The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

service ถึงต.ค 64แก้ไข ล่าสุด (26 ต.ค. 2564) (ซ่อมแซม)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2021-10-28 04:37:40

service ถึงต.ค 64แก้ไข ล่าสุด (26 ต.ค. 2564) (ซ่อมแซม)

service ถึงต.ค 64แก้ไข ล่าสุด (26 ต.ค. 2564) (ซ่อมแซม)

การประเมินตนเอง

ขอ้ มลู หน่วยงาน
(Service Profile)

หน่วยงานเพชรรตั น์ 14 A
คณะแพทยศาสตรว์ ชิรพยาบาล มหาวิทยาลยั นวมินทราธิราช

ช่ือหน่วยงาน 2
หวั หน้าหน่วยงาน
ข้อมลู หน่วยงาน (Service Profile)
วนั ท่ีบนั ทึก
เพชรรตั น์ 14 A
...นางสาวเฉลิมวรรณ นิภา....................... โทรศพั ท์ .........3504-5....
1 ตลุ าคม พ.ศ. 2564

วตั ถปุ ระสงคข์ องเอกสารชดุ นี้ Purpose Process Performance
Improvement
1. เพ่อื ส่อื สาร เชอ่ื มโยงทศิ ทางขององคก์ ร
2. เพอ่ื ทาความเขา้ ใจมาตรฐาน HA อย่างเชอ่ื มโยง
3. เพ่อื สรุปบทบาท ความกา้ วหนา้ และผลงานของทมี

ก.การเช่ือมโยงกบั ทิศทางองคก์ ร
1. ทิศทางองคก์ ร HA I-1.1ก(1)

วิสยั ทศั น์ “สถาบนั แพทยศาสตรท์ ่ีทรงคณุ คา่ ผนู้ ําดา้ นเวชศาสตรเ์ ขตเมือง”
(ทรงคณุ ค่า : ร้จู กั ยอมรบั ยกยอ่ ง)

พนั ธกิจ 1. ผลติ บณั ฑติ แพทย์ แพทยผ์ เู้ ชย่ี วชาญและบคุ ลากรดา้ นสขุ ภาพ
2. จดั บรกิ ารดา้ นการแพทยแ์ ละสุขภาพ
3. สรา้ งองคค์ วามรวู้ จิ ยั และนวตั กรรม ทม่ี คี ณุ ภาพสงู ไดม้ าตรฐานสากล ดว้ ยเทคโนโลยี
ยุคดจิ ทิ ลั เพอ่ื ตอบสนองต่อความตอ้ งการของกรุงเทพมหานครและประเทศ

เวชศาสตรเ์ ขตเมอื ง หมายถงึ ศาสตรว์ ่าดว้ ยการจดั การปัญหาสุขภาพที่เป็นปัญหาเฉพาะ
และมคี วามโดดเด่นที่เกิดข้นึ ในเมืองควบคไู่ ปกบั สภาพทางสงั คมในบริบทของเมอื งที่ได้รบั
ผลกระทบโดยตรงจากลกั ษณะเฉพาะของเมอื ง โดยให้ความสาํ คญั กบั องคป์ ระกอบทาง
สงั คมที่เก่ียวขอ้ งกบั สุขภาพควบค่ไู ปกบั การดแู ลรกั ษาสขุ ภาพประชาชน ทงั้ ในระดบั ปฐมภมู ิ
ทุติยภมู ิ และตติยภมู ิ (สภาวะสขุ ภาพ โรคทวั่ ไปที่มปี จั จยั จากเขตเมืองมาสง่ ผลกระทบให้
โรคนนั้ มคี วามรนุ แรงมากขึ้น)

คณะแพทยศาสตร์วชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธิราช

3

2. การปฏิบตั ิ/ กิจกรรม ท่ีสาํ คญั ท่ีสอดคล้องกบั ยุทธศาสตรข์ ององคก์ ร (ถ้ามี) HA I-2.2ก(2)(5)

ยุทธศาสตร์ การปฏิบตั ิ/ กิจกรรม ท่ีสาํ คญั ตวั ชี้วดั ความสาํ เรจ็

1.H : Health care Excellence - ปฏบิ ตั ติ ามแนวทางการเฝ้าระวงั ภาวะ 1.อุบตั กิ ารณ์การเกดิ ภาวะ

การบรกิ ารเพอ่ื ความเป็นเลศิ hypoglycemia ในผปู้ ่วยโรคเบาหวาน hypoglycemia ในผปู้ ่วย

ทม่ี คี วามเสย่ี งสงู โรคเบาหวานทค่ี วามเสย่ี งสงู

(เป้าหมาย=0 ครงั้ )

- โครงการพฒั นากระบวนการวางแผน 2. ระยะเวลาในการรบั ใหมผ่ ปู้ ่วย

จาหน่าย (ใชแ้ นวคดิ DMS และ lean) เขา้ หอ้ งพเิ ศษ60นาที (85%)

3. อัตราการวางแผนจ าหน่ าย

(discharge plan)ผูป้ ่วยสามารถกลบั

-โครงการพฒั นาระบบการดแู ลผปู้ ่วยแบบ บา้ นก่อนเวลา 12.00 น.(  60%)
ประคบั ประคองและผปู้ ่วยระยะสุดทา้ ย 4. อตั ราการจดั การความปวดอย่าง

ตอ่ เน่อื งในผปู้ ่วยมะเรง็ (  80%)

5. อตั ราผปู้ ่วยทไ่ี ดร้ บั การดแู ลแบบ

ประคบั ประคองหรอื /ผปู้ ่วยระยะ

สดุ ทา้ ยไดร้ บั การจดั การความ

ปวดใหอ้ ยใู่ นระดบั ≤ 6 (  70%)

6. อตั ราความพงึ พอใจของ

- ญาตติ ่อการดูแลผปู้ ่วยแบบ
ประคบั ประคองหรอื /ผปู้ ่วย

ระยะสดุ ทา้ ย ( 80%)

7.อตั ราผปู้ ่วยระยะสดุ ทา้ ยไดก้ ลบั

บา้ นตามความตอ้ งการ (50%)

--โครงการวางแผนจาหน่ายผปู้ ่วยโรค 8.อตั ราการกลบั มารกั ษาซ้าภายใน
หลอดเลอื ดสมอง 28 วนั ในผปู้ ่วยstroke ≤ 1.5%
-โครงการ พฒั นาการดูแลผปู้ ่วยทเ่ี ขา้ รบั 9.อตั ราผปู้ ่วยมะเรง็ รายใหม่มี
ยาเคมบี าบดั ความรใู้ นการดแู ลตนเองและ
จดั การกบั อาการขา้ งเคยี งผา่ น

เกณฑ์ (รอ้ ยละ 80)

10. อตั ราผปู้ ่วยมะเรง็ รายใหม่ทไ่ี ด้

รบั ยาเคมบี าบดั สามารถเฝ้าระวงั

และจดั การกบั อาการขา้ งเคยี ง

ภายหลงั จาหน่าย( ≥ รอ้ ยละ 80)

คณะแพทยศาสตร์วชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธิราช

4

ยทุ ธศาสตร์ การปฏิบตั ิ/ กิจกรรม ท่ีสาํ คญั ตวั ชีว้ ดั ความสาํ เรจ็

2. E : Education Excellent -เขา้ รว่ มโครงการสมรรถนะหลกั เชงิ วชิ าชพี -จานวนงานวจิ ยั /นวตกรรม/โครงการ
การศกึ ษาท่ีเป็นเลิศ เรอ่ื งการพฒั นาผลลพั ธท์ างการพยาบาล พฒั นาคณุ ภาพดา้ นเวชศาสตรเ์ ขต

เมอื ง (≥1 เรอ่ื ง/ปี)

3.R : Research Excellence in - -

Medical Urbanology การวจิ ยั

ทเ่ี ป็นเลศิ ดา้ นเวชศาสตร์เขตเมอื ง

4.O : Organizational - มกี ารประเมนิ สมรรถนะบุคลากร - บุคลากรผ่านเกณฑก์ าร
ประเมนิ สมรรถนะ 100%
Strength : Security, Growth , specific functional competency

Sustainability องคก์ รเขม้ แขง็ 5 โรคหลกั ทพ่ี บบอ่ ยในหอผปู้ ่วย และ
ปลอดภยั และเติบโตอยา่ งย่งั ยืน ความเสย่ี งทเ่ี กดิ ขน้ึ ขณะปฏบิ ตั งิ าน

5.E:Engagementofcustomers - มกี ารประเมนิ ความพงึ พอใจของ - ความพงึ พอใจของผใู้ ชบ้ รกิ าร

ความผกู พนั ของลูกคา้ ผรู้ บั บรกิ ารทุกเดอื น ตอ่ บรกิ ารพยาบาล ≥85%

- rapid assessment ปัญหาและความตอ้ งการ - ขอ้ รอ้ งเรยี นดา้ นพฤตกิ รรม

ของผรู้ บั บรกิ ารโดยหวั หน้าหอผปู้ ่วยทุกวนั บรกิ าร = 0

6.S :SmartMedical Faculty - โครงการ “Vajira QR Code : นวตั กรรม - อตั ราความพงึ พอใจของ

คณะแพทยท์ ท่ี นั สมยั ในยุคดจิ ทิ ลั สรา้ งเสรมิ สุขภาพ” ผรู้ บั บรกิ ารต่อการใชน้ วตั กรรม

- สรา้ งส่อื การใหค้ วามรแู้ กผ่ ู้รบั บรกิ ารกลุ่ม (≥รอ้ ยละ 80)

โรคเรอ้ื รงั ในรปู แบบคลปิ วดี โิ อและ QR code

- ส่งบุคลากรอบรมแบบ online เกี่ยวกับ - อัตราบุคลากรพยาบาล

digital literacy การเปล่ียนผ่านสู่องค์กร ผ่านการอบรมและได้รับ

ดจิ ทิ ลั และความเขา้ ใจและการใชเ้ ทคโนโลยี ใบประกาศนยี บตั ร 100%

ดจิ ิทัลอย่างมีประสิทธิภาพสถาบันพฒั นา

บคุ ลากรภาครฐั ดา้ นดจิ ทิ ลั ( TDGA )

3. การใช้ประโยชน์จากค่านิยมหลกั ขององคก์ ร (ถา้ มี) HA I-1.1ก(1)

คา่ นิยมหลกั HA Core Values ตวั อย่างการตดั สินใจ/ การปฏิบตั ิเป็นปกติประจา

V : Visionary Visionary leadership - การพฒั นาศกั ยภาพของหอผปู้ ่วยเพ่อื รองรบั การ
มองการณ์ไกล มวี สิ ยั ทศั น์ ดแู ลผปู้ ่วยโรคเรอ้ื รงั
Patient & Customer
A : Altruism focus - การเขา้ ร่วมกจิ กรรม 5 ส.
มจี ติ สาธารณะ มนี ้าใจ มงุ่ ทา Value on staff - ใหค้ วามรว่ มมอื เขา้ ร่วมปฏบิ ตั งิ านหอผปู้ ่วยแยก
เพ่อื ประโยชน์ผอู้ น่ื โรค 1A เพอ่ื ร่วมดแู ลผปู้ ่วย COVID-19

คณะแพทยศาสตรว์ ชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธิราช

5

คา่ นิยมหลกั HA Core Values ตวั อย่างการตดั สินใจ/ การปฏิบตั ิเป็นปกติประจา
J : Justice
ยดึ ความถกู ตอ้ ง เป็นธรรม Ethic & Professional - อาสาสมคั รในการฉดี วคั ซนี ป้องกนั COVID-19
standard - ส่ง ICWN ไปชว่ ยปฏบิ ตั งิ านทง่ี านควบคมุ โรค
I : Integration ตดิ เชอ้ื ในช่วงการแพรร่ ะบาดของโควดิ -19
System perspective,
R : Responsibility Teamwork - ใหก้ ารดแู ลผปู้ ่วยแบบองคร์ วมดว้ ยหวั ใจความเป็น
มคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ หนา้ ท่ี มนุษย์ (holistic care)
หน่วยงาน และองคก์ ร Responsibility - ให้บริการผู้ป่ วยทุกรายอย่างเสมอภาคโดย
คานงึ ถงึ สทิ ธผิ ปู้ ่วย ยดึ ถอื คณุ ธรรม จรยิ ธรรมในการ
ประกอบวชิ าชพี เช่น การรกั ษาความลบั ผปู้ ่วย โดย
การขออนุญาตผปู้ ่วยก่อนใหก้ ารรกั ษาพยาบาล และ
มกี ารเซน็ ใบยนิ ยอมในการดแู ลลกั ษณะพเิ ศษตา่ ง ๆ
เช่น ยินยอม การปฏิเสธการรกั ษาท่ีเป็นไปเพียง
เพ่อื ยอ้ื ชวี ติ ออกไปโดยไม่เกดิ ประโยชน์
- ส่งเสรมิ ให้ผูป้ ่วยและครอบครวั ได้รบั ทราบสทิ ธใิ น
การรบั รู้ขอ้ มูลความเป็นจรงิ เก่ียวกบั ภาวะสุขภาพ
เช่น การให้ข้อมูลวางแผนการดูแลล่วงหน้าจน
นาไปส่กู ระบวนการตดั สนิ ใจในวาระสุดทา้ ย

- ประสานความรว่ มมอื ในการทางานรว่ มกบั ทมี สห
สาขาวชิ าชพี และรว่ มเป็นสว่ นหนง่ึ ของทมี นาทาง
คลนิ กิ ในการพฒั นาคุณภาพการใหบ้ รกิ าร เช่น
discharge Planning, การส่งตอ่ เพ่อื การดูแล
ต่อเน่อื ง และการดูแลผปู้ ่วยแบบประคบั ประคอง
- พฒั นาคุณภาพการดูแลเฉพาะโรคในรูปแบบของ
คณะกรรมการ DSC Pacemaker, DSC NSTEMI,
DSC DM เป็นตน้

- มี Service mind ใหบ้ รกิ ารดว้ ยความเตม็ ใจ
- บุคลากรปฏบิ ตั หิ น้าทต่ี า่ งๆ ตามทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย
และกจิ กรรมพฒั นาคุณภาพของหน่วยงาน เชน่

● การดแู ลผปู้ ่วย pneumonia, UTI ไมใ่ ห้ อาการ
ทรุดลงจนเขา้ สภู่ าวะ septic shock

● การดูแลผปู้ ่วยแบบประคบั ประคองในผปู้ ่วยระยะ
สุดทา้ ยส่งผลใหผ้ ปู้ ่วยตายอย่างสงบ

คณะแพทยศาสตรว์ ชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธิราช

6

คา่ นิยมหลกั HA Core Values ตวั อย่างการตดั สินใจ/ การปฏิบตั ิเป็นปกติประจา

A : Agility Agility, Learning - บคุ ลากรมกี ารเตรยี มความพรอ้ มรบั สถานการณ์
ฉุกเฉนิ อบุ ตั ภิ ยั หมู่ โรคอบุ ตั ใิ หม่ ( COVID-19)
มคี วามยดื หยนุ่ พรอ้ มเรยี นรู้ และการเปลย่ี นแปลงต่าง ๆ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ภายในองคก์ ร
- พรอ้ มดูแลผปู้ ่วยทส่ี งสยั ตดิ เชอ้ื รนุ แรง
พรอ้ มเปลย่ี นแปลงสสู่ ง่ิ ทด่ี กี วา่

4. การปฏิบตั ิ/ กิจกรรม ที่สาํ คญั ที่สอดคล้องกบั จุดเน้นขององคก์ ร (ถา้ ม)ี HA I-1.1ค(2) 1.10จุดเน้นของโรงพยาบาล

จุดเน้น การปฏิบตั ิ/ กิจกรรม ที่สาํ คญั ตวั ชี้วดั ผลลพั ธ์

1. Green : ประหยดั พลงั งาน - 5 ส. ในหน่วยงาน การจดั การขยะ - รอ้ ยละของคะแนนการประเมนิ

และสรา้ งสงิ่ แวดลอ้ มทด่ี ี ความสะอาด สง่ิ แวดลอ้ ม กจิ กรรม 5 ส. (≥ 90%)
- ลดปรมิ าณการใชก้ ระดาษ
- พฒั นานวตั กรรมการดแู ลผปู้ ่วยจาก - อตั ราความพงึ พอใจของผใู้ ช้
ขยะ recycle (Vajira hand lock : นวตั กรรม Vajira hand lock : ปลอก
ปลอกมอื กนั ดงึ ) มอื กนั ดงึ (≥ 80%)
- การดแู ลผปู้ ่วยแบบประคบั ประคอง - อตั ราผปู้ ่วยรายใหม่ทไ่ี ดร้ บั การ
ประเมนิ อาการโดยใชแ้ บบประเมนิ

ESAS (≥ 80%)

- อตั ราผปู้ ่วยทไ่ี ดร้ บั การดูแลแบบ

ประคบั ประคองหรอื ผปู้ ่วยระยะ

สดุ ทา้ ยไดร้ บั การจดั การความปวดให้

อยู่ในระดบั ≤ 6 (≥ 70%)

- อตั ราความพงึ พอใจของญาตติ อ่ การ

ดแู ลแบบประคบั ประคองหรอื ผปู้ ่วย

ระยะสุดทา้ ย (≥ 80%)

- อตั ราผปู้ ่วยระยะสุดทา้ ยไดก้ ลบั บา้ น

ตามทต่ี อ้ งการ (≥ 50%)

- อตั ราผู้ป่วยทม่ี คี ะแนน PPS ≤ 50 %

ไดร้ บั การพดู คยุ เพ่อื วางแผนการดแู ล

ล่วงหน้า (≥ 80%)

2. Lean : ปรบั ปรงุ ระบบ เพอ่ื - โครงการพฒั นากระบวนการวางแผน - อตั ราการวางแผนจาหน่าย

ลดการสญู เปลา่ (waste) เพม่ิ จาหน่าย (ใชแ้ นวคดิ DMS และ lean) (discharge plan) ผปู้ ่วยสามารถกลบั บา้ น

คณุ ค่าและประสทิ ธภิ าพ ก่อนเวลา 12.00น. (≥ 60%)

- ระยะเวลาในการรบั ใหม่ผปู้ ่วยเขา้

หอ้ งพเิ ศษ  60 นาที

คณะแพทยศาสตรว์ ชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธิราช

7

จุดเน้น การปฏิบตั ิ/ กิจกรรม ที่สาํ คญั ตวั ชีว้ ดั ผลลพั ธ์

- โครงการวางแผนจาหน่ายผปู้ ่วยโรค - รอ้ ยละการกลบั มารกั ษาซ้าภายใน

หลอดเลอื ดสมอง 28 วนั ในผปู้ ่วย stroke (1.5%)

3. Safety : ลดความเสย่ี ง - การนามาตรฐานสาคญั จาเป็นตอ่ - จานวนความคลาดเคลอ่ื นในการ

เพม่ิ ความปลอดภยั ในทุกจดุ ความปลอดภยั : Vajira 2P safety บรหิ ารยาทม่ี คี วามเสย่ี งสงู

ทุกขนั้ ตอน goal มาปรบั ใชอ้ ย่างเหมาะสมตาม - จานวนครงั้ การใหเ้ ลอื ดและ

บรบิ ทของหน่วยงาน สว่ นประกอบของเลอื ดผดิ พลาด

- จานวนการระบุตวั ผปู้ ่วยผดิ พลาด

- จานวนอบุ ตั กิ ารณท์ เ่ี กดิ ขน้ึ จากการ

ไมส่ ามารถประเมนิ ผปู้ ่วยกอ่ นเขา้ สู่

ภาวะวกิ ฤตผลกระทบั ระดบั ≥E

- อตั ราการตดิ เชอ้ื CAUTI

4. Smart digital : การมุง่ สู่ - โครงการ “Vajira QR Code : นวตั กรรม - อตั ราความพงึ พอใจของผรู้ บั บรกิ าร

การใหบ้ รกิ ารและบรหิ าร สรา้ งเสรมิ สุขภาพ” ตอ่ การใชน้ วตั กรรม

จดั การในยุคดจิ ทิ ลั - สร้างส่อื การให้ความรู้แก่ผู้รบั บริการ ( ≥ 80 %)

กลุม่ โรคเรอ้ื รงั ในรปู แบบคลปิ วดี โิ อ

- มีการประเมินความรู้บุคลากร specific

functional competency 5 โรคหลัก และ

เวชศาสตร์เขตเมือง โดยใช้Google Form

และ QR code

- ส่ือสารและบันทึกข้อมู ลท่ีส าคัญ

เรง่ ด่วน ทางโปรแกรม Line

ข.บริบท

5. ความมงุ่ หมายของหน่วยงาน (หน้าที่และเป้าหมายของหน่วยงาน)

ผปู้ ่วยอายรุ กรรมไดร้ บั การดูแลแบบองคร์ วมดว้ ยความรวดเรว็ ปลอดภยั ภายใตม้ าตรฐานวชิ าชพี โดย

คานึงถงึ สทิ ธผิ ปู้ ่วย มุ่งเน้นการสง่ เสรมิ สขุ ภาพ มกี ารจดั การความรู้สกู่ ารพฒั นาคณุ ภาพการดแู ลอย่างต่อเน่อื ง

6. ประเดน็ คณุ ภาพที่สาํ คญั (ท่ีเก่ียวกบั บริบทของหน่วย)

มิติคณุ ภาพ/ ประเดน็ คณุ ภาพ ตวั ชี้วดั การบรรลเุ ป้าหมาย
สาํ คญั ตามเป้าหมาย

1. การเขา้ ถงึ บรกิ าร - ระยะเวลาเขา้ รบั บรกิ าร - ระยะเวลาในการรบั ใหม่ผปู้ ่วยเขา้ หอ้ งพเิ ศษ

(Accessibility) ระยะเวลาการรอคอย  60 นาที (  85%)

- ผปู้ ่วยทม่ี ยี า stat order ไดร้ บั การตอบสนอง

ภายใน 30 นาที

คณะแพทยศาสตรว์ ชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธิราช

8

มิติคณุ ภาพ/ ประเดน็ คณุ ภาพ ตวั ชี้วดั การบรรลุเป้าหมาย
2. ความปลอดภยั สาํ คญั ตามเป้าหมาย

(Safety) - ลดภาวะแทรกซ้อนจาก - รอ้ ยละของผปู้ ่วย stroke ไดร้ บั การประเมนิ

3.ความเหมาะสม การดูแลโดยทีมสหสาขา การกลนื ภายใน 24 ชวั่ โมง (  100%)
( Appropriateness )
4.ประสทิ ธผิ ล(เป้า) วชิ าชพี - อุบัติการณ์การเกดิ ภาวะ hypoglycemia
(Effectiveness) ในผปู้ ่วยโรคเบาหวานทค่ี วามเสย่ี งสงู (0 ครงั้ )

