The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by linerenx02, 2022-09-06 02:40:46

คู่มือการบริหารงาน 4 กลุ่ม

บริหารงาน 4 ฝ่าย

คมู ือการบริหารงบประมาณ

โรงเรียนชุมชนบานขา วปุน (ศาสนานุเคราะห)
สำนกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอบุ ลราชธานี เขต 2

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

วิสยั ทศั น พันธกิจ เปา หมาย ของสถานศกึ ษา

วสิ ัยทศั นโ รงเรียนชมุ ชนบา นขาวปนุ (ศาสนานุเคราะห)
ผูเรยี นไดรับการศึกษาตลอดชวี ิตที่มีคุณภาพอยา งท่ัวถึงและเสมอภาค และมีทักษะ การเรยี นรูในศตวรรษท่ี

21

ภารกจิ
1. สงเสริม สนบั สนุน และพัฒนาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตาม

อัธยาศยั ที่สอดคลอ งกับการพฒั นาคณุ ภาพผูเรียนในศตวรรษที่ 21
2. พัฒนาศกั ยภาพและระบบบริหารงานบุคคลของขาราชการครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา ที่สงผลตอการพัฒนา

คุณภาพผูเรียนในศตวรรษท่ี 21
3. พัฒนาการบริหารจัดการของหนวยงานทั้งในสวนกลางและภูมิภาคใหมีประสิทธิภาพ เอื้อตอ การพัฒนา

คณุ ภาพบุคลากร การปฏิบตั ิงานและเปา หมายการพฒั นาผเู รยี น
4. สงเสริม สนับสนุนการบูรณาการการปฏิบัติงานตามยุทธศาสตรของสำนักงานศึกษาธิการภาคและ

สำนักงานศกึ ษาธิการจังหวดั ใหบรรลผุ ลตามบทบาทและภารกิจท่ีกำหนด

เปา หมาย
1. ผเู รยี นไดรับการศึกษาท่ีมีคุณภาพที่สอดคลองเหมาะสมกับการเสรมิ สรางความม่นั คง
2. ผเู รียนมสี มรรถนะและความสามารถในการแขง ขนั ท่ีสนองความตองการของตลาดงานและประเทศ
3. ผเู รยี นไดรับการศกึ ษาทม่ี ีคุณภาพ และมีทักษะของผูเรยี นในศตวรรษท่ี 21
4. ผูเ รยี นไดรบั โอกาสทางการศึกษาอยางทวั่ ถึง และเสมอภาค
5. ผูเรียนมีคณุ ภาพชีวิตท่เี ปน มติ รกับสิง่ แวดลอม
6. หนว ยงานทัง้ ในสว นกลางและภูมภิ าคมรี ะบบบริหารจัดการท่มี ปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผล

สมรรถนะสำคญั ของผเู รียน

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนชุมชนบานขาวปุน(ศาสนานุเคราะห) พทุ ธศักราช 2563 ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 มงุ พฒั นาใหผูเรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานที่กำหนดและเกิดสมรรถนะสำคญั
5 ประการ ดงั น้ี

1. ความสามารถในการส่ือสาร เปนความสามารถในการรบั และสงสาร มวี ฒั นธรรมในการใชภ าษาถายทอด
ความคดิ ความรูความเขาใจ ความรสู ึก และทศั นะของตนเอง เพ่อื แลกเปล่ียนขอมลู ขาวสารและประสบการณอันจะ
เปนประโยชนต อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาตอรองเพือ่ ขจัดและลดปญ หาความขัดแยงตา ง ๆ การ
เลือกรับหรือไมรับขอมูลขาวสารดวยหลักเหตุผลและความถูกตอง ตลอดจนการเลือกใชวิธีการสื่อสาร ที่มี
ประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบท่มี ีตอตนเองและสงั คม

2. ความสามารถในการคิด เปน ความสามารถในการคิดวิเคราะห การคิดสงั เคราะห การคดิ อยางสรางสรรค
การคดิ อยา งมีวิจารณญาณ และการคิดเปน ระบบ เพื่อนำไปสูการสรางองคความรหู รือสารสนเทศ เพื่อการตัดสินใจ
เก่ยี วกบั ตนเองและสงั คมไดอ ยางเหมาะสม

3. ความสามารถในการแกปญหา เปนความสามารถในการแกปญหา และอุปสรรคตาง ๆที่เผชิญไดอยาง
ถูกตอ งเหมาะสมบนพนื้ ฐาน ของหลักเหตุผล คณุ ธรรมและขอ มลู สารสนเทศ เขาใจความสัมพันธแ ละการเปล่ียนแปลง
ของเหตกุ ารณต าง ๆ ในสงั คม แสวงหาความรู ประยกุ ตความรมู าใชในการปองกนั และแกไขปญ หา และมีการตัดสินใจ
ทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบทเ่ี กดิ ขึ้นตอตนเอง สังคมและสิ่งแวดลอ ม

4. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต เปนความสามารถในการนำกระบวนการตาง ๆ ไปใชในการดำเนิน
ชีวติ ประจำวัน การเรยี นรูดวยตนเอง การเรียนรูอยางตอ เนือ่ ง การทำงาน และการอยูรวมกันในสังคมดวยการสราง
เสริมความสัมพันธอันดีระหวา งบคุ คล การจัดการปญหาและความขัดแยงตา ง ๆ อยางเหมาะสม การปรับตัวใหทันกับ
การเปล่ียนแปลงของสงั คมและสภาพแวดลอม และการรจู ักหลีกเล่ียงพฤตกิ รรมไมพึงประสงคที่สงผลกระทบตอตนเอง
และผูอื่น

5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี เปนความสามารถในการเลือก และใช เทคโนโลยีดานตาง ๆ และมีทักษะ
กระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในดานการเรียนรู การสื่อสาร การทำงาน การแกปญหา
อยา งสรางสรรค ถูกตอ ง เหมาะสม และมีคณุ ธรรม

คณุ ลักษณะอันพึงประสงค

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนชุมชนบานขาวปุน(ศาสนานุเคราะห) พุทธศักราช 2563 ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 มุงพัฒนาผูเรยี นใหมีคุณลักษณะอันพึงประสงค เพ่ือใหสามารถอยู
รวมกับผูอื่นในสังคมไดอยางมีความสุข มีคุณลักษณะและสมรรถนะสำคัญของพลเมืองไทยและพลเมืองโลกใน
ศตวรรษท่ี 21 ประกอบดว ยคณุ ธรรม 8 ประการ ดงั น้ี

1. รกั ชาติ ศาสน กษตั รยิ 

2. ซื่อสัตยส จุ รติ

3. มีวนิ ยั

4. ใฝเรียนรู

5. อยูอยางพอเพยี ง

6. มงุ มัน่ ในการทำงาน

7. รักความเปนไทย

8. มีจิตสาธารณะ

คานยิ ม 12 ประการสำหรบั คนไทย

หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนชุมชนบา นขาวปุน(ศาสนานุเคราะห) พทุ ธศกั ราช 2563 ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 มุง พัฒนาใหผเู รยี นมีคานยิ มสำหรบั คนไทย 12 ประการ ดังน้ี

1. มีความรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ 
2. ซ่ือสัตย เสยี สละ อดทน มอี ุดมการณในส่ิงทีด่ ีงามเพื่อสว นรวม
3. กตญั ูตอ พอ แม ผูปกครอง ครูบาอาจารย
4. ใฝหาความรู หม่นั ศกึ ษาเลา เรียนท้ังทางตรง และทางออม
5. รักษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอันงดงาม
6. มศี ลี ธรรม รักษาความสตั ย หวังดตี อ ผูอ่ืน เผ่อื แผและแบง ปน
7. เขาใจเรยี นรกู ารเปนประชาธปิ ไตย อนั มีพระมหากษัตริยท รงเปนประมขุ ท่ถี ูกตอง
8. มีระเบยี บวนิ ัย เคารพกฎหมาย ผูน อ ยรจู ักการเคารพผใู หญ

9. มสี ติรูต วั รูคดิ รูท ำ รูปฏบิ ตั ิตามพระราชดำรัสของพระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูห ัว

10. รูจ กั ดำรงตนอยโู ดยใชห ลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดำรัสของ พระบาทสมเดจ็ พระ
เจา อยูหวั รูจักอดออมไวใ ชเมื่อยามจำเปน มีไวพ อกนิ พอใช ถาเหลือกแ็ จกจายจำหนาย และพรอมท่จี ะขยายกจิ การ
เมื่อมีความพรอม เมือ่ มภี มู คิ มุ กันทดี่ ี

11. มคี วามเขมแข็งท้งั รางกาย และจติ ใจ ไมยอมแพต อ อำนาจฝายตา งหรอื กิเลส มคี วามละอายเกรงกลัวตอ
บาปตามหลกั ของศาสนา

12. คำนงึ ถึงผลประโยชนข องสวนรวม และของชาตมิ ากกวาผลประโยชนข องตนเอง

การบริหารงบประมาณ

การบรหิ ารและการจดั การศกึ ษาของโรงเรียนนิติบุคคล มวี ัตถปุ ระสงคเพ่ือใหโรงเรยี นจัดการศึกษาอยางเปน
อิสระ คลองตวั สามารถบรหิ ารการจัดการศกึ ษาไดส ะดวด รวดเร็ว มปี ระสิทธภิ าพแ6ละมีความรบั ผดิ ชอบ

โรงเรยี นนิติบุคคล นอกจากมีอำนาจหนา ที่ตามวัตถปุ ระสงคขางตน แลว ยังมอี ำนาจหนาทีต่ ามที่กฏระเบียบ
กระทรวงศึกษาธิการวาดวยการบริหารจัดการและขอบเขตการปฏิบตั ิหนา ที่ของโรงเรียนขั้นพื้นฐานท่ีเปนนิติบุคคล
สังกัดเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษา พ.ศ 2546 ลงวันที่ 7 กรกฏาคม พ.ศ. 2546

กฎหมายการศึกษาแหงชาติ และกฎหมายระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ จึงกำหนดให
โรงเรียนนิตบิ ุคคลมอี ำนาจหนา ที่ ดงั น้ี

1. ใหผูอำนวยการโรงเรยี นเปน ผแู ทนนติ ิบุคคลในกจิ การท่ัวไปของโรงเรยี นท่ีเกีย่ วกับบคุ คลภายนอก
2. ใหโรงเรยี นมีอำนาจปกครอง ดูแล บำรงุ รักษา ใชและจดั หาผลประโยชนจ ากทรพั ยสินท่มี ผี บู ริจาคให

เวนแตก ารจำหนายอสังหาริมทรัพยที่มีผบู รจิ าคใหโรงเรียน ตองไดร ับความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการ
การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานของโรงเรยี น
3. ใหโ รงเรียนจดทะเบียนลิขสิทธิ์หรอื ดำเนินการทางทะเบยี นทรัพยสินตางๆ ท่ีมผี อู ุทศิ ใหหรือโครงการซ้ือ
แลกเปล่ยี นจากรายไดข องสถานศกึ ษาใหเปน กรรมสิทธข์ิ องสถานศึกษา
4. กรณีโรงเรยี นดำเนนิ คณดีเปน ผูฟองรองหรอื ถูกฟองรอง ผบู ริหารจะตองดำเนินคดแี ทนสถานศึกษาหรือ
ถูกฟอ งรว มกับสถานศึกษา ถา ถกู ฟองโดยมิไดดอยูใ นการปฏิบัติราชการ ในกรอบอำนาจ ผูบ ริหารตอง
รบั ผิดชอบเปนการเฉพาะตัว
5. โรงเรยี นจัดทำงบดุลประจำปแ ละรายงานสาธารณะทุกสน้ิ ปงบประมาณ

งบประมาณทสี่ ถานศึกษานำมาใชจ าย

1. แนวคิด
การบริหารงานงบประมาณของสถานศึกษามุงเนนความเปนอิสระ ในการบริหารจัดการมีความคลองตัว
โปรง ใส ตรวจสอบได ยึดหลักการบริหารมุง เนน ผลสมั ฤทธ์แิ ละบรหิ ารงบประมาณแบบมงุ เนน ผลงาน ใหม กี ารจัดหา
ผลประโยชนจากทรัพยสิทของสถานศึกษา รวมทั้งจัดหารายไดจากบริการมาใชบริหารจัดการเพื่อประโยชนทาง
การศึกษา สง ผลใหเกดิ คณุ ภาพท่ีดีขึน้ ตอผเู รยี น
2. วัตถุประสงค
เพ่ือใหสถานศกึ ษาบรหิ ารงานดานงบประมาณมีความเปน อิสระ คลอ งตวั โปรง ใสตรวจสอบได
2.1 เพอ่ื ใหไดผลผลติ ผลลัพธเปน ไปตามขอ ตกลงการใหบรกิ าร
2.2 เพอ่ื ใหสถานศกึ ษาสามารถบริหารจดั การทรพั ยากรที่ไดอ ยา งเพียงพอและประสทิ ธภิ าพ
3. ขอบขายภารกิจ
3.1 กฎหมาย ระเบยี บ และเอกสารท่ีเกี่ยวของ
1. พระราชบัญญตั กิ ารศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแกไขเพ่ิมเติม(ฉบบั ท่ี 2)
2. พระราชบญั ญัตบิ รหิ ารราชการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ. 2546
3. ระเบียบวาดว ยการบรหิ ารงบประมาณ พ.ศ. 2545
4. หลกั สตู รการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551
5. แนวทางการกระจายอำนาจการบริหารและการจดั การศึกษาและสถานศกึ ษาตามกฎกระทรวง กำหนด
หลักเกณฑแ ละวธิ ีการกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษา พ.ศ. 2550

รายจายตามงบประมาณ

จำแนกออกเปน 2 ลักษณะ
1. รายจายของสวนราชการและรฐั วิสาหกจิ

- งบบคุ ลากร
- งบดำเนินงาน
- งบลงทนุ
- งบเงนิ อดุ หนุน
- งบรายจายอืน่
งบบุคลากร หมายถึง รายจายที่กำหนดใหจายเพื่อการบริหารงานบุคคลภาครัฐ ไดแกรายจายที่จายใน
ลักษณะเงนิ เดอื น คาจางประจำ คาจางชวั่ คราว และคาตอบแทนพนักงานราชการ รวมถงึ ราจจายทก่ี ำหนดใหจาย
จากงบรายจายอืน่ ใดในลักษณะราจจายดังกลา
งบดำเนินงาน หมายถึง รายจา ยที่กำหนดใหจายเพ่อื การบรหิ ารงานประจำ ไดแก รายจา ยที่จา ยใน
ลักษณะคาตอบแทน คาใชส อย คาวัสดุ และคา สาธารณูปโภค รวมถึงราจา ยท่ีกำหนดใหจายจากงบรายจายอืน่ ใด
ในลักษณะรายจายดังกลา ว
งบลงทนุ หมายถึง รายจายท่กี ำหนดใหจา ยเพือ่ การลงทนุ ไดแก รายจายที่จายในลักษณะคาครุภัณฑ คา
ทด่ี นิ และสิ่งกอ สรา ง รวมถงึ รายจา ยทีก่ ำหนดใหจายจากงบรายจา ยอนื่ ใดในลักษณะรายจายดังกลาว
งบดำเนนิ งาน หมายถึง รายจา ยทีก่ ำหนดใหจ ายเพื่อการบริหารงานประจำ ไดแ ก รายจา ยท่จี ายใน
ลกั ษณะคา ตอบแทน คา ใชส อย คาวัสดุ และคา สาธารณปู โภค รวมถึงรายจายท่ีกำหนดใหจายจากงบรายจายอื่นใด
ในลกั ษณะรายจายดงั กลาว
งบลงทุน หมายถงึ รายจายที่กำหนใหจายเพื่อการลงทุน ไดแก รายจายที่จายในลักษณะคาครุภัณฑ คา
ท่ดี นิ และสิ่งกอ นสรา ง รวมถงึ รายจายท่ีกำหนดใหจา ยจากงบรายจา ยอนื่ ใดในลกั ษณะรายจา ยดังกลาว
งบเงนิ อุดหนนุ หมายถึง รายจายทก่ี ำหนดใหจ า ยเปน คา บำรุงหรือเพอ่ื ชวยเหลือสนับสนุนงานของหนว ยงาน
อิสระตามรัฐธรรมนูญหรือหนวยงานของรัฐ ซึ่งมิใชสวนกลางตาม พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการแผนดิน
หนวยงานในกำกับของรัฐ องคการมหาชน รัฐวิสาหกิจ องคกรปกครองสวนทองถิ่น รวมถึงเงินอุดหนุน งบ
พระมหากษัตรยิ  เงนิ อุดหนุนศาสนา
งบรายจายอื่น หมายถึง รายจายที่ไมเขาลักษณะประเภทงบรายจายใดงบรายจายหนึ่ง หรือรายจายที่
สำนักงานงบประมาณกำหนดใหใ ชจ ายในงบรายจายน้ี เชน เงนิ ราชการลับ เงินคาปรบั ที่จา ยคนื ใหแกผูขายหรือผู
รับจา ง ฯลฯ

อตั ราเงินอดุ หนนุ รายหัวนักเรียนตอ ปก ารศึกษา 1,700 บาท
ระดบั กอนประถมศกึ ษา 1,900 บาท
ระดบั ประถมศึกษา 3,500 บาท
ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน 3,800 บาท
ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย

การจัดสรรเงินอดุ หนุนรายหวั นกั เรยี น แบงการใชตามสดั สว น ดา นวิชาการ : ดานบรหิ ารท่วั ไป : สำรอง
จา ยทง้ั 2 ดานคือ

1. ดา นวชิ าการ ใหส ัดสวนไมนอ ยกวารอยละ 60 นำไปใชไดในเรอ่ื ง
1.1 จดั หาวัสดแุ ละครภุ ัณฑที่จำเปนตอการเรยี นการสอน
1.2 ซอมแซมวสั ดุอุปกรณ
1.3 การพฒั นาบุคลาการดา นการสอน เชน สง ครูเขา อบรมสัมมนา คาจางชัว่ คราวของครปู ฏบิ ัตกิ าร
สอน คา สอนพิเศษ

2. ดา นบริหารท่ัวไป ใหสดั สวนไมเกินรอ ยละ 30 นำไปใชไ ดในเรอ่ื ง
2.1 คาวสั ดุ ครุภณั ฑและคา ที่ดนิ ส่งิ กอสราง คา จางช่วั คราวท่ีไมใชปฏิบตั ิการสอนคา ตอบแทน คา ใช
สอย
2.2 สำรองจา ยนอกเหนอื ดา นวิชาการและดา นบรหิ ารทว่ั ไป ใหสัดสวนไมเ กินรอยละ 20 นำไปใชใน
เร่อื งงานตามนโยบาย

