สรปุ ทฤษฎีพัฒนาการ
การเรียนรู
ทฤษฎพี ัฒนาการทางบุคลกิ ภาพของฟรอยด TITLE
(Freudian Psychoanalytic Theory)
ซกิ มนั ด ฟรอยด
(Sigmund Freud) ทฤษฎีจติ วเิ คราะหของฟรอยด
ฟรอยด (Freud 1856 -1939) เปนชาวออสเตรียคนแรกท่เี หน็
ความสําคญั ของพฒั นาการในวัยเด็ก ถอื วา เปนรากฐานของ
พัฒนาการของบคุ ลิกภาพตอนวยั ผูใหญ เปน ผูส นบั สนุนคํากลาววา
“The child is father of the man” และมคี วามเชื่อวา 5 ป
แรกของชีวิตมคี วามสําคญั มาก เปน ระยะวกิ ฤติของพฒั นนาการชีวิต
จิตมนษุ ย
ทฤษฎอี งฟรอยด ไดแบง จติ ของมนุษยอ อกเปน3ระดับคอื
-จติ สาํ นึก (Conscious) -> ผแู สดงพฤตกิ รรม และรูตวั
-จิตกอนสาํ นกึ (Pre-conscious) -> ส่งิ ท่จี ะดึงขน้ึ มาอยใู น
ระดับจิตสาํ นึกเมื่อจาํ เปนหรอื ตองการ
-จิตไรสาํ นึก (Unconscious) -> สวนลึกภายในจติ ใจดงึ
ข้นึ มายากมอี ทิ ธพิ ลตอพฤติกรรม
สญั ชาตญาณ
ฟรอยดกลาววา มนษุ ยเรามีสัญชาตญาณติดตัวมาแตก ําเนิดและ
ไดแบงไว 2 ชนดิ คอื
1.สัญชาตญาณการดาํ รงชวี ติ (Life instinct) มนษุ ยเ รามพี ลังงาน
ในตวั ตงั้ แตเกิดเรยี กวา “Libido” เปนพลงั งานทีท่ าํ ใหคนเราอยากมี
ชวี ิตอยู อยากสรา งสรรคแ ละมคี วามรัก มแี รงขบั ดานเพศ(Sex)เพื่อ
จดุ เปา หมายคอื ความสุขและความพึงพอใจโดยมีสวนของรางกายทไ่ี ว
ตอ ความรูส กึ เรยี กวา Erogenous Zones แบง สว นตา งๆดังนี้
สว นปาก Oral สว นทางทวารหนกั Anal และสวนทางอวยั วะสืบ
พนั ธ Genital Organ
2.สญั ชาตญาณเพอ่ื ความตาย (Death instinct)
01.46028
1. ขั้นปาก (Oral Stage)
2. ขนั้ ทวารหนัก (Anal Stage)
3. ข้นั อวัยวะเพศ (Phallic Stage)
4. ขั้นแฝง (Latency Stage)
5. ข้นั สนใจเพศตรงขา ม (Genital Stage)
1.ขัน้ ปาก (Oral Stage)
อายุ 0-18 เดือน
1. ข้นั ปาก (Oral Stage) อายุ 0-18 เดือน
มคี วามพงึ พอใจกับทางชอ งปาก เปน วยั ที่พงึ พอใจตอการดูดนมแม
ดดู ขวดนม และการดูดน้วิ ถา หากเดก็ ไดรบั การตอบสนองท่ไี มเ หมาะสมอาจ
สงผลตอบคุ ลกิ ภาพในตอนโตไดเ รียกวา “Oral Personality”