5.ประสทิ ธภิ าพ (ตน้ ทนุ - อตั ราการเกดิ แผลกดทบั ระดบั 1-4
คมุ้ ทุน)(Efficiency)
( 5 ครงั้ ต่อ1,000 วนั นอนเสย่ี ง)
6.คนเป็นศนู ยก์ ลาง
(People-centered) -อตั ราการตดิ เชอ้ื VAP ( 6 ครงั้ ตอ่ 1,000 วนั ใส่)

- อตั ราการตดิ เชอ้ื CAUTI (  8 ครงั้ ตอ่ 1,000วนั ใส)่

- จานวนอบุ ตั กิ ารณ์การพลดั ตกหกลม้ /การตก

เตยี งระดบั ผลกระทบ  E (0 ครงั้ )

- อตั ราการเกดิ หลอดเลอื ดดาส่วนปลายอกั เสบระดบั

1 - 4 (  3% )

การวนิ จิ ฉยั และรกั ษาท่ี - จานวนความคลาดเคลอ่ื นในการบรหิ ารยาทม่ี ี

ถกู ตอ้ งเหมาะสม ความเสย่ี งสงู ระดบั ผลกระทบ A-E (0 ครงั้ )

ผลลพั ธก์ ารรกั ษาเป็นท่ี - อตั ราการจดั การความปวดอย่างตอ่ เน่อื งในผปู้ ่วย

ตอ้ งการของผปู้ ่วย มะเรง็ (  80%)

- อัตราการจัดการความปวดหลังการผ่าตัดใส่

อุปกรณ์ไฟฟ้ าหัวใจให้อยู่ในระดับปวดน้อย

(mild pain) ภายใน 24 ชวั่ โมง (90%)

- การใชท้ รพั ยากรคมุ้ ค่า - รอ้ ยละการกลบั เขา้ รกั ษาซา้ ภายใน ๒๘ วนั ใน

ทนั ตอ่ เวลา ลดระยะเวลาวนั ผปู้ ่วย stroke (  1.5%)

นอน ลดค่าใชจ้ า่ ย และไมม่ ี - LOS ของผปู้ ่วยโรคหลอดเลอื ดสมองตบี ( <10 วนั )

การกลบั มารกั ษาซา้ - รอ้ ยละการกลบั เขา้ รกั ษาซ้าภายใน ๒๘ วนั ดว้ ย

เร่อื ง การปฏบิ ตั ติ วั ไมถ่ ูกตอ้ งของผปู้ ่วย DM (  3 %)

- รอ้ ยละการกลบั เขา้ รกั ษาซ้าภายใน๒๘วนั ดว้ ยเร่อื ง

การปฏบิ ตั ติ วั ไม่ถูกตอ้ งของผปู้ ่วย CAD ( 3%)

- ความพรอ้ มของทมี ผดู้ ูแล - อตั ราความพงึ พอใจของผใู้ ชบ้ รกิ ารตอ่ บรกิ าร

และระบบการใหด้ แู ลทเ่ี ป็น พยาบาล ( 85%)
องคร์ วม
-อตั ราความพงึ พอใจของญาตติ ่อการดแู ลผปู้ ่วยแบบ

ประคบั ประคอง/ผปู้ ่วยระยะทา้ ย (  80%)

-อตั ราความพงึ พอใจของผปู้ ่วยและญาตทิ ่ไี ดร้ บั

การรกั ษาดว้ ยการใสอ่ ปุ กรณไ์ ฟฟ้าหวั ใจ (  80%)

คณะแพทยศาสตรว์ ชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธิราช

9

มิติคณุ ภาพ/ ประเดน็ คณุ ภาพ ตวั ชีว้ ดั การบรรลุเป้าหมาย
สาํ คญั ตามเป้าหมาย
- อตั ราผปู้ ่วยระยะสุดทา้ ยไดก้ ลบั บา้ นตามความ
7.รวดเรว็ (Timeliness) ความทนั การ (Timeless)
ตอ้ งการ ( 50%)
8.ความตอ่ เน่อื ง ไดร้ บั บรกิ ารอย่างตอ่ เน่อื ง -อตั ราผปู้ ่วยระยะสดุ ทา้ ย ในหอผปู้ ่วยไดร้ บั การดูแล
(Continuity) ประสานงานดี แบบประคบั ประคองเสยี ชวี ติ อย่างสงบโดยไมม่ กี าร
ชว่ ยฟ้ืนคนื ชพี โดยไมจ่ าเป็น (  80%)
9. สมรรถนะ มาตรฐานวชิ าชพี - จานวนขอ้ รอ้ งเรยี นเกยี่ วกบั การใหบ้ รกิ าร (0 ครงั้ )
(competency) - อตั ราผปู้ ่วยภาวะพษิ เหตุตดิ เชอ้ื (sepsis)ไดร้ บั
การสง่ ตรวจ hemoculture อย่างนอ้ ย 1
specimen, lactate และเรมิ่ ใหย้ าฆา่ เชอ้ื ภายใน
60 นาที หลงั ไดร้ บั การวนิ ิจฉยั (≥ 80%)
- อตั ราผปู้ ่วยทม่ี ยี า stat order ไดร้ บั การ
ตอบสนองภายใน 30 นาที (100%)
- อตั ราการสง่ ตอ่ ผปู้ ่วยแบบประคบั ประคอง/

ผปู้ ่วยระยะทา้ ยทไ่ี ดร้ บั การดแู ลตอ่ เน่อื ง ( 80%)
- อตั ราผปู้ ่วยทไ่ี ดร้ บั การดูแลแบบประคบั ประคอง/
ผปู้ ่วยระยะสุดทา้ ยไดร้ บั บรกิ ารเคร่อื งมอื ทาง

การแพทยท์ บ่ี า้ น ( 50%)
- อตั ราการ re-admission ภายใน 28 วนั จาก
การคาอุปกรณ์ ( 3%)
- อตั ราพยาบาลวชิ าชพี ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ

Specific competency ( 85%)

7. ขอบเขตบริการ (Scope of service) : ครอบคลมุ /ไมค่ รอบคลมุ / ลกั ษณะสาํ คญั ของผรู้ บั บริการ
(เขียนรวบประเดน็ สาํ คญั ของหน่วยงาน)

• ขอบเขตและภาระกจิ หลกั ทท่ี า
ใหก้ ารบรกิ ารรกั ษาพยาบาลทม่ี คี ณุ ภาพตามมาตรฐานวชิ าชพี ครอบคลุมทงั้ บรกิ าร ดา้ นการส่งเสรมิ สุขภาพ

การป้องกนั โรค การรกั ษาพยาบาล การฟ้ืนฟูสภาพอย่างเป็นองคร์ วม สนับสนุนการทางานแบบสหสาขาวชิ าชพี
และประสานความรว่ มมอื กบั หน่วยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ งในการใหบ้ รกิ ารสขุ ภาพแก่ผปู้ ่วยอายุตงั้ แต่ 15 ปีขน้ึ ไป ทางดา้ นอายุ
รกรรมทกุ ระบบทงั้ กลุม่ โรคเร้อื รงั และหายขาด รวมถงึ ผูป้ ่วยระยะสุดท้ายท่ตี ้องใชเ้ ครอ่ื งช่วยหายใจซ่งึ ญาติตอ้ งการ
ดูแลอยา่ งใกลช้ ดิ นอกจากน้ยี งั ใหบ้ รกิ ารดา้ นวชิ าการโดยเป็นสถานทฝ่ี ึกปฏบิ ตั แิ ก่แพทย์ตอ่ ยอดเฉพาะสาขาแพทย์
ประจาบา้ น นกั ศกึ ษาปรญิ ญาตรี นักศกึ ษาปรญิ ญาโท และนักศกึ ษาหลกั สตู รเฉพาะทางการดูแลแบบประคบั ประคอง

คณะแพทยศาสตรว์ ชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธิราช

10

8. ความต้องการของผ้รู บั บริการ/ ผ้รู บั ผลงานภายนอก (จาํ แนกตามกลมุ่ สาํ คญั )HA I-3.1,I-3.2ก(1)I-6ก

ลกั ษณะของผ้รู บั บริการ ความต้องการ การออกแบบ/ ปรบั ปรงุ
กระบวนการทาํ งาน

1. โรคมะเรง็ (cancer) - ไดร้ บั การรกั ษาจากแพทยท์ เ่ี ชย่ี วชาญ - ใหก้ ารดูแลผปู้ ่วยโดยแพทย์
ไดร้ บั ยาทต่ี รงกบั โรค ผเู้ ชย่ี วชาญ
- แพทย์ พยาบาลยม้ิ แยม้ พดู จาไพเราะ - ประสานความรว่ มมอื กบั
- อยากไดร้ บั การบรกิ ารทส่ี ะดวก รวดเรว็ ทมี สหสาขาวชิ าชพี
- ไดพ้ กั หอ้ งพเิ ศษทกุ ครงั้ ทม่ี านอน รพ. - การใหข้ อ้ มลู เพ่อื การดูแล
- ตอ้ งการคาแนะนา ความรเู้ ร่อื งปฏบิ ตั ติ วั ตนเองและการเสรมิ พลงั
ก่อนและหลงั ไดร้ บั ยาเคมบี าบดั - จองหอ้ งพเิ ศษลว่ งหน้า

2.ปอดอกั เสบ (pneumonia) - อยากทราบขอ้ มูลการเจบ็ ป่วย และ - วางแผนการจาหน่ายร่วมกนั

แนวทางการรกั ษา ในทมี สหสาขาวชิ าชพี

- ไดร้ บั การตรวจวนิ จิ ฉยั ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งรวดเรว็

3. ตดิ เชอ้ื ระบบทางเดนิ - ไดร้ บั ยาปฏชิ วี นะรวดเรว็ ไม่แพย้ า - มแี นวทางการป้องกนั การแพ้
ปัสสาวะ
- อยากไดร้ บั การรกั ษาจากแพทย์ พยาบาล ยาซา้ และผปู้ ่วยทม่ี ภี าวะsepsis

จะไดร้ บั ยาปฏชิ วี นะภายใน1ชม.

4. โรคหลอดเลอื ดหวั ใจตบี -ไดร้ บั การรกั ษาตามมาตรฐานจากแพทย์ - ดูแลผปู้ ่วยตามระบบ STEMI
(CAD)
ทช่ี านาญ สามารถกลบั บา้ น ไดเ้ รว็ fast tract
5.โรคหลอดเลอื ดสมอง
( stroke) - ไดร้ บั การตรวจวนิ จิ ฉยั ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งรวดเรว็ - มอบหมายงานระบบการดแู ล

- มคี วามรใู้ นการดูแลตนเองเมอ่ื แพทย์ เป็นรายบคุ คล (case method)

อนุญาตใหก้ ลบั บา้ น - นาแนวคดิ การจดั การตนเอง

- อยากไดร้ บั การรกั ษาอย่างรวดเรว็ มาใชใ้ นการพฒั นาศกั ยภาพการ

จดั การตนเองสาหรบั ผปู้ ่วย

- ตอ้ งการพบแพทยผ์ เู้ ชย่ี วชาญ - ไดร้ บั การดแู ลจากแพทย์

- อยากทราบเกย่ี วกบั แนวทางการรกั ษา ผเู้ ชย่ี วชาญ

ทจ่ี ะไดร้ บั ขณะนอนโรงพยาบาล - ดูแลผปู้ ่วยตามระบบ stroke

- ไดร้ บั การรกั ษารวดเรว็ ทนั ทว่ งที fast tract

- ไดร้ บั การทากายภาพบาบดั จนสามารถ - โครงการวางแผนจาหน่าย

ดูแลตนเองได้ ไม่มคี วามพกิ ารหลงเหลอื ผปู้ ่วยโรคหลอดเลอื ดสมอง

โดยใช้ D-METHOD-P

คณะแพทยศาสตรว์ ชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธิราช

11

ลกั ษณะของผรู้ บั บริการ ความต้องการ การออกแบบ/ ปรบั ปรงุ
กระบวนการทาํ งาน
กลมุ่ อายุสาํ คญั - ตอ้ งการหายจากโรค ไม่เป็นภาระ
• ผสู้ งู อายุ - ตอ้ งการผดู้ ูแล - ตอ้ งมญี าต/ิ ผดู้ ูแลตลอดเวลา
ขณะรบั ไวใ้ นโรงพยาบาล
อืน่ ๆ
• ผปู้ ่วยโรคเรอ้ื รงั ระยะ - ตอ้ งการการดแู ลแบบประคบั ประคอง - โครงการพฒั นาการดูแลผปู้ ่วย
สดุ ทา้ ย แบบประคบั ประคอง รว่ มกบั ทมี
จากศูนยว์ ชริ จติ ตาภบิ าล

9. ความต้องการของลูกคา้ ภายใน/ หน่วยงานท่ีต้องประสาน HA II-1.1ก(4)

ลกั ษณะของ ความต้องการ การออกแบบ/ ปรบั ปรงุ กระบวนการทาํ งาน
ผ้รู บั บริการ

หอ้ งยา -ใบสัง่ ยาท่ีเป็ น Doctor’s Order Sheet - แพทยเ์ ขยี นใบสงั่ ยาชดั เจน ใช้ ตวั ย่อเป็น

เขยี นสะกดใหถ้ ูกตอ้ งชดั เจน สากล ระบวุ นั ทใ่ี ช้ ช่อื ยาขนาด จานวน รปู แบบ

ตดิ สตก๊ิ เกอรช์ อ่ื -สกุลผปู้ ่วย HN, AN ใหถ้ ูกตอ้ ง

- แยกประเภทใบสงั่ ยาตามความ - กรณีเบกิ ยาด่วน แยกใบสงั่ ยาและเขยี นคาว่า

จาเป็นเรง่ ดว่ น “ดว่ น” ในใบสงั่ ยา

- หอผู้ป่ วยใช้กระสวยส่งเบิกยา - ตรวจสอบรายการยาทต่ี อ้ งการเบกิ ใหต้ รงกบั ท่ี

อยา่ งถูกตอ้ ง หอ้ งยาระบุไวก้ ่อนใชก้ ระสวยเบกิ ยา

-ต้องการใหห้ อผู้ป่วยทา Medication - กรณีตอ้ งการยมื ยาใหป้ ระสานงานและเขยี น

conciliation ใบยมื พรอ้ มแนบใบ Doctor’s order sheet

ทม่ี กี ารประทบั ตรา หกั ยาคนื พร้อมมใี บยมื

- แพทยท์ า Medication reconciliation ตงั้ แต่

แรกรบั ผปู้ ่วยทุกราย

- ตรวจสอบรายการยา HM ให้ - มกี ารตรวจสอบยา HMใหต้ รงกบั ยาปัจจบุ นั

ถกู ตอ้ งทุกครงั้ กอ่ นทาการสง่ เบกิ ทผ่ี ปู้ ่วยรบั ประทานก่อนทาการสง่ เบกิ และ

เขยี น off ในกรณีทต่ี อ้ งการหยดุ ยาทผ่ี ปู้ ่วย

รบั ประทานประจา

- กรณียา HM ยาฉดี ใหร้ ะบุสถานทฉ่ี ดี ทุกครงั้

หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร - เกบ็ สงิ่ สง่ ตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร - ปฏบิ ตั ติ ามคู่มอื การส่งตรวจทาง หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร

ถกู ตอ้ ง ถกู คน และส่งตรวจภายใน - บรรจุสง่ิ ส่งตรวจลงในกระสวยอยา่ งถกู ตอ้ ง

เวลาทก่ี าหนด ไม่หก เลอะเทอะ

- ในการเจาะเลอื ดสง่ ตรวจโดยเฉพาะ - มกี ารเขยี นระบุเวลาจรงิ ในการเจาะเลอื ด

คณะแพทยศาสตรว์ ชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธิราช

12

ลกั ษณะของ ความต้องการ การออกแบบ/ ปรบั ปรงุ กระบวนการทาํ งาน
ผรู้ บั บริการ
test glucose ใหบ้ นั ทกึ เวลาเวลาจรงิ ทุกครงั้ ในใบ Lab ทส่ี ง่ ตรวจหาระดบั glucose
ศูนยเ์ ปล (real time) ในมมุ ขวาของใบ Lab
โภชนาการ
- เตรยี มผปู้ ่วยใหพ้ รอ้ มกอ่ นการ - เตรยี มผปู้ ่วยและอุปกรณ์ พรอ้ มแฟ้ม

เคลอ่ื นยา้ ยผปู้ ่วย ประวตั ผิ ปู้ ่วย และช่วยเหลอื ขณะเคลอ่ื นยา้ ย

- ระบุรายละเอียดของอาหารท่ี - มกี ารบนั ทกึ รายละเอยี ดอาหารทต่ี อ้ งการเบกิ
ตอ้ งการเบกิ ใหค้ รบถว้ น ครบถว้ นในระบบ e-phis อาหารเชา้ อาหาร
- การเปล่ยี นรายการอาหารตาม กลางวนั และอาหารเยน็ กอ่ นเวลา 6.00 น.
เวลาทก่ี าหนด 10.00 น. และ 14.00 น.ตามลาดบั

10. การใช้เสียงของผรู้ บั บริการเพ่ือปรบั ปรงุ HA I-3.2ก(1), I-4ก(3)

ช่องทางการสื่อสารและรบั ฟัง ตวั อยา่ งการปรบั ปรงุ

คาํ ร้องเรียน

1. หอ้ งน้าพน้ื ไมส่ ะอาด และพบ 1. เสนอผบู้ รหิ ารเพอ่ื ปรบั ปรุงแกไ้ ข : การซอ่ มแซมพน้ึ ผนงั หอ้ งน้า

แมลงสาบในหอ้ งผปู้ ่วยจากแบบ 2. ดแู ลใหม้ กี ารกาจดั แมลงใหค้ รอบคลมุ พน้ื ทห่ี อผปู้ ่วย

สารวจความพงึ พอใจผปู้ ่วยใน 3. จดั หายาฉดี ฆ่าแมลง ฉดี พ่นหลงั การจาหน่ายผปู้ ่วย

4. เพม่ิ ระบบการตรวจสอบการดูแลความสะอาดหอ้ งน้าทกุ วนั และเพมิ่

ช่องทางการประเมนิ โดยผรู้ บั บรกิ ารในการรบั ขอ้ รอ้ งเรยี น ขอ้ เสนอแนะ

5. จดั หาอุปกรณส์ าหรบั ทาความสะอาดหอ้ งน้าเพม่ิ เตมิ เชน่ แปรง

สาหรบั ขดั รอ่ งยาแนว

2. มเี สยี งรบกวนขณะเจา้ หนา้ ท่ี 1. แจง้ ปัญหากบั เจา้ หนา้ ทป่ี ระจาตกึ เพอ่ื ปรบั เปลย่ี นเวลาการเกบ็ ผา้

เขา้ ไปเกบ็ ผา้ เป้ือนภายในหอ้ ง 2. ปรบั เปลย่ี นเวลาเกบ็ ผา้ จากช่วงเวลา 05.00น. เป็นเวลา 10.00น.

ผปู้ ่วยชว่ งเวลา 05.00 น.

ขอ้ เสนอแนะ

1. ควรมบี รกิ าร WIFI - เสนอผบู้ รหิ ารโรงพยาบาลเพอ่ื พจิ ารณาดาเนนิ การ และขอ้ มูลเพอ่ื แจง้

2. ผรู้ บั บรกิ ารตอ้ งการทจ่ี อดรถ ผรู้ บั บรกิ าร

ขณะมาใชบ้ รกิ ารในเวลาราชการ

3. ควรปรบั ปรุงชนิดและรสชาด - ประสานงานกบั แผนกโภชนาการเพอ่ื ปรบั เปลย่ี นชนดิ ของอาหารให้

ของอาหารในมอ้ื เชา้ สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของผปู้ ่วยโดยไมข่ ดั ตอ่ แผนการรกั ษา เช่น

มอ้ื เชา้ ขอเป็น American breakfast แทนขา้ วตม้ หรอื โจ๊ก

อนื่ ๆ - -

คณะแพทยศาสตรว์ ชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธิราช

13

11. กระบวนการหลกั ที่สาํ คญั (เขียน Flow การทาํ งานท่ีสาํ คญั ๆ) HA I-6.1ก(1), 1.6ข(2)

ขนั้ ตอนกระบวนการ ขอ้ กาํ หนด การออกแบบ/ ปรบั ปรงุ วิธีการประเมิน

Access & Entry -ไดร้ บั บรกิ ารอยา่ งรวดเรว็ - รบั รายงานสภาพผปู้ ่วย - ระยะเวลาในการรบั ใหม่

โดยทมี ทม่ี ศี กั ยภาพตาม จากศูนยร์ บั จอง ER หรอื ผปู้ ่วยเขา้ หอ้ งพเิ ศษ

ลาดบั ความสาคญั เรง่ ด่วน หน่วยงานทส่ี ่งตอ่ ตามเกณฑ์  60 นาที ( 85%)

Assessment -ผปู้ ่วยไดร้ บั การประเมนิ -ระบบการบนั ทกึ เวชระเบยี น - จานวนอุบตั กิ ารณ์ท่ี

ครอบคลมุ องคร์ วมและ - แพทยต์ รวจรา่ งกาย เกดิ ขน้ึ จากการทไ่ี ม่

มกี ารประเมนิ ซ้าเม่อื มี - พยาบาลใช้ NEWS สามารถประเมนิ ผปู้ ่วย

อาการเปลย่ี นแปลง score ในการประเมนิ ก่อนเขา้ สภู่ าวะวกิ ฤต

เพ่อื เฝ้าระวงั ผปู้ ่วยก่อน

เขา้ ส่ภู าวะวกิ ฤต

- ซกั ประวตั ผิ ปู้ ่วยอยา่ ง

ครอบคลุม เช่น โรครว่ ม

ประวตั กิ ารแพย้ า แพ้

อาหาร

Investigation -การตรวจวนิ จิ ฉัยถูกตอ้ ง - การเตรยี มความพรอ้ ม - อุบตั กิ ารณค์ วาม

เหมาะสม ผปู้ ่วยตามแนวทาง ผดิ พลาดในการเตรยี ม

ปฏบิ ตั เิ พ่อื ป้องกนั ความ ผปู้ ่วยตรวจพเิ ศษ

ผดิ พลาดในขนั้ ตอนการ -อุบตั กิ ารณค์ วามผดิ พลาด

ตรวจวนิ ิจฉยั และการเฝ้า ในการสง่ ตรวจทาง

ระวงั ภาวะแทรกซอ้ น หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร

-การตดิ ตามผลการตรวจ - จานวนการระบตุ วั

ตา่ ง ๆ ผปู้ ่วยผดิ พลาด

Plan of care -แผนการดูแลรกั ษาครอบคลมุ - วางแผนการดูแลผปู้ ่วย - แ ผ น ก า ร ดู แ ล ไ ม่