เงินอดุ หนนุ ปจจัยพน้ื ฐานสำหรับนกั เรียนยากจน
1. เปน เงนิ ที่จดั สรรใหแ กส ถานศึกษาทีม่ นี ักเรยี นยากจน เพื่อจัดหาปจจยั พื้นฐานท่จี ำเปนตอการดำรงชวี ิตและ
เพ่มิ โอกาศทางการศกึ ษา เปนการชวยเหลอื นักเรียนนที่ยากจน ชน้ั ป.1 ถงึ ม.3 ใหมโี อกาสไดรับการศกึ า
ในระดับท่ีสงู ข้ึน (ยกเวนสถานศกึ ษาสังกดั สำนกั บริหารงานการศกึ ษาพิเศษ)
2. นกั เรยี นยากจน หมายถึง นกั เรยี นท่ีผูปกครองมรี ายไดตอครวั เรือน ไมเกิน 40,000 บาท
3. แนวการใช
ใหใ ชในลักษณะ ถวั จา ย ในรายการตอ ไปนี้
3.1 คาหนังสือและอปุ กรณการเรยี น(ยืมใช)
3.2 คาเส้อื ผา และวสั ดเุ ครื่องแตงกายนกั เรยี น(แจกจาย)
3.3 คา อาหารกลางวัน (วตั ถดุ บิ จา งเหมา เงนิ สด)
3.4 คาพาหนะในการเดินทาง (เงินสด จางเหมา)
3.5 กรณีจา ยเปน เงินสด โรงเรยี นแตง ตัง้ กรรมการ 3 คน รว มกนั จายเงินโดยใชใ บสำคัญรบั เงินเปน
หลกั ฐาน

3.6 ระดบั ประถมศกึ ษา คนละ 1,000 บาท/ป
3.7 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน คนละ 3,000 บาท/ป

1.1 รายจา ยงบกลาง
1. เงนิ สวัสดกิ ารคา รักษาพยาบาล/การศกึ ษาบตุ ร/เงนิ ชวยเหลือบตุ ร
2. เงินเบีย้ หวัดบำเหน็จบำนาญ
3. เงินสำรอง เงนิ สมทบ และเงินชดเชยขา ราชการ
4. เงินสมทบของลกู จา งประจำ

2. รายจา ยงบกลาง หมายถึง รายจา ยที่ตั้งไวเพ่ือจดั สรรใหส วนราชการและรัฐวิสาหกิจโดยทวั่ ไปใชจาย
ตามรายการดังตอ ไปนี้
1. “เงนิ เบ้ียหวัดบำเหนจ็ บำนาญ” หมายความวา รายจา ยท่ีต้ังไวเพื่อจายเปนเงนิ บำนาญ

ขาราชการ เงินบำเหน็จลูกจางประจำ เงินทำขวัญขาราชการและลูกจาง เงินทดแทนขาราชการวิสามัญ เงินคา
ทดแทนสำหรบั ผูไ ดรับอนั ตรายในการรักษาความมน่ั คงของประเทศ

เงินชว ยพเิ ศษขา ราชการบำนาญเสียชวี ติ เงนิ สงเคราะหผูประสบภัยเนื่องจากการชว ยเหลือ
ขาราชการ การปฏิบัติงานของชาติหรือการปฏิบัติตามหนาท่ีมนุษยธรรม และเงนิ ชวยคาครองชีพผูรับเบี้ยหวัด
บำนาญ

2. “เงนิ ชว ยเหลือขาราชการ ลกู จา ง และพนกั งานของรฐั ” หมายความวา รายจา ยทีต่ ้งั ไวเ พื่อ
จา ยเปนเงินสวัสดิการชวยเหลือในดา นตางๆ ใหแกขาราชการ ลูกจาง และพนักงานของรัฐ ไดแก เงินชวยเหลือ
การศกึ ษาของบตุ ร เงินชวยเหลือบุตร และเงนิ พิเศษในการณีตายในระหวางรบั ราชการ

3. “เงนิ เล่ือนขัน้ เลอ่ื นอนั ดบั เงนิ เดอื นและเงนิ ปรับวฒุ ขิ า ราชการ หมายความวารายจา ยท่ตี งั้ ไว
เพ่ือจายเปน เงินเลือ่ นขน้ั เลอื่ นอนั ดับเงินเดือนขาราชการประจำป เงินเลื่อนขั้นเลอื่ นอันดับเงนเดือนขาราชการที่ไดรับ
เล่อื นระดับ และหรือแตง ตง้ั ใหดำรงตำแหนงระหวางปและเงนิ ปรับวุฒิขาราชการ

4. “เงนิ สำรอง เงนิ สมทบ และเงินชดเชยของขา ราชการ” หมายความวา รายจา ยที่ตั้งไวเพือ่
จายเปน เงนิ สำรอง เงนิ สมทบ และเงนิ ชดเชยทรี่ ัฐบาลนำสงเขากองทุนบำเหน็จบำนาญขา ราชการ

5. “เงินสมทบของลกู จางประจำ” หมายความวา รายจายท่ีต้งั ไวเพ่ือจายเปนเงนิ สมทบท่ี
รัฐบาลนำสง เขากองทุนสำรอง เล้ียงชพี ลกู จางประจำ

6. “คา ใชจา ยเกย่ี วกับการเสดจ็ พระราชดำเนและตอนรบั ประมุขตา งประเทศ หมายความวา
รายจายที่ตั้งไวเพื่อเปนคาใชจายสนับสนุนพระราชภารกิจในการเสด็จพระราชดำเนินภายในประเทศ และหรือ
ตางประเทศ และคา ใชจายในการตอนรบั ประมขุ ตา งประเทศทม่ี ายาเยือนประเทศไทย

7. “เงินสำรองจา ยเพ่ือกรณีฉุกเฉนิ หรอื จำเปน” หมายความวา รายจายทตี่ ง้ั สำรองไวเพอ่ื
จัดสรรเปน คาใชจายในกรณีฉกุ เฉินหรือจำเปน

8. “คาใชจา ยในการดำเนินการรกั ษาความมัน่ คงของประเทศ” หมายความวา รายจายท่ตี ัง้ ไว

เพือ่ เปน คา ใชจ ายในการดำเนนิ งานรกั ษาความมน่ั คงของประเทศ
9. “เงนิ ราชการลับในการรักษาความมน่ั คงของประเทศ” หมายความวา รายจายทต่ี ัง้ ไวเ พอ่ื

เบกิ จา ยเปนเงินราชการลับในการดำเนนิ งานเพือ่ รกั ษาความมัน่ คงของประเทศ
10. “คา ใชจ า ยตามโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดำริ” หมายความวา รายจา ยท่ตี ั้งไวเพ่อื

เปน คา ใชจา ในการดำเนนิ งานตามโครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชดำริ
11. “คา ใชจ ายในการรำษาพยาบาลขา ราชการ ลูกจาง และพนักงานของรฐั ” หมายความวา

รายจา ยท่ีตง้ั ไวเ ปนคาใชจา ยในการชวยเหลอื คา รักษาพยาบาลขา ราชการ ลกู จา งประจำ และพนกั งานของรัฐ

เงินนอกงบประมาณ

1. เงินรายไดส ถานศกึ ษา
2. เงินภาษหี ัก ณ ทจ่ี า ย
3. เงินลกู เสอื เนตรนารี
4. เงินยุวกาชาด
5. เงินประกนั สัญญา
6. เงินบรจิ าคที่มวี ัตถุประสงค

เงินรายไดสถานศกึ ษา หมายถงึ เงินรายไดตามมาตรา 59 แหง พ.ร.บ. การศกึ ษาแหง ชาติ พ.ศ. 2542
ซงึ่ เกดิ จาก
1. ผลประโยชนจ ากทรัพยสนิ ทเ่ี ปนราชพสั ดุ
2. คา บรกิ ารและคา ธรรมเนียม ท่ไี มขดั หรือแยงนโยบาย วัตถปุ ระสงคและภารกจิ หลักของสถานศึกษา
3. เบย้ี ปรบั จากการผดิ สัญญาลาศกึ ษาตอและเบ้ยี ปรบั การผิดสญั ญาซอื้ ทรัพยสินหรือจางทำของจากเงิน

งบประมาณ
4. คาขายแบบรปู รายการ เงนิ อุดหนนุ อปท. รวมเงินอาหารกลางวัน
5. คา ขายทรัพยส ินทไ่ี ดม าจากเงินงบประมาณ

งานพสั ดุ

“การพสั ดุ” หมายความวา การจดั ทำเอง การซ้ือ การจาง การจา งที่ปรึกษา การจา งออกแบบและ
ควบคุมงาน การแลกเปลี่ยน การเชา การควบคมุ การจำหนา ย และการดำเนนิ การอื่นๆ ทีก่ ำหนดไวในระเบยี บน้ี

“พัสด”ุ หมายความวา วสั ดุ ครุภัณฑ ทด่ี ินและสิ่งกอสราง ท่กี ำหนดไวในหนงั สือ การจำแนกประเภท
รายจายตามงบประมาณของสำนกั งบประมาณ หรือการจำแนกประเภทรายจา ย ตามสัญญาเงินกจู ากตางประเทศ

“การซือ้ ” หมายความวา การซ้ือพสั ุทกุ ชนดิ ทั้งท่ีมีการติดตั้ง ทดลอง และบริการท่ีเก่ียวเนอื่ งอื่นๆ แตไม
รวมถึงการจัดหาพสั ดุในลักษณะการจา ง

“การจา ง” ใหหมายความรวมถึง การจา งทำของและการับขนตามประมวลกฎหมายแพงและพาณชิ ย และ
การจางเหมาบริการ แตไ มรวมถึงการจา งลกู จางของสว นราชการตามระเบียบของกระทรวงการคลงั การับขนในการ
เดินทางไปราชการตามกฎหมายวาดวยคาใชจา ยในการเดินทางไปราชการ การจางทป่ี รึกษ การจา งออกแบบและ
ควบคุมงาน และการจางแรงงานตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย

ขอบขายภารกิจ
1. กฎหมาย ระเบยี บ และเอกสารท่เี ก่ียวขอ ง
2. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรวี าดว ยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และแกไขเพิ่มเตมิ
3. ระเบียบสำนกั นายกรฐั มนตรวี าดวยการพัสดดุ ว ยวธิ ีการทางอเิ ล็กทรอนกิ ส พ.ศ. 2549
4. แนวทางการปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บสำนักนายกรฐั มนตรี วาดว ยการพสั ดดุ ว ยวิธีการทางอเิ ล็กทรอนิกส พ.ศ.

2549
หนาทแี่ ละความรับผดิ ชอบ
1. จดั วางระบบและปฏิบัติงานเก่ียวกบั จัดหา การซ้อื การจา ง การเก็บรักษา และการเบิกพัสดุ การควบคมุ

และการจำหนา ยพสั ดุใหเ ปน ไปตามระเบยี บทเ่ี ก่ียวของ
2. ควบคมุ การเบิกจายเงนิ ตามประเภทเงนิ ใหเปนไปตามแผนปฏิบัติราชการรายป
3. จดั ทำทะเบียนท่ีดนิ และสิ่งกอสรา งทกุ ประเภทของสถานศึกษา
4. ประสานงานและวางแผนในการใชพ้ืนท่ีของสถานศกึ ษา ใหเปนไปตามแผนพฒั นาการศึกษา
5. กำหนดหลกั เกณฑวิธีการและดำเนินการเก่ยี วกบั การจัดหาประโยชนทีร่ าชพสั ดุการใชและการขอใชอาคาร

สถานทข่ี องสถานศกึ ษาใหเปนไปตามกฎหมายและระเบียบท่ีเกยี่ วของควบคุมดู ปรบั ปรงุ ซอ มแซม
บำรุงรักษาครุภัณฑ ใหอ ยูในสภาพเรยี บรอ ยตอการใชง านและพฒั นาอาคารสถานท่ี การอนุรกั ษพ ลังงาน
การรกั ษาสภาพแวดลอ ม และระบบสาธารณปู โภคของสถานศึกษาใหเปน ระเบียบและสวยงาม
6. จัดเวรยามดูแลอาคารสถานที่ของสถานศึกษาใหปลอดภัยจากโจรภัย อัคคีภยั และภัยอน่ื ๆ
7. จัดวางระบบและควบคุมการใชย านพาหนะ การเบิกจายน้ำมนั เชือ้ เพลงิ การบำรุงรักษาและการพสั ดุตา งๆ
ทเ่ี กีย่ วกบั ยานพาหนะของสถานศกึ ษาใหเปนไปตามระเบยี บที่เกย่ี วของ
8. ใหคำแนะนำ ชี้แจง และอำนวยความสะดวกแกบคุ ลากรในสถานศึกษาเก่ียวกับงานในหนา ท่ี

9. เกบ็ รกั ษาเอกสารและหลกั ฐานตา งๆ ไวเพ่ือการตรวจสอบและดำเนินการทำลายเอกสารตามระเบียบท่ี
เกี่ยวของ

10. ประสานงานและใหค วามรวมมือกับหนว ยงานตางๆ ทง้ั ภายในและภายนอกสถานศกึ ษา
11. เสนอโครงการและรายงานการปฏบิ ัตงิ านในหนา ทต่ี ามลำดับขั้น
12. ปฏบิ ตั ิอน่ื ตามที่ไดร ับมอบหมาย

สวัสดิการและสทิ ธปิ ระโยชน

1. คาใชจายในการเดินทางไปราชการ
1.1 กฎหมายและระเบยี บทเี่ กย่ี วของ
1.2 พระราชกฤษฎีกาคา ใชจ ายในการเดนิ ทางไปราชการ พ.ศ. 2526 และทแ่ี กไขเพม่ิ เติม
1.3 ระเบยี บกระทรวงการคลังวาดว ยการเบิกคา ใชจ า ยในการเดินทางไปราชการ พ.ศ. 2550

2. คา ใชจ า ยในการเดินทางไปราชการ
การอนมุ ัตเิ ดินทางไปราชการ ผูมอี ำนาจอนมุ ตั ใิ หเ ดนิ ทางไปราชการ อนุมตั ริ ะยะเวลาในการเดนิ ทาง
ลว งหนา หรือระยะเวลาหลงั เสร็จส้นิ การปฏบิ ัติราชการไดต ามความจำเปน

3. การนับเวลาเดนิ ทางไปราชการเพอ่ื คำนวณเบีย้ เล้ียง กรณีพกั คา ง
3.1 ใหนับ 24 ชวั่ โมงเปน 1 วนั
3.2 ถาไมถงึ 24 ชวั่ โมงหรอื เกนิ 24 ช่วั โมง และสวนที่ไมถึงหรอื เกิน 24 ชัว่ โมง นบั ไดเกิน 12 ชัว่ โง
ใหถ ือเปน 1 วัน

4. การนับเวลาเดนิ ทางไปราชการเพือ่ คำนวณเบยี้ เลยี้ งเดนิ ทาง กรณไี มพ ักคาง
4.1 หากนับไดไ มถึง 24 ชั่วโมงและสวนท่ไี มถ ึงนับไดเกนิ 12 ชัว่ โมง ใหถ อื เปน 1วัน
4.2 หากนบั ไดไมเ กิน 12 ช่ัวโมง แตเกิน 6 ช่วั โมงขึน้ ไป ใหถอื เปนครึง่ วัน

5. การนับเวลาเดนิ ทางไปราชการเพื่อคำนวณเบี้ยเลย้ี งเดินทาง
6. กรณลี ากจิ หรอื ลาพักผอนกอนปฏบิ ัติราชการ ใหนบั เวลาตั้งแตเ ร่มิ ปฏบิ ัติราชการเปน ตนไป
7. กรณลี ากิจหรอื ลาพักผอนหลังเสร็จส้ินการปฏิบตั ริ าชการ ใหถ ือวาสทิ ธใิ นการเบิกจายเบี้ยเลย้ี งเดินทางส้ินสดุ

ลงเมอ่ื สนิ้ สุดเวลาการปฏบิ ัติราชการ
8. หลกั เกณฑการเบิกคาเชา ท่พี ักในประเทศ

การเบกิ คาพาหนะ

1. โดยปกตใิ หใชย านพาหนะประจำทางและใหเบกิ คาพาหนะโดยประหยัด
2. กรณีไมม ยี านพาหนะประจำทาง หรือมีแตต องการความรวดเร็ว เพื่อประโยชนแ กทางราชการ ให
ใชย านพาหนะอืน่ ได แตต องช้แี จงเหตผุ ลและความจำเปน ไวใ นหลักฐานขอเบกิ คา พาหนะนนั้
3. ขาราชการระดับ 6 ขึน้ ไป เบิกคา พาหนะรบั จางได ในกรณตี อ ไปนี้

3.1 การเดินทางไป-กลบั ระหวางสถานทีอ่ ยู ที่พกั หรอื สถานท่ีปฏิบตั ิราชการกับสถานี
ยานพาหนะประจำทาง หรอื สถานท่จี ัดพาหนะทีใ่ ชเ ดนิ ทางภายในเขตจังหวัดเดียวกนั
3.2 การเดนิ ทางไป-กลบั ระหวางสถานท่อี ยู ท่ีพกั กบั สถานทปี่ ฏิบัตริ าชการภายในเขตจังหวัด
เดียวกัน วันละไมเกิน 2 เท่ียว
3.3 การเดินทางไปราชการในเขตกรุงเทพมหานคร กรณเี ปน การเดนิ ทางขา มเขตจังหวัด ใหเบกิ
ตามอัตราทกี่ ระทรวงการคลงั กำหนด คือ ใหเบิกตามทจ่ี ายจริง ดงั นี้ ระหวางกรุงเทพมหานครกับเขต
จังหวัดติดตอกรงุ เทพมหานคร ไมเกินเทีย่ วละ 400 บาท เดินทางขา มเขตจังหวัดอนื่ นอกเหนือกรณี
ดงั กลาวขางตนไมเกินเที่ยวละ 300 บาท
3.4 ผไู มม สี ทิ ธเิ บกิ ถาตอ งนำสมั ภาระในการเดินทาง หรือส่ิงของเครอ่ื งใชข องทางราชการไปดว ย
และเปน เหตุใหไมสะดวกท่ีจะเดินทางโดยยานพาหนะประจำทาง ใหเ บิกคา พาหนะรบั จางได( โดยแสดง
เหตุผลและความจำเปน ไวใ นรายงานเดนิ ทาง)
3.5 การเดินทางลว งหนา หรือไมสามารถกลบั เม่ือเสร็จส้นิ การปฏิบัตริ าชการเพราะมีเหตสุ ว นตวั
(ลากิจ - ลาพักผอ นไว) ใหเบิกคา พาหนะเทาที่จา ยจริงตามเสน ทางที่ไดร บั คำสั่งใหเดินทางไปราชการ
กรณมี ีการเดนิ ทางนอกเสน ทางในระหวา งการลานั้น ใหเบิกคา พาหนะไดเ ทาทจ่ี ายจริงโดยไมเ กนิ อัตราตาม
เสน ทางที่ไดร บั คำส่งั ใหเดินทางไปราชการ
3.6 การใชยานพาหนะสว นตวั (ใหข ออนญุ าตและไดร บั อนุญาตแลว ) ใหไดร บั เงนิ ชดเชย คอื
รถยนตกโิ ลเมตรละ 4 บาท

คา ใชจ ายในการฝก อบรม

การฝก อบรม หมายถึง การอบรม ประชมุ /สัมมนา (วชิ าการเชิงปฏบิ ตั ิการ) บรรยายพเิ ศษ ฝกงาน ดงู าน
การฝกอบรม ประกอบดวย

1. หลักการและเหตุผล
2. โครงการ/หลักสูตร
3. ระยะเวลาจดั ท่แี นนอน
4. เพอ่ื พฒั นาหรอื เพมิ่ ประสิทธิภาพในการปฏบิ ัตงิ าน

คา รักษาพยาบาล

คา รักษาพยาบาล หมายถึง เงนิ ทส่ี ถานพยาบาลเรียกเกบ็ ในการรักษาพยาบาลเพื่อใหรา งกายกลบั สูสภาวะ
ปกติ (ไมใชเปนการปองกนั หรอื เพ่ือความสวยงาม)

