คำนำ
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ โรงเรียนบา้ นตูมฉบบั นี้ จดั ทำขึ้น
ตามกฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ข้อ ๓ ระบุให้สถานศึกษาจัดส่งรายงานผลการ
ประเมนิ ตนเองให้แก่หน่วยงานต้นสังกัดหรือหนว่ ยงานทก่ี ำกับดูแลสถานศึกษาเป็นประจำทุกปีเพ่ือรายงานผลการ
ดำเนินงานตามมาตรฐานการศกึ ษาท่ีสะท้อนผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ซ่ึงเป็นผลสำเร็จจากการบรหิ ารจัด
การศึกษาที่สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการศกึ ษาในระดบั ปฐมวัย ๓ มาตรฐาน ไดแ้ ก่ คุณภาพของเด็ก กระบวนการ
บริหารและการจัดการ การจดั ประสบการณ์ที่เน้นเดก็ เป็นสำคญั และระดับการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน ๓ มาตรฐาน
ได้แก่คุณภาพของผู้เรียนกระบวนการบริหารและการจัดการกระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็น
สำคัญเพื่อนำเสนรายงานผลการจัดการศึกษาในรอบปีที่ผ่านมาต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง
ตลอดจนเผยแพรต่ ่อสาธารณชนไดร้ ับทราบ และเตรียมความพรอ้ มในการรับการประเมนิ ภายนอก โดยสำนักงาน
รับรองมาตรฐานการศึกษาและประเมนิ คุณภาพการศกึ ษา(องคก์ ารมหาชน) ตอ่ ไป
ขอขอบคณุ คณะครู ผปู้ กครอง นักเรยี น คณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน และผทู้ ี่มสี ่วน
เกยี่ วขอ้ งทกุ ฝา่ ยทม่ี สี ว่ นรว่ มในการจัดทำรายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาปกี ารศึกษา ๒๕๖๔
(นายสขุ สันต์ เหล่าเรอื ง)
ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบ้านตูม
๑๗ เมษายน ๒๕๖๕
สารบัญ
เรื่อง หนา้
คำนำ ก
สารบัญ ข
คำรบั รองของคณะกรรมการสถานศกึ ษา ค
บทสรุปผบู้ รหิ าร
ส่วนที่ ๑ ข้อมลู พืน้ ฐาน ง
ส่วนที่ ๒ แนวทางพัฒนา ผลการพัฒนาและผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา
สว่ นท่ี ๓ สรุปผลการประเมนิ ตนเองในภาพรวมของสถานศกึ ษา ๑
ภาคผนวก ๑๘
คำสั่งแตง่ ต้งั กรรมการประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษา ๕๙
แหลง่ ที่มเี อกสารอ้างอิง
คำรับรองของคณะกรรมการสถานศึกษา
ด้วยโรงเรยี นบา้ นตูม ไดจ้ ดั ทำรายงานการประเมินตนเอง ฉบบั นี้ เพ่ือเป็นการรายงานผล
การดำเนนิ การพฒั นาคุณภาพการศึกษาของโรงเรยี นบา้ นตูม ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๔ ที่สอดคล้องกับสภาพ
ปัญหาและความตอ้ งการจำเป็นของสถานศึกษาอยา่ งเป็นระบบ โดยสะท้อนคณุ ภาพ ความสำเรจ็ อยา่ งชดั เจน
ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ซึง่ มเี ป้าหมายเพ่อื พัฒนาสถานศกึ ษาให้มีคณุ ภาพ และเพื่อให้การประกนั
คณุ ภาพการศึกษาเปน็ ไป อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพและพฒั นาอย่างต่อเนอื่ ง
คณะกรรมการสถานศึกษามีความเห็นชอบในการจดั ทำรายงานการประเมนิ ตนเอง
ฉบับน้ี ของโรงเรยี นบา้ นตมู ท่สี ะทอ้ นคณุ ภาพผเู้ รียน และผลสำเร็จของการบริหารจดั การศึกษา เพอ่ื เป็น
ประโยชนต์ อ่ การนำไปใช้พฒั นาการศกึ ษาในปีการศกึ ษาต่อไป
(พระครูอุดมกิจจาภรณ์)
ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน
โรงเรยี นบ้านตมู
บทสรปุ สำหรบั ผบู้ ริหาร
โรงเรียนบ้านตูม ตั้งอยู่ที่ หมู่ ๒ ตำบลตมู ใต้ อำเภอกุมภวาปี จังหวัดอุดรธานี สงั กัดสำนักงานเขตพน้ื ท่ี
การศึกษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๒ เปิดสอนตัง้ แต่ช้ันอนุบาล ๑ ถึง ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๖ มีบุคลากรสาย
บริการ จำนวน ๑ คน ครูและบุคลากรทางการศึกษา จำนวน ๙ คน ได้ดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน
สถานศึกษา ตามกฎกระทรวง การประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ.๒๕๖๑ และมีผลการดำเนินงานดังน้ี
๑. ผลการประเมนิ คุณภาพภายในของสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษา
๑.๑ การศึกษาปฐมวัย
ด้าน ระดับคุณภาพ
๑. คณุ ภาพของเดก็ ยอดเยีย่ ม
๒. กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ยอดเย่ียม
๓. การจัดประสบการณ์ทีเ่ น้นเด็กเป็นสำคัญ ยอดเยี่ยม
๑) ผลการดำเนินงาน
โรงเรียนบ้านตูม ไดจ้ ดั การเรียนการสอนในระดบั ปฐมวัย ในการพัฒนาเดก็ ทางด้านร่างกาย
ด้านสติปญั ญา ด้านทกั ษะการเคลื่อนไหว ตามพัฒนาการของเด็กในแตล่ ะวัย สง่ ผลให้ได้รับผลการประเมนิ
คณุ ภาพภายในระดบั ยอดเยีย่ ม
๒) จุดเด่น
ด้านคณุ ภาพของเดก็
๑. เด็กมพี ฒั นาการทางด้านร่างกาย มีนำ้ หนักส่วนสงู เปน็ ไปตามเกณฑ์ มีทักษะ
การเคล่อื นไหว ตามพฒั นาการของแตล่ ะวยั มีนสุขนิสัยในการดแู ลตนเอง หลีกเล่ียงต่อภาระเส่ียงต่อโรค อบุ ตั เิ หตุ
ภยั
๒. ผปู้ กครองมีระดับความพงึ พอใจต่อการดำเนนิ งานของสถานศกึ ษา
๓. ผบู้ รหิ ารมีวิสัยทศั น์ภาวะผู้นำและความคิดริเริ่มสรา้ งสรรค์ทีเ่ นน้ การพฒั นาเดก็
ปฐมวัยและใช้หลกั การบรหิ ารแบบมสี ว่ นรว่ ม เอาใจใส่การจัดการศึกษาปฐมวยั ผู้ปกครองและชมุ ชนพงึ พอใจ
๔. เดก็ มพี ัฒนาการทางด้านสตปิ ัญญา สนใจส่ิงรอบตัว ซกั ถามอยา่ งต้ังใจและรกั การ
เรียนรู้ มีทกั ษะทางภาษาที่เหมาะสมกับวัย มีจินตนาการและความคดิ สร้างสรรค์ มคี วามคดิ รวบยอดกบั ส่ิงต่าง ๆ
ท่เี กิดจากประสบการณก์ ารเรียนรู้ มที ักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
ดา้ นกระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
๑. สถานศกึ ษามีเป้าหมายวสิ ัยทัศน์และพนั ธกิจทีโ่ รงเรียนกำหนดชัดเจน สอดคลอ้ งกับ
บรบิ ทของโรงเรียน ความตอ้ งการของชุมชน และมีการปรับใหส้ อดคล้องกับผลการประเมินท่ผี า่ นมาและบริบทของ
สถานศึกษาทุกปี
๒.ผู้ปกครองมรี ะดับความพึงพอใจต่อการดำเนินงานของสถานศกึ ษาระดบั ยอดเยย่ี ม
๓..ผู้บริหารมีวสิ ัยทศั นภ์ าวะผู้นำและความคิดรเิ ริม่ สรา้ งสรรคท์ ีเ่ น้นการพัฒนาเด็ก
ปฐมวัยและใช้หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วม เอาใจใส่การจัดการศึกษาปฐมวัย ผู้ปกครองและชุมชนพึงพอใจ
ระดบั ยอดเย่ยี ม
ดา้ นการจัดประสบการณท์ เ่ี นน้ เด็กเป็นสำคัญ
๑. ครูรอ้ ยละ ๙๐ ใช้กระบวนการบา้ นวิทยาศาสตรน์ อ้ ยในการจัดการเรียนรู้
๒. ครรู ้อยละ ๙๐ ได้ทำการวเิ คราะหก์ ลักสตู รและจดั กิจกรรมการเรียนรู้โดยออกแบบ
การเรยี นรู้
๓) จดุ ท่ีควรพฒั นา
ด้านคณุ ภาพของเดก็
๑. การส่งเสริมด้านวนิ ัย ความรับผิดชอบ
๒. การส่งเสริมมารยาทไทย การไหว้ การพูด
ด้านกระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
๑. การพัฒนามมุ ประสบการณ์ภายในหอ้ งเรยี นให้มีส่อื อปุ กรณ์ทีเ่ พยี งพอ
๒. การพัฒนาแหลง่ เรียนรู้ภายในโรงเรียนใหเ้ อื้อตอ่ การเรียนรู้เพ่ิมข้ึน
๓. ควรจัดทำโครงการและมงี บประมาณสนับสนนุ
ดา้ นการจดั ประสบการณ์ท่ีเนน้ เด็กเปน็ สำคญั
รปู แบบการสอนหรือกระบวนการเรียนการสอนในหลากหลายวธิ ีซ่ึงจำแนกได้ ดังนี้
๑. เทคนิคการเรียนการสอนแบบบรู ณาการ ไดแ้ ก่ การจัดการเรียนการสอนตามแนว
ไฮสโคปบูรณาการกับกิจกรรมศิลปะสรา้ งสรรค์เล่นตามมุม
๒. การจดั ประสบการณ์แบบบูรณาการทเี่ น้นใหน้ ักเรียนเปน็ ผู้ลงมือปฏิบตั ิเพ่อื ให้เกดิ
การค้นพบความรู้ดว้ ยตนเอง
๔) ขอ้ เสนอแนะ
ด้านคณุ ภาพของเดก็
๑. เดก็ บางคนมีผลการประเมนิ ดา้ นสตปิ ญั ญาตำ่ ควรจัดกจิ กรรมส่งเสริมด้าน
สติปญั ญาให้มากข้นึ
๒. เด็กบางคนไม่กลา้ แสดงออกด้านการพูด ควรจดั กิจกรรมส่งเสรมิ ด้านการพูด
หน้าชนั้ เรยี นให้มากขน้ึ
๓.เดก็ บางคนไม่เข้ารว่ มกิจกรรมเคล่อื นไหวและจงั หวะ ควรส่งเสรมิ ใหเ้ ด็กฝกึ เป็นผู้นำ
ใหม้ ากขน้ึ โดยยกย่องชมเชยใหก้ ำลงั ใจเพ่ือให้เด็กมคี วามมัน่ ใจในตนเองเด็กจงึ จะเข้าร่วมกจิ กรรมกบั เพอ่ื น ๆ
๔. ผู้ปกครองมีสว่ นร่วมในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวยั กำกับดูแลการใชส้ ่ือ
เทคโนโลยีของผู้เรียนขณะอยู่ท่ีบ้าน ครตู ้องมกี ารประสานให้ความรู้ความเขา้ ใจกบั ผู้ปกครองอย่างสม่ำเสมอ
๕. ครทู ุกคนควรจัดกิจกรรมการเรยี นรู้แบบ Active Learning มกี ารใช้สื่อเทคโนโลยี
ชว่ ยสอน มกี ารวัดผลประเมนิ ผลโดยการสังเกตเด็กเป็นรายบุคคลอย่างสม่ำเสมอ นำปญั หาทพ่ี บมาวเิ คราะห์
ร่วมกันหาแนวทางแกไ้ ขนำผลสำเรจ็ จากวธิ กี ารแกป้ ญั หามาขยายผลในระดับโรงเรยี นและเครือขา่ ยฯ อยา่ ง
ต่อเน่อื ง (PLC)
ดา้ นกระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
๑. การระดมทรพั ยากรและสอ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับเด็กปฐมวยั โดยโรงเรียน
กำหนดและจัดสรรงบประมาณในแผนปฏิบัตกิ ารโรงเรียนและวธิ กี ารอนื่ ๆ ทเี่ หมาะสม
๒. ส่งเสริมและจัดกิจกรรมที่เนน้ เดก็ เป็นสำคญั ควรจดั ใหส้ อดคล้องกบั พัฒนาการ
ตามวัยและตามศกั ยภาพของเด็ก
ด้านการจดั ประสบการณท์ ี่เน้นเดก็ เป็นสำคญั
ของเดก็ ๑. ครูจดั กิจกรรมตามหน่วยการเรียนร้ทู ใี่ กลต้ วั เดก็ และเดก็ มีความสนใจ
ใฝเ่ รียนรู้ ๒. ครจู ัดสือ่ ประกอบการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกบั หน่วยการเรยี นรู้ที่ความสนใจ
๓. ครูใช้เทคนิคการนำเข้าสู่บทเรียนท่ีเร้าความสนใจใหเ้ ดก็ เกดิ ความกระตอื รอื รน้ สนใจ
๔. ให้ผู้ปกครองมสี ว่ นรว่ มในการประเมนิ พัฒนาการ
๕) หลักฐานสนับสนนุ ผลการดำเนนิ งาน
โรงเรยี นบ้านตมู มเี อกสาร หลกั ฐาน สนับสนุนผลการดำเนินงาน ระดับการศกึ ษาปฐมวยั
เช่น แผนปฏิบัตกิ ารประจำปี ๒๕๖๔ รายงานประเมินพฒั นาการเด็กปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ รายงานการดำเนินงาน
๙ จดุ เน้นก้าวสู้ความเป็นเลศิ จุดเน้นท่ี ๒ การศึกษาปฐมวยั
๖) แนวทางการพฒั นาใหไ้ ดร้ ะดับคณุ ภาพที่สูงขึ้น (แนวทางพัฒนาคุณภาพใหด้ ีข้ึนกวา่ เดมิ )
โรงเรียนบา้ นตมู ไดม้ แี นวทางในการพฒั นาคณุ ภาพ ระดบั การศกึ ษาปฐมวัย ให้ได้ระดับ
คณุ ภาพโครงการ/กจิ กรรม ดังตอ่ ไปน้ี
๑) โครงการบา้ นนกั วทิ ยาศาสตรน์ ้อย
๒) โครงการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาปฐมวัย
๑.๒ ระดับการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน
ด้าน ระดบั คณุ ภาพ
๑. คุณภาพของผเู้ รยี น ยอดเยี่ยม
๒. กระบวนการบริหารและการจดั การ ยอดเยย่ี ม
๓. กระบวนการจดั การเรียนการสอนที่เนน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคัญ ยอดเยี่ยม
๑) ผลการดำเนินงาน
โรงเรยี นบ้านตูม ไดจ้ ัดการเรยี นการสอนตามกระบวนการเรียนการสอนที่เนน้ ผู้เรยี นเป็นสำคัญ
สง่ ผลให้ได้รับผลการประเมนิ คุณภาพภายในระดับยอดเยี่ยม
๒) จุดเด่น
ด้านคณุ ภาพของผเู้ รยี น
๑. นกั เรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ มีผลการประเมนิ ความสามารถดา้ นการอา่ นออก
เขยี นได้ (Reading Test : RT) อยู่ในระดับ ดีขึน้ ไป คดิ เปน็ ร้อยละ ๗๔.๕๗
๒. นักเรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ มีผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT)
ดา้ นคณติ ศาสตร์ อยใู่ นระดับ ดีขึน้ ไป คดิ เป็นร้อยละ ๓๖.๓๖ และด้านภาษาไทย อยู่ในระดบั ดีขึ้นไป
คิดเป็นร้อยละ ๙.๐๙
๓. นกั เรยี นช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ มีผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติชน้ั พืน้ ฐาน
(O-Net) ร้อยละ ๓๓.๒๕
๔. นกั เรียนรอ้ ยละ ๙๘.๕๐ มีคุณลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงคใ์ นระดบั ดีขึ้นไป
ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ
๑. สถานศึกษามเี ปา้ หมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่โรงเรียนกำหนดชดั เจน สอดคล้อง
กับบรบิ ทของโรงเรียน ความตอ้ งการของชุมชน และมกี ารปรับให้สอดคลอ้ งกบั ผลการประเมนิ ทผี่ ่านมาและบริบท
ของสถานศึกษาทุกปี
๒. สถานศึกษามจี ำนวนอัตราสว่ นคอมพวิ เตอรต์ ่อจำนวนนกั เรียนอยา่ งเพยี งพอ
๓. ผู้ปกครองมรี ะดบั ความพึงพอใจต่อการดำเนินงานของสถานศึกษาในระดบั ดีเยี่ยม
ดา้ นกระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเี่ น้นผ้เู รยี นเปน็ สำคัญ
๑. ครรู อ้ ยละ ๙๐ สามารถใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศในการพฒั นาการเรียนรขู้ องผูเ้ รียน