ปัญหาความตอ้ งการผปู้ ่วย รว่ มกบั ทมี สหสาขาวชิ าชพี ครอบคลุมปัญหาความ

แบบองคร์ วม ตอ้ งการของผปู้ ่วย

Care of Patient - การรกั ษาทไ่ี ดม้ าตรฐาน การดูแลรกั ษาตาม - อบุ ตั กิ ารณ์การดูแลรกั ษา
Discharge รวดเรว็ และปลอดภยั แนวทาง Fast tract, ไมไ่ ดม้ าตรฐาน ล่าชา้ ไม่
ปลอดภยั
CPG, Care map
- อตั ราการวางแผนจาหน่าย
- จาหน่ายผปู้ ่วยไดต้ ามเวลา - ผปู้ ่วยทุกรายมกี าร ผู้ป่ วยสามารถกลบั บ้าน
ทก่ี าหนดและไมม่ กี ารกลบั มา วางแผนจาหน่ายโดยใช้ กอ่ นเวลา 12.00 น.
รกั ษาซ้าภายใน 28 วนั จาก แนวคดิ DMS - อตั ราการ Re-admission
การปฏบิ ตั ติ วั ไมถ่ กู ตอ้ ง

คณะแพทยศาสตร์วชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธิราช

ขนั้ ตอนกระบวนการ ขอ้ กาํ หนด 14

Continuity of care - ผปู้ ่วยกลุ่มเป้าหมาย การออกแบบ/ ปรบั ปรงุ วิธีการประเมิน
ไดร้ บั การตดิ ตามดูแล ภายใน 28 วันจากการ
ต่อเน่อื ง ปฏิบัติตัวไม่ถูกต้องใน
โร ค DM, CAD, stroke
และผปู้ ่วยคาอปุ กรณ์

- การประสานส่งตอ่ งาน - รายงานขอ้ มูลการตอบ
การดแู ลต่อเน่อื งเพอ่ื กลบั ภายหลงั การตดิ ตาม
ตดิ ตามเยย่ี มผปู้ ่วย เยย่ี มจากงานการดูแล
ภายหลงั การจาหน่าย ต่อเน่อื ง

12. ปริมาณงานท่ีสาํ คญั ปริมาณงาน

งานที่สาํ คญั 2561 2562 2563 2564

รบั ใหม่ 423 443 538 515
รบั ยา้ ย 180
จาหน่าย 84 88 146 525
ถงึ แก่กรรม 49
LOS (วนั ) 419 461 528 8.05
อตั ราการครองเตยี ง (%) 84.03
26 34 41

8.79 9.82 10.07

92,18 86.63 95.71

13. กลุ่มโรคหลกั / ที่พบบ่อย 5 อนั ดบั แรก/ หตั ถการที่สาํ คญั (เฉพาะหน่วยงานทางคลินิก)

กลมุ่ โรคหลกั / หตั ถการท่ีสาํ คญั 2561 ปริมาณงาน 2564
2562 2563

1. มะเรง็ 50 56 85 106

2. Stroke 48 44 38 33

3. Pneumonia 48 45 41 63

4. โรคหลอดเลอื ดหวั ใจ 48 20 39 36

5. UTI 28 26 42 47

หตั ถการที่สาํ คญั

1. EGD 12 16 15 18

2.Colonoscope 25 38 24 21

3. Lumbar puncture 8 9 5 16

4. CAG, PCI 2 2 13 11

คณะแพทยศาสตรว์ ชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธิราช

กลุ่มโรคหลกั / หตั ถการท่ีสาํ คญั 15 2564

5. Abdominal tapping ปริมาณงาน 17
6. TACE 2561 2562 2563 12
7. Pleural tapping 18 9 7 9
8. BM 6
546
677
11 1 2

14.ศกั ยภาพและข้อจาํ กดั (ทรพั ยากร:ผปู้ ฏิบตั ิงานเคร่อื งมือเทคโนโลยี สถานที่)เทียบกบั ภาระงานที่เกี่ยวขอ้ ง

ทรพั ยากร ศกั ยภาพ ข้อจาํ กดั

บคุ ลากร มที มี บุคลากรทม่ี คี วามรคู้ วามสามารถหลายระดบั - บุคลากรได้รบั การอบรมการดูแล

- staff attending 1 คน และอาจารย์แพทย์ ผู้ป่ วยท่ีได้รบั เคมีบาบัดยังไม่ครบ

ทป่ี รกึ ษาได้ 11 อนุสาขา ทกุ คน

- แพทยป์ ระจาบา้ นปีท่ี 1 จานวน 1 คน

- บุคลากรทางการพยาบาล 17 คน RN 11

คน TN 1 คน และ PN 5 คน

- พยาบาลจบหลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทาง

อายุรศาสตร์ 1คน การพยาบาลโรคหวั ใจหลอดเลอื ด

และทรวงอก 1คน และการพยาบาลผปู้ ่วยมะเรง็ 1 คน

-พยาบาลผา่ นการอบรมหลกั สตู รเคมบี าบดั 5คน

เครือ่ งมอื - มเี ครอ่ื ง defibrillator จานวน 1 เครอ่ื ง - Infusion pump ยังมีจานวนไม่เพียงพอ
เทคโนโลยี - มี Infusion pump 5 เครอ่ื ง
- มี computer 7 เคร่อื ง แก้ไขโดยยืมจากหน่วยงานขา้ งเคียง
สถานท่ี และศูนยเ์ ครอ่ื งมอื แพทย์

- หอผู้ป่ วยพิเศษเด่ียวรับผู้ป่ วยจานวน15 ห้อง -ผู้ป่ วยวิกฤตมีภาวะเส่ียงภายในห้อง

ดูแลรกั ษาพยาบาลผูป้ ่วยทป่ี ่วยดว้ ยโรคเรอ้ื รงั ทาง พิเศษ การดูแลและประเมินเพ่ือการ

อายุรกรรม โดยรบั ผู้ป่วยใหม่จากศูนยร์ บั จอง เฝ้าระวงั ค่อนข้างยาก การให้ความรู้แก่

ห้องอายุรกรรมพิเศษ (admission center) ผู้ป่ วยและญาติให้มีส่วนร่วมในการ

และรบั ย้ายผู้ป่ วยจากหอผู้ป่ วยสามญั กรณีท่ี เฝ้าระวงั อาการทส่ี าคญั ระยะเรม่ิ แรก

ผูป้ ่วยและญาติมคี วามต้องการและได้รบั ความเหน็ กรณีเกิดภาวะวิกฤตสามารถติดตาม

จากแพทยใ์ หส้ ามารถเขา้ พกั ในหอ้ งพเิ ศษได้ แพทย์ได้อย่างรวดเร็วเน่ืองจาก

มหี อ้ งพกั แพทยอ์ ยูใ่ กล้

- ผปู้ ่วยตดิ เชอ้ื ไมส่ ามารถอยูใ่ นหอ้ งแยกได้

คณะแพทยศาสตร์วชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธิราช

16

15. การสร้างเสริมสุขภาพ (เชอ่ื มโยงกบั ภาวะสุขภาพของการทางานทค่ี ดิ วา่ จะเกดิ ขน้ึ ) HA III-5
ในหน่วยงานมกี ารสรา้ งเสรมิ สุขภาพซึง่ ประกอบด้วย การส่งเสรมิ สขุ ภาพสาหรบั ผู้ป่วยหรอื ผูร้ บั บรกิ าร

บคุ ลากร และชุมชนดงั น้ี
กิจกรรมสรา้ งเสริมสุขภาพสาํ หรบั ผปู้ ่ วย / ชุมชน กจิ กรรมทจ่ี ดั ไดแ้ ก่
1) การจดั บอรด์ ใหค้ วามรูเ้ ก่ียวกบั โรคติดต่อและโรคเรอ้ื รงั ต่างๆ แผนการดูแลรกั ษา เช่น การปฏิบตั ิตวั

สาหรบั ผปู้ ่วยมะเรง็ ทไ่ี ดร้ บั การรกั ษาดว้ ยยาเคมบี าบดั ผปู้ ่วยเบาหวาน วณั โรค ความรทู้ วั่ ไปเกยี่ วกบั โรคตดิ ต่อทก่ี าลงั แพร่
ระบาด เชน่ COVID 19 ความรเู้ กยี่ วกบั การใชย้ า โภชนาการสาหรบั ผสู้ งู อายุ การดูแลเสน้ เลอื ด เป็นตน้

2) จดั กจิ กรรมรณรงคเ์ ร่อื งการล้างมอื เพ่อื กระตุ้นและส่งเสรมิ ให้บุคลากรผูป้ ่วยญาติผูป้ ่วย ประชาชนทส่ี นใจ เหน็
ความสาคญั ของการลา้ งมอื ป้องกนั การแพรก่ ระจายเชอ้ื โรค

3) โครงการ “วางแผนการจาหน่ายผู้ป่ วยโรคหลอดเลือดสมอง โดยใช้แนวคดิ “ D-METHOD–P ” ร่วมกับทีม
สหสาขาวชิ าชพี เพ่อื ให้ผู้ป่ วยและญาติไดร้ บั การเตรียมความพร้อมก่อนการจาหน่าย รวมถึงการติดตามต่อเน่ือง
ภายหลงั จาหน่าย เพ่อื ลดอตั ราการกลบั มารกั ษาซา้

4) โครงการ “การพัฒนาศักยภาพการจัดการดูแลตนเองสาหรบั ผู้ป่ วยโรคหลอดเลือดหัวใจ” เพ่ือให้ผู้ป่ วย
มคี วามรูเ้ กยี่ วกบั โรค ปัจจยั เสย่ี ง การรกั ษาทไ่ี ดร้ บั การเฝ้าระวงั และการจดั การเบ้อื งตน้ เกยี่ วกบั อาการผดิ ปกติ การส่อื สาร
ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพกบั บคุ ลากรทมี สุขภาพเม่อื ตอ้ งการความชว่ ยเหลอื รวมทงั้ ความสาคญั ของการมาตดิ ตามการรกั ษา
ตามนัด การจดั ทาแผน่ พบั เพอ่ื ใหค้ วามรู้ การรบั ปรกึ ษาปัญหาสขุ ภาพตลอด 24 ชวั่ โมง ภายหลงั การจาหน่าย

5) การดแู ลแบบองคร์ วมแนวพทุ ธ โดยเขา้ ร่วมกจิ กรรมการใหก้ ารปรกึ ษาแนวพุทธ โครงการ “คลนิ ิก-
ธรรมะรกั ษาใจ ” ทุกวนั พฤหสั เวลา 13.00-16.00 น.ให้คาปรกึ ษาแก่ผู้ป่ วย ผู้ดูแล และบุคลากรทงั้ รูปแบบการให้
คาปรกึ ษารายบคุ คล และกจิ กรรมกลุ่ม (self help group) โดยพระภกิ ษอุ าสากล่มุ “คลิ านธรรม”เป็นพระวทิ ยากรซงึ่
ปัจจุบนั ได้มกี ารเผยแพร่กจิ กรรมดงั กล่าวไปส่หู อผู้ป่วยต่างๆ ภายในโรงพยาบาล และองคก์ รภายนอก และ โครงการ
“ธรรมะสญั จร : บณิ ฑบาตรทุกข์” ทุกวนั พฤหสั เวลา 08.30-09.30 น. จดั ใหก้ จิ กรรมสวดมนต์ทาวตั รเชา้ ตกั บาตร ถวาย
สงั ฆทานร่วมกบั หอผู้ป่วยเพชรรตั น์14B สาหรบั ผู้ป่วยและญาตทิ ่ไี ม่สามารถไปร่วมกิจกรรมไดจ้ ะนิมนต์พระคุณเจา้
มาบณิ ฑบาตร ภายในหอ้ งพกั ผปู้ ่วยทุกรายทม่ี คี วามประสงคเ์ ขา้ รว่ มกจิ กรรม

จากการประเมนิ ผลหลงั ดาเนินโครงการพบว่า จานวนผปู้ ่วยและญาตทิ ่รี บั การใหก้ ารปรกึ ษา “คลนิ ิกธรรมะรกั ษาใจ”
จานวน 86ราย เจ็บป่วยดว้ ยโรคมะเรง็ และไม่ใช่มะเรง็ โดยเฉพาะผูป้ ่ วยระยะสุดท้ายท่ญี าติผู้ป่วยมคี วามประสงค์ ทางหอผู้ป่วย
จะติดต่อประสานกับกลุ่มพระอาสา “คิลานธรรม” มาร่วมกับทีมสุขภาพในการดูแลผู้ป่ วย ท่ีกาลังจะถึงแก่กรรม
ผลการประเมนิ อตั ราความพงึ พอใจโดยรวม ปีงบประมาณ 2561-2563 อยใู่ นระดบั มาก คดิ เป็น รอ้ ยละ 100, 99.79
และ 100 ตามลาดบั นอกจากน้ี ในปีงบประมาณ 2561-2563 การประเมินผลลัพธ์การทากิจกรรมโดยให้ใช้แบบ
ประเมนิ Edmonton Symptom Assessment System (ESAS) โดยเปรยี บเทยี บอาการก่อนและหลังการเขา้ ร่วม
กจิ กรรมพบวา่ ภายหลงั ไดร้ บั คาปรกึ ษา อาการแสดงทางดา้ นจติ ใจ ได้แก่ ความเครยี ด ความวติ กกงั วล ซมึ เศร้า
ลดลง รสู้ กึ สบายใจมากขน้ึ แตอ่ าการรบกวนดา้ นร่างกายนนั้ มกี ารเปลย่ี นแปลงในผปู้ ่วยบางราย เชน่ อาการคลน่ื ไส้
อาเจยี นลดลง รบั ประทานอาหารได้มากข้นึ พกั ผ่อนได้ดขี น้ึ และเม่อื ทดสอบโดยใชส้ ถติ ิ paired t-test พบว่า คะแนน
ประเมินอาการเฉลย่ี โดยรวมของผู้เขา้ ร่วมกิจกรรมภายหลังได้รบั คาปรกึ ษาลดลง 0.97 (S.D=.7, p<.05), 1.10
( S.D=.0.94, p<.05) และ 1.12 ( S.D=.0.826, p<.00) ตามล าดับโด ย เฉ พ าะผู้ป่ วย ม ะเร็ง รา ย ให ม่ ท่ี ต้อ งก า ร

คณะแพทยศาสตร์วชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธิราช

17

การเตรยี มพรอ้ มดา้ นจติ ใจก่อนรบั ทราบขา่ วรา้ ยเกย่ี วกบั การวนิ จิ ฉัยโรคและแผนการดูแลรกั ษา นอกจากน้สี าหรบั

ผู้ป่ วยระยะสุดท้ายถึงแก่กรรมอย่างสงบ ผูด้ ูแลไดร้ บั การเตรยี มความพรอ้ มก่อนการสูญเสยี ลดความเศร้าโศก

ปัจจบุ นั โครงการคลนิ ิกธรรมรกั ษาใจ ได้ขยายกจิ กรรมครอบคลุมหอผูป้ ่วยต่างๆ ภายในโรงพยาบาลท่ผี ู้ป่วยและ

ญาติต้องการคาปรึกษา และได้มีโอกาสแลกเปล่ียนเรียนรู้ ให้คาปรึกษาในการดาเนินโครงการ ดงั กล่าวแก่

โรงพยาบาลต่างๆ เช่น โรงพยาบาลเลศิ สิน โรงพยาบาลตากสิน ศูนย์การแพทย์ปัญญานันทภิกขุ สถาบันมะเร็ง

แหง่ ชาติ และโรงพยาบาลบาราศนราดูร

สาหรบั โครงการ “ธรรมะสัญจร : บิณฑบาตทุกข์” ผลการประเมนิ ความพึงพอใจโดยรวม ปีงบประมาณ

2561-2563 อยูใ่ นระดบั มาก คดิ เป็นรอ้ ยละ 95.89, 93.87 และ 94.02 ตามลาดบั (เป้าหมาย ≥ รอ้ ยละ 85)

การสร้างเสริมสุขภาพในสว่ นของบุคลากร

บุคลากรในหน่วยงานทุกคนจะไดร้ บั การตรวจสุขภาพประจาปี และแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ดงั น้ี

ลกั ษณะบคุ ลากร ภาวะสุขภาพ การสร้างเสริมภาวะสุขภาพ

1. บุคลากรท่ีมีภาวะเจ็บป่ วย - ป่วยดว้ ยโรคไทรอยด์ - รกั ษาโดยแพทย์ผู้เช่ยี วชาญเฉพาะทาง

จานวน 1 ราย (คดิ เป็น 5.88 %) อย่างต่อเน่ือง ด้วยการรบั ประทานยา กลนื แร่

และพกั ผ่อนอย่างเพยี งพอ

2. บุคลากรกลมุ่ เสย่ี ง - ไขมนั ในเลอื ดสงู อว้ นลงพงุ และ 1. รณรงค์การออกกาลังกาย การควบคุม
จานวน 3 ราย (คดิ เป็น 17.64 %)
คา่ BMI เกนิ ปกติ 2 ราย อาหารทม่ี ไี ขมนั สงู โดยไม่ใชย้ าลดไขมนั

- ถูกเขม็ ทมิ่ ตาขณะปฏบิ ตั งิ าน 2. ร า ย ง า น ให้ ห น่ ว ย ICท ร า บ แ ล ะ

ในตกึ ผปู้ ่วยนอก รบั ประทานยาต่อเน่ือง พรอ้ มกับติดตาม

ผลการตรวจเลอื ดเป็นระยะ

3. บคุ ลากรกล่มุ ทม่ี สี ขุ ภาพดี - ผลการตรวจสุขภาพร่างกาย 1. ส่งเสรมิ การป้องกันโรค กระตุ้นให้ฉีด

จานวน 13 ราย (คดิ เป็น 76.47 %) ปกติ วัคซีนป้ องกันไข้หวัดใหญ่ หัดเยอรมัน

คอตบี ไวรสั ตบั อกั เสบบี โดยมกี ารตดิ ตาม

ผลการตรวจเลอื ดทุกปี

2. การรณรงค์เร่อื งการฉีดวคั ซีนป้องกัน

โรค COVID -19 เพ่อื ลดความรุนแรงของ

อาการป่ วยและลดการเสยี ชีวติ โดยไดร้ บั

วคั ซนี จานวน 17 คน นอกจากน้ียงั มีการ

รณรงคเ์ ร่อื งการลา้ งมอื การสวมหน้ากาก

อนามยั ตามนโยบายของโรงพยาบาล และ

การเว้นระยะห่างโดยทาอุปกรณ์กนั้ ขณะ

รบั ประทานอาหาร เพ่ือการป้ องกันการ

แพรก่ ระจายเชอ้ื และสง่ เสรมิ สขุ อนามยั ทด่ี ี

คณะแพทยศาสตรว์ ชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธิราช

18

ค. กระบวนการพฒั นา
16.วตั ถปุ ระสงค์ ตวั ชี้วดั การพฒั นา HA I-4.1ค(1)

ประเดน็ คณุ ภาพ/ เป้าหมาย/ กิจกรรมพฒั นา ตวั ชี้วดั และผลลพั ธ์
ความท้าทาย วตั ถปุ ระสงค์
ที่สาํ คญั

1. ไม่เกดิ ภาวะ -ผปู้ ่วยกลมุ่ เสย่ี งไดร้ บั - รายละเอยี ดอยใู่ น 1) อบุ ตั กิ ารณ์การเกดิ ภาวะ
hypoglycemia ในผปู้ ่วย การประเมนิ และการเฝ้า ขอ้ ท่ี 20 ผลลพั ธก์ าร hypoglycemia ในผปู้ ่วย
โรคเบาหวานทม่ี ภี าวะเสย่ี ง ระวงั การเกดิ ภาวะ ตดิ ตาม ตวั ชี้วดั ที่ 1 โรคเบาหวานทค่ี วามเสย่ี งสงู
hypoglycemia = 20 ครงั้ (เป้าหมาย=0 ครงั้ )

2. พฒั นารปู แบบการ - พฒั นาศกั ยภาพ เสรมิ พลงั - รายละเอยี ดอยูใ่ น 2) รอ้ ยละการกลบั เขา้ รกั ษาซา้
วางแผนการจาหน่าย อานาจผปู้ ่วยและครอบครวั ขอ้ ท่ี 20 ผลลพั ธก์ าร ภายใน ๒๘ วนั ในผปู้ ่วย stroke
เพอ่ื สง่ เสรมิ การดูแล ใหม้ คี วามสามารถในการ ตดิ ตาม ตวั ชีว้ ดั ท่ี 2 = 0.08 % (เป้าหมาย  1.5%)
ตอ่ เน่อื ง ดูแลตนเอง

3. พฒั นาแนวทางการ - เพ่ือพัฒนาการวางแผน รายละเอยี ดอยู่ในขอ้ 3) อตั ราการวางแผนจาหน่าย
วางแผนการจาหน่าย จ าหน่ าย จัดการแก้ ไข ท่ี 20 ผลลพั ธก์ าร ผปู้ ่วยสามารถกลบั บา้ นก่อน
ปั ญ หาร่ วมกั นโดยที ม ตดิ ตามตวั ชีว้ ดั ที่ 3 เวลา 12.00 น. = 65.20 %
สหสาขาวชิ าชพี (เป้าหมาย ≥ 60%)

4. การดูแลแบบ เพ่อื ใหผ้ ูป้ ่ วย/ญาติ ได้รบั รายละเอยี ดอยใู่ นขอ้ 4) อตั ราการจดั การความปวด
ประคบั ประคองในผปู้ ่วย การตอบสนองความต้องการ ท่ี 20 ผลลพั ธก์ าร อย่างตอ่ เน่อื งในผปู้ ่วยมะเรง็
เรอ้ื รงั ระยะสุดทา้ ย การดแู ลแบบองคร์ วม ตดิ ตามตวั ชีว้ ดั ท่ี
= 95.24 (เป้าหมาย  80%)
4,5,6, และ 7 5) อตั ราผปู้ ่วยทม่ี คี ะแนน PPS
≤ 50 % ไดร้ บั การพดู คยุ เพอ่ื
วางแผนการดูแลล่วงหนา้

(เป้าหมาย  80%)
6) อตั ราความพงึ พอใจของญาตติ อ่
การดูแลผปู้ ่วยแบบประคบั ประคอง

= 96.08% (เป้าหมาย  80%)
7) อตั ราผปู้ ่วยระยะสดุ ทา้ ย ใน
หอผปู้ ่วยได้รบั การดูแลแบบ
ประคบั ประคองเสยี ชวี ติ อย่างสงบ
โดยไมม่ กี ารช่วยฟ้ืนคนื ชพี โดย ไม่

จาเป็น=100%(เป้าหมาย 80%)

คณะแพทยศาสตร์วชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธิราช

19

ประเดน็ คณุ ภาพ/ เป้าหมาย/ กิจกรรมพฒั นา ตวั ชี้วดั และผลลพั ธ์
ความท้าทาย วตั ถปุ ระสงค์
ที่สาํ คญั
-กระตนุ้ ใหบ้ ุคลากร รายละเอยี ดอยใู่ นขอ้ 8)อตั ราการตดิ เชอ้ื CAUT I
5. การป้องกนั และ ปฏบิ ตั ติ ามนโยบายทาง ท่ี 20 ผลลพั ธก์ าร = 5.26ครงั้ : 1,000วนั ใส่
ควบคุมการตดิ เชอ้ื คลนิ ิกเรอ่ื งการป้องกนั ตดิ ตามตวั ชีว้ ดั ที่ 8 (เป้าหมาย 8ครงั้ : 1,000 วนั ใส)่
CAUTI การตดิ เชอ้ื CAUTI