1. ระเบียบและกฎหมายทเ่ี กีย่ วของ
1.1 พระราชกฤษฎกี าเงนิ สวัสดกิ ารเก่ียวกับการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2523 และแกไ ขเพม่ิ เติม( 8 ฉบับ)
1.2 ระเบยี บกระทรวงการคลงั วาดวยการเบกิ จา ยเงินสวสั ดกิ ารเก่ียวกบั การรักษาพยาบาล พ.ศ. 2545

2. ผทู ม่ี สี ทิ ธิรบั เงนิ คา รักษาพยาบาล คอื ผูมีสิทธและบคุ คลในครอบครัว
2.1 บดิ า
2.2 มารดา
2.3 คสู มรสท่ชี อบดวยกฎหมาย
2.4 บุตรทีช่ อบดว ยกฎหมาย ซง่ึ ยังไมบรรลนุ ิติภาวะ หรือบรรลุนติ ภิ าวะแลว แตเ ปน คนไรความสามารถ
หรอื เสมือนคนไรความสามารถ(ศาลสง่ั ) ไมรวมบตุ รบุญธรรมหรือบุตรซึ่งไดย กเปน บุตรบุญธรรมบุคคล
อน่ื แลว

3. ผมู ีสิทธิ หมายถงึ ขาราชการ ลูกจางประจำ ผรุ ับเบีย้ หวัดบำนาญ และลกู จา งชาวตางประเทศซ่ึงไดร บั
คา จางจากเงนิ งบประมาณ
คา รกั ษาพยาบาบ แบงเปน 2 ประเภท
ประเภทไขนอก หมายถึง เขารับการรักษาในสถานพยาบาลของทางราชการโดยไมไ ดน อนพัก

รกั ษาตวั นำใบเสรจ็ รบั เงนิ มาเบิกจาย ไมเกนิ 1 ป นับจากวันทจี่ ายเงนิ
ประเภทไขใน หมายถึง เขา รับการรกั ษาในสถานพยาบาลของเอกชน หรือสถานพยาบาลของทาง

ราชการ สถานพยาบาลเอกชน ใชใ บเสร็จรับเงินนำมาเบิกจายเงนิ พรอ มใหแพทยร บั รอง “หากผปู วยมิไดเจา รับ
การรกั ษาพยาบาลในทันทีทันใด อาจเปนอนั ตรายถงึ ชวี ติ ” และสถานพยาบาลทางราชการ ใชห นังสือรบั รองสทิ ธิ
กรณียังไมไดเบิกจายตรง

การศกึ ษาบุตร

คา การศึกษาของบุตร หมายความวา เงนิ บำรุงการศกึ ษา หรอื เงินคา เลาเรียน หรอื เงินอื่นใดที่สถานศึกษา
เรียกเกบ็ และรัฐออกใหเ ปนสวสั ดกิ ารกับขา ราชการผูมสี ทิ ธิ

1. ระเบียบและกฎหมายท่เี ก่ียวของ
1.1 พระราชราชกฤษฎีกาเงนิ สวัสดกิ ารเกยี่ วกับการศึกษาของบุตร พ.ศ. 2523
1.2 ระเบียบกระทรวงการคลังวาดว ยการเบกิ จา ยเงนิ สวัสดกิ ารเกี่ยวกับการศกึ ษาของบตุ ร พ.ศ. 2547
1.3 หนงั สือเวียนกรมบญั ชีกลาง กค 0422.3/ว 161 ลงวันที่ 13 พฤษภาคม 2552 เร่อื ง ประเภท
และอัตราเงินบำรงุ การศึกษาในสถานศกึ ษาของทางราชการ และคาเลา เรยี นในสถานศกึ ษาของเอกชน
และกรมบญั ชีกลาง ที่ กค 0422.3/ว 226 ลงวนั ท่ี 30 มถิ นุ ายน 2552 เร่ืองการเบิกงนิ สวสั ดิการ
เกีย่ วกับการศึกษาของบุตร

2. ผูทมี่ สี ิทธริ ับเงนิ คา การศึกษาของบตุ ร

2.1 บุตรชอบโดยกฎหมายอายุไมเ กนิ 25 ปบริบรู ณ ในวันท่ี 1 พฤษภาคมของทุกป ไมร วมบุตรบญุ
ธรรม หรอื บตุ รซ่งึ ไดย กใหเปนบตุ รบญุ ธรรมคนอนื่ แลว

2.2 ใชสิทธิเบกิ ได 3 คน เวนแตบ ตุ รคนท่ี 3 เปน ฝาแฝดสามารถนำมาเบิกได 4 คน
2.3 เบิกเงนิ สวัสดิการเกย่ี วกับศกึ ษาบุตรภายใน 1 ป นับต้งั แตว ันเปด ภาคเรยี นของแตละภาค
จำนวนเงนิ ทเ่ี บิกได
1. ระดับอนุบาลหรอื เทยี บเทา เบกิ ไดป ละไมเ กนิ 4,650 บาท
2. ระดบั ประถมศึกษาหรอื เทยี บเทา เบกิ ไดปล ะไมเกนิ 3,200 บาท
3. ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน /มัธยมศกึ ษาตอนปลาย/หลักสูตรประกาศนียบตั รวชิ าชีพ(ปวช.) หรอื

เทียบเทา เบิกไดป ล ะไมเ กนิ 3,900 บาท
4. ระดับอนปุ ริญญาหรอื เทียบเทา เบกิ ไดป ละไมเ กนิ 11,000 บาท

คา เชาบาน

1. ระเบียบและกฎหมายทเ่ี กย่ี วของ
1.1 พระราชกฤษฎีกาคา เชาชา นขาราชการ พ.ศ. 2550
1.2 ระเบียบกระทรวงการคลงั วา ดวยการเบกิ จา ยเงนิ คาเชา บาน พ.ศ. 2549

2. สิทธกิ ารเบกิ เงนิ คา เชา บาน
2.1 ไดร บั คำสงั่ ใหเ ดินทางไปประจำสำนักงานใหมในตางทอ งที่ เวน แต
2.1.1 ทางราชการไดจดั ท่ีพักอาศัยใหอ ยูแ ลว
2.1.2 มีเคหสถานเปน ของตนเองหรอื คสู มรส
2.1.3 ไดรบั คำส่ังใหเ ดนิ ทางไปประจำสำนกั งานใหมในตางทองทต่ี ามคำรอ งขอของตนเอง
2.2 ขาราชการผไู ดร ับคำสงั่ ใหเดนิ ทางไปประจำสำนกั งานในทองท่ที ่ีรบั ราชการครั้งแรกหรือทองทที่ ี่กลับเขา
รบั ราชการใหม ใหมีสิทธิไดร ับเงนิ คา เชา บา น (พระราชกฤษฎีกาเชาบา น 2550 (ฉบบั ท่ี 2) มาตรา 7)
2.3 ขาราชการมสี ทิ ธิไดร บั เงินคา เชาบานต้ังแตวนั ทเ่ี ชาอยจู ริง แตไ มก อ นวันท่รี ายงานตวั เพอื่ เขา รับหนาที่
(พระราชกฤษฎีกาคา เชา บาน 2547 มาตรา 14)
2.4 ขาราชการซง่ึ มีสทิ ธิไดรบั เงนิ คาเชาบา นไดเชา ซอ้ื หรอื ผอนชำระเงินกูเ พ่ือชำระราคาบา นท่คี า งชำระอยู
ในทอ งทที่ ่ีไปประจำสำนกั งานใหม มีสทิ ธินำหลักฐานการชำระคา เชาซ้ือหรอื คาผอนชำระเงนิ กฯู มา
เบิกได (พระราชกฤษฎีกาคาเชา บา น 2547 มาตรา 17)

กองทุนบำเหนจ็ บำนาญขาราชการ (กบข.)

1. กฎหมายทเี่ กย่ี วของ
1.1 พ.ร.บ.กองทนุ บำเหนจ็ บำนาญขาราชการ พ.ศ. 2539
มาตรา 3 ในพระราชบัญญตั ิน้ี (สวนท่เี กีย่ วขอ ง)
บำนาญ หมายความวา เงนิ ท่ีจายใหแกสมาชิกเปน รายเดือนเม่อื สมาชิกภาพของสมาชิกสนิ้ สุดลง
บำเหน็จตกทอด หมายความวา เงินท่ีจายใหแกส มาชิก โดยจา ยใหคร้ังเดียวเมอ่ื สมาชกิ ภาพ

ของสมาชิกสน้ิ สดุ ลง
บำเหนจ็ ตกทอด หมายความวา เงินทีจ่ ายใหแ กท ายาทโดยจายใหครั้งเดยี วในกรณที ส่ี มาชกิ

หรอื ผรู ับบำนาญถงึ แกความตาย
1.2 พ.ร.บ.กองทุนบำเหนจ็ บำนาญขา ราชการ (ฉบบั ท่ี 2 ) พ.ศ. 2542

2. ขา ราชการทุกประเภท (ยกเวน ราชการทางการเมือง) มีสทิ ธสิ มคั รเปนสมาชกิ กบข. ไดแก ขาราชการครู
ขาราชการใหม ไดแ ก ผูซ ึ่งเขารบั ราชการหรือโอนมาเปน ราชการต้งั แตวันที่ 27 มนี าคม 2540 เปน ตน จะตอง
เปน สมาชกิ กบข. และสะสมเงนิ เขากองทนุ สมาชิกทจ่ี ายสะสมเขากองทนุ ในอัตรารอยละ 3 ของเงินเดอื นเปน
ประจำทกุ เดอื น รฐั บาลจะจา ยเงนิ สมทบใหก ับสมาชกิ ในอัตรารอยละ 3 ของเงนิ เดือนเปนประจำทุกเดอื น
เชนเดยี วกนั และจะนำเงนิ ดังกลาวไปลงทนุ หาผลประโยชนเ พ่อื จายใหกบั สมาชิกเมื่อกอกจากราชการ

ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการสงเสรมิ สวสั ดกิ ารและสวัสดิภาพครแู ละบุคลากรทางการศึกษาวา
ดวยการฌาปนกจิ สงเคราะหเ พ่ือนครูและบุคลากรทางการศกึ ษา(ช.พ.ค.)

ในระเบียบน้ี ช.พ.ค. หมายความวา การฌาปนกจิ สงเคราะหชว ยเพ่อื นครูและบุคลากรทางการศกึ ษาการ
จัดตงั้ ช.พ.ค. มคี วามมุงหมายเพ่อื เปนการกุศลและมีวัตถุประสงคใหส มาชิกไดทำการสงเคราะหซ่งึ กนั และกนั ในการ
จดั การศพและสงเคราะหครอบครวั ของสมาชิก ช.พ.ค. ทถ่ี ึงแกกรรมหลกั เกณฑและวิธีการจา ยเงนิ คาจดั การศพและ
เงนิ สงเคราะหครอบครวั ใหเ ปนไปตามที่คณะกรรมการ ช.พ.ค. กำหนด

ครอบครวั ของสมาชกิ ช.พ.ค หมายถงึ บคุ คลตามลำดบั ดงั นี้
1. คูส มรสทช่ี อบดว ยกฎหมาย บตุ รท่ีชอบดว ยกฎหมาย บุตรบญุ ธรรม บตุ รนอกสมรสท่ีบดิ ารับรองแลว
และบิดามารดาของสมาชกิ ช.พ.ค.
2. ผูอ ยใู นอปุ การะอยางบตุ รของสมาชิก ช.พ.ค.
3. ผอู ปุ การะสมาชกิ ช.พ.ค.
ผมู สี ิทธไิ ดร ับการสงเคราะหต ามวรรคหนงึ่ ยังมีชวี ิตอยู หรือมีผรู ับมรดกยังไมขาดสายแลวแตก รณใี น
ลำดับหนงึ่ ๆ บุคคลที่อยูในลำดบั ถัดไปไมมีสิทธิไดรบั เงนิ สงเคราะหค รอบครวั ระเบยี บน้ี
การสงเคราะหครอบครวั ของสมาชกิ ช.พ.ค. สำหรบั บุตรใหพ ิจารณาใหบ ุตรสมาชกิ ช.พ.ค. ไดร บั
ความชว ยเหลือเปนเงนิ ทนุ สำหรบั การศึกษาเลาเรยี นเปน ลำดับแรก

สมาชกิ ช.พ.ค. ตอ งระบุบคุ คลใดบคุ คลหนึ่งหรือหลายคน เปนผมู ีสิทธิรับเงนิ สงเคราะห
สมาชิก ช.พ.ค. มหี นา ทดี่ งั ตอ ไปน้ี
1. ตองปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บน้ี
2. สง เงินสงเคราะหรายศพ เม่ือสมาชกิ ช.พ.ค. อืน่ ถงึ แกกรรมศพละหน่ึงบาทภายใตเ งอื่ นไขดังตอไปน้ี
3. สมาชิก ช.พ.ค. ที่เปนขา ราชการประจำ ขาราชการบำนาญและผทู ่มี ีเงินเดือนหรือรายได รายเดือน ตอ ง

ยนิ ยอมใหเจาหนา ทผ่ี จู า ยเงินเดือนหรือเงนิ บำนาญเปนผหู กั เงินเพื่อชำระเงินสงเคราะหรายศพ ณ ทจี่ าย
ตามประกาศรายช่ือสมาชกิ ช.พ.ค. ท่ีถึงแกกรรม

คำจำกัดความ

แผนการปฏิบัตงิ าน และแผนการใชจายงบประมาณ หมายถึง แผนแสดงรายละเอียดการปฎิบัติงาน และ
แสดงรายละเอียดการใชจ ายงบประมาณรายจายตามแผนการปฏบิ ตั ิงานของโรงเรยี นบานหว งปลาไหล “สิงหะวทิ ยา”
ในรอบปง บประมาณ

การใชจายงบประมาณ หมายถึง การใชจายงบประมาณรายจายของโรงเรียนบานหวงปลาไหล “สิงหะ
วิทยา” เพ่อื ดำเนินตามแผนการปฏิบตั งิ านในรอบป

การจัดสรรงบประมาณ หมายถึง การจัดสรรงบประมาณรายจายตามพระราชบญั ญัตงิ บประมาณรายจา ย
ประจำป หรือพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายเพิ่มเติม ใหสวนราชการใชจายหรือกอหนี้ผูกพัน ทั้งนี้ อาจ
ดำเนินการโดยใชการอนมุ ตั ิเงนิ ประจำงวดหรือโดยวธิ ีการอนื่ ใดตามท่สี ำนกั งบประมาณกำหนด

เปาหมายยุทธศาสตร หมายถงึ ผลสัมฤทธ์ทิ ี่การใชจา ยงบประมาณตองการจะใหเกิดตอนักเรียน บุคลากร
โรงเรียนบา นหว งปลาไหล “สิงหะวทิ ยา”

แผนการปฏิบัติงาน หมายถึง แผนการปฏิบัติงานของโรงเรียนบานหวงปลาไหล “สิงหะวทิ ยา” ในรอบ
ปง บประมาณ

แผนการใชจายงบประมาณ หมายถึง แผนแสดงรายละเอียดการใชจายงบประมาณรายจายสำหรับ
โรงเรยี นบานหวงปลาไหล “สงิ หะวทิ ยา” เพ่อื ดำเนินงานตามแผนการปฏบิ ตั งิ านในรอบปง บประมาณ

โครงการ หมายถึง โครงการที่กำหนดข้นึ เพือ่ ใชจา ยเงินเปนไปตามในระหวางปง บประมาณ
งบรายจา ย หมายถงึ กลุมวัตถปุ ระสงคข องรายจาย ทก่ี ำหนดใหจายตามหลักการจำแนกประเภทรายจาย
ตามงบประมาณ
จำแนกงบรายจายตามหลกั จำแนกประเภทงบประมาณตามงบรายจาย ดังนี้
งบบุคลากร หมายถึง รายจายที่กำหนดใหจายเพื่อการบริหารงานบุคคลภาครฐั ไดแก รายจายในลักษณะ
เงินเดือน คาจางประจำ คาจางชั่วคราว และคาตอบแทนพนักงานราชการ รวมถึงรายจา ยที่กำหนดใหจายจากงบ
รายจา ยอ่ืนในลกั ษณะดงั กลาว

งบดำเนินงาน หมายถึง รายจายที่กำหนดใหจา ยเพื่อการบริหารงานประจำ ไดแกร ายจายที่จายในลักษณะ

คาตอบแทน คา ใชส อย คา วัสดุ คาสาธารณปู โภค

งบลงทุน หมายถึง รายจายที่กำหนดใหจายเพื่อการลงทุน ไดแก รายจายในลักษณะ คาครุภัณฑ คาที่ดิน

และสง่ิ กอ สรา ง

งบเงินอุดหนุน หมายถึง รายจายที่กำหนดใหจ ายเปนคาบำรุง หรือเพื่อชวยเหลือสนุบสนุนการดำเนินงาน

ของหนวยงานองคก รตามรัฐธรรมนูญ หรือหนวยงานของรฐั ซงึ่ มิใชส วนราชการสวนกลางตามพระราชบัญญัติระเบียบ

บริหารราชการแผนดิน หนวยงานในกำกบั ของรฐั องคก ารมหาชน รัฐวิสาหกิจ องคก รปกครองสวนทองถิ่น สภาตำบล

องคการระหวางประเทศบิติบุคคล เอกชนหรือกิจการอันเปนสาธารณประโยชน รวมถึง เงินอุดหนุนงบ

พระมหากษตั รยิ  เงินอดุ หนนุ การศาสนา และรายจายท่ีสำนกั งบประมาณกำหนดใหจ ายในงบรายจายน้ี

งบรายจายอื่น หมายถึง รายจายที่ไมเขาลักษณะประเภทงบรายจายใดงบรายจายหนึ่ง หรือรายจายที่

สำนกั งบประมาณกำหนดใหใชจา ยในงบรายจายนี้ เชน

(1) เงนิ ราชการลบั

(2) เงินคา ปรับที่จายคนื ใหแกผ ขู ายหรอื ผรู ับจาง

(3) คาจางที่ปรกึ ษาเพื่อศึกษา วิจัย ประเมินผล หรือพัฒนาระบบตางๆซ่ึงมิใชเพื่อการจัดหา หรือปรับปรุง

ครุภณั ฑท ่ีดินหรอื สิ่งกอ สราง

(4) คาใชจ า ยในการเดนิ ทางไปราชการตางประเทศช่ัวคราว
(5) คาใชจ า ยสำหรบั หนว ยงานองคก รตามรฐั ธรรมนญู (สวนราชการ)

(6) คาใชจายเพอ่ื ชำระหน้ีเงนิ กู

(7) คาใชจา ยสำหรับกองทุน หรือเงนิ ทนุ หมนุ เวียน

หนาที่ความรบั ผดิ ชอบ

กลมุ การบริหารงบประมาณ
นางสาวภฌลดา ปรางควิรยาปฏิบัติหนาที่หัวหนากลุมบริหารงบประมาณ มีหนาที่ดูแล กำกับติดตาม