๒. ครูรอ้ ยละ ๑๐๐ ไดท้ ำการวเิ คราะห์หลกั สตู รและจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้
โดยออกแบบการเรียนรู้
๓) จุดท่ีควรพัฒนา
ด้านคณุ ภาพของผ้เู รียน
๑. การสง่ เสริมให้นกั เรียนมีคุณลักษณะทีพ่ ึงประสงค์ รูห้ นา้ ท่ี มวี ินัย มคี วามรับผิดชอบ
๒. การสง่ เสรมิ มารยาทไทย การไหว้ การพูด การร่วมกจิ กรรมในสังคม
๓. การส่งเสริมให้นักเรียนใฝ่รู้เรียนจนเกิดการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมท่ีหลากหลาย
ครอบคลุมตามหลกั สูตรสถานศึกษา
ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ
๑. สง่ เสริมให้ครูพฒั นาสอ่ื นวัตกรรมและใชเ้ ทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอน
๒. ส่งเสริมใหค้ รูทุกคนได้รบั การพัฒนาศกั ยภาพอยา่ งค่อเนื่องและเปน็ ครูมอื อาชพี
ดา้ นกระบวนการจดั การเรยี นการสอนที่เนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคญั
๑. ส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนการสอนในรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบเชิงรุก (Active
Learning)
๒. ส่งเสริมให้ครูนำผลการประเมินคุณภาพผู้เรยี นไปใช้ในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
ของผู้เรยี น
๓. ส่งเสริมให้ครูทำการวิเคราะห์หลักสูตรและจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยออกแบบการ
เรยี นรตู้ ามศกั ยภาพผเู้ รยี น
๔) ข้อเสนอแนะ
ดา้ นคณุ ภาพของผ้เู รยี น
การฝึกนสิ ยั ใฝ่เรยี นรขู้ องผเู้ รียน ผ้ปู กครองมีส่วนชว่ ยด้านการกำกับดแู ลการใช้สอื่
เทคโนโลยีของผู้เรียนขณะอย่ทู ีบ่ า้ น ครยู งั ต้องมีการประสานใหค้ วามร้คู วามเขา้ ใจกับผู้ปกครองเพราะขาดการ
กำกับติดตาม ฝากบุตรหลานไวก้ บั โทรศัพทโ์ ดยไม่มเี วลาจำกัด อาจสง่ ผลตอ่ สขุ ภาพสายตามแมก้ ระทั้งอารมณ์
สงั คมและความสนใจใฝ่เรยี นเรยี นรู้ของเดก้ ในระยะยาว ซ่ึงส่งผลโดยตรงกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเ้ รยี น
ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ
การบรหิ ารงานบคุ คลควรมกี ารกำกับตดิ ตามงานทไ่ี ดม้ ีการมอบหมายงานอย่างต่อเน่ือง
นเิ ทศให้คำแนะนำ สอบถามปญั หาและอำนวยการให้ความสะดวกกับบุคลากรในการปฏิบัติงานทีไ่ ม่สามารถ
บรรลุผลทันเวลาท่ีกำหนด
ดา้ นกระบวนการจดั การเรียนการสอนทเี่ นน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคัญ
ครทู กุ คนควรจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้เชิงรุก Active Learning การจดั ทำโครงการของ
ผเู้ รยี น การเรียนรู้โดยการปฏบิ ตั ิจรงิ และเป็นกระบวนการมกี ารใช้สื่อเทคโนโลยชี ่วยสอน มกี ารวดั ผลประเมินผล
ในระหวา่ งเรยี นเป็นระยะ นำปัญหามาวเิ คราะห์ร่วมกนั หาแนวทางแก้ไขนำผลสำเรจ็ จากวิธกี ารแก้ปญั หามาขยาย
ผลในระดบั โรงเรยี นและเครือขา่ ยฯ อย่างต่อเนือ่ ง (PLC)
๕) หลักฐานสนบั สนนุ ผลการดำเนนิ งาน
โรงเรียนบ้านตูม มเี อกสาร หลักฐาน สนบั สนุนผลการดำเนนิ งาน ระดับการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน
เช่น แผนปฏิบตั กิ ารประจำปี ๒๕๖๔ รายงานการดำเนินงาน ๙ จุดเนน้ กา้ วส้คู วามเป็นเลิศ จุดเน้นที่ ๗ ระบบ
ประกนั คณุ ภาพการศึกษา
๖. แนวทางการพัฒนาให้ได้ระดบั คุณภาพทสี่ งู ข้ึน (แนวทางพัฒนาคณุ ภาพให้ดีข้ึนกว่าเดิม)
โรงเรียนบา้ นตูม ไดม้ ีแนวทางในการพัฒนาคุณภาพ ระดบั การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน ให้ได้ระดับ
คุณภาพท่ีสูงขนึ้ โดยกำหนดโครงการ/กิจกรรม ดังตอ่ ไปนี้
๑) โครงการยกระดบั ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน
๒) โครงการโรงเรยี นตน้ แบบพัฒนาเรยี นรวมพเิ ศษ
๓) โครงการโรงเรยี นคณุ ภาพของชุมชน
๔) โครงการสถานศกึ ษาสีขาวปลอดยาเสพติดและอบายมุข
๕) โครงการระบบดูแลช่วยเหลอื นักเรียน
๖) โครงการพฒั นาคณุ ภาพครูและบคุ ลากร
๗) โครงการสถานศึกษาเศรษฐกิจพอเพยี ง
๘) โครงการส่งเสรมิ คุณธรรมจรยิ ะรรมนกั เรยี นและคา่ นยิ มอันดี
๙) โครงการ ๖ มิติ คุณภาพส่กู ารปฏิบัติ
ตอนที่ ๑
ขอ้ มูลพ้ืนฐาน
๑. ขอ้ มลู ทว่ั ไป
โรงเรียนบา้ นตูม ตัง้ อยหู่ มูท่ ่ี ๒ ตำบลตูมใต้ อำเภอกุมภวาปี จังหวดั อดุ รธานี
สงั กดั สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๒ โทร…๐๘๑-๐๕๑๘๑๘๒……….โทรสาร…-
e-mail……-……website…-……เปิดสอนระดับช้นั อนุบาล ๑ ถงึ ระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ ๖ มีเนื้อที่ทั้งหมด ๑๒ ไร่
มหี มบู่ า้ นในเขตพน้ื ท่ีบริการ ๔ หมู่บ้าน ประกอบดว้ ย ๑.บ้านไผ่ หมู่ ๑ ๒.บา้ นตมู กลาง หมู่ ๒ ๓.บ้านตมู ใต้ หมู่ ๓
และ ๔.บ้านตูมเหนือ หมู่ ๔
ประวตั ิโรงเรยี นโดยย่อ
โรงเรียนบา้ นตมู เดมิ ชือ่ โรงเรยี นประชาบาลตำบลตมู ใต้ ๑ (วดั เทพสุรินทร์) ต้งั เม่อื พ.ศ.๒๔๖๕
สังกดั กรมสามัญศึกษา ดำรงอยไู่ ด้ ดว้ ยเงินงบประมาณของแผน่ ดนิ จัดสอนตง้ั แตร่ ะดับชนั้ ป.๑-ป.๔
ตามแผนการศึกษาชาติ อาศยั ศาลาการเปรียญวัดเทพสรุ ินทรบ์ ้านตมู ใต้ เปน็ สถานท่ีจดั การเรียนการสอน
มีผบู้ รหิ ารสถานศึกษาคนแรก คอื นายอ่อนตา ศรเี สถยี ร ดำรงตำแหนง่ ครใู หญ่ เม่ือปี พ.ศ. ๒๔๙๕
สมัยนายธำรง วงศอ์ ารีย์ เป็นครใู หญ่ จึงไดย้ ้ายจากวัดเทพสุรินทรม์ าอยู่สถานท่ีปัจจบุ นั โดยการซ้ือจาก
ชาวบา้ นในราคาบรจิ าค จำนวน ๗ ไร่ ราคา ๔๕,๐๐๐ บาท โดยการเสยี สละของครูและชุมชนร่วมกนั และได้
เปลยี่ นชอ่ื มาเปน็ โรงเรยี นบ้านตูม ปัจจบุ นั นายสขุ สนั ต์ เหลา่ เรอื ง ดำรงตำแหน่งผอู้ ำนวยการโรงเรยี น
ขา้ ราชการครูท้ังหมด ๙ คน การศกึ ษาปรญิ ญาโท ๒ คน ระดับปริญญาตรี ๗ คน นักเรยี น
ทง้ั หมด ๑๓๔ คน จัดการเรียน การสอนต้งั แต่ระดับก่อนประถมศึกษา ถงึ ระดับ ประถมศกึ ษา
ป๒ี ๕๔๘โรงเรียนมีพ้ืนทีท่ ้ังหมด๙ ไร่ ๕๔ ตารางวา มอี าคารเรียน ๓ หลงั
จำนวน ๑๙ หอ้ ง จัดเป็นห้องเรยี น ๘ ห้อง ห้องพิเศษ ๑๑ ห้อง ห้องนำ้ ๒ หลงั ๑๔ ทีน่ ่ัง
เมื่อวันท่ี ๕ ตุลาคม ๒๕๔๘ โรงเรียนไดร้ บั งบประมาณจากมลู นิธเิ พอ่ื นศิลปนิ
ไทยทีวสี ีช่อง ๓ มาจัดสรา้ งอาคารเพ่ือนศิลปนิ ๑ ไทยทีวีสชี ่อง ๓ งบประมาณ ๑,๒๗๒,๔๑๘ บาท
มอบใหโ้ รงเรยี นบา้ นตมู เมือ่ วันท่ี ๒๒ มกราคม ๒๕๔๙ ปัจจบุ นั โรงเรยี นมีอาคารเพม่ิ ๑ หลงั
ใชเ้ ป็นหอ้ งสมุด และท่ีประชุมสัมมนา
ในปี พ.ศ. ๒๕๕๑ โรงเรยี นไดร้ ับบริจาค ท่ี นา จำนวน ๓ ไร่ ๒ งาน ๑๘ ตาราง
วา จาก หลวงตามหาบัวญาณสัมปนั โน วดั ปา่ บ้านตาด มูลค่า ๓๐๐,๐๐๐ บาท
ในปี พ.ศ. ๒๕๕๒ โรงเรียนได้รบั บรจิ าคการทำร้วั จาก นายวิชาญ คณุ ากูลสวสั ดิ์ อธบิ ดี
กรมทางหลวงชนบท มูลค่า ๑๐๐,๐๐๐ บาท
๒
พืน้ ท่แี ละประชากร โรงเรยี นบา้ นตมู มหี มบู่ ้านในเขตบริการ ๔ หมบู่ ้าน ประกอบดว้ ย
บา้ นไผ่ บา้ นตมู กลาง หมู่ ๒ บ้านตมู ใต้ หมู่ และบา้ นตมู เหนือ หมู่ ๔ มคี รัวเรือนประมาณ ๖๔๐ ครัวเรือน
ระยะทางจากโรงเรียนบา้ นตูม ถงึ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอดุ รธานี เขต ๒ ประมาณ ๕ กโิ ลเมตร ถงึ ตัว
เมอื งอุดรธานี ๔๒ กิโลเมตร และมรี ะยะทางถงึ กรุงเทพมหานคร ๕๑๕ กิโลเมตร
๒. ข้อมูลผ้บู รหิ าร
๑) ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี น นายสขุ สนั ต์ เหลา่ เรือง โทรศัพท์ ๐๘๑ – ๐๕๑๘๑๘๒
e-mail Tuy๑๓@hotmail.co.th วฒุ ิการศกึ ษาสงู สุด การศึกษามหาบัณฑติ สาขาบรหิ ารการศกึ ษา
ดำรงตำแหน่งที่โรงเรยี นนี้ตงั้ แต่ ๒๕๕๔ - จนถงึ ปัจจุบัน เปน็ เวลา .....๑๑.. ปี ...-.... เดอื น
๓. ข้อมูลนักเรียน (ณ วันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๕)
๑) จำนวนนักเรียนในเขตพืน้ ทีบ่ ริการท้ังส้นิ ……๑๓๔…คน
๒) จำนวนนักเรยี นในโรงเรยี นทัง้ สิ้น …๑๓๔…คน จำแนกตามระดับช้ันท่ีเปดิ สอน ดังนี้
ระดับช้นั นักเรียน
อนุบาล ๑ (อนุบาล ๓ ขวบ) ชาย หญงิ รวม
อนุบาล ๒
อนบุ าล ๓ ๖๕ ๑๑
รวมระดบั อนุบาล
ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ ๗๗ ๑๔
ประถมศกึ ษาปที ่ี ๒
ประถมศกึ ษาปีที่ ๓ ๖๙ ๑๕
ประถมศกึ ษาปีท่ี ๔
ประถมศกึ ษาปที ี่ ๕ ๑๙ ๒๑ ๔๐
ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖
รวมระดับประถมศกึ ษา ๙๘ ๑๗
รวมทั้งส้ิน
๔๗ ๑๑
๙๘ ๑๗
๑๓ ๑๐ ๒๓
๕๕ ๑๐
๙๗ ๑๖
๔๙ ๔๕ ๙๔
๖๘ ๖๖ ๑๓๔
๓) จำนวนนกั เรียนทมี่ สี มรรถภาพทางกายตามเกณฑ์ของกรมพลศึกษาหรอื สำนักงานกองทนุ สนับสนนุ
การสร้างเสรมิ สุขภาพ (สสส.)………๑๒๕………คน คิดเปน็ รอ้ ยละ…๙๓.๒๘……….
๔) จำนวนนักเรียนที่มีนำ้ หนกั ส่วนสงู ตามเกณฑ์ของกรมอนามัย…๙…คน คิดเปน็ รอ้ ยละ…๖.๗๒
๕) จำนวนนักเรยี นที่มีความบกพร่องเรียนรว่ ม……๒๓…...คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ……๑๗.๑๖…..
๖) จำนวนนักเรยี นมภี าวะทพุ โภชนาการ………๐………...คน คิดเปน็ รอ้ ยละ…๐…...
๗) จำนวนนกั เรยี นปญั ญาเลิศ………………๐……………คน คิดเป็นรอ้ ยละ….๐…..
๓
๘) จำนวนนักเรยี นต้องการความชว่ ยเหลือเป็นพเิ ศษ…๑…คน คิดเปน็ รอ้ ยละ…..๐.๗๔...
๙) จำนวนนกั เรยี นที่ออกกลางคัน (ปัจจบุ นั ) ……๐….… คน คิดเป็นร้อยละ…๐…...
๑๐) สถติ ิการขาดเรยี น …………๐……….คน คิดเป็นร้อยละ…๐…..
๑๑) จำนวนนักเรียนทเ่ี รียนซ้ำช้ัน ................๐....... คน คิดเป็นร้อยละ…๐…..
๑๒) จำนวนนักเรยี นทจ่ี บหลกั สูตร
อ.๓ จำนวน.........๑๕...........คน คิดเปน็ รอ้ ยละ…๑๐๐...
ป.๖ จำนวน.......๑๖......คน คิดเป็นร้อยละ……๑๐๐…
๑๓) อตั ราสว่ นครู : นกั เรยี น (แยกตามระดบั )
๑๓.๑) ระดับปฐมวยั = ……๑……..: ……๑๔…..…
มีจำนวนครู/ผ้ดู แู ลเด็ก ครบชน้ั ☑ ครบช้ัน ⬜ ไมค่ รบชนั้ ในระดับชั้นอนุบาล ๑-๓
ภาระงานสอนของครู/ผูด้ แู ลเด็ก โดยเฉลี่ยชั่วโมง : สัปดาห์ เทา่ กับ ๒๕ : สัปดาห์
๑๓.๒) ระดับการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน = ……๑……..: ……๑๕…..…
มจี ำนวนครู ครบช้ัน ☑ ครบชัน้ ⬜ ไมค่ รบชน้ั
ภาระงานสอนของครู โดยเฉล่ียชั่วโมง : สัปดาห์ เทา่ กับ ๒๕ : สปั ดาห์
๑๔) จำนวนนักเรยี นท่เี ขา้ ร่วมกิจกรรมศลิ ปะ ดนตรี นาฏศลิ ป์ วรรณคดแี ละนันทนาการ…๑๓๔…..คน
คดิ เป็นรอ้ ยละ ……๑๐๐……
๑๕) จำนวนนกั เรยี นทีม่ ีคุณลกั ษณะเป็นลกู ทด่ี ีของพ่อ แม่ ผ้ปู กครอง ๑๓๔ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ …๑๐๐….
๑๖) จำนวนนกั เรยี นทีม่ คี ุณลักษณะเป็นนักเรยี นที่ดีของโรงเรยี น …………๑๓๔……….คน
คดิ เปน็ ร้อยละ ………๑๐๐..…
๑๗) จำนวนนักเรยี นทีท่ ำกิจกรรมบำเพ็ญประโยชนต์ ่อสงั คมทัง้ ในและนอกสถานศึกษา………๔๐…. คน
คดิ เปน็ ร้อยละ …๒๙.๘๕……..
๑๘) จำนวนนักเรยี นทมี่ ีบันทึกการเรียนรู้จากการอา่ นและการสบื คน้ จากเทคโนโลยี
สารสนเทศอย่างสม่ำเสมอ ………๔๙……….. คน คิดเป็นรอ้ ยละ ……๓๖.๕๖……..
๑๙) จำนวนนักเรยี นที่ผ่านการประเมินความสามารถด้านการคิดตามที่กำหนด
ในหลักสูตรสถานศึกษา …………๑๓๔…………..คน คดิ เป็นร้อยละ ……๑๐๐……..
๒๐) จำนวนนกั เรียนทผ่ี ่านเกณฑ์การประเมินตามความสามารถในการปรับตัวเข้ากบั สังคมตามท่กี ำหนดใน
หลกั สตู รสถานศกึ ษา ………๑๓๔……..คน คดิ เปน็ ร้อยละ ……๑๐๐…….
๔. ข้อมลู ครูและบคุ ลากร ๔
ครูประจำการ
จำนวน
คร้ัง/
ที่ ชอื่ – ชอ่ื สกลุ อายุ อายุ ตำแหนง่ / วุฒิ วชิ า เอก สอนวชิ า/ชน้ั ชวั่ โมงที่
ราชการ วทิ ยฐานะ รับการ
พัฒนา/
ปี
๑ นางอปั สร ผ่านชมภู ๕๖ ๓๒ คศ. ๓ ศษ.ม หลักสูตรและการ วิชาภาษาไทยป.๔– ป.๖ ๔๐
สอน
๒ นางลัดดาวัลย์ แฮดจ่าง ๕๘ ๓๘ คศ. ๓ คบ. ปฐมวัย ชั้นอนุบาล ๑ ๔๐
๓ นางเยาวรีย์ ปญั ญาใส ๕๕ ๒๕ คศ. ๓ คบ. ปฐมวยั ช้ันอนุบาล ๒ ๔๐
๔ นางสาวสมพศิ ทาปลดั ๔๖ ๒๐ คศ. ๓ คบ. คอมพิวเตอร์ วิชาคอมพวิ เตอร์ ป.๑ - ป.๖ ๔๐
การศึกษา
๕ นางสาววานิตย์ ภมู ิบตุ ร ๔๖ ๑๕ คศ. ๓ ศศบ. ภาษาองั กฤษธุรกิจ วิชาภาษาองั กฤษ ป.๔ -ป.๖ ๔๐
๖ นางกอบแกว้ ดารารตั น์ ๕๐ ๕ คศ. ๑ คบ. ปฐมวยั ชน้ั อนบุ าล ๓ ๔๐
๗ น.ส.อณัญญา สิงหามาตย์ ๒๖ ๓ คศ. ๑ กศ.บ ภาษาไทย ภาษาไทย ป.๑ ๔๐
๘ นางสาวอนงค์รักษ์ คำควร ๓๑ ๑ ครูผชู้ ่วย คบ. คณติ ศาสตร์ คณติ ศาสตร์ ป.๔ –ป.๖ ๔๐
๙ นางสาวประสงค์ ตระการ ๓๔ ๖ คศ. ๑ คบ. วทิ ยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ป.๔ –ป.๖ ๔๐
จำนวนครูทสี่ อนวชิ าตรงเอก ...................๙............ คน คิดเป็นร้อยละ ......๑๐๐.........
จำนวนครูที่สอนตรงความถนัด ............๙............... คน คดิ เป็นรอ้ ยละ .......๑๐๐.......
