-10-22 10:28:44

สูจิบัตร20ปี

International Arts Exhibition Project
"On the Occassion of the 20th Anniversary
of the International Arts Exhibition Project
"On the Occassion of the 20th Anniversary
of the Faculty of Fine and Applied Arts, Thammasat University",

Keywords: Faculty of Fine and Applied Arts,Thammasat University

อศดุาสมตกราารจณาศ์ริลย์ปดกรร.มรมัทนี โมชดารา รตั นนิ

(ผ้กู อ่ ตง้ั คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์)

สารจากอธกิ ารบดี

มหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์์กำหนดวิิสััยทััศน์์“มหาวิิทยาลััยระดัับโลกเพื่่�อ
ประชาชน” (The World - class University for the People) ภายใตก้ รอบยุทุ ธศาสตร์ 4
ประเด็น็ คืือ 1.พัฒั นากํําลังั คนแหง่ อนาคต (Future Workforce) 2.พัฒั นาที่ท่� ํํางานแห่ง
อนาคต (Future Workplace) 3.พัฒั นาคุณุ ภาพชีีวิิตและสัังคมแห่งอนาคต (Future Life
and Society) และ 4.พััฒนารููปแบบความร่ว่ มมืือแห่่งอนาคต (Future Collaboration)
เพื่อ่� พลิกิ โฉมมหาวิทิ ยาลัยั ให้เ้ ป็น็ มากกว่า่ พื้�นที่�่การเรีียนการสอน มุ่�งสู่�การเป็็นพื้�นที่่แ� ห่่งการ
สร้้างสรรค์น์ วััตกรรมทุกุ มิิติิ และการสร้้างผู้�นำรุ่�นใหม่ส่ ำหรัับอนาคตโดยยึดึ มั่่น� ในหลััก
ปรัชั ญาการส่ง่ เสริมิ ความเป็น็ เลิศิ ทางวิชิ าการ การบริิการสู่่�สัังคม การส่ง่ เสริิมศิลิ ปะและ
วัฒั นธรรม ความเสมอภาคทางสังั คม และความยุุติิธรรม ภายใต้ป้ รัชั ญาของรััฐธรรมนููญและ
ระบอบประชาธิปิ ไตย
นโยบายสำคััญประการหนึ่่�งในการสร้้างสัังคมแห่่งการเรีียนรู้้�ที่่�ผู้�อยู่�ใน
ธรรมศาสตร์แ์ ละประชาชนโดยทั่่ว� ไปได้ร้ ัับความรู้�อย่า่ งกว้้างขวางในวิชิ าชีีพต่า่ งๆ สามารถนำ
ความรู้�เหล่่านั้�นไปพัฒั นาประเทศชาติใิ ห้ก้ ้้าวหน้า้ และมีีความสุุขในชีีวิิต โดยเฉพาะงานด้า้ น
ศิลิ ปะ และวัฒั นธรรม รวมไปถึึงงานสร้้างสรรค์ท์ างศิลิ ปกรรมที่น่� ับั วัันจะเข้้าไปมีีบทบาท
สำคัญั อย่า่ งยิ่�งในช่ว่ งของโลกยุุคใหม่่ ด้้วยเหตุุผลที่่ว� ่า่ การเปลี่่ย� นแปลงของโลกยุุคใหม่่ ภายใต้้
ความก้า้ วหน้า้ ของเทคโนโลยีีที่่ล� ้ำ้ สมััยไปอย่่างก้้าวกระโดด
ตลอดระยะเวลาที่�ผ่ ่่านมานอกจากภารกิิจด้้านวิชิ าการ การจัดั การเรีียนการสอน
เพื่�่อผลิติ บัณั ฑิิต การวิิจััย การบริิการวิิชาการและการทำนุบุ ำรุุงศิลิ ปวััฒนธรรมไทยแล้้ว
มหาวิทิ ยาลัยั ธรรมศาสตร์์ โดยคณะศิิลปกรรมศาสตร์์ ได้้ถืือกำเนิิดขึ้�นตามมติสิ ภา
มหาวิิทยาลัยั ธรรมศาสตร์์ เมื่�อ่ วันั ที่่� 26 พฤศจิกิ ายน พ.ศ. 2544 รัับผิิดชอบจััดการศึึกษาด้้าน
ศิิลปะ มาจนถึึงปััจจุุบััน เป็น็ ปีที ี่่� 20 ด้ว้ ยความมุ่�งมั่่�นปฏิิบัตั ิงิ านตามพัันธกิิจของมหาวิิทยาลััย
คณาจารย์์ ผู้�เชี่�่ยวชาญ และนักั ศึึกษา ได้้ผลิิตผลงานสร้้างสรรค์์ งานวิิชาการ/งานวิิจััยด้า้ น
ศิลิ ปกรรม เป็็นที่ป่� รากฏต่่อสาธารณชนอย่า่ งต่่อเนื่่�อง และมีีผลงานที่่�ได้้รับั รางวััลทั้�งในระดับั
ชาติิ และนานาชาติิ ซึ่ง่� เป็น็ ส่่วนหนึ่่�งของการนำงานสร้้างสรรค์ด์ ้า้ นศิิลปกรรมไปสู่�การพััฒนา
ประเทศชาติิให้้ก้้าวหน้้า และมีีความสุขุ ในคุณุ ภาพชีีวิิตด้้านสุุนทรีียศาสตร์์ ในนามของ
มหาวิทิ ยาลัยั ขอแสดงความยินิ ดีีและชื่น่� ชมในความมุ่�งมั่่�น เพื่�่อร่่วมกันั สร้้างสังั คมความรู้�
และการเผยแพร่ผ่ ลงานวิิชาการ งานวิจิ ัยั สร้้างสรรค์ด์ ้้านศิิลปกรรมในนิิทรรศการสร้้างสรรค์์
ผลงานศิลิ ปกรรมนานาชาติิ ประจำปีกี ารศึกึ ษา 2565 ภายใต้้ชื่่�อ “วาระ 20 ปีี ศิิลปกรรม
ศาสตร์์” ในครั้�งนี้�

รองศาสตราจารย์เ์ กศินิ ีี วิฑิ ููรชาติิ
อธิกิ ารบดีีมหาวิทิ ยาลััยธรรมศาสตร์์

3

สารจากอดีตคณบดี อาจารยเ์ ผ่าทอง ทองเจอื

(อดีีตคณบดีีคณะศิิลปกรรมศาสตร์์ มหาวิิทยาลัยั ธรรมศาสตร์์)

ตั้้�งแต่ป่ ีี 2544 เป็็นต้้นมา คณะศิลิ ปกรรมศาสตร์ก์ ็ไ็ ด้จ้ ัดั ตั้�งขึ้�นเป็็นหน่่วยงาน
ภายในของมหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์์ โดยตลอดระยะเวลาที่่�ผ่า่ นมาหน้า้ ที่่ห� ลักั ของคณะ คืือ
การจัดั การเรีียนการสอนเพื่่อ� ผลิติ บัณั ฑิิตทางด้า้ นศิิลปะและการออกแบบ ผลิติ ผลงานทาง
วิชิ าการ งานวิิจัยั งานเกี่่�ยวกัับการทำนุบุ ำรุุงศิลิ ปวัฒั นธรรม งานบริิการวิิชาการแก่ส่ ัังคม
ตลอดจนการนำเสนอเผยแพร่่ผลงานสร้้างสรรค์์และผลงานทางวิิชาการต่่อประชาคม
ธรรมศาสตร์์ และสาธารณชนทั่่�วไปตลอดมา
ในปีี 2565 นี้� คณะศิิลปกรรมศาสตร์์ มหาวิิทยาลัยั ธรรมศาสตร์์ ได้้เดินิ ทางมาครบ 20 ปีีแล้้ว
ตลอดระยะเวลาที่ผ่� ่่านมาคณะศิลิ ปกรรมศาสตร์์ ได้ม้ ีีการพัฒั นาเติบิ โตเป็็นอย่า่ งมาก ทั้�งเรื่อ�่ ง
ค ว า ม พร้้ อ ม ข อ ง อ า ค า ร ส ถ า น ที่่� แ ล ะ เ รื่่� อ ง ก า ร จัั ด ท ำ พัั ฒ น า ห ลัั ก สูู ต ร ใ ห้้ ทัั น ส มัั ย
อัันเป็็นประโยชน์์อย่่างยิ่ �งในการผลิิตบััณฑิิตที่่�มีีคุุณภาพเพื่�่อนำความรู้ �ไปพััฒนาส่่งเสริิมความ
ก้า้ วหน้า้ แก่่วงการศิิลปะและการออกแบบของประเทศชาติิ
การจััดแสดงนิิทรรศการในวาระครบ 20 ปีี ในครั้�งนี้� นอกจากจะมีีผลงานของ
คณาจารย์์ในคณะเองแล้ว้ ยังั ได้ร้ ับั ความร่่วมมืือจากเครืือข่่ายศิิลปินิ จากต่า่ งชาติิ ผู้�มีความรู้�
ความสามารถพิเิ ศษ อาจารย์์พิเิ ศษ และศิษิ ย์์เก่่าที่่�มีีชื่่�อเสีียง นำผลงานมาร่ว่ มแสดงในครั้�งนี้�
อีีกด้้วย ซึ่ง่� การจััดแสดงผลงานในครั้�งนี้้�จึึงเป็น็ นิิทรรศการที่่�เป็น็ เหมืือนการเฉลิมิ ฉลองและ
ชี้้�วัดั ถึึงการเดินิ ทางที่�เ่ จริญิ เติิบโตงอกงามอย่่างดีี จึงึ ขอให้้การจัดั งานนิทิ รรศการผลงาน
ศิิลปกรรมนานาชาติิ ภายใต้ช้ ื่�อ่ “ในวาระ 20 ปีี ศิิลปกรรมศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์”์
สำเร็็จลุุล่่วงตามวัตั ถุปุ ระสงค์์ด้ว้ ยดีี

อาจารย์เ์ ผ่่าทอง ทองเจืือ

4 International Art Exhibition Project
“On the Occasion of the 20th Anniversary of
the Faculty of Fine and Applied Arts, Thammasat University”

สารจากอดีตคณบดี อาจารยส์ ุธิดา กัลยาณรจุ ์

(อดีตคณบดคี ณะศลิ ปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์)

