The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุปทฤษฎีพัฒนาการการเรียนรู้

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by suchada.cafe, 2021-03-14 08:10:48

สรุปทฤษฎีพัฒนาการการเรียนรู้

สรุปทฤษฎีพัฒนาการการเรียนรู้

สรปุ ทฤษฎีพัฒนาการ
การเรียนรู

ทฤษฎพี ัฒนาการทางบุคลกิ ภาพของฟรอยด TITLE
(Freudian Psychoanalytic Theory)
ซกิ มนั ด ฟรอยด
(Sigmund Freud) ทฤษฎีจติ วเิ คราะหของฟรอยด
ฟรอยด (Freud 1856 -1939) เปนชาวออสเตรียคนแรกท่เี หน็

ความสําคญั ของพฒั นาการในวัยเด็ก ถอื วา เปนรากฐานของ
พัฒนาการของบคุ ลิกภาพตอนวยั ผูใหญ เปน ผูส นบั สนุนคํากลาววา
“The child is father of the man” และมคี วามเชื่อวา 5 ป
แรกของชีวิตมคี วามสําคญั มาก เปน ระยะวกิ ฤติของพฒั นนาการชีวิต

จิตมนษุ ย

ทฤษฎอี งฟรอยด ไดแบง จติ ของมนุษยอ อกเปน3ระดับคอื
-จติ สาํ นึก (Conscious) -> ผแู สดงพฤตกิ รรม และรูตวั
-จิตกอนสาํ นกึ (Pre-conscious) -> ส่งิ ท่จี ะดึงขน้ึ มาอยใู น
ระดับจิตสาํ นึกเมื่อจาํ เปนหรอื ตองการ
-จิตไรสาํ นึก (Unconscious) -> สวนลึกภายในจติ ใจดงึ
ข้นึ มายากมอี ทิ ธพิ ลตอพฤติกรรม

สญั ชาตญาณ

ฟรอยดกลาววา มนษุ ยเรามีสัญชาตญาณติดตัวมาแตก ําเนิดและ
ไดแบงไว 2 ชนดิ คอื

1.สัญชาตญาณการดาํ รงชวี ติ (Life instinct) มนษุ ยเ รามพี ลังงาน
ในตวั ตงั้ แตเกิดเรยี กวา “Libido” เปนพลงั งานทีท่ าํ ใหคนเราอยากมี
ชวี ิตอยู อยากสรา งสรรคแ ละมคี วามรัก มแี รงขบั ดานเพศ(Sex)เพื่อ
จดุ เปา หมายคอื ความสุขและความพึงพอใจโดยมีสวนของรางกายทไ่ี ว

ตอ ความรูส กึ เรยี กวา Erogenous Zones แบง สว นตา งๆดังนี้
สว นปาก Oral สว นทางทวารหนกั Anal และสวนทางอวยั วะสืบ

พนั ธ Genital Organ
2.สญั ชาตญาณเพอ่ื ความตาย (Death instinct)

01.46028

1. ขั้นปาก (Oral Stage)
2. ขนั้ ทวารหนัก (Anal Stage)
3. ข้นั อวัยวะเพศ (Phallic Stage)
4. ขั้นแฝง (Latency Stage)
5. ข้นั สนใจเพศตรงขา ม (Genital Stage)

1.ขัน้ ปาก (Oral Stage)
อายุ 0-18 เดือน

1. ข้นั ปาก (Oral Stage) อายุ 0-18 เดือน

มคี วามพงึ พอใจกับทางชอ งปาก เปน วยั ที่พงึ พอใจตอการดูดนมแม
ดดู ขวดนม และการดูดน้วิ ถา หากเดก็ ไดรบั การตอบสนองท่ไี มเ หมาะสมอาจ

สงผลตอบคุ ลกิ ภาพในตอนโตไดเ รียกวา “Oral Personality”
คอื มีลกั ษณะเชน ชอบดูดนวิ้ พดู มาก ชอบดดู หรอื กัดอยูเสมอ

2.ขน้ั ทวารหนกั (Anal Stage)
อายุ 18 เดอื น – 3 ป

เดก็ วัยนี้จะไดร ับความพึงพอใจจากการขบั ถาย ชว งนี้กําลังอยใู นชว งการพัฒนา
การพฒั นาข้นั นี้ก็จะไมม ีปญหา เด็กจะโตขนึ้ มามีบคุ ลิกภาพทเ่ี หมาะสม

