The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by linerenx02, 2022-09-06 02:40:46

คู่มือการบริหารงาน 4 กลุ่ม

บริหารงาน 4 ฝ่าย

งานสำนักงานกลุมบรหิ ารทัว่ ไป

1. งานสารบรรณกลุมบริหารบรหิ ารทัว่ ไป
มหี นาทร่ี ับผิดชอบในขอบขา ยตอไปน้ี
1.1 จัดทำแผนพัฒนางาน/โครงการ แผนปฏบิ ตั ิราชการและปฏิทินงานเสนอรองกลุมบริหาร
ทัว่ ไปเพ่ือจัดสรรงบประมาณ
1.2 จดั หา จัดซอื้ ทรัพยากรทจ่ี ำเปนในสำนกั งานกลุมบริหารทว่ั ไป
1.3 จดั ทำทะเบียนรบั – สง หนงั สือราชการ โดยแยกประเภทของเอกสารและหนังสอื ของ
สำนักงาน ใหเปน หมวดหมูมีระบบการเกบ็ เอกสารท่สี ามารถคนหาเรอื่ งไดอยางรวดเรว็
1.4 โตตอบหนังสอื ราชการ ตรวจสอบความถูกตอ งของเอกสาร หลกั ฐานใหถ กู ตองตาม
ระเบยี บของงานสารบรรณอยางรวดเร็วและทันเวลา
1.5 จดั สงหนงั สือราชการ เอกสารของกลมุ บริหารท่ัวไป ใหง านที่รับผิดชอบและตดิ ตามเรื่อง
เกบ็ คืนจัดเขา แฟม เร่ือง
1.6 จัดพิมพเอกสารและจัดถายเอกสารตาง ๆ ของกลุมบริหารท่ัวไป เชน บันทกึ
ขอความ แบบสำรวจแบบสอบถาม แบบประเมินผลงานระเบียบและคำสัง่
1.7 ประสานงานดา นขอมลู และรวมมือกบั กลมุ บรหิ ารงานตาง ๆ ในโรงเรียน เพื่อใหเกิดความ
เขาใจและรวมมอื อันดตี อ กันในการดำเนินงานตามแผน
1.8 ประเมินผลและสรปุ รายงานผลปฏิบตั ริ าชการประจำป
1.9 ปฏบิ ัติหนาท่อี ืน่ ๆ ตามท่ีไดรบั มอบหมาย

2. งานพสั ดุกลุมบริหารทว่ั ไป
2.1 ประสานงานในกลุมงานบรหิ ารท่ัวไป วางแผน จัดซื้อ จัดหาวัสดุ ครุภัณฑทจ่ี ำเปน ในการ
ซอ มแซมอาคารสถานที่ สาธารณปู โภคและอุปกรณอ ำนวยความสะดวกทีช่ ำรดุ โดยประสานงานกบั พสั ดุ
โรงเรียน
2.2 จดั ทำบัญชคี วบคมุ การเบกิ จา ยวัสดุ ยืมวสั ดใุ หถูกตอ งมรี ะบบและเปนปจ จุบนั
2.3 จดั ทำระเบียบ แนวปฏิบตั ิ แบบรายงาน แบบฟอรม ตาง ๆ ทจี่ ำเปนในการใหบริการปรับ
ซอ ม
2.4 ติดตามการปรบั ซอมและบำรงุ รักษาสภาพวสั ดุ ครภุ ัณฑใหมีอายุการใชงานยาวนาน
2.5 ประเมิน สรุปผลการดำเนนิ งานประจำปการศึกษาและรายงานตอผเู กี่ยวของ
2.6 ปฏบิ ัติหนาทอ่ี ื่น ๆ ตามท่ีไดรบั มอบหมาย

3. งานสารสนเทศกลมุ บริหารท่ัวไป
3.1 วางแผนงาน/โครงการ และจดั ทรัพยากรที่ใชในงานสารสนเทศของกลมุ บริหารทว่ั ไป

3.2 ประสานงานดานความรวมมือเกยี่ วกบั ขอมลู กับงานตา ง ๆ เพอ่ื รวบรวมและจดั ระบบ
ขอมูลสารสนเทศท่ถี ูกตองเหมาะสมและทันสมัยทจี่ ะบงบอกถึงสภาพปญหาความตองการ

3.3 รวบรวมขอ มลู เกีย่ วกบั นโยบายของโรงเรยี น เกณฑการประเมินมาตรฐานแนวทางการ
ปฏิรปู การศกึ ษา

3.4 จดั ทำเอกสารเผยแพรขอมูลใหกลุมงาน ไดใชประโยชนในการวางแผนแกปญหาหรอื พฒั นา
งานในกลมุ งานตอไป

3.5 รว มมือกับสารสนเทศของโรงเรยี น เผยแพรงานของกลุม บรหิ ารท่วั ไป
3.6 ประเมิน สรปุ รายงานผลการดำเนนิ งานประจำปการศึกษา
3.7 ปฏิบัตหิ นาทีอ่ น่ื ๆ ตามทไ่ี ดร บั มอบหมาย

4. งานแผนงานกลุมบริหารทวั่ ไป
4.1 ประสานงานจดั ทำแผนพฒั นางาน แผนปฏบิ ัตริ าชการ/โครงการ ปฏทิ นิ ปฏิบัตงิ านกลุม
บริหารทั่วไป เสนอผบู ริหารเพอ่ื จัดสรรงบประมาณ
4.2 พิจารณาจดั แผนงาน/โครงการของกลมุ บรหิ ารทัว่ ไป ใหสอดคลอ งกบั นโยบายของโรงเรียน
และเกณฑป ระเมินมาตรฐานและการปฏิรปู การศกึ ษา
4.3 กำกับ ตรวจสอบดแู ลงาน/โครงการ ใหเ กดิ การดำเนนิ งานใหเปนไปตามแผน
4.4 ประสานงานกับแผนงานของโรงเรียนและกลุมงานตา ง ๆ เพื่อนำเอาเทคโนโลยีมาใชใหมี
ประสทิ ธภิ าพ
4.5 ประเมิน สรปุ รายงานผลการดำเนนิ งานตามแผนงาน/โครงการ
4.6 ปฏบิ ัตงิ านอืน่ ๆ ทีไ่ ดรบั มอบหมาย

งานอาคารสถานท่ีและสภาพแวดลอม

มีหนา ทร่ี ับผดิ ชอบในขอบขา ยตอไปน้ี
1. วางแผนกำหนดงาน /โครงการงบประมาณแผนปฏิบตั งิ านดา นอาคารสถานท่แี ละ
สภาพแวดลอ มตลอดจนการติดตามการปฏิบตั งิ านของนักการ แมบ า นทำความสะอาด
2. วางแผนรว มกบั แผนงานโรงเรยี น พัสดโุ รงเรียน เพ่อื เสนอของบประมาณจดั สรา งอาคาร
เรยี น และอาคารประกอบ เชน หอ งเรยี น หองบรกิ าร หอ งพเิ ศษใหเ พยี งพอ กับการใชบรกิ ารของ
โรงเรยี น
3. จัดซื้อ จัดหาโตะ เกาอ้ี อุปกรณการสอน อปุ กรณทำความสะอาดหอ งเรยี น หองบรกิ าร
หองพเิ ศษ ใหเพยี งพอและอยูในสภาพทีด่ อี ยตู ลอดเวลา
4. จดั เคร่อื งมือรักษาความปลอดภัยในอาคาร ตดิ ตงั้ ในท่ีที่ใชงานไดส ะดวกใชง านไดท ันที

5. จัดบรรยากาศภายในอาคารเรียน ตกแตง อยางสวยงาม เปนระเบยี บ ประตหู นาตางอยใู น
สภาพดี ดแู ลสอี าคารตา ง ๆใหเรียบรอ ย มปี ายบอกอาคารและหอ งตาง ๆ

6. ประสานงานกับพสั ดโุ รงเรียนในการซอมแซมอาคารสถานท่ี ครุภณั ฑ โตะ เกา อ้ี และอ่ืน
ๆใหอ ยูในสภาพท่ีเรยี บรอ ย

7. ดแู ลความสะอาดทว่ั ไปของอาคารเรยี น หองนำ้ หอ งสวม ใหสะอาด ปราศจากกลิ่น
รบกวน

8. ตดิ ตาม ดแู ลใหคำแนะนำในการใชอ าคารสถานท่ี โดยการอบรมนกั เรยี นในดานการดแู ล
รักษาทรัพยสินสมบตั ขิ องโรงเรียน

9. ประสานงานกบั พัสดโุ รงเรยี นในการจำหนายพัสดเุ สื่อมสภาพออกจากบญั ชพี สั ดุ
10. ประสานงานกบั หวั หนาอาคาร โดยนำขอเสนอแนะ มาปรบั ปรงุ งานใหทันเหตกุ ารณแ ละ
ความตองการของบุคลากรในโรงเรยี น
11. อำนวยความสะดวกในการใชอาคารสถานท่แี กบคุ คลภายนอก รวมท้งั วัสดอุ น่ื ๆ จัดทำ
สถติ ิการใหบริการและรวบรวมขอ มลู
12. ประเมนิ สรปุ และรายงานผลการดำเนนิ งานตามแผนงาน/โครงการประจำป
การศกึ ษา
13. ปฏบิ ัติงานอืน่ ๆ ทไ่ี ดร บั มอบหมาย

งานสาธารณปู โภค

มีหนา ที่รับผดิ ชอบในขอบขา ยตอไปน้ี
1. จัดทำแผนงานพัฒนางาน/โครงการเพ่ือเสนอตอผบู รหิ าร เพอ่ื จดั สรรงบประมาณ
2. จดั ซอ้ื จดั หา สาธารณปู โภคในโรงเรียนใหเพยี งพออยตู ลอดเวลา
3. กำหนดขอ ปฏิบตั ิและตดิ ตามการใชน ำ้ ใชไ ฟฟาใหเปนไปอยางประหยัด
4. จัดบริการและตดิ ตามการใชสาธารณูปโภคใหเปน ไปอยางประหยดั และคุมคา
5. มีมาตรการตรวจสอบคณุ ภาพของนำ้ ดม่ื นำ้ ใช เครอ่ื งกรองน้ำ หมอแปลงไฟฟา ตโู ทรศัพท
และสาธารณูปโภคอนื่ ๆ ใหอยูใ นสภาพทไ่ี ดมาตรฐาน
6. จดั ทำปายคำขวัญ คำเตอื น เกีย่ วกับการใชน้ำ ใชไฟฟา และโทรศพั ท
7. รว มมอื กบั งานกจิ กรรมนักเรียน อบรมนกั เรียนเกี่ยวกับการใชไ ฟฟา ใชโทรศัพท
8. สำรวจ รวบรวม ขอ มลู เกี่ยวกบั สาธารณปู โภคทชี่ ำรดุ
9. ซอ มแซมสาธารณูปโภคที่ชำรดุ ใหอยใู นสภาพทด่ี ี และปลอดภัยอยตู ลอดเวลา
10. ประเมินผลและสรุปรายงานผลการปฏิบัตงิ านตามแผนงาน/โครงการ
11. ปฏิบัตงิ านอื่น ๆ ทไ่ี ดรับมอบหมาย