กลั่นกรอง อำนวยความสะดวก ใหคำแนะนำปรึกษาการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ที่ปฏิบัติงานในกลุมบริหาร
งบประมาณ ตามขอบขายและภารกิจการบริหารงบประมาณ ปฏิบตั หิ นาที่ท่ีเกี่ยวของกับการจัดระบบบรหิ ารองคกร
การประสานงานและใหบริการสนับสนนุ สงเสรมิ ใหฝายบริหารงบประมาณตางๆ ในโรงเรยี นสามารถบรหิ ารจัดการ
และดำเนินการตามบทบาทภารกิจ อำนาจหนา ที่ดว ยความเรียบรอยตลอดจนสนับสนุนและใหบริการขอมูล ขาวสาร
เอกสาร สื่อ อุปกรณทางการศึกษาและทรัพยากรท่ีใชในการจัดการศึกษาแกเจาหนาที่ของแตละฝายงานเพือ่ ใหฝาย
งานบริหารจัดการไดอ ยา งสะดวกคลองตวั มคี ณุ ภาพและเกิดประสิทธิผล
ขอบขายกลมุ การบรหิ ารงบประมาณ มีดงั น้ี
1. การจัดทำแผนงบประมาณและคำขอต้ังงบประมาณเพ่อื เสนอตอ เลขาธิการคณะกรรมการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน

ผูรับผดิ ชอบ นางสาวภฌลดา ปรางควริ ยา หนา ท่ีรับผดิ ชอบปฏิบตั ิงานดังน้ี
1) จัดทำขอมูลสารสนเทศทางการเงนิ ของสถานศึกษา ไดแก แผนชั้นเรียน ขอมูลครูนักเรียน และ
สง่ิ อำนวยความสะดวกของสถานศกึ ษา โดยความรว มมอื ของสำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษา
2) จัดทำกรอบงบประมาณรายจายลวงหนา และแผนงบประมาณ
3) เสนอแผนงบประมาณขอความเห็นชอบตอคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐานเพื่อใชเปนคำ
ขอตัง้ งบประมาณตอ สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา
2. การจัดทำแผนปฏิบตั กิ ารใชจ ายเงนิ ตามทีไ่ ดร ับจัดสรรงบประมาณจากสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้น
พ้นื ฐานโดยตรง
ผูรบั ผิดชอบ นางสาวภฌลดา ปรางควิรยา หนา ทรี่ ับผดิ ชอบปฏบิ ัติงานและผูร ับผิดชอบโครงการฯ
ดังน้ี
1) จดั ทำแผนปฏิบตั ิการประจำปและแผนการใชจา ยงบประมาณภายใตความรว มมือของสำนักงาน
เขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา
2) ขอความเห็นชอบแผนปฏิบตั ิงานและแผนการใชจายงบประมาณตอคณะกรรมการสถานศึกษา
ขัน้ พนื้ ฐาน
3. การอนมุ ตั ิการใชจ า ยงบประมาณที่ไดร ับจัดสรร
ผรู บั ผิดชอบ นางสาวภฌลดา ปรางควริ ยา หนาที่รบั ผดิ ชอบเสนอโครงการดงั น้ี
- ผูอำนวยการสถานศึกษาอนุมัตกิ ารใชจายงบประมาณตามงาน/โครงการที่กำหนดไวใ นแผนปฏิบัติ
การประจำป และแผนการใชจ า ยเงินภายใตค วามรว มมอื ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
4. การขอโอนและการขอเปลี่ยนแปลงงบประมาณ
ผรู ับผิดชอบ นางสาวภฌลดา ปรางควิรยา หนาทรี่ บั ผดิ ชอบปฏิบัติงานดังนี้

1) ตรวจสอบรายละเอียดรายการงบประมาณที่จำเปนตองขอโอนหรือเปลี่ยนแปลงเชนเดียวกับ
สถานศึกษาประเภทที่ 1 เสนอความเห็นชอบคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน แลวเสนอ ขอโอนหรือ
เปลยี่ นแปลงรายการงบประมาณตอสำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษา เพือ่ ดำเนินการตอ ไป
5. การรายงานผลการเบกิ จายงบประมาณ

ผรู ับผิดชอบ นางสาวภฌลดา ปรางควิรยา หนาทรี่ บั ผดิ ชอบปฏิบัติงานดงั นี้
1) รายงานผลการดำเนินงาน ผลการใชจายเงินงบประมาณประจำป ไปยังสำนักงานเขต
พนื้ ที่การศกึ ษา
6. การตรวจสอบ ติดตามและรายงานการใชง บประมาณ
ผรู ับผดิ ชอบ นางสาวภฌลดา ปรางควริ ยา หนา ท่รี บั ผดิ ชอบปฏิบัตงิ านดังนี้
1) จดั การใหมีการตรวจสอบและตดิ ตามให กลมุ ฝายงาน ในสถานศึกษา รายงานผลการปฏบิ ัตงิ าน
และผลการใชจายงบประมาณ เพื่อจัดทำรายงานผลการปฏิบัติงานและผลการใชจายงบประมาณตามแบบที่สำนัก
งบประมาณกำหนด และจัดสงไปยังสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาทุกไตรมาส ภายในระยะเวลาที่สำนักงานเขตพื้นที่
การศกึ ษากำหนด
2) จัดทำรายงานประจำปที่แสดงถึงความสำเร็จในการปฏิบัติงาน และจัดสง ใหสำนกั งานเขตพื้นที่
การศกึ ษาภายในระยะเวลาที่สำนกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษากำหนด
7. การตรวจสอบ ติดตามและรายงานการใชผ ลผลิตจากงบประมาณ
ผรู ับผิดชอบ นางสาวภฌลดา ปรางควิรยา หนาท่ีรับผดิ ชอบปฏิบตั งิ านดังน้ี
1) ประเมินคณุ ภาพการปฏิบัติงานตามทไ่ี ดร บั มอบหมาย
2) วางแผนประเมนิ ประสิทธิภาพ และประสิทธิผลการดำเนินงานของสถานศกึ ษา
3) วิเคราะหและประเมินความมีประสิทธิภาพ ประหยัด และความคุมคาในการใชทรัพยากรของ
หนวยงานในสถานศกึ ษา
8. การระดมทรัพยากรและการลงทนุ เพอ่ื การศึกษา
ผรู ับผิดชอบ นางสาวภฌลดา ปรางควิรยา หนาทร่ี บั ผิดชอบปฏิบัติงานดงั น้ี
1) วางแผน รณรงค สงเสริมการระดมทนุ การศึกษาและทุนเพื่อการพัฒนาการศึกษาใหดำเนินงาน
ไดอ ยา งมปี ระสิทธิภาพและเกิดประสทิ ธผิ ล คุม คา และมีความโปรง ใส
2) จัดทำขอมูลสารสนเทศ และระบบการรับจายทุนการศึกษาและเพื่อการพัฒนาการศึกษาให
ดำเนนิ งานไดอยางมีประสทิ ธภิ าพและเกิดประสทิ ธผิ ล คุม คา และมคี วามโปรง ใส
3) สรุป รายงาน เผยแพร และเชิดชูเกียรติผูสนับสนุนทุนการศึกษาและทุนเพื่อการพัฒนา
สถานศกึ ษา โดยความชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน

9. การบรหิ ารจัดการทรพั ยากรเพ่อื การศกึ ษา
ผรู บั ผิดชอบ นายกันพิเชฐษ มลเิ กตุ หนาท่รี ับผิดชอบปฏิบัตงิ านดังน้ี

1) จดั ทำรายการทรพั ยากรเพื่อเปน สารสนเทศไดแกแหลงเรยี นรภู ายในสถานศึกษา แหลงเรียนรูใน
ทอ งถิ่นทัง้ ที่เปน แหลงเรียนรูธรรมชาติและภูมปิ ญญาทอ งถิ่น แหลง เรียนรูที่เปนสถานประกอบการ เพื่อการรับรูของ
บุคลากรในสถานศึกษา นกั เรียนและบคุ คลทว่ั ไปจำไดเ กดิ การใชท รัพยากรรว มกันในการจดั การศกึ ษา

2) วางระบบหรอื กำหนดแนวปฏบิ ัติการใชทรัพยากรรว มกันกบั บุคคล หนวยงานรฐั บาลและเอกชน
เพ่อื ใหเกดิ ประโยชนส งู สุด

3) กระตุนใหบุคคลในสถานศึกษารวมใชทรัพยากรภายในและภายนอก รวมท้ังใหบริการการใช
ทรพั ยากรภายในเพือ่ ประโยชนต อการเรยี นรแู ละสงเสริมการศึกษาในชมุ ชน

4) ประสานความรวมมือกับผูรับผิดชอบแหลงทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรที่มนุษยสราง
ทรพั ยากรบุคคลที่มีศกั ยภาพใหการสนบั สนนุ การจดั การศกึ ษา

5) ดำเนินการเชิดชูเกียรติบุคคลและหนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชน ที่สนับสนุนการใชทรัพยากร
รว มกันเพ่อื การศึกษาของสถานศกึ ษา

10. การวางแผนพสั ดุ
ผรู บั ผดิ ชอบ นางสาวกาญจนา วงษเชอ้ื หนา ท่รี บั ผิดชอบปฏิบัตงิ านดงั นี้
1) การวางแผนพัสดลุ ว งหนา 3 ป ใหดำเนนิ การตามกระบวนการของการวางแผนงบประมาณ
2) การจัดทำแผนการจัดหาพัสดุใหฝายที่ทำหนาที่จัดซื้อจัดจางเปนผูดำเนินการ โดยใหฝาย

ที่ตองการใชพัสดุ จัดทำรายละเอียดพัสดุที่ตองการ คือรายละเอียดเกี่ยวกับปริมาณ ราคา คุณลักษณะเฉพาะ หรือ
แบบรปู รายการและระยะเวลาที่ตองการนี้ตองเปนไปตามแผนปฏิบตั ิการประจำป (แผนปฏิบัติงาน) และตามทรี่ ะบุไว
ในเอกสารประกอบพระราชบัญญตั ิงบประมาณรายจายประจำป สง ใหฝายท่ีทำหนาทจ่ี ัดซ้อื จัดจางเพื่อจัดทำแผนการ
จดั หาพสั ดุ

3) ฝายทจี่ ัดทำแผนการจัดหาพัสดทุ ำการรวบรวมขอมลู รายละเอยี ดจากฝายทต่ี อ งการใชพัสดุโดยมี
การสอบทานกับแผนปฏิบัติงานและเอกสารประกอบพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจำป และความ
เหมาะสมของวิธีการจัดหาวาควรเปนการซื้อ การเชาหรือการจัดทำเองแลวจำนำขอมูลที่สอบทานแลวมาจัดทำ
แผนการจดั หาพัสดใุ นภาพรวมของสถานศกึ ษา
11. การกำหนดแบบรูปรายการหรอื คุณลกั ษณะเฉพาะของครภุ ัณฑหรอื สงิ่ กอสรางทใ่ี ชเ งนิ งบประมาณเพ่ือสนอง
ตอเลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน

ผูรับผดิ ชอบ นางสาวกาญจนา วงษเ ชื้อ หนาที่รบั ผิดชอบปฏิบตั งิ านดงั นี้
1) กำหนดแบบรูปรายการหรือคุณลักษณะเฉพาะเพื่อประกอบการขอตั้งงบประมาณ สงให
สำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษา
2) กรณีที่เปนการจดั หาจากเงินนอกงบประมาณใหกำหนดแบบรูปรายการหรือคุณลักษณะเฉพาะ
ไดโดยใหพิจารณาจากแบบมาตรฐานกอนหากไมเหมาะสมก็ใหกำหนดตามความตองการโดยยึดหลักความโปรงใส
เปน ธรรมและเปนประโยชนก บั ทางราชการ
12. การจดั หาพัสดุ

ผรู บั ผดิ ชอบ นางสาวกาญจนา วงษเ ชอ้ื หนาท่รี บั ผิดชอบปฏิบตั ิงานดังน้ี
1) การจัดหาพัสดถุ ือปฏิบตั ิตามระเบียบวา ดวยการพัสดขุ องสว นราชการและคำส่ังมอบอำนาจของ
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน
2) การจัดทำพัสดุถือปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงศึกษาวาดวยการใหสถานศึกษารับจัดทำรับ
บรกิ าร

13. การควบคุมดูแล บำรงุ รกั ษาและจำหนา ยพสั ดุ
ผูรับผิดชอบ นางสาวกาญจนา วงษเชอื้ หนาทีร่ บั ผิดชอบปฏิบตั งิ านดังน้ี
1) จดั ทำทะเบียนคมุ ทรพั ยสินและบญั ชวี สั ดุไมวาจะไดมาดวยการจัดหาหรอื การรับบริจาค
2) ควบคุมพสั ดใุ หอ ยูใ นสภาพพรอมการใชง าน
3) ตรวจสอบพัสดุประจำป และใหมีการจำหนายพัสดุที่ชำรุด เสื่อมสภาพหรือไมใชในราชการอีก

ตอ ไป
4) พสั ดทุ เี่ ปนท่ีดนิ หรือสิ่งกอสรา ง กรณีท่ีไดมาดว ยเงินงบประมาณใหด ำเนินการขน้ึ ทะเบยี น เปน

ราชพสั ดุ กรณที ี่ไดม าจากการรบั บริจาคหรือจากเงนิ รายไดส ถานศกึ ษาใหข้นึ ทะเบียนเปนกรรมสทิ ธข์ิ องสถานศกึ ษา
14. การรบั เงิน การเก็บรกั ษาเงิน และการจายเงนิ

ผรู ับผิดชอบ นางสาวภฌลดา ปรางควิรยา หนา ที่รับผิดชอบปฏิบัติงานดังน้ี
1) การปฏิบัติเกย่ี วกับการรับเงนิ และการจายเงินใหป ฏบิ ัติตามระเบียบที่กระทรวงการคลังกำหนด
คือ ระเบียบการเก็บรกั ษาเงินและการนำเงินสง คลงั ในหนาที่ของอำเภอ พ.ศ. 2520 โดยสถานศกึ ษาสามารถกำหนด
วิธีปฏิบัติเพมิ่ เติมไดตามความเหมาะสมแตต องไมขัดหรือแยง กบั ระเบยี บดังกลาว
2) การปฏิบัติเกี่ยวกับการเก็บรักษาเงินใหปฏิบัติตามระเบียบที่กระทรวงการคลังกำหนด
คือระเบียบการเกบ็ รกั ษาเงนิ และการนำเงินสงคลงั ในสว นของราชการ พ.ศ. 2520 โดยอนุโลม
15. การนำเงินสง คลงั
ผรู ับผดิ ชอบ นางสาวภฌลดา ปรางควิรยา หนา ทร่ี บั ผิดชอบปฏิบัตงิ านดงั น้ี
1) การนำเงินสงคลังใหนำสงตอสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาภายในระยะเวลาที่กำหนดไวตาม
ระเบียบการเก็บรักษาเงินและการนำเงินสงคลังในหนาที่ของอำเภอพ.ศ. 2520 หากนำสงเปนเงินสดใหตั้ง
คณะกรรมการนำสง เงนิ ดว ย

16. การจดั ทำบญั ชีการเงิน
ผรู บั ผดิ ชอบ นางสาวภฌลดา ปรางควริ ยา หนาทีร่ ับผิดชอบปฏิบตั ิงานดังนี้
1) ใหจัดทำบญั ชีการเงินตามระบบท่ีเคยจัดทำอยูเ ดิม คือ ตามระบบที่กำหนดไวในคูมือการบัญชี

หนวยงานยอย พ.ศ. 2515 หรอื ตามระบบการควบคมุ การเงนิ ของหนวยงานยอย พ.ศ. 2544 แลว แตก รณี
17. การจดั ทำรายงานทางการเงินและงบการเงิน

ผูร บั ผดิ ชอบ นางสาวภฌลดา ปรางควริ ยา หนา ที่รบั ผิดชอบปฏิบตั ิงานดงั นี้

1) จัดทำรายงานตามท่ีกำหนดในคูมือการบัญชีสำหรับหนวยงานยอย พ.ศ. 2515 หรอื ตามระบบ
การควบคุมการเงนิ ของหนว ยงานยอยพ.ศ. 2515 แลวแตก รณี

2) จัดทำรายงานการรับจายเงินรายไดสถานศึกษา ตามที่สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน
พ้ืนฐานกำหนด คือ ตามประกาศสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐานวาดว ยหลกั เกณฑ อตั ราและวิธีการนำ
เงินรายไดสถานศึกษาไปจายเปนคาใชจายในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่เปนนิตบิ ุคคลรายไดสถานศึกษาไป
จายเปนคา ใชจายในการจัดการของสถานศึกษาทเ่ี ปน นิติบคุ คลในสงั กดั เขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษา

18. การจดั ทำและจดั หาแบบพิมพบัญชี ทะเบยี นและรายงาน
ผรู ับผดิ ชอบ นางสาวภฌลดา ปรางควิรยา หนาที่รบั ผดิ ชอบปฏิบัตงิ านดังน้ี
1) แบบพิมพบัญชี ทะเบียนและแบบรายงานใหจัดทำตามแบบที่กำหนดในคูมือการบญั ชีสำหรับ

หนว ยงานยอ ย พ.ศ. 2515 หรอื ตามระบบการควบคมุ การเงนิ ของหนว ยงานยอย พ.ศ. 2544

คมู ือการบริหารงานบคุ คล

โรงเรยี นชุมชนบา นขา วปุน(ศาสนานเุ คราะห)
สำนกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 2

สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

วิสัยทศั น พันธกิจ เปา หมาย ของสถานศกึ ษา

วิสัยทศั นโ รงเรียนชมุ ชนบา นขาวปุน(ศาสนานุเคราะห)

ผูเรียนไดรับการศึกษาตลอดชีวิตที่มีคุณภาพอยางทั่วถึงและเสมอภาค และมีทักษะ การเรียนรูใน
ศตวรรษท่ี ๒๑

ภารกิจ
๑. สงเสริม สนับสนุน และพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และ

การศึกษาตามอัธยาศยั ที่สอดคลองกับการพฒั นาคุณภาพผูเรียนในศตวรรษที่ ๒๑
๒. พัฒนาศกั ยภาพและระบบบรหิ ารงานบุคคลของขาราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา ทส่ี งผลตอ

การพฒั นาคณุ ภาพผูเรยี นในศตวรรษที่ ๒๑
๓. พัฒนาการบริหารจัดการของหนวยงานท้ังในสวนกลางและภูมภิ าคใหมปี ระสิทธิภาพ เอื้อตอการ

พฒั นาคุณภาพบคุ ลากร การปฏิบัตงิ านและเปาหมายการพัฒนาผเู รยี น
๔. สงเสริม สนับสนุนการบูรณาการการปฏิบัติงานตามยุทธศาสตรของสำนักงานศึกษาธิการภาค

และสำนกั งานศกึ ษาธิการจงั หวดั ใหบ รรลุผลตามบทบาทและภารกิจทก่ี ำหนด

เปาหมาย
๑. ผูเ รยี นไดรบั การศกึ ษาทม่ี ีคณุ ภาพท่สี อดคลองเหมาะสมกบั การเสรมิ สรางความม่นั คง
๒. ผูเรียนมีสมรรถนะและความสามารถในการแขงขันท่ีสนองความตองการของตลาดงานและ

ประเทศ
๓. ผเู รียนไดร บั การศกึ ษาทมี่ คี ุณภาพ และมที กั ษะของผูเรียนในศตวรรษท่ี ๒๑
๔. ผูเรยี นไดร บั โอกาสทางการศกึ ษาอยางทัว่ ถึง และเสมอภาค
๕. ผเู รยี นมีคณุ ภาพชีวิตท่เี ปนมติ รกับส่งิ แวดลอ ม
๖. หนวยงานท้ังในสวนกลางและภูมิภาคมีระบบบริหารจดั การที่มีประสทิ ธภิ าพและประสิทธิผล