ครอู ตั ราจ้าง
ท่ี ช่อื – สกลุ อายุ ประสบการณ์ วุฒิ วิชา เอก สอนวิชา/ช้ัน จา้ งด้วย
การสอน (ป)ี เงิน
คณิตศาสตร์
๑ นางสาวพรทิพา ลาหมนั ๓๓ ๓ วท.บ จลุ ชวี วิทยา คณติ ป.๔ – ป.๕ งบ สพฐ
๒ นางพมิ พาขวญั หลักสุจริต ๓๘ ๓ วท.บ การงานฯป.๑ -ป.๕ งบ สพฐ
๕. ขอ้ มลู อาคารสถานท่ี
อาคารเรียนจำนวน ……๒.... หลงั อาคารประกอบจำนวน …..๒.......หลัง ส้วม…๒…..หลงั
สนามเด็กเล่น......๑.........สนาม สนามฟุตบอล……….๑.……..สนาม
สนามกีฬาเอนกประสงค์ …………๒……..สนาม โรงอาหาร ๑ หลงั
อาณาเขตตดิ ต่อ ๕
ทศิ เหนือ
ทศิ ใต้ ติดตอ่ กบั บ้านตมู กลาง
ทิศตะวนั ออก ตดิ ต่อกบั ทุ่งนา บ้านไผ่
ทิศตะวนั ตก ตดิ ตอ่ กบั ทงุ่ นา บา้ นตูมใต้
ติดต่อกบั บ้านตูมกลาง , บ้านตูมเหนอื
๖. ขอ้ มลู งบประมาณ
งบประมาณ (รบั -จา่ ย)
รายรับ จำนวน/บาท รายจา่ ย จำนวน/บาท
๖,๗๓๓,๓๒๐
เงนิ งบประมาณ ๗,๔๓๑,๔๑๘ งบดำเนินการ/เงินเดอื น-คา่ จ้าง ๖๙๘,๐๙๘
เงินนอกงบประมาณ - งบพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษา -
๗,๔๓๑,๔๑๘
เงินอน่ื ๆ(ระบุ) - งบอนื่ ๆ(ระบ)ุ
รวมรายรบั ๗,๔๓๑,๔๑๘ รวมรายจ่าย
งบดำเนนิ การ/เงินเดือน เงนิ ค่าจา้ ง คิดเปน็ ร้อยละ.........๑๐๐...........ของรายรับ
งบพัฒนาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษา คดิ เป็นรอ้ ยละ..........๑๐๐............ของรายรบั
๗. ข้อมลู สภาพชุมชนโดยรวม
๑) สภาพชมุ ชนรอบบรเิ วณโรงเรียนมีลกั ษณะ เป็นหมบู่ ้านเล็กๆมปี ระชากรประมาณ ๒๕๖๐ คน
บริเวณใกลเ้ คียงโดยรอบโรงเรียน ได้แก่ วัดบ้านตมู กลาง ชมุ ชนบา้ นตุมกลาง พ้ืนที่ทำการเกษตรกรรม อาชีพหลกั
ของชมุ ชน คอื เกษตรกรรม สว่ นใหญ่นับถือศาสนา พุทธ ประเพณี/ศลิ ปวฒั นธรรมท้องถ่ินท่เี ป็นท่ีรจู้ กั โดยท่วั ไป
คือ แข่งเรือ
๒) ผูป้ กครองสว่ นใหญ่ จบการศกึ ษาระดบั ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๔ อาชีพหลกั คือ เกษตรกรรมสว่ นใหญ่
นับถอื ศาสนาพทุ ธ ฐานะทางเศรษฐกิจ/รายได้โดยเฉลยี่ ต่อครอบครัว ต่อปี ๓,๕๐๐ บาทจำนวนคนเฉลย่ี ตอ่
ครอบครวั ……๔….. คน
อาณาเขตติดต่อ
ทศิ เหนอื ติดต่อกบั บ้านตูมกลาง
ทิศใต้ ติดต่อกับ ทงุ่ นา บา้ นไผ่
ทศิ ตะวนั ออก ตดิ ต่อกบั ทงุ่ นา บ้านตูมใต้
ทศิ ตะวนั ตก ติดต่อกบั บา้ นตมู กลาง , บ้านตูมเหนือ
๖
๓) โอกาสและข้อจำกัดของโรงเรียน
โอกาสของโรงเรียน
โรงเรียนบ้านตมู ไดร้ บั ความร่วมมอื ในด้านต่างๆของชุมชนโดยโรงเรียนได้มีการระดมความคดิ ของ
ผปู้ กครอง ชมุ ชน และภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่ินมาร่วมพฒั นาแหล่งเรียนรู้ ตลอดจนได้รับความรว่ มมอื จากผ้ปู กครอง
ศิษยเ์ ก่า ในการจัดกิจกรรมของโรงเรยี น เช่น การทอดผ้าปา่ การศึกษา การบริจาคทุนในการประชุมผูป้ กครอง
ข้อจำกดั ของโรงเรียน
ข้อจำกดั ของสถานศึกษาเน่อื งจากสภาพแวดล้อมโดยรอบชุมชนประกอบอาชีพเกษตรกรรม
ครอบครวั นักเรยี นสว่ นใหญม่ ีฐานะทางเศรษฐกิจไม่ดี บดิ า มารดามีรายไดน้ ้อยจึงตอ้ งไปประกอบอาชีพตา่ งจงั หวัด
จงึ สง่ ผลกระทบต่อการพัฒนาการศกึ ษาประกอบกบั การเปล่ยี นแปลงของสถานการณ์โควิด ๑๙ในปจั จบุ ันท่ีมีผลต่อ
สภาพสังคมและค่านิยมโดยรวมซึ่งมผี ลต่อพฤติกรรมของนกั เรียน
๗
๘. โครงสร้างหลกั สูตรสถานศกึ ษา
โครงสร้างเวลาเรียนตามหลกั สูตรแกนกลางสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน ระดบั ประถมศึกษา
โรงเรยี นบา้ นตูม ตามหลักสูตรแกนกลางพุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
เวลาเรียน (ชวั่ โมง/ปี)
กลุ่มสาระการเรียนรู้/กจิ กรรม ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖
● รายวชิ าพ้ืนฐาน
ภาษาไทย ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐
คณติ ศาสตร์ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (๑๒๐) (๑๒๐) (๑๒๐) (๑๒๐) (๑๒๐) (๑๒๐)
-ประวัติศาสตร์ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
-ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
-หน้าทพ่ี ลเมือง วัฒนธรรม
และการดำเนนิ ชีวติ ในสังคม ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
-เศรษฐศาสตร์
-ภูมศิ าสตร์
สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
ศิลปะ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
การงานอาชพี ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
ภาษาตา่ งประเทศ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
รวมเวลาเรียนพน้ื ฐาน ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐
● รายวชิ าเพิ่มเตมิ
ภาษาอังกฤษเพ่อื การสอื่ สาร ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
การป้องกันการทจุ ริต ๐๐ ๐ ๐ ๐ ๐
● กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รยี น ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
กิจกรรมแนะแนว ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
กจิ กรรมนักเรียน
- กิจกรรมลกู เสือ/เนตรนารี ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
- ชุมนุม ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐
กิจกรรมเพือ่ สังคมและ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐
สาธารณประโยชน์
รวมเวลาเรยี นทัง้ หมด ๑,๐๔๐ ๑,๐๔ ๑,๐๔๐ ๑,๐๔๐ ๑,๐๔๐ ๑,๐๔๐
๘
๘.๑ ผลการทดสอบของผู้เรียน
๑) การประเมนิ คณุ ภาพผู้เรียน (NT) ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔
โรงเรียนบ้านตูมได้เปรยี บเทยี บผลการประเมินคณุ ภาพผู้เรยี น (NT) ระดบั ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๓ จำแนก
ตามรอ้ ยละของกลุ่มผลการประเมิน ตั้งแต่ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒-๒๕๖๔ ดังนี้
๑.๑ ดา้ นภาษาไทย (Thai Language)
ด้านภาษาไทย
ระดับคุณภาพ
ปกี ารศกึ ษา ปรับปรุง(%) พอใช้(%) ด(ี %) ดมี าก(%)
๒๕๖๒ ๔๐.๐๐ ๔๐.๐๐ ๒๐.๐๐ -
๒๕๖๓ ๑๘.๗๕ ๓๑.๒๕ ๓๑.๒๕ ๑๘.๗๕
๒๕๖๔ ๙.๐๙ ๘๑.๘๑ ๙.๐๙ ๐
๑.๒ ด้านคณิตศาสตร์ (Mathematics)
ดา้ นคณติ ศาสตร์
ระดับคณุ ภาพ
ปกี ารศึกษา ปรับปรุง(%) พอใช(้ %) ด(ี %) ดมี าก(%)
๑๐.๐๐ ๑๐.๐๐
๒๕๖๒ ๘๐.๐๐ -
๕๐ ๒๕
๒๕๖๓ ๖.๒๕ ๑๘.๗๕ ๒๗.๒๗ ๙.๐๙
๒๕๖๔ ๓๖.๓๖ ๒๗.๒๗
๒) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขนั้ พน้ื ฐาน (O-NET) ระดับช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๖
และช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๓ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒- ๒๕๖๔
ปี ๒๕๖๒ ปี ๒๕๖๓ ปี ๒๕๖๔
กล่มุ สาระวชิ า ป.๖ ม.๓ ป.๖ ม.๓ ป.๖ ม.๓
ภาษาไทย ๔๗.๕๙ ๕๓.๙๑ ๔๒.๗๗
วิทยาศาสตร์ ๒๙.๑๖ ๓๒.๐๔ ๓๐.๓๘
คณติ ศาสตร์ ๒๐.๙๑ ๒๗.๖๙ ๒๘.๑๓
ภาษาตา่ งประเทศ ๒๕.๐๐ ๓๒.๖๙ ๓๑.๗๓
๙
๓) ผลการประเมนิ ความสามารถดา้ นการอ่านของผเู้ รียน (RT) ระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑
ปี ๒๕๖๒ ปี ๒๕๖๓ ปี ๒๕๖๔
ความสามารถดา้ นการอา่ น ค่าเฉล่ยี ระดบั คา่ เฉลยี่ ระดับ คา่ เฉล่ยี ระดบั
อา่ นออกเสียง ๖๙.๖๑ ๘๙.๒๕ ๗๓.๕๗
อ่านร้เู ร่อื ง ๘๗.๕๓ ๗๙.๕๐ ๗๕.๕๗
ค่าเฉลี่ย ๒ สมรรถนะ ๗๘.๕๗ ๘๔.๓๗ ๗๔.๕๗
๙. แหล่งเรยี นรู้ ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่
๑) หอ้ งสมุดมีขนาด..........๑๐๐.......... ตารางเมตร จำนวนหนังสือในหอ้ งสมุด …๔,๐๒๐……… เลม่
การสืบคน้ หนังสอื และการยืม-คืน ใช้ระบบ………………………………………………….
จำนวนนกั เรยี นท่ีใชห้ ้องสมุดในปีการศึกษาท่รี ายงาน เฉลย่ี .....๓๕….... คน ต่อ วนั คดิ เปน็ รอ้ ยละ
........๒๖.๑๒….....ของนกั เรียนท้ังหมด
๒) หอ้ งปฏบิ ัตกิ าร
หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารวิทยาศาสตร์ จำนวน ………-………. หอ้ ง
หอ้ งปฏิบตั ิการคอมพวิ เตอร์ จำนวน ………๑………. หอ้ ง
ห้องปฏิบตั ิการทางภาษา จำนวน ………-………. หอ้ ง
ห้องจรยิ ธรรม จำนวน ………๑………. ห้อง
๓) คอมพิวเตอร์ จำนวน .........๑๑........... เคร่ือง
ใช้เพ่ือการเรยี นการสอน ....๑๑.............. เครื่อง
ใช้เพ่อื สบื ค้นข้อมูลทางอินเทอร์เนต็ ........๑๑......... เคร่อื ง
จำนวนนกั เรยี นท่สี ืบคน้ ขอ้ มูลทางอินเทอรเ์ น็ตในปีการศกึ ษาทีร่ ายงาน
เฉลีย่ ......๑๓๔…... คน ต่อวัน คดิ เป็นร้อยละ.......๑๐๐......ของนักเรียนท้ังหมด
ใชเ้ พอ่ื การบรหิ ารจัดการ ………..๘………. เครอื่ ง
๔) แหลง่ เรยี นรู้ภายในโรงเรยี น
แหล่งเรยี นรภู้ ายนอก สถิตกิ ารใช้
ช่อื แหลง่ เรยี นรู้ จำนวนคร้ัง/ปี
๑. หอ้ งสมุด ๖๐ ครั้ง / ปี
๒. หอ้ งจรยิ ธรรม ๔๐ ครัง้ / ปี
๓. แปลงนาสาธติ ๓ ครง้ั / ปี
๔. ห้องคอมพิวเตอร์ ๔๐ ครัง้ / ปี
๕.โรงเรอื นเพาะเหด็ ๕ ครัง้ / ปี
๖. ศนู ยก์ ารเรยี นรู้โรงเรือนแบบปดิ ๑๐ ครงั้ / ปี
๕) แหลง่ เรียนรภู้ ายนอกโรงเรียน ๑๐
แหล่งเรยี นรูภ้ ายนอก
ชอ่ื แหล่งเรียนรู้ สถิติการใช้
จำนวนครงั้ /ปี
๑. วดั เวฬวุ ัน บ้านไผ่ หมู่ ๑ ต.ตมู ใต้ อ.กุมภวาปี
๒. วัดโพธศิ์ รสี ว่าง บา้ นตูมกลาง หมู่ ๒ ต.ตมู ใต้ อ.กมุ ภวาปี ๕ / ปี
๓. วดั เทพสรุ ินทร์ บา้ นตมู ใต้ หมู่ ๓ ต.ตูมใต้ อ.กุมภวาปี ๕ / ปี
๔. วัดโพธิส์ ระ บ้านตูมเหนือ หมู่ ๔ ต.ตูมใต้ อ.กุมภวาปี ๕ / ปี
๕. ฟารม์ เหด็ นางวรรณา มุกดาม่วง ๕ / ปี
๖. องคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลตมู ใต้ ๒ / ปี
๗. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตูมใต้ ๒ / ปี
๒ / ปี
๖) ปราชญช์ าวบ้าน/ภมู ิปัญญาทอ้ งถนิ่ ผ้ทู รงคุณวุฒิ ทีส่ ถานศึกษาเชิญมาให้ความรูแ้ กค่ รู นักเรียน ในปี
การศกึ ษาทีร่ ายงาน๓) ปราชญช์ าวบา้ น/ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ ผ้ทู รงคณุ วุฒิ ที่สถานศึกษาเชิญมาใหค้ วามรู้แก่ครู
นักเรยี น ในปกี ารศกึ ษาทร่ี ายงาน
ช่อื - สกุล ให้ความรู้เร่ือง จำนวนครง้ั /ปี
๑. นางสมพงษ์ ดวงดี การทำนา ๓ ครั้ง/ปี
๒. นางนงนุช เนตรภกั ดี การทำนา ๓ ครั้ง/ปี
๓. นางวรรณา มกุ ดามว่ ง การปลกู เหด็ ๒ ครั้ง/ปี
๔. ศนู ยพ์ ันธ์ุข้าวอดุ รธานี การทำนา / การแปรรูปอาหาร ๓ ครง้ั /ปี
๕. อาจารยม์ .ราชภัฏอดุ รธานี การปลกู พืชหมนุ เวยี น/การทำปุย๋ หมักชวี ภาพ ๖ ครั้ง /ปี
๑๐. ผลงานดเี ด่นในรอบปที ่ีผา่ นมา
๑๐.๑ ผลงานดเี ด่น
ประเภท ระดบั รางวัล/ชอื่ รางวลั ท่ีไดร้ ับ หน่วยงานทีม่ อบรางวลั
กล่มุ เครอื ขา่ ยโรงเรียน
สถานศึกษา โรงเรยี นตน้ แบบและขับเคล่ือน ๙ จดุ เนน้ กา้ วสู่ความเปน็ เลิศ ระดับกลมุ่ เมืองกมุ ภวา สพป.อด. ๒
กล่มุ เครือข่ายโรงเรียน
เครือขา่ ยโรงเรยี นเมืองกมุ ภวา ด้านท่ี ๖ โรงเรยี นคุณภาพชุมชน เมอื งกมุ ภวา สพป.อด. ๒
กลมุ่ เครือข่ายโรงเรยี น
สถานศึกษา โรงเรยี นต้นแบบและขบั เคล่ือน ๙ จดุ เน้น ก้าวสู่ความเปน็ เลิศ ระดับกลุ่ม เมอื งกมุ ภวา สพป.อด. ๒
เครือขา่ ยโรงเรียนเมอื งกมุ ภวา ดา้ นที่ ๗ การประกนั คณุ ภาพการศึกษา
สถานศึกษา โรงเรยี นต้นแบบและขบั เคลือ่ น ๙ จดุ เนน้ ก้าวสคู่ วามเป็นเลิศ ระดบั กล่มุ
เครือข่ายโรงเรยี นเมอื งกมุ ภวา ดา้ นที่ ๘ เขตสจุ ริตโรงเรียนสุจริต
๑๑
ผลงานดเี ดน่ ระดับรางวัล/ชื่อรางวัลทไ่ี ด้รับ หนว่ ยงานทีม่ อบรางวัล
ประเภทผบู้ ริหาร ๑การอบรมเชิงปฏิบตั ิการเสริมสร้างความรคู้ วามเข้าใจตาม สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษา
นายสุขสันต์ เหล่าเรอื ง หลักเกณฑ์และวิธกี ารประเมนิ ตำแหน่งและวิทยฐานะ ประถมศกึ ษาอดุ รธานีเขต ๒
ขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาตามขอ้ ตกลง
พัฒนางานผ่านระบบออนไลน์ (Performance สำนักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษา
Agreement :PA) ประถมศกึ ษาอดุ รธานีเขต ๒
เปน็ วทิ ยากรการอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ าร ขยายผลการประเมิน
คณุ ธรรมและความโปรง่ ใสออนไลน์ สำหรับสถานศึกษา สำนกั งานคณะกรรมการ
(ITA Online) การศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน
เขา้ รับการอบรมและผ่านการทดสอบการใช้งานระบบ
มาตรฐานดา้ นความปลอดภัย (MOE Safety Platform)
ผลงานดเี ดน่ ประเภทครู
ประเภทครู ระดับรางวัล/ช่อื รางวัลท่ีไดร้ ับ หน่วยงานที่มอบรางวัล
นางอัปสร ผ่านชมภู เปน็ วทิ ยากรการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการ ขยายผลการ สำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษา
ประเมนิ คณุ ธรรมและความโปร่งใสออนไลน์ สำหรบั ประถมศึกษาอดุ รธานีเขต ๒
สถานศึกษา (ITA Online)
เขา้ รับการอบรมและผ่านการทดสอบการใชง้ านระบบ สำนักงานคณะกรรมการ
มาตรฐานดา้ นความปลอดภยั (MOE Safety Platform) การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน
นางลดั ดาวลั ย์ แฮดจา่ ง เป็นวทิ ยากรการอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการ ขยายผลการ สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ประเมนิ คุณธรรมและความโปร่งใสออนไลน์ สำหรับ ประถมศกึ ษาอดุ รธานเี ขต ๒
สถานศึกษา (ITA Online)
เขา้ รับการอบรมและผ่านการทดสอบการใชง้ านระบบ สำนักงานคณะกรรมการ
มาตรฐานดา้ นความปลอดภยั (MOE Safety Platform) การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน
การพัฒนเดก็ ปฐมวัยตามมาตรฐานสถานพัฒนาเดก็ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัด
ปฐมวยั แห่งชาตแิ ละการบนั ทกึ ข้อมลู ในระบบฐานข้อมูล อุดรธานี
สารสนเทศการพฒั นาเด็กปฐมวยั ตามมาตรฐานชาติ
นางสาวสมพิศ ทาปลัด เปน็ วทิ ยากรการอบรมเชิงปฏิบัตกิ าร ขยายผลการ สำนกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา
ประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสออนไลน์ สำหรับ ประถมศกึ ษาอุดรธานเี ขต ๒
สถานศึกษา (ITA Online)
๑๒
ผลงานดเี ดน่ ประเภทครู (ต่อ)
ประเภทครู ระดับรางวัล/ชือ่ รางวลั ท่ไี ดร้ ับ หน่วยงานทม่ี อบรางวลั
นางสาวสมพศิ ทาปลัด การอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารเสริมสรา้ งความรคู้ วามเข้าใจ สำนักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษา
ตามหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารประเมนิ ตำแหนง่ และวทิ ย ประถมศกึ ษาอุดรธานีเขต ๒
นางสาววานิตย์ ภูมิบุตร ฐานะขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาตาม
ข้อตกลงพัฒนางานผ่านระบบออนไลน์ (Performance สำนกั งานคณะกรรมการ
นางสาวอนัญญา สิงหามาตย์ Agreement :PA) การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน
นางเยาวรยี ์ ปัญญาใส เข้ารับการอบรมและผ่านการทดสอบการใช้งานระบบ สำนักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษา
นางกอบแกว้ ดารารตั น์ มาตรฐานด้านความปลอดภัย (MOE Safety Platform) ประถมศึกษาอดุ รธานีเขต ๒
เป็นวทิ ยากรการอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการ ขยายผลการ
ประเมินคณุ ธรรมและความโปร่งใสออนไลน์ สำหรบั สำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษา
สถานศึกษา (ITA Online) ประถมศกึ ษาอดุ รธานีเขต ๒
การอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการเสรมิ สรา้ งความรู้ความเข้าใจ
ตามหลักเกณฑ์และวธิ กี ารประเมินตำแหน่งและวิทย สำนักงานคณะกรรมการ
ฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาตาม การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน
ข้อตกลงพัฒนางานผา่ นระบบออนไลน์ (Performance สำนกั งานคณะกรรมการ
Agreement :PA) การศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน
เข้ารับการอบรมและผ่านการทดสอบการใช้งานระบบ สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา
มาตรฐานดา้ นความปลอดภัย (MOE Safety Platform) ประถมศกึ ษาอดุ รธานีเขต ๒
เขา้ รับการอบรมและผ่านการทดสอบการใชง้ านระบบ
มาตรฐานดา้ นความปลอดภยั (MOE Safety Platform) สำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษา
เปน็ วิทยากรการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร ขยายผลการ ประถมศกึ ษาอุดรธานีเขต ๒
ประเมนิ คุณธรรมและความโปร่งใสออนไลน์ สำหรับ
สถานศกึ ษา (ITA Online) สำนกั งานคณะกรรมการ
เปน็ วิทยากรการอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ าร ขยายผลการ การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน
ประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรง่ ใสออนไลน์ สำหรบั สำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษา
สถานศึกษา (ITA Online) ประถมศกึ ษาอุดรธานเี ขต ๒
เข้ารับการอบรมและผ่านการทดสอบการใชง้ านระบบ
มาตรฐานด้านความปลอดภยั (MOE Safety Platform)
เป็นวทิ ยากรการอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการ ขยายผลการ
ประเมินคุณธรรมและความโปรง่ ใสออนไลน์ สำหรับ
สถานศึกษา (ITA Online)
๑๓
ผลงานดเี ด่นประเภทครู (ต่อ)
ประเภทครู ระดบั รางวลั /ชอื่ รางวลั ที่ได้รบั หนว่ ยงานทีม่ อบรางวัล
สำนกั งานคณะกรรมการ
นางกอบแก้ว ดารารัตน์ เขา้ รบั การอบรมและผ่านการทดสอบการใชง้ าน การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
ระบบมาตรฐานดา้ นความปลอดภัย (MOE Safety สำนกั งานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน
Platform)
สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษา
นางสาวอนงค์รกั ษ์ คำควร เขา้ รบั การอบรมและผ่านการทดสอบการใชง้ าน ประถมศกึ ษาอดุ รธานเี ขต ๒
ระบบมาตรฐานด้านความปลอดภัย (MOE Safety สำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน
Platform)
สำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษา
เป็นวิทยากรการอบรมเชิงปฏบิ ัติการ ขยายผลการ ประถมศึกษาอุดรธานีเขต ๒
ประเมินคุณธรรมและความโปรง่ ใสออนไลน์ สำหรบั สำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษา
ประถมศกึ ษาอดุ รธานีเขต ๒
สถานศึกษา (ITA Online)
สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษา
นางสาวประสงค์ ตระการ เข้ารบั การอบรมและผ่านการทดสอบการใชง้ าน ประถมศกึ ษาอุดรธานีเขต ๒
ระบบมาตรฐานดา้ นความปลอดภยั (MOE Safety
Platform)
เป็นวทิ ยากรการอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการ ขยายผลการ
ประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสออนไลน์ สำหรับ
สถานศึกษา (ITA Online)
นางพรทิพา ลาหมนั เปน็ วิทยากรการอบรมเชงิ ปฏิบัติการ ขยายผลการ
ประเมินคณุ ธรรมและความโปรง่ ใสออนไลน์ สำหรบั
สถานศึกษา (ITA Online)
นางสาวพิมพพ์ าขวญั หลกั สุจริต เปน็ วทิ ยากรการอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ าร ขยายผลการ
ประเมนิ คุณธรรมและความโปร่งใสออนไลน์ สำหรบั
สถานศกึ ษา (ITA Online)
ผลงานดีเดน่
๑. นักเรยี นทม่ี ีผลการทดสอบทางการศึกษา ระดบั ชาติขัน้ พ้ืนฐาน (O-Net) สงู กวา่ ระดับประเทศ
๑.๑ วชิ าภาษาไทย
รายชื่อนักเรยี น เฉล่ยี ระดบั ชาติ คะแนนนกั เรยี นรายบุคคล
เด็กหญิงศศวิ ิมล ศรภี พ ๕๐.๓๘ ๕๒.๖๓
เด็กหญิงปาริตา เถือนกลาง ๗๑.๗๑
เดก็ หญิงจริ ัชญา ไชยณรงค์ ๖๓.๐๐
เด็กหญงิ ปัณฑิตา ดวงดี ๗๐.๒๔
๑.๒ วิชาคณติ ศาสตร์ เฉลยี่ ระดบั ชาติ ๑๔
รายช่อื นกั เรียน ๓๖.๘๓
เดก็ ชายภรู ณิ ัฐ วงษามิ่ง คะแนนนักเรียนรายบุคคล
เดก็ หญงิ ศศวิ มิ ล ศรีภพ ๔๖.๑๓
เดก็ หญงิ ปาริตา เถือนกลาง ๕๒.๖๓
เดก็ ชายธนพร งามสงา่ ๓๙.๖๓
๓๙.๖๓
๑.๓ วชิ าภาษาองั กฤษ เฉล่ียระดบั ชาติ คะแนนนักเรยี นรายบคุ คล
รายชือ่ นกั เรียน ๓๙.๒๒ ๔๓.๗๕
เด็กชายสายชล ทองแดง ๔๓.๗๕
เด็กหญงิ ศศิวิมล ศรีภพ
๔. วชิ าวทิ ยาศาสตร์ เฉลย่ี ระดบั ชาติ คะแนนนักเรียนรายบคุ คล
รายชื่อนักเรยี น ๓๔.๒๑ ๓๗.๕๐
เด็กชายสรัลพร กนั ยาประสิทธิ์ ๔๕.๐๐
เด็กชายภรู ณิ ัฐ วงษาม่งิ ๔๐.๐๐
เดก็ ชายพรพพิ ัฒน์ ราชจันดา ๓๗.๕๐
เดก็ หญิงทรรณภัทร สุขเกษม ๔๒.๕๐
เดก็ หญิงศศวิ มิ ล ศรภี พ ๔๐.๐๐
เดก็ หญงิ ปาริตา เถือนกลาง ๔๕.๐๐
เดก็ หญงิ จริ ชั ญา ไชยณรงค์
๒. นักเรยี นที่มผี ลการประเมินคุณภาพผูเ้ รียน (NT) รวมสองด้านสงู กว่าระดบั ประเทศ
รายชือ่ นักเรียน เฉล่ยี ระดับชาติ คะแนนนกั เรยี นรายบุคคล
เดก็ ชายเสกสรร แสงสน ๕๒.๘๐ ๖๐.๒๕
เด็กหญิงญาณจั ฉรา งานจัตุรสั ๕๓.๕๐
เดก็ หญิงหนูนา พูลกลาง ๕๔.๐๐
๑๕
๓. นกั เรยี นที่มีผลการประเมนิ ความสามารถดา้ นการอ่านของผู้เรียน (RT) รวมสองดา้ นสงู กวา่
ระดบั ประเทศ
รายชื่อนักเรยี น เฉล่ียระดับชาติ คะแนนนักเรยี นรายบคุ คล
เดก็ ชายวานนท์ โคตรนุกุล ๗๑.๓๘ ๗๘.๖๑
เดก็ หญงิ พมิ พ์ชนก องั คะฮาด ๙๓.๘๙
เด็กหญิงลภัสญา ม่ันเขตวทิ ย์ ๙๐.๕๖
เด็กหญิงไอลดา ท่านำ้ เทีย่ ง ๘๕.๘๓
เดก็ หญิงดวงฤทัย ลาภชน ๗๘.๐๕
เดก็ ชายชนนิ ทร์ อุระภมู ิ ๘๓.๘๙
เดก็ ชายคุณทรพั ย์ เหลา่ สมบัติ ๘๑.๖๗
เดก็ ชายณัฐวฒุ ิ มณีเนตร ๘๓.๓๓
เด็กชายพชั รพล นพพรประเสริฐ ๙๒.๗๘
เดก็ หญิงกมลชนก วงษามง่ิ ๙๒.๕๐
๑๐.๒ งาน/โครงการ/กิจกรรม ทป่ี ระสบผลสำเร็จ
ท่ี ชอ่ื วตั ถุประสงค/์ เปา้ หมาย วิธีดำเนินการ ตวั บง่ ช้ี
งาน/โครงการ/กิจกรรม (ยอ่ ๆ) ความสำเรจ็
(จำนวน/
ร้อยละ)
๑ โครงการยกระดับ เพ่ือเพิ่มผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นของ สง่ เสริมการอ่านการเขยี นและ
ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น ผูเ้ รียน สอนซอ่ มเสริม
๒ โครงการโรงเรียนต้นแบบ เพื่อส่งเสรมิ และพฒั นางานด้านการเรยี น ช่วยเหลอื นักเรียนทม่ี ีปญั หา
พัฒนาเรยี นรวมพิเศษ รวมสำหรบั นักเรียนที่มีความต้องการ ดา้ นการอ่านออกเขยี นได้
จำเปน็ พเิ ศษทกุ คนได้รับการศึกษาตลอด
ชีพ
๓ โครงการโรงเรยี นคุณภาพ เพื่อสง่ เสริมความสะอาด สวยงามเป็น จัดบรรยากาศบริเวณภายใน
ของชมุ ชน ระเบียบบรเิ วณภายในห้องเรยี นและ หอ้ งเรียนและอาคารสถานท่ี
อาคารสถานท่ี ให้เอ้ือตอ่ การเรียนรู้
๔ โครงการระบบดูแล เพ่อื จัดระบบดูแลช่วยเหลอื นกั เรยี นทม่ี ี จัดระบบดแู ลช่วยเหลอื
ชว่ ยเหลือนกั เรียน ประสิทธิภาพและครอบคลมุ ถงึ ผ้เู รียนทกุ นกั เรยี นทมี่ ีประสิทธิภาพและ
คน คลอบคลุมถงึ ผู้เรียนทกุ คน
๑๖
ท่ี ชอ่ื วตั ถุประสงค/์ เปา้ หมาย วธิ ดี ำเนินการ ตวั บง่ ช้ี
งาน/โครงการ/กจิ กรรม (ย่อๆ) ความสำเร็จ
(จำนวน/
รอ้ ยละ)
๕ โครงการนักวิทยาศาสตรน์ อ้ ย เพ่อื ให้นักเรียนใชท้ กั ษะกระบวนการ ทาง นักเรียนสามารถใช้ทักษะ
วิทยาศาสตร์ในการแก้ปญั หาและคิด กระบวนการ ทาง
สร้างสรรค์องคค์ วามรู้ วิทยาศาสตรใ์ นการแกป้ ัญหา
และคิดสร้างสรรคอ์ งค์ความรู้
๖ โครงการพัฒนาคุณภาพครู เพ่ือให้ครูสามารถนำความรทู้ ีม่ ีไปประยกุ ต์ ครูนำความรทู้ ีม่ ีไปประยกุ ต์
และบุคลากรทางการศกึ ษา นิเทศ และแนะนำผอู้ น่ื ได้ นเิ ทศ และแนะนำผู้อ่นื ได้
๗ พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา เพอ่ื เสริมสรา้ งความตระหนักรู้และความ เสรมิ สร้างความตระหนกั รู้
ปฐมวัย เขา้ ใจหลกั การจัดการศึกษาปฐมวัย และความเข้าใจหลักการจัด
การศกึ ษาปฐมวัย
๘ โครงการส่งเสริมคณุ ธรรม เพอื่ ให้นักเรียนเปน็ ผู้มีสมั มาคารวะ รูจ้ ัก สง่ เสริมคุณธรรมจริยธรรม
จรยิ ธรรมและค่านยิ มอันดี ทำความเคารพและรูจ้ ักการไว้ทถี่ ูกตอ้ ง และค่าสนยิ มอนั พงึ ประสงค์
๙ โครงการ ๖ มิติ คุณภาพสู่ เพื่อใหน้ ักเรียนมผี ลสมั ฤทธ์ิทางการศึกษา ส่งเสริมสนบั สนุนกิจกรรมทำ
การปฏบิ ตั ิ สูงขึน้ ให้ผลสัมฤทธ์ิทางการศึกษา
สูงข้นึ
๑๑. ผลการประเมินคณุ ภาพภายนอกรอบสาม
สรุปผลการประเมนิ คณุ ภาพจากหน่วยงานภายนอก (ครงั้ ลา่ สุด)และขอ้ เสนอแนะ
๑) ผลการประเมนิ ตามมาตรฐาน
ระดบั การศกึ ษาปฐมวยั มีผลรวมคะแนนประเมินสถานศึกษา ๙๐.๔๙ คะแนน มีคุณภาพ
ระดับ ยอดเยยี่ ม ระดบั การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มผี ลรวมคะแนนประเมินสถานศกึ ษา ๘๐.๐๓ คะแนน มีคณุ ภาพ
ระดับ ดีเลิศ
๒) ข้อเสนอแนะ
ระดบั การศึกษาปฐมวยั
๑. ดา้ นผลการจัดการศึกษา
ครูควรจัดกจิ กรรมทเ่ี น้นใหเ้ ด็กรูจ้ กั คดิ และรู้จักแก้ปัญหาอย่างมีเหตผุ ล โดยใหเ้ ด็กได้เรียนรู้
จากประสบการณ์ตรง ลงมอื ปฏิบัติตามความสนใจ ผ่านสือ่ และกจิ กรรมท่หี ลากหลาย และควรเพม่ิ สอ่ื อปุ กรณ์
ตามมมุ ต่าง ๆ เพอ่ื ให้เด็กมพี ฒั นาการย่งิ ขึ้น
๒. ด้านการประกนั คุณภาพภายใน
สถานศกึ ษาควรพฒั นาระบบการประกนั คุณภาพภายใน ตามมาตรฐานการศึกษาให้มีคะแนน
ผลการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศึกษาสูงขึ้นอยา่ งต่อเนื่อง
ระดับการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน ๑๗
๑. มาตรฐานดา้ นผลการจดั การศกึ ษา
ผู้เรียนควรไดร้ ับการส่งเสรมิ และพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สงู ข้ึนเฉลี่ยใหอ้ ยู่ในระดบั ดี
ในกลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย/ศิลปะ/ภาษาต่างประเทศ/สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา/การงานอาชีพและเทคโนโลยี
โดยใช้วธิ ีการทห่ี ลากหลาย เชน่ การสอนซ่อมเสริมผู้เรียนทีเ่ รียนอ่อนอย่างเป็นระบบ การเรยี นรดู้ ว้ ยการค้นคว้า
หาความร้เู พิ่มเติม การทำโครงงานและทบทวนให้มากข้ึนโดยวเิ คราะห์ความรู้พน้ื ฐานของผู้เรยี นว่ามีปัญหา
เกย่ี วกับการเรยี นเรอื่ งใดบ้างและมกี ารดำเนินการวัดผลผู้เรยี น เพือ่ ตรวจสอบความกา้ วหนา้ ของผู้เรียนเป็นระยะ
๒. มาตรฐานดา้ นการจัดการเรียนการสอนทเ่ี น้นผู้เรียนเปน็ สำคญั
สถานศึกษาควรนำผลประเมินในการจดั การเรียนการสอนไปปรับปรุงและพัฒนาครอู ยา่ งเป็น
ระบบและครูควรทำงานวิจยั ในช้ันเรยี นเพ่ือพัฒนาผู้เรียนที่มปี ัญหาในการเรียนและจดั ทำบันทกึ หลังสอนให้
ต่อเน่อื งและเป็นปัจจุบัน
๓. มาตรฐานด้านการประกนั คุณภาพใน
สถานศกึ ษาควรพฒั นาระบบการประกนั คณุ ภาพภายใน ใหม้ ีคะแนนผลการประเมินคณุ ภาพ
ภายในของสถานศึกษาสงู ขึ้นอยา่ งต่อเนอื่ ง
ตอนท่ี ๒
แนวทางการพัฒนาทีม่ งุ่ คุณภาพ
ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษาและผลการพฒั นา
โรงเรียนบ้านตูมได้กำหนดนโยบายและทิศทางในการพัฒนาการจัดการศึกษา โดยการจัดทำวิสัยทัศน์
พันธกิจ เป้าหมายการจัดการศึกษา มาตรฐานการศึกษาตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา แผนปฏิบัติการ
ประจำปี ที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายหน่วยงานต้นสังกัด
กระทรวงศึกษาธิการ รวมทัง้ สนองตอบตอ่ นโยบายการพัฒนาประเทศ ดงั น้ี
ผู้บรหิ ารยึดหลกั การบรหิ ารงานตามกระบวนการ PDCA
โครงสร้างการบริหารงานโรงเรียนบา้ นตมู
นายสุขสันต์ เหล่าเรือง คณะกรรมการสถานศึกษา
ผ้อู านวยการโรงเรยี นบ้านตมู ๑.พระครูอุดมกิจจาภรณ์
๒.นางดวงจนั ทร์ พึ่งสว่าง
๓. นายไพจิตร ลาภชน
๔.นายจรรยา คาวะเนตร
๕.นางทศั วรรณ์ จันทนา
๖.นายนาวา สมสกิจ
๗.นายเจริญ บญุ รักษา
๘.นางอปั สร ผ่านชมภู
๙.นายสุขสันต์ เหล่าเรือง
ดา้ นการบริหารวิชาการ ดา้ นการบริหารงานบคุ คล ดา้ นการบริหารงบประมาณ ดา้ นการบริหารทว่ั ไป
๑.นางอปั สร ผา่ นชมภู ๑.นางเยาวรีย์ ปัญญาใส ๑.นางลดั ดาวลั ย์ แฮดจา่ ง ๑.นางสาวสมพศิ ทาปลดั
๒.นางสาววานิตย์ ภูมิบุตร ๒.นางกอบแกว้ ดารารัตน์ ๒.เยาวรีย์ ปัญญาใส ๒.นางลดั ดาวลั ย์ แฮดจ่าง
๓.น.ส.อณญั ญา สิงหามาตย์ ๓.น.ส.พรทพิ า ลาหมนั ๓.นางกอบแกว้ ดารารัตน์ ๓.นางสาวประสงค์ ตระการ