งานธุรการ และสารบรรณ

มีหนาที่รบั ผดิ ชอบในขอบขา ยตอ ไปนี้
1. รับ-สงเอกสาร ลงทะเบียนหนังสอื เขา – ออก จัดสง หนังสอื เขา หรือเอกสารใหห นวยงาน
หรือบุคคลที่เก่ยี วของ
2. จัดทำคำสงั่ และจดหมายเวียนเรอ่ื งตาง ๆ เพือ่ แจงใหกับครแู ละผูเก่ียวของไดร บั ทราบ
3. เกบ็ หรอื ทำลายหนงั สอื เอกสารตาง ๆตามระเบียบงานสารบรรณ
4. รวบรวมเอกสาร หลกั ฐาน ระเบยี บ ขอ บังคบั ประกาศ คำสั่ง และวธิ ปี ฏิบัตทิ ีเ่ ก่ียวของให
เปนปจจบุ ันอยเู สมอ และเวยี นใหผทู เี่ กี่ยวขอ งทราบ
5. รางและพมิ พห นงั สือออก หนงั สอื โตตอบถึงสว นราชการ และหนวยงานอน่ื
6. ติดตามเอกสารของฝายตางๆ ท่ีเกย่ี วของกับทางโรงเรยี นและเก็บรวบรวมเพื่อใชเปนขอ มูล
ในการอางอิง
7. ประสานงานการจดั สง จดหมาย ไปรษณยี  พสั ดุและเอกสารตาง ๆ ของโรงเรียน
8. เปนท่ปี รกึ ษาของรองผูอ ำนวยการฝา ยบรหิ ารทว่ั ไปในเร่ืองงานสารบรรณ
9. ควบคุมการรับ – สง หนงั สอื ของโรงเรยี น (E – Office)
10. บรกิ ารทางจดหมายและสง่ิ ตีพมิ พท มี่ ีมาถึงโรงเรียน
11. จดั หนงั สือเขาแฟมเพื่อลงนาม
12. ปฏิบัตหิ นา ทอ่ี ืน่ ๆ ตามทีไ่ ดร บั มอบหมาย

งานยานพาหนะ

มีหนา ทีร่ บั ผิดชอบในขอบขา ยตอ ไปนี้
1. จัดทำแผนงาน / โครงการ เกีย่ วกับการจัดหา บำรุงรักษา การใหบรกิ ารยานพาหนะแก
คณะครแู ละบุคลากรของโรงเรยี นตลอดจนกำหนดงบประมาณเสนอขออนมุ ตั ิ
2. กำหนดหนา ท่คี วามรบั ผิดชอบ ใหค วามรู พนักงานขับรถ ตลอดจนพิจารณา จัดและ
ใหบ รกิ ารพาหนะแกบุคลากร
3. กำกบั ตดิ ตาม จัดทำขอมูล สถติ ิ การใช และใหบ รกิ ารยานพาหนะของโรงเรียน
4. กำหนดแผนตรวจสอบ ซอ มบำรงุ เพื่อใหพาหนะใชก ารได และปลอดภัยตลอดเวลา ให
คำแนะนำ เสนอผูมีอำนาจอนุมัติ
5. ประเมนิ สรปุ ผลการดำเนินงานประจำป
6. ปฏิบตั หิ นาทอี่ ื่น ๆ ตามทผ่ี ูบงั คับบัญชามอบหมาย

งานประชาสัมพนั ธ

มีหนา ทรี่ บั ผดิ ชอบในขอบขา ยตอ ไปน้ี
1. กำหนดนโยบาย วางแผน งานโครงการ การดำเนนิ การประชาสมั พันธใหส อดคลองกบั
นโยบายและจุดประสงคของโรงเรยี น
2. ประสานงาน รว มมือกับกลุมสาระฯ และงานตาง ๆ ของโรงเรียนในการดำเนินงานดาน
ประชาสมั พันธ
3. ตอนรบั และบริการผูม าเยีย่ มชมหรือดงู านโรงเรียน
4. ตอ นรับและบรกิ ารผูปกครองหรือแขกผมู าตดิ ตอกับนักเรียนและทางโรงเรยี น
5. ประกาศขา วสารของกลุมสาระฯ หรอื ขาวทางราชการใหบ คุ ลากรในโรงเรยี นทราบ
6. ประสานงานดานประชาสัมพนั ธทง้ั ในและนอกโรงเรยี น
7. เปน หนว ยงานหลกั ในการจัดพิธีการหรือพิธกี รในงานพธิ ีการตาง ๆ ของโรงเรยี น
8. เผยแพรกจิ กรรมตาง ๆ และชอื่ เสยี งของโรงเรยี นทางสอ่ื มวลชน
9. จดั ทำเอกสาร – จลุ สารประชาสมั พนั ธเพื่อเผยแพรขา วสาร รายงานผลการปฏบิ ตั งิ านและ
ความเคล่อื นไหวของโรงเรยี นใหน กั เรยี นและบุคลากรท่วั ไปทราบ
10. รวบรวม สรปุ ผลและสถติ ิตา ง ๆ เกีย่ วกบั งานประชาสัมพันธแ ละจัดทำรายงานประจำปข อง
งานประชาสัมพันธ
11. งานเลขานกุ ารการประชุมครโู รงเรยี นบรมราชนิ นี าถราชวิทยาลัย
12. ปฏิบัติหนาทีอ่ ่นื ๆ ตามท่ีไดรบั มอบหมาย

งานพยาบาลและอนามยั

มีหนาทร่ี บั ผิดชอบในขอบขา ยตอ ไปนี้
1. กำหนดนโยบาย วางแผนงานโครงการ การดำเนินงานของงานอนามัยโรงเรยี นใหส อดคลอง
กับนโยบายและวัตถุประสงคของโรงเรยี น
2. ประสานงานกบั กลมุ สาระการเรยี นรูและงานตาง ๆ ของโรงเรียน ในการดำเนนิ งานดาน
อนามยั โรงเรยี น
3. ควบคมุ ดแู ล หองพยาบาลใหสะอาด ถูกสขุ ลกั ษณะ
4. จัดเคร่อื งมือ เครือ่ งใช และอุปกรณในการปฐมพยาบาล รักษาพยาบาลใหพรอ มและใชการได
ทันที
5. จัดหายาและเวชภัณฑ เพื่อใชใ นการรักษาพยาบาลเบื้องตน
6. จดั ปฐมพยาบาลนกั เรียน ครู – อาจารย และคนงานภารโรงในกรณเี จบ็ ปวย และนำสง
โรงพยาบาลตามความจำเปน

7. จดั บริการตรวจสุขภาพนักเรียน ครู – อาจารย นักการภารโรงและชุมชนใกลเคยี ง
8. จัดทำบตั รสุขภาพนกั เรียน ทำสถิติ บันทกึ สขุ ภาพ สถติ ินำ้ หนักและสว นสูงนกั เรียน
9. ตดิ ตอ แพทยหรอื เจาหนา ท่ีอนามัยใหภูมิคุมกนั แกบคุ ลากรของโรงเรยี นหรือชุมชนใกลเ คียง
10. ตดิ ตอ ประสานงานกบั ผปู กครองนักเรียนในกรณีนักเรยี นเจบ็ ปวย
11. แนะนำผปู ว ย ญาติ ประชาชนถึงการปฏิบตั ิตนใหป ลอดภยั จากโรค ใหภูมคิ ุมกันโรค
12. ใหคำแนะนำปรึกษาดานสุขภาพนกั เรยี น
13. ประสานงานกบั ครูแนะแนว ครูทปี่ รกึ ษาหรอื ครผู สู อนเกย่ี วกับนกั เรยี นทีม่ ปี ญหาดาน
สขุ ภาพ
14. ใหความรว มมือดานการปฐมพยาบาลแกห นว ยงานอืน่ หรือกิจกรรมของโรงเรยี นตามควรแก
โอกาส
15. จัดกจิ กรรมสงเสริมสุขภาพอนามยั เชน จัดนทิ รรศการเกย่ี วกับสุขภาพอนามยั จัดต้ังชมรม
ชุมชน อาสาสมคั รสาธารณสขุ
16. จดั ทำสถติ ิ ขอมูลทางดานสุขภาพอนามัยและจัดทำรายงานประจำภาคเรยี น ประจำปของ
งานอนามยั
17. ปฏิบตั หิ นา ทอี่ ่นื ๆ ตามท่ีไดร บั มอบหมาย

งานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน

มหี นา ทรี่ ับผดิ ชอบในขอบขายตอไปนี้
1. รวบรวมประมวลวเิ คราะหและสงั เคราะหข อมลู ท่ีใชใ นการประชุมคณะกรรมการสถานศกึ ษา
ขนั้ พืน้ ฐาน
2. สนบั สนนุ ขอ มลู รับทราบหรอื ดำเนนิ การตามมตทิ ่ปี ระชุมของคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้
พื้นฐาน
3. ดำเนนิ งานดานธุรการในการจดั ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพืน้ ฐาน
4. จัดทำรายงานการประชุมและแจง มติท่ปี ระชมุ ใหผูที่เกยี่ วขอ งเพือ่ ทราบดำเนนิ การหรือถอื
ปฏบิ ัตแิ ลว แตก รณี
5. ประสานการดำเนนิ งานตามมตกิ ารประชุมในเร่ืองการอนมุ ตั ิ อนญุ าต สง่ั การ เรง รดั การ
ดำเนนิ การและรายงานผลการดำเนนิ การใหคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
6. ปฏิบัติหนา ทอี่ ่นื ๆ ตามท่ีไดรับมอบหมาย

งานชมุ ชนสัมพันธและบริการสาธารณะ

มีหนา ท่ีรบั ผิดชอบในขอบขา ยตอไปนี้
1. วางแผนกำหนดงาน โครงการงบประมาณแผนปฏบิ ัติงานดานชุมชนสมั พันธแ ละบริการ
สาธารณะตลอดจนการตดิ ตามการปฏบิ ัติงาน
2. รวบรวมวิเคราะหขอมลู ของชมุ ชน เพือ่ นำไปใชใ นงานสรางความสมั พันธร ะหวางชมุ ชนกบั
โรงเรยี นและบริการสาธารณะ
3. ใหบ รกิ ารชุมชนในดานขาวสาร สขุ ภาพอนามยั อาคารสถานที่ วัสดุ ครุภัณฑ และ
วชิ าการ
4. จัดกิจกรรมเพื่อพฒั นาชุมชน เชน การบรจิ าควัสดุ สิ่งของ อุปโภคบรโิ ภค ใหความรูและจดั
นิทรรศการ
5. การมสี ว นรวมในการอนรุ ักษศิลปวัฒนธรรมไทย ประเพณีไทย ศาสนาและงานทเ่ี กี่ยวกับ
ชุมชน
6. สนบั สนุนสง เสริมใหมีการจัดตง้ั องคก รตา ง ๆ เพื่อชว ยเหลือโรงเรียน เชน สมาคมฯ
มูลนิธิ
7. ประสานและใหบรกิ ารแกคณะครู ผูปกครอง ชมุ ชน หนวยงานตางๆทัง้ ภาครฐั และเอกชน
ในดา น อาคารสถานท่ี วสั ดุ ครภุ ณั ฑ บคุ ลากร งบประมาณ
8. รวบรวมขอมูล จัดทำสถิติ
9. ประเมนิ สรุป รายงาน ผลการการดำเนนิ งานตามแผนงาน/โครงการประจำปก ารศกึ ษา
10. ปฏบิ ัตงิ านอนื่ ๆ ที่ไดร บั มอบหมาย