ย้อ้ นรำลึึกเวลาที่�่ล่่วงมาจนถึงึ วันั นี้� นัับได้้ว่า่ นานถึึง 20 ปีี เมื่�อ่ วิิจััยซึ่�่งหล่่อหลอมบุุคลิิกภาพและเสริิมสร้า้ งวิสิ ััยทััศน์อ์ ัันกว้า้ งไกล มีีความอดทน
โครงการจัดั ตั้�งคณะศิิลปกรรมศาสตร์์ มหาวิิทยาลัยั ธรรมศาสตร์์ ได้้พัฒั นามา พากเพีียรและความสามารถที่�่จะใช้้วิิทยาการที่�่ได้้เรีียนรู้�มาสร้้างสรรค์์งาน
จากสาขาวิชิ าการละคอน คณะศิลิ ปศาสตร์์ ซึ่่�งได้ด้ ำเนิินการเรีียนการสอน เพื่�อ่ ประกอบอาชีีพและดำรงชีีพได้้อย่่างเหมาะสม
ระดัับปริิญญาตรีีมาเป็น็ เวลา 25 ปีี ตั้�งแต่่ พ.ศ. 2518 และใน พ.ศ. 2538 ได้้ ผลงานของนัักศึกึ ษา บัณั ฑิิต และคณาจารย์์ของคณะศิิลปกรรมศาสต์์
รัับอนุุมััติิให้้จััดตั้ �งโครงการจััดตั้ �งคณะศิิลปกรรมศาสตร์์มีีวิิชาเอกในระดัับ ได้ร้ ับั คำชมเชย รางวััลและการยกย่อ่ งในวงการวิิชาชีีพและธุรุ กิิจอยู่�เสมอเป็น็ ที่น่� ่่า
ปริิญญาตรีี 2 สาขา คืือสาขาวิิชาการละคอนและสาขาวิิชาการออกแบบ ภาคภูมู ิิใจ เป็็นเครื่่อ� งพิิสูจู น์์ว่า่ พลัังสร้า้ งสรรค์แ์ ละปณิิธานอัันแน่่วแน่ข่ องศิิลปิิน
พัสั ตราภรณ์แ์ ละแฟชั่น� และเปิดิ สาขาวิิชาโทและวิิชาโทและวิิชาเลืือกอีีก และนัักออกแบบสามารถฟัันฝ่่าอุุปสรรคและปััญหาต่่างๆทางชีีวิิตความเป็็นอยู่ �
3 สาขา คืือ สาขาวิิชาดนตรีี สาขาวิิชานาฏศิลิ ป์์ (ไทยและสากล) สาขาวิชิ า และทางเศรษฐกิจิ เมื่อ�่ มีีความมุ่�งมั่�นที่่�จะสานฝัันให้้เป็็นจริงิ ได้้
ศิลิ ปะการออกแบบอุุตสาหกรรม (การออกแบบหััตถอุุตสาหกรรม) โดยเน้น้ ใน อนึ่่ง� การมีีความเคารพนับั ถืือครูผูู้�เป็็นเทพที่ข�่ จััดอุุปสรรค นั่่�นคืือ
แนวคิดิ ที่ว�่ ่่า “พััฒนาคนให้รู้้�จักพัฒั นาตนเองพััฒนาสัังคม” องค์์พระพิฆิ เนศ ซึ่�่ง มีีรููปเคารพขนาดใหญ่่ประดิษิ ฐานในบริิเวณโรงละครของคณะ
ปัจั จุุบััน (2565) คณะศิิลปกรรมศาสตร์์ มหาวิทิ ยาลัยั ธรรมศาสตร์์ ซึ่�่งเป็น็ ดั่�งศููนย์ร์ วมแห่่งปััญญาและการการขจััดอุปุ สรรค ทรรศนะการเชื่�่อมโยง
จัดั การศึกึ ษา 3 สาขาวิิชาคืือ สาขาวิชิ าการละคอน ศิิลปะการออกแบบ พระพิิฆเนศ กัับคนปััจจุบุ ันั มีีข้้อเขีียนที่�น่ ่า่ สนใจของไมเคิิล ไรท์์กล่า่ วไว้ว้ ่่า “ถ้า้ พระ
พัสั ตราภรณ์์ และ การออกแบบหััตถอุุตสาหกรรม และบริกิ ารนัักศึึกษาทุุก พิฆิ เนศงาหักั มีขี ่่าวจะบอกมนุษุ ย์ส์ มััยใหม่่ ก็ค็ งมีีอีกี ความหมายว่่า เราอยู่�่ในโลกที่�่
คณะจำนวนมากซึ่่�งมาศึึกษาวิชิ าพื้�นฐานของมหาวิทิ ยาลััย ด้า้ นศิิลปกรรม บกพร่อ่ ง แต่่เป็็นโลกเดียี วที่ม่� ีอี ยู่่� เราน่่าจะยอมรับั โลกที่ม่� ีี และช่ว่ ยพยุุงมัันไห้ด้ ีีขึ้้น�
ดนตรีี และวรรณกรรม และเลืือกวิชิ าในสาขาวิชิ าการละคอน ด้้านศิลิ ปะการ ด้ว้ ยความซื่�อ่ สััตย์์ ด้ว้ ยความหวัังดีี และด้้วยปัญั ญามากเท่า่ ที่่เ� ราหามาได้้ “
แสดง นาฏศิลิ ป์ไ์ ทยและสากล ดนตรีีไทยและสากล พัฒั นาการเครื่่อ� งแต่ง่ กาย นัับว่่าเป็็นทรรศนะที่่�น่่าคิิด เปรีียบเสมืือนเตืือนสติมิ นุุษย์์ให้้รู้�จักมุ่�งมั่่น�
และพัสั ตราภรณ์ไ์ ทย และสากลเป็น็ ต้น้ ปฏิิบัตั ิดิ ีีปฏิิบััติชิ อบป้อ้ งกันั ไม่ใ่ ห้เ้ กิดิ ปััญหาตามมา แต่เ่ มื่่อ� เกิิดปัญั หาก็็ต้้องคิดิ หา
หลัักสููตรของคณะศิิลปกรรมศาสตร์์เน้้นความสำคััญในการให้้ ทางแก้ไ้ ขด้ว้ ยความดีี มีีเมตตากรุุณาเป็็นที่�่ตั้�ง ก็็เท่่ากับั ทุกุ คนช่่วยกันั สร้า้ งโลกที่�่
นัักศึึกษาค้้นคว้้าวิิจััยและปฏิิบััติิการภาคสนามโดยทำงานอย่่างจริิงจััง บกพร่่องต่า่ ง ๆ ตามความเป็็นจริงิ นี้�ให้ด้ีขึ้�นได้้ ส่ง่ ผลให้ม้ นุษุ ย์์ไม่่คอยแต่่มุ่�งหวังั
กัับชาวบ้า้ นในท้อ้ งถิ่�นต่า่ งๆ เพื่่�อพัฒั นาศิลิ ปะ อุตุ สาหกรรม พื้�นบ้า้ นให้้มีี ความสมบูรู ณ์ข์ องโลกในอุุดมคติิ หัันกลับั มาสร้้างโลกปัจั จุบุ ันั ให้้เป็น็ สถานที่ท่� ี่�่
มาตรฐานสููงขึ้�น เพื่�อ่ เพิ่่ม� รายได้ใ้ ห้้แก่่ชุมุ ชน โดยใช้้เทคนิิค และศิลิ ปะการ สามารถอยู่�ร่วมกัันอย่่างสันั ติิสุขุ ได้้อย่่างเต็็มที่�่
ออกแบบสมััยใหม่่ และศิลิ ปกรรมด้้านต่า่ ง ๆ เป็็นสื่อ่� ในการพัฒั นาการศึกึ ษา หวัังเป็็นอย่่างยิ่�งว่่าคณะศิิลปกรรมศาสตร์์จะรัักษาอุุดมการณ์์
เศรษฐกิิจและสังั คมควบคู่่�กัันไป อันั เป็น็ อุดุ มการณ์์ของมหาวิทิ ยาลััย ก า ร ส ร้้ า ง ส ร ร ค์์ ง า น เ พื่่� อ สัั ง ค ม บ น พื้ � น ฐ า น ข อ ง จ ริิ ย ธ ร ร ม แ ล ะ จ ร ร ย า บ ร ร ณ
ธรรมศาสตร์์ตลอดมา ของวิิชาชีีพและของมหาวิทิ ยาลััยให้้มีีความก้า้ วหน้้ายิ่ง� ขึ้�นต่อ่ ไป ดั่�งบทประพัันธ์์
มีีข้้อสัังเกตที่�่ได้้ศึึกษาติิดตามลัักษณะพิิเศษของนัักศึึกษา ของ ผศ.บุญุ จิริ า ถึึงสุขุ ศศ. 2511 (วรรณคดีีและภาษาต่า่ งประเทศรุ่�นที่่� 3)
ศิิลปกรรมศาสตร์์มาอย่า่ งต่่อเนื่อ�่ ง คืือ ความคิิดคิดิ ริเิ ริ่�มสร้า้ งสรรค์์ ความเป็็น ตระหนักั ตน รู้�จักคน รู้้�คุณุ ค่า่
ตัวั ของตััวเอง ความสำนึกึ ในหน้้าที่่�ในการพัฒั นาสังั คมด้้อยโอกาสใน คืือเบ้้าหลอม ของปัญั ญา อันั ยิ่�งใหญ่่
ท้้องถิ่�นต่า่ ง ๆ และความสามารถในการผสมผสานศิิลปวัฒั นธรรมไทยพื้�นบ้้าน ศิิลปกรรม คืือสรรค์ส์ ร้้าง ด้้วยหัวั ใจ
กัับความรู้�ทางวิชิ าการและเทคนิคิ สมััยใหม่่ ทั้�งนี้�เป็น็ ผลจากการเรีียนการสอน
ที่เ่� น้น้ สหวิทิ ยาการ การแสดงความคิิดเห็็นอย่่างเสรีีประกอบกัับการค้น้ คว้า้ อาจารย์สธุ ิดา กลั ยาณรุจ

5

สารจากอดตี คณบดี รศ.ดร.ปารชิ าติ จึงวิวัฒนาภรณ์

(อดีตคณบดคี ณะศลิ ปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร)์

มหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์์มีีความโดดเด่่นด้้านสัังคมศาสตร์์มาตั้�งแต่่การเริ่�มก่่อตั้�ง
มหาวิทิ ยาลัยั ในด้า้ นที่�เ่ กี่ย่� วกัับศิิลปกรรมนั้�น มหาวิทิ ยาลััยมีีบทบาทสููงในการบุุกเบิกิ ละคอน
เวทีีสมัยั ใหม่่ในสังั คมไทยมายาวนานกว่า่ 50 ปีีแล้้ว นัับตั้�งแต่่ปีี 2514 โดยการเริ่ม� ผลิิตละ
คอนเวทีีสมััยใหม่ใ่ นรูปู แบบของละคอนพููด โดยมีี ดร.มัทั นีี รััตนิิน ผู้้�บุุกเบิิกการเรีียนการสอน
ด้้านวรรณกรรมละคอนตะวัันตก ได้ท้ ำการเชิิญอาจารย์์/ผู้�กำกับั มืืออาชีีพจากอเมริิกามาสอน
และกำกัับการแสดงละคอนเวทีีสมััยใหม่่ซึ่่�งเป็็นจุดุ เริ่ม� ต้้นของการสร้า้ งทั้�งความรู้� ทัักษะ
ประสบการณ์์ให้้กัับศิิลปินิ รุ่�นใหม่่ อัันส่ง่ ผลต่่อพัฒั นาการของวงการละครเวทีีในประเทศไทย
ในเวลาต่่อมาอย่่างยาวนาน หลัังจากนั้�นเป็น็ ต้้นมา ภาพลักั ษณ์ข์ องการเป็็นสถาบัันอุุดมศึึกษา
ที่ม่� ีีการบุุกเบิิกสิ่�งใหม่่ในเชิิงศิิลปะการแสดง ก็ไ็ ด้้กลายเป็็นสารััตถะที่ส�่ ำคัญั ยิ่�งให้ก้ ัับอัตั
ลัักษณ์ข์ องการเรีียนการสอนในวิิชาการละคอน คณะศิิลปศาสตร์์ จวบจนกระทั่่ง� ได้ม้ ีีการ
สถาปนา “คณะศิิลปกรรมศาสตร์”์ ขึ้�นในปีี พ.ศ. 2544 พร้อ้ มกับั การเปิดิ สาขาวิิชาศิลิ ปะการ
ออกแบบพัสั ตราภรณ์์ และการเปิิดสาขาวิิชาออกแบบหััตถอุุตสาหกรรมเพิ่่ม� เข้้ามาในเวลา
ต่อ่ มา โดยทั้�งสามสาขาวิิชานั้�นล้้วนให้ค้ วามสำคััญต่่อการหว่า่ นเมล็ด็ พันั ธุ์�แห่ง่ ความเจริญิ
ก้้าวหน้า้ ของศิลิ ปะสมััยใหม่่ได้้มีีที่�ท่ างเจริิญเติบิ โตอย่่างเป็็นอิิสระ
เวลายี่�่สิิบปีีผ่่านไปคณะศิิลปกรรมศาสตร์์ได้้มีีการเติิบโตในทุุกด้้านทั้�งการบริิหาร
หลัักสููตรการผลิิตบััณฑิิตการสร้้างผลงานศิิลปกรรมและผลงานวิิชาการผ่่านงานวิิจััย
การบริิหารจัดั การคณะ การพัฒั นาบุุคลากรการส่่งเสริมิ กิจิ กรรมของนักั ศึึกษาไปจนถึงึ การ
ผลิติ ผลงานโดยคณาจารย์์ นัักศึึกษา และบััณฑิิต ที่ไ�่ ด้ส้ ร้้างความโดดเด่น่ ให้ก้ ัับวงการ
ศิิลปกรรมในหลากหลายแขนงที่�่เน้้นการคิิดสร้้างสรรค์์และแสวงหานวััตกรรมในการผลิิต
ผลงานที่ม่� ีีความแปลกใหม่แ่ ละน่า่ สนใจ
วาระครบรอบ 20 ปีีของการสถาปนาคณะศิิลปกกรรมศาสตร์์นี้� จึงึ เป็น็ วาระที่น�่ ่า่
เฉลิิมฉลองความสำเร็็จที่่�ผ่่านมาจากการทุ่ �มเททำงานของบุุคลากรทุุกฝ่่ายและนัักศึึกษาที่�่ต่่าง
ก็ร็ ่ว่ มแรงร่่วมใจกัันสร้า้ งผลงานที่�่มีีคุุณภาพสููงสู่่�สัังคมมาโดยตลอด และเป็น็ วาระที่่ท� ุกุ ฝ่า่ ย
น่่าจะได้ม้ ีีโอกาสทบทวนการทำงานในอดีีต เพื่อ�่ นำไปสู่�การพัฒั นาที่ด่� ีียิ่่�งๆ ขึ้�นสืืบต่อ่ ไปใน
อนาคต

รองศาสตราจารย์ ดร.ปารชิ าติ จงึ วิวัฒนาภรณ์

6 International Art Exhibition Project
“On the Occasion of the 20th Anniversary of
the Faculty of Fine and Applied Arts, Thammasat University”

สารจากคณบดี

คณะศิิลปกรรมศาสตร์์ มหาวิทิ ยาลััยธรรมศาสตร์์ เป็น็ สถาบัันการศึกึ ษาที่จ�่ ััดการ
เรีียนการสอนด้้านศิิลปะ โดยแรกเริ่ม� ปีีการศึกึ ษา 2539 คณะศิิลปกรรมศาสตร์ใ์ นเวลานั้�น
เป็็นโครงการจัดั ตั้�งคณะศิลิ ปกรรมศาสตร์์ ที่�่เปิิดสอนหลักั สููตรศิิลปกรรมศาสตรบััณฑิติ สาขา
วิชิ าการละคอน และสาขาวิิชาศิลิ ปะการออกแบบพัสั ตราภรณ์์ (การออกแบบสิ่ง� ทอและ
เครื่อ่� งแต่ง่ กายแฟชั่�น) และด้ว้ ยเหตุุว่า่ คณะรััฐมนตรีีในสมััยนั้�น ได้้มีีมติใิ ห้ด้ ำเนิินมาตรการ
ควบคุมุ ค่่าใช้จ้ ่่ายด้้านบุคุ คลภาครััฐ โดยสาระสำคัญั คืือ การกำหนดให้้ส่ว่ นราชการระงับั การ
ขอจัดั ตั้�งหน่่วยงานใหม่่หรืือขยายหน่ว่ ยงานภายในกรม ทั้�งนี้� มีีผลบัังคับั ใช้้ต่อ่ เนื่อ่� งจนถึึงสิ้�น
แผนพััฒนาการศึกึ ษาระดับั อุุดมศึึกษา ฉบับั ที่่� 9 (ปีีงบประมาณ 2549) ด้ว้ ยข้อ้ จำกััดในการ
จััดตั้�งคณะศิิลปกรรมศาสตร์์ เป็็นส่ว่ นราชการดัังกล่า่ ว มหาวิทิ ยาลััยธรรมศาสตร์์ จึึงได้เ้ สนอ
โครงการจััดตั้ �งคณะศิิลปกรรมศาสตร์์ต่่อสภามหาวิิทยาลััยพิิจารณาในคราวการประชุุมครั้ �งที่่�
12/2544 เมื่่�อวันั ที่�่ 26 พฤศจิิกายน พ.ศ. 2544 และมีีมติใิ ห้้จัดั ตั้�งคณะศิิลปกรรมศาสตร์์ขึ้�น
เป็น็ หน่่วยงานภายในของมหาวิทิ ยาลัยั ธรรมศาสตร์์ ที่่ม� ีีการบริิหารงานเป็็นอิสิ ระและมีี
ประสิิทธิิภาพ คณะศิิลปกรรมศาสตร์์ จึงึ ถืือว่า่ วัันที่�่ 26 พฤศจิกิ ายน ของทุุกปีี เป็น็ วันั
สถาปนาคณะฯ จนถึงึ ปัจั จุบุ ัันครบรอบ 20 ปีี
ตลอดระยะเวลา 20 ปีี ที่ผ่� ่า่ นมา นอกจากภารกิจิ หลักั ด้า้ นการจัดั การศึกึ ษา
เพื่่อ� ผลิติ บัณั ฑิติ ด้า้ นศิลิ ปะ การวิจิ ััย การบริกิ ารทางวิิชาการแก่่สังั คม และการทำนุุบำรุงุ
ศิลิ ปวััฒนธรรมแล้้ว คณะศิิลปกรรมศาสตร์์ มุ่�งเน้้นการมีีส่่วนร่ว่ มของนัักวิิชาการ
นัักออกแบบ และศิิลปิินทางด้้านศิลิ ปกรรมในแขนงต่่างๆ ให้ไ้ ด้้มีีโอกาสนำเสนอมุุมมองทาง
ด้า้ นศิิลปะ เกิดิ การแลกเปลี่่�ยนองค์์ความรู้� ตลอดจนได้เ้ ผยแพร่่ผลงานวิิชาการและ
งานสร้้างสรรค์์ ต่อ่ ประชาคมธรรมศาสตร์์ และสาธารณชนทั่่�วไป ในวาระครบรอบ 20 ปีี
คณะศิิลปกรรมศาสตร์์ ได้ร้ ่ว่ มมืือกับั หอศิลิ ป์์ร่ว่ มสมัยั ราชดำเนินิ โดยความร่่วมมืือของ
อาจารย์์ ผู้�เชี่ย่� วชาญ และศิิลปินิ ชาวต่า่ งชาติิ ที่ม�่ ีีส่ว่ นช่ว่ ยขับั เคลื่อ�่ นการศึึกษาของคณะฯ
ที่่ผ� ่่านมา รวมถึงึ ศิษิ ย์์เก่่าที่่�มีีชื่�อ่ เสีียง มีีผลงานเป็็นที่่ป� ระจักั ษ์์ และได้ร้ ับั รางวััลทั้�งในระดัับ
ชาติิและนานาชาติิ มาร่่วมจัดั แสดงผลงานสร้า้ งสรรค์์ในนิิทรรศการผลงานศิิลปกรรม
นานาชาติิ ภายใต้้ชื่อ่� “ในวาระ 20 ปีี ศิลิ ปกรรมศาสตร์์ มหาวิิทยาลัยั ธรรมศาสตร์์”
เพื่อ่� ส่ง่ เสริิมความก้า้ วหน้า้ ในวงการศิลิ ปะและการออกแบบของประเทศ ตลอดจนการสร้้าง
เครืือข่่ายความร่่วมมืือทางวิิชาการและงานวิิจััยสร้้างสรรค์์ระหว่่างมหาวิิทยาลััยและองค์์กร
ต่า่ งๆ ทั้�งในระดับั ชาติิและนานาชาติิอย่่างยั่ง� ยืืนต่่อไป
การจััดนิิทรรศการครั้�งนี้�คณะศิลิ ปกรรมศาสตร์์ได้ร้ ัับความร่่วมมืือจากคณะบุุคคล
ในหลายภาคส่่วนข้้างต้้นโดยเฉพาะอย่่างยิ่ �งจากผู้ �ทรงคุุณวุุฒิิภายนอกที่�่ให้้ความอนุุเคราะห์์
ประเมิินคุุณภาพผลงานสร้้างสรรค์์โดยให้้ความเห็็นและข้้อเสนอแนะเพื่�่อการพััฒนาผลงาน
อันั จะนำไปสู่�การพัฒั นาคุณุ ภาพผลงานต่่อไปในการนี้� คณะศิิลปกรรมศาสตร์์ หวัังเป็น็
อย่า่ งยิ่ง� ว่่า การจััดนิิทรรศการครั้�งนี้� จะนำประโยชน์ใ์ นด้้านสุุนทรีียศาสตร์์แก่ผู่้�เข้า้ ร่ว่ มชม
นิิทรรศการทุกุ ท่า่ น ที่่�มีีส่ว่ นร่ว่ มทำให้้การจััดนิิทรรศการในครั้�งนี้�สำเร็จ็ ลุุล่ว่ งไปด้้วยดีี

ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อนุชา ทรี คานนท์
คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

7

ชื่�อ่ ผลงาน หน้า้
บัวั บาน บัวั โรย 15
Dirt Carpet - 9.10.11 16
Joget Kelantan 17
Founder & Director, Ritika Arts Co., Ltd. 18
The dancing mother 19
Antigone 20
Spirit of Commedia 21
Romeo and Juliet 22
อ้า้ งว้้าง 23
ราชรถ 24
Dead Corals 01 25
ฉุยุ ฉายจิินตะหราวาตีี 26
หมวกพรมยิงิ 27
Yellow fever 28
ความไม่ส่ มบููรณ์์ : Imperfect story 29
แสงสุดุ ท้า้ ย 30
Folk art in Mae Chaem, Chiangmai 31
Structure of Light and Shadow 32
ลายสาน : Weaving Lines 33
ต้้นแบบของแบบตััวพิิมพ์์โรมันั ยูดู ีี (Prototype of Roman UD Typeface) 34
บ้า้ นศรีีดอนมูลู 35
Alone 36
Madanabādhā, or The Romance of a Rose by HM King Vajiravudh 37
โรงเรีียนวชิิราวุธุ วิทิ ยาลััย 38
พระคเณศ หมายเลข 49 39
Blossom 40
ภาพปะติิดปะต่่อ ในความทรงจำของบุุตรชายช่า่ งตัดั เย็็บเสื้�อผ้้า 42
มัทั นีี 43
นมอััดเม็็ดสวนดุุสิิต 44
ไหว 45
Reflect : ตัวั ตนไม่่ใช่่ตัวั ตน (The creation of a dance) 46
Key Visual Design & Performing Arts 47
Gleaming Decay No. 2 48
Phoenix Embroidery Design 49
Colour variation by peroxidase-catalysed coloration 50
ความมืืดและความสว่่าง ๒๕๖๕ 51
Celebration 52
88 th ยูงู ทองเคีียงโดม 53
เจ้า้ ชายเข้า้ พิธิ ีีเลืือกคู่� เรื่่อ� ง สังั ข์ท์ อง

8 International Art Exhibition Project
“On the Occasion of the 20th Anniversary of
the Faculty of Fine and Applied Arts, Thammasat University”

ชื่�่อผลงาน หน้้า
2D23D 54
Mohini: The creation of a dance from “Maya” of Vishnu 55
Trimurati 56
ความเป็น็ ดอกไม้ ้ 57
เทวดาที่�่ผมเห็น็ 58
กรองศอ (กรองคอ) 59
Futuristic City 60
HOUDAH 61
The 1st Bangkok Queer Theatre Festival 62
Universiade Game 2007 63
ชีีวาศิิลป์์ : โรงละคอนในโรงพยาบาล 64
REVEAL THE MADNESS : ปลุกุ ความคลั่�ง 65
ดาวคะนอง 66
Minimal Harmony of Thai Silk 67
An Epilogue to the Malady of Death (2015) 68
And La Maladie de L’amor : Detoxification of a Heart (2017) 69
สััตว์ป์ ระจำทิิศตะวัันออก (ไทย-สิงิ ห์์ , เกาหลีี-มัังกร) 70
ผ้า้ ทอไทยทวีีด 71
ธรรมชาติิ : Natural 72
I was born in chicken town 73
ถ้้ำประตูผู า 74
INCURVO 75
บทละครโทรทััศน์เ์ รื่อ�่ ง “ใต้ส้ มุทุ รสุุดปลายฟ้้า” 76
สุนุ ทรีียภาพแห่่งศรัทั ธา 77
Tea Box ชายชรากับั หมาบ้้า 78
By Blind 79
ดอกจููด 80
Thai Silk 81
Walk with Grandam on Well-Lit Street 82
แม่่เลิศิ ช่า่ งทอผ้้าแห่่งยุุคหัตั ถกรรมตอนปลาย 83
You angry but pretend to be hungry! 84
The Apsolute Paradox 91
It’s Just a Fiction [Not Mentioning Anything] 92
ERROR 668 93
จากเจ้้าพระยาสู่่�อิิรวดีี 94
Biopsy of Fear : A Thorn of Conceptual Pain 95
I and Mind 96
เบ่่งบานกลางกรุุง

9

ภายใตช้ ื่อ “คใโนคณรวะงาศกรลิ าะปร2นก0ิทรรรปมรี ศศศากิลสาปรตกผรร์ลรมงมหาศนาาวศสิทิลตยปราก์ ลมรัยหรธมารวนรทิามนยศาาาลชสัยาตตธรริ ์ รมศาสตร”์

1. หลกั การและเหตผุ ล 2. วตั ถุประสงค์
เมื่่�อปีกี ารศึึกษา 2539 คณะศิิลปกรรมศาสตร์์ในเวลานั้�น ยัังเป็น็ 2.1 เพื่่อ� เผยแพร่ผ่ ลงานศิิลปะและการออกแบบของคณาจารย์์
โครงการจัดั ตั้�งคณะศิลิ ปกรรมศาสตร์์ ที่่�เปิดิ สอนหลักั สูตู รศิลิ ปกรรมศาสตร คณะศิลิ ปกรรมศาสตร์์ ศิลิ ปินิ ชาวต่่างชาติิ และศิษิ ย์เ์ ก่่า
บัณั ฑิิต สาขาวิิชาการละคอน และสาขาวิิชาศิิลปะการออกแบบพัสั ตราภรณ์์ 2.2 เพื่่�อสร้า้ งเครืือข่่ายกัับศิลิ ปินิ ชาวไทยและชาวต่า่ งชาติิ หน่ว่ ย
ต่อ่ มาในแผนพััฒนาการศึกึ ษาระดัับอุุดมศึกึ ษาฉบัับที่่� 8 (พ.ศ. 2540 - 2544) งานและหรืือองค์ก์ รภายนอก ให้้เกิดิ การมีีส่ว่ นร่ว่ ม และพััฒนาสร้้างสรรรค์ผ์ ล
จนถึงึ แผนพััฒนาการศึกึ ษาระดัับอุดุ มศึึกษา ฉบัับที่�่ 9 (พ.ศ. 2545 - 2549) งานศิิลปกรรม อันั จะเป็น็ ประโยชน์ต์ ่่อวงวิชิ าการด้้านศิิลปกรรมศาสตร์์
โครงการจััดตั้ �งคณะศิิลปกรรมศาสตร์์ยัังไม่่ได้้รัับการบรรจุุในแผนพััฒนาการ 2.3 เพื่่�อเป็น็ ประโยชน์ต์ ่อ่ คณาจารย์์ นักั ศึึกษาศิิลปะ ศิิลปิินและ
ศึึกษาระดับั อุุดมศึกึ ษา ทั้�ง 2 ฉบับั ดัังกล่่าว ด้ว้ ยเหตุวุ ่า่ คณะรััฐมนตรีี ในการ ประชาชนทั่่�วไปที่ส่� นใจ เป็็นพื้�นที่่�สำหรับั การแลกเปลี่่�ยนและเรีียนรู้้�อันั จะเป็น็
ประชุมุ เมื่อ�่ วัันที่�่ 14 ตุุลาคม 2540 วัันที่�่ 30 ธัันวาคม 2540 และวันั ที่่� ประโยชน์์ทางด้้านงานสร้้างสรรค์์เผยแพร่่ผลงานที่่�มีีคุุณค่่าทางความคิิดและ
3 กุมุ ภาพันั ธ์์ 2541 ได้ม้ ีีมติใิ ห้้ดำเนินิ มาตรการควบคุมุ ค่า่ ใช้จ้ ่่ายด้้านบุคุ คล ทางสุนุ ทรีียศาสตร์์แก่ส่ าธารณชน
ภาครััฐ โดยสาระสำคััญของมาตรการดัังกล่า่ วคืือ การกำหนดให้้ส่ว่ นราชการ
ร ะ งัั บ ก า ร ข อ จัั ด ตั้ � ง ห น่่ ว ย ง า น ใ ห ม่่ ห รืื อ ข ย า ย ห น่่ ว ย ง า น ภ า ย ใ น ก ร ม ห รืื อ 3. ผูร้ ับผิดชอบโครงการ
หน่ว่ ยงานเทีียบเท่่ากรมขึ้�นไป ซึ่่�งมติิคณะรััฐมนตรีีดัังกล่่าวมีีผลบังั คัับใช้ต้ ่อ่ 3.1 ผู้้�ช่ว่ ยคณบดีีฝ่า่ ยการนักั ศึกึ ษาและวิจิ ััย คณะศิลิ ปกรรมศาสตร์์
เนื่่อ� งจนถึึงสิ้�นแผนพััฒนาการศึกึ ษาระดัับอุุดมศึกึ ษาฉบับั ที่�่ 9 คืือจนถึงึ มหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์์
ปีงี บประมาณ พ.ศ. 2549 3.2 คณะกรรมการดำเนิินงานโครงการนิทิ รรศการผลงานศิิลปกรรม
ด้้วยข้้อจำกััดในการจััดตั้ �งคณะศิิลปกรรมศาสตร์์เป็็นส่่วนราชการ นานาชาติิ ภายใต้ช้ ื่�อ่ “ในวาระ 20 ปีี ศิลิ ปกรรมศาสตร์์ มหาวิิทยาลัยั
ดัังกล่่าว มหาวิทิ ยาลััยธรรมศาสตร์์จึงึ ได้้เสนอโครงการจััดตั้�งคณะศิิลปกรรม ธรรมศาสตร์์”
ศาสตร์ต์ ่อ่ สภามหาวิิทยาลัยั ธรรมศาสตร์์เพื่�อ่ พิจิ ารณา ในคราวการประชุุม 4. ระยะเวลาดำเนินิ โครงการ
ครั้�งที่�่ 12/2544 เมื่่อ� วันั ที่่� 26 พฤศจิิกายน พ.ศ. 2544 ได้้พิจิ ารณา และมีีมติิ เดืือนสิิงหาคม 2565 - พฤศจิกิ ายน 2565
ให้้จััดตั้ �งคณะศิิลปกรรมศาสตร์์ขึ้ �นเป็็นหน่่วยงานภายในของมหาวิิทยาลััย 5. สถานที่�
ธรรมศาสตร์์ ที่่�มีีการบริิหารงานเป็็นอิสิ ระและมีีประสิทิ ธิภิ าพ หอศิลิ ป์์ร่ว่ มสมัยั ราชดำเนินิ กรุุงเทพมหานคร
คณะศิิลปกรรมศาสตร์์ จึงึ ถืือว่่าวันั ที่�่ 26 พฤศจิิกายน ของทุุกปีี เป็น็ วััน 6. การดำเนินิ งาน
สถาปนาคณะฯ และด้ว้ ยการเป็็นสถาบัันการศึกึ ษาที่จ�่ ัดั การเรีียนการสอน จััดแสดงผลงานในรูปู แบบนิิทรรศการ
ด้้านศิลิ ปะมาจนถึงึ ปัจั จุุบััน ปีี พ.ศ. 2565 ครบรอบ 20 ปีี และตลอดระยะ
เวลาที่�่ผ่่านมา นอกจากภารกิิจด้า้ นวิิชาการ การจััดการเรีียนการสอนเพื่�่อ 7. ผลประโยชน์ทค่ี าดวา่ จะไดร้ ับ
ผลิติ บััณฑิิต ด้้านการวิิจััย ด้า้ นการบริิการวิชิ าการ และด้า้ นการทำนุุบำรุุง 7.1 ได้้เผยแพร่่ผลงานศิลิ ปะและการออกแบบของคณาจารย์ค์ ณะ
ศิลิ ปวััฒนธรรมไทยแล้ว้ การจััดแสดงผลงานสร้า้ งสรรค์์ของคณาจารย์ก์ ็็เป็น็ ศิลิ ปกรรมศาสตร์์
อีีกภารกิิจที่�่สำคััญ เพราะเป็็นการส่ง่ เสริมิ การศึึกษา และส่่งเสริมิ ให้เ้ กิิดความ 7.2 ได้ส้ ร้า้ งเครืือข่่าย ส่่งเสริิมการมีีส่่วนร่ว่ ม และพััฒนาสร้้างสรรค์์
ก้า้ วหน้า้ ให้ก้ ัับวงการศิลิ ปะและการออกแบบในประเทศ ยังั ประโยชน์์ให้้แก่่ ผลงานศิิลปกรรม อัันจะเป็น็ ประโยชน์์ต่่อวงการวิชิ าการด้้านศิลิ ปกรรมศาสตร์์
นัักศึกึ ษาและผู้้�ที่ส�่ นใจ และในวาระครบ 20 ปีี คณะศิลิ ปกรรมศาสตร์์ กัับศิลิ ปินิ ชาวไทยและชาวต่า่ งชาติิ หน่ว่ ยงานและหรืือองค์์กรภายนอก
มหาวิิทยาลัยั ธรรมศาสตร์์ ร่ว่ มมืือกับั หอศิลิ ป์์ร่ว่ มสมััยราชดำเนินิ โดยความ 7.3 คณาจารย์์ นัักศึกึ ษาศิิลปะ ศิลิ ปินิ และประชาชนทั่่ว� ไปที่ส่� นใจ
ร่่วมมืือจากอาจารย์์และศิิลปิินชาวต่่างชาติิที่่�มีีส่่วนช่่วยขัับเคลื่่�อนการศึึกษา มีีพื้้� น ที่่� ส ำ ห รัั บ ก า ร แ ล ก เ ป ลี่่� ย น เรีี ย น รู้ � ท า ง ค ว า ม คิิ ด แ ล ะ ซ า บ ซึ้ � ง กัั บ ผ ล ง า น
ของคณะฯ ที่�ผ่ ่่านมา รวมถึงึ ศิษิ ย์เ์ ก่่าที่ม�่ ีีชื่�อ่ เสีียงและมีีผลงานเป็น็ ที่่�ประจักั ษ์์ สร้้างสรรค์์
มาร่ว่ มจััดแสดงในนิิทรรศการสร้า้ งสรรค์์ผลงานศิิลปกรรมนานาชาติิ ประจำ
ปีีการศึึกษา 2565 ภายใต้้ชื่่อ� “วาระ 20 ปีี ศิลิ ปกรรมศาสตร์์” ในครั้�งนี้�

10 International Art Exhibition Project
“On the Occasion of the 20th Anniversary of
the Faculty of Fine and Applied Arts, Thammasat University”

8. ตัวั ชี้้�วัดั ความสำเร็็จของโครงการ

ตวั ชี้วัด ค่าเปา้ หมาย
1) ร้อยละ 85
เชงิ ปริมาณ 1) จำ�นวนผูเ้ ขา้ ร่วมโครงการ 2) จำ�นวน 85 ชิน้ งาน
3) คา่ เฉล่ยี 4.25
2) จำ�นวนผลงานสรา้ งสรรค์
ดำ�เนนิ การได้ครบทกุ ขอ้
3) แบบประเมินความพงึ พอใจ
ดำ�เนินการไดต้ ามแผนฯ
เชิงคุณภาพ ดำ�เนินการตามวตั ถปุ ระสงค์ท่ีกำ�หนด
ดำ�เนินการไดต้ รงตามงบประมาณ
เชิงเวลา ดำ�เนินการตามแผนงานทก่ี ำ�หนด ทีไ่ ดร้ บั อนุมัติ ไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ90

เชงิ คา่ ใชจ้ า่ ย/งบประมาณ ใช้จ่ายงบประมาณตามทไ่ี ดร้ ับอนุมัต ิ


9. ประเภทของผลงาน
Textile Art , Furniture Design , ฉากละครเวที , VDO นาฏศลิ ป์สรา้ งสรรค์ , บทละครโทรทัศน์ , จิตรกรรม
ประยกุ ต์ศิลป์ , ออกแบบทัศนศลิ ป์ , สือ่ ผสม , เคร่ืองแต่งกายสตรี และงานจกั สานของตกเเต่ง

10. กลมุ่ เปา้ หมาย
คณาจารย์ ศลิ ปนิ ชาวไทยและชาวตา่ งชาติ ศิษยเ์ ก่า นักเรยี น นสิ ติ /นักศกึ ษา และผสู้ นใจทวั่ ไป
11. ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ
คณาจารย์ นกั วิชาการ ศิลปินชาวไทยและชาวตา่ งชาติ ศษิ ยเ์ กา่ นักเรยี น นสิ ิต/นักศึกษาและผู้สนใจทว่ั ไป
จำ�นวน 300 คน
12. รายละเอียดโครงการฯ
รูปแบบการดำ�เนนิ งาน นิทรรศการผลงานสรา้ งสรรค์ ภายใต้ช่ือ “ในวาระ 20 ปี ศิลปกรรมศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์”
13. การติดตามและประเมินผลโครงการ
แบบสอบถามความพึงพอใจจากผเู้ ขา้ ร่วมโครงการฯ และจากการประเมนิ ปญั หาและอุปสรรคจาก
คณะกรรมการจดั โครงการฯ

11

ภายใต้ชือ่ “คใโนคณรวะงาศกริลาะปร2นก0ิทรรรปมรี ศศศากลิ สาปรตกผรร์ลรมงมหาศนาาวศสทิิลตยปราก์ ลมรัยหรธมารวนริทามนยศาาาลชสัยาตตธรริ ์ รมศาสตร”์

ตามที่�ค่ ณะศิลิ ปกรรมศาสตร์์กำหนดจััดโครงการแสดงนิิทรรศการสร้้างสรรค์์ผลงานศิลิ ปกรรมนานาชาติิ ประจำปีกี ารศึกึ ษา 2565
ภายใต้้แนวคิิด “20 ปีี ศิลิ ปกรรมศาสตร์์” ระหว่า่ งวัันที่่� 28 ตุลุ าคม 2565 - 13 พฤศจิกิ ายน 2565 ณ หอศิลิ ป์์ร่่วมสมัยั ราชดำเนิิน กรุงุ เทพฯ เนื่อ�่ งในโอกาสที่่�
คณะศิลิ ปกรรมศาสตร์์ มหาวิทิ ยาลัยั ธรรมศาสตร์์ครบรอบ 20 ปีี โดยมีีวััตถุุประสงค์์เพื่่�อเผยแพร่ผ่ ลงานศิลิ ปะและการออกแบบของคณาจารย์์ ศิลิ ปิินต่่างชาติิ
ผู้�เชี่�ย่ วชาญ และศิษิ ย์เ์ ก่่าที่่�มีีชื่�อ่ เสีียงผลงานโดดเด่น่ อันั เป็น็ การสร้า้ งสรรค์ส์ิ่ง� ใหม่่ ซึ่่ง� เป็น็ การพััฒนาศิิลปะและการออกแบบร่ว่ มสมััยของไทยให้เ้ ติิบโต สู่�การ
ต่อ่ ยอดองค์ค์ วามรู้้�ด้้านศิิลปกรรมในอนาคต รวมทั้�งเป็็นเวทีีส่ง่ เสริมิ และแลกเปลี่่�ยนเรีียนรู้� เกิดิ พื้�นที่�ท่ างศิิลปกรรม ตลอดจนเป็็นประโยชน์แ์ ก่่ผู้�สนใจและ
สาธารณชน เพื่่�อนำไปสู่�การพัฒั นางานด้้านศิิลปกรรมให้ก้ ้้าวหน้า้ เข้ม้ แข็ง็ ต่อ่ ไป
ดังั นั้�น เพื่อ�่ ให้ก้ ารดำเนิินงานเป็น็ ไปด้้วยความเรีียบร้้อย สะท้้อนถึึงคุุณภาพและมาตรฐานทางวิชิ าการ ประเภทผลงานสร้า้ งสรรค์์ งาน
ศิิลปะและการออกแบบ จึงึ แต่่งตั้�งให้บ้ ุุคคลดังั ต่อ่ ไปนี้�เป็น็ คณะกรรมการผู้�ทรงคุณุ วุฒุ ิิพิิจารณาคุุณภาพผลงานสร้้างสรรค์์ โดยทำหน้้าที่ด�่ ังั กล่่าวจนแล้ว้ เสร็จ็
ประกอบด้้วยบุคุ คลดัังรายชื่่�อต่อ่ ไปนี้�

คณะกรรมการ ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วจิ ัยและนวัตกรรม (อว.)
ศาสตราจารย์ ดร.ศภุ กรณ์ ดษิ ฐพันธ์ ุ ผทู้ รงคุณวฒุ ิ กระทรวงการอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรม (อว.)
ศาสตราจารย์ ดร.นราพงษ์ จรสั ศรี ศลิ ปนิ แห่งชาติ สาขาทศั นศิลป์ (จติ รกรรม)
อาจารย์ธงชยั รักปทมุ รองคณบดีฝา่ ยการนักศึกษาและวจิ ัย
เลขานุการ นกั วิชาการศกึ ษาชำ�นาญการพเิ ศษ
ผชู้ ่วยศาสตราจารย์บญุ ชว่ ย เกิดรี นักวชิ าการศกึ ษาปฏิบตั กิ าร
ผูช้ ว่ ยเลขานกุ าร
นางสาวพชั รา บญุ มานำ�
นางสาววรญั ญา จงใจรกั ษ ์

สั่ง ณ วันท่ี 6 ตุลาคม พ.ศ. 2565

(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อนชุ า ทรี คานนท)์
คณบดคี ณะศิลปกรรมศาสตร์

12 International Art Exhibition Project
“On the Occasion of the 20th Anniversary of
the Faculty of Fine and Applied Arts, Thammasat University”

เรื่อง แตง่ ตง้ั “คใณนวะการระรม2ก0ารปดี ศ�ำ คเลิ ำ�นปสนิ กงั่ งคราทรณนม่ี โะศค0ศาร6ลิ สง9ปกต/กา2รรร์5มนร6มหิท5ศารวารสทิศตกยราา์รลผัยลธงรารนมศศาลิ สปตกรร์”รมนานาชาติ

ตามที่ค�่ ณะศิิลปกรรมศาสตร์ก์ ำหนดจัดั โครงการแสดงนิทิ รรศการสร้้างสรรค์์ผลงานศิิลปกรรมนานาชาติิ ประจำปีีการศึึกษา 2565
ภายใต้้แนวคิดิ “20 ปีี ศิลิ ปกรรมศาสตร์”์ ระหว่า่ งวัันที่�่ 28 ตุุลาคม 2565 – 13 พฤศจิิกายน 2565 ณ หอศิิลป์ร์ ่ว่ มสมัยั ราชดำเนินิ กรุุงเทพฯ เนื่่อ� งในโอกาสที่่�
คณะศิลิ ปกรรมศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์ค์ รบรอบ 20 ปีี โดยมีีวัตั ถุปุ ระสงค์์เพื่�่อเผยแพร่่ผลงานศิลิ ปะและการออกแบบของคณาจารย์์ ศิลิ ปินิ ต่า่ งชาติิ
ผู้�เชี่่�ยวชาญ และศิษิ ย์์เก่่าที่่ม� ีีชื่่�อเสีียงผลงานโดดเด่่น อันั เป็็นการสร้า้ งสรรค์์สิ่ง� ใหม่่ ซึ่�่งเป็็นการพัฒั นาศิิลปะและการออกแบบร่่วมสมัยั ของไทยให้เ้ ติิบโต สู่�การ
ต่่อยอดองค์์ความรู้้�ด้า้ นศิลิ ปกรรมในอนาคต รวมทั้�งเป็็นเวทีีส่ง่ เสริิมและแลกเปลี่�่ยนเรีียนรู้� เกิิดพื้�นที่่ท� างศิิลปกรรม อัันจะเป็น็ ประโยชน์์แก่่ผู้�สนใจและ
สาธารณะชน เพื่อ�่ นำไปสู่�การพััฒนางานด้้านศิลิ ปกรรมให้้ก้า้ วหน้า้ เข้้มแข็็งต่อ่ ไป ดัังนั้�น เพื่อ่� ให้้การดำเนินิ งานเป็น็ ไปด้้วยความเรีียบร้้อย จึึงแต่ง่ ตั้�งให้บ้ ุคุ คล
ดังั ต่่อไปนี้�เป็น็ คณะกรรมการดำเนิินงาน คืือ

1. คณะกรรมการอำ�นวยการ
1.1 คณบดคี ณะศิลปกรรมศาสตร์ ประธานกรรมการ
1.2 รองคณบดีฝ่ายบริหาร กรรมการ
1.3 รองคณบดีฝ่ายวิชาการ กรรมการ
1.4 รองคณบดีฝ่ายการนักศึกษาและวจิ ยั กรรมการ
1.5 หัวหน้าสาขาวิชาการละคอน กรรมการ
1.6 หัวหนา้ สาขาวิชาศลิ ปะการออกแบบพสั ตราภรณ์ กรรมการ
1.7 หวั หน้าสาขาวชิ าออกแบบหตั ถอตุ สาหกรรม กรรมการ
1.8 เลขานกุ ารคณะศิลปกรรมศาสตร ์ กรรมการ
1.9 หวั หนา้ งานประกันคณุ ภาพการศกึ ษาและวจิ ัย กรรมการและเลขานุการ
ใหค้ ณะกรรมการฯ มีหนา้ ทอี่ ำ�นวยการและประสานการดำ�เนนิ งานของฝา่ ยตา่ งๆใหเ้ ปน็ ไปดว้ ยความเรยี บร้อย และม ี
ประสทิ ธิภาพ

2. ฝ่ายจดั เตรยี มผลงาน สถานท่ี และนทิ รรศการ
2.1 ผู้ชว่ ยศาสตราจารยบ์ ญุ ช่วย เกดิ รี
2.2 ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ศริ ินทร์ ใจเทย่ี ง
2.3 ผู้ช่วยศาสตราจารยณ์ ฐั คม แช่มเย็น
2.4 อาจารย์กรินทร์ ใบไพศาล
2.5 นายวินยั ทองกร
2.6 นายทศพล ถาวร

13

2.7 นางสาวสนุ สิ า เถาวพ์ ุดซา
2.8 นายรชานนท์ นะโรภาส
2.9 นางสาววรญั ญา จงใจรักษ์
2.10 นายรชต ไชยเชษฐ์
2.11 นางสาวเพชรรัตน์ วัฒนรตั น์
2.12 นายบญุ เลิศ วน่ั เส็ง
2.13 นายกฤษ เสอื โต
ใหค้ ณะทำ�งานมหี น้าท่ดี ำ�เนนิ การจัดเตรียมผลงาน ถา่ ยภาพ รับผลงาน ส่งผลงานคนื ลำ�ดับผลงานเพื่อคณะกรรมการพจิ ารณา
ตดั สินคดั เลอื ก ประสานงานด้านสถานที่ จัดเตรยี มสถานที่ ติดตง้ั นิทรรศการ ติดตัง้ สื่อประชาสัมพันธบ์ รเิ วณที่จดั แสดง
นิทรรศการ ประสานงานออกบลิ ใบแจง้ หนคี้ า่ เช่าสถานที่ ติดตอ่ ที่จอดรถในวนั เปิดนทิ รรศการ ตดิ ตัง้ เครือ่ งเสียง และปฏิบตั ิ
หน้าทีอ่ ืน่ ใดตามท่ไี ด้รับมอบหมายจากคณะกรรมการอำ�นวยการ