๔.นางพมิ พาขวญั หลกั สุจริต ๔.นางกฤติกา โภคาพานิช ๔.นางสาวประสงค์ ตระการ ๔.นางสาวอนงคร์ กั ษ์ คาควร
๕.นางสาวอนงคร์ ักษ์ คาควร ๕.นายสุจินดา บงั นิไกร
๑๙
๑. วสิ ยั ทศั น์
ภายในปี ๒๕๖๕ โรงเรียนบ้านตูมเป็นองคก์ รทีม่ ีประสิทธิภาพในการจดั การศกึ ษา ผู้เรยี นมีคุณภาพตาม
มาตรฐานการศกึ ษาชาติ พรอ้ มเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ประชาคมโลก และนอ้ มนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง
๒. พันธกิจ
๑. สง่ เสรมิ การจัดการศึกษาให้ผู้เรียนมคี ณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา
๒. ปลกู ฝงั และสง่ เสริม การน้อมนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
๓. พัฒนาระบบประกนั คณุ ภาพภายในให้มีประสิทธภิ าพ
๔. ปรบั ปรุงสภาพแวดล้อมใหเ้ อ้ือต่อการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้
๕. ส่งเสรมิ และพฒั นาครสู ู่มาตรฐานวชิ าชพี และพฒั นาบุคลากรให้มคี ุณภาพ
๖. เปดิ โอกาสให้ชมุ ชนมสี ว่ นร่วมในการจดั การศกึ ษา
๗. ส่งเสริมและพฒั นาผู้เรียนใหร้ ักและสบื สานภมู ิปัญญาทอ้ งถ่ิน
๘. สง่ เสริมและพฒั นาผเู้ รียนพรอ้ มเข้าสปู่ ระชาคมอาเซียนและประชาคมโลก
๓. เอกลกั ษณ์ของโรงเรียน
น้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
๔. อตั ลกั ษณข์ องเดก็ /ผเู้ รียน
ชอื่ สัตย์ ประหยดั และออม
๕. มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษาและค่าเปา้ หมาย
๕.๑ มาตรฐานการศกึ ษาระดับปฐมวัย และค่าเป้าหมาย จำนวน ๓ มาตรฐาน ดงั นี้
๑. มาตรฐานด้านผลการจัดการศึกษา
๒. มาตรฐานด้านการจัดการเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผู้เรียนเปน็ สำคญั
๓. มาตรฐานด้านการประกนั คุณภาพภายใน
๕.๒ มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน และคา่ เป้าหมาย จำนวน ๓ มาตรฐาน ดงั นี้
๑. มาตรฐานด้านผลการจดั การศึกษา
๒. มาตรฐานด้านการจัดการเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผู้เรียนเป็นสำคัญ
๓. มาตรฐานด้านการประกันคุณภาพภายใน
แผนงาน โครงการ/กจิ กรรมที่โรงเรยี นได้วางแผนดำเนินการ และดำเนนิ การเพอ่ื ให้บรรลเุ ป้าหมายการจัด
การศึกษาในระดับการศึกษาปฐมวัยและระดบั การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ดังน้ี
๒๐
ระดับปฐมวัย
มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของเด็ก
๑. ผลการประเมนิ ระดับคณุ ภาพ ระดับคุณภาพ ยอดเยยี่ ม ประกอบด้วยผลการประเมนิ ๔ ด้าน
ดงั นี้
๑.๑ ด้านมีพฒั นาการด้านรา่ งกายแขง็ แรง มีสขุ นิสยั ท่ดี ี และดแู ลความปลอดภัยของตนเองได้
กระบวนการพัฒนา
โรงเรยี นไดด้ ำเนนิ การพัฒนาเพือ่ ใหเ้ ดก็ มพี ฒั นาการด้านรา่ งกาย แขง็ แรง มสี ขุ นสิ ัยทีด่ แี ละดแู ล
ความปลอดภัยของตนเองได้ โดยได้จัดทำโครงการ และกจิ กรรม ดงั ต่อไปนี้
โรงเรยี นบา้ นตมู ได้จัดประสบการณใ์ ห้สอดคล้องกับพัฒนาการของเด็กแตล่ ะวยั ตามศกั ยภาพของแต่ละ
คน มีการจดั กิจกรรมในแต่ละวันครบทุก ๖ กิจกรรมหลกั คือ กจิ กรรมเคล่ือนไหวและจงั หวะ
กิจกรรมเสริมประสบการณ์ การจัดกิจกรรมการเรยี นร้ตู ามแนว High Scope บูรณาการกับกิจกรรมเลน่ ตามมุม
กิจกรรมกลางแจง้ กจิ กรรมเกมการศกึ ษา และได้จัดกิจกรรมโครงการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาปฐมวัย และ
โครงการบา้ นนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย โดยมีกจิ กรรม ดงั นี้
๑) โครงการพฒั นาคุณภาพการศึกษาปฐมวยั ประกอบด้วย
กิจกรรมที่ ๑ อา่ นคำศัพท์หนา้ เสาธง วิธดี ำเนินการ
ครูเตรยี มบัตรคำศัพท์และฝกึ ซอ้ มนักเรียนอ่านในห้องเรยี น โดยมนี กั เรยี นนำเพ่อื อา่ นสะกดคำ ให้เพือ่ นอา่ นตาม
กจิ กรรมที่ ๒ กิจกรรม High Scope บรู ณาการเล่นตามมุม วิธีดำเนินการ ครจู ัดมมุ
ประสบการณ์ให้เด็กไดเ้ รียนรู้และเล่นตามหลกั สตู รและความสนใจ เชน่ มุมหนงั สอื มมุ บา้ น มุมตุ๊กตา มมุ อาชพี
มมุ วทิ ยาศาสตร์ มมุ ศลิ ปะ มุมบลอ็ ค มุมดนตรี โดยใช้ตารางวางแผนในการเลอื กเล่นตามลำดบั มีกำหนดเวลา
การเล่นมในมุมโดยครเู ปน็ ผู้ให้สญั ญาณ เม่ือจบกิจกรรมครูเปดิ โอกาสให้เด็กได้สะทอ้ นความคิดโดยเดก็ สามารถ
สะท้อนผลงานท่ีได้เลน่ ตามมุมทีต่ นเลอื ก เชน่ เล่าถงึ ความภาคภมู ิใจในผลงาน ปัญหาอุปสรรคทเ่ี กิดและการ
ตัดสินใจในการแกป้ ญั หาขณะเลน่
กิจกรรมที่ ๓ ศกึ ษาแหล่งเรยี นรู้ วธิ ีดำเนินการ นำนักเรียนศึกษาแหลง่ เรียนรู้ภายในโรงเรียน
และนอกโรงเรยี นและใหน้ กั เรียนวาดภาพและบอกเลา่ ผลการศกึ ษาเรียนรูป้ ระสบการณใ์ ห้กับเพอ่ื น
หนา้ ชั้นเรยี นฟัง
กิจกรรมที่ ๔ ทดสอบสมรรภาพ วธิ ดี ำเนนิ การ ให้ความรูเ้ รอ่ื งการดูแลรักษารา่ งกาย
สรา้ งสุขนิสยั ที่ดี ร้จู กั ออกกำลังกายอยา่ งเหมาะสมตามวยั
รจู้ กั รกั ษาความปลอดภัยหลีกเลี่ยงการปฏบิ ตั ิตนท่ีเป็นอันตราย ครูฝกึ ซอ้ มนกั เรยี นใหไ้ ดอ้ อกกำลังกาย
บริหารร่างกายตามรูปแบบของการทดสอบสมรรถภาพและมกี ารทดสอบสมรรถภาพทางกายภาคเรยี นละ
๑ ครัง้ ในภาคเรียนที่ ๑ ในภาคเรียนที่ ๑ ถ้านักเรียนไม่ผ่านการทดสอบครฝู ึกซ่อมเสริมและทดสอบ
สมรรถภาพในภาคเรียนท่ี ๒ สรุปผลเปรียบเทียบ ๒ ภาคเรียน
๒๑
๒) โครงการบา้ นนักวิทยาศาสตรน์ ้อย ประเทศไทย ประกอบดว้ ย การจัดกิจกรรมการทดลอง
วิทยาศาสตร์ เชน่
กิจกรรมท่ี ๑ เรอื แบบใดบรรทุกนำ้ หนกั ไดม้ ากท่สี ุด การลอยการจม ขนั้ ตอนการจัด
กจิ กรรม ดังนี้
๑. เดก็ เตรยี มอ่างพลาสติกใบใหญ่ พร้อมใส่น้ำ
๒. เดก็ ทำเรือโดยใช้ดินน้ำมันทำเป็นรปู เรอื
๓. เดก็ นำเรือลงไปในอ่างนำ้ และค่อยๆ ใส่ลกู แก้วทีละลูกนบั จำนวนลูกแก้ววา่ เรอื ลำใดจะบรรทกุ
ลกู แก้วไดม้ ากทส่ี ดุ ก่อนเรือจะจม
๔. เด็กวาดภาพส่งิ ท่ีสงั เกตเหน็
๕. เดก็ นำเสนอผลงานหน้าชน้ั เรยี น
ผลท่ีเกิดกบั เด็กดา้ นการเคล่อื นไหว
ร่างกายแขง็ แรงมีสุขนิสัยที่ดีและดูแลความปลอดภยั ของตนเองได้ เดก็ สามารถเคล่อื นไหวรา่ งกายหยบิ จบั
และใช้อปุ กรณก์ ารทดลองได้อย่างคล่องแคล่ว
กจิ กรรมที่ ๒ สนุกกับฟองสบู่ ขั้นตอนการจัดกจิ กรรม ดังน้ี
๑. เด็กเตรียมน้ำสบู่ผสมนำ้ ล้างจานเลก็ น้อย
๒. เดก็ ใชห้ ลอดดูดเป่าฟองสบูจ่ ะเกดิ ฟองสบู่จะเกิดฟองรูปตา่ ง ๆ
๓. เดก็ ๆ สงั เกตฟองว่ามสี ีอะไรบา้ งและมลี ักษณะอย่างไร
๔. เดก็ วาดภาพทดลองบอกเกี่ยวกบั สงิ่ ท่ีสังเกตเห็นจากการทดลอง
๕. เด็กนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรยี น
ผลที่เกดิ กบั เดก็ ดา้ นการเคลอ่ื นไหว
รา่ งกายแข็งแรงมีสขุ นิสัยทด่ี ีและดแู ลความปลอดภัยของตนเองได้ เด็กทกุ คนสามารถเคล่ือนไหวร่างกาย หยิบจบั
และใช้อปุ กรณก์ ารทดลองไดอ้ ยา่ งคล่องแคล่ววอ่ งไว
๑.๒ ผลการพฒั นา
จากกระบวนการพฒั นาของโรงเรยี นบา้ นตูม
โรงเรียนบา้ นตูมได้จดั กิจกรรมเพอ่ื พัฒนาเดก็ ใหม้ กี ารพัฒนาด้านรา่ งกายแข็งแรง
มีสุขนสิ ยั ท่ีดีและดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ ผลการดำเนินการพัฒนามดี ังตอ่ ไปน้ี
๑. ทำให้นกั เรยี นมีสขุ ภาพร่างกายแขง็ แรงสมบรู ณ์ทกุ คน
๒. เดก็ มสี ขุ นสิ ัยทด่ี ีและดแู ลความปลอดภยั ของตนเองได้ทกุ คน
๑.๒ ด้านมพี ัฒนาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณไ์ ด้
๑.๒.๑ กระบวนการพัฒนา
โรงเรียนบ้านตูมได้ดำเนินการพฒั นาเพ่ือใหเ้ ดก็ มพี ัฒนาการดา้ นอารมณ์ จติ ใจ ควบคุม
และแสดงออกทางอารมณไ์ ด้ โดยได้จดั ทำกจิ กรรมในแต่ละวนั ครบทงั้ ๖ กิจกรรม
คือกจิ กรรมเคลอื่ นไหวและจังหวะ กิจกรรมศลิ ปะ กิจกรรมเลน่ ตามมมุ กจิ กรรมเสรมิ ประสบการณ์
กิจกรรมกลางแจง้ กิจกรรมเกมการศกึ ษา และไดจ้ ัดโครงการเสริม คอื
๒๒
๑) โครงการบา้ นวิทยาศาสตร์นอ้ ยประเทศไทย ประกอบด้วย
กิจกรรมที่ ๑ ลมพดั ออ่ น ๆ มดั ผ่านท้อง ข้ันตอนการจัดกจิ กรรม ดังนี้
๑. เดก็ เจาะรตู รงกลางกล่อง ตงั้ เทียนใหห้ า่ งจากรปู ระมาณ ๓๐ ชม.
๒. เดก็ ใชม้ ือตบขา้ งกลอ่ งทำใหเ้ ทยี นดับดว้ ยแสงลมทอี่ อกจากรกล่องกระดาษ
๓. เดก็ วาดภาพจากการทดลองหนา้ ชั้นเรียน
๔. นำเสนอผลการทดลองหนา้ ชนั้ เรียน
ผลที่เกดิ กบั เด็ก การพัฒนาด้านอารมณ์-จิตใจ ควบคุมและแสดงออกทางอารมณ์ได้ ดังน้ี
เดก็ ทุกคนมคี วามกระตอื รือรน้ ในการปฏิบตั กิ จิ กรรมเดก็ มคี วามสุขและสนุกสนานในการปฏิบัติกจิ กรรม
กิจกรรมท่ี ๒ แสงเล้ียวเบน ขน้ั ตอนการจัดกิจกรรม ดังนี้
1. เด็กนำแกว้ มา ๒ ใบ ใบหน่งึ ใสน่ ้ำ นำหลอดจมุ่ ลงไปในแกว้ แต่ละใบ สังเกตช้อนดูว่าเป็น
อยา่ งไรบา้ ง
๒. เดก็ วาดภาพจากการทดบองท่ีสงั เหตเหน็
๓. เด็กนำเสนอผลงานหน้าช้นั เรียน
ผลการพฒั นาการด้านอารมณ์ – จิตใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณ์ได้ ดงั นี้
เดก็ มีความสุขสนุกสนานขณะทำการทดลอง เด็กมีความกระตอื รือร้นในการทดลอง
๑.๒.๒ ผลการพฒั นา
จากกระบวนการพัฒนาของโรงเรียนบ้านตูม เพอ่ื ใหเ้ ด็กมพี ัฒนาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ
ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณไ์ ด้ ผลจากการดำเนินงานพฒั นา ดงั ตอ่ ไปนี้
เดก็ ทกุ คนมีความกระตอื รือรน้ ในการปฏิบตั กิ ิจกรรม เดก็ มีความสขุ และสนุกสนานในการปฏบิ ัตกิ ิจกรรม
๑.๓ ดา้ นมีพฒั นาการด้านสังคม ชว่ ยเหลือตนเอง และเปน็ สมาชกิ ท่ดี ขี องสงั คม
๑.๓.๑ กระบวนการพัฒนา
โรงเรยี นบา้ นตูม ดำเนินการพฒั นาเดก็ เพือ่ ให้เด็กมพี ฒั นาการด้านสงั คม
ช่วยเหลือตนเองและเปน็ สมาชิกที่ดีของสงั คม โดยไดจ้ ัดกิจกรรมในแต่ละวันครบทั้ง ๖ กิจกรรม คือ
กิจกรรมเคล่ือนไหวและจงั หวะ กจิ กรรมศลิ ปะ กิจกรรมเล่นตามมมุ กจิ กรรมเสริมประสบการณ์
กิจกรรมกลางแจ้ง กจิ กรรมเกมการศกึ ษา กิจกรรมจิตอาสา
และนำโครงการบ้านนกั วิทยาศาสตรน์ ้อยประเทศไทยมาเสริมดว้ ย
๒๓
๑.๓.๒ ผลการพฒั นา
จากกระบวนการพฒั นาของโรงเรยี นบา้ นตูม เพ่อื ให้เด็กมพี ัฒนาการดา้ นสังคม
ชว่ ยเหลอื ตนเอง และเป็นสมาชิกที่ดขี องสงั คม ผลจากการดำเนินงานพฒั นามี ดังนี้
เดก็ สามารถรว่ มทำงานกับผู้อ่ืนได้ดขี น้ึ ร้จู กั ช่วยเหลือซึง่ กันและกัน มจี ติ อาสาทำความสะอาดบริเวณโรงเรยี น
ทไ่ี ด้รบั มอบหมาย เวรหอ้ งเรยี น เด็กสามารถชว่ ยเหลือตนเองได้ดี
เดก็ สามารถแสดงความคดิ เหน็ ของตนเองและยอมรบั ฟังความคิดเห็นของผ้อู ่ืน
๑.๔ ดา้ นมีพฒั นาการด้านสติปัญญา ส่อื สารได้ มที กั ษะการคิดพ้ืนฐาน และแสวงหาความรู้ได้
๑.๔.๑ กระบวนการพฒั นา
โรงเรียนบา้ นตูม ดำเนินการพัฒนาเดก็ เพือ่ ใหเ้ ด็กมพี ัฒนาการด้านสติปญั ญา
ส่ือสารได้มีทักษะการคดิ พน้ื ฐานและแสวงหาความรไู้ ด้ โดยไดจ้ ดั กจิ กรรมใหก้ ับเดก็ ในแตล่ ะวัน ครบท้ัง ๖
กิจกรรมหลัก คือ กิจกรรมเคลอื่ นไหวและจงั หวะ กิจกรรมศิลปะ กิจกรรมเล่นตามมุม
กิจกรรมเสรมิ ประสบการณ์ กิจกรรมกลางแจง้ กจิ กรรมเกมการศึกษา และใช้กิจกรรมและโครงการเสรมิ คือ
โครงการบา้ นนักวิทยาศาสตร์นอ้ ยประเทศไทย ประกอบดว้ ย
กิจกรรมท่ี ๑ รู้จักเหล่ยี มและมุม มีขน้ั ตอนการจัดกิจกรรม ดงั ต่อไปนี้
๑. เดก็ ๆ หาสิ่งของต่าง ๆ ภายในหอ้ งเรียนท่ีรปู เรขาคณิต เชน่ รูปสามเหลี่ยม รปู สี่เหลยี่ ม
รปู หา้ เหลีย่ ม
๒. เด็กใช้เชอื กดึงให้เป็นรูปเรขาคณิตแบบต่าง ๆ
๓. เดก็ ๆ วาดภาพรปู เรขาคณิตจากการทดลองบอกวา่ เป็นรูปเรขาคณิตใดบ้าง
๔. เด็กนำเสนอผลงานหนา้ ชนั้ เรียน
ผลการพัฒนาการด้านสติปญั ญา ส่ือสารได้ มีทักษะการคิดพ้ืนฐานและแสวงหาความรไู้ ด้
ดงั น้ี เดก็ รจู้ กั การตงั้ คำถามในสงิ่ ทีต่ นสงสยั เดก็ พดู สิง่ ที่ตนพบเห็นจากการทดลอง
เดก็ สามารถนำเสนอขอ้ มลู ท่คี ้นพบด้วยตนเอง
กจิ กรรมท่ี ๒ การจัดหมวดหมู่และเปรยี บเทียบ มีข้ันตอนการจดั กิจกรรม ดังต่อไปนี้
๑. เด็กทำเคร่ืองชั่งอยา่ งง่ายโดยใชไ้ มแ้ ขวนเส้ือและถ้วยกาแฟผูกด้วยลวดติดกบั ปลายท้ังสองของ
ด้ามไมแ้ ขวนเสื้อ
๒. เด็กหาส่ิงของภายในหอ้ งเรียน เช่น ดนิ สอสี ลกู แกว้ กรรไกร มาใส่ลงในถว้ ยกาแฟ
เพื่อเปรียบเทยี บกนั ว่าอะไรหนักกวา่ กัน จากจำนวนท่ีเทา่ กัน
๓. เดก็ วาดภาพจากสงิ่ ของจากการทดลอง และบอกว่าอะไรหนกั กวา่ กนั จากจำนวนที่เท่า
๔. เดก็ นำเสนอผลงานหน้าช้ันเรียน
๒๔
๑.๔.๒ ผลการพฒั นา
จากกระบวนการพัฒนาของโรงเรยี นบา้ นตูม เพ่ือใหม้ ีพัฒนาการด้านสตปิ ัญญา สือ่ สารได้
มที กั ษะการคิดพน้ื ฐาน และแสวงหาความรู้ได้ ผลจากการดำเนินงานพัฒนา มดี ังน้ี
ผลการพฒั นาการด้านสติปัญญาสื่อสารได้ มีทกั ษะการคิดพื้นฐานและแสวงหาความรู้ได้ ดงั นี้
เด็กรจู้ กั การตง้ั คำถามในส่ิงท่ตี นสงสยั รจู้ กั การเปรียบเทียบของสงิ่ ของต่าง ๆ
เด็กพดู ถงึ ในสิ่งที่ตนสังเกตเหน็ จากการทดลอง เด็กสามารถนำเสนอขอ้ มูลที่คน้ พบด้วยตนเองได้
เดก็ สามารถสื่อสารจากตนค้นพบได้ เด็กรู้จกั การต้ังคำถามในสง่ิ ที่ตนสงสัย
เด็กพูดถงึ ในสิ่งที่ตนสงั เกตเหน็ ในการทดลอง เด็กสามารถนำเสนอข้อมลู ท่ีคน้ พบด้วยตนเองได้
เดก็ สามารถสื่อสารส่ิงทีต่ นคน้ พบให้คนอน่ื ทราบได้ เด็กสามารถร่วมทำงานกับผู้อน่ื ได้ดีขน้ึ
รจู้ ักช่วยเหลือซึง่ กันและกนั มจี ติ อาสาทำความสะอาดบริเวณโรงเรยี นที่ไดร้ ับมอบหมาย เวรห้องเรียน
เด็กสามารถช่วยเหลือตนเองได้ดี เด็กสามารถแสดงความคิดเหน็ ของตนเองและยอมรับฟงั ความคดิ เหน็ ของผอู้ ่ืน
๒. จดุ เด่น มาตรฐานท่ี ๑
๑) เด็กมีพฒั นาการทางดา้ นรา่ งแขง็ แรง มีสขุ นิสัยที่ดี และดูแลความปลอดภยั ของตนเองได้
โดยจดั กจิ กรรมเคลื่อนไหวและจงั หวะเพือ่ ส่งเสรมิ ใหพ้ ัฒนาการทางดา้ นรา่ งกายดขี ้นึ
ส่งผลให้การแข่งขันกีฬาได้เหรยี ญระดับกลมุ่ เครอื ขา่ ยเมอื งกุมภวา
๒) สง่ เสริมให้เด็กมีสุขภาพที่ดี โดยให้เดก็ ไดร้ ับอาหารเสริม (นม) ทุกวนั ทุกคน