งานปอ งกันอบุ ัติเหตุและอัคคีภยั

มหี นาที่รบั ผิดชอบในขอบขา ยตอ ไปน้ี
1. จัดทำแผนงาน / โครงการ เกยี่ วกับการใหค วามรเู ก่ียวกับการปอ งกันอุบัตเิ หตแุ ละอัคคีภยั
ของโรงเรยี น
2. กำหนดแนวทางปฏบิ ตั ใิ นการปองกนั อุบตั ิเหตุและอคั คภี ัย ใหความรูนักเรียน ครู และ
บคุ ลากร
3. กำกับ ตดิ ตาม จดั ทำขอมลู สถิติ ตา งๆ เก่ยี วกบั การปองกนั อบุ ตั ิเหตุและอคั คีภยั
4. กำหนดแผนตรวจสอบ ซอ มบำรุง เพื่อใหอปุ กรณป องกนั อคั คภี ยั ใชก ารได และปลอดภัย
ตลอดเวลา ใหคำแนะนำ เสนอผูมีอำนาจอนุมตั ิ
5. ประเมนิ สรุปผลการดำเนินงานประจำป
6. ปฏบิ ตั หิ นาที่อืน่ ๆ ตามท่ผี ูบังคับบัญชามอบหมาย

คูม อื การบรหิ ารวิชาการ

โรงเรยี นชุมชนบานขา วปุน (ศาสนานเุ คราะห)
สำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาอบุ ลราชธานี เขต 2

สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร

วิสยั ทัศน พนั ธกิจ เปาหมาย

วิสัยทัศนโรงเรียนชุมชนบานขา วปนุ (ศาสนานเุ คราะห)
ผูเรียนไดรับการศึกษาตลอดชีวิตที่มีคุณภาพอยางทั่วถึงและเสมอภาค และมีทักษะ การเรียนรูใน

ศตวรรษท่ี 21

ภารกิจ

1. สงเสริม สนับสนุน และพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และ
การศกึ ษาตามอธั ยาศยั ทสี่ อดคลอ งกับการพฒั นาคณุ ภาพผเู รยี นในศตวรรษท่ี 21

2. พัฒนาศกั ยภาพและระบบบริหารงานบุคคลของขาราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา ที่สงผลตอ
การพฒั นาคุณภาพผเู รยี นในศตวรรษที่ 21

3. พัฒนาการบริหารจัดการของหนวยงานทั้งในสวนกลางและภมู ิภาคใหม ีประสิทธิภาพ เอื้อตอ การ
พัฒนาคณุ ภาพบคุ ลากร การปฏิบตั งิ านและเปาหมายการพัฒนาผูเรียน

4. สง เสริม สนบั สนุนการบรู ณาการการปฏิบตั ิงานตามยทุ ธศาสตรข องสำนกั งานศึกษาธิการภาคและ
สำนกั งานศกึ ษาธกิ ารจังหวัดใหบ รรลุผลตามบทบาทและภารกจิ ทก่ี ำหนด

เปา หมาย
1. ผเู รยี นไดร ับการศกึ ษาท่ีมีคณุ ภาพท่สี อดคลองเหมาะสมกับการเสรมิ สรางความมน่ั คง
2. ผเู รยี นมีสมรรถนะและความสามารถในการแขง ขนั ทีส่ นองความตองการของตลาดงานและประเทศ
3. ผูเรยี นไดร บั การศึกษาท่มี คี ณุ ภาพ และมที ักษะของผเู รียนในศตวรรษท่ี 21
4. ผเู รยี นไดรบั โอกาสทางการศึกษาอยางท่ัวถึง และเสมอภาค
5. ผเู รียนมคี ุณภาพชีวติ ทีเ่ ปน มติ รกบั สง่ิ แวดลอ ม
6. หนวยงานทัง้ ในสว นกลางและภูมิภาคมรี ะบบบรหิ ารจดั การทม่ี ปี ระสิทธิภาพและประสทิ ธิผล

สมรรถนะสำคญั ของผเู รยี น
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนชุมชนบานขาวปุน(ศาสนานุเคราะห) พทุ ธศกั ราช 2563 ตามหลกั สูตร

แกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 มุง พัฒนาใหผูเรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานทีก่ ำหนดและ
เกิดสมรรถนะสำคญั 5 ประการ ดงั นี้

1. ความสามารถในการสื่อสาร เปน ความสามารถในการรับและสงสาร มีวัฒนธรรมในการใชภาษา
ถายทอดความคิด ความรูความเขาใจ ความรูสึก และทัศนะของตนเอง เพื่อแลกเปลี่ยนขอมลู ขาวสารและ
ประสบการณอันจะเปนประโยชนตอการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาตอรองเพื่อขจัดและลด
ปญหาความขัดแยงตาง ๆ การเลือกรับหรือไมรับขอมูลขาวสารดวยหลกั เหตุผลและความถูกตอง ตลอดจน
การเลอื กใชวธิ ีการส่ือสาร ทม่ี ีประสทิ ธิภาพโดยคำนึงถงึ ผลกระทบท่มี ีตอตนเองและสงั คม

2. ความสามารถในการคิด เปนความสามารถในการคิดวิเคราะห การคิดสังเคราะห การคิด อยา ง
สรา งสรรค การคิดอยางมีวิจารณญาณ และการคดิ เปน ระบบ เพื่อนำไปสกู ารสรางองคความรูห รือสารสนเทศ
เพอื่ การตดั สนิ ใจเกีย่ วกับตนเองและสังคมไดอ ยางเหมาะสม

3. ความสามารถในการแกปญหา เปนความสามารถในการแกป ญหา และอุปสรรคตาง ๆท่เี ผชิญได
อยางถูกตองเหมาะสมบนพื้นฐาน ของหลักเหตุผล คุณธรรมและขอมูลสารสนเทศ เขาใจความสัมพันธและ
การเปลีย่ นแปลงของเหตุการณตาง ๆ ในสงั คม แสวงหาความรู ประยกุ ตความรูมาใชใ นการปองกันและแกไข
ปญ หา และมีการตดั สนิ ใจท่ีมีประสทิ ธภิ าพโดยคำนงึ ถงึ ผลกระทบทเี่ กิดข้ึนตอ ตนเอง สงั คมและส่งิ แวดลอ ม

4. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต เปนความสามารถในการนำกระบวนการตาง ๆ ไปใชในการ
ดำเนินชีวิตประจำวนั การเรียนรดู ว ยตนเอง การเรยี นรอู ยา งตอเน่ือง การทำงาน และการอยูร ว มกันในสังคม
ดวยการสรางเสริมความสมั พันธอนั ดรี ะหวางบุคคล การจัดการปญหาและความขัดแยงตาง ๆ อยางเหมาะสม
การปรับตัวใหทันกับการเปลี่ยนแปลงของสงั คมและสภาพแวดลอม และการรูจ ักหลีกเลีย่ งพฤติกรรมไมพึง
ประสงคท ่ีสง ผลกระทบตอตนเองและผอู ่ืน

5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี เปนความสามารถในการเลือก และใช เทคโนโลยีดานตาง ๆ และ
มีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในดานการเรียนรู การสื่อสาร การทำงาน
การแกปญ หาอยางสรา งสรรค ถูกตอ ง เหมาะสม และมีคณุ ธรรม

คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นชุมชนบานขาวปุน(ศาสนานุเคราะห) พทุ ธศกั ราช 2563 ตามหลักสูตร

แกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 มุงพัฒนาผูเรียนใหมีคุณลักษณะอันพึงประสงค เพื่อให
สามารถอยูรวมกับผูอืน่ ในสังคมไดอยางมีความสุข มีคุณลักษณะและสมรรถนะสำคญั ของพลเมืองไทยและ
พลเมืองโลกในศตวรรษที่ 21 ประกอบดวยคณุ ธรรม 8 ประการ ดงั น้ี

1. รักชาติ ศาสน กษัตรยิ 
2. ซ่ือสตั ยส จุ ริต
3. มีวนิ ยั
4. ใฝเ รยี นรู
5. อยอู ยางพอเพียง
6. มงุ มนั่ ในการทำงาน
7. รักความเปนไทย
8. มีจิตสาธารณะ

คา นิยม 12 ประการสำหรบั คนไทย
หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนชุมชนบา นขาวปุน (ศาสนานุเคราะห) พุทธศักราช 2563 ตามหลักสูตร

แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 มุงพัฒนาใหผูเรียนมีคานยิ มสำหรับคนไทย 12 ประการ
ดังนี้

1. มคี วามรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ 
2. ซ่ือสตั ย เสียสละ อดทน มอี ุดมการณใ นสงิ่ ท่ดี ีงามเพ่ือสวนรวม
3. กตัญตู อพอ แม ผูป กครอง ครูบาอาจารย

4. ใฝหาความรู หมน่ั ศกึ ษาเลา เรยี นทั้งทางตรง และทางออม
5. รักษาวฒั นธรรมประเพณีไทยอันงดงาม
6. มศี ลี ธรรม รักษาความสัตย หวงั ดตี อผูอนื่ เผื่อแผและแบง ปน
7. เขา ใจเรียนรกู ารเปนประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยท รงเปนประมขุ ท่ีถูกตอง

8. มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย ผนู อ ยรูจกั การเคารพผูใหญ
9. มสี ติรูต วั รคู ิด รทู ำ รปู ฏบิ ตั ติ ามพระราชดำรสั ของพระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูหัว

10. รูจักดำรงตนอยูโ ดยใชหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดำรัสของ พระบาทสมเดจ็
พระเจา อยูหัว รจู ักอดออมไวใชเ มอ่ื ยามจำเปน มีไวพ อกินพอใช ถา เหลอื ก็แจกจายจำหนา ย และพรอมทีจ่ ะ
ขยายกจิ การเมอ่ื มีความพรอม เม่ือมีภมู ิคุม กันทด่ี ี

11. มคี วามเขมแข็งทง้ั รา งกาย และจิตใจ ไมย อมแพต ออำนาจฝายตา งหรอื กิเลส มีความละอาย

เกรงกลัวตอบาปตามหลกั ของศาสนา
12. คำนึงถงึ ผลประโยชนข องสวนรวม และของชาติมากกวาผลประโยชนข องตนเอง

การบรหิ ารงานวิชาการ

แนวคิดหลกั ในการบริหารวชิ าการ
การบริหารงานวิชาการเปนภารกิจที่สำคัญของการบริหารโรงเรียนตามที่พระราชบัญญัติการศึกษา

แหงชาติ พ.ศ.2542 และที่แกไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 ถือเปนงานที่มีความสำคัญที่สุด
เปนหัวใจของการจัดการศึกษา ซึ่งท้ังผูบริหาร โรงเรียน คณะครู และผูมีสวนเกี่ยวของทุกฝาย ตองมีความรู
ความเขาใจ ใหความสำคัญและ มีสวนรวมในการวางแผน กำหนดแนวทางปฏิบัติการประเมินผล และ
การปรับปรุงแกไขอยางเปน ระบบและตอเน่ือง มงุ ใหก ระจายอำนาจในการบรหิ ารจัดการไปใหสถานศึกษาให
มากที่สุด ดวยเจตนารมณที่จะใหสถานศึกษาดำเนินการไดโดยอิสระ คลองตัว รวดเร็ว สอดคลองกับ
ความตองการของผูเ รียน โรงเรียน ชุมชน ทอ งถนิ่ และการมสี วนรว มจากผูมีสวนไดส วนเสยี ทุกฝา ย ซึง่ จะเปน
ปจจัยสำคัญทำใหสถานศึกษามีความเขมแข็งในการบริหารและจัดการ สามารถพัฒนาหลักสูตรและ
กระบวนการเรียนรูตลอดจนการวัดผล ประเมินผล รวมทั้งปจจัยเกื้อหนุนการพัฒนาคุณภาพนักเรียน
โรงเรยี น ชุมชน ทองถน่ิ ไดอ ยา งมคี ุณภาพและมปี ระสทิ ธภิ าพ