คอื มีลกั ษณะเชน ชอบดูดนวิ้ พดู มาก ชอบดดู หรอื กัดอยูเสมอ
2.ขน้ั ทวารหนกั (Anal Stage)
อายุ 18 เดอื น – 3 ป
เดก็ วัยนี้จะไดร ับความพึงพอใจจากการขบั ถาย ชว งนี้กําลังอยใู นชว งการพัฒนา
การพฒั นาข้นั นี้ก็จะไมม ีปญหา เด็กจะโตขนึ้ มามีบคุ ลิกภาพทเ่ี หมาะสม
หากความคับขอ งใจในสวนนกี้ จ็ ะถกู ฝง แนนไปในจิตใตส าํ นึก เม่ือโตขึน้ กจ็ ะมปี ญ หาทาง
บคุ ลิกภาพทีเ่ รียกกวา “Anal Personality” มอี ยู 2 แบบ
ซ่งึ จะแสดงลกั ษณะอยางใดอยางหนง่ึ ตามความเขมของบุคลิกภาพ คอื
1.บคุ ลิกภาพแบบสมบูรณ (Perfectionist) จะเกิดกบั เด็กทม่ี บี คุ ลกิ ภาพออนแอ
คือเปน คนเจา ระเบยี บ จจู ้ี ยํา้ คิดยํา้ ทาํ กงั วลมากเกนิ ไปโดยเฉพาะในเร่ืองความสะอาด
2.บุคลิกภาพแบบอันธพาล (Anti social) จะเกดิ กับเด็กท่มี ีบคุ ลิกภาพเขมแข็ง คือ เปน
คนไมย อมคน ชอบคัดคานระเบียบแบบแผนทว่ี างไว ไมมรี ะเบียบ
3.ขนั้ อวัยวะเพศ
อายุ 3-5 ป
ความพึงพอใจอยูท ีอ่ วยั วะสืบพนั ธ เปน วยั ทพ่ี งึ พอใจตอ การลบู คลําอวยั วะเพศ
Frustration: เด็กผูชายมี Oedipus Complex
นั่นคือ เดก็ ตดิ แมแ ละรักแมม ากตอ งการเปนเจา ของแมแ ตเ พียงคนเดยี ว
แตใ นขณะเดียวกันกท็ ราบวา แมและพอรกั กนั และก็รูดีวา ตนดอ ยกวาพอ ทกุ อยา งฉะน้ันเดก็ จงึ
เกบ็ กดและพยายามทําตัวใหเ หมอื นกับพอทกุ อยาง
Results: เกดิ “Resolution of Oedipal complex” เลียนแบบพอทําใหเ หมือนผชู าย
Frustration: เดก็ ผหู ญิงมี Electra Complex
ทแี รกเด็กหญงิ ก็รักแมม ากเหมือนเดก็ ชาย แตเมทอโตข้นึ พบวาตนไม
มอี วยั วะเพศเหมือนเด็กผูช าย และมีความสุขรสู กึ อิจฉาผูท่มี อี วยั วะเพศ
ชา แตเมอื่ ทาํ อะไรไมไ ดก ย็ อมรบั และโกรธแมมาก ถอนความรกั จาก
แมม ารกั พอ ท่ีมอี วยั วะเพศทีต่ นปรารถนาจะมี แตขณะเดยี วกนั ก็
ทราบวาแมรักพอ และกร็ ูดีวาตนดอ ยกวาพอทกุ อยา งจงึ แกปญ หา
โดยใชก ลไกปองกนั ตนเองและเปลี่ยนมารกั แม
Results : เกิด Resolution of Electra Complex
เลียนแบบแมทําใหเหมอื นผหู ญิง
4.ข้นั แฝง (Latent Stage)
อายุ 6-12 ป
.