6. การเกดิ แผลกดทบั - เพ่อื ป้องกนั การเกดิ - รายละเอยี ดอย่ใู น 9) อตั ราการเกดิ แผลกดทบั ระดบั
ขณะอยใู่ นโรงพยาบาล แผลกดทบั ขณะอยใู่ น ขอ้ ท่ี 20 ผลลพั ธก์ าร 1 - 4 = 2.62 ครงั้ : 1,000 วนั นอน
โรงพยาบาล ตดิ ตามตวั ชีว้ ดั ที่9 เสย่ี ง (เป้าหมาย  5 ครงั้ :1,000
7. การเกดิ อบุ ตั เิ หตุ
พลดั ตกหกลม้ วนั นอนเสย่ี ง)

8. ความสมบรู ณ์ - เพอ่ื การป้องกนั - รายละเอยี ดอยู่ใน 10) จานวนอุบตั กิ ารณก์ ารพลดั
ของการบนั ทกึ ทาง
การพยาบาล อุบตั เิ หตพุ ลดั ตก หกลม้ ขอ้ ท่ี 20 ผลลพั ธก์ าร ตกหกลม้ / การตกเตยี ง = 0.33

ตดิ ตามตวั ชี้วดั ท่ี10 ครงั้ (เป้าหมาย = 0 ครงั้ )

-บนั ทกึ ทางการพยาบาล - รายละเอยี ดอยู่ใน 11) อตั ราความสมบรู ณข์ องการ

ถกู ตอ้ งครบถว้ นตาม ขอ้ ท่ี 20 ผลลพั ธก์ าร บนั ทกึ ทางการพยาบาล =

มาตรฐาน ตดิ ตามตวั ชี้วดั ที่11 76.88 % (เป้าหมาย  75%)

17. ความเสี่ยงที่สาํ คญั ของหน่วยงาน (1.8 ความทา้ ทายและความเสย่ี งทส่ี าคญั ) HA II-1.2ก (3)(4)

ลาํ ดบั ความเส่ียง มาตรการในการป้องกนั / การจดั การ(กรณีเกิดเหตุ)

ความเสี่ยงเฉพาะทางคลินิ ก

(Specific clinical risk)

1 การรวั่ ซมึ ของยาเคมบี าบดั 1. ให้ความรู้บุคลากรเก่ียวกับการดูแลผู้ป่ วยท่ีได้รบั ยาเคมีบาบัด
โดยมีการประสานกับเภสชั กรเกี่ยวกบั ข้อมูลการใช้ยา

2. เลือกหลอดเลือดดาท่ีมีขนาดใหญ่ ตรง และไม่อยู่ในตาแหน่งท่ีมี

การเคล่อื นไหวและใช้ Insyte ทม่ี ขี นาดเหมาะสมกบั ขนาดของหลอดเลอื ด

3. หลีกเล่ียงการให้ยาเคมีบาบัดทางหลอดเลือดดาเส้นเดียวกับ

ยาปฏชิ วี นะอน่ื ๆ

4. ใชว้ สั ดรุ องซบั เพ่อื ป้องกนั การรวั่ ซมึ ของยาเคมี

5. ส่งพยาบาลอบรมการดแู ลผปู้ ่วยทไ่ี ดร้ บั ยาเคมบี าบดั

2 ภาวะภูมไิ วเกนิ ในผปู้ ่วยมะเรง็ 1. เตรยี มความพรอ้ มกอ่ นใหย้ าเคมกี ลมุ่ high risk ไดแ้ ก่

ท่ี ไดร้ บั ยาเคมบี าบดั Paclitaxel, Docetaxel, Platinum compound, Etoposide

คณะแพทยศาสตร์วชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธิราช

20

ลาํ ดบั ความเส่ียง มาตรการในการป้องกนั / การจดั การ(กรณีเกิดเหต)ุ

(hypersensitivity 1.1 เตรยี ม hypersensitivity kit

reactions:HSRs) (อาการและ 1. 2 ประเมนิ ความเสย่ี ง ประวตั กิ ารแพย้ า การไดร้ บั ยาเคมคี รงั้ กอ่ น
1.3 ใหข้ อ้ มูลผปู้ ่วยและญาติ
อาการแสดงทพ่ี บบอ่ ย ไดแ้ ก่
แน่นหน้าอก หนา้ /คอ/อกแดง ผ่นื 2. การเฝ้าระวงั เพ่อื ป้องกนั HSRs
คนั ตามตวั ไอปวดหลงั และมไี ข)้ 2.1 ใหย้ า Pre-medication ตามชนดิ ของยา
2.2 ใช้ infusion pumpในการบรหิ ารยาทางหลอดเลอื ดดา

2.3 สงั เกตอาการอย่างใกลช้ ดิ

3. การจดั การอาการเม่อื ผปู้ ่วยมี HSRs

3.1 ประเมนิ อาการ และระดบั ความรุนแรง

3.2 หยุดการให้ยาทันที ปลด extension tube จาก Insyte

ใช้ syringe10 ml. ดูดยาและเลอื ดออกเทา่ ทจ่ี านวนปรากฏในเคร่อื ง

Infusion pump ให้ 0.9% NSS KVO ท่ีไม่มียาตกค้างอยู่ใน

Extension tube (อาการจะดขี น้ึ ใน 2-5 นาท)ี

3.3 วัด vital signs และ O2 sat ทุก 2 นาที 2 ครัง้ , ทุ ก 5 นาที

2 ครงั้ และ 15 นาที 2 ครงั้ , 30 นาที 2 ครงั้ และรายงานแพทย์

3 ภาวะการตดิ เชอ้ื 1. ปฏบิ ตั ิตามนโยบายทางคลนิ ิกเรอ่ื ง การป้องกนั การตดิ เชอ้ื

- การแพร่กระจายเช้ือด้ือยา ในโรงพยาบาลทพ่ี บบ่อย

MRSA, ESBL, CRAB, VRE 2. ปฏบิ ตั ติ ามวธิ ปี ฏบิ ตั งิ านเร่อื งวธิ กี ารป้องกนั การตดิ เชอ้ื ดอ้ื ยาและ

และ CRE แนวทางปฏบิ ตั เิ ม่อื พบเชอ้ื ดอ้ื ยา MRSA/ ESBL/CRAB/VREหรอื

CREโดยการแยกผปู้ ่วยและแขวนป้าย

3. รณรงคเ์ ร่อื ง การลา้ งมอื

4. ตดิ ตามประเมนิ ผลลพั ธภ์ าวะการตดิ เชอ้ื และทากจิ กรรม

ทบทวนขอ้ มูลการตดิ เชอ้ื ในหน่วยงานอยา่ งสมา่ เสมอ

5. รว่ มกจิ กรรมเพ่อื นเยย่ี มเพอ่ื น เพอ่ื กระตนุ้ การพฒั นาคณุ ภาพ

ในการป้องกนั และควบคมุ การตดิ เชอ้ื

4 เส่ียงต่อการติดเช้ือโคโรน่า 1. ปฏบิ ตั ติ ามแนวทางปฏบิ ตั ใิ นการเขา้ เยย่ี มผปู้ ่วยใหม่ สาหรบั ญาติ

ไวรสั 2019 (COVID-19) 1.1 งดเยย่ี มผปู้ ่วย และอนุญาตใหเ้ ฝ้าไขไ้ ด้ 1 คน

1.2 ผา่ นการวดั ไขท้ จ่ี ดุ คดั กรองของโรงพยาบาลทกุ ครงั้

1.3 ทาความสะอาดมอื ก่อนและหลงั เขา้ เยย่ี มผปู้ ่วย ณ จดุ บรกิ าร

ดา้ นหนา้ ทางเขา้ หอผปู้ ่วย

1.4 สวมหน้ากากอนามยั และเวน้ ระยะห่างทางสงั คม (social

distance) อยา่ งน้อย 1 เมตร

2. บุคลากรทางการแพทย์ สวมหน้ากากอนามยั face shield

คณะแพทยศาสตร์วชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธิราช

21

ลาํ ดบั ความเสี่ยง มาตรการในการป้องกนั / การจดั การ(กรณีเกิดเหต)ุ

และอปุ กรณ์ PPE ตามความเหมาะสม

3. ผปู้ ่วยและญาตติ อ้ งสวมหน้ากากอนามยั ตลอดเวลา

4. รณรงคเ์ ร่อื ง การลา้ งมอื และจดั เตรยี มเจลสาหรบั ลา้ งมอื

ภายในหอ้ งพกั ผปู้ ่วยเพอ่ื สะดวกตอ่ การเขา้ ถงึ

5. Swab เพอ่ื คดั กรอง COVID- 19 ก่อนการทาหตั ถการหรอื

การผา่ ตดั ตามแนวทางปฏบิ ตั ิ

5 5.1 โรคหลอดเลอื ดสมอง จดั ทาแนวทางในการเฝ้าระวงั การเกดิ ความเสย่ี งทางคลนิ กิ

(stroke) (clinical risk) กลมุ่ โรคทส่ี าคญั รว่ มกบั ทมี ผดู้ แู ล

5.1.1 airway obstruction 1. ประเมนิ ประสทิ ธภิ าพการไอและการขจดั เสมหะ

2. รกั ษาทางเดินหายใจของผู้ป่ วยให้โล่ง เพ่ือให้ผู้ป่ วยได้รบั

ออกซเิ จนเพยี งพอ

3. จดั ท่านอนตะแคงหนั หนา้ ไปดา้ นขา้ งเพ่อื ป้องกนั การสดู สาลกั

เสมหะหรอื น้าลายลงปอด

4. ตรวจดูหน้าท่ีของปอดโดยดูการหายใจทัง้ อัตราเร็วและ

ลกั ษณะการเคล่อื นไหวของทรวงอก ฟังเสยี งปอด

5. ประเมินและบันทึกสัญญาณชีพ และประเมินภาวะขาด

ออกซเิ จน เช่น cyanosis ระดบั ความรสู้ กึ ตวั กระสบั กระสา่ ย

5.1.2 aspirated pneumonia 1. ประเมนิ การกลนื โดยใชแ้ บบประเมนิ การกลนื กอ่ นใหอ้ าหาร
และน้าทุกชนดิ ทางปาก

2. ประเมนิ ผปู้ ่วยเพอ่ื ดอู าการแสดงของการสาลกั เช่น มไี ข้

หายใจลาบาก เสยี งครอก เสยี งวด๊ี (wheezing) ของการหายใจ ความ

ดนั ออกซเิ จนในเลอื ดแดง (PaO2)
3. ขณะรบั ประทานอาหารผปู้ ่วยควรอยูใ่ นทา่ นงั่ ตวั ตรง ลาตวั

และศรี ษะอยู่ในแนวกลางลาตวั กม้ หนา้ ลงคางชดิ อก

4. ลกั ษณะอาหารควรเป็นประเภทบด ปัน่ ขน้

5. safety feeding technique

6. oral care

5.2 กลุ่มโรคหวั ใจและหลอดเลอื ด

5.2.1 CHF 1. ลด physical activity นอนทา่ Semi fowler’s position
เพ่อื ลดปรมิ าณเลอื ดไหลกลบั เขา้ ส่หู วั ใจ

2. ดูแลใหอ้ อกซเิ จน หรอื ใชเ้ ครอ่ื งช่วยหายใจตามระดบั ความรุนแรง

3. แกไ้ ขป้องกนั การเกดิ ภาวะกลา้ มเน้อื หวั ใจตาย

4. ดูแลใหย้ าควบคมุ ภาวะหวั ใจลม้ เหลว ไดแ้ ก่ ยาขบั ปัสสาวะ

คณะแพทยศาสตร์วชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธิราช

22

ลาํ ดบั ความเสี่ยง มาตรการในการป้องกนั / การจดั การ(กรณีเกิดเหต)ุ

5.2.2 hypotension ยาเพมิ่ การทางานของหวั ใจ (inotropic) ยาขยายหลอดเลอื ด
(cardiogenic shock) 5. บนั ทกึ สญั ญาณชพี (vital signs)
6. จากดั เกลอื โซเดยี มไมเ่ กนิ 2 gm/dayหรอื 12meq/I (เกลอื แกง 6 gm)
7. บนั ทกึ ปรมิ าณสารน้าทร่ี า่ งกายไดร้ บั และขบั ออก
8. จากดั น้าเหลอื รอ้ ยละ50-80 ของ maintenance ตามความเหมาะสม
1. ดแู ลใหอ้ อกซเิ จน หรอื ใชเ้ คร่อื งช่วยหายใจตามความรนุ แรงของผปู้ ่วย
2. ดูแลใหผ้ ปู้ ่วยไดร้ บั สารน้าทางหลอดเลอื ดดา Isotonic อยา่ งเพยี งพอ
3. ดแู ลใหผ้ ปู้ ่วยไดร้ บั ยาเพม่ิ การทางานของหวั ใจ (inotropic)
ตามแผนการรกั ษา
4. ประเมนิ central venous pressure (CVP)

5.2.3 pulmonary edema 1. ชว่ ยการหายใจและให้ intermittent positive pressure
(Positive End Expiratory Pressure; PEEP 6-10 cmH2O)
5.2.4 arrhythmia 2. ใหย้ าขบั ปัสสาวะถา้ มภี าวะน้าเกนิ และยาขยายหลอดลมตาม
(PVC,VT,VF) ในระยะ 12-24 แผนการรกั ษา ในรายทม่ี หี ลอดลมตบี
ชม.แรก ของการเกดิ กลา้ มเน้อื 3. บนั ทกึ สญั ญาณชพี
หวั ใจตายเฉยี บพลนั 4. rotating tourniquet ดว้ ย cuff BP หรอื blood letting ในบางราย
เพ่อื เป็นการชว่ ยชวี ติ ในระยะเฉยี บพลนั
5.3 Septic shock 1. ดแู ลใหน้ อนพกั บนเตยี ง
2. ใหผ้ ปู้ ่วยไดร้ บั ออกซเิ จนตามแผนการรกั ษา
3. EKG monitoring
4.วดั vital signs อย่างน้อยทกุ 1ชม.และถขี่ น้ึ ตามอาการเปลย่ี นแปลง
5. เตรยี มความพรอ้ มเกยี่ วกบั อปุ กรณแ์ ละยาสาหรบั การแกไ้ ข
ภาวะหวั ใจเตน้ ผดิ จงั หวะ ไดแ้ ก่ Lidocain, cordarone,
defibrillator, temporary pacemaker
6. ดูแลผปู้ ่วยใหไ้ ดร้ บั ยา antiarrhythmic , anticoagulant เพอ่ื ป้องกนั
การเกดิ embolism และเฝ้าระวงั การเกดิ ภาวะเลอื ดออก
7. วางแผนจาหน่ายผปู้ ่วยทใ่ี ส่ pacemaker
1. ประเมนิ สภาพรา่ งกาย เชน่ ผวิ หนงั อณุ หภมู ริ ่างกาย capillary
refill ระดบั ความรสู้ กึ ตวั
2. ตรวจวดั สญั ญาณชพี เป็นระยะทุก 1-2 ชวั่ โมง ประเมนิ อาการ
ผดิ ปกติ จงั หวะการเตน้ และเสยี งหวั ใจ
3. Clear airway ชว่ ยแพทยใ์ นการใสท่ อ่ ช่วยหายใจ

คณะแพทยศาสตรว์ ชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธิราช

23

ลาํ ดบั ความเส่ียง มาตรการในการป้องกนั / การจดั การ(กรณีเกิดเหตุ)

4. Retained Foley’s catheter ประเมนิ ผลการใหส้ ารน้า

ปรมิ าณปัสสาวะ (Record I/O)

5. ดแู ลใหผ้ ปู้ ่วยพกั ผ่อนมากๆ เพอ่ื ลดอตั ราการเผาผลาญ

6. จดั บรรยากาศในหอ้ งพกั ใหเ้ งยี บสงบมอี ากาศถา่ ยเทดี

7. เชด็ ตวั ลดไข้ เมอ่ื มไี ขส้ งู เกนิ 38 องศาเซลเซยี ส

5.5 โรคเบาหวาน 1. ใหก้ ารดูแลผปู้ ่วยเบาหวานทม่ี ภี าวะเสย่ี งรว่ มกบั ทมี
- ภาวะน้าตาลในเลอื ดตา่ สหสาขาวิชาชพี ตามแนวทางการดูแลผู้ป่ วยท่ีมภี าวะเส่ยี งต่อ
ภาวะ hypoglycemia ประเมนิ ผู้ป่ วยท่จี ดั ว่าเป็นผู้ป่ วยท่มี ีความ
ในผปู้ ่วยกลมุ่ เสย่ี ง (high risk เสย่ี งสงู เพ่อื เฝ้าระวงั ดงั น้ี
hypoglycemia)
1.1 อายุมากกว่า 60 ปี
ความเส่ียงทางคลินิกทวั่ ไป 1.2 เป็นเบาหวานนานมากกว่า 10 ปี
(General clinical risk) 1.3 เป็นโรคตบั หรอื ไตเรอ้ื รงั
1.4 รบั ประทานอาหารไดน้ ้อย
ถ้าพบอย่างน้อย 3 ใน 4 ขอ้ หรอื มภี าวะเจบ็ ป่วยรุนแรงเฉียบพลนั
เชน่ sepsis,โรคหลอดเลอื ดสมอง และโรคหวั ใจ
2. วดั สญั ญาณชพี และตดิ ตามการเปลย่ี นแปลง การรบั รสู้ ติ
3. เจาะ CBG stat และก่อนอาหารทุกมอ้ื แตถ่ า้ ผปู้ ่วย NPO เจาะ
CBG ทกุ 6 ชวั่ โมง
4. เจาะ FBS, Cr, electrolyte, AST, ALT และ ALP stat
5. มี standing order เกี่ยวกับการดูแลผู้ป่ วย hypoglycemia
และ hyperglycemia signs
6. ประเมินภาวะโภชนาการของผู้ป่ วยถ้าผู้ป่ วยยังรับประทาน
ไดน้ ้อย อาเจยี น หยุดยาเบาหวานทกุ ชนดิ
7. ปฏบิ ัติตามแนวทาง ADULT HYPOGLYCEMIA VJR TREATMENT
PROTOCOL
8. ใหส้ ารน้าทดแทนทางหลอดเลอื ดดาตามแผนการ รกั ษา
9. เฝ้ าระวังอาการผู้ป่ วยอย่างใกล้ชิด ถ้าพบว่า vital signs
ผดิ ปกติ เช่น BP< 90/60 mmHg, PR>120 ครงั้ /นาที เหง่อื แตก
ใจสนั่ ตวั เยน็ ซมึ ลง รายงานแพทยท์ นั ที

คณะแพทยศาสตรว์ ชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธิราช

24

ลาํ ดบั ความเส่ียง มาตรการในการป้องกนั / การจดั การ(กรณีเกิดเหตุ)

6 ความผดิ พลาดในการใหย้ าและ 1. ลดขนั้ ตอนในการคดั ลอกโดยใชร้ ะบบ No card

ยาทม่ี คี วามเสย่ี งสงู (high alert 2. ปฏบิ ัติตามหลกั การป้องกันความเส่ยี งจากคาสงั่ การใช้ยาท่ีมีความ

drug : HAD) เสย่ี งสงู (High alert drugs) และมกี ารบนั ทกึ การเฝ้าระวงั ในเวชระเบยี น

โดยทาสญั ลกั ษณ์ “ HAD ” สแี ดง ใน Medication sheet

3. มกี ารตรวจสอบซา้ เกย่ี วกบั การรบั คาสงั่ การรกั ษา

4. มกี าร double check หรอื re-check อีกครงั้ ก่อนสง่ มอบยา

ให้ผปู้ ่วยพรอ้ มเซน็ ชอ่ื 2 คน และสาหรบั บุคลากรพยาบาลจบใหมจ่ ดั

แจกยารว่ มกบั บคุ ลากรพยาบาลทม่ี ปี ระสบการณ์มากกวา่

5.ยาความเส่ียงสูงท่ีให้ทางหลอดเลือดดาจะต้องติดตามด้วย

เคร่อื งควบคุมการใหส้ ารละลายเสมอ

7 การแพย้ าซา้ 1. ซกั ประวตั กิ ารใชย้ าการแพย้ า อาหาร และสารเคมตี า่ งๆ

และนาขอ้ มูลมาใชร้ ว่ มกนั ในทมี สหสาขาวชิ าชพี

2. ดแู ลผปู้ ่วยตามนโยบายทางคลนิ กิ เร่อื งการป้องกนั การแพย้ าซา้ ดงั น้ี

2.1 แจง้ ขอ้ มูลการแพย้ าของผปู้ ่วย ใหท้ มี ผดู้ แู ลทราบ

2.2 ตดิ ป้ายแพย้ าทนั ทพี รอ้ มทงั้ ระบุชอ่ื ยา อาการแสดงทแ่ี พ้

หรอื ทส่ี งสยั ว่าแพล้ งหน้าแฟ้มประวตั แิ ละแฟ้ม MAR ทงั้ ยาฉดี

และยารบั ประทาน

8 ความผดิ พลาดในการใหเ้ ลอื ด ปฏบิ ตั ิตามวธิ ปี ฏบิ ตั ิงานเร่อื งการใหเ้ ลอื ดและสว่ นประกอบของเลอื ดดงั น้ี

และส่วนประกอบของเลอื ด 1. ให้ข้อมูลผู้ป่ วยและญาติทราบความจาเป็นของการให้เลือดและ

สว่ นประกอบของเลอื ดและเซน็ ใบยนิ ยอมการทาหตั ถการ

2. ตรวจสอบแผนการรกั ษา และบนั ทกึ การขอเลอื ดใหถ้ กู ตอ้ ง

3. การเจาะเลอื ดตอ้ งสอบถามช่อื -สกุล ตรวจสอบป้ายขอ้ มอื

ใหต้ รงกบั tube และใบขอเลอื ด

4. การขอรบั เลอื ดพมิ พใ์ บรบั เลอื ดกรณขี อเลอื ดครงั้ แรกไมม่ ปี ระวตั ิการ

ใชต้ อ้ งมกี ารสอบซ้าโดยเจาะเลอื ดใส่ capillary tube เพอ่ื ตรวจสอบซา้

9 ความผดิ พลาดในการส่งตรวจ ปฏบิ ตั ติ ามคู่มอื การส่งตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ดงั น้ี

ทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร 1. พยาบาลตรวจสอบและรบั คาสงั่ แผนการรกั ษา