และรับประทานอาหารกลางวันทมี่ ีประโยชน์
๓) สง่ เสรมิ ใหน้ กั เรียนออกกำลังกายโครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดภยั จากยาเสพตดิ
๓. จุดทีค่ วรปรบั ปรุง มาตรฐานท่ี ๑
๑) เด็กมีพฒั นาการดา้ นสติปญั ญา ยงั อยูใ่ นระดับทีต่ ้องพฒั นาอย่างตอ่ เนอื่ ง
๒) เดก็ บางสว่ นยังไมก่ ลา้ แสดงออก
๓) เด็กบางส่วนขาดความรับผิดชอบต่อตนเองและความเสยี สละต่อสว่ นรวม
๔) เดก็ ควรได้รับการส่งเสรมิ ความรดู้ ้านการบรโิ ภคอาหารทมี่ ีประโยชนต์ ่อร่างกาย
๔. แนวทางการพฒั นาให้ได้ระดบั คณุ ภาพท่ีสงู ข้ึน
โรงเรยี นบ้านตูม ได้มแี นวทางในการพัฒนามาตรฐานที่ ๑
ให้ไดร้ ะดับคณุ ภาพท่ีสูงข้ึนโดยกำหนดโครงการและกิจกรรม ดังต่อไปน้ี
๑) โครงการบา้ นนักวิทยาศาสตร์นอ้ ยประเทศไทย
กจิ กรรม เรือแบบใดบรรทุกนำ้ หนกั ได้มากทส่ี ดุ การลอยการจม
กิจกรรม สนุกกับฟองสบู่
กิจกรรม ลมพดั อ่อนๆ พัดผ่านห้อง
กจิ กรรม แสงเลย้ี วเบน
กิจกรรม ความลับของสีดำ
๒๕
กิจกรรม กักนำ้ ไวไ้ ด้
กจิ กรรม รู้จกั เหลย่ี มและมุม
กจิ กรรม การจดั หมวดหมูแ่ ละเปรียบเทยี บ
๕. ผลสมั ฤทธท์ิ ่ีเกิดขึ้นกับเด็ก และรางวัลที่ได้รับ
ผลสัมฤทธิ์
จำนวนนักเรียน ผู้เรียนระดบั ปฐมวยั ทีม่ ผี ลการประเมนิ พัฒนาการในระดับดขี ้นึ ไป
ทั้งหมด
ระดับช้ัน ด้านร่างกาย ดา้ นอารมณ์จิตใ ด้านสังคม ดา้ นสตปิ ัญญา
๑๑ จ
อนุบาล ๑ ๑๔
อนุบาล ๒ ๑๕ ๑๑ ๑๑ ๑๑ ๑๑
อนุบาล ๓
๑๔ ๑๔ ๑๔ ๑๔
๑๕ ๑๕ ๑๕ ๑๕
รางวัลท่ไี ด้รับ
ที่ ชอื่ รางวลั หนว่ ยงานทีม่ อบ ปีทีไ่ ดร้ บั
-- - -
-- - -
๖. แหลง่ ขอ้ มูลหลกั ฐานเอกสารอ้างองิ
ท่ี เอกสารหลกั ฐาน Qr code
--
มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
๑. ผลการประเมนิ ระดบั คุณภาพ ยอดเย่ยี ม ประกอบด้วยผลการประเมิน ๖ ข้อ ดังน้ี
๑.๑ ดา้ นจัดใหม้ หี ลักสตู รครอบคลมุ พฒั นาการทั้ง ๔ ดา้ น สอดคล้องกับบริบทของทอ้ งถ่นิ
๑) กระบวนการพฒั นา
โรงเรียนบา้ นตูม ไดด้ ำเนนิ การพัฒนาโดยมีหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
ตามหลดั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ ลงส่กู ารปฏบิ ัติเพือ่ สรา้ งรากฐานคุณภาพชวี ิต
ใหเ้ ดก็ ปฐมวัยพัฒนาไปสคู่ วามเปน็ มนษุ ย์ทสี่ มบรู ณ์ เกดิ คุณค่าตอ่ ตนเองครอบครวั ชมุ ชนสงั คม
และประเทศชาติตอ่ ไป โดยมีโครงการประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษามี กิจกรรมจัดทำหลกั สตู รสถานศึกษา
๒๖
๒) ผลการพัฒนา
จากกระบวนการพฒั นาของโรงเรยี นเพ่ือให้มหี ลักสูตรครอบคลุมพฒั นาการทง้ั ๔ ดา้ น
สอดคลอ้ งกบั บรบิ ทของท้องถนิ่ ผลการดำเนนิ งานพัฒนา มดี งั น้ี สถานศึกษามีหลกั สตู รครอบคลมุ พัฒนาการทัง้ ๔
ดา้ น ทำให้การพฒั นาการเด็กมีพัฒนาการดีขน้ึ
๑.๒ ด้านการจัดครูให้เพยี งพอกับชัน้ เรียน
๑) กระบวนการพัฒนา
โรงเรยี นบา้ นตมู ไดด้ ำเนินการบรหิ ารจดั การใหค้ รูได้ครบช้นั
โดยการขอจัดสรรอัตรากำลังจากสำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๒
ใหม้ ีครูครบทกุ ชน้ั และไดร้ ับจดั สรรอัตรากำลังจากหน่วยงานต้นสงั กัดทำใหม้ คี รูปฐมวัยครบ ๓ ช้ัน คือ อนุบาล
๑, อนุบาล ๒ และอนุบาล ๓
๑.๖ ข้อมลู ครูและบคุ ลากร
ประเภท / ตำแหนง่ จำนวนบคุ ลากร (คน) รวม
ต่ำกวา่ ป.ตรี ป.ตรี ป.โท ป.เอก
ครูผูส้ อนการศึกษาปฐมวัย -๓- -๓
- ครปู ฐมวัย --- --
- ครูอัตราจ้าง --- --
-ครูตา่ งชาติ -๓- -๓
รวม
๒.) ผลการพัฒนา
จากกระบวนการพัฒนาของโรงเรยี นเพอื่ จัดครใู ห้เพียงพอกบั ชนั้ เรียน
ผลจากการดำเนินงานมดี ังน้ี โรงเรียนบ้านตมู ได้รบั จดั สรร
อัตรากำลงั จากหนว่ ยงานต้นสงั กัดทำใหม้ ีครูปฐมวัยครบ ๓ คนคอื อนบุ าล ๑, อนบุ าล ๒ และอนบุ าล ๓
ส่งผลให้การจดั การเรยี นการสอนไดเ้ ต็มเวลาตามหลักสูตร
ครูได้รับการส่งเสรมิ พฒั นาตนเองในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรสู้ ำหรบั ผูเ้ รียนอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
๑.๓ ด้านการส่งเสรมิ ใหค้ รมู ีความเช่ียวชาญดา้ นการจดั ประสบการณ์
๑) กระบวนการพัฒนา
โรงเรยี นบ้านตมู
ได้ดำเนินการพัฒนาโดยการส่งเสริมสนับสนุนใหบ้ คุ ลากรของระดับชั้นอนบุ าลทุกคนไดเ้ ขา้ พัฒนาตนเองตลอดท้งั ปี
ท่มี กี ารจัดประชุม อบรม สัมมนาระดบั กลุ่มเครอื ข่ายและระดบั เขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาฯ จัดการประชุมอบรมสมั มนา
รวมทง้ั มกี ารอบรมพัฒนาตนเองทางออนไลนข์ องเขตพืน้ ที่ในครบตามหลกั สูตร ระดบั ดเี ย่ยี ม ๓ คน ระดับดี ๔
๒๗
คนและได้รับการสนับสนุนงบประมาณในการอบรมตามความเหมาะสม
ได้รบั การนิเทศการจดั ประสบการณ์การท้ังผูบ้ รหิ ารโรงเรียนและจากทา่ นศกึ ษานเิ ทศก์ของเขตพืน้ ท่ีฯ
๒) ผลการพัฒนา
จากกระบวนการพัฒนาครู เพอ่ื สง่ เสริมใหม้ ีความเชี่ยวชาญดา้ นการจดั ประสบการณ์ มีดังน้ี
ผลจากการพัฒนาของโรงเรียนเพอื่ ส่งเสรมิ ใหค้ รูมีความร้เู ช่ียวชาญดา้ นการจัดประสบการณ์ส่งผลให้เดก็ มคี ุณภาพ
และมีพัฒนาการทกุ ดา้ น มรี ะดบั คุณภาพในระดับดีขน้ึ ไป รอ้ ยละ ๑๐๐
จำนวนนกั เรยี น ผู้เรียนระดับปฐมวัยทีม่ ผี ลการประเมนิ พฒั นาการในระดับดีขนึ้ ไป
ท้ังหมด
ระดบั ชั้น ดา้ นร่างกาย ดา้ นอารมณ์จิตใ ดา้ นสังคม ด้านสตปิ ญั ญา
๑๑ จ
อนบุ าล ๑ ๑๔
อนุบาล ๒ ๑๕ ๑๑ ๑๑ ๑๑ ๑๑
อนบุ าล ๓
๑๔ ๑๔ ๑๔ ๑๔
๑๕ ๑๕ ๑๕ ๑๕
๑.๔ จัดสภาพแวดล้อมและส่ือเพ่อื การเรยี นรู้ อยา่ งปลอดภยั และเพยี งพอ
๑) กระบวนการพฒั นา
โรงเรยี นได้ดำเนนิ การพัฒนาโดยมี โครงการ และกจิ กรรม ดังต่อไปนี้
๑) โครงการโรงเรียนสวยห้องเรยี นงาม ประกอบด้วย
กจิ กรรมปรบั ปรุงอาคารสถานท่ี
วธิ ดี ำเนนิ การขออนมุ ัตงิ บประมาณผา่ นหนว่ ยงานตน้ สงั กัดเพอื่ สรา้ งและซอ่ มแซมอาคารสถานที่ และจัดทำผ้าป่า
๑๐๐ ปีโรงเรียนบ้านตมู ระดมทุนเพ่ือสร้างโดมทำโรงอาหารและสถานท่ปี ฏบิ ัติกิจกรรมตา่ งๆ ให้กับผูเ้ รียน
๒) ผลการพัฒนา
โรงเรียนบ้านตูมได้รบั การสนับสนุนจากจากหนว่ ยงานต้นสงั กดั และชุมชนในการระดมพฒั นาโรงเรียนใน
ด้านการสร้างและซ่อมแซมอาคารสถานท่ีทงั้ บริเวณโรงเรยี นและภายในห้องเรียนได้อยา่ งเพียงพอ
ส่งผลใหโ้ รงเรยี นมคี วามพรอ้ มและความสวยงามในด้านอาคารสถานท่ีเพือ่ การจดั ประสบการณใ์ ห้กับเดก็ อยา่ ง
เตม็ ประสิทธิภาพ
๒๘
๑.๕ ให้บรกิ ารสอื่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และสอ่ื การเรยี นรู้เพื่อสนบั สนุนการจดั ประสบการณ์
๑) กระบวนการพฒั นา
โรงเรียนบา้ นตูม ไดด้ ำเนนิ การพัฒนาโดยฝ่ายบริหารส่งเสริมสนับสนุนให้ครูอบรมการผลิตสอื่
และสนบั สนุนงบประมาณให้ครู ผลิตสื่อใช้ในชนั้ เรยี นของตนเองใหม้ ีส่อื มีมากใหเ้ พยี งพอกับการเรียนรขู้ องเดก็
ใหค้ รูใช้สือ่ ทาง TV, LDTV ของแตล่ ะหอ้ งเรยี น
๒) ผลการพัฒนา
จากกระบวนการพัฒนาของโรงเรยี นบา้ นตมู เพอ่ื ให้บรกิ ารสอ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศ
และส่ือการเรยี นรู้เพ่อื สนับสนุนการจัดประสบการณ์ มีดังนี้
ในแตล่ ะหอ้ งมคี วามพร้อมในการจดั หารส่ือเทคโนโลยสี นบั สนนุ การจัดประสบการณ์ให้กบั ผ้เู รยี น เช่น
สอ่ื จากยูทูป คลิปจากสอื่ โซเชยี ลมีเดยี ส่ือทำมอื
ส่อื สามมิติเพ่ือประกอบการจดั ประสบการณ์และสอดคล้องกบั หนว่ ยการเรียนของแตล่ ะหน่วย
และมีส่อื ในการใช้จัดกิจกรรมการเรยี นรเู้ พียงพอตอ่ ความตอ้ งการของแตล่ ะช้ันเรียน
๑.๖ มีระบบบรหิ ารคุณภาพทีเ่ ปดิ โอกาสใหผ้ เู้ กยี่ วขอ้ งทุกฝา่ ยมีส่วนรว่ ม
๑) กระบวนการพัฒนา
โรงเรยี นบ้านตมู ไดด้ ำเนินการพฒั นาโดยมกี ารปรบั ปรงุ แผนพฒั นาคุณภาพการจดั การศึกษา
แผนปฏิบตั ิการประจำปี หลกั สตู รสถานศึกษาปฐมวยั ใหส้ อดคลอ้ งกับสภาพปญั หา
ความต้องการพัฒนาและนโยบายปฏิรูปการศกึ ษา
และเปิดโอกาสให้ผเู้ กยี่ วขอ้ งทกุ ฝ่ายมีสว่ นร่วมวางแผนพัฒนาการศึกษา
และรบั ทราบรับผิดชอบตอ่ ผลการจดั ศึกษา
๒) ผลการพัฒนา
จากกระบวนการพฒั นาของโรงเรียนบ้านตมู เพ่ือใหม้ ีระบบบริหารคณุ ภาพที่เปิดโอกาส
ใหผ้ ู้เกย่ี วขอ้ งทกุ ฝ่ายมสี ว่ นร่วม ผลจากการดำเนนิ การพัฒนามีดงั นี้
ทำใหง้ านการศกึ ษาในสถานศกึ ษาบรรลุเป้าหมายทกุ ดา้ นและมี ผ้รู ับผิดชอบงานทกุ งานเกิดประโยชน์ต่อทุกงาน
๒. จดุ เด่น มาตรฐานท่ี ๒
๑) การบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมยึดหลักธรรมาภบิ าล
๒) การบรหิ ารจัดการมีความชัดเจนเปน็ ระบบ กำกับตดิ ตามข้อมูลสารสนเทศ เปน็ ปัจจุบนั
สามารถตรวจสอบได้
๓) การบรหิ ารจดั การยดึ หลักการความโปร่งใส สามารถตรวจสอบได้
๒๙
๓. จุดที่ควรปรับปรงุ มาตรฐานที่ ๒
๑) การนิเทศ ติดตาม ควรทำอย่างต่อเนือ่ ง กำหนดระยะเวลาทีช่ ัดเจน มมี าตรการกำกบั
๒) มอบหมายงานให้ตรงกับความถนดั ของแตล่ ะบุคคลและตรงตามโครงการทร่ี ับผดิ ชอบ
๓) ขอ้ มูลสารสนเทศด้านตา่ งๆ ควรแจง้ บคุ ลากรทราบโดยทั่วถึงและต่อเนอื่ งเป็นวาระ
๔. แนวทางการพัฒนาใหไ้ ด้ระดบั คณุ ภาพที่สงู ขึ้น
โรงเรยี นบ้านตูมมแี นวทางในการพฒั นา มาตรฐานท่ี ๒
ให้ไดร้ ะดับคณุ ภาพที่สงู ขนึ้ โดยกำหนดโครงการและกิจกรรม ดงั ต่อไปนี้
๑. โครงการประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา
๒. โครงการ/กจิ กรรม นิเทศ กำกับ ติดตามภายใน
๓. โครงการ/กิจกรรม อบรมสัมมนาศกึ ษาดูงาน
๔. กิจกรรมส่งเสรมิ และพัฒนาสถานศกึ ษา
๕. ผลสมั ฤทธทิ์ เี่ กดิ ข้นึ กบั ผู้บริหาร รางวัลทีไ่ ด้รับ
ที่ ช่ือรางวลั หนว่ ยงานที่มอบ ปที ไี่ ดร้ บั
๒๕๖๓
๑ รางวัลผลงานและนทิ รรศการ ระดับดเี ดน่ สพป.อด.๒
๒๕๖๓
เวทแี ลกเปลย่ี นเรียนรู้
๒๕๖๓
๒ รางวัลผลการประเมนิ สถานศึกษาทมี่ ีคุณธรรมและความโป สพป.อด.๒
๒๕๖๓
ร่งใสในการดำเนนิ งาน ระดับ AA
๓ รางวลั ผ่านการคดั เลอื กผลงานด้านนวัตกรรม โครงการ ๑ สพป.อด.๒
โรงเรียน ๑ นวตั กรรม รร.คุณภาพประจำตำบล
๔ รางวัลผู้บรหิ ารบุคคลแห่งการเรยี นรู้ระดับ ดเี ย่ยี ม สพป.อด.๒
ผ่านการพัฒนาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาดว้ ยระบบดิจิ
ทลั
๖. แหลง่ ขอ้ มูลหลกั ฐานเอกสารอ้างองิ ๓๐
ท่ี เอกสารหลักฐาน Qr code
๑ เกียรตบิ ตั รรางวัลผลงานและนทิ รรศการ ระดับดีเดน่ เวทีแลกเปลยี่ นเรยี นรู้
๒ เกียรตบิ ตั รรางวัลผลการประเมนิ สถานศกึ ษาท่ีมีคุณธรรมและความโปร่งใสใน
การดำเนนิ งาน ระดบั AA
๓ เกียรติบตั รรางวัลผา่ นการคดั เลอื กผลงานด้านนวัตกรรม โครงการ ๑
โรงเรยี น ๑ นวตั กรรม รร.คณุ ภาพประจำตำบล
๔ เกยี รตบิ ตั รรางวลั ผู้บรหิ ารบุคคลแห่งการเรียนรรู้ ะดบั ดีเย่ยี ม
ผา่ นการพฒั นาครูและบุคลากรทางการศึกษาด้วยระบบดิจิทัล
๗. การปฏบิ ัตทิ ี่เป็นแบบอยา่ งที่ดี (Best Practice) หรอื นวตั กรรม (Innovation) (ถ้าม)ี
วิจัยในชนั้ เรียน โดยจดั ทำโครงงานวทิ ยาศาสตรน์ ้อย เรอ่ื ง รูปทรงพศิ วง
โดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ๖ ขั้นตอน
มาตรฐานที่ ๓ การจัดประสบการณท์ เี่ น้นเด็กเป็นสำคญั
๑. ผลการประเมิน ระดบั คณุ ภาพ ยอดเย่ียม ประกอบดว้ ยผลการประเมนิ ๔ ข้อ ดังน้ี
๑.๑ จัดประสบการณ์ท่สี ง่ เสรมิ ใหเ้ ด็กมีพัฒนาการทกุ ด้านอย่างสมดุลเตม็ ศักยภาพ
๑) กระบวนการพัฒนา
โรงเรียนบ้านตมู ไดด้ ำเนนิ การพัฒนาโดยมีโครงการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาปฐมวยั
โครงการโรงเรียนสวยหอ้ งเรียนงาม มีการจดั บรรยากาศการเรียนรู้ทเี่ ออื้ ต่อการพัฒนาเด็ก ท้งั ๔
ดา้ นมีบรรยากาศเหมอื นอยู่บ้านให้เดก็ อบอนุ่ ผอ่ นคลาย โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์นอ้ ย มกี จิ กรรม ๒๐
กจิ กรรม ในกจิ กรรมท้งั ๒๐ กจิ กรรม เปน็ กิจกรรมทดลองวิทยาศาสตร์ทั้งหมด
จะเน้นเด็กเปน็ สำคญั เพราะใหเ้ ดก็ ไดท้ ำการทดลอง เดก็ ได้ปฏบิ ัตกิ จิ กรรมทุกคน
เกิดทักษะทางวทิ ยาศาสตรม์ ีการพัฒนาการคิดเป็นขน้ั ตอนและเป็นเหตุเป็นผล
๒) ผลการพฒั นา
จากกระบวนการพัฒนาของโรงเรียนบ้านตูม เพอื่ จดั ประสบการณ์ทีส่ ่งเสรมิ เดก็ มีพฒั นา
ทกุ ดา้ นอยา่ งสมดุลเตม็ ศกั ยภาพ ผลจากการดำเนนิ งานมี ดังน้ี เด็กทุกคนไดพ้ ัฒนาตนเองตามศักยภาพและความ
แตง่ ต่างของแตล่ ะบคุ คล
๓๑
๑.๒ สรา้ งโอกาสใหเ้ ด็กได้รบั ประสบการณ์ตรง เลน่ และปฏบิ ตั อิ ย่างมคี วามสุข
๑) กระบวนการพฒั นา
โรงเรยี นบา้ นตมู ไดด้ ำเนนิ การพฒั นาโดยใหเ้ ดก็ ได้ปฏบิ ตั ิโครงการบา้ นนกั วิทยาศาสตรน์ อ้ ย
โครงการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาปฐมวัย
โครงการโรงเรยี นสวยห้องเรยี นงามและมีสว่ นร่วมในการพฒั นารกั ษาสง่ิ แวดลอ้ ม ให้เด็กไดป้ ฏิบัตกิ ิจกรรมจรงิ
เรียนรกู้ ารปฏิบตั ติ นเพ่ือให้มีสขุ ภาวะท่ดี ี ให้เดก็ ได้เกดิ ความสขุ สนกุ สนานในการปฏิบตั ิกิจกรรม
เดก็ ไดล้ งมอื ปฏบิ ตั ดิ ้วยตนเอง
๒) ผลการพัฒนา
จากกระบวนการพัฒนาของโรงเรยี นบา้ นตูม เพื่อสรา้ งโอกาสให้เดก็ ได้รบั ประสบการณต์ รง
เลน่ และปฏบิ ัตอิ ย่างมีความสุข ผลจากการดำเนินการพฒั นา มีดังน้ี เดก็ แต่ละคนมีหน้าตายม้ิ แยม้ แจม่ ใส
สนุกสนาน อยากสนทนาโต้ตอบกับครู เพราะได้ลงมอื ทำลงและเข้าใจในกิจกรรมน้นั ๆ
๑.๓ จัดบรรยากาศทีเ่ อือ้ ตอ่ การเรียนรู้ ใช้ส่ือและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกบั วยั
๑) กระบวนการพฒั นา
โรงเรียนบ้านตูม ได้ดำเนินการพัฒนาโดยจดั ให้มีโครงการโรงเรียนสวย หอ้ งเรยี นงาม
ผ้เู รยี นมีคุณภาพ กิจกรรมปรับปรงุ ห้องเรยี น โดยมีวิธดี ำเนนิ การหรือปรบั ปรุงสภาพแวดล้อมให้ห้องเรยี นสวยงาม
จัดมุมประสบการณ์ต่าง ๆ ปลอดภยั เอ้ือตอ่ การเรียนการปฏบิ ตั ิกิจกรรมห้องเรยี นบรรยากาศนา่ เรยี น
มสี ื่อท่หี ลากหลาย
๒) ผลการพัฒนา
จากกระบวนการพฒั นาของโรงเรียนเพ่ือจดั บรรยากาศที่เอือ้ ต่อการเรยี นรู้