เดก็ วัยนี้อยรู ะหวา งอายุ 6-12ป เปนระยะที่ฟรอยดก ลาววา
เด็กเก็บกดความตอ งการทางเพศหรือความตอ งการทางเพศสงบลง
(Quiescence Period) เด็กชายมกั เลน หรือจับกลมุ กับเดก็ ชาย
สว นเด็กหญงิ ก็จะเลน หรือจบั กลุมกบั เดก็ หญงิ
5.ข้ันสนใจเพศตรงขาม
หรือข้นั วัยรนุ (genital stage)
วยั น้เี ปนวยั รุนเริม่ ตง้ั แตอาย1ิ 2ปข้ึนไปจะมีความตอ งการทางเพศ
วัยน้ีจะมีความสนใจในเพศตรงขาม ซง่ึ เปนระยะเริม่ ตนของวยั ผใู หญ
- ขน้ั อนุบาล อายุ 3-5ป ตรงกับพฒั นาการข้ันอวัยวะสืบพันธุ ซ่งึ เดก็ เรยี นรูความ
แตกตางระหวางเพศ ครูพอแมค วรเปด โอกาสพูดคุยความแตกตางระหวา งเพศหญงิ กับ
เพศชายดว ยถอ ยคาํ ที่เหมาะสมกับวยั ของเดก็ อาจเปรยี บเทยี บส่งิ รอบตัวเชน บาน
ตน ไม และเปน แบบอยางท่ีดีใหก บั เดก็
- ชั้นประถมศกึ ษา อายุ 6-12ป ใหเดก็ ไดทํากิจกรรมตา งๆเพือ่ ใหเ ดก็ ไดมโี อกาสเรียนรู
การปรบั ตัวใหเขากับกฎเกณฑของสงั คม เขา กบั บคุ คลตา งๆ รอบตวั เรียนรูกฎกตกิ า
มารยาท ซ่ึงเดก็ วัยน้จี ะสนใจเลนกับเพื่อนเพศเดียวกนั จงึ เปนโอกาสใหเดก็ ไดเรียนรู
บทบาททางเพศไปดว ยกนั
- ข้ันมธั ยมศกึ ษา อายุ 12-18ป เปน ระยะท่ีเขาสวู ัยรุน เร่ิมสนใจเพศตรงขาม เรยี นรู
บทบาทของผใู หญก ิจกรรมทจ่ี ดั ใหจงึ ควรเปนกิจกรรมกลมุ ทงั้ 2เพศไดร ว มกันทําพรอ มๆกับ
ใหพ ฒั นาความเปน ตัวของตัวเอง การไดท ํากจิ กรรมรวมกบั เพศตรงขา มจะทําใหเ ด็กรูส กึ วา
ไดรบั การตอบสนองความตองการดานการสนใจเพศตรงขา ม
ทฤษฎีจติ สังคมของอรี กิ สนั
(Erikson)
(Erikson’s Psychosocial Theory)
อีริกสนั เกิดทเ่ี มืองแฟรงเฟต ประเทศเยอรมนั อรี ิกสันเปนลกู ศษิ ย
ของฟรอยด ไดสรา งทฤษฎขี ึ้นในแนวทางความคิดของฟรอยด แตไ ด
เนนความสําคญั ทางสงั คม วฒั นธรรม และส่ิงแวดลอ มดานจติ ใจวามี
บทบาทในพัฒนาการบุคลิกภาพมาก
พฒั นาการทางบคุ ลกิ ภาพ
ขั้นท่ี1 ความไวว างใจ – ความไมไววางใจ (Trust Vs Mistrust) อายุ 1-2 ป
อรี กิ สันถอื วาเปนรากฐานท่สี ําคัญของพัฒนาการในวัยตอไป
ความไวว างใจเปน รากฐานทส่ี ําคญั ของการพฒั นาการทางบคุ ลกิ ภาพ
ขั้นท2่ี ความเปนตัวของตวั เองอยางอิสระ ความสงสยั ไมแนใ จตัวเอง
(Autonomous vs Shame and Doubt) อายุ 2-3 ป
ระยะทเ่ี ด็กพยายามใชค าํ พดู ของตวั เองและสาํ รวจโลกรอบๆตัว ถา พอแมสนับสนนุ
จะทาํ ใหเ ดก็ รจู ักชวยตนเองและมีอิสระ สงเสรมิ ความสามารถของเด็ก
ขนั้ ที่ 3 การเปนผูค ดิ ริเริ่ม การรสู ึกผดิ (Initiative vs Guilt) ข้ันท่ี 4 ความขยนั หม่นั เพียรกบั ความรสู ึกตํ่าตอย