2. พมิ พใ์ บส่งตรวจจากคอมพวิ เตอร์

3. เตรยี มอปุ กรณ์ / ภาชนะบรรจสุ ง่ิ ส่งตรวจใหถ้ กู ตอ้ ง

4. ตดิ สตกิ เกอร์ ระบุ ช่อื -สกลุ ผปู้ ่วย HN/AN

5. ตรวจสอบช่อื ผปู้ ่วยใหถ้ กู ตอ้ งอกี ครงั้ กอ่ นปฏบิ ตั ิ

10 การเลอ่ื นหลุดของท่อช่วย 1. ปฏบิ ตั ติ ามแนวทางการปฏบิ ตั เิ รอ่ื ง “การป้องกนั การเล่อื นหลุด

หายใจ ของทอ่ ชว่ ยหายใจทางปาก/จมูก”

คณะแพทยศาสตรว์ ชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธิราช

25

ลาํ ดบั ความเสี่ยง มาตรการในการป้องกนั / การจดั การ(กรณีเกิดเหต)ุ

2. ประเมินการรับรู้และระดับความรู้สึกตัวของผู้ป่ วย เพ่ือให้

ขอ้ มูลเกยี่ วกบั ความจาเป็นในการใส่ท่อชว่ ยหายใจ และอนั ตราย

จากการดงึ ทอ่ ช่วยหายใจแกผ่ ปู้ ่วยและญาติ

3. พจิ ารณาการผูกยดึ (restrain) จากดั การเคลอ่ื นไหวตามความ

จาเป็น โดยอธบิ ายให้ญาติผปู้ ่วยเขา้ ใจถงึ ความจาเป็นในการผูก

ยดึ มดั ผปู้ ่วยและเซน็ ใบยนิ ยอม

4. ช่วยเหลอื ในการส่อื สารดว้ ยการเขยี น หรอื ใชค้ มู่ อื การสอ่ื สาร

กรณเี ขยี นหนงั สอื ไมไ่ ด้

5. ตดิ ตามประเมนิ และเฝ้าระวงั ผปู้ ่วยใกลช้ ดิ ตอบสนองความ

ตอ้ งการของผปู้ ่วยอยา่ งรวดเรว็ และกรณีเปลย่ี น position ตอ้ งมี

พยาบาลอยา่ งน้อย 2 คน

ความเส่ียงทวั ่ ไป (General risk )

11 ระบุตวั ผปู้ ่วยผดิ พลาด

- ตดิ สตก๊ิ เกอรช์ ่อื ผปู้ ่วยผดิ คน 1. ใชต้ วั บ่งชอ้ี ย่างนอ้ ย 2 ตวั เพอ่ื ยนื ยนั ตวั บุคคล และไมใ่ ชห้ มายเลขหอ้ ง

เป็นตวั บง่ ช้ี

2. ตรวจสอบซ้าก่อนนาสต๊ิกเกอร์ใส่ในเวชระเบียนผู้ป่ วยและ

ตรวจสอบซา้ ขณะนาไปใช้

- ตดิ ใบ Lab ผดิ หอ้ ง 1. เมอ่ื พมิ พผ์ ล Lab ใชป้ ากกา highlight ขดี ทบั บรเิ วณช่อื -สกลุ

และหมายเลขหอ้ งผปู้ ่วย เพ่อื เนน้ ใหเ้ หน็ ชดั

2. ตรวจสอบช่อื -สกุลผปู้ ่วยซา้ ทุกครงั้ กอ่ นติดใบรายงานผล

12 อบุ ตั เิ หตุพลดั ตกจากทส่ี งู และ 1. ประเมนิ ความเสย่ี งตอ่ การพลดั ตกหกลม้ ในผปู้ ่วยรบั ใหม่ทกุ รายโดย

หกลม้ ตกเตยี ง ใชแ้ บบประเมนิ การเฝ้าระวงั ความเสย่ี งตอ่ การพลดั ตกหกลม้ / ตกเตยี ง

2. จดั แยกประเภทผปู้ ่วยตามการประเมนิ สภาพเพอ่ื ใหก้ ารดแู ล

ไดอ้ ยา่ งความเหมาะสม

3. แขวนป้ายเฝ้าระวงั ป้องกนั ผปู้ ่วยตกเตยี งพรอ้ มประเมนิ ผปู้ ่วย

ทุกเวรยกราวกนั้ เตยี งขน้ึ ทนั ทภี ายหลงั การรกั ษาพยาบาล

4. ผปู้ ่วยอ่อนเพลยี สบั สน หา้ มไม่ไปหอ้ งน้าโดยลาพงั พจิ ารณา ผกู ยดึ

ผู้ป่ วยตามความเหมาะสม แพทย์บันทึกเป็ นคาสัง่ การรักษา

อธบิ ายใหผ้ ปู้ ่วยและญาติทราบถงึ ความจาเป็นในการผกู มดั ผปู้ ่วย

พรอ้ มเซน็ ใบยนิ ยอม

5. จดั วางเคร่อื งใชต้ า่ งๆ ออดหรอื กรงิ่ วางอยใู่ กลม้ อื ผปู้ ่วย

เพอ่ื ขอความชว่ ยเหลอื ไดส้ ะดวก

13 อคั คภี ยั 1. มกี ารสารวจและเฝ้าระวงั อคั คภี ยั ในจดุ ทม่ี คี วามเสย่ี ง

คณะแพทยศาสตร์วชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธิราช

26

ลาํ ดบั ความเส่ียง มาตรการในการป้องกนั / การจดั การ(กรณีเกิดเหตุ)

2. ดแู ลและตรวจสอบความพรอ้ มใชข้ องอปุ กรณด์ บั เพลงิ

3. จดั ทาแผนผงั ทางหนไี ฟและแผนอคั คภี ยั ในหอผปู้ ่วย

4. ทบทวนแผนอคั คภี ยั อยา่ งนอ้ ยเดอื นละ 1 ครงั้

5. งดสบู บหุ รภ่ี ายในหอผปู้ ่วยตามนโยบายการรณรงคไ์ ม่สบู บหุ ร่ี

ในสถานทร่ี าชการ

6. สารวจทางหนีไฟ

14. ปัญหาดา้ นค่าใชจ้ า่ ย เช่น 1.ตรวจสอบคา่ หอ้ งและค่ารกั ษาอยา่ งละเอยี ดทกุ ครงั้ กอ่ นการ

ผปู้ ่วยไมช่ าระคา่ รกั ษาพยาบาล ชาระเงนิ หากพบปัญหาคา่ รกั ษาไม่ตรงใหป้ ระสานงานกบั แผนก

ค่าหอ้ งไมต่ รงกบั จานวนวนั จดั เกบ็ รายไดแ้ ละแผนกคอมพวิ เตอร์

นอนจรงิ 2. ตดั ยอดเฉพาะคา่ หอ้ ง ทกุ วนั องั คารและวนั ศกุ ร์

3. การแสดงใบเสรจ็ รบั เงนิ และเซน็ ต์ชอ่ื ในสมุดชาระคา่ ใชจ้ า่ ยทกุ ครงั้

4. กรณีมคี า่ ใชจ้ า่ ยส่วนเกนิ นอกเหนอื จากสทิ ธทิ์ เ่ี บกิ ได้ แจง้ และ

อธบิ ายใหผ้ ปู้ ่วยรบั ทราบทนั ที

18. การตอบสนองต่อ Vajira 2P Safety Goals HA II-1.2ก (5) มี ไม่มี

Goal เรอื่ ง √

Goal 1 การป้องกนั การผา่ ตดั ผดิ คน ผดิ ขา้ ง ผดิ ตาแหน่ง ผดิ หตั ถการ √
(SSC & Mark site)

Goal 2 การตดิ เชอ้ื ทส่ี าคญั ในโรงพยาบาล
2.1 การป้องกนั ไมใ่ หผ้ ปู้ ่วยตดิ เชอ้ื ทต่ี าแหน่งผา่ ตดั Surgical Site √
Infection Prevention
2.2 การป้องกนั ผปู้ ่วยตดิ เชอ้ื จากการใชเ้ ครอ่ื งช่วยหายใจ Ventilator √
Association Pneumonia (VAP) Prevention
2.3 การป้องกนั ผูป้ ่วยตดิ เชอ้ื ในระบบทางเดนิ ปัสสาวะจากการคาสาย √
สวน (CAUTI Prevention) √
2.4 การป้องกนั ผปู้ ่วยตดิ เชอ้ื ในกระแสโลหติ จากการใส่สายสวนหลอด √
เลอื ดดา(CLABSI Prevention) √

Goal 3 ป้องกนั บุคลากรไม่ใหต้ ดิ เชอ้ื จากการปฏบิ ตั ิงาน (Personal safety from infection) √

Goal 4 การเกดิ Medication Error และ Adverse Drug Events
4.1 การป้องกนั ผปู้ ่วยไดร้ บั อนั ตรายจากการใชย้ าทม่ี คี วามเสย่ี งสูง
4.2 การป้องกนั ผปู้ ่วยแพย้ าซา้

Goal 5 การป้องกนั การใหเ้ ลอื ดผดิ พลาด (Blood Safety)

Goal 6 การป้องกนั การบง่ ชต้ี วั ผปู้ ่วยผดิ พลาด (Patient Identification)

คณะแพทยศาสตร์วชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธิราช

27

Goal เรอ่ื ง มี ไม่มี
Goal 7 √
Goal 8 การป้องกนั การวนิ จิ ฉัยผปู้ ่วยผดิ พลาด ล่าชา้ (Diagnosis Error)

Goal 9 การรายงานผลทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร/ พยาธวิ ทิ ยาคลาดเคล่อื น
Goal 10 8.1 ป้องกนั การรายงานผลการตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารผดิ พลาด ล่าชา้ (Lab Error) √
Goal 11 8.2 การป้องกนั การรายงานผลการตรวจทางพยาธวิ ทิ ยา คลาดเคลอ่ื น √
(Patho Report Error) √

การป้องกนั การคดั แยกผปู้ ่วยฉุกเฉนิ ผดิ พลาด (Effective Emergency Triage) √
ป้องกนั ผปู้ ่วยวกิ ฤติ ไม่ใหถ้ กู ดแู ลอยา่ งไม่เหมาะสม (Proper care for
Critical patient)
การส่อื สารทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพโดยเฉพาะในภาวะวกิ ฤติ (Effective Communication)

19. กิจกรรมทบทวนในงานประจาํ (เลือกเฉพาะหวั ข้อท่ีเกี่ยวข้อง) HA II-1.2ข (1)

กิจกรรมทบทวน/ เร่อื งที่ทบทวน การออกแบบหรอื ปรบั ปรงุ

1. การทบทวนขณะดแู ลผปู้ ่วย

1.1 ความผดิ พลาดในการจาหน่ายผปู้ ่วย 1. บนั ทกึ การจาหน่ายผปู้ ่วยในระบบ e –phis ทกุ ครงั้ หลงั

ใหค้ าแนะนาเร่อื งยาและการมาตรวจตามนดั

2. ลงบนั ทกึ ค่ารกั ษาหลงั จาหน่ายลงในสมดุ และใหผ้ ปู้ ่วย

เซน็ รบั ทราบพรอ้ มกบั แสดงใบเสรจ็ รบั เงนิ ใหก้ บั พยาบาล

1.2 เกดิ phlebitis grade 4 1. ใหค้ าแนะนาผปู้ ่วยเรอ่ื งการปฏบิ ตั ติ วั

2. dressing ตาแหน่งทแ่ี ทงเขม็ ดว้ ย Povidone ointment

ทกุ ครงั้ และหลงั นาเขม็ ออกจากบรเิ วรผวิ หนังผปู้ ่วย

3. ประเมนิ อาการปวด บวม แดง รอ้ น ตาแหน่งทแ่ี ทงเขม็

ทุกเวร ถา้ มอี าการใหร้ บี รายงานแพทยท์ นั ที

4. เฝ้าระวงั ผปู้ ่วยหลงั ไดร้ บั ยาเคมบี าบดั ทอ่ี ยใู่ นภาวะ

neutropenia

5.ใหค้ าแนะนาผปู้ ่วยเร่อื งการดแู ลผวิ หนงั บรเิ วณทแ่ี ทง

เขม็ ปิดสาลไี วแ้ ละสามารถแกะออกได้ และหากมอี าการ

ผดิ ปกติ เชน่ ปวด บวม แดง หรอื เจบ็ บรเิ วณทใ่ี หส้ ารน้า

ใหร้ บี แจง้ พยาบาลทราบทนั ที

6.มกี ารลงบนั ทกึ ตาแหน่งเขม็ ,วนั ทเ่ี ปิดเสน้ ,ขนาดของเขม็

รวมถงึ วนั ทo่ี ff และเปลย่ี นตาแหน่งในแบบเกบ็ ขอ้ มลู

phlebitis/extravasation

7.เขยี นfocus list และบนั ทกึ ทางการพยาบาลกรณเี กดิ

phlebitis

คณะแพทยศาสตรว์ ชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธิราช

กิจกรรมทบทวน/ เรื่องท่ีทบทวน 28
1.3 เกดิ ภาวะน้าตาลในเลอื ดต่า ในผปู้ ่วยทม่ี ี
ความเสย่ี งสงู การออกแบบหรอื ปรบั ปรงุ
7.ประเมนิ สภาพผปู้ ่วยแรกรบั กอ่ นเคลอ่ื นยา้ ยลงเตยี ง
1.4 รายงานผลLab เคมคี ลนิ กิ พบ hemolysis ทุกรายโดยเฉพาะบรเิ วณตาแหน่งเขม็
จานวน 6 ราย
8.ใหน้ าเขม็ ออกกรณีไมใ่ ชง้ านแลว้
1.5 ผปู้ ่วยไดร้ บั ยากลบั บา้ นไมค่ รบถว้ น
1. บนั ทกึ ขอ้ มลู ผปู้ ่วยเบาหวานทกุ รายทม่ี ภี าวะ High risk
hypoglycemia ลงในแบบบนั ทกึ พรอ้ มทงั้ ปฏบิ ตั ติ ามแนว
ทางการดูแลผปู้ ่วยเบาหวานเสย่ี งสงู
2. แขวนป้ายเฝ้าระวงั High risk hypoglycemia และ
อธบิ ายใหญ้ าตเิ ขา้ ใจ
3. มกี ารประเมนิ ความสามารถในการรบั ประทานอาหาร
ของผูป้ ่วยในแบบบนั ทกึ พลงั งานอาหารทผ่ี ปู้ ่วยไดร้ บั
เฉพาะราย
3.ศกึ ษาขอ้ มลู ระยะเวลาการออกฤทธิ์และระยะเวลาการฉีด
Insulin กอ่ นมอ้ื อาหาร ของยา Insulin แต่ละชนดิ เพอ่ื
วางแผนเฝ้าระวงั ภาวะ hypoglycemia
3. ปฏิบัติตามแนวทาง Adult hypoglycemia VJR Treatment
Protocol กรณีทผ่ี ปู้ ่วยมอี าการ hypoglycemia
1.เปลย่ี นวธิ กี ารเจาะเลอื ดเดมิ จากการดงึ เลอื ดจาก NSS
Lock เป็นการเจาะจาก Peripheral line ผปู้ ่วยโดยตรง
2.ทบทวนวธิ กี ารเจาะเลอื ดจากPeripheral line เชน่ ใช้
ขนาดเขม็ ทเ่ี หมาะสม ไม่รดั tunique นานเกนิ ไป รวมถงึ
การ mix tube เลอื ด
3. กรณีเจาะเลอื ดไม่ไดเ้ กนิ 2 ครงั้ ขน้ึ ไปใหห้ ยดุ และ
เปลย่ี นคน
1.กรณีแพทย์มีคาสัง่ จาหน่ายผู้ป่ วย ให้นารายการยา
ปั จจุบันกับยาเดิมตามmed reconcile ของผู้ป่ วยมา
ตรวจสอบใหต้ รงกนั หากแพทย์ตอ้ งการหยุดยาตวั ใด ให้
เขยี น off ยาตวั นัน้ ลงใน doctor order sheet
2. ตรวจสอบยากลบั บา้ นทไ่ี ดร้ บั กบั รายการยาในหน้า
บนั ทกึ รบั ยาในคอมพวิ เตอร์ และในคาสงั่ แพทย์ ใหต้ รงกนั
ตรวจสอบชนิด จานวนเมด็ ยา วธิ กี ารใชย้ า ใหถ้ ูกตอ้ งตรง
กบั แผนการรกั ษา
3.อธบิ ายการใชย้ า พรอ้ มกบั ตรวจสอบชนดิ ยากลบั บา้ นท่ี

คณะแพทยศาสตรว์ ชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธิราช

29

กิจกรรมทบทวน/ เรือ่ งที่ทบทวน การออกแบบหรือปรบั ปรงุ

ไดร้ บั ร่วมกบั ผปู้ ่วยและผดู้ ูแล

2. การทบทวนเวชระเบยี น/บนั ทกึ 1. มอบหมายงานแบบระบบการดแู ลเป็นรายบคุ คล( case

• การทบทวนความสมบรู ณ์ของการบนั ทกึ method) ในเวรเชา้ โดยพยาบาลทาหน้าทด่ี ูแลผปู้ ่วยท่ี
ทางการพยาบาล ไดร้ บั มอบหมายทุกเรอ่ื งตลอดเวลา
2. ทบทวนเวชระเบยี นผปู้ ่วยรบั ใหม่ one day one chart

ร่วมกบั การคน้ หาปัญหา และความตอ้ งการของผปู้ ่วย

ขณะรบั -ส่งเวร

3. ตรวจประเมนิ ความสมบูรณข์ องการบนั ทกึ เวชระเบยี น

ทุกเดอื น 4 ฉบบั ตอ่ เดอื นโดยคณะกรรมการตรวจประเมนิ

ความสมบูรณข์ องการบนั ทกึ เวชระเบยี น

4. นาขอ้ มูลทไ่ี ดจ้ ากการทบทวนเวชระเบยี น มานเิ ทศ

บคุ ลากรเป็นรายกลุ่ม และรายบคุ คล

5. รวบรวบขอ้ วนิ ิจฉยั ทางการพยาบาล เพอ่ื ใชเ้ ป็น

แนวทางในการเขยี นบนั ทกึ

3. การทบทวนอบุ ตั กิ ารณ์

• ผปู้ ่วยหลบหนีออกจากหอผปู้ ่วยหลงั แพทย์ 1. คดั กรองผปู้ ่วยแรกรบั ทกุ ราย เกยี่ วกบั คา่ ใชจ้ ่าย ทกุ
สทิ ธกิ ารรกั ษา ในรายทป่ี ระเมนิ พบวา่ อาจมปี ัญหา ให้
จาหน่าย ไมช่ าระคา่ รกั ษา
ขอ้ มูลผปู้ ่วยและเสนอทางเลอื กทเ่ี หมาะสม

2. แจง้ ยอดคา่ รกั ษาและกาหนดใหม้ กี ารชาระเงนิ ทุก 3 วนั

3. ชาระค่ารกั ษาโดยเจา้ หนา้ ทป่ี ระจาหอผปู้ ่วย

4. กรณผี ปู้ ่วยและญาตติ อ้ งการไปชาระค่ารกั ษาเอง ตอ้ ง

ใหเ้ จา้ หนา้ ทป่ี ระจาหอผปู้ ่วยลงไปดว้ ยทกุ ครงั้

4. การทบทวนการใชท้ รพั ยากร 1. ลดการใชก้ ระดาษ โดยทาเอกสารเป็น E-BOOK

• การประหยดั พลงั งาน 2. ใชแ้ บบประเมนิ เป็นgoogle from และQR code
2. การเปิด ปิดแอร์ คอมพวิ เตอร์ เป็นเวลาในเวรดกึ

5. การทบทวนคารอ้ งเรยี นของผปู้ ่วย/ผรู้ บั บรกิ าร

• ไมพ่ งึ พอใจเร่อื งการรบั ยากลบั บา้ นลา่ ชา้ 1.วางแผนการจาหน่ายผปู้ ่วยลว่ งหนา้ รว่ มกบั แพทยเ์ จา้ ของไข้
2. เตรยี มยากลบั บา้ น : แพทยเ์ ขยี นคาสงั่ การรกั ษาใน

DOS ลว่ งหน้า 1 วนั และสง่ เบกิ ยาล่วงหนา้ ในผปู้ ่วยทใ่ี ช้

บตั รประกนั สุขภาพ ประกนั สงั คม

3. การชาระค่าใชจ้ ่าย กรณีมปี ระกนั ชวี ติ ประสานกบั งาน

จดั เกบ็ รายไดก้ ่อนเทย่ี ง

4. ใหข้ อ้ มูลผปู้ ่วยและญาตเิ กย่ี วกบั ขนั้ ตอนการจาหน่าย

คณะแพทยศาสตร์วชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธิราช

30

กิจกรรมทบทวน/ เรอ่ื งท่ีทบทวน การออกแบบหรือปรบั ปรงุ
6. การประเมนิ ความรคู้ วามสามารถและทกั ษะ
1. ประเมนิ คดั กรองผปู้ ่วยก่อนรบั ใหมห่ รอื รบั ยา้ ยเขา้ พกั
• การเฝ้าระวงั ผปู้ ่วยกอ่ นเขา้ สภู่ าวะวกิ ฤต ในหอผปู้ ่วยพเิ ศษ
2. นิเทศทางคลนิ กิ ในการเฝ้าระวงั ผปู้ ่วยก่อนเขา้ ส่ภู าวะ
7. การทบทวนการสง่ ต่อผปู้ ่วย วกิ ฤตโดยใช้ NEWS
• ความไม่พรอ้ มในการเคลอ่ื นยา้ ยผปู้ ่วย 3. มกี ารส่อื สารคา่ คะแนน NEWS ทกุ เวรบนกระดาน และ
เมอ่ื ผปู้ ่วยมี คะแนน NEWS ≥ 5 หรือมี คะแนนในบาง
8. การทบทวนการใชย้ า หมวดเท่ากับ 3 ใหร้ ายงานแพทย์ และวดั สัญญาณชพี ทุก
• การป้องกนั และการเฝ้าระวงั ความ 1 ช.ม
คลาดเคลอ่ื นทางยา
1. ประเมนิ ความพรอ้ มของผปู้ ่วยร่วมกบั แพทยก์ ่อนการ
9. การทบทวนการใชเ้ ลอื ด เคล่อื นยา้ ยผปู้ ่วย และประสานกบั หน่วยงานรบั ยา้ ย
• เสย่ี งตอ่ ความผดิ พลาดในการใหเ้ ลอื ดและ เพอ่ื สง่ ตอ่ ขอ้ มูล
ส่วนประกอบของเลอื ด 2. จดั เตรยี มยา เครอ่ื งมอื อปุ กรณ์ทางการแพทยท์ ่ี
เหมาะสมในการตดิ ตามอาการผปู้ ่วยขณะเคลอ่ื นยา้ ย
3. สรปุ อาการอาการแสดง สญั ญาณชพี ผปู้ ่วย ประเดน็ ทต่ี อ้ ง
ตดิ ตามดูแลต่อเน่อื งในแบบสรุปการยา้ ย (FM-NUR012-040)
4. กรณีผปู้ ่วยวกิ ฤต ใหเ้ คลอ่ื นยา้ ยผปู้ ่วยทงั้ เตยี ง
5.จดั เตรยี มอุปกรณ์และเครอ่ื งมอื สาหรบั การเคลอ่ื นยา้ ยผปู้ ่วยให้
เหมาะสม เช่น เครอ่ื งมอื ตดิ ตามการเตน้ ของหวั ใจ ความดนั โลหติ
ค่าความอมิ่ ตวั ของออกซเิ จนในเลอื ด defibrillator
5. ประเมนิ ผปู้ ่วยรว่ มกบั หน่วยงานทร่ี บั ยา้ ย
1. งดการสนทนาหรอื ใชโ้ ทรศพั ทข์ ณะบรหิ ารยา
2. ทาสญั ลกั ษณ์ดว้ ยปากกาหมกึ สแี ดงตรงขนาดยาทน่ี อ้ ย
กว่าหรอื มากกวา่ ขนาด 1 เมด็ หรอื ขนาดยาท่ใี หข้ นาดพเิ ศษ
3. ไมอ่ นุญาตใหพ้ ยาบาลจบใหม่จดั แจกยาเพยี งลาพงั
4. ทกุ ครงั้ ทน่ี ายาไปใหผ้ ปู้ ่วยนาmed sheet เขา้ ไปดว้ ย
ทุกครงั้
ปฏบิ ตั ติ ามวธิ ปี ฏบิ ตั งิ านเรอ่ื งการใหเ้ ลอื ดและ
สว่ นประกอบของเลอื ด (WI-NUR01-blood 01) ดงั น้ี
1. ใหข้ อ้ มูลผปู้ ่วยและญาติทราบความจาเป็นของการให้เลอื ด
และสว่ นประกอบของเลอื ดและเซน็ ใบยนิ ยอมการทาหตั ถการ
2. ตรวจสอบแผนการรกั ษา และบนั ทกึ การขอเลอื ดใหถ้ ูกตอ้ ง
3. การเจาะเลอื ดตอ้ งสอบถามช่อื -สกลุ ตรวจสอบป้ายขอ้ มอื

คณะแพทยศาสตร์วชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธิราช

31

กิจกรรมทบทวน/ เรื่องท่ีทบทวน การออกแบบหรอื ปรบั ปรงุ

ใหต้ รงกบั tube และใบขอเลอื ด

4.การขอรบั เลือด พิมพ์ใบรับเลือด กรณีขอเลอื ดครงั้ แรก ไม่มี

ประวัติการใช้ต้องมีการสอบซ้าโดยเจาะเลือดใส่ capillary

tube เพอ่ื ตรวจสอบซา้

10. การทบทวนการตดิ เชอ้ื ในรพ.