วัตถปุ ระสงค
1. เพื่อใหบริหารงานดา นวชิ าการไดโดยอสิ ระ คลอ งตัว รวดเรว็ และ สอดคลองกบั ความตองการของ

นกั เรยี น สถานศึกษา ชมุ ชน ทอ งถิ่น
2. เพื่อใหการบริหาร และ การจัดการศึกษาของโรงเรียนไดมาตรฐาน และ มีคุณภาพสอดคลองกับ

ระบบประกันคุณภาพการศึกษา และ ประเมินคุณภาพภายในเพื่อพัฒนาตนเอง และ จากการประเมิน
หนวยงานภายนอก

3. เพื่อใหโรงเรียนพัฒนาหลักสูตร และ กระบวนการเรยี นรู ตลอดจนปจจัยหนนุ การเรียนรูท ส่ี นองตอ
ความตอ งการของผูเ รยี น ชุมชน และ ทอ งถ่ิน โดยยึดผูเรยี นเปน สำคัญไดอยางมคี ณุ ภาพ และ ประสทิ ธภิ าพ

4. เพื่อใหโรงเรียนไดประสานความรวมมือในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา และ ของ
บคุ คล ครอบครวั องคก ร หนวยงาน และ สถาบนั อื่นๆอยางกวางขวาง

ขอบขายและภารกิจผรู ับผิดชอบ
1. การพฒั นาหรือการดำเนนิ การเก่ียวกบั การใหความเห็นการพฒั นาสาระหลกั สูตรทองถิน่
บทบาทและหนา ท่ี
1. วเิ คราะหกรอบสาระการเรยี นรทู อ งถนิ่ ทสี่ ำนกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาจดั ทำไว
2. วิเคราะหหลักสูตรสถานศึกษาเพื่อกำหนดจุดเนน หรือประเด็นที่สถานศึกษาใหความสำคัญ

ศึกษา และวิเคราะหขอมูลสารสนเทศของสถานศึกษา และชุมชนเพื่อนำมาเปนขอมูลจัดทำสาระการเรยี นรู
ทอ งถน่ิ ของสถานศึกษาใหส มบูรณยิ่งขน้ึ

3. จัดทำสาระการเรียนรูทองถิ่นของสถานศึกษา เพื่อนำไปจัดทำรายวิชาพื้นฐานหรือรายวิชา
เพิ่มเติมจัดทำคำอธิบายรายวิชา หนวยการเรียนรู แผนการจัดการเรียนรู เพื่อจัดประสบการณและจัด
กจิ กรรมการเรยี นการสอนใหแกผเู รียน ประเมินผล และปรบั ปรุง

4. ผบู รหิ ารศกึ ษาอนุมตั ิ
2. การวางแผนงานดานวชิ าการ

บทบาทและหนาท่ี
1. วางแผนงานดา นวชิ าการโดยการรวบรวมขอมลู และกำกับดแู ล นิเทศและติดตามเกยี่ วกบั งาน

วิชาการ ไดแก การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การพฒั นากระบวนการเรียนรู การวัดผล ประเมินผล และ
การเทียบโอนผลการเรียน การประกันคุณภาพภายในและมาตรฐานการศึกษา การพฒั นาและใช สื่อ และ

เทคโนโลยเี พื่อการศึกษา การพัฒนาและสงเสริมใหมีแหลงเรียนรูการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา และ
สงเสรมิ ชมุ ชนใหมคี วามเขม แขง็ ทางวชิ าการ

2. ผบู ริหารสถานศกึ ษาอนมุ ตั ิโดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษา
3. การจัดการเรียนการสอนในสถานศกึ ษา

บทบาทและหนาท่ี
จดั ทำแผนการเรียนรทู กุ กลุม สาระการเรยี นรู

1. จัดการเรียนการสอนทุกกลุมสาระการเรียนรูทุกชวงชั้น ตามแนวปฏิบัติการเรียนรูโดย
เนน ผเู รยี นเปนสำคญั พฒั นาคุณธรรมนำความรูตามหลักการปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง

2. ใชส่ือการเรียนการสอน และแหลงการเรียนรู

3. จัดกจิ กรรมพัฒนาหองสมุด หอ งปฏิบัตกิ ารตาง ๆ ใหเอ้อื ตอการเรียนรู
4. สง เสรมิ การวจิ ยั และพัฒนาการเรยี นการสอนทุกกลมุ สาระการเรยี นรู
5. สงเสรมิ การพฒั นาความเปน เลิศของนักเรียน และชวยเหลือนักเรียนพิการ ดอยโอกาส
และมีความสามารถพเิ ศษ

4. การพฒั นาหลกั สตู รของสถานศกึ ษา
บทบาทและหนา ที่

1. จัดทำหลักสูตรเปนของตนเองโดยจัดใหมีการวิจัย และพัฒนาหลักสูตร ใหทันกับการ
เปลี่ยนแปลงทางดานเศรษฐกิจและสังคม จัดทำหลักสูตรที่มุงเนนพัฒนานักเรียนใหเปนมนุษยท่ีสมบูรณท ัง้
รา งกาย จิตใจ สติปญญา มีความรูและคุณธรรม สามารถอยูรวมกับผูอ่ืนไดอยางมีความสุข จัดใหมีวิชา
ตางๆ ครบถว นตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาพ้นื ฐานของกระทรวงศึกษาธกิ าร

2. เพิ่มเติมเนื้อหาสาระของรายวิชา ไดแก การศึกษาดานศาสนา ดนตรี นาฏศิลป กีฬา
การศกึ ษาท่สี งเสริมความเปน เลิศ ผูบกพรอ ง

3. เพิ่มเติมเนื้อหาสาระของรายวิชาที่สอดคลองสภาพปญหาความตองการของผูเรียน
ผปู กครอง ชมุ ชน สังคม และอาเซยี น

5. การพฒั นากระบวนการเรยี นรู
บทบาทและหนา ที่
1. จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมใหสอดคลองกับความสนใจ และความถนัดของผูเรียนโดย

คำนงึ ถงึ ความแตกตางระหวา งบุคคล
2. ฝกทักษะ กระบวนการคิด การเผชิญสถานการณ และการประยุกตความรูมาใช เพื่อ

ปอ งกนั และแกไขปญหา
3. จัดกิจกรรมใหผูเรียนไดเรยี นรูจ ากประสบการณจริง ฝก การปฏิบัติใหทำได คิดเปน ทำ

เปน รักการอา นและเกดิ การใฝรอู ยางตอเน่ือง
4. จดั การเรยี นการสอน โดยผสมผสานสาระความรดู า นตางๆ อยางไดส ดั สวนสมดุลกันรวมทั้ง

ปลูกฝงคณุ ธรรม คา นิยมทีด่ งี ามและคุณลักษณะอันพึงประสงคไวใ นทกุ กลุม สาระ/วชิ า
5. สง เสริมสนับสนุนใหผูสอนสามารถจดั บรรยากาศสภาพแวดลอม ส่ือการเรยี น และอำนวย

ความสะดวกเพื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรู และมคี วามรอบรู รวมทั้งสามารถใชการวิจัยเปนสวนหนึ่งของ
กระบวนการเรียนรู ทั้งนี้ ผูสอนและผูเรียนรูอาจเรียนรูไปพรอมกันจากสื่อการเรียนการสอน และแหลง

วิทยาการประเภทตา ง ๆ
6. จดั การเรียนรูใหเกิดขึน้ ไดทุกเวลา ทุกสถานที่ มีการประสานความรวมมือ กับบดิ ามารดา

และบุคคลในชมุ ชนทกุ ฝา ย เพื่อรว มกันพัฒนาผเู รยี นตามศกั ยภาพ
7. ศึกษาคนควาพฒั นารปู แบบหรอื การออกแบบกระบวนการเรยี นรูที่

6. การวัดผล ประเมินผล และดำเนนิ การเทียบโอนเทาผลการเรยี น

บทบาทและหนา ท่ี
1. กำหนดระเบียบการวัด และประเมินผลของสถานศึกษาตามหลักสูตรสถานศึกษาโดยให

สอดคลอ ง กับนโยบายระดบั ประเทศ
2. จัดทำเอกสารหลักฐานการศึกษาใหเปนไปตามระเบียบการวัด และประเมินผลของ

สถานศึกษา
3. วัดผล ประเมินผล เทียบโอนประสบการณ ผลการเรียนและอนุมัติผลการเรียน

4. จัดใหมีการประเมินผลการเรียนทุกชวงช้ัน และจัดใหมีการซอมเสริมกรณีที่มีผูเรียน ไมผาน
เกณฑการประเมนิ

5. ใหมกี ารพัฒนาเครื่องมือในการวัดและประเมินผล
6. จัดระบบสารสนเทศดานการวัดผลประเมินผล และการเทียบโอนผลการเรียนเพื่อใชในการ

อา งองิ ตรวจสอบ และใชป ระโยชนในการพัฒนาการเรยี นการสอน
7. ผูบ ริหารสถานศึกษาอนุมัตผิ ลการประเมินการเรียนดานตางๆ รายป รายภาคและตัดสินผล

การเรยี นผา นระดับช้ันและจบการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน
8. การเทียบโอนผลการเรียนเปนอำนาจของสถานศึกษา ทีจ่ ะแตง ตั้งคณะกรรมการดำเนินการ

เพือ่ กำหนดหลักเกณฑวิธีการ ไดแก คณะกรรมการเทียบระดับการศึกษาทั้งในระบบ นอกระบบ และตาม

อัธยาศยั คณะกรรมการเทียบโอนผลการเรียน และเสนอคณะกรรมการบรหิ ารหลักสตู ร และวิชาการ พรอม
ทั้งใหผ บู รหิ ารสถานศกึ ษาอนมุ ัตกิ ารเทียบโอน

7. การวิจัยเพ่อื พัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาในสถานศกึ ษา

บทบาทและหนา ท่ี
1. กำหนดนโยบายและแนวทางการใช การวิจยั เปนสวนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู และ

กระบวนการทำงานของนกั เรยี น ครู และผเู ก่ยี วขอ งกบั การศกึ ษา
2. พฒั นาครู และนกั เรยี นใหมีความรูเกย่ี วกับการปฏิรปู การเรยี นรู โดยใชกระบวนการวิจัยเปน

สำคัญ ในการเรียนรทู ี่ซับซอ นขน้ึ ทำใหผ เู รยี นไดฝกการคดิ การจดั การ การหาเหตุผลในการตอบปญหา
3. พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาดว ยกระบวนการวิจยั

4. รวบรวม และเผยแพรผลการวิจัยเพื่อการเรียนรูและพัฒนาคุณภาพการศึกษา รวมทั้ง
สนบั สนนุ ใหครูนำผลการวจิ ัยมาใชเพ่อื พฒั นาการเรยี นรแู ละพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา

8. การพฒั นาและสง เสริมใหม ีแหลงเรียนรู
บทบาทและหนาท่ี

1. จัดใหมีแหลงเรียนรูอยางหลากหลาย ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา ใหพอเพียงเพื่อ
สนบั สนนุ การแสวงหาความรูดว ยตนเองกบั การจดั กระบวนการเรียนรู

2. จัดระบบแหลงการเรียนรูภายในโรงเรียนใหเอื้อตอการจัดการเรียนรูของผูเ รยี น เชน พฒั นา
หองสมุดใหเปนแหลงการเรียนรู มุมหนังสอื ในหองเรยี น หองดนตรี หองคอมพวิ เตอร หองพยาบาล หองศูนย
วิชาการ สวนสขุ ภาพ สวนหนังสอื เปนตน

3. จัดระบบขอมูลแหลงการเรียนรูในทองถิ่นใหเอื้อตอการจัดการเรียนรู ของผูเรียน ของ
สถานศึกษาของตนเอง

4. สงเสริมใหครแู ละผูเ รียนไดใชแหลงเรียนรู ทั้งในและนอกสถานศึกษา เพื่อพัฒนาการเรียนรู
และนเิ ทศ กำกบั ตดิ ตาม ประเมนิ และปรับปรุงอยา งตอเนอ่ื ง

5. สงเสริมใหค รู และผูเ รียนใชแ หลง เรยี นรทู ั้งภายในและภายนอก
9. การนเิ ทศการศกึ ษา

บทบาทและหนา ท่ี
1. สรางความตระหนักใหแกครู และผูเกี่ยวของใหเขาใจกระบวนการนิเทศภายในวาเปน

กระบวนการทำงานรวมกันที่ใชเหตุผลการนิเทศ เปนการพัฒนาปรับปรุงวิธีการทำงานของแตละบุคคล ใหมี
คุณภาพการนิเทศเปนสวนหนึ่งของกระบวนการบริหาร เพื่อใหทุกคนเกิดความเชื่อมั่นวาไดปฏิบัติถูกตอง

กาวหนา และเกดิ ประโยชนส งู สดุ ตอ ผูเรียน และตวั ครูเอง
2. จดั การนิเทศภายในสถานศกึ ษาใหม ีคณุ ภาพทว่ั ถงึ และตอเน่อื งเปนระบบและกระบวนการ

3. จัดระบบนิเทศภายในสถานศึกษาใหเชื่อมโยงกับระบบนิเทศการศึกษาของสำนกั งานเขต
พน้ื ทกี่ ารศกึ ษา

10. การแนะแนว
บทบาทและหนา ที่
1. กำหนดนโยบายการจัดการศึกษา ที่มีการแนะแนวเปนองคประกอบสำคัญ โดยใหทุกคนใน

สถานศึกษาตระหนักถึงการมีสวนรวมในกระบวนการแนะแนว และการดูแลชวยเหลือจัดระบบงานและ
โครงสรางองคก รแนะแนว และดูแลชวยเหลอื นักเรยี นของสถานศึกษาใหชดั เจน

2. สรางความตระหนกั ใหค รทู ุกคนเห็นคณุ คา ของการแนะแนว และดแู ลชว ยเหลือนักเรียน
3. สงเสริมและพัฒนาใหครูไดรับความรูเพิ่มเติม เรื่องจิตวิทยาและการแนะแนวและดูแล

ชวยเหลือนักเรยี น เพื่อใหสามารถบรู ณาการในการจัดการเรียนรูแ ละเชื่อมโยงสกู ารดำรงชีวติ ประจำวัน
4. คัดเลือกบุคลากรที่มีความรู ความสามารถและบุคลกิ ภาพที่เหมาะสม ทำหนาที่ครูแนะแนว

ครูที่ปรกึ ษา ครูประจำชน้ั และคณะอนกุ รรมการแนะแนว
5. ดูแล กำกับ นิเทศ ติดตามและสนับสนุนการดำเนินงานแนะแนว และดูแลชวยเหลือ

นกั เรยี นอยางเปนระบบ
6. สง เสรมิ ความรวมมอื และความเขาใจอนั ดีระหวางครู ผูป กครอง และชุมชน

7. ประสานงานดานการแนะแนวระหวางสถานศึกษา องคกร ภาครัฐและเอกชน บาน
ศาสนสถาน ชมุ ชนในลกั ษณะเครือขายการแนะแนว

8. เชอื่ มโยงระบบแนะแนว และระบบดูแลชว ยเหลือนกั เรียน
11. การพฒั นาระบบประกนั คุณภาพภายใน และมาตรฐานการศึกษา

บทบาทและหนา ที่

1. กำหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
2. จัดทำแผนสถานศกึ ษาท่มี ุงเนน คณุ ภาพการศึกษา (แผนกลยุทธ/แผนยทุ ธศาสตร)
3. จัดทำระบบบรหิ ารและสารสนเทศ
4. ดำเนินการตามแผนพัฒนาสถานศกึ ษาในการดำเนินโครงการ/กิจกรรมสถานศึกษาตองสราง

ระบบ การทำงานที่เขมแข็งเนนการมีสวนรวม และวงจรการพัฒนาคุณภาพของเดมมิ่ง (Deming Cycle)
หรือทรี่ จู กั กันวา วงจร PDCA

5. ตรวจสอบ และทบทวนคุณภาพการศึกษาโดยการดำเนินการอยางจริงจังตอเนื่องดวยการ
สนบั สนุนใหครู ผปู กครองและชมุ ชนเขา มามสี ว นรว ม

6. ประเมินคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาตามมาตรฐานที่กำหนด เพื่อรองรับการ
ประเมนิ คุณภาพภายนอก

7. จัดทำรายงานคุณภาพการศึกษาประจำป (SAR) และสรุปรายงานประจำป โดยความ
เหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พื้นฐานเสนอตอหนว ยงานตน สังกดั และเผยแพรตอ สาธารณชน

12. การสงเสริมชุมชนใหมีความเขม แข็งทางวิชาการ
บทบาทและหนา ท่ี
1. จัดกระบวนการเรยี นรรู ว มกับบุคคล ครอบครวั ชุมชน องคก รชุมชน องคก รปกครองสว น

ทองถิ่น เอกชน องคกรวิชาชพี สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการและสถาบนั อน่ื

2. สง เสริมความเขม แขง็ ของชมุ ชน โดยการจดั กระบวนการเรยี นรภู ายในชุมชน
3. สงเสริมใหชุมชนมีการจัดการศึกษาอบรม มีการแสวงหาความรู ขอมูล ขาวสารและ
เลอื กสรรภูมปิ ญญา วทิ ยาการตา ง ๆ

4. พัฒนาชุมชนใหสอดคลอ งกับสภาพปญหา และความตองการรวมทั้งหาวิธีการสนับสนุนใหมี
การแลกเปลี่ยนประสบการณร ะหวา งชมุ ชน

13. การประสานความรว มมือในการพัฒนาวชิ าการกับสถานศกึ ษา และองคก รอ่นื
บทบาทและหนา ที่

1. ระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา ตลอดจนวิทยากรภายนอกและภูมิปญญาทองถิ่น เพื่อ
เสรมิ สรา ง พัฒนาการของนกั เรียนทกุ ดาน รวมทง้ั สบื สานจารตี ประเพณีศิลปวัฒนธรรมทอ งถ่นิ

2. เสริมสรางความสัมพันธระหวางสถานศึกษากับชุมชน ตลอดจนประสานงานกับองคกรท้ัง
ภาครฐั และเอกชน เพอ่ื ใหสถานศกึ ษาเปนแหลง วิทยาการของชุมชน เพอ่ื ใหสถานศึกษาเปน แหลงวิทยาการ
ของชุมชน และมีสวนในการพฒั นาชมุ ชนและทอ งถน่ิ

3. ใหบ รกิ ารดา นวิชาการท่สี ามารถเชือ่ มโยงหรือแลกเปลยี่ นขอมูลขาวสารกับแหลงวชิ าการในท่ี

อ่ืนๆ
4. จัดกิจกรรมรวมกับชุมชนเพื่อสงเสริมวัฒนธรรมการสรางความสัมพันธอันดีกับศิษยเกา

การประชุม ผูปกครองนักเรียน การปฏิบัติงานรวมกับชุมชน การรวมกิจกรรมกับสถาบันการศึกษาอ่ืน
เปนตน

14. การสงเสริมและสนับสนุนงานวิชาการแกบุคคล ครอบครัว องคกร หนวยงาน สถาน

ประกอบการ และสถาบันอ่นื ทีจ่ ัดการศกึ ษา
บทบาทและหนา ที่
1. ประชาสมั พันธสรางความเขา ใจตอ บคุ คล ครอบครัว ชุมชน องคก รชมุ ชน องคกรปกครอง

สวนทองถิ่น เอกชน องคก รเอกชน องคกรวชิ าชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบนั สังคมอื่น

ในเร่ืองเกยี่ วกับสิทธใิ นการจดั การศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐานการศกึ ษา
2. จัดใหมกี ารสรางความรูความเขาใจ การเพิ่มความพรอมใหก ับบุคคล ครอบครัว ชุมชน

องคกรชุมชน องคกรปกครองสวนทองถิ่น เอกชน องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถาน
ประกอบการและสถาบนั สงั คมอ่ืน ที่รว มจัดการศกึ ษา

3. รว มกับบคุ คล ครอบครวั ชุมชน องคก รชมุ ชน องคก รปกครองสวนทองถิน่ เอกชน องคก ร
เอกชนองคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบันสังคมอื่นที่รวมจัดการศึกษา และใช

ทรัพยากรรว มกันใหเ กดิ ประโยชนส ูงสุด
4. สงเสริมสนับสนุนใหมีการจัดกิจกรรมการเรียนรูระหวางสถานศึกษากับบุคคล ครอบครัว

ชมุ ชน องคก รเอกชน องคก รวชิ าชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบันสงั คมอน่ื
5. สงเสริมสนับสนุนใหบุคคล ครอบครัว ชุมชน องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบัน

ศาสนาสถานประกอบการและสถาบันสังคมอื่น ไดร ับความชวยเหลือทางดานวิชาการตามความ เหมาะสม
และจำเปน

6. สง เสริม และพัฒนาแหลงเรยี นรู ทั้งดานคุณภาพและปริมาณ เพือ่ การเรียนรตู ลอดชวี ติ อยา ง
มี ประสทิ ธิภาพ

15. การจดั ทำระเบียบและแนวปฏบิ ตั ิเกี่ยวกบั งานดานวชิ าการของสถานศึกษา

บทบาทและหนาที่
1. ศึกษาและวิเคราะหร ะเบียบ และแนวปฏิบัติเกีย่ วกบั งานดา นวชิ าการของสถานศึกษา เพ่ือให

ผูท ่ี เก่ียวขอ งรับรู และถือปฏบิ ตั เิ ปน แนวเดียวกนั
2. จดั ระเบียบ และแนวปฏิบตั ิเกี่ยวกบั งานดา นวิชาการของสถานศึกษา เพ่ือใหผทู เี่ กีย่ วของรับรู

และถือปฏิบัตเิ ปนแนวเดยี วกัน
3. ตรวจสอบรางระเบียบและแนวปฏบิ ัติเกี่ยวกับงานดานวิชาการของสถานศึกษา และแกไข