อายุ 3-5ป ผูใ หญชว ยจัดสภาพแวดลอมเพอ่ื สนบั สนุนความคดิ (Industry vs Inferiority) อายุ 6-12ป
สรา งสรรคของเดก็ เด็กจะมีความคิดสรางสรรคเพม่ิ หากหา มปราม
ชว งวัยเดก็ ตอนปลายเปน ระยะทเ่ี ด็กมีความเจรญิ เติบโตและมีความ
ดเุ ด็ก จะทาํ ใหพ ฤติกรรมการอยากรู ทดลอง คอยๆลดลง อยากรูอ ยากเห็นในสงิ่ แวดลอมตาง ๆ จุดสําคญั ของพัฒนาการ
ระยะน้ีคอื การไดแสดงความสามารถ
ขนั้ ที่ 5 อัตภาพ หรือการรูจักวา ตนเองเปน เอกลักษณ
การไมร ูจักตนเองหรอื สบั สนในบทบาทในสังคม
(Ego identity vs Role Confusion) อายุ 13-20ป
ในวยั นเ้ี ดก็ วัยรุนจะเกดิ ความคิดสงสัยในตัวเอง จะแสวงหาตน
ตามอุดมคติ (Ego-ideal) คนหาอัตลกั ษณเ พอ่ื ปรับตวั ใหเ ขากับ
บทบาทใหมในสงั คม
ขัน้ ที่ 6 ความใกลชิดผกู พัน-ความอา งวา งตวั คนเดยี ว (Intimacy vs isolation)
อายุ 21-35 ป รูจ ักตนเองวามีจดุ มุง หมายในชีวิตอยา งไร
เปนวัยท่ีพรอมท่จี ะมคี วามสัมพันธกบั เพื่อนตางเพศในฐานะ
เพอื่ นสนิทเสยี สละใหก ันและกนั
ขนั้ ท่ี 7 ความเปนหวงชนรุนหลัง – ความคิดถึงแตต นเอง
(Generativity vs Stagnation) อายุ 36-59ป เปนวัยทีเ่ ปน
หว งเพือ่ นรวมโลกโดยท่วั ไปหรอื เปนหว งเยาวชนคนรุน หลัง
สรา งประโยชนใหก ับสังคม
ขั้นท่ี 8 ความพอใจในตนเอง – ความสิน้ หวังและไมพ อใจในตนเอง
(Ego Integrity vs Despair) อายุ 60-80ปขนึ้ ไป
ในวยั นเ้ี ปน ระยะบ้ันปลายของชีวิต บุคลิกภาพของคนวัยนี้มักจะเปน
ผลรวมของวัย 7 วัยทผ่ี า นมา
การประยกุ ตใ ชท ฤษฎจี ิตสงั คม ระดับชั้นอนุบาล 3-5 ป
ของอีรกิ สัน(Erikson)
สงเสริมพฒั นาการของวยั นี้ดว ยการใหโ อกาสเดก็
1 ไดทดลองเลนแบบตา งๆ ในโลกจินตนาการ
3-5ป ระดับชั้นประถมศกึ ษา 6-12 ป
6-212ป สง เสริมท่เี หมาะสมเด็กจะเกิดพฒั นาลักษณะ
กระตอื รอื รน ขยนั หมัน่ เพียร
3
ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษา 13-18 ป
13-20ป
เปนระยะหัวเลยี้ วหวั ตอ ของชีวิต ถาเล้ยี วถกู ทางก็จะประสบความสาํ เร็จในชวี ติ
แตถ า หากเลี้ยวผิดกเ็ ทากบั หลงทางชีวิต
ทฤษฎีพัฒนาการเชาวนป ญ ญาของเพยี เจต
(Piaget’s Cognitive Development Theory)
เปน นักจติ วทิ ยาชาวสวิสเซอรแ ลนด เปนผเู ชี่ยวชาญในทฤษฎีพฒั นาการ
ทางดา นสตปิ ญญา เขากลา ววา เด็กจะสรา งความรูหรอื พฒั นาสตปิ ญญาผาน
การปรับตัวใหเขากับสงิ่ แวดลอม และมีพฒั นาการทางสติปญ ญาตามชว งวัย
ดวยกันท้ังหมด 4 ขนั้ ดวยความเชอื่ วา คนเราพฒั นาศกั ยภาพทางสติปญ ญา
ตามการเจรญิ เตบิ โตของเรา ตั้งแตเด็กจนถงึ เปนวัยแรกรุน