• เสย่ี งต่อการตดิ เชอ้ื โคโรน่าไวรสั 2019 1. ปฏบิ ัติตามแนวทางปฏบิ ัติในการเข้าเย่ยี มผู้ป่ วยใหม่
(COVID-19) สาหรบั ญาติ
1.1 อนุญาตใหเ้ ฝ้าไขไ้ ด้ 1 คน

1.2 ผา่ นการวดั ไขท้ จ่ี ดุ คดั กรองของโรงพยาบาลทุกครงั้

1.3 ทาความสะอาดมอื ก่อนและหลงั เขา้ เยย่ี มผปู้ ่วย

ณ จุดบรกิ ารดา้ นหนา้ ทางเขา้ หอผปู้ ่วย

1.4 สวมหนา้ กากอนามยั ตลอดเวลาทงั้ ผปู้ ่วยและญาติ

และเวน้ ระยะห่างทางสงั คม (social distance) อยา่ งนอ้ ย 1 เมตร

2. บคุ ลากรทางการแพทย์ สวมหน้ากากอนามยั

face shield และอปุ กรณ์ PPE ตามความเหมาะสม

3. รณรงคเ์ รอ่ื ง การลา้ งมอื และจดั เตรยี มเจลสาหรบั ลา้ ง

มอื ภายในหอ้ งพกั ผปู้ ่วยเพอ่ื สะดวกตอ่ การเขา้ ถงึ

4. Swab เพ่อื คดั กรอง COVID- 19 ก่อนการทาหตั ถการ

หรอื การผ่าตดั ตามแนวทางปฏบิ ตั ิ

5. งดเขา้ ทากจิ กรรมในหอ้ งผปู้ ่วย ถา้ ผลการตรวจ Swab

ยงั ไมอ่ อก

11. การทบทวนตวั ชว้ี ดั -

• เรอ่ื งทท่ี บทวน

12. คาแนะนา/ขอ้ สงั เกตจากผมู้ ปี ระสบการณ์/ -

ผเู้ ชย่ี วชาญ

• เร่อื งทท่ี บทวน..............

ง .ผลลพั ธ์และความสาํ เรจ็ ของหน่วยงาน

20. ผลลพั ธก์ ารติดตามตวั ชี้วดั ที่สาํ คญั ไม่เกิน 6 – 10 (กราฟ การแปลผล และการใช้ประโยชน์)

HA I-4.1ก (1) ตวั ชีว้ ดั หลกั ให้ทาํ เป็นกราฟ ตวั ชี้วดั ทวั่ ไปใส่ในตารางได้

ตวั ชี้วดั ที่ 1 จานวนอบุ ตั กิ ารณ์การเกดิ ภาวะ hypoglycemia ในผปู้ ่วยเบาหวานทม่ี ภี าวะเสย่ี ง

เป้าหมาย ระดบั ผลกระทบ A-D, E-I = 0

ผลลพั ธ์ (กราฟ / Control chart/ ขอ้ มลู )

ตารางที่ 1 แสดงจานวนอุบัตกิ ารณ์การเกิดภาวะ hypoglycemia ในผู้ป่วยเบาหวานท่มี ี

คณะแพทยศาสตร์วชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธิราช

32

ตวั ชีว้ ดั ภาวะเสย่ี งปีงบประมาณ 2561-2564

อบุ ตั กิ ารณก์ ารเกดิ ปี งบประมาณ
ภาวะ hypoglycemia
ในผปู้ ่วยบาหวาน 2561 2562 2563 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
ทมี่ ภี าวะเสยี่ ง 63 63 63 64 64 64 64 64 64 64 64 64
(เป้าหมาย0ครงั้ )
5 12 6 3 0 2 1 1 1 0 0 6 3 3 0

กรา แสดงอบุ ตั ิการณ์การเกิด าวะ hypoglycemia KPI
ในผปู้ ่ วยเบาหวานท่ีมีความเส่ียง ปี งบประมาณ
Mean
ครงั้
14 SD

จานวนอุบั ิตการ ์ณการเ ิกด 12 12 Mean+SD
าวะ hypoglycemia (ครั้ง)
10 Mean+2S
D
8 Mean-
2SD
65 6 6
0 ปี งบประมาณ
4 33

2 3 021 1 1 0 0
0

การแปลผลและการใช้ประโยชน์

จากกราฟตวั ชว้ี ดั ท่ี 1 พบว่า จานวนอุบตั ิการณ์การเกิดภาวะ hypoglycemia ในปีงบประมาณ2564มี
แนวโน้มเพิม่ ข้นึ โดยเฉพาะไตรมาสท่ี 3 อุบัติการณ์การเกิดภาวะ hypoglycemia เท่ากบั 6 แต่มีระดบั ผลกระทบไม่
รุนแรง จากการทบทวนอุบตั กิ ารณ์พบว่า

1. มกี ารใหย้ า RI+Glucose เพ่อื ลดระดบั โพแทสเซยี ม ในเลอื ดรว่ มกบั ผปู้ ่วยรบั ประทานอาหารไดน้ ้อย
2. เกดิ จากการฉดี ยาผดิ คน แพทยส์ งั่ ฉดี ยาคนไขเ้ บาหวาน แตฉ่ ดี ยาใหผ้ ปู้ ่วยทไ่ี มไ่ ดเ้ ป็นเบาหวาน
3.ผปู้ ่วยเป็นผสู้ งู อายมุ อี าการเหน่อื ย แพทยใ์ ห้ NPO เพอ่ื observe อาการ แตไ่ ม่ไดส้ งั่ ใหI้ V fluid
support
4. ผปู้ ่วยมภี าวะHyperglycemia แพทยส์ งั่ ยาฉีด insulin กอ่ นอาหารทกุ มอ้ื ในตอนเชา้ ผปู้ ่วยเกดิ
Hypoglycemia
5. ผปู้ ่วยสงู อายุรบั ประทานอาหารไดน้ ้อย
ตวั ชี้วดั ท่ี 2 อตั ราการกลบั เขา้ รกั ษาซา้ ภายใน 28 วนั (re-admission) ในผปู้ ่วย stroke

คณะแพทยศาสตร์วชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธิราช

33

เป้าหมาย ≤รอ้ ยละ 1.5

ผลลพั ธ์ (กราฟ/control chart/ข้อมลู )

ตารางที่ 2 แสดงอตั ราการกลบั เขา้ รกั ษาซา้ ภายใน 28วนั (re-admission) ในผปู้ ่วย stroke

ปีงบประมาณ 2561-2564

ตวั ชีว้ ดั ปี งบประมาณ

2561 2562 2563 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ส.ค. ก.ย. ต.ค.
63 63 63 64 64 64 64 64 64 64 64 64

อตั ราการกลบั เขา้ 2.27 0 0 0 0 0 0 0 0 0 1 0 0 0 0
รกั ษาซา้ ภายใน
28 วนั ในผูป้ ่วย
stroke
(เป้าหมาย<1.5 %)

กรา แสดงอบุ ตั ิการณ์อตั ราการกลบั มารกั า า้ ายใน วนั

อัตราการกลังมารักษา ้ซาภายใน ร้อยละ ในผปู้ ่ วย stroke ปี งบประมาณ 2561 - 2564 KPI
วัน ในผู้ ่ปวย stroke (ร้อยละ)
2.5 Mean

2.27 SD

2 Mean+SD

1.5 Mean+2S
D
1 Mean-
2SD
0.5 เป้าหมาย

0 0 0 0 0 00 0 0 ปี งบประมาณ

การแปลผลและการใช้ประโยชน์

จากภาพตวั ช้วี ดั ท่ี 2 พบว่า อตั ราการกลบั มารกั ษาซ้าภายใน 28 วนั ในผู้ป่ วย stroke ปี 2562-2563
ไมพ่ บการ readmit เน่ืองจากผปู้ ่วยไดร้ บั การวางแผนจาหน่าย เพอ่ื เพมิ่ ศกั ยภาพการดแู ลตนเองสาหรบั ผูป้ ่วยและ
ผดู้ ูแลมกี ารดูแลผูป้ ่วยร่วมกนั ระหว่างทมี สหสาขาวชิ าชพี ทงั้ แพทย์ พยาบาลเภสชั กร นักกายภาพบาบดั นักโภชนาการ และ นัก
สงั คมสงเคราะห์ และมกี ารพฒั นาบทบาทพยาบาลผู้จดั การรายกรณี (nurse case manager) ในการให้ความรู้เร่อื งโรค
หลอดเลอื ดสมอง การรบั รูอ้ าการสาคญั ภาวะแทรกซ้อน ฝึกทกั ษะการจดั การดูแลตนเองเร่อื งการรบั ประทานยา
อาหาร การออกกาลังกาย การป้องกันภาวะแทรกซ้อนติดตามต่อเน่ืองโดยประสานงานกับงานการดูแลต่อเน่ือง
(continuity of care : COC) ภาควชิ าเวชศาสตรเ์ ขตเมอื ง

ส่วนในปีงบประมาณ 2564 พบ 1 ราย = 0.08

คณะแพทยศาสตร์วชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธิราช

34

ตวั ชี้วดั ท่ี 3 อตั ราการวางแผนจาหน่ายผปู้ ่วยสามารถกลบั บา้ นก่อนเวลา 12.00 น.

เป้าหมาย  รอ้ ยละ 60

ผลลพั ธ์ (กราฟ/control chart/ขอ้ มูล)

ตารางท่ี 3 แสดงอตั ราการวางแผนจาหน่ายผปู้ ่วยสามารถกลบั บา้ นกอ่ นเวลา 12.00 น.

ปีงบประมาณ 2563-2564 (เรมิ่ เกบ็ ขอ้ มลู เดอื น มกราคม พ.ศ. 2563)

ปี งบประมาณ

ตวั ชี้วดั 2563 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ส.ค. ก.ย. ต.ค.
63 63 63 64 64 64 64 64 64 64 64 64

อตั ราการวางแผน 83.98 58.69 68.42 66.66 60 79.41 66.66 51.35 60.60 79.31 51.28 80.43 59.60

จาหน่ายผูป้ ่วย

สามารถกลบั บา้ น

กอ่ นเวลา12.00น.

(เป้าหมาย 60%)

การแปลผลและการใช้ประโยชน์

จากภาพตัวช้วี ดั ท่ี 3 พบว่าอตั ราการวางแผนจาหน่ายผู้ป่ วยสามารถกลับบ้านก่อนเวลา 12.00 น.

ปีงบประมาณ 2563 (เรม่ิ เก็บข้อมูลเดอื นมกราคม พ.ศ. 2563) ยงั มแี นวโน้มสูงกว่าเกณฑ์ (รอ้ ยละ 60) โดยเฉพาะ

ปีงงบประมาณ 2564 เน่อื งจากแพทยไ์ มเ่ ขยี น HM ลว่ งหน้า มีการเพิ่มยาHM และรอแพทย์จากหน่วยมาจาหน่าย

รวมถึงรอเสนอยาบญั ชี 3 มกี ารพฒั นาการวางแผนการจาหน่ายโดยการประยุกต์ใช้ “การบรหิ ารประจาวัน” (daily

management) ทาใหเ้ กดิ การพดู คุยเรอ่ื งการวางแผนจาหน่ายผปู้ ่วยเป็นกจิ วตั ร มกี ารปรบั ปรุงกระบวนการดาเนินงาน

อย่างต่อเน่ือง มกี ารใช้ case management board (Vajira inpatient care) เป็นส่อื การในการบนั ทกึ แผนการดูแลและ

กาหนดวนั ท่คี าดว่าจะจาหน่ายผูป้ ่วย แพทยม์ กี ารกาหนดวนั ทจ่ี าหน่ายพร้อมทงั้ การสงั่ ยากลบั บา้ น การนัดติดตาม

การรกั ษาล่วงหน้า พยาบาลมีการเตรยี มความพร้อมผู้ป่ วยและญาติในการดูแลตนเองภายหลงั จาหน่าย ประสาน

หน่วยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งรว่ มวางแผนการจาหน่าย อาทิ เภสชั กร นักโภชนาการ นกั กายภาพบาบดั งานการดูแลต่อเน่ือง

เป็นตน้ ทาให้บุคลากรทราบว่าอะไรท่ตี ้องทา เกิดการทางานทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพสอดคลอ้ งกบั ความต้องการของผปู้ ่วย

ทาใหส้ ามารถจาหน่ายผปู้ ่วยไดต้ ามเป้าหมายทก่ี าหนด

ตวั ชี้วดั ท่ี 4 อตั ราการจดั การความปวดอยา่ งต่อเน่อื งในผปู้ ่วยมะเรง็
เป้าหมาย  รอ้ ยละ 80

คณะแพทยศาสตรว์ ชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธิราช

35

ผลลพั ธ์ (กราฟ/control chart/ขอ้ มูล)
ตารางท่ี 4 แสดงอตั ราการจดั การความปวดอย่างต่อเน่อื งในผปู้ ่วยมะเรง็ ปีงบประมาณ 2561-2564

ปี งบประมาณ
ตวั ชีว้ ดั 2561 2562 2563 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ส.ค. ก.ย. ต.ค.

63 63 63 64 64 64 64 64 64 64 64 64
อตั ราการ 93.86 97.39 96.20 NA NA NA NA NA NA 92.85 NA NA NA NA NA
จดั การความ
ปวดอย่าง
ตอ่ เน่อื งใน
ผูป้ ่วยมะเรง็

(เป้ าหมาย 
80%)

การแปลผลและการใช้ประโยชน์
จากตารางแสดงขอ้ มูลพบว่า ปีงบประมาณ 2561 - 2563 อตั ราการจดั การความปวดอย่างต่อเน่ืองในผูป้ ่วยมะเรง็
ภาพรวมมแี นวโน้มดขี น้ึ แตจ่ ากการวเิ คราะหข์ อ้ มูลยงั พบปัญหา ขาดความต่อเน่อื งในการใหข้ อ้ มูลผปู้ ่วยเกยี่ วกบั การออกฤทธิ์
อาการข้างเคียงของยาแก้ปวดกลุ่ม opioid และ non-opioid การติดตามประเมินซ้าภายหลังการให้ยา และขาดความ
สมบรู ณ์ในการบนั ทกึ เวชระเบยี น หน่วยงานไดน้ าผลลพั ธท์ ไ่ี ดม้ าทากจิ กรรมทบทวนโดยกระตุน้ ใหบ้ คุ ลากรปฏบิ ตั ติ ามคู่มอื
เรอ่ื งการบรหิ ารจดั การความปวด อยา่ งเคร่งครดั ดงั น้ี
1. ประเมนิ pain ตงั้ แตแ่ รกรบั ทุกcase ทงั้ ผปู้ ่วยทวั่ ไป และมะเรง็
2.ประเมนิ อาการและบนั ทกึ pain score ใน graphic sheet อยา่ งต่อเน่อื งทุกเวร
3. ติดตามและประเมนิ ซ้าโดยเฉพาะการประเมนิ หลงั ได้รบั ยาฉีดแก้ปวด 15–30 นาที และหลงั ได้ยาแก้ปวดชนิด
รบั ประทาน 30 นาที รวมทงั้ การประเมนิ side effects และ sedative score
4. บนั ทกึ ปัญหาทางการพยาบาลเร่อื งอาการเจบ็ ปวด การจดั การ และผลลพั ธก์ ารจดั การในแบบบนั ทกึ

ทางการพยาบาล

ตวั ชีว้ ดั ที่ 5 อตั ราผปู้ ่วยทม่ี คี ะแนน PPS ≤ 50 % ไดร้ บั การพดู คยุ เพอ่ื วางแผนการดูแลลว่ งหน้า

เป้าหมาย  80%

ผลลพั ธ์ (กราฟ/ control chart/ ขอ้ มูล)

ตารางท่ี 5 แสดงอตั ราผปู้ ่วยทม่ี คี ะแนน PPS ≤ 50 % ไดร้ บั การพดู คุยเพอ่ื วางแผนการดแู ลล่วงหน้า

ปีงบประมาณ 2565 (เรม่ิ เกบ็ ขอ้ มูลเดอื นพฤศจกิ ายน)

ตวั ชี้วดั ปี งบประมาณ
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ส.ค. ก.ย. ต.ค.

64 64 64 65 65 65 65 64 65 65 65 64

อตั ราผปู้ ่วยทม่ี คี ะแนน PPS ≤ NA

คณะแพทยศาสตรว์ ชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธิราช

36

50 % ไดร้ บั การพดู คยุ เพอ่ื วาง
แผนการดแู ลล่วงหนา้

(เป้าหมาย 80%)

การแปลผลและการใช้ประโยชน์ -

ตวั ชี้วดั ที่ 6 อตั ราความพงึ พอใจของญาตติ ่อการดแู ลแบบประคบั ประคอง

เป้าหมาย  80%
ผลลพั ธ์ (กราฟ/ control chart/ ขอ้ มูล)
ตารางท่ี 6 แสดงอตั ราความพงึ พอใจของญาตติ ่อการดูแลแบบประคบั ประคอง ปีงบประมาณ 2561-2564

ตวั ชวี้ ดั ปี งบประมาณ ต.ค.
64
2561 2562 2563 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ส.ค. ก.ย.
63 63 63 64 64 64 64 64 64 64 64 95.6

อตั ราความพงึ 95.7 94.9 94.9 94.2 95.7 99.4 92.9 90.3 97.2 97.6 94.9 96.0 93.9 94.2

พอใจของญาติ

ตอ่ การดแู ลแบบ

ประคบั ประคอง

(เป้าหมาย

 80%)

การแปลผลและการใช้ประโยชน์

จากตารางแสดงขอ้ มูลอตั ราความพงึ พอใจของญาติตอ่ การดูแลแบบประคบั ประคองพบวา่ การประเมนิ ท่ี
ครอบคลุมการตอบสนองความตอ้ งการการดแู ลอย่างใกลช้ ดิ สมา่ เสมอและต่อเน่ือง โดยเฉพาะอย่างยงิ่ การใหข้ อ้ มูล
เกย่ี วกบั การดาเนินของโรค แผนการดแู ลรกั ษาผปู้ ่วย โดยญาตมิ สี ่วนร่วมในการตดั สนิ ใจ ทาใหผ้ ลการประเมนิ ความพงึ
พอใจอยู่ในระดบั ดมี าก

ตวั ชีว้ ดั ท่ี 7 อตั ราผปู้ ่วยระยะสดุ ทา้ ยในหอผปู้ ่วยไดร้ บั การดูแลแบบประคบั ประคองเสยี ชวี ติ อยา่ งสงบ

โดยไมม่ กี ารช่วยฟ้ืนคนื ชพี โดยไมจ่ าเป็น

เป้าหมาย  ๘0%

ผลลพั ธ์ (กราฟ/ control chart/ ขอ้ มลู )

ตารางท่ี 8 แสดงอตั ราผปู้ ่วยระยะสุดทา้ ยในหอผปู้ ่วยไดร้ บั การดูแลแบบประคบั ประคองเสยี ชวี ติ

อยา่ งสงบโดยไม่มกี ารช่วยฟ้ืนคนื ชพี โดยไม่จาเป็น ปีงบประมาณ 2561–2564

ตวั ชีว้ ดั ปี งบประมาณ

2561 2562 2563 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ส.ค. ก.ย. ต.ค.