3. ฝา่ ยประสานงานศิษย์เก่าและศิลปนิ ต่างชาติ
3.1 ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.วทิ วัน จันทร
3.2 ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.ภาสกร อินทมุ าร
3.3 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ศรีชนา เจริญเนตร
3.4 ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ศรุพงษ์ สุดประเสริฐ
3.5 อาจารย์ ดร.วุฒไิ กร ศิริผล
3.6 อาจารย์ ดร.ณวดี เศรษฐเมธีกลุ
3.7 นายรชต ไชยเชษฐ์
ให้คณะทำ�งานมีหน้าทร่ี ับผิดชอบ ติดต่อประสานงานกบั ศษิ ยเ์ ก่าและศิลปินต่างชาติ และปฏิบตั หิ นา้ ทีอ่ น่ื ใดตามท่ไี ดร้ บั
มอบหมายจากคณะกรรมการอำ�นวยการ

4. ฝา่ ยสจู บิ ตั รและสอื่ สง่ิ พมิ พ์
4.1 ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารยส์ รรพจน์ มาพบสขุ
4.2 อาจารย์ ดร.จารุนี อารรี ุ่งเรือง
4.3 อาจารย์ ดร.ธีรศักด์ิ สะกล
4.4 นางสาวสนุ ิสา เถาวพ์ ดุ ซา
4.5 นางสาววรญั ญา จงใจรกั ษ์
ใหค้ ณะทำ�งานมหี นา้ ทด่ี ำ�เนนิ การรวบรวมขอ้ มลู ออกแบบและจดั พมิ พ์ สอื่ สง่ิ พมิ พข์ องโครงการฯ และปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี อนื่ ใด
ตามทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการอำ�นวยการ

5. ฝา่ ยประชาสมั พนั ธ์
5.1 ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ภาวิณี บญุ เสรมิ
5.2 ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.กติ ตพิ งษ์ เกยี รตวิ ิภาค
5.3 อาจารย์ ดร.นลนิ ี เนตธิ รรมากร
5.4 นางสาวพัชรา บุญมานำ�
5.5 นางสาวณัฐชริการ์ รกุ ิจเจริญ

14 International Art Exhibition Project
“On the Occasion of the 20th Anniversary of
the Faculty of Fine and Applied Arts, Thammasat University”

5.6 นางสาวสุนิสา เถาว์พดุ ซา
5.7 นางสาววรญั ญา จงใจรกั ษ์
ใหค้ ณะทำ�งานมหี น้าท่ีดำ�เนนิ การจดั ทำ�หนังสอื เชิญผ้เู ขา้ รว่ มงาน โฆษณาประชาสัมพันธผ์ ่านสื่อประชาสัมพนั ธต์ า่ งๆ และ
ปฏิบัติหนา้ ทีอ่ ืน่ ใดตามท่ีไดร้ บั มอบหมายจากคณะกรรมการอำ�นวยการ

6. ฝา่ ยพิธีการ ต้อนรบั และอาหารว่าง
6.1 อาจารย์ ดร.นรรี ัตน์ พินิจธนสาร
6.2 ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เกษหทัย สงิ หอ์ ินทร์
6.3 นางสาวพัชรา บญุ มานำ�
6.4 นางสาววรัญญา จงใจรกั ษ์
6.5 นางสาวรจุ ิรา ครุฑธาพันธ์
6.6 นางสาวเพชรรัตน์ วัฒนรัตน์
6.7 นางสาวองั คณา อน้ จนี
6.8 นางวารินทร์ ขาวบริสุทธิ์
ใหค้ ณะทำ�งานมหี นา้ ท่ีติดต่อประสานงานในพธิ ีเปิด เตรยี มอาหารวา่ ง ตอ้ นรบั แขกผู้มีเกยี รตแิ ละผเู้ ขา้ ร่วมงาน และปฏบิ ตั ิ
หนา้ ทีอ่ ่ืนใดตามทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการอำ�นวยการ

7. ฝ่ายการเงินและพัสดุ
7.1 นางสาวทิดาวรรณ นันตาวงค ์
7.2 นายทศพล ถาวร
7.3 นางสาวองั คณา อ้นจนี
7.4 นางสาวรจุ ริ า ครุฑธาพนั ธ์
ให้คณะทำ�งานมหี น้าที่ดแู ลงบประมาณของโครงการ ดูแลเบกิ จ่ายค่าใช้จา่ ยของโครงการฯ ตดิ ต่อประสานงานการจัดซื้อ ตรวจ
สอบความถกู ต้องของใบเสนอราคา/ใบส่งของ/ใบเสร็จรับเงินตา่ งๆ ซึ่งเป็นคา่ ใชจ้ ่ายทีเ่ กิดข้นึ ของโครงการฯ และปฏบิ ตั ิหนา้ ที่
อน่ื ใดตามทีไ่ ดร้ ับมอบหมายจากคณะกรรมการอำ�นวยการ

8. ฝา่ ยลงทะเบยี น และประเมินผล
8.1 รองศาสตราจารย์ ดร.อัศนยี ์ เปลี่ยนศรี
8.2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภาวณิ ี บุญเสริม
8.3 ผู้ช่วยศาสตราจารยจ์ ริ ชั ญา วันจนั ทร์
8.4 นางสาวพัชรา บุญมานำ�
8.5 นางสาววรญั ญา จงใจรกั ษ์
ใหค้ ณะทำ�งานมหี น้าที่รับผิดชอบ/ตดิ ตอ่ ประสานงานออกหนังสอื เชญิ ประธานฯ และเจ้าภาพร่วม จัดทำ�เอกสารการลง
ทะเบยี น จัดทำ�แบบประเมิน เกบ็ รวบรวมประเมนิ ผลการจัดโครงการ จดั ทำ�เอกสารสรุปเล่มโครงการ และปฏบิ ตั ิหนา้ ทอ่ี ่ืนใด
ตามท่ไี ด้รับมอบหมายจากคณะกรรมการอำ�นวยการ

สง่ั ณ วนั ที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2565

(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อนชุ า ทรี คานนท)์
คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร์

15

01 บวั บาน บวั โรย

ชื่อ�่ ศิิลปิิน : ผู้้�ช่่วยศาสตราจารย์์ ดร.อนุชุ า ทีีรคานนท์์
E-mail : [email protected]
เทคนิิคการสร้า้ งสรรค์์ : สีีน้้ำ

16 International Art Exhibition Project
“On the Occasion of the 20th Anniversary of
the Faculty of Fine and Applied Arts, Thammasat University”

02 Dirt Carpet - 9.10.11
ช่อื ศิลปิน : Miss Ya-chu Kang
Email : [email protected]

เทคนคิ การสร้างสรรค์ : site-specific installation, video (Taipei, Taiwan) is a multidisciplinary
ขนาดสร้างสรรค์ : Time-lapse video and documentary (4’25”) (2’30”) (5’24”) artist working with various media. Her practice focus
แนวคดิ on questioning the circumstances the relationship
Dirt Carpet #9 - Taitung 2020 Mountain dirt The concept between human and natural, and the social issues.
of this installation originated in the Taitung city’s location which is Kang is a recipient of 2007 Freeman Fellowship
surrounding by mountains and facing the sea, where you can see the Program of Vermont Studio Center in USA, 2008
first sun rises from the Pacific Ocean. It has stunning natural landscape, Asian Cultural Council Fellowship Program, 2014
the traditional settlements of aboriginal cultures and the rich natural Lung Yingtai Cultural Foundation Fellowship Program
resources that have been attracting many land development company’s and various AIR Fellowship for her cultural research
investments. Thus, the ongoing constructions process caused ecological traveling around the world. She has exhibited works
concerns and controversy which indirectly destroy the beaches and locally and internationally since 2006, in Japan,
marine environment. Dirt Carpet #9 laid out of dirt and crushed stones Europe, North America and South Asia, and has
into repeating and symmetrical patterns with sun and rays of light in the researched textile culture in Japan, Peru, Thailand,
center representing the warp yarns of the backstrap weaving loom. This and India. Her publications include Textile Map,
type of loom is using two beams to hold the warp yarns that attached to Volumes 1, 2 and 3. She also engages in art education
a strap that passes across the weaver’s back and is fixed at the waist part and community collaboration projects.
for weaving, and this weaving method is popular among many indigenous and the texture of crocheted lace. The carpet, made up of granulated
cultures in various countries. The rhythmical body movements of the sugar and salt, responds to sweat and tears of life and memory, which
weavers relates to the idea that the human body accumulates the power are sweet and salty in their taste. The intervention of visitors to tread
of the universe. Those patterns including daylilies, sugar apples, bonito on the dirt carpet has changed the original order of the pattern while
fish, pottery spinning wheel and agricultural artifacts unearthed from the the process of it can respond to the cycle of universe and circle of life.
prehistoric ruins, in addition with the construction-related images. They “Dirt Carpet”, which has been exhibited in Thailand, Turkey, Portugal,
transform the life experiences into texture images to respond to the Britain, Hong Kong, and Taiwan, is presented in distinctive patterns and
relationship between people and environment, forms and life. Dirt Carpet powdery materials based on cultural differences and various concepts
installation generates an unpredictable external force as the time passes. researched by the artist. Through the exhibition, the artist intends not
The concept reflects to the cycle of the universe and the life responds only to reveal both the implication of the creation and visual expression
to the action and intervention changed the patterns. Location: Taitung but also to engage the audience in a new experience. Location: Siao-
Art Museum, Taitung, Taiwan <Dirt Carpet #10 - Mian-bei> 2020 sugar, Long Cultural Park, Tainan, Taiwan <Dirt Carpet #11 - Yan-cheng> 2021
salt The concept of the installation derives from the little blankets many Time-lapse video and documentary, salt The concept of the installation
people used to own in their childhood. The blankets, which were pure derives from the geography and culture of Yan-cheng district with the salt
cotton and hand-made with traditional skills, may be discarded because grains into a white carpet with geometric patterns. It inspired by the salt
their fillings are no longer soft and fluffy day by day from absorbing too field landscape in Yan-cheng district where close to the shallow water
much moisture from air. However, they are still remembered by many terminal. Thus, there were a lot of shipbreaking business here in the
people for their attachment to these comfort objects and memories early days, and a large amount of metal-iron scrap and machinery were
about home. The pattern of the dirt carpet shows the inspiration from removed. It formed the steel industry in Taiwan. The influence of Western
Taiwanese printed cotton fabric, the elements of zippers used in quilts, modernization later on, developed the style of suit tailoring and iron
window frames. They became the culture landscape and elements which
record that period and time. The bended and forged geometric shape of
iron window frames resemble the cloth in the city, which embellishing
the body and appearance of the place. The intervention of visitors to
tread on the dirt carpet has changed the original order of the pattern
while the process of it can respond to the cycle of universe and circle of
life. “Dirt Carpet”, which has been exhibited in Thailand, Turkey, Portugal,
Britain, Hong Kong, and Taiwan, is presented in distinctive patterns and
powdery materials based on cultural differences and various concepts
researched by the artist. Through the exhibition, the artist intends not
only to reveal both the implication of the creation and visual expression
but also to engage the audience in a new experience.

17

03 Joget Kelantan

ชอื่ ศลิ ปิน : Lecturer Kanit Sripaoraya
Lecturer Hidayat Bin Hamid
Lecturer Fairuladilan Bin Hamadun
Lecturer Md Ariff Bin Ariffin

Email : [email protected]
เทคนิคการสร้างสรรค์ :
การนำ�เสนอนาฏศิลปม์ ลายู “โจเกต็ ” ผา่ นเทคนิค
ภาพยนตร์ และนเิ ทศศิลป์ / The combination of Malay
Joget performance with film and visual communication
techniques.
แนวคิด
When ‘Creative Technology’ meets ‘Heritage’

18 International Art Exhibition Project
“On the Occasion of the 20th Anniversary of
the Faculty of Fine and Applied Arts, Thammasat University”

04 FRoiutinkadeArrt&s CDoir.e,cLttodr.,

ชื่อศลิ ปิน : Miss Ritika Mandal
Email : [email protected]
เทคนคิ การสรา้ งสรรค์ : Indian Classical Dance technic
following Natyashastra
ขนาดสรา้ งสรรค์ : depends upon stage size min. 10ft x 8ft
แนวคิด Indian Classical Dance Performer, Teacher

19

05 The dancing mother

ชื่�่อศิลิ ปิิน : Mrs. Mridusmita Das Bora
Email : [email protected]
เทคนิคิ การสร้า้ งสรรค์์ : Indian Classical Dance hand gestures
and abhinaya (expressions)
ขนาดสร้า้ งสรรค์์ : A4 size
แ นวคิิด The concept is to showcase the mudras and
gestures used in Indian Classical Dance to showcase the
journey of motherhood.

20 International Art Exhibition Project
“On the Occasion of the 20th Anniversary of
the Faculty of Fine and Applied Arts, Thammasat University”

06 Antigone
ชื่�อ่ ศิิลปิิน : Professor Arkadiusz Klucznik
เป็็นผู้�กำกัับการแสดงละครหุ่�นและละครหน้า้ กาก รวมทั้�งเป็น็ อาจารย์ส์ อนการแสดงและการกำกับั การแสดงละคร
หุ่�นอยู่่�ที่ภ�่ าควิชิ าละครหุ่�น National Academy of Theatre Arts in Kraków ประเทศโปแลนด์์ เขามีีผลงานการกำกับั
การแสดงละครหุ่�นมากมาย โดยผลงานของเขามักั จะเป็น็ การผสมผสานระหว่า่ งละครหุ่�นและละครหน้้ากากที่ม�่ ีีนัักแสดงเป็น็
ผู้�แสดง เขามีีผลงานการสอน การอบรมเชิิงปฏิิบััติิการในหลากหลายประเทศในยุุโรป รวมทั้�งเคยบรรยายพิเิ ศษเรื่�่องละครหุ่�น
ยุุโรปให้ก้ ับั นักั ศึกึ ษาสาขาวิิชาการละคอน คณะศิิลปกรรมศาสตร์์ มหาวิทิ ยาลัยั ธรรมศาสตร์์ ปััจจุบุ ันั นอกจากจะเป็น็ อาจารย์์
และเป็น็ ผู้�กำกับั การแสดงละครหุ่�นแล้ว้ เขายังั ที่�ป่ รึึกษาด้้านการจัดั วาระการแสดง (Programming Consultant) ให้ก้ ัับ
Chamber Theatre ในเมืือง Bydgoszcz ประเทศโปแลนด์์ อีีกด้้วย