หากความคับขอ งใจในสวนนกี้ จ็ ะถกู ฝง แนนไปในจิตใตส าํ นึก เม่ือโตขึน้ กจ็ ะมปี ญ หาทาง
บคุ ลิกภาพทีเ่ รียกกวา “Anal Personality” มอี ยู 2 แบบ

ซ่งึ จะแสดงลกั ษณะอยางใดอยางหนง่ึ ตามความเขมของบุคลิกภาพ คอื
1.บคุ ลิกภาพแบบสมบูรณ (Perfectionist) จะเกิดกบั เด็กทม่ี บี คุ ลกิ ภาพออนแอ
คือเปน คนเจา ระเบยี บ จจู ้ี ยํา้ คิดยํา้ ทาํ กงั วลมากเกนิ ไปโดยเฉพาะในเร่ืองความสะอาด
2.บุคลิกภาพแบบอันธพาล (Anti social) จะเกดิ กับเด็กท่มี ีบคุ ลิกภาพเขมแข็ง คือ เปน

คนไมย อมคน ชอบคัดคานระเบียบแบบแผนทว่ี างไว ไมมรี ะเบียบ

3.ขนั้ อวัยวะเพศ
อายุ 3-5 ป

ความพึงพอใจอยูท ีอ่ วยั วะสืบพนั ธ เปน วยั ทพ่ี งึ พอใจตอ การลบู คลําอวยั วะเพศ
Frustration: เด็กผูชายมี Oedipus Complex

นั่นคือ เดก็ ตดิ แมแ ละรักแมม ากตอ งการเปนเจา ของแมแ ตเ พียงคนเดยี ว
แตใ นขณะเดียวกันกท็ ราบวา แมและพอรกั กนั และก็รูดีวา ตนดอ ยกวาพอ ทกุ อยา งฉะน้ันเดก็ จงึ

เกบ็ กดและพยายามทําตัวใหเ หมอื นกับพอทกุ อยาง
Results: เกดิ “Resolution of Oedipal complex” เลียนแบบพอทําใหเ หมือนผชู าย

Frustration: เดก็ ผหู ญิงมี Electra Complex
ทแี รกเด็กหญงิ ก็รักแมม ากเหมือนเดก็ ชาย แตเมทอโตข้นึ พบวาตนไม
มอี วยั วะเพศเหมือนเด็กผูช าย และมีความสุขรสู กึ อิจฉาผูท่มี อี วยั วะเพศ
ชา แตเมอื่ ทาํ อะไรไมไ ดก ย็ อมรบั และโกรธแมมาก ถอนความรกั จาก
แมม ารกั พอ ท่ีมอี วยั วะเพศทีต่ นปรารถนาจะมี แตขณะเดยี วกนั ก็
ทราบวาแมรักพอ และกร็ ูดีวาตนดอ ยกวาพอทกุ อยา งจงึ แกปญ หา

โดยใชก ลไกปองกนั ตนเองและเปลี่ยนมารกั แม
Results : เกิด Resolution of Electra Complex

เลียนแบบแมทําใหเหมอื นผหู ญิง

4.ข้นั แฝง (Latent Stage)
อายุ 6-12 ป

.

เดก็ วัยนี้อยรู ะหวา งอายุ 6-12ป เปนระยะที่ฟรอยดก ลาววา
เด็กเก็บกดความตอ งการทางเพศหรือความตอ งการทางเพศสงบลง

(Quiescence Period) เด็กชายมกั เลน หรือจับกลมุ กับเดก็ ชาย
สว นเด็กหญงิ ก็จะเลน หรือจบั กลุมกบั เดก็ หญงิ

5.ข้ันสนใจเพศตรงขาม
หรือข้นั วัยรนุ (genital stage)

วยั น้เี ปนวยั รุนเริม่ ตง้ั แตอาย1ิ 2ปข้ึนไปจะมีความตอ งการทางเพศ
วัยน้ีจะมีความสนใจในเพศตรงขาม ซง่ึ เปนระยะเริม่ ตนของวยั ผใู หญ