ปรับปรุง
4. นำระเบียบและแนวปฏิบตั เิ กี่ยวกบั งานดา นวิชาการของสถานศกึ ษาไปสกู ารปฏิบตั ิ
5. ตรวจสอบ และประเมินผล การใชระเบียบและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับงานดานวิชาการของ

สถานศกึ ษาและนำไปแกไขปรบั ปรุง ใหเหมาะสมตอไป

16. การคดั เลอื กหนงั สอื แบบเรียนเพ่ือใชในสถานศึกษา
บทบาทและหนา ท่ี

1. ศึกษา วเิ คราะห คัดเลือกหนังสอื เรียน กลุมสาระการเรยี นรูตางๆ ที่มีคุณภาพสอดคลองกับ
หลักสูตรสถานศึกษา เพ่อื เปน หนงั สือแบบเรยี นใชในการจดั การเรยี นการสอน

2. จัดทำหนังสือเรียน หนังสือเสริมประสบการณ หนังสืออานประกอบ แบบฝกหัด ใบงาน

ใบความรู เพือ่ ใชประกอบการเรยี นการสอน
3. ตรวจพิจารณาคณุ ภาพ หนังสือเรียนเรียน หนังสือเสริมประสบการณ หนังสืออานประกอบ

แบบฝก หัด ใบงาน ใบความรู เพอ่ื ใชประกอบการเรียนการสอน
17. การพฒั นา และใชสือ่ เทคโนโลยีเพ่ือการศกึ ษา

บทบาทและหนาท่ี
1. จัดใหม ีการรวมกันกำหนดนโยบาย วางแผนในเรือ่ งการจัดหาและพัฒนาส่ือการเรยี นรู และ

เทคโนโลยเี พื่อการศกึ ษา
2. พัฒนาบุคลากรใสถานศึกษาในเรื่องเกี่ยวกับการพัฒนาสื่อการเรียนรู และเทคโนโลยีเพื่อ

การศกึ ษา พรอมท้ังใหม ีการจัดต้ังเครอื ขา ยทางวชิ าการ ชมรมวชิ าการเพ่อื เปนแหลง การเรียนรู
3. พัฒนาและใชสื่อและเทคโนโลยีทางการศึกษา โดยมุงเนนการพัฒนาสื่อและเทคโนโลยี

ทางการศึกษาที่ใหขอเท็จจริงเพื่อสรางองคความรูใหมๆเกิดขึ้น โดยเฉพาะหาแหลงสื่อที่เสริมการจัด
การศกึ ษาของสถานศึกษาใหม ีประสิทธภิ าพ

4. พฒั นาหองสมุดของสถานศกึ ษา ใหเปน แหลงการเรยี นรขู องสถานศึกษา และชมุ ชน
5. นิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการปฏบิ ัตงิ านของบคุ ลากรในการจัดหา ผลติ ใชและพฒั นา
สอ่ื และเทคโนโลยที างการศกึ ษา

ดานบรหิ ารวชิ าการ
1. หวั หนางานบรหิ ารวิชาการ ปฏิบัติหนาที่หัวหนากลุม การบริหารวชิ าการ มีหนาที่ ดูแล กำกับ

ติดตาม กลน่ั กรองอำนวยความสะดวก ใหค ำแนะนำ ปรกึ ษาการปฏิบตั งิ านของเจาหนาทีท่ ่ีปฏิบัติงานในกลมุ
การบริหารวิชาการตามขอบขายและภารกิจการบริหารวิชาการ ปฏบิ ตั ิหนาที่เกี่ยวขอ งกบั การจดั ระบบบริหาร
องคก ร การประสานงานและใหบริการสนบั สนุน สง เสรมิ ใหฝายบรหิ ารงานวิชาการตางๆ ในโรงเรียนสามารถ
บริหารจัดการและดำเนนิ การตามบทบาทภารกิจ อำนาจหนา ที่ดวยความเรียบรอยตลอดจนสนับสนุนและ
ใหบริการขอมูล ขาวสาร เอกสาร สื่อ อุปกรณทางการศึกษา และทรัพยากรที่ใชในการจัดการศึกษาแก
เจาหนา ท่ขี องแตล ะฝายงานเพอ่ื ใหฝา ยบรหิ ารจัดการไดอ ยางสะดวกคลอ งตัว มีคณุ ภาพและเกดิ ประสิทธภิ าพ

2. หัวหนาวิชาการสายชั้น ปฏิบตั ิหนาที่ผูชวยหัวหนา กลุมการบริหารวชิ าการ มีหนาที่ชวยหัวหนา
กลุมการบริหารวิชาการ ในการปฏิบัติงานตามภารกิจของงานบริหารงานวิชาการและหนาที่อื่นๆที่หัวหนา
กลุมบริหารวิชาการมอบหมายปฏบิ ตั หิ นา ท่แี ทนในกรณหี วั หนา บริหารงานวชิ าการไมส ามารถปฏิบัติหนา ท่ไี ด

ขอบขายงานบริหารวชิ าการ มดี ังนี้
1. การพัฒนาหรือการดำเนินงานเกี่ยวกับการใหความเห็นการพัฒนาสาระหลักสูตรทองถิ่น

หนา ทร่ี บั ผดิ ชอบปฏิบตั ิงานดังน้ี
1) วิเคราะหก รอบสาระการเรยี นรทู องถิ่นทสี่ ำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาจัดทำไว
2) วิเคราะหห ลักสูตรสถานศึกษาเพื่อกำหนดจุดเนนหรือประเด็นที่สถานศึกษาหรือกลุมเครือขาย

สถานศึกษาใหความสำคัญ
3) ศกึ ษาและวเิ คราะหขอมลู สารสนเทศของสถานศึกษาและชุมชนเพ่ือนำมาเปนขอมูลจัดทำสาระ

การเรยี นรทู องถ่ินของสถานศกึ ษาใหส มบูรณย ่งิ ขึ้น
4) จัดทำสาระการเรียนรูทองถิ่นของสถานศึกษาเพื่อนำไปจัดทำรายวิชาพื้นฐานหรือรายวิชา

เพิ่มเติมจัดทำคำอธิบายรายวชิ า หนวยการเรียนรู แผนการจัดการเรยี นรู เพื่อจัดประสบการณและกิจกรรม
การเรยี นการสอนใหแ กผ ูเรยี นประเมินผลและปรบั ปรงุ

5) ผบู ริหารสถานศึกษาอนมุ ัติ
2. การวางแผนงานดานวิชาการ หนาท่ีรับผิดชอบปฏบิ ัตงิ านดังน้ี

1) วางแผนงานดานวชิ าการโดยการรวบรวมขอมูลและกำกับ ดูแล นเิ ทศและติดตามเกี่ยวกับงาน
วิชาการ ไดแก การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การพัฒนากระบวนการเรียนรู การวัดผล ประเมินผล และ
การเทียบโอนผลการเรียนการประกันคุณภาพภายในและมาตรฐานการศึกษา การพัฒนาและใชสื่อและ
เทคโนโลยีเพื่อการศกึ ษา การพัฒนาและสงเสริมใหมีแหลงเรียนรูการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาและ
การสงเสริมชุมชนใหมีความเขม แขง็ ทางวิชาการ

2) ผูบรหิ ารสถานศกึ ษาอนุมตั โิ ดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพนื้ ฐาน
3. การจัดการเรียนการสอนในสถานศกึ ษา หนาทีร่ ับผิดชอบปฏิบตั งิ านดงั น้ี

1) จดั ทำแผนการเรยี นรูทกุ กลุมสาระการเรยี นรูโดยความรวมมอื ของเครือขายสถานศกึ ษา

2) จัดการเรียนการสอนทุกกลุมสาระการเรียนรูทุกชวงชั้น ตามแนวปฏิรูปการเรียนรูโดยเนน
ผูเรียนเปนสำคัญ บูรณาการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูตางๆ เพื่อคุณภาพการเรียนรูของผูเรียนพัฒนา
คณุ ธรรมนำความรูตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง

3) ใชสอ่ื การเรียนการสอนและแหลงการเรียนรู
4) จัดกิจกรรมพัฒนาหอ งสมดุ หองปฏบิ ตั ิการตา งๆ ใหเ ออื้ ตอ การเรยี นรู
5) สง เสรมิ การวิจัยและพัฒนาการเรียนการสอนทุกกลมุ สาระการเรยี นรู
6) สงเสริมการพัฒนาความเปนเลิศของนักเรียนและชวยเหลือนักเรียนพิการดอยโอกาสและ

มคี วามสามารถพิเศษ
4. การพฒั นาหลกั สูตรของสถานศึกษา หนา ที่รับผดิ ชอบปฏิบัตงิ านดังนี้

1) จดั ทำหลกั สตู รสถานศึกษาเปนของตนเอง
1.1 จดั ใหมีการวิจัยและพัฒนาหลักสูตรขึน้ ใชเองใหท ันกับการเปลี่ยนแปลงทางดานเศรษฐกิจ

และสังคมและเปนตน แบบใหกับโรงเรยี นอื่น
1.2 จดั ทำหลักสูตรที่มุงเนนพัฒนานักเรียนใหเ ปนมนุษยทส่ี มบูรณท ้ังรา งกาย จิตใจ สติปญญา

มคี วามรูแ ละคุณธรรม สามารถอยูรว มกับผอู ่ืนไดอ ยางมคี วามสุข
1.3 จัดใหมีวิชาตางๆ ครบถวนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานของ

กระทรวงศกึ ษาธิการ
1.4 เพม่ิ เตมิ เนือ้ หาสาระของรายวชิ าใหส ูงและลึกซงึ้ มากขึ้นสำหรบั กลุมเปาหมายเฉพาะ ไดแก

การศกึ ษาดา นศาสนา ดนตรี นาฏศลิ ป กฬี า อาชีวศึกษา การศึกษาท่สี งเสริมความเปนเลิศ ผบู กพรอง พิการ

และการศกึ ษาทางเลอื ก
1.5 เพิ่มเติมเนื้อหาสาระของรายวิชาที่สอดคลองสภาพปญหา ความตองการของผูเรียน

ผปู กครอง ชุมชน สังคม และโลก
2) สถานศึกษาสามารถจัดทำหลกั สูตรการจัดกระบวนการเรียนรู การสอนและอื่นๆใหเหมาะสม

กับความสามารถของนกั เรยี นตามกลมุ เปา หมายพิเศษ โดยความรว มมอื ของสำนกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาและ
เครือขา ยสถานศกึ ษา

3) คณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพน้ื ฐานใหความเหน็ ชอบหลักสตู รสถานศึกษา
4) นิเทศ ติดตาม ประเมินผลและปรับปรุง หลักสูตรสถานศกึ ษา และรายงานผลใหสำนักงานเขต
พน้ื ที่การศึกษารับทราบ
5. การพฒั นากระบวนการเรยี นรู หนา ทร่ี บั ผดิ ชอบปฏิบตั ิงานดังน้ี

1) จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมใหสอดคลองกับความสนใจและความถนัดของผูเรียนโดยคำนึงถึง
ความแตกตางระหวางบุคคล

2) ฝกทกั ษะ กระบวนการคิด การจัดการการเผชิญสถานการณ และการประยุกตค วามรูมาใชเพ่ือ
ปอ งกันและแกไขปญหา