สมรรถนะสำคัญของผูเรยี น

หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนชุมชนบานขาวปนุ (ศาสนานุเคราะห) พทุ ธศักราช ๒๕๖๓ ตามหลักสตู ร
แกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ มุงพฒั นาใหผูเรยี นมีคุณภาพตามมาตรฐานท่กี ำหนดและ
เกดิ สมรรถนะสำคัญ ๕ ประการ ดังน้ี

๑. ความสามารถในการสื่อสาร เปนความสามารถในการรับและสงสาร มีวัฒนธรรมในการใช
ภาษาถายทอดความคิด ความรูความเขาใจ ความรูสึก และทัศนะของตนเอง เพ่ือแลกเปล่ียนขอมูลขา วสาร

และประสบการณอันจะเปนประโยชนต อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมท้ังการเจรจาตอรองเพื่อขจัดและ
ลดปญหาความขัดแยงตาง ๆ การเลือกรับหรือไมรับขอมูลขาวสารดวยหลักเหตุผลและความถูกตอง
ตลอดจนการเลือกใชวธิ กี ารสือ่ สาร ท่มี ปี ระสทิ ธิภาพโดยคำนึงถงึ ผลกระทบท่ีมตี อตนเองและสังคม

๒. ความสามารถในการคิด เปนความสามารถในการคิดวิเคราะห การคิดสังเคราะห การคิด
อยางสรางสรรค การคิดอยางมีวิจารณญาณ และการคิดเปนระบบ เพ่ือนำไปสูการสรางองคความรูหรือ
สารสนเทศ เพ่ือการตัดสนิ ใจเกีย่ วกับตนเองและสังคมไดอยางเหมาะสม

๓. ความสามารถในการแกปญหา เปนความสามารถในการแกปญหา และอุปสรรคตา ง ๆที่เผชิญ
ไดอ ยางถกู ตอ งเหมาะสมบนพ้ืนฐาน ของหลักเหตุผล คณุ ธรรมและขอมลู สารสนเทศ เขาใจความสัมพนั ธและ
การเปล่ียนแปลงของเหตกุ ารณต า ง ๆ ในสงั คม แสวงหาความรู ประยุกตค วามรมู าใชในการปอ งกันและแกไข
ปญ หา และมกี ารตดั สินใจทีม่ ีประสทิ ธภิ าพโดยคำนึงถงึ ผลกระทบทเ่ี กิดขึน้ ตอ ตนเอง สังคมและสง่ิ แวดลอม

๔. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต เปนความสามารถในการนำกระบวนการตาง ๆ ไปใชในการ
ดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรูดว ยตนเอง การเรียนรอู ยางตอ เนอื่ ง การทำงาน และการอยูรวมกันในสังคม
ดวยการสรางเสรมิ ความสัมพันธอันดีระหวางบุคคล การจัดการปญหาและความขัดแยงตาง ๆ อยางเหมาะสม
การปรับตัวใหทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดลอม และการรูจักหลีกเล่ียงพฤตกิ รรมไมพึง
ประสงคทส่ี งผลกระทบตอ ตนเองและผอู ่ืน

๕. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี เปนความสามารถในการเลือก และใช เทคโนโลยีดานตาง ๆ
และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในดานการเรียนรู การส่ือสาร การ
ทำงาน การแกป ญหาอยา งสรางสรรค ถูกตอ ง เหมาะสม และมคี ณุ ธรรม

คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนชุมชนบานขาวปุน(ศาสนานุเคราะห) พุทธศักราช ๒๕๖๓ ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุงพฒั นาผูเรยี นใหม ีคุณลกั ษณะอันพึงประสงค
เพื่อใหสามารถอยูรวมกับผอู ่ืนในสงั คมไดอ ยางมคี วามสุข มีคณุ ลกั ษณะและสมรรถนะสำคัญของพลเมอื งไทย
และพลเมอื งโลกในศตวรรษที่ ๒๑ ประกอบดวยคณุ ธรรม ๘ ประการ ดงั นี้

๑. รักชาติ ศาสน กษัตริย
๒. ซื่อสตั ยสจุ ริต
๓. มวี ินัย

๔. ใฝเรียนรู
๕. อยูอยางพอเพยี ง
๖. มงุ มั่นในการทำงาน
๗. รักความเปนไทย
๘. มจี ติ สาธารณะ

คา นยิ ม ๑๒ ประการสำหรบั คนไทย
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนชุมชนบานขาวปุน(ศาสนานุเคราะห) พุทธศักราช ๒๕๖๓ ตามหลกั สูตร

แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุงพัฒนาใหผเู รียนมีคานยิ มสำหรับคนไทย ๑๒ ประการ
ดังน้ี

๑. มีความรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ 
๒. ซื่อสตั ย เสียสละ อดทน มอี ุดมการณในสิง่ ทีด่ งี ามเพ่ือสวนรวม
๓. กตญั ตู อ พอแม ผปู กครอง ครบู าอาจารย
๔. ใฝห าความรู หมัน่ ศึกษาเลา เรยี นทัง้ ทางตรง และทางออม
๕. รักษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอันงดงาม
๖. มศี ีลธรรม รักษาความสัตย หวังดตี อ ผูอนื่ เผ่อื แผและแบงปน
๗. เขา ใจเรียนรกู ารเปน ประชาธปิ ไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมขุ ท่ีถกู ตอง
๘. มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย ผูนอยรูจ กั การเคารพผใู หญ
๙. มสี ตริ ตู ัว รคู ดิ รูท ำ รปู ฏบิ ัตติ ามพระราชดำรสั ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั
๑๐. รจู กั ดำรงตนอยโู ดยใชหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดำรสั ของ พระบาทสมเดจ็
พระเจาอยูหวั รจู ักอดออมไวใชเ มือ่ ยามจำเปน มไี วพ อกินพอใช ถา เหลือก็แจกจายจำหนาย และพรอมทีจ่ ะ
ขยายกจิ การเมื่อมคี วามพรอม เมอื่ มีภูมิคุม กันที่ดี
๑๑. มคี วามเขมแข็งท้ังรา งกาย และจิตใจ ไมยอมแพต ออำนาจฝายตา งหรือกิเลส มีความละอาย
เกรงกลวั ตอบาปตามหลกั ของศาสนา
๑๒. คำนึงถึงผลประโยชนข องสว นรวม และของชาตมิ ากกวาผลประโยชนข องตนเอง

การบรหิ ารงานบุคคล

หมายถึง การหาทางใชคนที่อยูรวมกันในองคกรน้ัน ๆใหทำงานไดผล ดีท่ีสุด สิ้นเปลืองคาใชจาย
นอยท่ีสุด ในขณะเดยี วกันก็สามารถทำใหผูร ว มงานมีความสุขมีความพอใจ ท่ีจะใหความรว มมอื และทำงาน
รวมกบั ผบู ริหาร เพือ่ ใหงานขององคก รนั้นๆ สำเร็จลลุ ว งไปดวยดี

แนวคดิ

๑) ปจจัยทางการบรหิ ารทง้ั หลายคนถอื เปน ปจ จัยทางการบริหารทส่ี ำคัญทส่ี ุด
๒) การบริหารงานบุคคลจะมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลผูบริหารจะตองมีความรู ความเขาใจ
และมีความสามารถสูงในการบริหารงานบุคคล
๓) การจดั บุคลากรใหปฏิบัตงิ านไดเ หมาะสมกับความรูความสามารถจะมีสวนทำใหบุคลากร มขี วัญ
กำลังใจ มีความสุขในการปฏบิ ตั ิงาน สงผลใหงานประสบผลสำเร็จอยางมีประสทิ ธภิ าพ
๔) การพัฒนาบุคลากรใหมีความรูความสามารถอยางสม่ำเสมอและตอเนื่องจะทำใหบุคลากร
เปลย่ี นแปลงพฤติกรรมและกระตอื รอื รนพฒั นางานใหดียิง่ ขน้ึ
๕) การบริหารงานบุคคลเนนการมสี ว นรว มของบุคลากรและผมู ีสวนไดเ สียเปน สำคญั

ขอบขายงานบคุ ลากร
๑. สง เสริมและพฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการใหมปี ระสทิ ธภิ าพ
๒. สงเสริมใหบุคลากรในโรงเรียนปฏิบัติตามในหนาท่ีตามมาตรฐานวิชาชีพ และจรรยาบรรณ
วชิ าชพี ครู
๓. สงเสริมการประชาสัมพันธข อมูลขาวสารของบุคลากรภายในโรงเรียนแกผูเ ก่ียวของอยางท่ัวถึง
และมีประสทิ ธภิ าพ
๔. สง เสริม และสนับสนนุ ใหครแู ละบุคลากรไดร บั การพฒั นาตามสมรรถนะวชิ าชพี ครู
๕. ประสานความรว มมือระหวา งโรงเรียน ผูปกครอง และชุมชน ในการพัฒนา โรงเรยี น
๖. สงเสริมใหค ณะครปู ฏบิ ตั หิ นา ท่ดี วยความซ่อื สัตยส ุจริต
๗. สงเสริมใหค ณะครูปฏบิ ตั ติ นในการดำเนินชีวิตโดยยดึ หลักเศรษฐกจิ พอเพียง

เปา หมาย (Goals)
๑. สง เสริมและพัฒนาระบบการบริหารจัดการใหม ปี ระสิทธภิ าพ
๒. สงเสริมใหบุคลากรในโรงเรียนปฏิบัติตามในหนาที่ตามมาตรฐานวิชาชีพ และจรรยาบรรณ
วิชาชพี ครู
๓. สงเสริมการประชาสัมพันธข อมูลขาวสารของบุคลากรภายในโรงเรียนแกผูเ กี่ยวของอยางท่ัวถึง
และมีประสิทธภิ าพ
๔. สงเสรมิ และสนับสนุนใหครูและบคุ ลากรไดรบั การพฒั นาตามสมรรถนะวิชาชีพครู
๕. ประสานความรว มมอื ระหวางโรงเรียน ผูปกครอง และชมุ ชน ในการพฒั นา โรงเรยี น
๖. สงเสรมิ ใหคณะครปู ฏิบตั หิ นาท่ีดวยความซื่อสตั ยสุจรติ
๗. สงเสริมใหคณะครปู ฏบิ ตั ติ นในการดำเนนิ ชีวิตโดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพยี ง

วางแผนอตั รากำลัง/การกำหนดตำแหนง
มีหนาที่

๑. จัดทำแผนงาน/โครงการ แผนปฏิบตั ิงานประจำปแ ละปฏิทินปฏิบตั ิงาน
๒. จดั ทำแผนงานอัตรากำลงั ครู / การกำหนดตำแหนงและความตองการครูในสาขาทโ่ี รงเรียนมี

ความตองการ
๓. จดั ทำรายงานอัตรากำลังครตู อ หนว ยงานตนสงั กัด

การสรรหาและบรรจแุ ตงตงั้
มีหนา ที่

๑. วางแผนดำเนินการสรรหาและเลือกสรรและกำหนดรายละเอยี ดแผนปฏิบตั งิ าน
๒. กำหนดรายละเอยี ดเก่ยี วกับการสรรหาการเลอื กสรรคุณสมบตั ิของบุคคลท่ีรบั สมัคร
๓. จดั ทำประกาศรับสมัคร
๔. รบั สมัคร
๕. การตรวจสอบคุณสมบัติผสู มัคร
๖. ประกาศรายชื่อผมู ีสิทธริ บั การประเมนิ
๗. แตงต้งั คณะกรรมการดำเนนิ การสรรหาและเลือกสรร
๘. สอบคดั เลือก
๙. ประกาศรายชือ่ ผผู านการเลือกสรร

๑๐.การเรยี กผทู ีผ่ านการคดั เลือกมารายงานตัว
๑๑.จัดทำรายตอหนวยงานตน สังกัด

การพฒั นาบุคลากร
มีหนา ที่

๑. จดั ทำแผนงาน/โครงการ/แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำป
๒. สำรวจความตอ งการในการพัฒนาครแู ละบุคลากรในโรงเรยี น
๓. จดั ทำแผนพฒั นาตนเองของครแู ละบุคลากรในโรงเรยี น
๔. สงเสริมและสนบั สนุนใหค รแู ละบคุ ลากรไดร ับการพฒั นา
๕. จัดทำแฟมบุคลากรในโรงเรยี น
๖. ติดตาม ประเมินผล สรปุ รายงานผลการปฏิบตั ิงานเสนอผูอ ำนวยการ
๗. งานอนื่ ๆ ที่ไดร บั มอบหมาย

การเลือ่ นขน้ั เงินเดือน
มีหนาท่ี

๑. จัดทำแผนงาน/โครงการ/แผนปฏิบตั ิการประจำป
๒. นิเทศ ติดตามผลการปฏบิ ัติงานของครูและบุคลากรในโรงเรยี น
๓. ประชุมคณะกรรมการในการพจิ ารณาเลื่อนข้นั เงินเดอื นประจำป
๔. จัดทำบัญชผี ูที่ไดร ับการพิจารณาเล่ือนขน้ั ประจำปโ ดยยึดหลกั ความโปรงใส คุณธรรมจรยิ ธรรม

และการปฏิบัตงิ านท่รี บั ผดิ ชอบ
๕. แตงต้งั ผูท ่ีไดร ับการเล่ือนขน้ั เงนิ เดือนรายงานตอ ตนสงั กดั

เครอื่ งราชอสิ รยิ าภรณ
มีหนา ที่

๑. จัดรวบรวมเอกสารในการเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ
๒. สำรวจความตอ งการขอพระราชทานเครือ่ งราชอสิ รยิ าภรณของคณะครูและบคุ ลากร
๓. สงเสรมิ และสนับสนนุ ขอพระราชทานเครอื่ งราชอิสรยิ าภรณข องคณะครูและบุคลากรใน

โรงเรยี น
๔. จัดทำแฟมขอมลู การไดรบั พระราชทานเครื่องราชอสิ รยิ าภรณข องคณะครูและบคุ ลากรใน

โรงเรยี น

วินยั และการรักษาวนิ ยั
มหี นา ที่

๑. จดั รวบรวมเอกสารเกีย่ ววินัยและการรกั ษาวินัยของขาราชการครูและบคุ ลากรในโรงเรียน
๒. จัดทำแฟมขอมูลเกี่ยวกบั การทำผิดเกย่ี วกบั วินยั ของขา ราชการครแู ละบุคลากรในโรงเรยี น

สวสั ดิการครู
มหี นา ที่

๑. วางแผนดำเนนิ งานเกย่ี วกับสวัสดกิ ารของครแู ละบุคลากรในโรงเรียน
๒. มอบของขวัญเปนกำลังใจในวันสำคญั ตา งๆ วันเกดิ แสดงความยินดีท่ีผา นการประเมนิ ครู
ชำนาญการพเิ ศษ ของครแู ละบุคลากรในโรงเรยี น
๓. ซอ้ื ของเยยี่ มไขเ ม่ือเจ็บปว ยหรอื นอนพกั รักษาตวั ในโรงพยาบาล

สำมะโนนกั เรียน/รบั นักเรยี น
มีหนาท่ี

๑. วางแผนในการจัดทำสำมะโนนักเรยี น
๒. สำมะโนนักเรยี นในเขตหมู ๑ , ๒ , ๘ และหมู ๑๔ ซึ่งเปน เขตบริการของโรงเรยี น
๓. จดั ทำเอกสารการรับสมัครนกั เรยี น เดก็ เล็ก ชนั้ อนุบาล ๒ ประถมศึกษาปท่ี ๑
๔. เปดรับสมคั รนกั เรียน เดก็ เลก็ ชัน้ อนุบาล ๒ ประถมศึกษาปที่ ๑
๕. จดั ทำแฟมนักเรยี น เด็กเลก็ ชน้ั อนบุ าล ๒ ประถมศึกษาปท่ี ๑
๖. สรุปการจดั ทำสำมะโนนกั เรยี นรายงานหนว ยงานตนสงั กดั

การปฏบิ ัติราชการของขา ราชการครู

๑. การลา การลาแบง ออกเปน ๙ ประเภท คอื
๑. การลาปว ย
๒. การลาคลอดบตุ ร
๓. การลากจิ สวนตวั
๔. การลาพักผอ น
๕. การลาอปุ สมบทหรอื การลาไปประกอบพิธีฮัจย

๖. การลาเขารบั การตรวจเลอื กหรือเขารับการเตรยี มพล
๗. การลาไปศกึ ษา ฝก อบรม ดูงาน หรอื ปฏิบตั กิ ารวจิ ัย
๘. การลาไปปฏบิ ัตงิ านในองคก ารระหวา งประเทศ
๙. การลาตดิ ตามคสู มรส

การลาปวย ขาราชการซึ่งประสงคจะลาปวยเพื่อรักษาตัวใหเสนอหรือจัดสงใบลาตอ ผูบังคบั บัญชา
ตามลำดับจนถงึ ผูมีอำนาจอนุญาตกอ นหรือในวนั ท่ีลาเวนแตในกรณจี ำเปนจะเสนอหรอื จดั สง ใบลา ในวนั แรก
ที่มาปฏิบัติราชการก็ได ในกรณีที่ขาราชการผขู อลามีอาการปวยจนไมสามารถจะลงชื่อในใบลาไดจะใหผูอื่น
ลาแทนก็ได แตเม่ือสามารถลงช่ือไดแลวใหเสนอหรือจัดสงใบลาโดยเร็ว การลาปวยต้ังแต ๓๐ วันขึ้นไป
ตองมีใบรับรองของแพทยซ่งึ เปนผูที่ไดข้ึนทะเบียนและ รับใบอนุญาตเปน ผูประกอบวิชาชพี เวชกรรมแนบไป
กับใบลาดวย ในกรณีจำเปนหรือเห็นสมควรผูมีอำนาจอนุญาตจะส่ังใหใชใบรับรองของแพทยซึ่งผูมีอำนาจ
อนุญาตเห็นชอบแทนก็ได การลาปวยไมถึง ๓๐ วัน ไมวาจะเปนการลาคร้ังเดียวหรือหลายครั้งติดตอกัน
ถาผูมีอำนาจ อนุญาตเห็นสมควร จะสง่ั ใหมีใบรับรองแพทยตามวรรคสามประกอบใบลา หรือส่ังใหผูลาไป
รบั การ ตรวจจากแพทยของทางราชการเพ่อื ประกอบการพิจารณาอนุญาตก็ได

การลาคลอดบตุ ร ขาราชการซึ่งประสงคจ ะลาคลอดบุตร ใหเสนอหรอื จดั สง ใบลาตอ ผูบ ังคบั บญั ชา
ตามลำดับ จนถึงผูมีอำนาจอนุญาตกอนหรือในวันท่ีลา เวนแตไมสามารถจะลงช่ือในใบลาได จะใหผูอ่ืนลา
แทน ก็ได แตเมื่อสามารถลงชื่อไดแลวใหเสนอหรือจัดสงใบลาโดยเร็ว และมีสิทธิลาคลอดบุตรโดยไดรับ
เงินเดอื นครัง้ หน่ึงได การลาคลอดบุตรจะลาในวนั ท่คี ลอดกอนหรือหลังวันที่คลอดบตุ รก็ได แตเม่อื รวมวันลา
แลว ตองไมเกิน ๙๐ วัน