แนวคิด
Antigone เป็็นบทละครกรีีก เขีียนโดย Sophocles เป็น็ เรื่่�องของ Antigone ธิดิ าของ Oedipus ที่�่ต้อ้ งการทำพิิธีี
ฝัังศพตามธรรมเนีียมให้้กัับพี่่�ชายที่เ่� สีียชีีวิติ ในสงครามกลางเมืือง แต่่พี่ช�่ ายคนนี้้�ถููกบอกว่า่ เป็็นกบฏ กษััตริยิ ์จ์ ึึงสั่�งห้้ามประกอบ
พิิธีีกรรมใดๆ เธอขััดขืืนไม่่ยอมปฏิิบัตั ิติ าม จนในที่�ส่ ุดุ ก็็เกิิดโศกนาฏกรรมกัับตััวเธอเอง โดยปกติิละครในยุุคกรีีกเป็น็ การแสดง
โดยผู้�ชายและมีีการสวมหน้้ากากอยู่�แล้้ว แต่่ Antigone ฉบับั นี้� เป็็นการแสดงโดยนัักแสดงทั้�งชายและหญิิง หน้้ากากที่�่ใช้้ก็ถ็ ููก
กำหนดรููปแบบและสร้า้ งขึ้�นขึ้�นใหม่่และใช้เ้ ป็น็ เชิงิ สัญั ลัักษณ์โ์ ดยที่ผ�ู่้�แสดงไม่ไ่ ด้ส้ วมหน้า้ กากลงไป แต่่ใช้ก้ ารถืือหน้า้ กาก
ร่ว่ มกับั การเคลื่่อ� นไหวร่า่ งกาย เพื่�่อสร้้างสุนุ ทรีียภาพ (aesthetics) แบบใหม่่ให้้เกิดิ ขึ้�นโดยไม่่จำเป็็นต้อ้ งดำเนิินตามขนบของ
ละครกรีีกในอดีีต

21

07 Spirit of Commedia

ชื่อ่� ศิิลปินิ : Mr. Marco Luly
เป็น็ นัักแสดง ผู้�กำกัับการแสดง และครููสอนการละคร
ชาวอิติ าเลีียน เขาเป็็นผู้้�ร่ว่ มก่อ่ ตั้�งคณะละคร Associazione
Culturale “Luoghi dell’Arte” ในกรุงุ โรม และเป็น็ ผู้�กำกับั ศิลิ ป์์
ของคณะมาตั้�งแต่่ ปีี 1990 จนถึึงปัจั จุบุ ันั เขามีีความเชี่่ย� วชาญด้า้ น
Commedia dell’ Arte และละครตะวันั ตก ยุุคกลาง (Medieval
Theatre) นอกจากนี้� ปัจั จุบุ ัันนี้�เขายัังคงเป็็นทั้�งนักั แสดง ผู้�กำกัับ
การแสดง และผู้�กำกับั ศิิลป์์ นอกจากนี้� เขายังั เคยมาจัดั อบรมเชิงิ
ปฏิบิ ัตั ิกิ ารการแสดง Commedia dell’Arte ให้ก้ ับั นัักศึกึ ษาสาขา
วิิชาการละคอน คณะศิลิ ปกรรมศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์์
ตลอดหลายปีที ี่�่ผ่่านมา
แนวคิิด
Commedia dell’ Arte เป็็น “ละครอาชีีพ” รููปแบบ
แรกๆ ของโลกตะวันั ตก เกิิดขึ้�นเป็็นแห่ง่ แรกที่่�ประเทศอิติ าลีี และได้้
รับั ความนิยิ มมากในยุโุ รปในช่่วงศตวรรษที่�่ 18 - 19 มีีชื่�่อเรีียกอีีกชื่่�อ
หนึ่่�งว่่า “ละครตลกของอิิตาลีี” (Italian Comedy) การละครใน
ลักั ษณะนี้�ไม่่เป็น็ ที่่�แพร่่หลายมากนักั ในปััจจุบุ ััน ผลงานนี้้�จึึงต้อ้ งการ
นำเสนอ “จิิตวิิญญาณ” ของ Commedia dell’ Arte ผ่า่ นหน้้ากาก
และตััวละครต่า่ งๆ

22 International Art Exhibition Project
“On the Occasion of the 20th Anniversary of
the Faculty of Fine and Applied Arts, Thammasat University”

08 A Midsummer Night’s Dream

ชื่่�อศิิลปินิ : Professor Leon Rubin
เป็น็ ผู้�กำกัับการแสดงละครเวทีีชาวอังั กฤษ รวมทั้�งเป็็นนักั วิชิ าการ นัักเขีียน และที่่�ปรึึกษาทางการละคร เขาเคยเป็็นผู้�
กำกับั ศิิลป์ใ์ ห้ก้ ับั โรงละครต่า่ งๆ ในสหราชอาณาจัักรมากมาย อาทิิ Bristol Old Vic, Lyric Theatre, Belfast และ Watford
Palace Theatre เป็็นต้้น ตลอดจนเป็น็ ผู้�กำกัับการแสดงละครเวทีีให้้กับั คณะละครในหลายประเทศ Abbey Theatre ในอังั กฤษ
Stratford Festival Theatre ในแคนาดา และ Bungaku-za Theatre ในญี่่�ปุ่�น เป็น็ ต้น้ ปัจั จุบุ ันั เขาเป็น็ คณบดีี คณะศิิลปะ
การแสดง Lasalle College of the Arts ประเทศสิิงคโปร์์ ซึ่�่งเป็น็ คณะที่�่มีีบัันทึึกความร่่วมมืือ (MOU) กับั คณะศิลิ ปกรรมศาสตร์์
มหาวิิทยาลัยั ธรรมศาสตร์์
แนวคิิด
A Midsummer Night’s Dream เป็็นบทละครสุุขนาฏกรรมของ William Shakespeare เนื้�อเรื่อ่� งกล่่าวถึงึ คู่่�รัักชาว
เอเธนส์ท์ ี่�ห่ นีีการบัังคับั แต่่งงานแบบคลุมุ ถุงุ ชนเข้้าไปในป่่า โดยในป่่านั้�นเป็็นถิ่�นที่�อ่ ยู่�ของกลุ่�มพรายที่�ม่ ีีเวทมนตร์์ เมื่่อ� ชาวเอเธนส์์
เข้้ามาในป่่า พรายจึงึ เล่น่ สนุุกด้้วยเวทมนตร์จ์ นเกิิดความโกลาหล แต่เ่ รื่อ่� งก็จ็ บลงแบบมีีความสุุข A Midsummer Night’s
Dream ฉบัับนี้�เป็็นการดัดั แปลงบริิบทให้้เป็น็ ปัจั จุบุ ััน และไม่ใ่ ช่่เป็น็ ป่า่ ชานเมืืองเอเธนส์์ แต่เ่ ป็็นป่า่ อะเมซอนในประเทศบราซิิล
รวมทั้ �งมีีการใช้้รููปแบบการแสดงแบบกายกรรมและละครสััตว์์เข้้ามาเพื่่�อทำให้้ฉากในป่่ามีีความสนุุกสนานและพรายต่่างๆ
สามารถบิินล่่องลอยไปในอากาศได้้

23

09 อ้างว้าง (Loneliness)

แนวคิิด ชื่�่อศิิลปินิ : ศาสตราจารย์์ ดร.นราพงษ์์ จรัสั ศรีี
ความรู้้�สึึกที่่� อ้้างว้า้ ง (Loneliness) โดดเดี่�่ยวถููกถ่่ายทอดออกมาเป็น็ สำเร็จ็ การศึกึ ษาจาก คณะสถาปััตยกรรมศาสตรบััณฑิติ (ออกแบบ
การแสดงนาฏยศิลิ ป์แ์ บบ โพสโมเดิริ ์น์ ดานซ์์ (Post-modern dance) ที่่ใ� ช้ก้ าร อุุตสาหกรรม) จุุฬาลงกรณ์์มหาวิิทยาลััย เมื่อ�่ พ.ศ. 2521 หลังั จาก
ออกแบบโดยคำนึงึ ถึึง พื้�นที่�่ ลีีลาการเคลื่�อ่ นไหวแบบมิินิิมัลั ลิิซึ่ม�่ (Minimalism) ลีีลาการ นั้�นเดิินทางไปศึึกษาต่อ่ ที่�่ เดอะรอแยลล์บ์ ัลั เลต์์สคูลู ล์์ (The Royal
เคลื่อ่� นไหวที่พ่� บเห็น็ ได้้ในชีีวิติ ประจำวััน (Everyday movements) ภายใต้้อิทิ ธิพิ ลของ Ballet School) หนึ่่�งในสถาบันั การศึึกษาด้้านการเต้น้ บััลเลต์์
การฝึึกฝนในแบบฉบับั ของ ละคร นาฏยศิิลป์ไ์ ทย บััลเลต์์ โมเดิิร์น์ ดานซ์์ และอื่�่นๆ ผู้�ชม คลาสสิิคชั้�นนำของโลก ณ กรุงุ ลอนดอน ประเทศอังั กฤษ และได้ใ้ ช้้
สามารถใช้้ภาพที่่เ� ห็็นในการแสดง สร้า้ งจินิ ตนาการอย่่างมีีอิิสรภาพควบคู่�ไปกัับ เวลาอีีก 8 ปีี เพิ่่ม� พููนประสบการณ์ใ์ นการทำงานเป็็นนัักแสดง
ประสบการณ์ส์ ่่วนตัวั ของผู้�ชมแต่ล่ ะท่่าน อาชีีพ และนักั ออกแบบนาฏยศิิลป์ต์ ะวัันตกทั้�งแบบคลาสสิิคและ
ร่ว่ มสมััยในต่่างประเทศ เมื่่�อกลับั สู่�ประเทศไทยในปีี พ.ศ. 2532
เ ป็็ น ผู้้�บุุ ก เ บิิ ก ส ร้้ า ง ส ร ร ค์์ ก า ร แ ส ด ง น า ฏ ย ศิิ ล ป์์ ร่่ ว ม ส มัั ย
(Contemporary Dance) ตลอดจนริเิ ริ่�มการแสดง แสง - เสีียง
ประกอบจินิ ตภาพ ซึ่่ง� ใช้ศ้ ิิลปะการแสดงอย่่างมีีหลักั การ เพื่�่อสื่่อ�
ความหมายมรดกทางสถาปััตยกรรม รวมไปถึึงการนำนาฏยศิิลป์์มา
แสดงเพื่่�อสื่่�อความหมายถึึงมรดกทางวรรณกรรมทั้ �งในด้้านอนุุรัักษ์์
และสร้า้ งสรรค์์
ต่่อมาในปีี พ.ศ. 2535 เข้า้ รับั ราชการในแผนก
นาฏยศิิลป์ต์ ะวันั ตก ภาควิชิ านาฏยศิิลป์์ คณะศิลิ ปกรรมศาสตร์์
จุุฬาลงกรณ์์มหาวิิทยาลัยั เป็็นทั้�งอาจารย์์ประจำ ศิลิ ปินิ นัักบริหิ าร
และนัักวิิชาการที่่�ทรงอิิทธิิพลต่่อการพััฒนาการองค์์ความรู้�ทางด้้าน
ศิลิ ปะการแสดง ที่่ส� ามารถนำมรดกทางวัฒั นธรรมของไทย มุ่�งสู่�
ศตวรรษใหม่่อย่่างมีีหลัักการ โดยบููรณาการความรู้�หลายด้้านเข้า้
ด้ว้ ยกััน เป็็นตััวอย่า่ งของนัักเต้้นมาอย่่างต่่อเนื่่อ� งและยาวนานทั้�งใน
ระดัับประเทศและนานาชาติิ ตัวั อย่า่ งผลงาน เช่น่ การแสดงในพิิธีี
เปิดิ -ปิิดการแข่ง่ ขันั กีีฬาซีีเกมส์ค์ รั้�งที่�่ 18 พิธิ ีีเปิิด-ปิดิ การแข่ง่ ขันั กีีฬา
เอเชี่ย�่ นเกมส์์ครั้�งที่�่ 13 การแสดงงานมหานาฏกรรมเฉลิมิ พระเกีียรติิ
พระมหาชนก ในวโรกาสที่พ�่ ระบาทสมเด็็จพระปรมินิ ทรมหาภูมู ิพิ ล
อดุยุ เดชมหาราช ทรงครองสิริ ิิราชสมบัตั ิคิ รบ 60 ปีี การแสดงวิิจิิตร
นาฏกรรมเฉลิิมพระเกีียรติ์์�พระมหาชนก ซึ่�ง่ ผลงานการแสดง
นาฏยศิิลป์ร์ ่่วมสมััย (Contemporary Dance) ที่ท่� ่า่ นได้้นำเสนอนั้�น
มีีอิทิ ธิพิ ลอย่า่ งมากมาย ทำให้้นาฏยศิลิ ป์์ร่่วมสมััยเป็็นที่�่รู้�จักและมีี
พัฒั นาการต่่อมาจนถึงึ ปัจั จุบุ ััน

24 International Art Exhibition Project
“On the Occasion of the 20th Anniversary of
the Faculty of Fine and Applied Arts, Thammasat University”

10 ราชรถ

ชื่�่อศิิลปิิน : Associate Professor Arwin Intrungsi
Email : [email protected]
เทคนิคิ การสร้้างสรรค์์ : Digital Collage
ขนาดสร้า้ งสรรค์์ : 42.5 x 52.5 cm (รวมกรอบ)
แนวคิิด
นำ�เสนอภาพจิตรกรรมฝาผนังจากวดั พระศรรี ตั นศาสดารามสู่วฒั นธรรมยอ่ ย (Sub-Culture) ในปัจบุ นั

25

11Dead Corals 01

ชื่�่อศิิลปิิน : รองศาสตราจารย์์พิเิ ศษแห่ง่ มหาวิิทยาลัยั ธรรมศาสตร์์ ระพีี ลีีละสิิริิ
Email : [email protected]
เทคนิิคการสร้้างสรรค์ ์ : Handloom woven
ขนาดสร้้างสรรค์์ : ก.128 x ส.135 ซม.
แนวคิดิ เพื่อสะทอ้ นถึงความเสื่อมโทรม เสยี หายของสภาพสิง่ แวดลอ้ มใตท้ อ้ งมหาสมทุ ร ผลการกระทำ�ของ
ตมน้น ๆษุ ใยตท์ ้ที่ส้อ่งงผทละกเรละอทนั บสทวย้ังทงาามงตทร่มีงแคี ลวะาทมอาง่ออน้อไมหตวอ่ตทอ่ ร้อะงบทบะเนลิเวศโดนย์ทสเี่ ะปทล้อย่ี นนผแา่ปนลปงะจกาากรปงั ราสกิ่งฎมกีชาวี ริตณห์ตา่วมงโธซร่อรามหชาารตลิ ำแ�ดลบัะ
มลพษิ ทเ่ี กดิ จากการทำ�กระทำ�ของมนษุ ย์

26 International Art Exhibition Project
“On the Occasion of the 20th Anniversary of
the Faculty of Fine and Applied Arts, Thammasat University”

12 ฉุยฉายจินตะหราวาตี

ชื่อศลิ ปนิ : รองศาสตราจารย์ ฉนั ทนา เอีย่ มสกุล
เทคนิคการสร้างสรรค ์ : นาฏศิลป์
นางจิินตะหราเป็็นตััวละครเอกแต่่มิิใช่่นางเอกซึ่่�งแต่่เดิิมนั้�นการรำฉุุยฉายจะใช้้เฉพาะบทบาทของ
พระเอกนางเอกเท่่านั้�น ซึ่ง�่ ต่อ่ มาก็็เริ่ม� มีีตััวละครเอกตัวั อื่น่� ๆ เพิ่่�มขึ้�น ผู้�เคยได้ร้ ัับการถ่่ายทอดตัวั นางจิินตะหรา ตอน
ลานาง จากคุณุ ครููเฉลย ศุขุ ะวณิชิ เมื่อ�่ ศึึกษาวิิเคราะห์์บทบาทของนางจิินตะหราแล้ว้ นางจะเป็็นสตรีีในยุุคโบราณ
เป็น็ มเหสีีองค์์แรกที่ต่� ้้องใช้้ความอดทนอดกลั้�นตามธรรมเนีียมของหญิงิ ไทยโบราณที่่�น่า่ เห็น็ ใจนางเป็น็ อย่า่ งยิ่�ง จึงึ มีี
แนวคิดิ ที่จ่� ะประดิิษฐ์ท์ ่่ารำโดยใช้ห้ ลักั การคิดิ ในรููปแบบของการรำฉุยุ ฉายโดยให้้ชื่�อ่ ชุดุ ว่่า รำฉุยุ ฉายจินิ ตะหราวาตีี

27

13 หมวกพรมยิง

ชือ่ ศิลปนิ : Lecturer Kris Yensudchai
Email : [email protected]
เทคนิคการสร้างสรรค ์ : พรมยิง ( Tuff Gun)
แนวคดิ หมวกพรมยงิ เส้นใยทำ�จากขวดพลาสติกรไี ซเคลิ

28 International Art Exhibition Project
“On the Occasion of the 20th Anniversary of
the Faculty of Fine and Applied Arts, Thammasat University”

15 Yellow fever

ชอื่ ศลิ ปิน : นาย จักกาย ศริ ิบุตร
Email : [email protected]
เทคนิคการสร้างสรรค ์ : ผ้าปกั
ขนาดสรา้ งสรรค์ : 216 x 185 cm
แนวคดิ
The three large scale quilts are a summary of the year 2020 in which the artist started to make while
under the first lockdown in March 2020 as a conversation with his late mother. The conversations centred around
current events in the world including the pandemic, racism and violence against minorities, right wing politicians
and masculine toxicity. The artist’s and his late mother’s disassembled garments were meditatively stitched
together to create dialogues and at the same time became a therapeutic outlet for the artist during those
uncertain periods.