ใชส้ ื่อและเทคโนโลยีทเ่ี หมาะสมกับวยั ผลจากการดำเนนิ การพฒั นา มีดงั น้ี หอ้ งเรียนเปน็ ระเบยี บ นา่ เรียน
เดก็ อยากมาโร๑ง.เ๔รียนปทรำะใเหม๓เ้นิ ร๘พียนัฒรน้มู าคี กวาารมเสดุข็กตแาลมะสมภีคาวพามจปรลิงอดภยั ในการปฏิบตั กิ จิ กรรม
และนำผลการประเมนิ พัฒนาการเดก็ ไปปรับปรงุ การจัดประสบการณแ์ ละพฒั นาเดก็
๑) กระบวนการพฒั นา
โรงเรยี นบ้านตมู
ไดด้ ำเนนิ การพัฒนาครทู กุ คนไดจ้ ัดทำแผนการจดั ประสบการณ์และมีการวัดผลประเมินผล
และนเิ ทศตดิ ตามการสอนให้กับครู นอกจากน้ีมคี ู่มือ
ระเบยี บการวัดผลและประเมนิ ผลให้ครู/บุคลากรไดศ้ กึ ษาและใชค้ วบคู่กบั หลักสูตรสถานศึกษา
๒) ผลการพฒั นา
จากกระบวนการพัฒนาของโรงเรยี นเพ่อื ประเมนิ พฒั นาการเดก็ ตามสภาพจรงิ และนำผล
การประเมนิ พัฒนาการเดก็ ไปปรับปรุงการจดั ประสบการณ์และพฒั นาเดก็ ผลจากการดำเนนิ การพฒั นา
๓๒
มดี งั น้ี ทำใหค้ รูทราบว่าเด็กคนไหนอ่อนหรอื เด็กคนไหนพฒั นาเปน็ อยา่ งไร รู้จกั เดก็ ดขี ้ึนและนำเอาข้อบกพร่อง
ของเด็กไปทำการปรบั ปรุงพฒั นาต่อไปหรอื ทำเป็นงานวิจัยในชน้ั เรียนต่อไป
๒ จดุ เด่น มาตรฐานท่ี ๓
๑) เดก็ สามารถปฏิบัติกจิ กรรมกบั เพ่ือนได้ทุกคน
๒) เดก็ มีความกระตือรือรน้ ในการร่วมกจิ กรรมกบั เพอ่ื น
๓) เดก็ อยากปฏบิ ัตกิ ิจกรรมโดยไมเ่ บอ่ื
๔) เด็กอยากมาโรงเรียนทุกวัน
๓.จุดทคี่ วรปรบั ปรงุ มาตรฐานที่ ๒
๑) ครู/บุคลากร ควรได้พฒั นาไปตลอดเพื่อให้มีความรูส้ ามารถใช้สอ่ื เทคโนโลยีในระดับสูงขน้ึ ไป
๔ แนวทางการพัฒนาให้ได้ระดับคุณภาพทส่ี งู ขึ้น
โรงเรยี นบา้ นตูม ไดม้ ีแนวทางในการพฒั นามาตรฐานท่ี ๓
ให้ไดร้ ะดับคณุ ภาพที่สงู ขน้ึ โดยกำหนดโครงการและกจิ กรรม ดงั ตอ่ ไปนี้
๑. โครงการบ้านนกั วทิ ยาศาสตร์น้อยประเทศไทย กจิ กรรม ๒๐ กิจกรรม
๒. โครงการ/กิจกรรม Active Leaning กิจกรรมแลกเปลย่ี นเรยี นรใู้ นรูปแบบต่าง ๆ
ตามความเหมาะสมของแต่ละชนั้ เรยี น
๕. ผลสัมฤทธ์ทิ ่เี กดิ ขึน้ กับครูผู้สอน และรางวลั ท่ีได้รบั
ที่ ชอ่ื รางวลั หนว่ ยงานทีม่ อ ปีทไ่ี ดร้ ับ
๒๕๖๔
บ
๑ ๑) ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาดเี ด่น ประเภทครูผ้สู อนดเี ดน่ กลุม่ เครือขา่ ย
ระดับปฐมวัย เน่ืองในโอกาสวนั ครู ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๕ เมอื งกมุ ภวาปี
( ชน้ั อนบุ าล ๑)
๒ ๑) ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาดเี ดน่ ประเภทครผู สู้ อนดเี ด่น กลมุ่ เครอื ขา่ ย ๒๕๖๔
ระดับปฐมวยั เน่อื งในโอกาสวันครู ประจำปพี ุทธศักราช ๒๕๖๕ เมอื งกุมภวาปี
( ชนั้ อนบุ าล ๒)
๓ ๑) ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาดีเดน่ ประเภทครูผสู้ อนดเี ด่น กลุม่ เครือข่าย ๒๕๖๔
ระดบั ปฐมวยั เนอื่ งในโอกาสวันครู ประจำปพี ุทธศักราช ๒๕๖๕ เมืองกมุ ภวาปี
( ช้ันอนุบาล ๓)
๖. แหล่งขอ้ มูลหลกั ฐานเอกสารอ้างอิง ๓๓
Qr code
ท่ี เอกสารหลักฐาน
๑ ๑) ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาดีเด่น ประเภทครูผูส้ อนดีเดน่ ระดบั
ปฐมวยั เนอื่ งในโอกาสวันครู ประจำปีพุทธศกั ราช ๒๕๖๕ ( ช้นั อนุบาล ๑)
๒ ๑) ครูและบคุ ลากรทางการศึกษาดเี ด่น ประเภทครผู ้สู อนดีเด่น ระดับ
ปฐมวยั เน่อื งในโอกาสวันครู ประจำปพี ุทธศกั ราช ๒๕๖๕ (ชนั้ อนุบาล ๒)
๓ ๑) ครูและบุคลากรทางการศกึ ษาดเี ดน่ ประเภทครูผู้สอนดีเดน่ ระดบั
ปฐมวัย เนอ่ื งในโอกาสวนั ครู ประจำปพี ทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕ (ชน้ั อนุบาล ๓)
๗. การปฏบิ ตั ทิ เ่ี ปน็ แบบอยา่ งท่ดี ี (Best Practice) หรอื นวัตกรรม (Innovation) (ถ้าม)ี
โรงเรียนบ้านตูมมแี นวทางในการพฒั นา มาตรฐานที่ ๒
ใหไ้ ด้ระดบั คณุ ภาพที่สงู ขน้ึ โดยกำหนดโครงการและกิจกรรม ดงั ต่อไปนี้
๑. โครงการประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษา
๒. โครงการ/กิจกรรม นิเทศ กำกบั ติดตามภายใน
๓. โครงการ/กิจกรรม อบรมสมั มนาศึกษาดูงาน
๔. กิจกรรมส่งเสริมและพฒั นาครสู ่มู อื อาชีพ
ระดับการศึกษาขนั้ พื้นฐาน
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพผ้เู รียน
๑.๑ ผลการประเมิน ระดบั คณุ ภาพ ดเี ลศิ
๑.๒ กระบวนการพัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี น
๑.๒.๑ ด้านผลสมั ฤทธ์ทิ างวิชาการของผูเ้ รียน
๑) ดา้ นความสามารถในการอา่ น การเขยี น การสื่อสารและการคดิ คำนวณ
โรงเรียนบา้ นตูม มกี ารจดั กิจกรรมการเรียนรู้ท่สี ง่ เสรมิ ให้ผูเ้ รียนมีนสิ ัยรักการอ่าน ตาม
นโยบายของเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๒ จุดเนน้ ที่ ๓ อ่านออก เขียนได้ คดิ เลขเปน็ เพิ่ม
ผลสัมฤทธิ์ โดยมีการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนโดนเน้นผเู้ รยี นเปน็ สำคญั ดังน้ี โรงเรยี นบ้านตมู มีการจดั
กจิ กรรมการเรยี นรทู้ ี่ส่งเสริมให้ผ้เู รียนมนี สิ ยั รกั การอ่าน ดว้ ยกระบวนการ (RTI) มีกระบวนการพฒั นาผู้เรียนซ่งึ มี
โครงการ ยกระดบั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น กิจกรรมสอนซ่อมเสริม ดำเนินกจิ กรรมในชั่วโมงสดุ ทา้ ยของวนั จนั ทร์
และวนั อังคาร จดั กิจกรรมชว่ ยเหลอื นักเรียนดา้ นการอ่านโดยใชก้ ระบวนการ RTI เสรมิ แรงนกั เรียนด้วย
๓๔
รางวัล โดยการสะสมแสตมปร์ ักการอา่ น นำไปแลกรางวัล ดำเนนิ การโดย ครปู ระจำชน้ั ป.๑- ป.๖ ดำเนิน
กิจกรรมส่งเสรมิ พฒั นา ดำเนนิ การโดยครปู ระจำชนั้ ป.๑-ป.๖ โครงการสง่ เสริมการอ่านและหอ้ งสมดุ มชี ีวิต จัด
กิจกรรมสง่ เสรมิ การอ่านให้นักเรียน/ครูไดใ้ ช้ห้องสมุดในการพัฒนาการอา่ น นำไปสู่การเรยี นรสู้ าระอื่น ดำเนนิ การ
โดยครปู ระจำชั้น ป.๑-ป.๖ โครงการสง่ เสริมการอ่าน และหอ้ งสมดุ มชี วี ิต จัดกจิ กรรมสง่ เสรมิ การอา่ นใหน้ กั เรียน/
ครู ได้ใชห้ ้องสมุดในการพฒั นาการอา่ น นำไปสกู่ ารเรียนรูส้ าระอื่น ๆ ดำเนินการโดยครูประจำชน้ั ป.๑-ป.๖
โครงการภาษาอังกฤษเพือ่ การสอื่ สารสู่การปฏิบัติกิจกรรมภาษาองั กฤษหนา้ เสาธง ดำเนนิ กิจกรรมโดยให้ นักเรียน
ชั้น ป.๑-ป.๖ จัดทำบัตรคำ/บตั รประโยคสนทนา นำเสนอหน้าเสาธงทุกวนั จนั ทรถ์ ึงวนั ศุกร์ ดำเนินการโดยครู
ประจำช้นั ป.๑-ป.๖ กิจกรรมปา้ ยสองภาษา จัดหา/จดั ทำ ป้ายคำศพั ทภ์ าษาองั กฤษพรอ้ มคำแปล ติดไว้ตาม
อาคารเรยี น เพอ่ื ให้นกั เรยี นได้ศึกษาเรยี นรู้ ดำเนินการโดยครูประจำชั้น ป.๑-ป.๖ หลังจากการดำเนินกจิ กรรม
ดังกล่าวเสรจ็ สิน้ แลว้ โรงเรยี นบ้านตูมได้มีการจัดประชุม นิเทศตมิ ตาม และการ PLC ของผ้บู รหิ าร คณะครู และ
ผปู้ กครอง เพ่อื หาแนวทางการแก้ไขและพัฒนาผู้เรยี นให้บรรลตุ ามความสามารถและศักยภาพแล้วผเู้ รียนแตล่ ะคน
๒) ดา้ นความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ยี น
ความคิดเหน็
กระบวนการพัฒนา
โรงเรียนได้ดำเนนิ การพฒั นาผู้เรยี น ส่งเสรมิ สนับสนนุ ให้ครูจดั กิจกรรมการเรียนการสอน
ด้วยเทคนิควธิ ีการสอนท่หี ลากหลาย กระตนุ้ ให้นกั เรียนได้ใช้กระบวนการในการคิดวเิ คราะห์ คิดอย่างมี
วิจารณญาณ อภปิ รายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นโดยใช้เหตุผลประกอบการตดั สนิ ใจและแก้ปญั หา รูจ้ ักวิธกี ารในการ
ปฏิบตั งิ านอยา่ งเป็นระบบ ส่งเสรมิ และสนบั สนุนใหน้ ักเรยี นเขา้ ร่วมกิจกรรมตา่ งๆอยา่ งต่อเนอื่ ง เชน่ กจิ กรรม โค้ด
ดง้ิ (Coding) กิจกรรมการเรียนการสอนแบบ Active Learning และกจิ กรรมเศรษฐกิจพอเพยี ง โรงเรียนบา้ นตูม
ไดด้ ำเนนิ การพฒั นากจิ กรรม ดังตอ่ ไปน้ี
กจิ กรรมท่ี ๑ กิจกรรม โค้ดด้งิ (Coding) วิธีดำเนนิ การ โรงเรียนบ้านตมู ได้จดั กจิ กรรมการ
เรยี นการสอนในรายวิชาวิทยาการคำนวณ โดยจะมกี ารสอดแทรกการเล่นเกมหรอื การจัดกจิ กรรมโค้ดด้งิ
(Coding) เขา้ ไปในรายวชิ าเพ่ือให้ผู้เรียนไดฝ้ ึกทักษะการทำงานอยา่ งมรี ะบบ มกี ารวเิ คราะห์ ช่วยกนั คดิ หาคำตอบ
และอภปิ รายแลกเปลีย่ นความคิดเห็นซง่ึ กนั และกัน
กจิ กรรมท่ี ๒ กิจกรรมการเรยี นการสอนแบบ Active Learning วิธดี ำเนินการ โรงเรยี น
บา้ นตูม ไดม้ อบหมายให้ครูประจำช้ันจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning โดยให้ผ้เู รยี นมีส่วนรว่ มและมี
ปฏิสัมพนั ธ์กับกิจกรรมการเรยี นรู้ผ่านการปฏบิ ตั ทิ ่ีหลากหลายรปู แบบเพอ่ื พัฒนาผเู้ รียนให้มีความสามารถในการ
คดิ วเิ คราะห์ คดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ อภิปรายแลกเปลยี่ นความคดิ เหน็ ระหว่างเพ่ือนรว่ มชน้ั เรียนและผสู้ อนกบั
ผู้เรียนได้
กจิ กรรมที่ ๓ กิจกรรมเศรษฐกิจพอเพยี ง วธิ ดี ำเนินการ โรงเรียนบา้ นตมู ไดม้ กี ารจดั
กจิ กรรมการทำนาขา้ ว การเพาะเห็ด การปลกู แคนตาลปู และการประดิษฐข์ องใชจ้ ากเศษวสั ดุ โดยได้มีการฝึกให้
นักเรียนได้มีสว่ นรว่ มในการทำกิจกรรมตา่ งๆทจี่ ดั ขึ้น ไดฝ้ กึ ทกั ษะการทำงานอยา่ งมรี ะบบ รอบคอบและไดน้ ำส่ิงท่ี
ไดเ้ รยี นรจู้ ากการปฏิบตั ิจริงไปใช้ในชวี ิตประจำวนั ได้
๓๕
ผลการพฒั นา
จากการดำเนินกจิ กรรม ทำให้ผู้เรยี นสามารถเรียนรู้และปฏิบตั ิงานโดยใชก้ ระบวนการได้
อยา่ งเหมาะสมตามเอกภาพของบุคคล สามารถคิดวเิ คราะห์ คดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ อภปิ รายแลกเปลยี่ นความ
คดิ เหน็ โดยใช้เหตุผลประกอบการตัดสนิ ใจ สามารถเลือกและประยกุ ตใ์ ช้ขอ้ มูลได้อย่างเหมาะสมในการปฏิบตั งิ าน
คาดการณ์ และกำหนดเป้าหมาย และปฏบิ ตั ิงานได้ อยา่ งเปน็ ระบบ
๓) ด้านความสามารถในการสร้างนวัตกรรม
โรงเรยี นบ้านตูม ได้ดำเนินการมีกระบวนการพฒั นาผ้เู รียนด้วยวธิ ีทห่ี ลากหลาย เช่น
กจิ กรรมการเรยี นร้วู ิชาวิทยาการคำนวณ การเรียนรู้ Coding การเรยี นรู้ดว้ ยโครงงาน ดำเนินกจิ กรรมโดยฝึกให้
นกั เรียนใชก้ ระบวนการกลุม่ ในการออกแบบผลงานช้ินงาน โดยครคู อยให้คำแนะนำ และนำผลงานแลกเปลีย่ น
เรียนรภู้ ายในช้นั เรียน และภายในโรงเรยี นดำเนนิ กจิ กรรมโดย ครชู ้ันป.๑-ป.๖
๔) ดา้ นความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ และการสอื่ สาร
โรงเรียนบ้านตูม มีกระบวนการพฒั นาผูเ้ รยี นดว้ ยวิธที ่ีหลากหลาย เชน่ โครงการ
Active learning กจิ กรรมการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรยี นร้ดู ้วยโครงงาน กจิ กรรมสง่ เสรมิ งาน
ประดษิ ฐ์ โดยครพู ฒั นาศักยภาพผ้เู รยี นในการใช้ส่ือ เทคโนโลยี ในการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน ส่งเสรมิ
สนบั สนุนให้นักเรยี น สืบคน้ ขอ้ มลู ทางอินเทอร์เน็ต สามารถใช้เทคโนโลยี ออกแบบชน้ิ งานประดิษฐท์ ั้งงานเดย่ี ว
และงานกลุ่ม ดำเนนิ การโดยครปู ระจำชน้ั ป.๑-ป.๖
๕) ด้านการมีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นตามหลักสูตรสถานศึกษา
โรงเรียนมีกระบวนการพฒั นาผู้เรียน เพอื่ ให้บรรลตุ ามเป้าหมายของหลกั สูตรสถานศึกษา
กำหนดใหค้ รูจัดทำแผนการจดั การเรยี นการสอน สง่ แผนการสอนให้ผู้บริหาร เพ่อื อนมุ ตั กิ ารใชแ้ ผนการจัดการ
เรยี นการสอน บนั ทึกหลงั แผน เพอ่ื นำมาปรับปรงุ การสอนในห้องเรียน จดั ใหม้ ีการและเปลี่ยนเรียนรเู้ พ่ือชว่ ยกนั
แกไ้ ขปญั หาการเรยี นรู้ของผู้เรียนในรปู แบบกระบวนการ PLC ปฏบิ ตั ิงานตามระบบประกันคณุ ภาพภายใน
สถานศึกษา จดั ใหม้ กี ารนเิ ทศชัน้ เรียน ผู้บรหิ ารมีการนิเทศการสอนของครู โดยจัดทำปฏทิ ินการนิเทศ ให้
คำแนะนำเพื่อให้ครจู ัดการเรยี นอยา่ งมีประสิทธภิ าพ ปฏบิ ัติงานตามระบบดูแลช่วยเหลอื นักเรียน จดั การเรียนการ
สอนตามกระบวนการ Active Learning โดยเนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคญั ดำเนินกิจกรรมโดยงานบริหารวชิ าการและครู
ประจำช้ัน ป๑-ป.๖ เพอื่ ใหน้ กั เรียนมผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นเปน็ ไปตามเป้าหมายของหลักสตู ร
๖) ด้านความรู้ ทักษะพนื้ ฐาน และเจตคตทิ ด่ี ีตอ่ งานอาชพี
โรงเรยี นมกี ระบวนการพฒั นาผู้เรียนดว้ ยวธิ ที ่หี ลากหลาย เช่น โครงการสถานศกึ ษาพอเพียง
เช่น การทำนา การเลย้ี งปลา การปลกู ผกั สวนครัว การผลติ ขา้ วกลอ้ ง ดำเนินกิจกรรมโดยงานบริหารท่ัวไป ครู
ประจำช้นั ป.๑-๖ โดยการให้นักเรียนไดล้ งมอื ปฏบิ ตั ิจริง
๑.๒.๒ คณุ ลกั ษณะท่พี ึงประสงค์
โรงเรียนบา้ นตูมได้กำหนดไดก้ ำหนดคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคข์ องผู้เรยี นไว้ 8 ประการ
ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2560) ได้กำหนดคุณลักษณะอัน
พงึ ประสงคข์ องผเู้ รียนไว้ 8 ประการ ดงั ตอ่ ไปนี้
๓๖
1. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์
2. ซือ่ สตั ยส์ ุจริต
3. มีวนิ ัย
4. ใฝ่เรียนรู้
5. อยู่อย่างพอเพียง
6. มุง่ มั่นในการทำงาน
7. รักความเปน็ ไทย
8. มจี ติ สาธารณะ
เพื่อปลกู ฝังและพฒั นาผู้เรียนให้เปน็ ผู้ท่ีมคี วามรู้คคู่ ุณธรรม มีคุณลกั ษณะทด่ี ีสำหรับการดำรงชวี ิตใน
สังคม ซ่งึ การประเมินคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์นนั้ ต้องใช้ข้อมูลจากการสังเกตพฤติกรรมตามสภาพจรงิ ตามบริบท
ของโรงเรียนบา้ นตูม เพ่อื นำมาประเมินและตดั สนิ โดยมีแนวทางในการดำเนินงานเป็นกระบวนการ ตามมาตรฐาน
ตามตัวช้วี ัดตามท่ีหลักสตู รโรงเรียนบา้ นตูม ดังน้ี
๑) การมีคณุ ลกั ษณะและค่านิยมท่ีดีตามที่สถานศึกษากำหนด
โรงเรยี นบ้านตมู มีกระบวนการพัฒนาผเู้ รยี น มีการดำเนินการเพอื่ พัฒนาทักษะชวี ติ ของผเู้ รยี น
เพ่อื ใหอ้ ยู่ในสงั คมไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข เน้นการพฒั นาด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ทเี่ หมาะสมกบั วยั ของผู้เรียน โดยมี