- ขน้ั อนุบาล อายุ 3-5ป ตรงกับพฒั นาการข้ันอวัยวะสืบพันธุ ซ่งึ เดก็ เรยี นรูความ
แตกตางระหวางเพศ ครูพอแมค วรเปด โอกาสพูดคุยความแตกตางระหวา งเพศหญงิ กับ
เพศชายดว ยถอ ยคาํ ที่เหมาะสมกับวยั ของเดก็ อาจเปรยี บเทยี บส่งิ รอบตัวเชน บาน
ตน ไม และเปน แบบอยางท่ีดีใหก บั เดก็

- ชั้นประถมศกึ ษา อายุ 6-12ป ใหเดก็ ไดทํากิจกรรมตา งๆเพือ่ ใหเ ดก็ ไดมโี อกาสเรียนรู
การปรบั ตัวใหเขากับกฎเกณฑของสงั คม เขา กบั บคุ คลตา งๆ รอบตวั เรียนรูกฎกตกิ า
มารยาท ซ่ึงเดก็ วัยน้จี ะสนใจเลนกับเพื่อนเพศเดียวกนั จงึ เปนโอกาสใหเดก็ ไดเรียนรู

บทบาททางเพศไปดว ยกนั
- ข้ันมธั ยมศกึ ษา อายุ 12-18ป เปน ระยะท่ีเขาสวู ัยรุน เร่ิมสนใจเพศตรงขาม เรยี นรู
บทบาทของผใู หญก ิจกรรมทจ่ี ดั ใหจงึ ควรเปนกิจกรรมกลมุ ทงั้ 2เพศไดร ว มกันทําพรอ มๆกับ
ใหพ ฒั นาความเปน ตัวของตัวเอง การไดท ํากจิ กรรมรวมกบั เพศตรงขา มจะทําใหเ ด็กรูส กึ วา

ไดรบั การตอบสนองความตองการดานการสนใจเพศตรงขา ม

ทฤษฎีจติ สังคมของอรี กิ สนั
(Erikson)

(Erikson’s Psychosocial Theory)

อีริกสนั เกิดทเ่ี มืองแฟรงเฟต ประเทศเยอรมนั อรี ิกสันเปนลกู ศษิ ย
ของฟรอยด ไดสรา งทฤษฎขี ึ้นในแนวทางความคิดของฟรอยด แตไ ด
เนนความสําคญั ทางสงั คม วฒั นธรรม และส่ิงแวดลอ มดานจติ ใจวามี

บทบาทในพัฒนาการบุคลิกภาพมาก

พฒั นาการทางบคุ ลกิ ภาพ

ขั้นท่ี1 ความไวว างใจ – ความไมไววางใจ (Trust Vs Mistrust) อายุ 1-2 ป
อรี กิ สันถอื วาเปนรากฐานท่สี ําคัญของพัฒนาการในวัยตอไป

ความไวว างใจเปน รากฐานทส่ี ําคญั ของการพฒั นาการทางบคุ ลกิ ภาพ

ขั้นท2่ี ความเปนตัวของตวั เองอยางอิสระ ความสงสยั ไมแนใ จตัวเอง
(Autonomous vs Shame and Doubt) อายุ 2-3 ป

ระยะทเ่ี ด็กพยายามใชค าํ พดู ของตวั เองและสาํ รวจโลกรอบๆตัว ถา พอแมสนับสนนุ
จะทาํ ใหเ ดก็ รจู ักชวยตนเองและมีอิสระ สงเสรมิ ความสามารถของเด็ก

ขนั้ ที่ 3 การเปนผูค ดิ ริเริ่ม การรสู ึกผดิ (Initiative vs Guilt) ข้ันท่ี 4 ความขยนั หม่นั เพียรกบั ความรสู ึกตํ่าตอย
อายุ 3-5ป ผูใ หญชว ยจัดสภาพแวดลอมเพอ่ื สนบั สนุนความคดิ (Industry vs Inferiority) อายุ 6-12ป
สรา งสรรคของเดก็ เด็กจะมีความคิดสรางสรรคเพม่ิ หากหา มปราม
ชว งวัยเดก็ ตอนปลายเปน ระยะทเ่ี ด็กมีความเจรญิ เติบโตและมีความ
ดเุ ด็ก จะทาํ ใหพ ฤติกรรมการอยากรู ทดลอง คอยๆลดลง อยากรูอ ยากเห็นในสงิ่ แวดลอมตาง ๆ จุดสําคญั ของพัฒนาการ