63 63 63 64 64 64 64 64 64 64 64 64

คณะแพทยศาสตรว์ ชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธิราช

37

อตั ราอตั ราผปู้ ่วย 100 100 100

ระยะสุดทา้ ยในหอ
ผูป้ ่วยไดร้ บั การดูแล
แบบประคบั ประคอง
เสยี ชวี ติ อย่างสงบ
โดยไม่มกี ารช่วยฟ้ืน
คนื ชพี โดยไม่จาเป็น
(เป้าหมาย
 80%)

การแปลผลและการใช้ประโยชน์
จากขอ้ มูลอตั ราผู้ป่วยระยะสุดทา้ ยในหอผปู้ ่วยไดร้ บั การดูแลแบบประคบั ประคองเสยี ชวี ติ อย่างสงบโดย
ไมม่ กี ารช่วยฟ้ืนคนื ชพี โดยไม่จาเป็น รอ้ ยละ100 ตงั้ แต่ปีงบประมาณ 2561 ทงั้ น้เี น่อื งมาจากการวางแผนการดูแล
โดยเฉพาะผู้ป่วยระยะสุดทา้ ยทงั้ โรคมะเรง็ และไม่ใช่มะเรง็ ผูป้ ่วยและญาตจิ ะไดร้ บั ขอ้ มูลเกย่ี วกบั การดาเนินโรค
และแผนการดูแลรกั ษาตงั้ แต่แรกรบั และขณะรบั การรกั ษาเป็นระยะ โดยเฉพาะเม่อื ผูป้ ่วยมอี าการไม่ทุเลาและมี
แนวโน้มเขา้ ส่รู ะยะสุดทา้ ยญาตผิ ู้ป่วยจะไดร้ บั คาปรกึ ษาจากแพทยพ์ ยาบาลเจา้ ของไข้ และการรบั คาปรกึ ษาจาก
ทมี ของศูนยว์ ชริ จติ ตาภบิ าล โดยครอบครวั มสี ว่ นรว่ มในการตดั สนิ ใจในการเลอื กแผนการรกั ษา ทเ่ี หมาะสมสาหรบั
ผู้ป่ วย จากขอ้ มูลจะพบว่าเม่อื ครอบครวั ผู้ป่ วยระยะสุดท้ายได้รบั การวางแผนการดูแลล่วงหน้า (Advance care
plan) จะตดั สนิ ใจเลอื กแนวทางการดูแลแบบประคับประคอง ไม่มีการเร่งหรอื ย้อื ชวี ติ ผู้ป่ วย และเลอื กการใช้ยา
Opioid เพ่อื ลดอาการรบกวน ได้แก่ อาการปวด เหน่ือยหอบ เป็นต้น รวมทงั้ การบาบดั เสรมิ ต่างๆ เช่น การให้
คาปรกึ ษาแนวพุทธในผปู้ ่วยและญาตผิ ปู้ ่วยระยะสุดทา้ ย

ตวั ชี้วดั ท่ี 9 อตั ราการตดิ เชอ้ื ระบบทางเดนิ ปัสสาวะในผปู้ ่วยทใ่ี ส่สายสวนปัสสาวะคา (CAUTI)
เป้าหมาย ≤ 8 ครงั้ :1,000 วนั ใส่
ผลลพั ธ์ (กราฟ/control chart/ขอ้ มูล)
ตารางท่ี 9 แสดงอตั ราการตดิ เชอ้ื ระบบทางเดนิ ปัสสาวะในผปู้ ่วยทใ่ี ส่สายสวนปัสสาวะคา (CAUTI)

ปีงบประมาณ 2561–2564

ตวั ชีว้ ดั ปี งบประมาณ

2561 2562 2563 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

63 63 63 64 64 64 64 64 64 64 64 64

อตั ราการตดิ เช้อื ระบบ 7.3 15.7 0 0 0 0 0 0 0 0 0 10.8 15.6 0 36.3

คณะแพทยศาสตร์วชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธิราช

38

ทางเดนิ ปัสสาวะใน
ผปู้ ่วย
ทใ่ี สส่ ายสวนปัสสาวะ
คา (CAUT)
(เป้าหมาย
≤8 ครงั้ :1,000 วนั
ใส)่

กรา แสดงอตั ราการติดเช้อระบบทางเดินปัสสาวะในผปู้ ่ วยท่ีใส่

ครงั้ /1,000 วนั ใส่ สายสวนปัสสาวะคา (CAUTI) ปี งบประมาณ 2561 - 2564 ดี

อัตราการ ิตดเช้อ ระบบทางเ ิดน ัปสสาวะในผู้ ่ปวย ี่ทใ ่สสาย 40 - รณรงคก์ ารลา้ งมือ, การ แู ล 36.3 KPI
สวน ัปสสาวะคา (CAUTI) (ครั้ง/ วันใ ่ส) 35 อวยั วะสบื พนั ธุภ์ ายนอกอย่าง
30 ต่อเนื่อง มประสทิ ธิภาพ Mean
25 SD
20 - โครงการ 8 hours round Mean+
15 Foley’s cath Mean+
10 7.31 Mean-
5 15.7 15.6 เป้าหม
10.8 เชงิ เสน้

0 000000000 0

ปี งบประมาณ

การแปลผลและการใช้ประโยชน์

อบุ ตั กิ ารณ์การตดิ เชอ้ื CAUTIมแี นวโน้มสงู ขน้ึ ในปีงบประมาณ2561-2562 เมอ่ื วเิ คราะหห์ าสาเหตุ CAUTIพบว่า
- ผปู้ ่วยมอี ายุมากกวา่ 60 ปี
- ผู้ป่วยได้รบั การวนิ ิจฉัย anemia มปี ัญหาความผดิ ปกตใิ นการขบั ถ่ายปัสสาวะ มี full bladder ตอ้ งใส่สายสวน
ปัสสาวะคาไดร้ บั ยาปฏชิ วี นะเป็นเวลานาน ผปู้ ่วยเกดิ CAUTI ภายหลงั จากการใส่สายสวนปัสสาวะ 5 วนั
-การดแู ลทาความสะอาดอวยั วะสบื พนั ธุภ์ ายนอกขาดความต่อเน่อื ง บางครงั้ ผดู้ แู ลผปู้ ่วย ยงั ปฏบิ ตั ไิ ดไ้ ม่ถกู ตอ้ ง
สาหรบั ปีงบประมาณ 2562 ไตรมาสท่ี 1 พบอบุ ตั กิ ารณก์ ารตดิ เชอ้ื CAUTI 15.7 ครงั้ ตอ่ 1,000 วนั ใส่ ซงึ่ มสี าเหตุ
มาจาก ผปู้ ่วยสงู อายุ ปัสสาวะเองไม่ไดต้ อ้ งคาสายสวนปัสสาวะมากกว่า 7 วนั
แนวทางการแกไ้ ขปรบั ปรงุ ดงั น้ี

- รณรงคเ์ รอ่ื งการลา้ งมอื กระตนุ้ ใหบ้ คุ ลากรปฏบิ ตั ติ ามแนวทางปฏบิ ตั ิ เร่อื งการดแู ลผปู้ ่วยทใ่ี สส่ ายสวน
ปัสสาวะคา อยา่ งเครง่ ครดั

- ทบทวนเรอ่ื งแนวทางการดแู ลผปู้ ่วยทใ่ี ส่สายสวนปัสสาวะคา (Bundle)
- เน้นใหม้ กี ารสง่ เวรกรณีมผี ปู้ ่วยใส่สายสวนปัสสาวะคา และตดิ ตามเรอ่ื งการทาความสะอาดอวยั วะ
สบื พนั ธภุ์ ายนอกทกุ เวร และทุกครงั้ หลงั ขบั ถ่ายอจุ จาระ
- ใหค้ วามรแู้ ก่ผดู้ แู ลเรอ่ื งการดแู ลผปู้ ่วยทใ่ี ส่สายสวนปัสสาวะคา โดยเฉพาะผปู้ ่วยทต่ี อ้ งคาสายสวน
ปัสสาวะอยา่ งตอ่ เน่อื ง

คณะแพทยศาสตรว์ ชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธิราช

39

ตวั ชี้วดั ท่ี 10 อตั ราการเกดิ แผลกดทบั ขณะอยู่โรงพยาบาล

เป้าหมาย ≤ 5 ครงั้ : 1,000 วนั นอนเสย่ี ง (เรม่ิ ปีงบประมาณ 2563)

ผลลพั ธ์ (กราฟ/ Control chart/ ขอ้ มูล)

ตารางท่ี 10 แสดงอตั ราการเกดิ แผลกดทบั ขณะอย่โู รงพยาบาล ปีงบประมาณ 2561-2564

ตวั ชีว้ ดั ปี งบประมาณ

2561 2562 2563 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ส.ค. ก.ย. ต.ค.
63 63 63 64 64 64 64 64 64 64 64 64

อตั ราการเกดิ 2.69 0.90 0 0 1 1 0 0 0 0 0 0 0 0 0

แผลกดทบั ขณะ

อยู่โรงพยาบาล

(เป้าหมาย

< 6 ครงั้ : 1,000

วนั นอนเสย่ี ง

- เนน้ การประเมนิ เพอ่ื เฝ้า
ระวงั ตงั้ แต่แรกรบั
- ใช้อปุ กรณป์ ้องกนั
- พฒั นาศกั ยภาพญาติ /ผดู้ ูแล

การแปลผลและการใช้ประโยชน์
จากภาพตวั ช้วี ดั ท่ี 10 พบว่า อตั ราการเกิดแผลกดทบั ขณะอยู่โรงพยาบาลมแี นวโน้มลดลง แต่ในเดอื น
ธนั วาคม 2564 พบอตั ราการเกดิ แผลกดทบั ท่เี พมิ่ ข้นึ ในผู้ป่ วย1ราย เป็นผู้ป่ วยสูงอายุ ช่วยเหลอื ตัวเองได้น้อยและ
มแี ผลกดทบั gr I มาจากบ้านและเปล่ยี นเป็น gr II หลงั จาก admit จากการวเิ คราะห์ขอ้ มูลพบว่า อุบัติการณ์ดงั กล่าวมกั
เกิดข้นึ ในผูป้ ่วยท่มี คี วามเส่ยี งสูง (Braden score ≤ 12) ช่วยเหลอื ตวั เองไม่ได้ โดยเฉพาะอย่างยงิ่ ในผู้ป่วยสงู อายุ ผูป้ ่วย
โรคหลอดเลอื ดสมอง เคล่อื นไหวได้น้อย มไี ขส้ งู อลั บมู นิ ต่า รวมถ-งึ เผน้นปู้ ก่ วารยปรทะเม่มี นิ โีเพรอ่ืคเฝร้า่วระมวงั ซ่งึ เป็นโรคเร้อื รงั เชน่ โรคตบั
โรคเกาท์ บางรายไดร้ บั ยาทม่ี ผี ลขา้ งเคยี งทาใหถ้ า่ ยอจุ จาระบ่อยคต-รงัใ้ ชแงั้้อตปุแ่ ทรกกรารณบัใ์ปห้องเ้ กกนั ดิ ผวิ หนงั อกั เสบจากการควบคุมการ
ขบั ถ่ายไม่ได้ (IAD) เป็นปัจจยั สง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ แผลกดทบั นอกจาก-นพฒั้บี นุคาศลกั ายภการพญยางั ตขิ /ผาดู้ ดูแลความตระหนักในการเฝ้าระวงั
และป้องกนั การเกดิ แผลตงั้ แต่แรกรบั ผปู้ ่วย

คณะแพทยศาสตร์วชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธิราช

40

จากการทา Gap analysis เพอ่ื วเิ คราะหส์ าเหตุและแนวทางการแก้ไขป้องกนั โดยเน้นการประเมนิ ความเสย่ี ง
การเกิดแผลกดทบั ตงั้ แต่แรกรบั การสอบถามขอ้ มูลผูป้ ่วยขณะรบั รายงานสภาพ เพ่อื นาขอ้ มลู มาใช้ในการวางแผนการดูแล
เพอ่ื ป้องกนั การเกดิ แผลกดทบั นอกจากน้ี มุ่งเน้นให้บุคลากรพยาบาลปฏบิ ตั ติ ามแนวทางการป้องกนั และดแู ลการเกดิ แผล
กดทบั ใหค้ วามรใู้ นการประเมนิ ความแตกต่างระหว่างแผลกดทบั และแผลผวิ หนงั อกั เสบจากการควบคมุ การ นอน
ป้องกนั แผลกดทบั อุปกรณป์ ้องกนั แผลกดทบั บรเิ วณรอ่ งหทู เ่ี กดิ จากการใชอ้ ุปกรณท์ างการแพทย์ รวมถงึ การจดั ทา่ นอน เทคนิค
การยกการเคล่อื นยา้ ยผปู้ ่วยทถ่ี ูกต้อง พฒั นาศกั ยภาพญาต/ิ ผดู้ แู ลผปู้ ่วย สง่ เสรมิ การมสี ่วนรว่ มในการเฝ้าระวงั ใน
กรณีทพ่ี บปัญหาการเกิดแผลกดทบั ระดบั รนุ แรง ปรกึ ษาหน่วยออสโตมแี ละแผล เพ่อื ร่วมประเมนิ และให้คาแนะนาวธิ กี ารดูแล
แผลและการเลอื กใช้ผลติ ภัณฑ์ วธิ กี ารทาแผลโดยใช้เทคโนโลยีท่ีทนั สมยั ภายหลงั การทากิจกรรมทบทวนและ
ปฏบิ ตั ติ ามแนวทางปฏบิ ตั อิ ย่างเคร่งครดั ปีงบประมาณ 2563 -2564 ยงั ไมพ่ บอุบตั กิ ารณ์การเกดิ แผลกดทบั

ตวั ชีว้ ดั ที่ 10 จานวนอุบตั กิ ารณก์ ารพลดั ตกหกลม้ /การตกเตยี งทม่ี ผี ลกระทบระดบั E-I
เป้าหมาย เท่ากบั 0 ครงั้
ผลลพั ธ์ (กราฟ/control chart/ขอ้ มูล)
ตารางที่ 10 แสดงจานวนอุบตั กิ ารณ์การพลดั ตกหกลม้ /การตกเตยี งปีงบประมาณ 2561-256/4

ตวั ชี้วดั ปี งบประมาณ

2561 2562 2563 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ส.ค. ก.ย. ต.ค.

63 63 63 64 64 64 64 64 64 64 64 64

อบุ ตั กิ ารณ์การ 0 2 3 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0

พลดั ตก หกลม้ /

การตกเตยี ง

(เป้าหมาย

< 0 ครงั้ )

คณะแพทยศาสตร์วชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธิราช

41

โครงการ Free from fall

การแปลผลและการใช้ประโยชน์

จากภาพตวั ช้วี ดั ท่ี 11 พบว่า อุบตั กิ ารณ์การพลดั ตกหกล้ม/การตกเตยี งทเ่ี กดิ นนั้ พบในผสู้ ูงอายุ มอี าการ
สบั สนโดยเฉพาะเวลากลางคนื หรอื สภาพร่างกายผปู้ ่วยทอ่ี ่อนล้า อ่อนเพลยี การเปลย่ี นทา่ ทางจากนงั่ เป็นยนื เดนิ
จะมอี าการอ่อนแรงของขา ทาใหเ้ สยี การทรงตวั ทรดุ ลงในท่านงั่ ผู้ป่วยบางรายเดนิ เขา้ หอ้ งน้าตามลาพงั ไม่ยอมบอก
เจา้ หน้าท่ี หรอื ผดู้ ูแล ญาตไิ มย่ กทก่ี นั้ เตยี งข้นึ หลงั การดแู ล และในเดอื นตุลาคม 2564 พบ 1 ราย ผปู้ ่วยนัง่ อาบน้า
แลว้ กม้ หยบิ สบู่ จงึ ตกจากเกา้ อ้ี

จากอุบตั กิ ารณท์ เ่ี กดิ ขน้ึ นาไปสกู่ ารวางมาตรการการแกไ้ ขป้องกนั ดงั น้ี
- ประเมนิ ความเสย่ี งตอ่ อบุ ตั เิ หตุพลดั ตกหกลม้ ตงั้ แต่แรกรบั และทกุ ครงั้ ท่ีมอี าการเปลย่ี นแปลงระดบั
ความรสู้ กึ ตวั เช่น ซมึ ลง สบั สน วุ่นวาย
- ส่อื สารขอ้ มลู เพ่อื การเฝ้าระวงั ในทมี ผดู้ แู ลและญาติรวมถงึ การแขวนป้ายเตอื นและมสี ญั ลกั ษณ์เตอื นทป่ี ้ายขอ้ มอื
- พจิ ารณาวธิ กี ารผกู ยดึ ทเ่ี หมาะในกรณจี าเป็น โดยใหข้ อ้ มลู ผปู้ ่วยและญาตริ ่วมกบั
แพทยพ์ รอ้ มคาสงั่ การรกั ษา และขอความยนิ ยอมเป็นลายลกั ษณอ์ กั ษร
- ผปู้ ่วยท่พี กั รกั ษาในหอผปู้ ่วยพเิ ศษตอ้ งมญี าตเิ ฝ้าตลอด 24 ชวั่ โมงกรณีทญ่ี าตจิ าเป็นออกจากหอ้ งให้
แจง้ พยาบาลทราบทุกครงั้

ตวั ชี้วดั ท่ี 11 อตั ราความสมบูรณข์ องการบนั ทกึ ทางการพยาบาล

เป้าหมาย ≥ 75%

ผลลพั ธ์ (กรา / Control chart/ ข้อมูล)

ตารางท่ี 11 แสดงอตั ราความสมบูรณ์ของการบนั ทกึ ทางการพยาบาลปีงบประมาณ 2561-2564

ตวั ชี้วดั ปี งบประมาณ

2561 2562 2563 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

63 63 63 64 64 64 64 64 64 64 64 64

คณะแพทยศาสตร์วชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธิราช

42

อตั ราความสมบรู ณ์ 76.2 75.4 76.7 76.2 75.4 76.7 80.3 75 79.3 75 77.6 75.6 73.1 82.5 76.5
ของการบนั ทกึ
ทางการพยาบาล
(เป้าหมาย
 75%)

กรา แสดงคะแนนความสมบูรณ์การบนั ทกทางการพยาบาล

ร้อยละ ปี งบประมาณ 2561- 2564 ดี

คะแนนความสม ูบร ์ณการบันทกทางการพยาบาล ( ้รอยละ)100
ต.ค.
90 พ.ย.81.7 81.0078.56 75 77.60 73.1 82.5 76.5 KPI
80 76.29 76.7 ธ.ค.77.6 76 Mean
70 75.41 ม.ค. SD
60 ก.พ.74.35 75.00 Mean+2SD
50 ีม.ค. Mean-2SD
40 เม.ย.- มอบหมายงานแบบ case method เป้าหมาย
30 พ.ค. เชงิ เสน้
20 ิม.ย.- โครงการพฒั นาบนั ทกึ ทางการ
10 ก.ค.พยาบาล
ส.ค.- ทบทวน one day one chart
ก.ย.
0 ปี งบประมาณ

การแปลผลและการใช้ประโยชน์
จากภาพตวั ชว้ี ดั ท่ี 12 พบว่า อตั ราความสมบรู ณ์ของการบนั ทกึ ทางการพยาบาลในปี 2563 มแี นวโนม้ สงู
กว่าเกณฑ์ทร่ี อ้ ยละ 75 ในปีงบประมาณ 2564 ในเดอื น พฤศจกิ ายน พบคะแนนต่ากว่าเกณฑ์ เน่ืองจากการ ลงบนั ทกึ แรกรบั
ไม่ครบถว้ น ขาดการประเมนิ กจิ กรรมการพยาบาลและขาดความสมบรู ณ์ในการบนั ทกึ ทางการพยาบาลและบนั ทกึ
ขอ้ มูลการวางแผนการจาหน่าย จากข้อมูลดังกล่าวนาไปสู่การนิเทศกากบั ติดตามบุคลากรรายบุคคล เน้นการบันทึกทางการ

คณะแพทยศาสตร์วชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธิราช

43

พยาบาลแบบ Focus charting มกี ารทบทวนความสมบรู ณ์การบนั ทกึ ทางการพยาบาลร่วมกนั ภายหลงั การรบั ส่งเวร
ตอนเช้า ในผู้ป่วยท่รี บั ใหม่ หรอื ผู้ป่วยท่ซี ับซอ้ นเพ่อื กระตุ้นให้เกิดเรยี นรู้ร่วมกนั และมอบหมายงานแบบ case
method รวมถงึ การมอบหมายใหต้ รวจบนั ทกึ ทางการพยาบาลเดอื นละ1ฉบบั เพ่อื ใหม้ คี วามเขา้ ใจเกณฑก์ ารให้
คะแนน เพอ่ื นาไปสกู่ ารประเมนิ ปัญหาและวางแผนการพยาบาลครอบคลมุ ทุกมติ ิ

ตารางตวั ชี้วดั หอผ้ปู ่ วยเพชรรตั น์ 14 A ปี งบประมาณ 2561-2564

ลาํ ดบั ตวั ชีว้ ดั เป้าหมาย ปี งบประมาณ
ที่
2561 2562 2563 2564
0
1 จานวนอบุ ตั กิ ารณท์ เ่ี กดิ ขน้ึ จากการทไ่ี มส่ ามารถประเมนิ ผปู้ ่วย 0 ครงั้ 0 0 0 100
กอ่ นเขา้ สภู่ าวะวกิ ฤตผลกระทบระดบั ≥ E
0.82
2 รอ้ ยละของบคุ คลทผ่ี า่ นเกณฑก์ ารประเมนิ Specific ≥ 90 100 100 100 0
competency 0.08
100
3 คา่ IRR ในการจาแนกผปู้ ่วย ≥ 0.8 0.81 0.82 0.84 94.9
3.91
4 อตั ราการกลบั มารกั ษาซา้ ภายใน 28 วนั ดว้ ยเรอ่ื งการ ≤3% 0 0 0 0.41
ปฏบิ ตั ติ วั ไมถ่ ูกตอ้ งของผปู้ ่วย CAD/DM ≤10% 0 0.08 0 0
100 0
5 รอ้ ยละการกลบั มารกั ษาซ้าภายใน 28 วนั ในผปู้ ่วย 100% 100 100 96.7
stroke ≥ 85% 94.1 96.1 0.33 0.33
0 ครงั้ 2.83 1.08 0
6 รอ้ ยละของผปู้ ่วย Stoke ไดร้ บั การประเมนิ การกลนื 0 ครงั้ 0 0.16 0
ภายใน 24 ชวั่ โมง 0 ครงั้ 0 0 0

7 ความพงึ พอใจของผใู้ ชบ้ รกิ ารตอ่ บรกิ ารพยาบาล 0 ครงั้ 0 0 0.08

8 จานวนความคลาดเคลอ่ื นในการบรหิ ารยาระดบั 0 ครงั้ 0.083 0.16
ผลกระทบ A-C

9 จานวนความคลาดเคลอ่ื นในการบรหิ ารยาระดบั
ผลกระทบ ≥ D

10 จานวนความคลาดเคลอ่ื นในการบรหิ ารยาทม่ี คี วาม
เสย่ี งสงู ระดบั ผลกระทบ A-D

11 จานวนความคลาดเคลอ่ื นในการบรหิ ารยาทม่ี คี วาม
เสย่ี งสงู ระดบั ผลกระทบ E-I

12 จานวนการพลดั ตกหกลม้ /ตกเตยี งทม่ี ผี ลกระทบระดบั E-I

13 จานวนการระบตุ วั ผปู้ ่วยผดิ พลาดระดบั ผลกระทบ ≥ 3 0 ครงั้ 0 0 0 0.5

คณะแพทยศาสตร์วชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธิราช

44

14 อตั ราความสมบูรณ์ของการบนั ทกึ ทางการพยาบาล ≥75% 76.29 75.93 76.29 76.88

ลาดบั ตวั ชว้ี ดั เป้าหมาย ปีงบประมาณ 2564
ท่ี 2561 2562 2563 0

15 อตั ราการเกดิ ปอดอกั เสบทส่ี มั พนั ธก์ บั การใสเ่ คร่อื งชว่ ย 8 ครงั้ ต่อ 0 00 5.26
หายใจ (VAP) 1,000วนั ใส่ 6.02
2.69 5.23 6.02 2.62
16 อตั ราการตดิ เชอ้ื ระบบทางเดนิ ปัสสาวะทส่ี มั พนั ธก์ บั 8 ครงั้ ต่อ 0
การใสส่ ายสวนปัสสาวะคา 1,000 วนั 0.9 2.69
ใส่
17 อตั ราการเกดิ แผลกดทบั ระดบั 1-4 100 100
≤6 ครงั้ /
1,000 นอน
เสย่ี ง