3) จัดกิจกรรมใหผูเรียนไดเรยี นรูจากประสบการณจริงฝกการปฏิบัติใหทำได คิดเปน ทำเปน รกั
การอานและเกิดการใฝร อู ยา งตอ เนอ่ื ง

4) จัดการเรียนการสอน โดยผสมผสานสาระความรูดานตางๆ อยางไดสัดสวนสมดุลกันรวมท้ัง
ปลูกฝงคุณธรรม คานยิ มท่ีดงี านและคณุ ลกั ษณะอันพง่ึ ประสงคไวในทุกวชิ า

5) สงเสริมสนับสนนุ ใหผูสอนสามารถจัดบรรยากาศสภาพแวดลอม ส่ือการเรียนและอำนวยความ

สะดวกเพอื่ ใหผูเรยี นเกดิ การเรยี นรูและมคี วามรอบรู รวมท้งั สามารถใชการวิจยั เปน สว นหนึง่ ของกระบวนการ
เรียนรู ทั้งนี้ ผูส อนและผูเรยี นอาจเรียนรูไปพรอมกันจากสื่อการเรียนการสอน และแหลงวิทยาการประเภท
ตางๆ

6) จัดการเรียนรูใหเกิดขึ้นไดทุกเวลาทุกสถานที่มีการประสานความรวมมือ กับบิดามารดาและ

บุคคลในชุมชนทกุ ฝา ย เพอื่ รวมกันพัฒนาผูเรยี นตามศกั ยภาพ
6. การวดั ผล ประเมินผลและดำเนนิ การเทยี บโอนผลการเรียน หนา ทรี่ บั ผิดชอบปฏิบัตงิ านดงั นี้

1) กำหนดระเบียบการวัดและประเมนิ ผลของสถานศึกษาตามหลกั สูตรสถานศกึ ษาโดยสอดคลอ ง
กับนโยบายระดับประเทศ

2) จัดทำเอกสารหลักฐานการศกึ ษาใหเ ปนไปตามระเบียบการวัดและประเมินผลของสถานศึกษา
3) วัดผล ประเมนิ ผล เทยี บโอนประสบการณผ ลการเรียนและอนมุ ตั ผิ ลการเรียน

4) จัดใหมีการประเมินผลการเรียนทุกชวงชั้นและจัดใหมีการซอมเสริมกรณีที่มีผูเรียนไมผาน
เกณฑการประเมนิ

5) จดั ใหม ีการพัฒนาเครือ่ งมือในการวัดและประเมนิ ผล
6) จัดระบบสารสนเทศดานการวัดผลประเมินผลและการเทียบโอนผลการเรียนเพื่อใชในการ
อางอิง ตรวจสอบและใชป ระโยชนในการพัฒนาการเรียนการสอน

7) ผบู ริหารสถานศึกษาอนมุ ัตผิ ลการประเมินการเรียนดา นตางๆ รายป/รายภาคและตัดสินผลการ
เรยี นการผา นชว งชน้ั และจบการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน

8) การเทยี บโอนผลการเรียนเปนอำนาจของสถานศกึ ษาที่จะแตง ตั้งคณะกรรมการดำเนินการเพื่อ
กำหนดหลักเกณฑว ธิ ีการ ไดแ ก คณะกรรมการเทียบระดบั การศึกษา ท้ังในระบบนอกระบบและตามอัธยาศยั

คณะกรรมการเทียบโอนผลการเรียน และเสนอคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการพรอมทั้งให
ผูบรหิ ารสถานศกึ ษาอนุมตั กิ ารเทยี บโอน

7. การวจิ ยั เพอื่ พฒั นาคุณภาพการศกึ ษาในสถานศกึ ษา หนาท่ีรับผิดชอบปฏิบตั งิ านดังน้ี
1) กำหนดนโยบายและแนวทางการใชการวิจัยเปนสวนหนึ่งของกระบวนการทำงานของนักเรยี น

ครู และผูเกีย่ วขอ งกบั การศกึ ษา
2) พัฒนาครูและนักเรียนใหมีความรูเกี่ยวกับการปฏิรูปการเรียนรูโดยใชกระบวนการวิจัยเปน

สำคัญในการเรียนรูที่ซับซอนขึน้ ทำใหผูเรียนไดฝกการคิด การจัดการ การหาเหตุผล ในการตอบปญ หา การ
ผสมผสานความรแู บบสหวิทยาการและการเรียนรูในปญ หาทต่ี นสนใจ

3) พัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาดว ยกระบวนการวิจยั
4) รวบรวม และเผยแพรผลการวิจัยเพ่ือการเรียนรแู ละพฒั นาคุณภาพการศึกษา รวมทงั้ สนบั สนุน
ใหครนู ำผลการวิจยั มาใช เพือ่ พฒั นาการเรียนรูแ ละพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษา
8. การพฒั นาและสงเสรมิ ใหม แี หลงเรียนรู หนา ท่รี บั ผิดชอบปฏิบตั ิงานดังน้ี

1) จัดใหมีแหลงเรียนรูอยางหลากหลายทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาใหพอเพียงเพ่ือ
สนับสนุนการแสวงหาความรดู ว ยตนเองกบั การจัดกระบวนการเรียนรู

2) จัดระบบแหลงการเรยี นรูภายในโรงเรียนใหเอื้อตอการจัดการเรียนรูของผูเรียน เชน พัฒนา

หองสมุดหมวดวิชา หองสมุดเคลื่อนที่ มุมหนังสือในหองเรียน หองพิพิธภัณฑ หองมัลติมีเดีย หอง
คอมพิวเตอร อินเตอรเ น็ต ศูนยว ชิ าการ ศนู ยวทิ ยบรกิ าร Resource Center สวนสขุ ภาพ สวนวรรณคดี สวน
หนังสอื สวนธรรมะ เปน ตน

3) จัดระบบขอมูลแหลงการเรยี นรูใ นทอ งถน่ิ ใหเอ้ือตอการจดั การเรยี นรขู องผเู รยี นของสถานศึกษา

ของตนเอง เชน จัดเสนทาง/แผนที่ และระบบการเชื่อมโยงเครือขายหองสมุดประชาชน หองสมุด
สถาบนั การศึกษา พพิ ิธภัณฑ พิพธิ ภัณฑว ทิ ยาศาสตร ภูมิปญ ญาทองถน่ิ ฯลฯ

4) สงเสริมใหครแู ละผูเรียนไดใชแหลง เรยี นรู ทั้งในและนอกสถานศึกษาเพ่ือพัฒนาการเรียนรูและ
นเิ ทศ กำกับตดิ ตาม ประเมิน และปรับปรงุ อยางตอเนอ่ื ง

9. การนเิ ทศการศกึ ษา หนา ทร่ี บั ผดิ ชอบปฏิบัติงานดงั น้ี
1) สรางความตระหนักใหแกครูและผูเกี่ยวของใหเขาใจกระบวนการนิเทศภายในวาเปน

กระบวนการทำงานรวมกันทีใ่ ชเหตุผลการนิเทศเปน การพัฒนาปรับปรุงวิธีการทำงานของแตละบุคคลใหมี
คุณภาพ การนเิ ทศเปนสวนหนึ่งของกระบวนการบริหาร เพ่ือใหทกุ คนเกิดความเชื่อมั่นวา ไดปฏิบัตถิ กู ตอง

กาวหนา และเกดิ ประโยชนส ูงสุดตอ ผเู รยี นและตวั ครเู อง
2) จดั การนิเทศภายในสถานศึกษาใหมีคุณภาพทวั่ ถึงและตอเน่ืองเปน ระบบและกระบวนการ
3) จัดระบบนิเทศภายในสถานศึกษาใหเชือ่ มโยงกับระบบนิเทศการศึกษาของสำนักงานเขตพืน้ ท่ี

การศกึ ษา
10. การแนะแนวการศึกษา มหี นา ท่รี ับผิดชอบปฏิบตั งิ านดังนี้
1) กำหนดนโยบายการจัดการศึกษาที่มีการแนะแนวเปนองคประกอบสำคัญ โดยใหทุกคนใน

สถานศึกษาตระหนักถึงการมีสวนรวมในกระบวนการแนะแนวและการดูแลชวยเหลอื นกั เรยี น

2) จัดระบบงานและโครงสรา งองคก รแนะนำและดูแลชวยเหลือนกั เรียน
3) สรางความตระหนักใหครทู กุ คนเห็นคณุ คา ของการแนะแนวและดแู ลชวยเหลอื นกั เรยี น

4) สงเสริมและพัฒนาใหครูไดรับความรูเพิ่มเติมในเรื่องจิตวิทยาและการแนะแนวและดูแล
ชว ยเหลอื นกั เรยี นเพือ่ ใหส ามารถ บรู ณาการ ในการจดั การเรียนรแู ละเชอื่ มโยง สกู ารดำรงชีวิตประจำวัน

5) คัดเลอื กบุคลากรทีม่ ีความรู ความสามารถและบคุ ลกิ ภาพทีเ่ หมาะสม ทำหนาท่ีครแู นะแนวครูท่ี
ปรกึ ษา ครปู ระจำช้ัน และคณะอนกุ รรมการแนะแนว

6) ดูแล กำกับ นิเทศ ติดตามและสนับสนุนการดำเนินงานแนะแนวและดูแลชวยเหลือนักเรียน
อยางเปนระบบ

7) สง เสริมความรว มมอื และความเขาใจอนั ดรี ะหวางครู ผปู กครองและชมุ ชน
8) ประสานงานดา นการแนะแนว ระหวา งสถานศกึ ษา องคกรภาครฐั และเอกชน บา น ศาสนสถาน
ชมุ ชน ในลกั ษณะเครือขา ยการแนะแนว
9) เช่ือมโยงระบบแนะแนวและระบบดูแลชว ยเหลอื นักเรียน

11. การพัฒนาระบบประกันคณุ ภาพภายในและมาตรฐานการศึกษา มีหนา ทร่ี ับผดิ ชอบปฏิบัติงาน
ดงั นี้

1) กำหนดมาตรฐานการศึกษาเพิ่มเติมของสถานศึกษาใหสอดคลองกับมาตรฐานการศึกษาชาติ

มาตรฐานการศึกษาข้ันพ้นื ฐานมาตรฐานสำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาและความตอ งการของชมุ ชน
2) จัดระบบบริหารและสารสนเทศ โดยจัดโครงสรางการบริหารที่เอื้อตอการพัฒนางานและการ

สรางระบบประกันคุณภาพภายในจัดระบบสารสนเทศใหเปนหมวดหมู ขอมูล มีความสมบูรณเรียกใชงาย
สะดวก รวดเรว็ ปรบั ปรงุ ใหเ ปนปจจุบันอยเู สมอ

3) จัดทำแผนสถานศกึ ษาทีม่ ุงเนนคณุ ภาพการศกึ ษา (แผนกลยทุ ธ/ แผนยุทธศาสตร)
4) ดำเนินการตามแผนพัฒนาสถานศกึ ษาในการดำเนินโครงการ/กิจกรรมสถานศึกษาตอ งสราง

ระบบการทำงานที่เขมแข็งเนนการมีสวนรวม และวงจรการพัฒนาคุณภาพของเดมมิ่ง (Deming Cycle)
หรอื ทร่ี จู กั กนั วาวงจร PDCA