เพียเจต (Jean Piaget)
ขัน้ พัฒนาการเชาวนปญ ญา
เพยี เจตไดแ บงขน้ั ประสาทรบั รแู ละการคลอ่ื นไหว
ออกเปน ขน้ั ยอ ย 6 ขอดงั นี้
1 ข้ันปฏกิ ิรยิ าสะทอ น (Reflexive) 0-1เดือน
2. ข้ันพฒั นาอวยั วะเคล่ือนไหวดานประสบการณเบ้ืองตน
(Primary Circular Reactions) 1-3เดอื น
3. ขั้นพัฒนาเคล่ือนไหวโดยมจี ดุ มุงหมาย
(Secondary Circular Reactions) 4-6เดอื น
ขนั้ ที่ 1 ขัน้ ประสาทรับรูแ ละการเคล่ือนไหว 4. ขัน้ พัฒนาการประสานของอวยั วะ
(Sensorimotor Stage) อายุ 0-2 ป (Coordination of Secondary Reactions) 7-10เดอื น
ระยะท่ี 1 เรียกวา ขั้นของการใชป ระสาทสมั ผสั และกลา มเน้อื 5.ข้นั พฒั นาการความคดิ รเิ ริม่ แบบลองผิดลองถูก
พฤติกรรมของเดก็ ในวยั นี้ข้นึ อยูกบั การเคล่อื นไหวเปนสวนใหญ (Tertiary Circular Reactions) 11-18 เดอื น
6.การเรม่ิ ตน ของความคิด (Beginning of Thought) 18เดือน ถึง 2ขวบ
ข้ันท่ี 4 ขัน้ ปฏิบัตกิ ารคิดดว ยนามธรรม
(Formal Operations Stage) 12 ป ข้ึนไป
ในวัยนเ้ี ขาจะไมคดิ จากสงิ่ ที่เห็นหรือไดยนิ เพียงอยางเดียว
เทาน้ัน แตจะคดิ ถงึ สิ่งทเี่ คยเกดิ ขน้ึ ในอดตี และคาดเดาถงึ
อนาคตทจ่ี ะเกดิ ข้นึ ขา งหนา เพื่อใหไดส มมติฐานท่ี
สมเหตุสมผลมาสนับสนุนความคิด
การประยกุ ตใชทฤษฎใี นการ ระดับประถมศึกษาตอนตน 01
จัดการเรยี นการสอน
ของเพยี เจต เน้ือหาหลกั สตู รและกิจกรรมการเรยี นการสอน
ควรจัดใหส อดคลอ งกับความสามารถ
และความสนใจ เชน การวาดรูป
02 ระดับประถมศกึ ษาตอนปลาย
สามารถสรา งภาพในใจ คิดยอ นกลับ การจดั ลาํ ดับ จัดกลุม
ไดเปนอยางดี การสอนคณิตศาสตร วิทยาศาสตร
เปน วชิ าทเ่ี หมาะสมกับพฒั นาการของเด็กวัยน้ีมาก 03
ระดบั มธั ยมศกึ ษา
พฒั นาการทางปญญาของเดก็ อยใู นขั้นการคดิ เหตผุ ลเชงิ นามธรรม
หลักสตู รจงึ ควรมลี กั ษณะซับซอ นทา ทายใหเด็กคดิ วิเคราะห
ลอเรนส โคลเบิรก ทฤษฎพี ฒั นาการทางจริยธรรมของโคลเบิรก
(Lawrence Kohlberg) (Moral Development Theory)
ลอเรนส โคลเบริ ก (Lawrence Kohlberg)
ชาวอเมรกิ นั ยวิ เกดิ ในเมอื ง Bronxville New York
เปน ผูสนใจความประพฤติ ถูก-ผิด-ด-ี ชวั่ ของมนษุ ย
ทฤษฎขี องโคลเบิรก ไดชอ่ื ทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรม
โคลเบริ ก ไดศ กึ ษาวจิ ัยพฒั นาการทางจรยิ ธรรมตามแนวทฤษฎีของเพียเจต
ขน้ั พฒั นาการดา นจรยิ ธรรมของโคลเบริ ก
ระดบั ที่ 1 กอนมีจรยิ ธรรมหรือระดบั กอนกฎเกณฑส ังคม
ระดบั ที่ 2 มีจริธรรมอยา งเปนแบบแผน