18 อตั ราแผลกดทบั ระดบั 1-2 หายภายใน 14 วนั 80% 100

19 อตั ราการเลอ่ื นหลดุ ของทอ่ ช่วยหายใจในผปู้ ่วยผใู้ หญ่ ลดลง 0 0 0 0
ระดบั ผลกระทบระดบั A-D 80%

20 อตั ราการเลอ่ื นหลุดของท่อชว่ ยหายใจในผปู้ ่วยผใู้ หญ่ 8 ครงั้ ตอ่ 0 0 0 0
ระดบั ผลกระทบระดบั E-I 1,000 วนั
ใส่

21 อตั ราการจดั การความปวดอยา่ งตอ่ เน่อื งในผปู้ ่วยมะเรง็ ≥ 80% 93.8 97.7 93.8 95.2

22 อตั ราการอกั เสบของหลอดเลอื ดดาส่วนปลายตงั้ แตร่ ะดบั 3 ≤5% 1.2 0.08 0.2 0.16
ขน้ึ ไป

23 จานวนครงั้ ของการรวั่ ซมึ ของยาเคมบี าบดั 0 ครงั้ 0 0 0 0

24 รอ้ ยละของคะแนนประเมนิ กจิ กรรม 5 ส ≥ 90% 87.2 92.7 89.4 92.1
0 ครงั้ 0.5 1 0.5 1.5
25 จานวนการเกดิ ภาวะ Hypoglycemia ในผปู้ ่วยทม่ี ี
ความเสย่ี งสงู

26 อตั ราผปู้ ่วย sepsis syndrome ไดร้ บั ยาปฏชิ วี นะ 100% 100 100 100 100
ภายใน 2 ชวั่ โมง

27 จานวนวตั กรรม/ โครงการพฒั นาคุณภาพกจิ กรรม 1 เร่อื ง 1 1 1 1
พฒั นาคุณภาพ ตอ่ ปี

คณะแพทยศาสตรว์ ชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธิราช

45

ลาดบั ปีงบประมาณ
xห
ท่ี ตวั ชว้ี ดั เป้าหมาย

2561 2562 2563 2564
2564

28 จานวนผลงานวจิ ยั ทางการพยาบาล 1 เร่อื ง/ 1 1 1 0
ตอ่ ปี

29 อตั ราความพงึ พอใจตอ่ กจิ กรรมโครงการ "คลนิ กิ ธรรมะ ≥ 85% 91.0 99.2 99.3 NA
รกั ษาใจ"

30 อตั ราความพงึ พอใจตอ่ กจิ กรรโครงการ "ธรรมะสญั จร: ≥ 85% 95.8 93.8 95.8 93
บณิ ฑบาตรทุกข"์

31 ผปู้ ่วยทม่ี ยี า stat order ไดร้ บั การตอบสนองภายใน 30 ≥ 100% 100% 100 100 100
นาที

32 อตั ราผปู้ ่วยระยะทา้ ยไดม้ ารบั การประเมนิ ครอบคลมุ ≥ 80% 100% 100% 100 100
ทุกมติ ิ

33 อตั ราความพงึ พอใจของญาตติ อ่ การดูแลแบบ ≥ 80% 96.1 93.6 96.1 95.2
ประคบั ประคอง

อตั ราผปู้ ่วยทไ่ี ดร้ บั การดแู ลแบบประคบั ประคอง/ ≥ 50% 100 100 100 100
34 ผปู้ ่วยระยะทา้ ยไดร้ บั บรกิ ารเคร่อื งมอื ทางการแพทยท์ ่ี

บา้ น

35 ระยะเวลารบั ใหม่ผปู้ ่วยเขา้ หอ้ งพเิ ศษ ≤60 นาที - - 100 100

36 อตั ราการวางแผนจาหน่าย (Discharge plan) ผปู้ ่วย ≥ 60% - - 83.9 65.2

21. ช่ือผลงานความสาํ เรจ็ ที่โดดเด่น (ไดร้ บั การยอมรบั ระดบั องคก์ ร/ ทีมคล่อมสายงาน) ในระยะเวลา

3 - 5 ปี (แนบในภาคผนวก)
21.1 โครงการ “คลนิ ิกธรรมะรกั ษาใจ” เป็นกจิ กรรมการใหค้ าปรกึ ษาแนวพุทธ ในการดูแลแบบประคบั ประคอง
มติ ดิ า้ นจติ ใจและจติ วญิ ญาณ ปัจจุบนั เผยแพร่สหู่ น่วยงานอ่นื ทงั้ ภายใน รายการทวี ี “The Giving” (บรษิ ทั เวริ ค์
พอยท์ จากดั และเผยแพร่ในรายการ “ธรรมในใจ” ทวี สี ชี ่อง 3 มาเยย่ี มชมกจิ กรรมโครงการ

คณะแพทยศาสตรว์ ชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธิราช

46

- ได้รบั รางวัล การประกวดโปสเตอร์ Palliative Care ในงาน Siriraj Palliative Care Day 2018 และนาเสนอ
ผลงานรปู แบบโปสเตอรใ์ นงาน HA National Forum ครงั้ ท่ี 20

- ได้รบั ทุนไปนาเสนอผลงานในการประชุมมหกรรมคุณภาพนานาชาติ ประจาปี 2563 จากสมาคมส่งเสริม
คุณภาพแห่งประเทศไทย

21.2 นวตั กรรม “Vajira Hand Lock : ปลอกมอื กนั ดงึ ”
21.3 นวตั กรรม “ถวั่ รอ้ นผ่อนคลาย”ใชใ้ นการประคบรอ้ น (hot compress)
22. กิจกรรม CQI/ การแกไ้ ขปัญหาสาํ คญั ทอ่ี ยรู่ ะหวา่ งดาํ เนินการ
22.1 โครงการพฒั นาคณุ ภาพการบนั ทกึ ทางการพยาบาล
22.2 “อุปกรณ์ป้องกนั แผลกดทบั บรเิ วณรอ่ งหู” นวตั กรรมในการป้องกนั แผลกดทบั
23. แผนพฒั นาคณุ ภาพหน่วยงาน/ กิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพทจ่ี ะดาํ เนินการในระยะเวลา 1 - 2 ปี
แผนระบชุ ่วงเวลาทช่ี ดั เจน มแี บบหวั ขอ้ ชดั เจน
23.1 การพฒั นาตามทศิ ทางองคก์ ร/ นโยบายของหน่วยเหนือทบ่ี งั คบั บญั ชา
23.2 โครงการพฒั นากระบวนการวางแผนจาหน่าย (ต.ค.63- ก.ย.64)
23.3 โครงการวางแผนจาหน่ายผปู้ ่วยโรคหลอดเลอื ดสมอง (ต.ค.63- ก.ย.64)
23.4 พฒั นาคุณภาพการดูแลผปู้ ่วยกลุม่ โรคสาคญั ทม่ี ุ่งเน้น :

1) ผปู้ ่วยทไ่ี ดร้ บั การรกั ษาดว้ ยการใส่อุปกรณ์ไฟฟ้าหวั ใจ (Pace maker) (ต.ค.63- ก.ย.64)
2) ผปู้ ่วย Sepsis (ต.ค.63- ก.ย.64)
3) ผปู้ ่วยเบาหวาน (ต.ค.63- ก.ย.64)
• การพฒั นาตามบรบิ ทของหน่วยงาน

- การพฒั นาการดูแลผปู้ ่วยแบบประคบั ประคองและผปู้ ่วยระยะสุดทา้ ย (ต.ค.63- ก.ย.64)
- พฒั นาระบบการประเมนิ เพ่อื เฝ้าระวงั ผปู้ ่วยกอ่ นเขา้ สภู่ าวะวกิ ฤต (ต.ค.62 – ปัจจบุ นั )
• แผนพฒั นาบคุ ลากร
- พฒั นาสมรรถนะบคุ ลากรใหค้ รอบคลุมกลมุ่ โรคสาคญั /กลุม่ โรค DSC
- พฒั นาสมรรถนะบคุ ลากร :

1) การดแู ลผปู้ ่วยทไ่ี ดร้ บั ยาเคมบี าบดั
2) การดแู ลผปู้ ่วยแบบประคบั ประคอง
3) การช่วยฟ้ืนคนื ชพี
4) พฤตกิ รรมบรกิ าร
• อ่นื ๆ

คณะแพทยศาสตรว์ ชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธิราช

47

เอกสารแนบ

กิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพ

1. เรือ่ งท่ี 1 งบปี ประมาณ พ.ศ.2560
2. ชื่อผลงาน การป้องกนั ภาวะน้าตาลในเลอื ดต่าในผปู้ ่วยเบาหวานเสย่ี งสงู
3. คาํ สาํ คญั ภาวะน้าตาลในเลอื ดต่า, ผปู้ ่วยเบาหวานเสย่ี งสงู
4. ปัญหา เป้าหมาย

ปัญหา ผูป้ ่วยเบาหวานทไ่ี ดร้ บั ยาฉีดอนิ ซลู นิ เกิดน้าตาลในเลอื ดต่าขณะนอนโรงพยาบาล ซง่ึ เป็นความเส่ยี ง
ทางคลนิ ิกทพ่ี บบ่อย และเป็นอุปสรรคต่อการรกั ษา ทาใหผ้ ูป้ ่วยกลวั การฉีดยาอนิ ซูลนิ และผู้ป่วยขาดความรู้เกย่ี วกบั
การเฝ้าระวงั อาการน้าตาลในเลอื ดต่ารวมทงั้ การแกไ้ ขเบอ้ื งตน้ ภายหลงั เกดิ ภาวะน้าตาลในเลอื ดต่า

เป้าหมาย ป้องกนั การเกดิ ภาวะน้าตาลในเลอื ดต่าในผปู้ ่วยเบาหวานเสย่ี งสงู ทไ่ี ดร้ บั ยาฉดี อนิ ซูลนิ

และลดระดบั ความรนุ แรงของภาวะน้าตาลในเลอื ดต่า
5. สาระสาํ คญั ของการพฒั นา

5.1 นาแนวทางการปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลทส่ี รา้ งจากหลกั ฐานเชงิ ประจกั ษม์ าใชใ้ นการปฏบิ ตั ิงาน
5.2 ทาการเฝ้าระวงั การเกดิ ภาวะน้าตาลในเลอื ดต่าในผปู้ ่วยเบาหวานทไ่ี ดร้ บั ยาฉดี อนิ ซลู นิ อยา่ งใกลช้ ดิ
6. ผลลพั ธ์:

ยงั พบอบุ ตั กิ ารณ์ภาวะ hypoglycemia แตร่ ะดบั ความรนุ แรง ไมเ่ กนิ ระดบั D ดงั แสดงในตาราง

ตวั ชว้ี ดั เป้า ปีงบประมาณ

หมาย 2561 2562 2563 2564

อบุ ตั กิ ารณ์การเกดิ ภาวะ 0 ครงั้ 5 12 10 20
hypoglycemia ในผปู้ ่วย
เบาหวานทม่ี ภี าวะเสย่ี ง

7. บทเรียนเพือ่ การแบง่ ปัน:

การประเมนิ ความเส่ยี งต่อการเกดิ ภาวะ hypoglycemia ในผูป้ ่วยเบาหวานทส่ี งู อายุ และมโี รคร่วม และ
การเฝ้าระวงั อยา่ งใกลช้ ดิ สามารถลดอุบตั กิ ารณ์และความรุนแรงจากภาวะแทรกซอ้ นดงั กลา่ ว

คณะแพทยศาสตรว์ ชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธิราช

48

1. เรอ่ื งท่ี 2 งบปี ประมาณ พ.ศ. 2560

2. ชื่อผลงาน นวตั กรรมทางการพยาบาล “Vajira hand lock: ปลอกมอื กนั ดงึ ”

3. คาํ สาํ คญั Vajira hand lock, ปลอกมอื กนั ดงึ

4. ปัญหา เป้าหมาย

ปัญหา

ผู้ป่วยกลุ่มโรคเร้อื รงั ส่วนใหญ่ช่วยเหลอื ตัวเองได้น้อย นอนติดเตียง (bed ridden) และตอ้ งคาสายหรอื อุปกรณ์

ตา่ งๆ เชน่ สายยางใหอ้ าหาร สายออกซเิ จน สายสวนปัสสาวะเป็นตน้ สงิ่ เหลา่ น้ลี ว้ นกอ่ ใหเ้ กดิ ความไม่สุขสบายต่อ

ผปู้ ่วย ผปู้ ่วยจงึ มกั ไม่ค่อยให้ความรว่ มมอื ในกจิ กรรมการดูแลรกั ษา โดยเฉพาะผู้ป่วยสงู อายุทม่ี ภี าวะสบั สนขณะ

เขา้ รบั การรกั ษาในโรงพยาบาลซึ่งสาเหตุเกิดจากพยาธสิ ภาพของโรค และส่วนหน่ึงเกดิ จากความไม่คุน้ เคยกับ

สงิ่ แวดลอ้ มใหม่ ผู้ป่วยจงึ พยายามจะดงึ สายยางต่างๆ ออกจากร่างกาย ทงั้ ทต่ี งั้ ใจและไมต่ งั้ ใจ วธิ กี ารป้องกนั ทใ่ี ช้

ในหอผปู้ ่วยตา่ งๆ คอื การผูกขอ้ มอื ยดึ กบั ขา้ งเตยี งดว้ ยผา้ ผกู มอื ทม่ี สี ายยาว วธิ นี ้แี มจ้ ะสามารถป้องกนั การดงึ สาย

ไดแ้ ต่ก่อใหเ้ กดิ ความเครยี ด ความราคาญ ส่งผลใหผ้ ปู้ ่วยบางรายมอี าการสบั สน อาละวาด รอ้ งเสยี งดงั นอกจากน้ี

ภายหลงั การผูกยดึ ผู้ป่วยมกั จะดน้ิ รนตอ่ สจู้ นก่อเกิดอนั ตรายจากการบาดเจบ็ ของผวิ หนังบรเิ วณขอ้ มอื เน่อื งจาก

แรงเสยี ดสจี ากการดงึ รงั้

เป้าหมาย ใชเ้ ป็นอุปกรณ์ ป้องกนั การดงึ สาย อปุ กรณ์ตา่ งๆ และป้องกนั อาการบาดเจบ็ จากการผกู ยดึ

5. สาระสาํ คญั ของการพฒั นา (Improvement High light)

5.1 ทบทวนอุบตั กิ ารณ์ทเ่ี กดิ ขน้ึ จากผลกระทบของการดงึ สาย อปุ กรณ์ต่างๆ และการบาดเจบ็ ทเ่ี กดิ

ขน้ึ กบั ผูป้ ่วย ร่วมกบั ทมี บคุ ลากรพยาบาล และคน้ หาแนวทางการป้องกนั แกไ้ ข

5.2 วเิ คราะหข์ อ้ ดี ขอ้ จากดั และวธิ กี ารของอปุ กรณผ์ กู ยดึ ทใ่ี ชอ้ ยูใ่ นปัจจุบนั

5.3 พฒั นานวตั กรรมใหม้ คี วามเหมาะสม สามารถใชง้ านไดเ้ ป็นอย่างดี มปี ระสทิ ธภิ าพ

5.4 มกี ารใชแ้ นวคดิ PDCA มาพฒั นากระบวนการ

5.5 เผยแพร่นวตั กรรมไปใชย้ งั หน่วยงานอ่นื

6. ผลลพั ธ์ (Results) ประสทิ ธภิ าพ และอตั ราความพงึ พอใจของผใู้ ชน้ วตั กรรม “Vajira Hand Lock: ปลอกมอื กนั ดงึ ”

หวั ข้อประเมิน ร้อยละ

1 .ท่านคดิ ว่านวตั กรรมมปี ระสทิ ธภิ าพในการป้องกนั การดงึ 96

2. ทา่ นคดิ ว่านวตั กรรมมคี วามสะดวก และงา่ ยตอ่ การใชง้ าน 100

3. แขง็ ทนทาน ทาความสะอาดไดง้ ่าย 96

4. ท่านมคี วามพงึ พอใจโดยรวมในการใชน้ วตั กรรม 97

7. บทเรียนเพ่ือการแบง่ ปัน (Lesson Learn)

7.1 ควรมกี ารประเมนิ ความตอ้ งการหรอื ความจาเป็นในการผูกยดึ ผปู้ ่วยและควรเลอื กอุปกรณ์

ทใ่ี ชผ้ ูกยดึ ผูป้ ่วยอยา่ งเหมาะสม

7.2 บคุ ลากรมกี ารพฒั นาองคค์ วามรใู้ หมๆ่ มคี วามคดิ รเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์

7.3 การใชน้ วตั กรรมเพอ่ื เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการดูแลผู้ป่วย

คณะแพทยศาสตร์วชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธิราช

49

คณะแพทยศาสตร์วชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธิราช

50

1. เรอื่ งท่ี 3 ปี งบประมาณ 2560
2. ช่ือผลงาน “ลดอาการปวดและภาวะแทรกซอ้ นจากการไดร้ บั การฉีดยาเฮพารนิ โมเลกุลตา่ เขา้ ใตผ้ วิ หนงั ”
3. คาํ สาํ คญั ภาวะแทรกซอ้ น, การฉดี ยาเฮพารนิ โมกุลตา่
4. ปัญหา เป้าหมาย

ปัญหา หอผูป้ ่วยเพชรรตั น์ 14A ใหก้ ารดแู ลผูป้ ่วยโรคหวั ใจ โดยเฉพาะผู้ป่วยโรคหลอดเลอื ดหวั ใจตบี
และกล้ามเน้ือหวั ใจขาดเลอื ดเฉียบพลนั (Acute Coronary Syndrome ) และชนิดเรอ้ื รงั (chronic stable angina)
ด้วยการถ่างขยายเส้นเลือดหัวใจ ตลอดทัง้ ผู้ป่ วยท่ีมีภาวะก้อนเลือดอุดตันในหลอดเลือด ท่ีไปเล้ียงปอด
(pulmonary emboli) หรอื ผู้ป่วยโรคเรอ้ื รงั ท่ตี อ้ งนอนนานๆ และมแี นวโน้มว่าจะเกิดก้อนเลอื ดอดุ ตนั หลอดเลอื ด
การให้ยาฉีดเฮพารนิ เขา้ ใต้ผวิ หนังเป็นหนึ่งในการรกั ษาท่สี าคญั และพบว่าผู้ป่ วยทไ่ี ด้รบั ยาฉีด เฮพารนิ เขา้ ใต้
ผวิ หนังจะมอี าการเจ็บปวดขณะฉีดและอาการไม่พงึ ประสงคจ์ ากรอยจ้าเลือด (bruise) หรอื เลอื ดออกใตผ้ วิ หนัง
(hematoma) เน่ืองจากวิธีการฉีด เทคนิคท่ีใช้ไม่ถูกต้อง ภายหลังทบทวนวิธีการบริหารยาฉีด และมีการ
ผลการวจิ ยั มาใชใ้ นการปรบั ปรุงวธิ กี ารใหย้ าดงั กล่าวโดยเพม่ิ การประคบความเยน็ กอ่ นและและหลงั การฉดี ยา 5
นาที จะช่วยลดอาการเจบ็ ปวด และขณะฉีดและอาการไม่พงึ ประสงคจ์ ากรอยจ้าเลอื ด หรอื เลอื ดออกใตผ้ วิ หนังได้
อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ

เป้าหมาย ลดอาการเจบ็ ปวดและรอยจ้าเลอื ด (bruise) หรอื เลอื ดออกใตผ้ วิ หนงั (hematoma) บรเิ วณ
ทไ่ี ดร้ บั การฉดี เฮพารนิ โมเลกลุ ต่าเขา้ ใตผ้ วิ หนัง
5. สาระสาํ คญั ของการพฒั นา

5.1 จดั ทา่ นอนผปู้ ่วยในทา่ นอนหงาย
5.2 เลอื กตาแหน่งฉดี ยาใหเ้ หมาะสม บรเิ วณหน้าทอ้ งดา้ นซา้ ย ขวา ห่างจากสะดอื 2น้วิ
5.3 ประคบเยน็ 5 นาที กอ่ น -หลงั ฉดี ยา
5.4 จบั ดงึ ผวิ หนงั ขน้ึ ดว้ ยน้วิ หวั แมม่ อื และน้วิ ช้ี (ผวิ หนงั จะถูกจบั ขน้ึ มาจนสน้ิ สดุ การฉดี ยา)
5.5 แทงเขม็ ในแนวตงั้ ฉากกบั ผวิ หนงั ใชเ้ วลาในการฉดี 10วนิ าที และรอ10วนิ าที
ก่อนดงึ เขม็ ออกในแนวตรง
หมายเหตุ : ไมไ่ ล่ฟองอากาศออกก่อนการฉีดยา เพราะอาจทาใหเ้ กดิ ภาวะเลอื ดออก
ใตผ้ วิ หนังและมยี าบางส่วนสญู หายได้
6. ผลลพั ธ์
6.1 อาการเจบ็ ปวดขณะฉีดลดลง (pain score ขณะฉดี ลดลงเหลอื 0-2 คะแนน)
6.2 เปรยี บเทยี บการฉดี ยาโดยประคบความเยน็ 5 นาที กอ่ น-หลงั ฉีด พบวา่ รอยจ้าเลอื ด (bruise)
และภาวะเลอื ดออกใตผ้ วิ หนงั (hematoma) ลดลงเม่อื เปรยี บเทยี บในผปู้ ่วยรายเดยี วกนั
7. บทเรยี นเพื่อการแบ่งปัน
7.1 การประคบความเยน็ กอ่ นฉดี ยาจะช่วยลดความเจบ็ ปวดขณะฉดี ยาไดด้ ี โดยเฉพาะ
ขณะแทงเขม็ ผปู้ ่วยจะไม่รสู้ กึ เจบ็ ปวด (pain score < 2คะแนน)
7.2 ภายหลงั ฉดี ยาควรมกี ารสงั เกตและเฝ้าระวงั ภาวะเลอื ดออกบรเิ วณทฉ่ี ีดยาและเนน้
ผปู้ ่วยหา้ มถูหรอื คลงึ บรเิ วณทฉ่ี ีดยา

คณะแพทยศาสตร์วชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธิราช


Click to View FlipBook Version