29

16 ความไม่สมบรู ณ์ Imperfect story

ชื่�่อศิิลปิิน : ทัศั นีียา นิลิ ฤทธิ์� และเยาวชนจากสถานพินิ ิิจจัังหวััดสุรุ ิินทร์์
เทคนิคิ การสร้า้ งสรรค์ ์ : Used Plastic Stamping
แนวคิิด
ผนื ผ้าท่ไี ม่สมบรู ณ์ นำ�มาสรา้ งสรรคล์ วดลายตอ่ ดว้ ยกลมุ่ คนท่ตี อ้ งการโอกาสทางสมั คมเตมิ เตม็ จนเกดิ
ความสมบรู ณใ์ นแบบฉบบั วถิ ีทีค่ วรจะเป็น

30 International Art Exhibition Project
“On the Occasion of the 20th Anniversary of
the Faculty of Fine and Applied Arts, Thammasat University”

17 แสงสดุ ทา้ ย

ชื่�อ่ ศิิลปินิ : นาย ณัฏั ฐ์พ์ ััฒน์์ ผลพิิกุลุ
Email : [email protected]
เทคนิคิ การสร้า้ งสรรค์์
การสร้้างสรรค์์ผลงานชุุดเเสงสุุดท้้าย ผ่่านบทเพลงขมาฟ้า้ ใหม่่ ผู้�สร้้างสรรค์์ผลงานเลืือกใช้้การออกแบบ
ลีีลาในรููปแบบนาฏศิิลป์์ร่่วมสมััยผ่่านบทเพลงลููกทุ่�ง รวมถึึงใช้้วิิธีีการการออกแบบเครื่�่องเเต่่งกายเเละอุุปกรณ์์เชิิง
สัญั ลักั ษณ์์ในการสื่่อ� ความหมายผ่า่ นการแสดงในครั้�งนี้�
ขนาดสร้้างสรรค์์ : 78×100
แนผวูคิดิ ้้�สร้้างสรรค์์ผลงานได้้รัับเเรงบัันดาลใจในการสร้้างสรรค์์ผลงานมาจากสถานการณ์์การแพร่่ระบาดของ
ไวรััสโควิิด-19 ที่ไ�่ ด้้สร้้างการเปลี่่�ยนแปลงอย่า่ งหนัักให้้กัับโลกในหลายด้า้ น ไม่่ว่า่ จะเป็็นเศรษฐกิจิ สัังคม สาธารณสุุข
การเมืือง ธรรมชาติิ คติคิ วามเชื่�่อ เเละที่ส�่ ำคัญั คืือ วิิถีีชีีวิิตการดำรงอยู่�ของมนุษุ ย์์ นำเสนอในรููปแบบนาฏศิิลป์ร์ ่่วม
สมััยเเละการใช้้สัญั ลักั ษณ์ผ์ ่่านบทเพลงขมาฟ้้าใหม่่

31

18 Folk art in Mae Chaem, Chiangmai

ชื่อ่� ศิลิ ปินิ : นุสุ รา เตีียงเกตุุ
Email : [email protected]
เทคนิคิ การสร้า้ งสรรค์์ : ปััก
ขนาดสร้า้ งสรรค์์ : 45 x 60 cm = 1 ชิ้�น, 25 x 70 cm = 1 ชิ้�น, 50 x 60 cm = 2 ชิ้�น (รวม 4 ชิ้�น)
แนวคิิด
“ศิิลปะที่�่สร้้างขึ้�นโดยศิิลปิินที่่�ไม่่เคยได้้รัับการฝึึกอบรมอย่่างเป็็นทางการในโรงเรีียนสอนศิิลปะหรืือ
สถาบัันการศึกึ ษาและมีีลักั ษณะการทำงานและวิสิ ัยั ทัศั น์์ที่่เ� รีียบง่่ายเหมืือนเด็็ก”
จากจุุดเริ่ม� ต้น้ แสนธรรมดา วัันดีี บุุญเกิดิ ใช้้สิ่ง� ทอที่�่เธอมีีอยู่�แล้ว้ หรืือได้้รับั มาจากคนอื่่�น ตั้�งแต่ช่ิ้�นผ้้าฝ้า้ ย
สี่�่เหลี่�่ยมธรรมดาไปจนถึึงผ้้าพัันคอผืืนใหญ่่มารองรัับการทำงานศิิลปะของเธอด้้วยความเป็็นอิิสระจาก
กายวิิภาคศาสตร์แ์ ละองค์ป์ ระกอบพื้�นฐานทางศิิลปะ รวมถึงึ ทฤษฎีีสีี วันั ดีี บุุญเกิิด พาเราเข้้าสู่�โลกส่ว่ นตััวของเธอ
สถานที่่�ซึ่่ง� อยู่�ระหว่่างจิินตนาการกัับความจริิง การเข้้าไม่ถ่ ึึงอิินเตอร์เ์ น็็ต มีีแต่โ่ ทรทัศั น์์เท่่านั้�น แหล่ง่ ที่่�มาของแรง
บัันดาลใจจึึงได้จ้ ากธรรมชาติิ ผู้�คนรอบข้้าง จิติ รกรรมฝาผนัังวัดั และลายปักั ผ้้าที่เ�่ คยเห็น็ นอกจากนี้�เธอยัังสร้า้ งตััว

32 International Art Exhibition Project
“On the Occasion of the 20th Anniversary of
the Faculty of Fine and Applied Arts, Thammasat University”

19 Structure of Light and Shadow

ชื่่�อศิิลปิิน : ผู้้�ช่่วยศาสตราจารย์์ ดร.วิทิ วััน จัันทร
Email : [email protected]
เทคนิคิ การสร้้างสรรค์์ : ทอ
ขนาดสร้า้ งสรรค์์ : 80 x 150 cm
แนวคิิด
แนวคิิดมาจากการนำรููปร่่างนามธรรมแสดงนััยยะของสถาปััตยกรรมมาเป็น็ ตััวต้น้ คิดิ กำหนดรููปร่่างของ
แสงและเงาที่ต่� กกระทบลงบนตึกึ สะท้อ้ นลงพื้�น แสดงให้้เห็น็ รูปู ร่่างภายนอกของตัวั อาคารที่ต่� ัดั ทอนรูปู ทรง ไม่่
แสดงรายละเอีียดของสถาปััตยกรรม คงเหลืือแต่ร่ ะนาบที่เ่� รีียบง่่าย มุ่�งแสดงแต่ส่ าระสำคััญ บริิเวณรููปร่า่ งของแสง
และเงา แทนค่่าด้้วยน้้ำหนักั สว่่างบริเิ วณที่่�ถูกู แสงและค่า่ น้ำ้ หนักั มืืดบริเิ วณมืืด ใช้ก้ ารตััดกัันของค่า่ น้ำ้ หนักั มืืดสว่่าง
เคีียงกันั ทำให้เ้ กิดิ จัังหวะที่ล่� ดหลั่น� เกิิดระยะ สร้า้ งมิิติิ สร้้างทัศั นีียภาพทางความลึึก อย่า่ งมีีเอกภาพ สีีที่่�ใช้ส้ ่ว่ นมาก
เป็น็ สีีเอกรงค์์ คืือ สีีโทนน้ำ้ ตาล เน้้นน้้ำหนัักด้ว้ ยสีีขาว น้้ำตาลอ่อ่ น น้ำ้ ตาลเข้้ม ไปจนถึงึ น้ำ้ หนัักเข้้มที่ส่� ุุด แทรกด้ว้ ย
โทนสีีม่ว่ งอมชมพูหู ม่่น ที่�ย่ ้อ้ มจากวััสดุธุ รรมชาติทิั้�งหมด ส่ว่ นโครงสร้า้ งผ้้าทอใช้้การทอแบบลายขัดั 2 ตะกอ ที่่�ยก-
ข่ม่ เส้้นยืืน แบบนัับจังั หวะลดหลั่�นสลัับไปมาอย่า่ งไม่เ่ ป็น็ ระเบีียบแบบแผน จััดช่ว่ งจังั หวะแบบไหลลื่�น่ (Flowing)
ให้้ได้้ความรู้้�สึึกลื่่�นไหลเกิิดความรู้้�สึกึ ต่่อเนื่�่องเชื่อ่� มโยง

33

20 ลายสาน : Weaving Lines

ชื่�อ่ ศิลิ ปิิน : ผู้้�ช่ว่ ยศาสตราจารย์์ ดร.ภาวิณิ ีี บุุญเสริมิ
Email : [email protected]
เทคนิคิ การสร้า้ งสรรค์ ์ : การสร้า้ งสรรค์์นาฏศิิลป์ไ์ ทยร่ว่ มกัับสื่่อ� ประสมมัลั ติมิ ิเิ ดีีย
ขนาดสร้า้ งสรรค์์ : 60 x 90 cm
แนวคิิด
การแสดงชุุด “ลายสาน” เป็็นนาฏศิิลป์์ร่่วมสมััยที่�่ได้ร้ ัับแรงบันั ดาลใจจากงานจัักสานซึ่่�งเป็็นภูมู ิปิ ัญั ญา
พื้�นบ้้านในการใช้ว้ ััสดุุธรรมชาติิ มาจักั ขััด และสาน จนเกิิดลวดลายและเป็น็ เครื่อ�่ งมืือเครื่�อ่ งใช้้ที่ส�่ ะท้อ้ นถึงึ วิถิ ีีชีีวิิต
และความเชื่�่อของสัังคม แนวคิิดในการออกแบบลีีลานาฏศิลิ ป์ช์ ุดุ นี้� ใช้ก้ ารผสมผสานองค์์ประกอบของนาฏศิลิ ป์์ไทย
กัับการเคลื่อ�่ นไหวอย่า่ งเป็น็ ธรรมชาติริ ่่วมกัับสื่่�อประสมมัลั ติิมิเิ ดีีย โดยแบ่่งการแสดงออกเป็น็ 3 ช่ว่ ง คืือ
ช่ว่ งที่�่ 1 “วิิถีีชีีวิิต” เป็็นการแสดงถึงึ ความสััมพัันธ์์ของมนุษุ ย์์และการใช้ว้ ััสดุธุ รรมชาติิในการดำรงชีีวิติ
ช่ว่ งที่่� 2 “วิิจิิตรเส้้นสาย” เป็น็ การแสดงให้เ้ ห็น็ ถึงึ ความงามและลายเส้น้ ของวััสดุจุ ากธรรมชาติิ
ช่่วงที่�่ 3 “สืืบลายจัักสาน” เป็น็ การนำเสนอกรรมวิิธีีในการประดิิษฐ์ง์ านจัักสาน ซึ่�ง่ เป็น็ ภูมู ิิปัญั ญาที่�ค่ วร
ค่า่ ต่่อการสืืบสานไว้ข้ ่ม่ เส้น้ ยืืน แบบนัับจัังหวะลดหลั่น� สลับั ไปมาอย่า่ งไม่่เป็็นระเบีียบแบบแผน จัดั ช่่วงจัังหวะแบบ
ไหลลื่่�น (Flowing) ให้้ได้ค้ วามรู้้�สึกึ ลื่่�นไหลเกิดิ ความรู้้�สึกึ ต่่อเนื่่�องเชื่อ�่ มโยง

34 International Art Exhibition Project
“On the Occasion of the 20th Anniversary of
the Faculty of Fine and Applied Arts, Thammasat University”

21 ต(Pน้ rแoบtoบtขyอpงeแoบfบRตoัวพmิมaพnโ์ รUมDนั ยTูดyีpeface)

ชื่อ�่ ศิลิ ปิิน : ผู้้�ช่่วยศาสตราจารย์์ ดร.รัชั ภูมู ิิ ปััญส่ง่ เสริมิ
Email : [email protected]
เทคนิคิ การสร้า้ งสรรค์ ์ : Digital Printing
ขนาดสร้า้ งสรรค์์ : 42 x 59.4 cm (ไม่่รวมกรอบ) จำนวน 3 ชิ้�น
แนวคิิด จากการศึึกษา The Visibility and Legibility of Roman Typefaces: A Review with Blur Simulation* ได้้แนะนำแนวทางในการ
ปรับั ปรุุงรูปู แบบตััวพิมิ พ์โ์ รมันั สิ่ง� นี้�นำไปสู่�การพััฒนาต้้นแบบของแบบตััวพิมิ พ์โ์ รมันั เพื่อ่� ทุุกคน (Roman Universal Design [UD]) การออกแบบ
ของสััณฐานตัวั อัักษรมุ่�งหมายเพื่่�ออำนวยความสะดวกแก่่ผู้้�อ่า่ นภายใต้้สภาวะการมองเห็น็ ที่ต่� ่่ำ โดยการจัดั เตรีียมคุณุ ลัักษณะตัวั อัักษรที่�่สำคััญและ
ใช้้ประโยชน์์จากพื้�นที่ว่� ่่างด้า้ นลบที่ช�่ ่ว่ ยเพิ่่ม� ทัศั นวิสิ ััย Based on a study, The Visibility and Legibility of Roman Typefaces: A Review
with Blur Simulation*, suggested approaches for improving Roman letterforms. This brings about to development of
a prototype of the Roman Universal Design (UD) typeface. The design of letterforms intends to facilitate the readers under
low visual acuity conditions by providing significant key letter features and taking advantage of negative space that enhances
visibility. *Punsongserm, R. (2019). The Visibility and Legibility of Roman Typefaces: A Review with Blur Simulation. Archives
of Design Research, 32(4), 5-25.