การลากิจสว นตัว ขาราชการซึง่ ประสงคจะลากิจสว นตัว ใหเสนอหรอื จัดสง ใบลาตอ ผบู ังคับบัญชา
ตามลำดับ จนถึงผูมีอำนาจอนญุ าต และเมื่อไดรบั อนุญาตแลวจึงจะหยุดราชการได เวนแตมีเหตุจำเปน ไม
สามารถรอรับอนุญาตไดทันจะเสนอหรือจัดสงใบลาพรอมดวยระบุเหตุจำเปนไวแลว หยุดราชการ ไปกอนก็
ได แตจะตองชี้แจงเหตุผลใหผูมีอำนาจอนุญาตทราบโดยเร็ว ในกรณีมีเหตุพิเศษที่ไมอาจเสนอหรือจัดสง
ใบลากอ นตามวรรคหน่งึ ได ใหเ สนอหรอื จดั สง ใบลาพรอ มทง้ั เหตุผลความจำเปน ตอผูบงั คบั บญั ชาตามลำดับ
จนถึงผูมีอำนาจอนุญาตทันทีในวันแรก ท่ีมาปฏิบัติราชการ ขาราชการมีสิทธิลากิจสวนตัว โดยไดรับ
เงินเดือนปละไมเกิน ๔๕ วันทำการ ขาราชการที่ลาคลอดบุตรตามขอ ๑๘ แลว หากประสงคจะลากิจ
สวนตัวเพ่ือเลี้ยงดูบุตรใหมี สิทธิลาตอเนื่องจากการลาคลอดบุตรไดไมเกิน ๑๕๐ วันทำการ โดยไมมีสิทธิ
ไดร บั เงนิ เดือนระหวา งลา

การลาพักผอ น ขา ราชการมสี ิทธิลาพกั ผอนประจำปในปหนงึ่ ได ๑๐ วันทำการ
เวน แตข าราชการดังตอ ไปน้ี ไมมีสทิ ธิลาพักผอ นประจำปในปท ี่ไดรับบรรจเุ ขา รับราชการยงั ไมถ งึ ๖ เดอื น

๑. ผูซ่ึงไดร ับบรรจุเขารับราชการเปนขาราชการครง้ั แรก ผซู ่ึงลาออกจากราชการเพราะเหตุสวนตัว
แลวตอมาไดร บั บรรจเุ ขา รับราชการอีก

๒. ผูซงึ่ ลาออกจากราชการเพ่อื ดำรงตำแหนงทางการเมอื ง หรือเพอ่ื สมัครรับเลือกตง้ั
แลว ตอมาไดร บั บรรจเุ ขารับราชการอกี หลงั ๖ เดือน นับแตว ันออกจากราชการ

๓. ผูซ่ึงถูกสัง่ ใหออกจากราชการในกรณีอื่น นอกจากกรณีไปรับราชการทหารตามกฎหมาย วาดว ย
การรบั ราชการทหารและกรณีไปปฏิบัติงานใด ๆ ตามความประสงคของทางราชการ แลวตอมา ไดรับบรรจุ
เขารับราชการอกี ถา ในปใ ดขาราชการผูใดมิไดล าพักผอนประจำปห รือลาพักผอ นประจำป แลว แตไมครบ ๑๐
วันทำการ ใหสะสมวันท่ียังมิไดลาในปน้ันรวมเขากับปตอ ๆไปได แตวันลาพักผอน สะสมรวมกับวันลา
พกั ผอ นในปปจจบุ ันจะตองไมเ กนิ ๒๐ วันทำการ สำหรับผูที่ไดร ับราชการติดตอกันมาแลวไมนอยกวา ๑๐ ป
ใหม สี ทิ ธินำวันลาพักผอนสะสม รวมกบั วันลาพกั ผอ นในปป จจุบนั ไดไมเกนิ ๓๐ วนั ทำการ

การลาอุปสมบทหรอื การลาไปประกอบพิธฮี ัจย ขาราชการซึ่งประสงคจะลาอุปสมบทใน
พระพุทธศาสนา หรือขาราชการท่ีนับถือศาสนา อิสลามซึ่งประสงคจะลาไปประกอบพิธีฮัจย ณ เมืองเมกกะ
ประเทศซาอุดีอาระเบียใหเสนอหรือจัดสงใบลาตอผูบังคับบัญชาตามลำดับจนถึงผูมีอำนาจพิจารณาหรือ
อนุญาตกอนวันอุปสมบท หรอื กอนวันเดินทางไปประกอบพิธีฮัจยไมนอยกวา ๖๐ วัน ในกรณมี เี หตุพิเศษไม
อาจเสนอหรือจัดสงใบลากอนตามวรรคหน่ึงใหช้ีแจงเหตุผลความ จำเปนประกอบการลา และใหอยูใน
ดุลพินิจของผมู ีอำนาจที่จะพิจารณาใหลาหรอื ไมก็ได ขาราชการที่ไดรับพระราชทานพระบรมราชานญุ าตให
ลาอุปสมบทหรอื ไดร ับอนุญาตใหลาไป ประกอบพิธีฮัจยแลว จะตองอุปสมบทหรือออกเดินทางไปประกอบพธิ ี
ฮจั ยภายใน ๑๐ วัน นบั แต วันเร่มิ ลา และจะตองกลับมารายงานตัวเขาปฏิบัติราชการภายใน ๕ วัน นับแต
วันท่ีลาสกิ ขา หรือ วันท่ีเดินทางกลับถงึ ประเทศไทยหลงั จากการเดนิ ทางไปประกอบพิธีฮจั ย

การลาเขารับการตรวจเลือกหรือเขารับการเตรียมพล ขาราชการท่ีไดรับหมายเรียกเขารับการ
ตรวจเลือก ใหรายงานลาตอผูบังคับบัญชากอนวัน เขารับการตรวจเลือกไมนอยกวา ๔๘ ช่ัวโมง สวน
ขาราชการที่ไดรับหมายเรียกเขารับการเตรียมพล ใหรายงานลาตอผูบังคับบัญชาภายใน ๔๘ ชั่วโมง นับแต
เวลารับหมายเรียกเปนตนไป และใหไปเขา รับการตรวจเลือกหรือเขารับการเตรียมพลตามวันเวลาใน
หมายเรียกน้ันโดยไมตองรอรับคำส่ัง อนุญาต และใหผูบังคับบัญชาเสนอรายงานลาไปตามลำดับจนถึง
หวั หนาสวนราชการ หรือหวั หนา สว นราชการขนึ้ ตรง

การลาไปศกึ ษา ฝกอบรมดูงาน หรอื ปฏิบัติการวิจัย ขาราชการซึ่งประสงคจะลาไปศกึ ษาฝกอบรม
ดูงาน หรือปฏิบัติการวิจัย ณ ตางประเทศ ใหเสนอหรือจัดสงใบลาตอผูบังคับบัญชาตามลำดับจนถึง
ปลัดกระทรวงหรือหัวหนาสวนราชการขึ้นตรงเพื่อพิจารณาอนุญาตสำหรับการลาไปศึกษาฝกอบรมดูงาน
หรอื ปฏิบัติการวิจัยในประเทศใหเสนอหรือจดั สง ใบลาตามลำดับจนถงึ หัวหนา สวนราชการ หรอื หัวหนา สว น
ราชการข้ึนตรงเพ่ือพิจารณาอนุญาต เวนแตขาราชการกรุงเทพมหานครใหเสนอหรือจัดสงใบลาตอปลัด
กรุงเทพมหานคร สำหรับหัวหนา สวนราชการใหเสนอหรือจัดสงใบลาตอปลัดกระทรวง หัวหนาสวน
ราชการขนึ้ ตรงและขา ราชการ ในราชบัณฑิตยสถานใหเสนอหรือจดั สงใบลาตอ รัฐมนตรีเจา สงั กัด
สว นปลดั กรุงเทพมหานครใหเ สนอ หรือจัดสงใบลาตอ ผูวาราชการกรงุ เทพมหานคร เพ่อื พจิ ารณาอนญุ าต

การลาไปปฏิบัติงานในองคการระหวางประเทศ ขาราชการซ่ึงประสงคจะลาไปปฏิบัติงานใน
องคการระหวางประเทศ ใหเสนอหรือจัดสงใบลา ตอผูบังคับบัญชาตามลำดับจนถึงรัฐมนตรีเจาสังกัดเพ่ือ
พจิ ารณา โดยถอื ปฏบิ ัติตามหลกั เกณฑ ท่ีกำหนด

การลาติดตามคูสมรส ขาราชการซ่ึงประสงคติดตามคูสมรสใหเสนอหรือจัดสงใบลาตอ
ผูบังคับบัญชาตามลำดับ จนถึงปลัดกระทรวงหรือหัวหนาสวนราชการข้ึนตรงแลวแตกรณี เพ่ือพิจารณา
อนุญาตใหลาไดไมเกิน สองปและในกรณีจำเปนอาจอนุญาตใหลาไดอีกสองป แตเมอ่ื รวมแลวตองไมเกินส่ปี 
ถาเกินสี่ป ใหลาออกจากราชการสำหรับปลัดกระทรวง หัวหนาสวนราชการขึ้นตรง และขาราชการ ใน
ราชบัณฑิตยสถานใหเสนอหรือจัดสงใบลาตอรัฐมนตรีเจาสังกัด สวนปลัดกรุงเทพมหานครใหเสนอ หรือ
จดั สงใบลาตอผูว า ราชการกรุงเทพมหานครเพอื่ พจิ ารณาอนุญาต

วนิ ยั และการดำเนินการทางวนิ ยั
วินยั : การควบคุมความประพฤติของคนในองคกรใหเ ปน ไปตามแบบแผนท่พี ึงประสงค
วินัยขา ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา : ขอ บัญญัติที่กำหนดเปนขอหา มและ ขอปฏิบัติตาม

หมวด ๖ แหงพระราชบญั ญัติระเบยี บขาราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗ และที่แกไข
เพม่ิ เติมฉบบั ท่ี ๒ พ.ศ. ๒๕๕๑

โทษทางวินยั มี ๕ สถาน คือ
วินยั ไมร ายแรง มีดงั นี้

๑. ภาคทณั ฑ
๒. ตดั เงินเดือน
๓. ลดขั้นเงินเดอื น
วนิ ัยรายแรง มีดงั น้ี
๔. ปลดออก
๕. ไลอ อก
การวา กลาวตักเตือนหรือการทำทณั ฑบนไมถือวา เปนโทษทางวนิ ัยใชใ นกรณีทีเ่ ปน ความผิด เลก็ นอ ย
และมีเหตุอันควรงดโทษ การวากลาวตกั เตือนไมตอ งทำเปนหนังสือ แตก ารทำทัณฑบ นตองทำเปน หนังสอื
(มาตรา ๑๐๐ วรรคสอง)
โทษภาคทัณฑ ใชลงโทษในกรณีทเ่ี ปนความผิดเล็กนอ ยหรอื มีเหตุอนั ควรลดหยอ น โทษภาคทัณฑ
ไมตองหามการเลื่อนขัน้ เงินเดือน
โทษตดั เงนิ เดือนและลดข้ันเงินเดือน ใชลงโทษในความผดิ ทไ่ี มถงึ กบั เปนความผดิ รา ยแรง และไมใช
กรณีที่เปนความผดิ เล็กนอย
โทษปลดออกและไลออก ใชลงโทษในกรณที เ่ี ปนความผิดวนิ ัยรา ยแรงเทา นั้น
การลดโทษความผิดวินัยรายแรง หา มลดโทษต่ำกวา ปลดออก ผถู กู ลงโทษปลดออกมีสิทธิไดร ับ
บำเหน็จบำนาญเสมือนลาออก การส่ังใหออกจากราชการไมใชโ ทษทางวินัย
วินัยไมร า ยแรง ไดแก
๑. ไมส นบั สนุนการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิ เปนประมขุ ตาม
รัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจักรไทยดว ยความบริสุทธิ์ใจ
๒. ไมปฏบิ ตั ิหนา ทีร่ าชการดว ยความซือ่ สัตยสจุ รติ เสมอภาค และเทย่ี งธรรม ตองมีความวริ ิยะ
อุตสาหะขยันหมั่นเพยี ร ดแู ลเอาใจใส รกั ษาประโยชนข องทางราชการ และตองปฏิบัติตน ตามมาตรฐานและ
จรรยาบรรณวิชาชีพ

๓. อาศยั หรือยอมใหผ อู นื่ อาศัยอำนาจและหนาทรี่ าชการของตนไมวา จะโดยทางตรง หรือ ทางออม
หาประโยชนใ หแ กต นเองและผอู ื่น

๔. ไมปฏิบตั หิ นาทรี่ าชการใหเ ปน ไปตามกฎหมายระเบียบแบบแผนของทางราชการและ หนว ยงาน
การศึกษามติครม. หรอื นโยบายของรฐั บาลโดยถือประโยชนส งู สดุ ของผูเรยี น และไมให เกดิ ความเสียหายแก
ราชการ

๕. ไมปฏิบตั ิตามคำส่งั ของผูบังคับบัญชาซงึ่ สงั่ ในหนา ทร่ี าชการโดยชอบดว ยกฎหมายและ ระเบียบ
ของทางราชการแตถา เหน็ วา การปฏบิ ตั ติ ามคำส่งั นั้นจะทำใหเ สียหายแกร าชการ หรอื จะ เปน การไมรักษา
ประโยชนข องทางราชการจะเสนอความเห็นเปนหนงั สือภายใน ๗ วัน เพ่อื ใหผ บู ังคบั บญั ชาทบทวนคำส่ังก็
ได และเม่อื เสนอความเห็นแลว ถาผบู ังคับบัญชายืนยันเปนหนงั สอื ใหป ฏิบตั ิ ตามคำสัง่ เดิม ผูอยใู ตบงั คับ
บญั ชาตองปฏิบัตติ าม

๖. ไมตรงตอเวลา ไมอ ทุ ิศเวลาของตนใหแ กทางราชการและผูเรียน ละทิ้งหรอื ทอดทง้ิ หนาท่ี
ราชการโดยไมมีเหตุผลอันสมควร

๗. ไมประพฤติตนเปนแบบอยางท่ีดีแกผูเรียนชุมชน สังคม ไมสุภาพเรียบรอยและรักษา ความ
สามัคคี ไมชว ยเหลือเก้ือกูลตอผูเรยี นและขาราชการดวยกัน หรือผูรวมงานไมตอ นรับหรือ ใหความสะดวก
ใหค วามเปนธรรมตอ ผูเรียนและประชาชนผมู าติดตอ ราชการ

๘. กลัน่ แกลง กลา วหา หรือรอ งเรียนผอู น่ื โดยปราศจากความเปนจรงิ
๙. กระทำการหรือยอมใหผูอน่ื กระทำการหาประโยชนอันอาจทำใหเส่ือมเสยี ความเทย่ี งธรรม หรือ
เส่อื มเสยี เกียรติศกั ดใ์ิ นตำแหนงหนา ท่รี าชการของตน
๑๐. เปนกรรมการผจู ดั การ หรอื ผูจัดการ หรอื ดำรงตำแหนงอ่ืนใดที่มลี ักษณะงานคลายคลึงกันนั้น
ในหางหนุ สว นหรอื บรษิ ัท
๑๑. ไมวางตนเปนกลางทางการเมืองในการปฏิบัติหนาท่ี และในการปฏิบัติการอื่นที่เกี่ยวของ กับ
ประชาชนอาศัยอำนาจและหนา ท่รี าชการของตนแสดงการฝกใฝส ง เสริม เก้ือกูล สนับสนนุ บคุ คล กลมุ บุคคล
หรอื พรรคการเมืองใด
๑๒. กระทำการอันใดอนั ไดช ือ่ วาเปน ผปู ระพฤตชิ ั่ว
๑๓. เสริมสรางและพัฒนาใหผูอยูใตบังคับบัญชามีวินัย ไมปองกันมิใหผูอยูใตบังคับบัญชา กระทำ
ผิดวินยั หรือละเลย หรือมีพฤตกิ รรมปกปอ ง ชวยเหลือมิใหผ ูอยูใตบ ังคับบัญชาถกู ลงโทษทางวนิ ัย หรอื ปฏบิ ตั ิ
หนา ที่ดังกลา วโดยไมสุจริต

วนิ ยั รายแรง ไดแ ก
๑. ทจุ รติ ตอหนา ทรี่ าชการ
๒. จงใจไมปฏิบัติตามกฎหมายระเบียบแบบแผนของทางราชการและหนวยงานการศึกษามติครม.
หรือนโยบายของรฐั บาลประมาทเลินเลอหรือขาดการเอาใจใสร ะมดั ระวังรักษาประโยชน ของทางราชการอัน
เปน เหตุใหเกดิ ความเสียหายแกราชการอยางรา ยแรง
๓. ขัดคำส่ังหรือหลีกเล่ียงไมปฏิบตั ิตามคำสั่งของผูบังคับบัญชาซงึ่ สั่งในหนาที่ราชการ
โดยชอบดวยกฎหมายและระเบียบของทางราชการอันเปนเหตใุ หเ สยี หายแกราชการอยางรา ยแรง
๔. ละทิ้งหนาที่หรือทอดท้ิงหนาท่ีราชการ โดยไมมเี หตผุ ลอันสมควรเปนเหตุใหเสียหายแกร าชการ
อยางรา ยแรง
๕. ละทง้ิ หนา ทรี่ าชการติดตอ ในคราวเดียวกันเปนเวลาเกนิ กวา ๑๕ วัน โดยไมมีเหตุผลอนั สมควร
๖. กลั่นแกลง ดูหมิ่น เหยียดหยาม กดข่ี หรือขมเหงผูเรียนหรือประชาชนผูมาติดตอราชการ
อยางรา ยแรง
๗. กลั่นแกลง กลาวหา หรอื รอ งเรยี นผูอนื่ โดยปราศจากความเปนจรงิ เปนเหตใุ หผ ูอ่ืนไดร บั ความ
เสียหายอยางรายแรง
๘. กระทำการหรือยอมใหผูอืน่ กระทำการหาประโยชนอันอาจทำใหเส่ือมเสยี ความเทย่ี งธรรม หรือ
เสื่อมเสียเกียรติศักดใิ์ นตำแหนงหนาท่ีราชการโดยมุงหมายจะใหเปนการซ้ือขายหรอื ใหไดรับ แตงต้ังใหดำรง
ตำแหนงหรอื วิทยฐานะใดโดยไมชอบดวยกฎหมาย หรอื เปนการกระทำอันมีลักษณะ เปนการใหหรือไดมาซึ่ง
ทรพั ยสินหรือสทิ ธิประโยชนอ่ืนเพอ่ื ใหต นเองหรอื ผูอน่ื ไดร ับการบรรจแุ ละ แตงต้งั โดยมิชอบ
๙. คัดลอกหรอื ลอกเลียนผลงานทางวิชาการของผูอ่ืนโดยมิชอบหรือนำเอาผลงานทางวิชาการของ
ผูอ่ืน หรือจางวาน ใชผูอื่นทำผลงานทางวิชาการเพ่ือไปใชใ นการเสนอขอปรับปรุงการกำหนดตำแหนง การ
เลือ่ นตำแหนง การเลื่อนวิทยฐานะ หรอื การใหไ ดร บั เงนิ เดอื นในระดบั ทสี่ ูงข้นึ
๑๐. รวมดำเนินการคัดลอกหรือลอกเลียนผลงานของผูอื่นโดยมิชอบ หรือรับจัดทำผลงานทาง
วิชาการ ไมวาจะมีคาตอบแทนหรือไมเพื่อใหผูอื่นนำผลงานน้ันไปใชประโยชนเพ่ือปรับปรุงการกำหนด
ตำแหนงเล่ือนตำแหนง เลอื่ นวิทยฐานะ หรือใหไดร ับเงนิ เดอื นในอนั ดับท่ีสูงข้ึน
๑๑. เขาไปเกี่ยวของกับการดำเนินการใด ๆ อันมีลักษณะเปนการทุจริตโดยการซื้อสิทธิหรอื ขาย
เสียงในการเลือกตั้งสมาชิกรฐั สภา สมาชิกสภาทองถิ่น ผูบรหิ ารทองถิ่นหรอื การเลือกตง้ั อื่นที่มีลักษณะเปน
การสงเสรมิ การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยรวมทั้งการสงเสริม สนับสนุน หรือ ชักจูงใหผูอน่ื กระทำการ
ในลักษณะเดียวกนั
๑๒. กระทำความผิดอาญาจนไดรับโทษจำคุก หรือโทษท่ีหนักกวาจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุด ให