กระบวนการดงั ต่อไปนี้
๑.การวเิ คราะห์ข้อมลู เชิงคุณภาพ (SWOT) โดยนำข้อมูลท่ีสรุปผลของปที ่ีผ่านมา นำมาร่วมกันวิเคราะห์
จุดเดน่ จุดที่ควรพัฒนา
๒.ประชมุ วางแผน ศกึ ษาแนวทางการพฒั นาคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงคแ์ ละคา่ นิยมทีด่ ีตามหลกั สูตร
กำหนดโครงการ/กิจกรรมส่งเสริม สนบั สนุน
๓.นำแผนลงสกู่ ารปฏิบัติ โดยดำเนินกจิ กรรมในโครงการและกิจกรรมตา่ งๆดังตอ่ ไปนี้
การดำเนินงานตามนโยบาย จุดเนน้ ของเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษา 9 จดุ เน้น โดยดำเนินงานตามจุดเนน้ ท่ี 1
การน้อมนำพระบรมราโชบายและหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง จดุ เน้นที่ 3 อา่ นออกเขียนได้ คิดเลขเป็น เพม่ิ
ผลสมั ฤทธ์ิ จุดเนน้ ที่ 4 6 มิติคุณภาพส่กู ารปฏิบัติ และจดุ เนน้ ท่ี 5 ระบบดูแลช่วยเหลอื นกั เรยี น จุดเน้นที่ 7
การประกันคณุ ภาพการศกึ ษา กจิ กรรมการตรวจสอบประเมนิ ผลการดำเนินงาน จดุ เน้นที่ 8 เขตสุจรติ โรงเรยี น
สจุ ริต และดำเนนิ โครงการระบบดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียน ประกอบดว้ ยกจิ กรรมดังตอ่ ไปนี้ กิจกรรมเยยี่ มบา้ น
นกั เรียน กจิ กรรมทดสอบสมรรถภาพทางกาย โครงการอาหารกลางวัน อาหารเสรมิ นม โครงการส่งเสริม
คณุ ธรรม จรยิ ธรรมนักเรียนและค่านยิ มอันดี ประกอบด้วยกิจกรรมดังตอ่ ไปน้ี กจิ กรรมสภานกั เรยี น กิจกรรม
ไหวค้ รู กิจกรรมหน้าเสาธง กจิ กรรมสวดมนต์เย็น กจิ กรรมปลูกฝงั และพัฒนาคา่ นยิ มหลกั ๑๒ ประการ กจิ กรรม
โรงเรยี นวถิ ีพทุ ธ กจิ กรรมวนั สำคญั ของชาติ กจิ กรรมวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา กจิ กรรมโรงเรยี นปลอดขยะ
กจิ กรรมวนั ข้ึนปีใหม/่ วันเดก็ โรงเรียนวิถีพทุ ธ กจิ กรรมวันสำคญั ทางศาสนา โครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยา
เสพตดิ และอบายมขุ ประกอบดว้ ยกิจกรรมดังตอ่ ไปนี้ สถานศึกษาสีขาว โครงการสถานศึกษาเศรษฐกจิ พอเพียง
ประกอบด้วยกิจกรรมดังต่อไปนี้ การทำนา การเลย้ี งปลา การปลกู ผกั สวนครัวการผลิตข้าวกลอ้ ง การรณรงค์
ประหยัดน้ำ-ไฟ การออมทรัพย์ การบันทกึ ความดี
๓๗
๔. ประเมินผล สรุปรายงานผลการดำเนินกจิ กรรมตอ่ ผูบ้ ริหารเมอ่ื เสรจ็ สนิ้ แต่ละกิจกรรม
๕. รวมรวบขอ้ มูลสารสนเทศผลการดำเนนิ กิจกรรม มาหลอมรวมเพือ่ จัดทำรายงานโครงการเมอ่ื ส้ินสุด
โครงการ
๖. สรุปรายงานผลการพฒั นาคุณลกั ษณะและคา่ นิยมท่ีดีตามท่ีสถานศึกษากำหนดของผู้เรยี น
๒) ความภมู ิใจในท้องถนิ่ และความเปน็ ไทย
โรงเรียนได้จัดกระบวนการ จดั กิจกรรมส่งเสริมความภมู ใิ จในท้องถิ่นและความเป็นไทย โดย
มีกระบวนการดังนี้
๑.การวิเคราะหข์ อ้ มูลเชงิ คุณภาพ (SWOT) โดยนำข้อมูลมารว่ มกนั วเิ คราะห์ จุดเดน่ จดุ ท่ีควรพฒั นา
๒.ประชุมวางแผน กำหนดโครงการ/กิจกรรมส่งเสรมิ สนับสนนุ
๓.นำแผนลงสกู่ ารปฏิบตั ิ โรงเรียนจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน ส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นเห็นคุณคา่ ในภมู ิปัญญา
ท้องถิ่น เกิดความภมู ิใจในทอ้ งถ่ินและความเป็นไทยของตนเอง โดยกำหนดโครงการลกู เสอื เขม้ แข็ง (จติ อาสา)
กจิ กรรมสภานักเรียนเคารพธงชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์ นอ้ งไหวพ้ ี่ การแตง่ กายผ้าไทย โครงการสถานศึกษา
พอเพียง กิจกรรมการทำนา การเลีย้ งปลา การปลูกฝักสวนครวั การผลิตข้าวกล้อง โดยปราชญ์ชาวบ้านใหค้ วามรู้
เรื่องการทำนา เรม่ิ จากหว่านกล้า ถอนกล้า ปกั ดำ-เกี่ยวข้าว และนำขา้ วเปลอื ก สีเป็นขา้ วกล้อง นำไปให้
นกั เรยี นรับประทานในโครงการอาหารกลางวนั กจิ กรรมการปลูกเหด็ โดยวทิ ยากรในชมุ ชนใหค้ วามรู้เรอ่ื งการ
ปลกู เห็ด นักเรยี นสามารถนำความรไู้ ปพัฒนาต่อยอดเปน็ อาชีพในอนาคตได้
๔. ประเมินผล สรุปรายงานผลการดำเนนิ กิจกรรมต่อผู้บรหิ ารเมื่อเสร็จสนิ้ แต่ละกจิ กรรม
๓) การยอมรบั ทจ่ี ะอยู่รว่ มกันบนความแตกตา่ งและหลากหลาย
โรงเรียนไดจ้ ดั กระบวนการ จดั กจิ กรรมส่งเสรมิ การยอมรับทจ่ี ะอยูร่ ่วมกันบนความแตกต่างและ
หลากหลายโดยมีกระบวนการดังน้ี
๑.การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ (SWOT) โดยนำข้อมลู รว่ มกนั วิเคราะห์ จดุ เดน่ จุดที่ควรพฒั นา
๒.ประชมุ วางแผน กำหนดโครงการ/กิจกรรมส่งเสริม สนบั สนนุ
๓.นำแผนลงสูก่ ารปฏบิ ตั ิ โดยดำเนนิ กิจกรรมในโครงการและกิจกรรมตา่ งๆดงั ตอ่ ไปน้ี
โรงเรยี นบา้ นตมู ไดด้ ำเนินโครงการจดั การศกึ ษาสำหรบั นกั เรียนทีม่ คี วามตอ้ งการจำเปน็ พเิ ศษ
การคดั กรอง / จดั ทำแผนการจัดการศึกษาเฉาะบุคคล(IEP) /จดั ทำแผนการ จดั การเรียนร้เู ฉพาะบคุ คล (IIP)
จดั หาสือ่ บรกิ าร สง่ิ อำนวยความสะดวก (คูปองการศกึ ษา) การชว่ ยเหลือนักเรียนทม่ี ีปญั หาด้านการอา่ น
โครงการระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรียน กิจกรรมจัดหาทนุ การศกึ ษาปัจจยั พืน้ ฐานนกั เรียนยากจน กองทนุ เสมอ
ภาค เพ่ือให้นกั เรยี นมีคุณภาพชีวติ ทีด่ ีขึ้น และโรงเรยี นบา้ นตูมเป็นโรงเรยี นต้นแบบเรียนรวมของ สพฐ. ซ่ึง
โรงเรียนมกี ระบวนการคัดกรองนกั เรียน โดยครผู ่านการอบรมผู้คดั กรองคนพิการ ดำเนินการคดั กรองนกั เรียน มีท้ัง
นักเรียนพกิ ารรา่ งกาย นักเรยี นบกพรอ่ งทางการเรียนรู้ โดยครปู ระจำช้ัน ป.๑-ป.๖ คอยดแู ลและพัฒนานกั เรยี น
พเิ ศษเรยี นรวมใหส้ ามารถเรยี นรวมกบั นักเรยี นปกติโดยไมเ่ กิดปญั หา นกั เรยี นสามารถปรบั ตวั และเรียนรวมกนั ได้
อย่างมีความสขุ ตามศกั ยภาพของแต่ละคน นอกจากนยี้ งั มกี จิ กรรมสภานกั เรียน กิจกรรมส่งเสรมิ ระบอบ
ประชาธปิ ไตย ยอมรบั ความคิดเห็นที่แตกตา่ งโดยยดึ เอาประโยชนสุขของส่วนรวม
๔. ประเมินผล สรุปรายงานผลการดำเนนิ กิจกรรมต่อผูบ้ รหิ ารเมอ่ื เสร็จสิ้นแต่ละกจิ กรรม
๓๘
๔) สุขภาวะทางรา่ งกายและจิตใจ
โรงเรียนไดจ้ ัดกระบวนการ จดั กจิ กรรมส่งเสรมิ ความภมู ิใจในท้องถนิ่ และความเปน็ ไทย โดยมี
กระบวนการดงั น้ี
๑.การวิเคราะหข์ ้อมูลเชิงคุณภาพ (SWOT) โดยนำขอ้ มลู มาร่วมกันวเิ คราะห์ จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา
๒.ประชุมวางแผน กำหนดโครงการ/กจิ กรรมส่งเสริม สนับสนุน
๓.นำแผนลงสูก่ ารปฏบิ ตั ิ โรงเรียนบ้านตูมมกี ระบวนการพฒั นาผูเ้ รยี นโดย จัดทำโครงการอาหาร
กลางวนั และอาหารเสริม (นม) จัดอาหารทมี่ ีประโยชนต์ อ่ ร่างกาย มนี ำ้ ดมื่ ท่ีสะอาดผ่านการกรองจากเครือ่ งกรอง
ที่ไดร้ บั การสนบั สนนุ จากองคก์ รภายนอกซึ่งเปน็ ภาคีท่ีชว่ ยสนบั สนนุ มีการตรวจสอบซ่อมแซมทุกปีเพอื่ ความ
ปลอดภยั และเพยี งพอสำหรบั นักเรยี น จดั กจิ กรรมสง่ เสริมการเรยี นการสอนสุขศึกษาให้นกั เรยี นรจู้ กั ปฏบิ ัตติ นให้
มีสขุ ภาพทีด่ ี มสี อ่ื การเรยี นร้เู ทคโนโลยที ่นี ่าสนใจ เลือกอาหารท่มี ีประโยชน์ สง่ เสริมการออกกำลงั กาย และเพม่ิ
เวลารู้เรอ่ื งอาชีพ เช่น การทำนาจากแปลงนาสาธิต การผลิตขา้ วกล้อง การปลูกเหด็ โรงเรือน การปลกู ผักสวนครวั
ปลอดสารเคมี จัดกิจกรรมกีฬา นนั ทนาการและดนตรี สมาธิก่อนเรยี นเพอ่ื ใหน้ ักเรียนมีสขุ ภาพจิตท่ีดี
ประเมนิ ผล สรปุ รายงานผลการดำเนินกจิ กรรมต่อผูบ้ รหิ ารเมอื่ เสรจ็ ส้ินแต่ละกจิ กรรม
๑.๓ ผลการพัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี น
๑) ผลการพัฒนาผลสมั ฤทธิ์ทางวชิ าการของผูเ้ รียน
ผเู้ รยี นสามารถอา่ นออก เขยี นไดต้ ามมาตรฐานระดับชน้ั โดยสามารถเขียนคำ ประโยคสั้น ๆ
เขียนเรื่องจากภาพ เขียนเรยี งความ ยอ่ ความ จดหมายได้ รู้จกั วางแผน และ ทำงานร่วมกับผอู้ ่ืนได้ตามระบอบ
ประชาธปิ ไตย กลา้ แสดงออก เชน่ เปน็ ผู้นำและผู้ตามท่ีดีได้ กล้าแสดงออก เช่น การอ่านภาษาไทย ภาษาอังกฤษ
บทสนทนาภาษาองั กฤษ หน้าเสาธง การปฏิบัตหิ น้าที่ คณะกรรมการสภานักเรียน สามารถประชุมและแสดง
ความคิดเห็นทเ่ี ปน็ เหตุเป็นผลได้ การเปน็ ผู้นำสวดมนต์ ผ้นู ำการปฏิบตั กิ ิจกรรมต่างๆ นอกห้องเรยี น การสบื ค้น
ข้อมลู และแสวงหาความรจู้ ากส่อื เทคโนโลยดี ว้ ยตนเองอยา่ งมภี ูมิคุม้ กัน รวมท้ังวิเคราะห์ขอ้ มูลขา่ วสารวา่ ส่ิงไหนดี
หรือไม่ เหมาะสมหรอื ไม่เหมาะสม แสดงความคดิ เหน็ วิพากษว์ ิจารณ์ได้ นักเรียน โรงเรยี นบ้านตูมในระดบั ช้นั ป.
๑-๖ มีผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนอยู่ในระดบั ดี ขน้ึ ไป โดยมเี กรดเฉลยี่ ตัง้ แต่ ๓.๐๐ ขนึ้ ไป ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓
จำนวนนกั เรยี น ๗๔ คน คดิ เป็นร้อยละ ๘๓.๑๕ และ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ จำนวน ๘๗ คน คิดเป็นร้อยละ
๙๒.๕๕ ดังน้นั นกั เรียนโรงเรียนบ้านตมู มีผลสัมฤทธ์ิเพิม่ ข้ึนจากปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ คดิ เป็นร้อย ๙.๔๐
๒) ผลการพฒั นาคณุ ลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์
จากการดำเนินการพฒั นาคุณลักษณะทพี่ งึ ประสงคข์ องผ้เู รียน ทำให้ผเู้ รียนมีคุณลักษณะท่ีพงึ
ประสงค์ตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา รกั และภาคภูมิใจในความเป็นไทย การยอมรับทจ่ี ะอยู่ร่วมกนั บนความแตกตา่ ง
และหลากหลาย และสุขภาวะทางรา่ งกายและจิตใจ รู้และตระหนกั ถงึ โทษและพษิ ภัยของสิง่ เสพติดตา่ ง ๆ เลือก
รบั ประทานอาหารท่สี ะอาด และมีประโยชน์ รักการออกกำลังกาย นักเรยี นทุกคนสามารถเลน่ กฬี าได้อย่างน้อยคน
ละประเภท ยอมรับในกฎ กติกาของกลุ่ม ของสถานศกึ ษา ของสังคม มีทัศนคติทีด่ ตี อ่ อาชพี สุจริต รวมถงึ มีความ
เข้าใจเรอ่ื งความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคลและระหว่างวัย สง่ ผลใหผ้ ลการดำเนินการพัฒนาคุณลักษณะทพ่ี ึงประสงค์
๓๙
ของผู้เรยี นปีการศึกษา 2564 คา่ เฉลีย่ ร้อยละของนกั เรียนท่ผี ่านการประเมนิ คุณลักษณะทพี่ งึ ประสงค์รอ้ ยละ
93.61เม่ือเปรยี บเทียบกับปีการศกึ ษา 2563 มีผลการประเมนิ คณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงค์รอ้ ยละ 91.55
มีพัฒนาการ 2.06 ดังตารางต่อไปนี้
ผลการประเมินสมรรถนะสำคัญของนกั เรียน
ระดับโรงเรียน ปกี ารศึกษา 2563
โรงเรียนบา้ นตูม กล่มุ เครอื ขา่ ยเมอื งกุมภวา สำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต 2
จำนวน จำนวน/ร้อยละของนักเรยี นตามระดบั คุณภาพ
ระดบั ช้นั นักเรียน ดเี ยีย่ ม (คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค)์ ไม่ผ่าน
ทง้ั หมด ดี ผา่ น
จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ
ประถมศึกษาปที ี่ 1 11 10 90.90 1 9.10 - - - -
ประถมศึกษาปที ี่ 2 16 11 68.75 4 25 1 6.25 - -
ประถมศกึ ษาปีที่ 3 20 9 45 10 50 1 5 - -
ประถมศึกษาปที ่ี 4 11 4 40 3 30 3 30 1 10
ประถมศึกษาปีที่ 5 15 2 13.3 - - 13 86.7 - -
ประถมศึกษาปีท่ี 6 17 5 29.4 7 41.2 5 29.4 - -
มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1
มธั ยมศึกษาปที ่ี 2
มัธยมศึกษาปที ี่ 3
รวม 90 41 45.6 25 27.8 23 25.6 1 1.11
เฉล่ยี ร้อยละที่ผา่ นการประเมินร้อยละ 91.55
๔๐
ผลการประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงคข์ องนกั เรยี น ระดบั โรงเรยี น
ปีการศึกษา 2564
จำนวน/ร้อยละของนกั เรยี นตามระดับคณุ ภาพ
จำนวน (คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์)
ระดบั ชัน้ นักเรยี น ดีเย่ียม ดี ผ่าน ไมผ่ า่ น
จำนวน ร้อยละ
ทง้ั หมด จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ
--
ประถมศึกษาปีท่ี 1 17 13 76.47 4 23.53 - - --
--
ประถมศึกษาปีที่ 2 11 11 100 -- - - 1 1.06
ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 17 17 100 -- - - --
--
ประถมศึกษาปที ่ี 4 23 20 86.96 - - 2 8.69 --
--
ประถมศึกษาปที ่ี 5 10 7 70 3 1 1.06
ประถมศึกษาปีท่ี 6 16 11 68.75 2 12.50 3 18.75
มัธยมศึกษาปที ี่ 1 -- - -- - -
มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 - -- -- - -
มัธยมศึกษาปที ี่ 3 - -- -- - -
รวม 94 79 84.04 9 9.57 5 5.31
เฉลี่ยรอ้ ยละที่ผา่ นการประเมนิ ร้อยละ 93.61
๑.๔ จุดเดน่
๑) ดา้ นผลสัมฤทธ์ทิ างวิชาการของผู้เรยี น
นักเรียนมีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน ในปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ ระดับชนั้ ป.๑-ป.๖ มคี ่าคะแนน
เฉลย่ี ร้อยละ ๗๓.๐๔ อยใู่ นระดับ ดี นกั เรียนทุกคนสามารถมผี ลการเรียนในรายวิชาพื้นฐานในระดบั ๑ ข้นึ ไป
ทนุ คน นกั เรยี นช้ัน ป.๑ มีผลการสอบ RT คา่ เฉลี่ย ๒ สมรรถนะ รอ้ ยละ ๗๔.๕๗ นกั เรยี นช้นั ป. ๓ มีผลการ
สอบ NT เฉล่ยี ร้อยละ ๔๐.๖๘ นกั เรียนชน้ั ป.๖ มผี ลการสอบ O-NET เฉลีย่ ร้อยละ ๓๓.๒๕ มีนกั เรยี นทมี่ ผี ล
การเรียนเฉล่ยี สูงกวา่ ระดับประเทศ ในรายวิชาภาษาไทย ๔ คน รายวิชาภาษาอังกฤษ ๒ คน รายวิชา
คณิตศาสตร์ ๔ คน รายวิชาวิทยาศาสตร์ ๗ คน
๒) ด้านคุณลักษณะทพ่ี งึ ประสงคข์ องผเู้ รียน
ผู้เรยี นมรี ะเบยี บวนิ ยั จนเป็นเอกลักษณ์ของสถานศกึ ษา เปน็ ท่ียอมรับของชุมชนโดยรอบใน
เรอ่ื งความมวี นิ ัย เคารพกฎกติกา มารยาทของสงั คม ได้แก่ การเข้าคิวขึ้นรถโดยสารสาธารณะ ผู้เรียนเป็นคน
ซอื่ สตั ย์ สุจรติ เห็นได้จากผลการประเมนิ โรงเรียนสุจรติ นักเรยี นไม่มีพฤติกรรมการลักขโมยในหอ้ งเรียน ไม่
ลอกการบ้าน ไม่มพี ฤติกรรมการคน้ กระเป๋าครู มบี ันทกึ ความดที ีน่ กั เรียนเกบ็ เงินได้นำมาแจ้งครูผู้รับผิดชอบ ถ้า
ไมม่ ีเจ้าของมาแสดงตนขอรบั คนื โรงเรยี นก็จะนำมาใชใ้ นงานกิจกรรมพัฒนาคณุ ธรรมจรยิ ธรรม โรงเรยี นบ้านตูม