5) ตรวจสอบและทบทวนคณุ ภาพการศึกษาโดยดำเนินการอยางจรงิ จังตอเนือ่ งดวยการสนับสนุน
ใหค รู ผูป กครองและชุมชนเขา มามสี วนรวม

6) ประเมินคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาตามมาตรฐานที่กำหนดเพื่อรองรับการประเมิน
คณุ ภาพภายนอก

7) จัดทำรายงานคุณภาพการศกึ ษาประจำป (SAR) และสรุปรายงานประจำป โดยความเห็นชอบ
ของคณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พื้นฐานเสนอตอหนวยงานตน สงั กัดและเผยแพรต อ สาธารณชน

12. การสง เสรมิ ชุมชนใหมีความเขม แข็งทางวิชาการ มหี นาทร่ี บั ผิดชอบปฏิบตั งิ านดังน้ี

1) จัดกระบวนการเรียนรูรวมกับบุคคล ครอบครัว ชุมชน องคกรชุมชน องคกรปกครองสวน
ทองถน่ิ เอกชน องคก รเอกชน องคก รวิชาชพี สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการและสถาบันอนื่

2) สง เสริมความเขม แขง็ ของชมุ ชนโดยการจัดกระบวนการเรยี นรภู ายในชุมชน
3) สงเสริมใหชุมชนมีการจัดการศึกษาอบรมมีการแสวงหาความรู ขอมูล ขาวสารและรูจัก

เลือกสรรภมู ิปญ ญาและวิทยาการตา ง ๆ
4) พัฒนาชุมชนใหส อดคลอ งกับสภาพปญหาและความตองการรวมทั้งหาวิธีการสนับสนุนใหมีการ

แลกเปลีย่ นประสบการณร ะหวา งชุมชน
13. การประสานความรวมมือในการพัฒนาวิชาการกับสถานศึกษาและองคกรอื่น มีหนาท่ี

รบั ผิดชอบปฏิบตั งิ านดงั น้ี
1) ระดมทรพั ยากรเพื่อการศึกษา ตลอดจนวิทยากรภายนอกและภูมิปญ ญาทองถิ่นเพื่อเสริมสรา ง

พฒั นาการของนกั เรยี นทุกดา นรวมทงั้ สืบสานจารตี ประเพณศี ลิ ปวัฒนธรรมของทองถ่ิน
2) เสริมสรางความสัมพันธระหวางสถานศึกษากับชุมชน ตลอดจนประสานงานกับองคกรท้ัง

ภาครัฐและเอกชน เพื่อใหสถานศึกษาเปนแหลงวิทยาการของชุมชนและมีสวนในการพัฒนาชุมชนและ
ทอ งถิน่

3) ใหบริการดานวิชาการที่สามารถเชื่อมโยงหรือแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารกับแหลงวิชาการ
ในทอ่ี ื่นๆ

4) จัดกจิ กรรมรว มชุมชน เพ่ือสง เสริมวฒั นธรรมการสรางความสมั พนั ธอ ันดีกับศิษยเ กาการประชมุ
ผปู กครองนกั เรยี น การปฏิบัตงิ านรวมกบั ชมุ ชน การรวมกิจกรรมกบั สถานบันการศกึ ษาอนื่ เปน ตน

14. การสงเสริมและสนับสนุนงานวิชาการแกบุคคล ครอบครัว องคกร หนวยงาน สถาน

ประกอบการ และสถาบันอน่ื ท่ีจัดการศกึ ษา มหี นา ที่รบั ผิดชอบปฏิบตั งิ านดงั น้ี
1) ประชาสัมพนั ธสรางความเขา ใจตอ บุคคล ครอบครวั ชุมชน องคกรชุมชน องคกรปกครองสว น

ทองถิ่น เอกชน องคก รเอกชน องคก รวชิ าชพี สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการและสถาบนั สงั คมอ่ืนในเรื่อง
เกย่ี วกบั สิทธใิ นการจดั การศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน

2) จัดใหม ีการสรางความรูค วามเขาใจ การเพิ่มความพรอมใหก บั บคุ คล ครอบครัว ชุมชน องคกร
ชุมชน องคก รปกครองสวนทองถิ่น เอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบัน

สงั คมอน่ื ทร่ี วมจัดการศกึ ษา
3) รวมกับบุคคล ครอบครัว ชุมชน องคกรชุมชน องคก รปกครองสวนทองถิ่น เอกชน องคกร-

เอกชน องควิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบันสังคมอื่นรวมกันจัดการศึกษาและใช
ทรพั ยากรรวมกันใหเ กดิ ประโยชนสงู สุดแกผเู รยี น

4) สงเสรมิ สนับสนนุ ใหม ีการจัดกิจกรรมการเรียนรวมกันระหวางสถานศึกษากับบคุ คล ครอบครัว
ชุมชน องคกรชุมชน องคกรปกครองสวนทองถิ่น เอกชน องคกรเอกชน องคกร-วิชาชีพ สถาบันศาสนา

สถานประกอบการณ และสถาบันสงั คมอน่ื
5) สง เสรมิ สนบั สนนุ ใหบ ุคคล ครอบครวั ชุมชน องคกรชุมชน องคกรปกครองสว นทองถ่ิน เอกชน

องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการณ และสถาบันสังคมอื่น ไดรับความ

ชว ยเหลือทางดา นวิชาการตามความเหมาะสมและจำเปน
6) สงเสริมและพัฒนาแหลงเรียนรู ท้ังดานคุณภาพและปริมาณเพื่อการเรียนรูตลอดชวี ิต อยางมี

ประสิทธิภาพ
15. การจดั ทำระเบียบและแนวปฏิบัติเกยี่ วกับงานดานวิชาการของสถานศึกษา มีหนา ทรี่ ับผิดชอบ

ปฏิบตั ิงานดังน้ี
1) ศึกษาและวิเคาระหร ะเบยี บและแนวปฏบิ ัติเก่ียวกับงานดานวชิ าการของสถานศกึ ษา เพอื่ ใหผูที่

เกี่ยวของทกุ รายรับรูและถอื ปฏิบตั ิเปน แนวเดยี วกัน
2) จัดทำรา งระเบียบและแนวปฏิบตั ิเก่ียวกับงานดานวชิ าการของสถานศึกษา เพ่ือใหผูที่เก่ียวของ

ทกุ ฝายรบั รแู ละถือปฏบิ ตั ิเปน แนวเดยี วกัน
3) ตรวจสอบรางระเบียบและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับงานดานวิชาการของสถานศึกษาและแกไข

ปรับปรงุ
4) นำระเบยี บและแนวปฏิบตั เิ กีย่ วกับงานดานวิชาการของสถานศกึ ษาไปสูการปฏิบัติ

5) ตรวจสอบและประเมินผลการใชระเบียบและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับงานดานวิชาการของ
สถานศกึ ษาและนำไปแกไ ขปรบั ปรงุ ใหเหมาะสมตอไป

16. การคัดเลอื กหนังสือ แบบเรียนเพ่อื ใชใ นสถานศึกษา มีหนาท่ีรบั ผดิ ชอบปฏบิ ัติงานดังนี้
1) ศึกษา วิเคาระห คัดเลือกหนังสือเรียนกลุมสาระการเรียนรูตางๆ ที่มีคุณภาพสอดคลองกลับ

หลักสูตรสถานศึกษาเพอ่ื เปน หนงั สือแบบเรียนเพอื่ ใชในการจดั การเรียนการสอน

2) จัดทำหนังสือเรียน หนังสือเสริมประสบการณ หนังสืออานประกอบ แบบฝกหัด ใบงาน
ใบความรเู พือ่ ใชประกอบการเรียนการสอน

3) ตรวจพิจารณาคุณภาพหนังสือเรียน หนังสือเสริมประสบการณ หนังสืออานประกอบ
แบบฝกหัด ใบงาน ใบความรูเ พือ่ ใชประกอบการเรยี นการสอน

17. การพฒั นาและใชส ือ่ และเทคโนโลยเี พอื่ การศกึ ษา มีหนา ท่รี ับผดิ ชอบปฏิบตั งิ านดงั นี้
1) จัดใหมีการรวมกันกำหนดนโยบาย วางแผนในเรื่องการจัดหาและพัฒนาสื่อการเรียนรู

และเทคโนโลยเี พ่ือการศกึ ษาของสถานศึกษา
2) พัฒนาบุคลากรในสถานศึกษาในเรื่องเกี่ยวกับการพัฒนาสื่อการเรียนรูและเทคโนโลยี

เพื่อการศึกษา พรอมทั้งใหมีการจัดตั้งเครือขายทางวิชาการ ชมรมวิชาการเพื่อเปนแหลงเรียนรูของ
สถานศกึ ษา

3) พัฒนาและใชสือ่ และเทคโนโลยีทางการศึกษาโดยมุงเนนการพัฒนาสื่อและเทคโนโลยีทางการ
ศึกษาที่ใหขอเท็จจริงเพื่อสรางองคความรูใหมๆเกิดขึ้น โดยเฉพาะหาแหลงสื่อที่เสรมิ การจัดการศกึ ษา ของ

สถานศึกษาใหมีประสทิ ธภิ าพ
4) พฒั นาหองสมดุ ของสถานศึกษาใหเ ปนแหลงการเรยี นรูของสถานศึกษาและชุมชน
5) นิเทศ ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรในการจัดหา ผลิตใชและพัฒนาสื่อ

และเทคโนโลยีทางการศกึ ษา
18. การรบั นกั เรยี น หนาท่ีรบั ผิดชอบปฏิบตั งิ านดังนี้
1) ใหสถานศึกษาประสานงานการดำเนินการแบงเขตพื้นที่บริการการศึกษารวมกัน และเสนอ

ขอตกลงใหเขตพ้ืนที่การศึกษาเห็นชอบ

2) กำหนดแผนการรับนักเรียนของสถานศกึ ษา โดยประสานงานกบั เขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษา
3) ดำเนนิ การรบั นกั เรียนตามทีแ่ ผนกำหนด

4) รวมมอื กับองคกรปกครองสว นทองถิน่ ชุมชน ในการติดตามชวยเหลือนักเรียนทมี่ ปี ญหาในการ
เขา เรียน

5) ประเมนิ ผลและรายงานผลรบั เดก็ เขา เรยี นใหเขตพน้ื ที่การศึกษาทราบ
19. การจดั ทำสำมะโนนักเรยี น มหี นา ทร่ี บั ผดิ ชอบปฏิบัตงิ านดังน้ี

1) ประสานงานกับชุมชนและทองถิ่นในการสำรวจขอมูล จำนวนนักเรียนที่จะเขารับบริการ
ทางการศกึ ษาในเขตบรกิ ารของสถานศึกษา

2) จดั ทำสำมะโนผเู รยี นท่ีจะเขารบั บรกิ ารทางการศึกษาของสถานศึกษา
3) จดั ระบบขอมูลสารสนเทศจากสำมะโนผูเรยี นใหเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษารับทราบ
20. การทัศนศกึ ษา มีหนาที่รบั ผิดชอบปฏิบัติงานดงั น้ี
1) วางแผนการนำนักเรียนไปทศั นศึกษานอกสถานศกึ ษา

2) ดำเนนิ การนำนกั เรียนไปทศั นศึกษานอกสถานศึกษา ตามหลกั เกณฑและวิธกี ารท่กี ำหนด


Click to View FlipBook Version