จำคุกหรือใหรับโทษที่หนักกวาจำคกุ เวนแตเปนโทษสำหรับความผิดท่ีไดกระทำโดยประมาท หรือลหุโทษ
หรอื กระทำการอ่ืนใดอันไดช่อื วาเปน ผูประพฤติช่ัวอยา งรายแรง

๑๓. เสพยาเสพตดิ หรอื สนบั สนนุ ใหผ อู ื่นเสพยาเสพตดิ
๑๔. เลนการพนันเปนอาจณิ
๑๕. กระทำการลวงละเมิดทางเพศตอ ผูเรียนหรือนักศึกษาไมวาจะอยูในความดูแลรับผดิ ชอบ ของ
ตนหรอื ไม
การดำเนนิ การทางวินยั
การดำเนินการทางวินัย กระบวนการและข้ันตอนการดำเนินการในการออกคำส่ังลงโทษ ซึ่งเปน
ข้ันตอนท่ีมีลำดับกอนหลังตอเนื่องกัน อันไดแก การตั้งเรื่องกลาวหาการสืบสวนสอบสวน การพิจารณา
ความผิดและกำหนดโทษและการส่ังลงโทษรวมทั้งการดำเนินการตาง ๆ ในระหวางการสอบสวนพิจารณา
เชน การส่ังพัก การสัง่ ใหอ อกไวกอ น เพ่อื รอฟง ผลการสอบสวนพิจารณา
หลักการดำเนนิ การทางวินยั
๑. กรณีที่ผบู ังคับบัญชาพบวาผูใตบงั คบั บญั ชาผูใดกระทำผิดวนิ ยั โดยมีพยานหลักฐานในเบื้องตนอยู
แลวผูบงั คบั บญั ชาก็สามารถดำเนนิ การทางวินัยไดท นั ที
๒. กรณีที่มีการรองเรียนดวยวาจาใหจดปากคำ ใหผูรองเรยี นลงลายมือชือ่ และวัน เดือน ป พรอม
รวบรวมพยานหลักฐานอื่นๆ ประกอบการพิจารณาแลวดำเนินการใหมีการสืบสวนขอเท็จจริง โดยตั้ง
กรรมการสืบสวนหรือสง่ั ใหบ คุ คลใดไปสืบสวนหากเหน็ วา มมี ลู กต็ ้งั คณะกรรมการสอบสวน ตอไป
๓. กรณีมีการรองเรียนเปนหนงั สอื ผูบังคบั บญั ชาตองสืบสวนในเบ้ืองตนกอนหากเห็นวา ไมมีมูลก็สั่ง
ยตุ เิ รอื่ งถาเห็นวามีมูลก็ต้ังคณะกรรมการสอบสวนตอ ไป กรณหี นงั สือรองเรียนไมลง ลายมือชื่อและท่ีอยูของ
ผูรองเรียนหรือไมปรากฏพยานหลักฐานท่ีแนนอนจะเขาลักษณะของบัตร สนเทห มติครม.หามมิใหรับฟง
เพราะจะทำใหขา ราชการเสียขวัญในการปฏบิ ตั ิหนา ท่ี
ข้ันตอนการดำเนินการทางวนิ ัย
๑. การตง้ั เรอ่ื งกลาวหาเปน การตัง้ เร่อื งดำเนนิ การทางวินยั แกขาราชการเม่อื ปรากฏ กรณีมมี ลู ท่คี วร
กลาวหาวา กระทำผดิ วินยั มาตรา ๙๘ กำหนดใหผบู ังคับบัญชาแตง ต้งั คณะกรรมการสอบสวนเพื่อดำเนนิ การ
สอบสวนใหไดค วามจรงิ และความยุตธิ รรมโดยไมชกั ชา ผูต้งั เร่ืองกลา วหาคือผูบ ังคบั บัญชาของผถู ูก กลา วหา
ความผิดวินัยไมรา ยแรง ผูบงั คบั บญั ชาช้นั ตน คือ ผูอำนวยการสถานศกึ ษาสามารถแตงต้ัง กรรมการสอบสวน
ขา ราชการในโรงเรียนทุกคนความผิดวนิ ัยรา ยแรง ผบู งั คับบัญชาผมู ีอำนาจบรรจุ และแตง ต้ังตามมาตรา ๕๓
เปน ผมู อี ำนาจบรรจแุ ละแตงตง้ั คณะกรรมการสอบสวน
๒. การแจง ขอกลาวหา มาตรา ๙๘ กำหนดไววา ในการสอบสวนจะตอ งแจง ขอ กลา วหาและสรุป

พยานหลกั ฐาน ท่สี นบั สนุนขอกลาวหาเทาทม่ี ีใหผ ถู ูกกลาวหาทราบ โดยระบหุ รอื ไมระบุชอ่ื พยานก็ไดเ พือ่ ให
ผูถ กู กลาวหามโี อกาสช้ีแจงและนำสืบแกขอกลา วหา

๓. การสอบสวน คอื การรวบรวมพยานหลักฐานและการดำเนนิ การทัง้ หลายอ่ืนเพ่ือจะทราบ
ขอเทจ็ จรงิ และพฤตกิ ารณตา ง ๆ หรอื พิสจู นเก่ียวกับเรอื่ งท่ีกลาวหาเพื่อใหไดความจรงิ และยตุ ิธรรม
และ เพ่ือพิจารณาวาผถู กู กลาวหาไดก ระทำผดิ วินยั จรงิ หรอื ไมถา ผิดจรงิ กจ็ ะไดล งโทษ ขอ ยกเวน กรณีทเ่ี ปน
ความผิดทีป่ รากฏชดั แจง ตามที่กำหนดในกฎ ก.ค.ศ.จะดำเนินการ ทางวนิ ยั โดยไมสอบสวนกไ็ ด

ความผดิ ทีป่ รากฏชดั แจง ตามที่กำหนดในกฎ ก.ค.ศ. วาดวยกรณคี วามผดิ ทีป่ รากฏชดั แจง พ.ศ.
๒๕๔๙
ก. การกระทำผดิ วนิ ยั อยางไมร ายแรงทเ่ี ปนกรณคี วามผิดทีป่ รากฏอยางชดั แจง ไดแก

(๑) กระทำความผิดอาญาจนตองคำพิพากษาถึงท่ีสดุ วาผนู น้ั กระทำผิดและผูบ งั คับ บญั ชาเห็นวา
ขอเทจ็ จริงตามคำพิพากษาประจักษช ดั

(๒) กระทำผดิ วินยั ไมรา ยแรงและไดร บั สารภาพเปน หนังสือตอ ผบู ังคบั บัญชาหรอื ใหถ อยคำรบั
สารภาพตอผูมหี นา ที่สืบสวนหรอื คณะกรรมการสอบสวนโดยมีการบันทึกถอยคำเปน หนังสอื
ข. การกระทำผิดวินัยอยางรายแรงท่ีเปนกรณีความผดิ ท่ปี รากฏชัดแจง ไดแก

(๑) กระทำความผดิ อาญาจนไดร ับโทษจำคกุ หรอื โทษทหี่ นกั กวา จำคุกโดยคำพิพากษาถงึ ท่สี ุดให
จำคุกหรือลงโทษทหี่ นักกวา จำคุก

(๒) ละทิง้ หนาท่รี าชการตดิ ตอในคราวเดยี วกนั เปน เวลาเกินกวา ๑๕ วันผูบงั คบั บัญชา สบื สวนแลว
เห็นวาไมม ีเหตุผลสมควร หรือมีพฤติการณอ ันแสดงถึงความจงใจไมป ฏบิ ัตติ ามระเบียบ ของทางราชการ

(๓) กระทำผดิ วนิ ยั อยางรายแรงและไดรับสารภาพเปนหนงั สือตอ ผบู ังคับบัญชาหรอื ให ถอยคำรับ
สารภาพตอผูมหี นาทสี่ บื สวนหรอื คณะกรรมการสอบสวนโดยมีการบันทึกถอยคำเปน หนังสือ
การอทุ ธรณ

มาตรา ๑๒๑ และมาตรา ๑๒๒ แหงพระราชบญั ญตั ิระเบียบขา ราชการครูและบคุ ลากร ทาง
การศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗ บัญญัติใหผถู กู ลงโทษทางวินยั มีสิทธอิ ทุ ธรณค ำส่ังลงโทษตออ.ก.ค.ศ. เขตพืน้ ที่
การศกึ ษา อ.ก.ค.ศ.ท่ี ก.ค.ศ. ต้งั แลวแตก รณี ภายใน ๓๐ วนั
เง่อื นไขในการอทุ ธรณ

ผอู ทุ ธรณ ตอ งเปน ผูทีถ่ ูกลงโทษทางวินัยและไมพ อใจผลของคำสงั่ ลงโทษผูอทุ ธรณ ตองอทุ ธรณเพ่ือ
ตนเองเทาน้นั ไมอาจอทุ ธรณแ ทนผอู ื่นได

ระยะเวลาอุทธรณ ภายใน ๓๐ วัน นบั แตวันท่ไี ดร ับแจง คำสัง่ ลงโทษตอ งทำเปนหนังสอื
การอุทธรณโ ทษวนิ ัยไมรายแรง การอุทธรณค ำส่งั โทษภาคทัณฑ ตดั เงินเดือน หรือลดขน้ั เงนิ เดือน

ทีผ่ ูบ ังคบั บัญชาสั่งดว ยอำนาจของตนเอง ตองอทุ ธรณตอ อ.ก.ค.ศ. เขตพืน้ ท่ีการศึกษาหรือ อ.ก.ค.ศ.สว น
ราชการเวน แต การสง่ั ลงโทษตามมตใิ หอุทธรณต อ ก.ค.ศ.

การอุทธรณโทษวินยั รา ยแรง การอุทธรณค ำส่งั ลงโทษปลดออกหรอื ไลออกจากราชการตอ ง
อุทธรณตอก.ค.ศ.ทง้ั น้กี ารรองทกุ ขคำสัง่ ใหออกจากราชการหรือคำสัง่ พักราชการหรือใหออกจากราชการไว
กอ นกต็ องรอ งทุกขตอ ก.ค.ศ.เชนเดียวกัน

การรอ งทุกข หมายถึงผูถกู กระทบสทิ ธิหรือไมไดรับความเปนธรรมจากคำสงั่ ของฝา ยปกครอง
หรือคับของใจจากการกระทำของผูบ ังคับบัญชาใชส ทิ ธริ องทุกขขอความเปน ธรรมขอใหเ พิกถอนคำสงั่ หรอื
ทบทวนการกระทำของฝา ยปกครองหรือของผูบ ังคบั บัญชา

มาตรา ๑๒๒ และมาตรา ๑๒๓ แหง พระราชบญั ญัติระเบยี บขาราชการครแู ละบุคลากร ทาง
การศึกษาพ.ศ.๒๕๔๗บญั ญัติใหผ ถู กู สัง่ ใหอ อกจากราชการมสี ทิ ธริ องทุกขตอ ก.ค.ศ.และผูซ่ึงตน เห็นวาตน
ไมไดรับความเปน ธรรมหรือมีความคบั ของใจเน่ืองจากการกระทำของผูบังคบั บญั ชาหรอื กรณถี กู ตงั้ กรรมการ
สอบสวนมสี ทิ ธริ อ งทุกขตอ อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นที่การศกึ ษาอ.ก.ค.ศ.ที่ก.ค.ศ.ตงั้ หรอื ก.ค.ศ.แลวแตก รณีภายใน๓๐
วนั ผมู ีสทิ ธริ อ งทุกข ไดแ ก ขา ราชการครู และบุคลากรทางการศกึ ษาเหตทุ ่จี ะรองทุกข

(๑) ถกู ส่ังใหออกจากราชการ
(๒) ถูกสง่ั พกั ราชการ
(๓) ถกู สงั่ ใหออกจากราชการไวกอ น
(๔) ไมไดรับความเปน ธรรม หรือคบั ของใจจากการกระทำของผบู ังคับบัญชา
(๕) ถกู ตั้งกรรมการสอบสวน

การเลือ่ นขัน้ เงินเดือน
ขา ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาจะไดรับการพจิ ารณาเลื่อนข้ันเงินเดือนในแตล ะครั้งตองอยู

ในเกณฑ ดงั น้ี
๑. ในครึง่ ปที่แลวมามีผลการปฏิบัติงาน ความประพฤติในการรักษาวินัย คุณธรรม จริยธรรม และ

จรรยาบรรณวชิ าชีพอยูใ นเกณฑท ่ีสมควรไดเ ล่อื นขัน้ เงนิ เดือน
๒. ในครึ่งปท่ีแลวมาจนถึงวันออกคำส่ังเลื่อนข้ันเงินเดือนไมถูกลงโทษทางวินัยที่หนักกวาโทษ

ภาคทัณฑ หรอื ถูกลงโทษในคดอี าญาใหลงโทษในความผิดท่ีเก่ียวกับการปฏิบัติหนาท่ีราชการ หรือ ความผิด
ท่ีทำใหเสื่อมเสียเกียรติศกั ดิ์ของตำแหนงหนา ทร่ี าชการของตน ซึ่งไมไชค วามผิดที่ไดก ระทำ โดยประมาทหรือ
ความผดิ ลหุโทษ

๓. ในคร่งึ ปท ่แี ลว มาตองไมถ กู สั่งพักราชการเกินกวาสองเดือน
๔. ในคร่งึ ปท ่แี ลว มาตองไมข าดราชการโดยไมมเี หตผุ ลอนั สมควร
๕. ในครึง่ ปทแ่ี ลว มาไดร ับการบรรจุเขา รับราชการมาแลวเปน เวลาไมน อ ยกวา ส่ีเดือน
๖. ในครึง่ ปทแ่ี ลวมาถาเปนผูไดรบั อนญุ าตไปศกึ ษาในประเทศฝก อบรมและดงู าน ณ
ตางประเทศตองไดป ฏิบัตหิ นา ทร่ี าชการในครึง่ ปท่ีแลวมาเปนเวลาไมน อยกวา สเี่ ดือน
๗. ในครง่ึ ปท ่ีแลวมาตอ งไมล าหรือมาทำงานสายเกินจำนวนคร้งั ทห่ี ัวหนาสว นราชการกำหนด
๘. ในคร่งึ ปท ี่แลว มาตองมีเวลาปฏิบัติราชการหกเดือนโดยมีวนั ลาไมเกนิ ย่ีสิบสามวนั
แตไ มร วมวันลา ดงั ตอไปน้ี
๑) ลาอปุ สมบทหรือลาไปประกอบพิธฮี จั ย
๒) ลาคลอดบตุ รไมเกินเกา สบิ วนั
๓) ลาปวยซงึ่ จำเปนตองรกั ษาตัวเปนเวลานานไมวาคราวเดียวหรือหลายคราวรวมกนั
ไมเกินหกสบิ วนั ทำการ
๔) ลาปวยเพราะประสบอันตรายในขณะปฏิบัติราชการตามหนาที่หรือในขณะเดินทางไป หรือกลับ
จากการปฏบิ ัตริ าชการตามหนา ที่
๕) ลาพกั ผอ น
๖) ลาเขา รับการตรวจเลอื กหรอื เขา รบั การเตรียมพล
๗) ลาไปปฏิบตั ิงานในองคก ารระหวางประเทศ
การฝกอบรมและลาศึกษาตอ
การฝก อบรม หมายความวา การเพิม่ พนู ความรูความชำนาญ หรอื ประสบการณดว ยการเรยี น หรือ
การวิจัยตามหลักสูตรของการฝกอบรม หรือการสัมมนาอบรมเชิงปฏิบัติการ การดำเนินงานตาม โครงการ
แลกเปลี่ยนกับตางประเทศ การไปเสนอผลงานทางวิชาการ และการประชุมเชิงปฏิบัติการ ทั้งนี้โดยมิไดมี
วัตถุประสงคเพื่อใหไดมาซึ่งปริญญาหรอื ประกาศนียบัตรวิชาชีพที่ ก.พ.รับรอง และหมายความรวมถึงการ
ฝกฝนภาษาและการรับคำแนะนำกอนฝกอบรมหรือการดูงานที่เปนสวนหน่ึงของการฝกอบรมหรือตอจาก
การฝกอบรมนน้ั ดวย
การดูงาน หมายความวา การเพิ่มพูนความรูและประสบการณดวยการสังเกตการณ และการ
แลกเปลี่ยนความคิดเห็น (การดูงานมีระยะเวลาไมเกิน ๑๕ วัน ตามหลักสูตรหรือโครงการ หรือแผนการดู
งานในตา งประเทศ หากมรี ะยะเวลาเกินกำหนดใหด ำเนินการเปนการฝก อบรม)
การลาศึกษาตอ หมายความวา การเพ่ิมพูนความรูดวยการเรียนหรือการวิจัยตามหลักสูตรของ
สถาบัน การศกึ ษา หรือสถาบันวิชาชพี เพ่ือใหไ ดม าซึ่งปริญญาหรอื ประกาศนียบัตรวิชาชีพที่ ก.พ.รบั รองและ

หมายความรวมถึงการฝกฝนภาษาและการไดรับคำแนะนำกอนเขาศึกษาและการฝกอบรม หรือการดูงานท่ี
เปน สว นหน่งึ ของการศกึ ษาหรอื ตอ จากการศึกษานนั้ ดว ย
การออกจากราชการของขาราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา

ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาออกจากราชการเมื่อ(มาตรา ๑๐๗พ.ร.บ.ระเบียบ
ขา ราชการครูฯ)