ระยะน้ีคอื การไดแสดงความสามารถ

ขนั้ ที่ 5 อัตภาพ หรือการรูจักวา ตนเองเปน เอกลักษณ
การไมร ูจักตนเองหรอื สบั สนในบทบาทในสังคม

(Ego identity vs Role Confusion) อายุ 13-20ป
ในวยั นเ้ี ดก็ วัยรุนจะเกดิ ความคิดสงสัยในตัวเอง จะแสวงหาตน
ตามอุดมคติ (Ego-ideal) คนหาอัตลกั ษณเ พอ่ื ปรับตวั ใหเ ขากับ

บทบาทใหมในสงั คม

ขัน้ ที่ 6 ความใกลชิดผกู พัน-ความอา งวา งตวั คนเดยี ว (Intimacy vs isolation)
อายุ 21-35 ป รูจ ักตนเองวามีจดุ มุง หมายในชีวิตอยา งไร
เปนวัยท่ีพรอมท่จี ะมคี วามสัมพันธกบั เพื่อนตางเพศในฐานะ
เพอื่ นสนิทเสยี สละใหก ันและกนั

ขนั้ ท่ี 7 ความเปนหวงชนรุนหลัง – ความคิดถึงแตต นเอง
(Generativity vs Stagnation) อายุ 36-59ป เปนวัยทีเ่ ปน
หว งเพือ่ นรวมโลกโดยท่วั ไปหรอื เปนหว งเยาวชนคนรุน หลัง

สรา งประโยชนใหก ับสังคม

ขั้นท่ี 8 ความพอใจในตนเอง – ความสิน้ หวังและไมพ อใจในตนเอง
(Ego Integrity vs Despair) อายุ 60-80ปขนึ้ ไป

ในวยั นเ้ี ปน ระยะบ้ันปลายของชีวิต บุคลิกภาพของคนวัยนี้มักจะเปน
ผลรวมของวัย 7 วัยทผ่ี า นมา

การประยกุ ตใ ชท ฤษฎจี ิตสงั คม ระดับชั้นอนุบาล 3-5 ป
ของอีรกิ สัน(Erikson)
สงเสริมพฒั นาการของวยั นี้ดว ยการใหโ อกาสเดก็
1 ไดทดลองเลนแบบตา งๆ ในโลกจินตนาการ

3-5ป ระดับชั้นประถมศกึ ษา 6-12 ป

6-212ป สง เสริมท่เี หมาะสมเด็กจะเกิดพฒั นาลักษณะ
กระตอื รอื รน ขยนั หมัน่ เพียร
3
ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษา 13-18 ป
13-20ป
เปนระยะหัวเลยี้ วหวั ตอ ของชีวิต ถาเล้ยี วถกู ทางก็จะประสบความสาํ เร็จในชวี ติ
แตถ า หากเลี้ยวผิดกเ็ ทากบั หลงทางชีวิต

ทฤษฎีพัฒนาการเชาวนป ญ ญาของเพยี เจต
(Piaget’s Cognitive Development Theory)

เปน นักจติ วทิ ยาชาวสวิสเซอรแ ลนด เปนผเู ชี่ยวชาญในทฤษฎีพฒั นาการ
ทางดา นสตปิ ญญา เขากลา ววา เด็กจะสรา งความรูหรอื พฒั นาสตปิ ญญาผาน
การปรับตัวใหเขากับสงิ่ แวดลอม และมีพฒั นาการทางสติปญ ญาตามชว งวัย
ดวยกันท้ังหมด 4 ขนั้ ดวยความเชอื่ วา คนเราพฒั นาศกั ยภาพทางสติปญ ญา

ตามการเจรญิ เตบิ โตของเรา ตั้งแตเด็กจนถงึ เปนวัยแรกรุน

เพียเจต (Jean Piaget)

ขัน้ พัฒนาการเชาวนปญ ญา

เพยี เจตไดแ บงขน้ั ประสาทรบั รแู ละการคลอ่ื นไหว
ออกเปน ขน้ั ยอ ย 6 ขอดงั นี้

1 ข้ันปฏกิ ิรยิ าสะทอ น (Reflexive) 0-1เดือน
2. ข้ันพฒั นาอวยั วะเคล่ือนไหวดานประสบการณเบ้ืองตน

(Primary Circular Reactions) 1-3เดอื น
3. ขั้นพัฒนาเคล่ือนไหวโดยมจี ดุ มุงหมาย
(Secondary Circular Reactions) 4-6เดอื น