35

22 บ้านศรีดอนมูล

ชื่่อ� ศิลิ ปิิน : อาจารย์์ศัักดิ์์�สิทิ ธิ์� คำหลววง
Email : [email protected]
เทคนิิคการสร้า้ งสรรค์์ : Digital Printing
ขนาดสร้า้ งสรรค์์
แนวคิดิ
‘ ใ ห้้ ธ ร ร ม ช า ติิ ฮีี ล ใ จ - ใ ห้้ ชีี วิิ ต ห ยั่� ง ร า ก ’
โครงการส่่งเสริิมการท่่องเที่�ย่ วเชิงิ สร้้างสรรค์แ์ ละวััฒนธรรม โปรแกรมท่่องเที่่�ยวเชิิงสร้า้ งสรรค์์
(Champ) ผลิติ ภัณั ฑ์์เด่่น และการทดสอบโปรแกรมท่อ่ งเที่่ย� วเชิิงสร้า้ งสรรค์์ บ้้านศรีีดอนมููล หมู่� 2
ตำบลแจ้้ซ้อ้ น อำเภอเมืืองปาน จัังหวัดั ลำปาง ประเภทผลงาน: Graphic Design (งานอัตั ลัักษณ์์
ชุุมชน)

36 International Art Exhibition Project
“On the Occasion of the 20th Anniversary of
the Faculty of Fine and Applied Arts, Thammasat University”

23 Alone

ชื่�่อศิลิ ปินิ : ผู้้�ช่ว่ ยศาสตราจารย์์ ดร.เกษหทัยั สิิงห์อ์ ิินทร์์
Email : [email protected]
เทคนิิคการสร้้างสรรค์ ์ : ภาพพิมิ พ์์
ขนาดสร้้างสรรค์์ : หุ่�นโชว์์ 3 ตััว ยืืนชิดิ กันั
แ นวคิดิ เหยื่อ่� ของสงครามล้ว้ นแต่เ่ ป็็นประชาชนผู้�บริสิ ุุทธิ์� ไม่่ว่่าอยู่�ในประเทศใดก็ไ็ ด้้รับั ผล
กระทบทั้ �งสิ้ �น

37

24 MbyadHaMnaKbināgdVhaāj,iroarvuTdhhe โRรoงmเรยี aนnวcชeริ oาวf ุธaวRทิ oยsาeลยั

ชื่่�อศิิลปิิน : ผู้้�ช่่วยศาสตราจารย์์ ดร.อาทรีี วณิิชตระกูลู กำกัับการแสดง
อาจารย์์ สุพุ ััตรา เครืือครองสุขุ ออกแบบแสง
ผู้้�ช่ว่ ยศาสตราจารย์์ ณัฐั คม แช่ม่ เย็็น ออกแบบฉาก

Email : [email protected]
เทคนิิคการสร้า้ งสรรค์ ์ : ละครเวทีี
ขนาดสร้า้ งสรรค์์ : Poster
แนวคิดิ
“อานุุภาพของความรััก” ก่อ่ กำเนิิดรสความรู้้�สึกึ แสนมหัศั จรรย์์ ไม่่ว่่าจะเป็็นความลุ่�มหลง ความลิงิ โลด
ลำพองใจ ความชาบซ่า่ นอิ่�มเอม ความรวดร้า้ ว ความหึึงหวง และความเจ็บ็ แค้น้ พยาบาท

38 International Art Exhibition Project
“On the Occasion of the 20th Anniversary of
the Faculty of Fine and Applied Arts, Thammasat University”

25 พระคเณศ หมายเลข 49

ชื่อ่� ศิิลปิิน : ผู้้�ช่่วยศาสตราจารย์์ จำลอง สุุวรรณชาติิ
Email : [email protected]
เทคนิคิ การสร้า้ งสรรค์์ : เซรามิกิ ส์์
ขนาดสร้า้ งสรรค์์ : สููง 48 ซม.
แนวคิดิ พระคเณศเป็น็ เทพเจ้้าผู้�ขจััดอุปุ สรรค เป็็นองค์อ์ ุปุ ถััมภ์์แห่่งวิทิ ยาการและศาสตร์ท์ั้�งปวง
เป็็นผู้�มีความเฉลีียวฉลาดและปัญั ญา ผู้�สร้า้ งสรรค์ไ์ ด้้ถ่า่ ยทอดรูปู แบบของพระหัตั ถ์ท์ ี่่ว� ่า่ งเปล่่าอันั
หมายถึึงหากผู้�ใดจะขอพรอัันใดจากพระองค์ก์ ็ต็ ้อ้ งกระทำในสิ่�งที่่ข� อด้้วยจึงึ จะประสบผลสำเร็็จ

39

26 Blossom

ชื่่�อศิลิ ปินิ : ผู้้�ช่่วยศาสตราจารย์์ จิริ ัชั ญา วันั จันั ทร์์
Email : [email protected]
เทคนิิคการสร้้างสรรค์ ์ : Hand Embroidery Stitches
ขนาดสร้า้ งสรรค์์ : 25 x 158 x 168 cm
แนวคิดิ ความงามของสีสันแห่งฤดูร้อน กลิ่นอายความอบอวลของมวลดอกไม้นานาพรรณทเี่ บง่ บาน
สะพรั่ง สัมผัสถงึ ความมีชวี ติ ชีวา โดยถ่ายทอดผ่านเส้อื ผ้าสไตล์ลำ�ลองสำ�หรับวันหยดุ พักผอ่ น

40 International Art Exhibition Project
“On the Occasion of the 20th Anniversary of
the Faculty of Fine and Applied Arts, Thammasat University”

27 ภในาคพวปาะมตทดิ รปงะจตำ�อ่ของบุตรชายชา่ งตดั เย็บเส้ือผ้า

ชื่�อ่ ศิิลปินิ : ผู้้�ช่่วยศาสตราจารย์์ บุุญช่่วย เกิิดรีี
Email : [email protected]
เทคนิคิ การสร้้างสรรค์์ : เย็็บและปัักผ้้า
ขนาดสร้า้ งสรรค : 135 x 160 cm
แนวคิดิ
ความทรงจำ�ในอดีตมคี ณุ คา่ กับปจั จบุ ัน

41

28 Everyday

ชื่อ�่ ศิลิ ปินิ : ผู้้�ช่่วยศาสตราจารย์์ ศรีีชนา เจริิญเนตร
Email : [email protected]
เทคนิคิ การสร้้างสรรค์ ์ : Water Color/ Paper Di-cut
ขนาดสร้า้ งสรรค์์ : 30 x 30 cm
แนวคิิด
ชว่ งเวลาแหง่ ชีวิตทีม่ ภี าระรอบด้าน ผ่านชว่ งเวลาแหง่ การสญู เสยี เวลาของความสุขสนั ต์
ความหวังของผู้คน ความยินดีปรดี าทลี่ ดลงตามกาลเวลา คือชีวิตในทุกๆ วัน

42 International Art Exhibition Project
“On the Occasion of the 20th Anniversary of
the Faculty of Fine and Applied Arts, Thammasat University”

29 มัทนี

ชื่่อ� ศิิลปินิ ผู้้�ช่่วยศาสตราจารย์์ ศิริ ิินทร์์ ใจเที่ย่� ง
Email : [email protected]
เทคนิคิ การสร้า้ งสรรค์์ : เย็บ็ ปักั
ขนาดสร้้างสรรค์์ :
แ นวคิดิ การระลึึกถึึงพระคุุณ “ครููมััท” ศ.ดร.มัทั นีี โมชดารา รััตนินิ ในฐานะผู้้�ก่่อตั้�ง
คณะศิิลปกรรมศาสตร์์ จนคณะฯมีีอายุลุ ่ว่ งเลยมาครบรอบ 20 ปีี

43

30 นมอัดเม็ดสวนดสุ ติ

ชื่่�อศิลิ ปิิน : ผู้้�ช่่วยศาสตราจารย์์ สรรพจน์์ มาพบสุขุ
Email : [email protected]
เทคนิคิ การสร้า้ งสรรค์์ : ปัักผ้า้
ขนาดสร้า้ งสรรค์์ : 10 x 15 cm
แ นวคิิด ในวััยเด็็กความอร่่อยของนมอััดเม็็ดประทัับใจข้้าพเจ้้าตั้�งแต่่ครั้�งแรกที่่�ได้้เคี้�ยวชิิมรส
ในวััยนี้้�ทุกุ ครั้�งที่่�เคี้�ยวนมอััดเม็ด็ ความประทับั ใจนั้�นก็ไ็ ม่เ่ คยลดลง แต่เ่ พิ่่�มเติิมคืือการนึึกถึงึ คำสอน
ของในหลวงที่่เ� ป็น็ แนวทางในการดำเนิินชีีวิติ ให้ต้ นเองและคนรอบข้้างอยู่�อย่า่ งเป็น็ สุุข

44 International Art Exhibition Project
“On the Occasion of the 20th Anniversary of
the Faculty of Fine and Applied Arts, Thammasat University”

31 ไหว

ชื่อ�่ ศิิลปินิ : ผู้้�ช่ว่ ยศาสตราจารย์์ ศรุุพงษ์์ สุดุ ประเสริิฐ
อาจารย์์ กรินิ ทร์์ ใบไพศาล

Email : [email protected]
เทคนิคิ การสร้า้ งสรรค์ ์ : Dance, movement, sound recording, sound-clip composition
ขนาดสร้้างสรรค์์ : Poster size and QR code to video clip
แ นวคิิด กำลังั ใจและการผลัักดัันมักั จะเป็น็ สิ่�งที่เ�่ ราทำเพื่อ�่ ส่ง่ เสริมิ คนที่�่เรารััก แต่่บางครั้�งก็ล็ ืืม
ถามไปว่า่ ไหวมั้�ย

45

32 R(Tehfleecctre:aตtวัioตnนไoมf่ใชaต่ dัวaตnนce)

ชื่อ�่ ศิลิ ปินิ : อาจารย์์ ดร.นรีีรััตน์์ พินิ ิจิ ธนสาร
นาย ชุุมพล พิินิจิ ธนสาร

Email : [email protected]
เทคนิิคการสร้า้ งสรรค์ ์ : Dance Multimedia
ขนาดสร้้างสรรค : 60 x 100 cm
แนวคิดิ
สิ่่�งที่ส่� ะท้้อนให้้เห็็นกับั สิ่ง� ที่่เ� ป็็นอยู่� ตัวั ตนที่ถ่� ููกสะท้้อนจากบริบิ ทที่่เ� ป็็นผู้�สร้า้ ง ใช่่หรืือ
ไม่่ใช่ต่ ััวตนที่่�อยู่�ภายในรููปแบบ : ลีีลานาฏศิลิ ป์ไ์ ทย (Thai Dance) ที่่ใ� ช้้การร่่ายรำแบบการด้้นสด
(Improvisation) ตามอารมณ์ข์ องดนตรีี แนวคิดิ การสร้า้ งศิิลปะในพื้�นที่�่เฉพาะ (Site-specific)
และแนวคิิดความเรีียบง่่าย (Minimalism) ประกอบสร้า้ งร่ว่ มกัับมุมุ มองทางองค์ป์ ระกอบ
ทัศั นศิลิ ป์์

46 International Art Exhibition Project
“On the Occasion of the 20th Anniversary of
the Faculty of Fine and Applied Arts, Thammasat University”

33 Key Visual Design & Performing Arts

ชอ่ื ศิลปนิ : อาจารย์ ดร.จารุนี อารรี ุ่งเรอื ง
Email [email protected]
เทคนิคการสรา้ งสรรค ์ : Motion Graphic
ขนาดสร้างสรรค์ : Poster size และ Video clip
แนวคิด
การวางทิศทางการออกแบบ (Key Visual Design) สำ�หรับงานการแสดงบนเวที
มีความสำ�คัญอย่างยิง่ และสัมพันธ์กับทัศนองคป์ ระกอบของการแสดง จงึ นำ�เสนอประเด็น
ดังกลา่ วดว้ ยวิจยั สรา้ งสรรค์ Motion Graphic : “Key Visual Design สำ�หรับงานการแสดง”
ในครง้ั น้ี

47

34 Gleaming Decay No. 2

ชื่่อ� ศิิลปินิ : อาจารย์์ ดร.วุุฒิิไกร ศิิริผิ ล
Email : [email protected]
เทคนิคิ การสร้า้ งสรรค์์ : เทคนิคิ ที่ใ่� ช้ใ้ นการสร้า้ งสรรค์ผ์ ลงานการทอมืือ
ขนาดสร้้างสรรค์์ : 90×200 cm
แ นวคิดิ ความงามในความเสื่่�อมสลาย นำเสนอสีีสันั บรรยากาศของจิิตรกรรมไทยในสภาวะ
ผุกุ ร่่อน จัดั วางผสมผสานกับั พื้�นผิวิ ของปีีกแมลงทัับ สร้า้ งสรรค์์ด้้วยวิธิ ีีการที่่พ� ัฒั นามาจากสิ่�งทอ
ในพุุทธศาสนาประเภทผ้้าห่อ่ คัมั ภีีร์แ์ ละตุุง

48 International Art Exhibition Project
“On the Occasion of the 20th Anniversary of
the Faculty of Fine and Applied Arts, Thammasat University”

35 Phoenix Embroidery Design

ชื่อ่� ศิลิ ปิิน : อาจารย์์ ดร.ธีีรศัักดิ์� สะกล
Email : [email protected]
เทคนิิคการสร้า้ งสรรค์์ : Embroidery Digitizer
ขนาดสร้า้ งสรรค์์ : 40 x 80 cm
แ นวคถิิด ่่ายทอดภาพวาดนกฟีนี ิิกซ์ซ์ ึ่่ง� ปรากฏในปกรณัมั ของอีียิิปต์์โบราณ ในฐานะของสัตั ว์์
ศัักดิ์์�สิิทธิ์�ซึ่ง่� คู่�ควรแก่่การบููชา ฟีนี ิกิ ซ์์เกี่่�ยวข้้องกับั เทพแห่่งไฟ เพราะขนของฟีีนิิกซ์์นั้�นจะออกเป็น็
ดป้ว้ รยะไกหามยปเัหกั ลืดิื้อ�นงททอองงแคบล้บา้ ยพิเิเปศลษวเไพืฟ่่อ� เ สสรริ้ิม้าคงสวารมรคโ์ด์ด้ดว้ เยด่เน่ทแคลนิะคิ เพิ่่E�มmมิติ bิิใrหo้้กiัdบั eชิ้r�นyงาDนigitizer ปัักชิ้�นงาน


Click to View FlipBook Version