๑) ตาย
๒) พนจากราชการตามกฎหมายวาดว ยบำเหนจ็ บำนาญขาราชการ
๓) ลาออกจากราชการและไดร ับอนุญาตใหล าออก
๔) ถูกส่งั ใหออก
๕) ถูกสั่งลงโทษปลดออกหรอื ไลอ อก
๖) ถูกเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ เวนแตไดรับแตงตั้งใหดำรงตำแหนงอื่นท่ีไมตองมี
ใบอนุญาตประกอบวิชาชพี
การลาออกจากราชการ
ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผูใดประสงคจะลาออกจากราชการใหยื่นหนงั สือลาออกตอ
ผบู ังคบั บญั ชาเพ่ือใหผ ูม ีอำนาจตาม มาตรา ๕๓เปนผพู ิจารณาอนญุ าต
กรณีผูมีอำนาจตาม มาตรา ๕๓ พิจารณาเห็นวาจำเปนเพ่ือประโยชนแกราชการจะยับยั้งการ
อนญุ าตใหลาออกไวเปน เวลาไมเกิน ๙๐ วนั นบั แตวนั ขอลาออกก็ได แตต องแจงการยับย้ัง พรอมเหตผุ ลใหผ ู
ขอลาออกทราบ เมื่อครบกำหนดเวลาท่ียับยั้งแลวใหการลาออกมีผลตั้งแตวันถัดจากวันครบกำหนดเวลาที่
ยับย้ัง ถาผูมีอำนาจตามมาตรา ๕๓ ไมไดอนุญาตและไมไดยับย้ังการอนญุ าตใหลาออกใหการลาออก มีผล
ต้ังแตว ันขอลาออก
ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผูใดประสงคจะลาออกจากราชการเพื่อดำรงตำแหนง ทาง
การเมอื งหรอื เพอ่ื สมัครรบั เลือกตัง้ ใหย ่ืนหนังสอื ลาออกตอ ผูบงั คบั บัญชาและใหการลาออกมผี ลนบั ต้ังแตวันท่ี
ผูน ้ันขอลาออก
ระเบียบ ก.ค.ศ วา ดวยการลาออกของขา ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.๒๕๔๘
ขอ ๓ การยืน่ หนังสอื ขอลาออกจากราชการใหย นื่ ลว งหนา กอ นวันขอลาออกไมน อยกวา ๓๐ วัน
กรณีผูมอี ำนาจอนญุ าตการลาออกเห็นวามีเหตผุ ลและความจำเปนพเิ ศษ
จะอนุญาตเปนลายลกั ษณอักษรกอนวันขอลาออกใหผ ูประสงคจะลาออกยื่นหนังสือขอลาออกลวงหนานอ ย
กวา ๓๐ วัน ก็ได
หนังสือขอลาออกท่ียื่นลวงหนากอนวันขอลาออกนอยกวา ๓๐ วัน โดยไมไดรับอนุญาตเปน ลาย

ลักษณอ ักษรจากผูมีอำนาจอนญุ าต หรือท่ีมิไดระบุวันขอลาออก ใหถือวันถดั จากวันครบกำหนด ๓๐ วัน นับ
แตว ันยืน่ เปน วนั ขอลาออก

ขอ ๕ ผูมีอำนาจอนุญาตการลาออกพจิ ารณาวาจะส่ังอนุญาตใหผูนั้นลาออกจากราชการหรือจะส่ัง
ยับยัง้ การอนญุ าตใหลาออกใหดำเนนิ การ ดังน้ี

(๑) หากพจิ ารณาเห็นวาควรอนุญาตใหลาออกจากราชการไดใหมีคำส่ังอนุญาตใหลาออก เปนลาย
ลักษณอกั ษรใหเ สร็จสิน้ กอนวนั ขอลาออกแลวแจงคำสั่งดงั กลาวใหผขู อลาออกทราบกอนวัน ขอลาออกดวย

(๒) หากพิจารณาเห็นวาควรยับย้ังการอนุญาตใหลาออกเนือ่ งจากจำเปนเพ่ือประโยชนแก ราชการ
ใหมีคำสั่งยับยั้งการอนุญาตใหลาออกเปนลายลักษณอักษรใหเสร็จส้ินกอนวันขอลาออกแลวแจงคำสั่ง
ดังกลาวพรอมเหตุผลใหผูขอลาออกทราบกอนวันขอลาออกดวย ทั้งนี้การยับยัง้ การอนุญาต ใหลาออกใหส่ัง
ยับย้ังไวไดเปนเวลาไมเกิน ๙๐ วัน และส่ังยับย้ังไดเพียงคร้ังเดียวจะขยายอีกไมได เม่ือครบกำหนดเวลาที่
ยบั ยง้ั แลวใหการลาออกมผี ลตงั้ แตว นั ถดั จากวันครบกำหนดเวลาทย่ี ับยั้ง

ขอ ๖ กรณีท่ีผูขอลาออกไดออกจากราชการไปโดยผลของกฎหมาย เนื่องจากผูมีอำนาจ อนุญาต
มิไดมีคำสั่งอนุญาตใหลาออกและมิไดมีคำสั่งยับยั้งการอนุญาตใหลาออกกอนวันขอลาออก หรือเนื่องจาก
ครบกำหนดเวลายับย้ังการอนุญาตใหลาออกใหผูมีอำนาจอนุญาตมีหนังสือแจง วันออกจากราชการใหผูขอ
ลาออกทราบภายใน ๗ วนั นบั แตวันท่ีผนู ้นั ออกจากราชการและแจงใหสว นราชการที่เกยี่ วขอ งทราบดว ย

ขอ ๗ การย่ืนหนงั สือขอลาออกจากราชการเพอ่ื ดำรงตำแหนง ทางการเมือง
หรือเพ่ือสมัครรบั เลอื กต้ังใหยนื่ ตอผูบงั คบั บญั ชาอยางชาภายในวันทขี่ อลาออกและใหผูบังคบั บัญชาดังกลาว
เสนอ หนังสือขอลาออกนั้นตอผูบังคับบัญชาชั้นเหนือขึ้นไปตามลำดับจนถึงผูมีอำนาจอนุญาตการลาออก
โดยเรว็ เม่ือผูมีอำนาจอนุญาตไดรบั หนังสือขอลาออกแลว ใหมีคำสั่งอนุญาตออกจากราชการไดต ง้ั แต วนั ที่ขอ
ลาออก

๕. ครูอัตราจาง
กรณีครูอัตราจางท่ีจางดวยเงินงบประมาณใหปฏิบัติหนาทค่ี รู เชน ปฏิบัติหนา ท่ีครูผูชวย ครพู ่ีเล้ยี ง
หรือปฏิบัติหนาท่ีครูทีเ่ รยี กช่ือยางอื่นใหปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยลูกจาง ประจำของสวน
ราชการพ.ศ. ๒๕๓๗ และแนวปฏบิ ตั ทิ ีใ่ ชเ พ่อื การนั้น

คมู อื การบริหารทว่ั ไป

โรงเรยี นชมุ ชนบานขาวปุน(ศาสนานเุ คราะห)
สำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 2

สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร

วิสัยทศั น พันธกจิ เปาหมาย ของสถานศึกษา

วสิ ัยทศั นโรงเรยี นชมุ ชนบานขา วปุน(ศาสนานเุ คราะห)
ผูเรียนไดรบั การศึกษาตลอดชีวิตท่ีมีคุณภาพอยางท่ัวถึงและเสมอภาค และมีทักษะ การเรียนรู

ในศตวรรษท่ี 21
ภารกจิ

1. สงเสริม สนับสนุน และพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และ
การศกึ ษาตามอธั ยาศัย ท่สี อดคลอ งกบั การพัฒนาคุณภาพผูเรยี นในศตวรรษท่ี 21

2. พัฒนาศักยภาพและระบบบริหารงานบุคคลของขาราชการครู และบคุ ลากรทางการศึกษา ที่สงผล
ตอการพัฒนาคณุ ภาพผูเรยี นในศตวรรษท่ี 21

3. พัฒนาการบริหารจัดการของหนว ยงานทั้งในสวนกลางและภูมิภาคใหมปี ระสิทธิภาพ เอื้อตอ
การพัฒนาคณุ ภาพบคุ ลากร การปฏิบตั งิ านและเปาหมายการพฒั นาผเู รยี น

4. สงเสรมิ สนับสนุนการบูรณาการการปฏิบตั ิงานตามยุทธศาสตรของสำนกั งานศึกษาธกิ ารภาค
และสำนักงานศึกษาธิการจงั หวัดใหบรรลุผลตามบทบาทและภารกิจทก่ี ำหนด

เปา หมาย
1. ผูเ รยี นไดรบั การศึกษาท่ีมคี ุณภาพทส่ี อดคลองเหมาะสมกับการเสริมสรางความมั่นคง
2. ผูเรียนมีสมรรถนะและความสามารถในการแขงขันท่ีสนองความตองการของตลาดงานและ

ประเทศ
3. ผูเรยี นไดรับการศึกษาท่มี คี ุณภาพ และมที กั ษะของผเู รียนในศตวรรษท่ี 21
4. ผูเรยี นไดรบั โอกาสทางการศกึ ษาอยา งทว่ั ถงึ และเสมอภาค
5. ผูเรยี นมคี ณุ ภาพชีวิตทีเ่ ปนมติ รกับส่ิงแวดลอม
6. หนว ยงานทง้ั ในสว นกลางและภูมิภาคมรี ะบบบรหิ ารจัดการทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพและประสิทธผิ ล

สมรรถนะสำคญั ของผเู รยี น
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนชุมชนบานขาวปุน(ศาสนานุเคราะห) พุทธศักราช 2563 ตาม

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุงพัฒนาใหผูเรียนมีคณุ ภาพตามมาตรฐานท่ี
กำหนดและเกิดสมรรถนะสำคญั 5 ประการ ดงั นี้

1. ความสามารถในการสื่อสาร เปนความสามารถในการรับและสงสาร มีวัฒนธรรมในการใช
ภาษาถายทอดความคิด ความรูความเขาใจ ความรูสึก และทัศนะของตนเอง เพ่ือแลกเปลี่ยนขอมูล
ขาวสารและประสบการณอันจะเปนประโยชนตอการพัฒนาตนเองและสังคม รวมท้ังการเจรจาตอรอง
เพือ่ ขจัดและลดปญหาความขัดแยงตา ง ๆ การเลือกรบั หรือไมรบั ขอ มูลขา วสารดวยหลักเหตุผลและความ

ถูกตอง ตลอดจนการเลือกใชวิธีการสื่อสาร ท่ีมีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่มีตอตนเองและ
สังคม

2. ความสามารถในการคิด เปนความสามารถในการคิดวิเคราะห การคิดสังเคราะห การคิด
อยางสรางสรรค การคิดอยางมีวิจารณญาณ และการคิดเปนระบบ เพ่ือนำไปสูการสรา งองคความรูหรือ
สารสนเทศ เพื่อการตัดสนิ ใจเกีย่ วกบั ตนเองและสังคมไดอ ยางเหมาะสม

3. ความสามารถในการแกปญหา เปนความสามารถในการแกปญหา และอุปสรรคตาง ๆที่
เผชิญไดอยางถูกตองเหมาะสมบนพ้ืนฐาน ของหลักเหตุผล คุณธรรมและขอมูลสารสนเทศ เขาใจ
ความสัมพันธและการเปล่ียนแปลงของเหตุการณตาง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู ประยุกตความรูมาใช
ในการปองกันและแกไขปญหา และมีการตัดสินใจท่ีมีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นตอ
ตนเอง สังคมและสิง่ แวดลอ ม

4. ความสามารถในการใชทกั ษะชวี ิต เปนความสามารถในการนำกระบวนการตาง ๆ ไปใชในการ
ดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรูดวยตนเอง การเรยี นรูอยางตอ เนื่อง การทำงาน และการอยูรวมกันใน
สังคมดวยการสรา งเสริมความสัมพันธอนั ดีระหวางบุคคล การจัดการปญหาและความขัดแยงตาง ๆ อยาง
เหมาะสม การปรับตัวใหทันกับการเปล่ียนแปลงของสังคมและสภาพแวดลอม และการรูจักหลีกเลี่ยง
พฤตกิ รรมไมพ งึ ประสงคท่สี งผลกระทบตอ ตนเองและผูอน่ื

5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี เปนความสามารถในการเลือก และใช เทคโนโลยีดานตาง ๆ
และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพัฒนาตนเองและสังคม ในดานการเรียนรู การสื่อสาร การ
ทำงาน การแกป ญ หาอยา งสรางสรรค ถกู ตอง เหมาะสม และมคี ณุ ธรรม

คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนชุมชนบานขาวปุน(ศาสนานุเคราะห) พุทธศักราช 2563 ตาม

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุงพัฒนาผูเรียนใหมีคุณลักษณะอันพึง
ประสงค เพื่อใหสามารถอยูรวมกับผูอ่ืนในสังคมไดอยางมีความสุข มีคุณลักษณะและสมรรถนะสำคัญ
ของพลเมอื งไทยและพลเมืองโลกในศตวรรษที่ 21 ประกอบดวยคุณธรรม 8 ประการ ดงั น้ี

1. รกั ชาติ ศาสน กษัตริย
2. ซื่อสตั ยส ุจริต
3. มวี นิ ยั
4. ใฝเรยี นรู
5. อยูอยางพอเพยี ง
6. มงุ มัน่ ในการทำงาน
7. รักความเปน ไทย
8. มีจิตสาธารณะ

คานิยม 12 ประการสำหรับคนไทย
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนชุมชนบานขาวปุน(ศาสนานุเคราะห) พุทธศักราช 2563 ตาม

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 มุงพัฒนาใหผูเรียนมีคานยิ มสำหรับคนไทย

12 ประการ ดงั น้ี
1. มคี วามรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ 

2. ซอ่ื สัตย เสียสละ อดทน มีอดุ มการณใ นสง่ิ ทด่ี งี ามเพื่อสว นรวม
3. กตัญูตอพอแม ผปู กครอง ครบู าอาจารย
4. ใฝห าความรู หม่ันศกึ ษาเลา เรยี นทง้ั ทางตรง และทางออม
5. รักษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอันงดงาม

6. มศี ลี ธรรม รกั ษาความสัตย หวงั ดตี อ ผอู ่นื เผ่ือแผและแบงปน
7. เขาใจเรียนรกู ารเปน ประชาธิปไตย อันมีพระมหากษตั ริยท รงเปนประมขุ ท่ีถูกตอง

8. มรี ะเบียบวนิ ัย เคารพกฎหมาย ผนู อ ยรจู ักการเคารพผูใหญ
9. มีสติรูต ัว รูคดิ รูทำ รปู ฏบิ ตั ิตามพระราชดำรัสของพระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู ัว
10. รจู ักดำรงตนอยูโดยใชห ลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งตามพระราชดำรัสของ
พระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูหวั รจู กั อดออมไวใชเ ม่ือยามจำเปน มีไวพอกินพอใช ถา เหลือกแ็ จกจา ย

จำหนา ย และพรอมท่ีจะขยายกิจการเม่ือมีความพรอม เม่ือมภี ูมิคุมกนั ที่ดี
11. มคี วามเขมแข็งท้งั รางกาย และจติ ใจ ไมยอมแพต ออำนาจฝายตางหรือกิเลส มคี วาม

ละอายเกรงกลวั ตอบาปตามหลกั ของศาสนา

12. คำนงึ ถึงผลประโยชนของสวนรวม และของชาตมิ ากกวาผลประโยชนของตนเอง

งานดา นการบริหารทัว่ ไป

เปนภารกิจหนึง่ ของโรงเรียนในการสนับสนุน สงเสริมการปฏิบัติงาน ของโรงเรียนใหบรรลตุ าม
นโยบาย และมาตรฐานการศึกษาท่ีโรงเรียนกำหนดใหมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล เชน การ
ดำเนนิ งานธุรการ งานเลขานุการคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน งานพัฒนาระบบและเครือขาย
ขอมูลสารสนเทศ การประสานและพัฒนาเครือขายการศึกษา การจัด ระบบการบริหารและพัฒนา
องคกร งานเทคโนโลยีสารสนเทศ การสงเสริม สนับสนุนดานวิชาการ งบประมาณ บุคลากรและ
บริหารท่ัวไป การดูแลอาคารสถานท่ีและสภาพแวดลอม การจัดทำสำมะโนผูเรียน การรับนักเรียน
การสง เสริมและประสานงานการศกึ ษาในระบบ นอกระบบ และ ตามอธั ยาศัย การระดมทรัพยากรเพื่อ
การศึกษา งานสงเสริมงานกิจการนักเรียน การประชาสัมพันธ งานการศึกษา การสงเสริมสนับสนุน
และสถาบันสงั คมอื่นท่ีจัดการศกึ ษา งานประสานราชการกับเขตพื้นที่การศึกษาและหนวยงานอื่น การ
จดั ระบบการควบคมุ ในหนว ยงาน งานบรกิ ารสาธารณะ

บทบาทและหนา ทขี่ องกลุมบรหิ ารทัว่ ไป

หวั หนากลุมบริหารท่วั ไป

มหี นาท่รี ับผดิ ชอบในขอบขายตอไปนี้
1. ปฏบิ ัตหิ นาที่ในฐานะรองผอู ำนวยการกลมุ บริหารทั่วไปของโรงเรยี น
2. เปน ทป่ี รึกษาของผอู ำนวยการโรงเรียนเก่ียวกบั งานบริหารทัว่ โรงเรยี น
3. กำกับ ติดตาม การดำเนินงานของกลุมบริหารทั่วไปใหดำเนินไปดวยความเรียบรอย และมี
ประสทิ ธิภาพ
4. กำหนดหนาที่ของบุคลากรในกลุมบริหารทั่วไป และควบคุมการปฏิบัติงานของสำนักงาน
บรหิ ารท่วั ไป
5. บริหารจัดการในสายงานตามบทบาทและหนาที่ความรับผิดชอบไดอยางมีประสิทธิภาพ
6. กำกับ ติดตาม ใหงานแผนงานและบรหิ ารท่ัวไป ประสานฝายตางๆ เพ่ือดำเนนิ กิจกรรม งาน
โครงการ ใหเ ปนไปตามแผนปฏิบัติการ และปฏิบตั กิ ารของโรงเรยี น
7. กำกับ ติดตาม ประสานงานใหมีการรวบรวมขอมูล สถิติเก่ียวกับงานบริหารท่ัวไปใหเปน
ปจ จุบนั เพอื่ นำไปใชเ ปนแนวทางในการพฒั นา และแกไ ขปญหา
8. ควบคุม กำกับ ติดตาม การดำเนินงานและประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรในกลุม
บริหารทั่วไป อยางตอเนือ่ ง
9. ติดตามประสานประโยชนของครู ผูปฏิบัติหนาทีแ่ ละปฏิบัติหนาท่พี ิเศษ เพื่อสรางขวัญและ
กำลงั ใจ
10. วนิ จิ ฉัยสั่งการงานที่รบั มอบหมายไปยงั งานทเี่ กย่ี วขอ ง
11. ติดตามผลสัมฤทธิ์และประเมินผลการปฏิบัติงานเพื่อสรุปปญหา และอุปสรรคในการ
ดำเนินงาน เพื่อหาแนวทางในการพัฒนางานใหมปี ระสทิ ธิภาพยิ่งขึน้
12. กำกับ ติดตาม ใหงานติดตามประเมินผล และประสานงาน ดำเนินการติดตามการ
ปฏบิ ัตงิ านของทกุ งานพรอ มรายงานผลการปฏบิ ัติอยา งตอ เนือ่ ง
13. ประสานงานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานโรงเรียนวัดนางแกว
14. ติดตอประสานงานระหวา งโรงเรียนกับหนวยงานภายนอกในสว นทีเ่ ก่ียวของกับงานบรหิ าร
ท่ัวไป
15. ปฏบิ ัตหิ นา ท่อี ืน่ ๆ ตามทไ่ี ดร ับมอบหมาย


Click to View FlipBook Version