ขนั้ ที่ 1 ขัน้ ประสาทรับรูแ ละการเคล่ือนไหว 4. ขัน้ พัฒนาการประสานของอวยั วะ
(Sensorimotor Stage) อายุ 0-2 ป (Coordination of Secondary Reactions) 7-10เดอื น

ระยะท่ี 1 เรียกวา ขั้นของการใชป ระสาทสมั ผสั และกลา มเน้อื 5.ข้นั พฒั นาการความคดิ รเิ ริม่ แบบลองผิดลองถูก
พฤติกรรมของเดก็ ในวยั นี้ข้นึ อยูกบั การเคล่อื นไหวเปนสวนใหญ (Tertiary Circular Reactions) 11-18 เดอื น
6.การเรม่ิ ตน ของความคิด (Beginning of Thought) 18เดือน ถึง 2ขวบ



ข้ันท่ี 4 ขัน้ ปฏิบัตกิ ารคิดดว ยนามธรรม
(Formal Operations Stage) 12 ป ข้ึนไป

ในวัยนเ้ี ขาจะไมคดิ จากสงิ่ ที่เห็นหรือไดยนิ เพียงอยางเดียว
เทาน้ัน แตจะคดิ ถงึ สิ่งทเี่ คยเกดิ ขน้ึ ในอดตี และคาดเดาถงึ

อนาคตทจ่ี ะเกดิ ข้นึ ขา งหนา เพื่อใหไดส มมติฐานท่ี
สมเหตุสมผลมาสนับสนุนความคิด

การประยกุ ตใชทฤษฎใี นการ ระดับประถมศึกษาตอนตน 01
จัดการเรยี นการสอน
ของเพยี เจต เน้ือหาหลกั สตู รและกิจกรรมการเรยี นการสอน

ควรจัดใหส อดคลอ งกับความสามารถ

และความสนใจ เชน การวาดรูป

02 ระดับประถมศกึ ษาตอนปลาย

สามารถสรา งภาพในใจ คิดยอ นกลับ การจดั ลาํ ดับ จัดกลุม

ไดเปนอยางดี การสอนคณิตศาสตร วิทยาศาสตร

เปน วชิ าทเ่ี หมาะสมกับพฒั นาการของเด็กวัยน้ีมาก 03

ระดบั มธั ยมศกึ ษา

พฒั นาการทางปญญาของเดก็ อยใู นขั้นการคดิ เหตผุ ลเชงิ นามธรรม

หลักสตู รจงึ ควรมลี กั ษณะซับซอ นทา ทายใหเด็กคดิ วิเคราะห

ลอเรนส โคลเบิรก ทฤษฎพี ฒั นาการทางจริยธรรมของโคลเบิรก
(Lawrence Kohlberg) (Moral Development Theory)

ลอเรนส โคลเบริ ก (Lawrence Kohlberg)
ชาวอเมรกิ นั ยวิ เกดิ ในเมอื ง Bronxville New York
เปน ผูสนใจความประพฤติ ถูก-ผิด-ด-ี ชวั่ ของมนษุ ย
ทฤษฎขี องโคลเบิรก ไดชอ่ื ทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรม
โคลเบริ ก ไดศ กึ ษาวจิ ัยพฒั นาการทางจรยิ ธรรมตามแนวทฤษฎีของเพียเจต

ขน้ั พฒั นาการดา นจรยิ ธรรมของโคลเบริ ก

ระดบั ที่ 1 กอนมีจรยิ ธรรมหรือระดบั กอนกฎเกณฑส ังคม
ระดบั ที่ 2 มีจริธรรมอยา งเปนแบบแผน
ระดับที่ 3 จริยธรรมอยา งมีวญิ ญาณ

ระดับท่ี 1 ระดับกอนกฎเกณฑสงั คม
จะพบในเด็ก อาย2ุ -10 ป

ขั้นท่ี 1 ระดบั จรยิ ธรรมของผูอนื่ ในขน้ั นี้เด็กจะใชผ ลตามของพฤติกรรมเปน
เครื่องชี้วาพฤติกรรมของตน“ถูก”หรือ“ผิด”เปน ตนวา ถาเดก็ ถูกทําโทษ
ก็จะคดิ วาสงิ่ ทต่ี นทาํ “ผดิ ” และจะพยายามหลีกเลยี่ งไมทาํ สง่ิ นน้ั อีก