ระดับที่ 3 จริยธรรมอยา งมีวญิ ญาณ
ระดับท่ี 1 ระดับกอนกฎเกณฑสงั คม
จะพบในเด็ก อาย2ุ -10 ป
ขั้นท่ี 1 ระดบั จรยิ ธรรมของผูอนื่ ในขน้ั นี้เด็กจะใชผ ลตามของพฤติกรรมเปน
เครื่องชี้วาพฤติกรรมของตน“ถูก”หรือ“ผิด”เปน ตนวา ถาเดก็ ถูกทําโทษ
ก็จะคดิ วาสงิ่ ทต่ี นทาํ “ผดิ ” และจะพยายามหลีกเลยี่ งไมทาํ สง่ิ นน้ั อีก
พฤติกรรมใดท่มี ผี ลตามดวยรางวลั หรือคาํ ชม เดก็ กจ็ ะคดิ วาสงิ่ ทีต่ นทํา“ถูก”
และจะทาํ ซ้ําอกี เพอ่ื หวังรางวัล
ขนั้ ท่ี 2 ระดบั จริยธรรมของผอู ื่นในขั้นนเ้ี ด็กจะสนใจทาํ ตามกฎขอบังคับเพอื่
ประโยชนห รอื ความพอใจของตนเอง หรือทาํ ดเี พราอยากไดของตอบแทน
พฤติกรรมของเด็กในขนั้ นี้ทาํ เพื่อสนองความตอ งการของตนเอง
ระดบั ที่ 2 ระดบั จรยิ ธรรมตามกฎเกณฑสังคม
จะพบในวยั รนุ อายุ 10-16 ป
ขนั้ ท่ี 3 การยอมรบั ของกลมุ หรือสังคม พบในวยั รุน อายุ 10-13 ป
ข้ันนแี้ สดงพฤตกิ รรมเพ่ือตอ งการเปนทีย่ อมรบั ของหมูคณะ การชวยเหลอื
ผูอ่ืนเพือ่ ทาํ ใหเ ขาพอใจ
ข้นั ที่ 4 กฎและระเบยี บของสังคม พบในอายุ 13 -16 ป
ข้นั นแ้ี สดงพฤตกิ รรมเพอ่ื ทาํ ตามหนา ทีข่ องสังคม
ปฏิบตั ติ ามระเบยี บของสงั คมอยา งเครง ครดั
ระดับที่ 3 ระดบั จริยธรรมอยา งมีวิจารณญาณ
อายุ 20ปขึ้นไป
ขนั้ ท่ี 5 พฤตกิ รรมขึ้นอยูกบั การทําตามสัญญาสงั คม
ใชความคดิ และเหตุผลเปรยี บเทียบวาสง่ิ ไหนผดิ และสิง่ ไหนถูกในขน้ั นก้ี าร
“ถูก” และ “ผิด” ขน้ึ อยูก ับคานิยมและความคิดเหน็ ของบคุ คลแตล ะบคุ คล
ข้ันท่ี 6 หลกั การคุณธรรมสากล
เปน หลกั การเพือ่ มนุษยธรรมเพอ่ื ความเสมอภาคในสทิ ธมิ นษุ ยชนและเพ่ือ
ความยตุ ธิ รรมของมนษุ ยทกุ คน ในข้ันนีส้ ง่ิ ท่ี “ถูก” และ “ผดิ ”
เปนส่ิงทีข่ นึ้ มโนธรรมของแตล ะบคุ คลทเ่ี ลือกยึดถอื
01 ครูทําตัวเปนแมแบบทไ่ี มกาวรา ว ประยุกตใ ชทฤษฎี 04 ใหความรูเกย่ี วกับพฤตกิ รรมทาง
- ไมข ม ขู กา วรา วเพ่ือใหเ ด็กเชือ่ ฟง ของโคลเบริ ก สงั คมที่เหมาะสมแกเดก็
- ไมควรแกป ญหาดว ยวธิ รี นุ แรง
03 อยา ใหเดก็ ไดรบั ประโยชนจ าก - รวบรวมบทความเกีย่ วกบั พฤตกิ รรม
02 พยายามจดั หอ งเรียนใหมีทน่ี ่งั พฤติกรรมกา วราว ทางสังคมทเ่ี หมาะกับเดก็
เพยี งพอและมีวสั ดอุ ปุ กรณครบ
- ใชว ธิ ีลงโทษอยางมีเหตุผล 05 ใหโ อกาสเด็กรว มกจิ กรรมเพ่ือ
- ไมจ ดั หอ งแออดั ยดั เยียด ปลกู ฝงพฤตกิ รรมการรว มมอื
- มอบหมายงานที่ทําเปน กลมุ เพอื่
สงเสรมิ ความรว มมอื
Thank you
จัดทําโดย นางสาวสชุ าดา อบุ ลวงค
16315215 เลขท่ี 21 สขาการสอนภาษาองั กฤษ