พฤติกรรมใดท่มี ผี ลตามดวยรางวลั หรือคาํ ชม เดก็ กจ็ ะคดิ วาสงิ่ ทีต่ นทํา“ถูก”
และจะทาํ ซ้ําอกี เพอ่ื หวังรางวัล

ขนั้ ท่ี 2 ระดบั จริยธรรมของผอู ื่นในขั้นนเ้ี ด็กจะสนใจทาํ ตามกฎขอบังคับเพอื่
ประโยชนห รอื ความพอใจของตนเอง หรือทาํ ดเี พราอยากไดของตอบแทน

พฤติกรรมของเด็กในขนั้ นี้ทาํ เพื่อสนองความตอ งการของตนเอง

ระดบั ที่ 2 ระดบั จรยิ ธรรมตามกฎเกณฑสังคม
จะพบในวยั รนุ อายุ 10-16 ป

ขนั้ ท่ี 3 การยอมรบั ของกลมุ หรือสังคม พบในวยั รุน อายุ 10-13 ป
ข้ันนแี้ สดงพฤตกิ รรมเพ่ือตอ งการเปนทีย่ อมรบั ของหมูคณะ การชวยเหลอื

ผูอ่ืนเพือ่ ทาํ ใหเ ขาพอใจ
ข้นั ที่ 4 กฎและระเบยี บของสังคม พบในอายุ 13 -16 ป
ข้นั นแ้ี สดงพฤตกิ รรมเพอ่ื ทาํ ตามหนา ทีข่ องสังคม
ปฏิบตั ติ ามระเบยี บของสงั คมอยา งเครง ครดั

ระดับที่ 3 ระดบั จริยธรรมอยา งมีวิจารณญาณ
อายุ 20ปขึ้นไป

ขนั้ ท่ี 5 พฤตกิ รรมขึ้นอยูกบั การทําตามสัญญาสงั คม

ใชความคดิ และเหตุผลเปรยี บเทียบวาสง่ิ ไหนผดิ และสิง่ ไหนถูกในขน้ั นก้ี าร
“ถูก” และ “ผิด” ขน้ึ อยูก ับคานิยมและความคิดเหน็ ของบคุ คลแตล ะบคุ คล

ข้ันท่ี 6 หลกั การคุณธรรมสากล

เปน หลกั การเพือ่ มนุษยธรรมเพอ่ื ความเสมอภาคในสทิ ธมิ นษุ ยชนและเพ่ือ
ความยตุ ธิ รรมของมนษุ ยทกุ คน ในข้ันนีส้ ง่ิ ท่ี “ถูก” และ “ผดิ ”
เปนส่ิงทีข่ นึ้ มโนธรรมของแตล ะบคุ คลทเ่ี ลือกยึดถอื

01 ครูทําตัวเปนแมแบบทไ่ี มกาวรา ว ประยุกตใ ชทฤษฎี 04 ใหความรูเกย่ี วกับพฤตกิ รรมทาง
- ไมข ม ขู กา วรา วเพ่ือใหเ ด็กเชือ่ ฟง ของโคลเบริ ก สงั คมที่เหมาะสมแกเดก็
- ไมควรแกป ญหาดว ยวธิ รี นุ แรง
03 อยา ใหเดก็ ไดรบั ประโยชนจ าก - รวบรวมบทความเกีย่ วกบั พฤตกิ รรม
02 พยายามจดั หอ งเรียนใหมีทน่ี ่งั พฤติกรรมกา วราว ทางสังคมทเ่ี หมาะกับเดก็
เพยี งพอและมีวสั ดอุ ปุ กรณครบ
- ใชว ธิ ีลงโทษอยางมีเหตุผล 05 ใหโ อกาสเด็กรว มกจิ กรรมเพ่ือ
- ไมจ ดั หอ งแออดั ยดั เยียด ปลกู ฝงพฤตกิ รรมการรว มมอื

- มอบหมายงานที่ทําเปน กลมุ เพอื่
สงเสรมิ ความรว มมอื

Thank you

จัดทําโดย นางสาวสชุ าดา อบุ ลวงค
16315215 เลขท่ี 21 สขาการสอนภาษาองั กฤษ


Click to View FlipBook Version