The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ตรวจงานแปลมัทธิว 8 9 10

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by P. Tads, 2021-06-05 00:30:47

10. มัทธิว 8:1 – 9:34

ตรวจงานแปลมัทธิว 8 9 10

มทั ธิว 8:1 – 9:34 ปาฏิหาริยแ์ ละความเป็นศิษย์

ภาพรวม
นักบุญมทั ธวิ ไดส้ รุปเร่อื งพระเยซูเจา้ ทรงรกั ษาคนเจบ็ ป่ วยและการขบั ไล่วญิ ญาณรา้ ย (4:23-24) แต่เร่อื ง

ปาฏหิ ารยิ แ์ รกเรมิ่ เกดิ ขน้ึ ในสว่ นน้ีของพระวรสาร โดยทา่ นนกั บุญมทั ธวิ ไดร้ วบรวมจากแหล่งขอ้ มลู ของทา่ นและ
จดั เรยี บเรยี งใหม่เพ่อื สอ่ื สารแนวคดิ ทางครสิ ตศาสตร์ เร่อื งต่างๆ ทอ่ี ย่ใู น 8:1 – 9:34 ไม่ควรตคี วามแยกกนั แต่
ละเรอ่ื งควรตคี วามในบรบิ ท(ของสว่ นน้ี)ในภาพรวม เน่ืองจากนกั บุญมทั ธวิ ไดว้ างเรอ่ื งตา่ งๆ รวมกนั ไวเ้ ป็นหน่วย
เดยี วกนั เพอ่ื นาเสนอพระเยซูเจา้ ในฐานะ “พระเมสสยิ าห์ ในกจิ การ” (Messiah in Deed) (ดู 11:2) ซง่ึ สอดคลอ้ งกบั
5:1 – 7:29 ในฐานะ “พระเมสสยิ าห์ ในพระวาจา” (Messiah in Word) (ดู 7:28 และบทนา) ภาพของพระเยซูเจ้าท่ี
ตรสั และกระทาสงิ่ ต่างๆ อย่าง “ทรงอานาจ” (ejxousi"a exousia) ทาใหส้ ่วนย่อยทงั้ สองน้ีรวมเป็นหน่ึงเดยี วกนั

(เหน็ ไดช้ ดั จาก 7: 29; 8: 9; 9: 6-8)

จากแหล่งขอ้ มูล (พระวรสารนักบุญมาระโกและเอกสารแหล่ง Q) นักบุญมทั ธวิ ไดเ้ ลอื กเร่อื ง “การทางาน” ของพระ
เยซูเจ้าท่ีแสดงให้เห็นถึงฤทธิเ์ ดชของพระเป็นเจ้าในการช่วยผู้คนให้รอดพ้นผ่านทางพระเยซูเจ้า โดยทรง
ชว่ ยเหลอื ผคู้ นทต่ี กเป็นเหยอ่ื ของสถานการณ์และอานาจตา่ งๆ และไมอ่ าจชว่ ยเหลอื ตนเองได้ ไดแ้ ก่ คนโรคเรอ้ื น
คนเป็นอมั พาต ความเจบ็ ป่วย แผน่ ดนิ ไหวและพายุ ผถู้ ูกครอบงาจากวญิ ญาณรา้ ย ความบาป ความหหู นวกเป็น
ใบ้ ตาบอด และความตาย แต่ละเร่อื งเป็นพระวรสารขนาดย่อทช่ี ใ้ี หเ้ หน็ ถงึ ความหมายของการเสดจ็ มาของพระ
ครสิ ต์ในภาพรวม มหี ลายกรณีทแ่ี สดงถงึ ผูค้ นทส่ี งั คมชาวยวิ ไม่เหน็ ความสาคญั เช่น คนเป็นโรคเรอ้ื น คนต่าง
ศาสนา คนทถ่ี ูกมารปิศาจสงิ ผหู้ ญงิ โดยเฉพาะผหู้ ญงิ ทม่ี อี าการตกเลอื ด (ทงั้ ในพระวรสารนักบุญมทั ธวิ และพระวรสารอ่นื ๆ
ไม่เคยมเี ร่อื งเล่าท่พี ระเยซูเจา้ รกั ษานักบวช ชาวฟารสิ ี ธรรมาจารย์ ผูอ้ าวุโส หรอื ชาวสะดุส)ี นักบุญมทั ธวิ ยงั ทาให้เร่อื งเล่าท่ที ่านได้

215

คดั เลอื กไวส้ อดคลอ้ งกบั คาอธบิ ายในพระคมั ภรี เ์ กย่ี วกบั การไถก่ ขู้ องพระเป็นเจา้ ในอนั ตกาล (อสย. 35:5-6) ซง่ึ ตอ่ มา
ทา่ นไดย้ กขอ้ ความจากพระคมั ภรี ด์ งั กลา่ วและชแ้ี สดงกลบั ไปทส่ี ว่ นน้ีอกี (11:4-5)

อกี ครงั้ หน่ึงท่นี ักบุญมทั ธวิ ใชโ้ ครงสรา้ งแบบไตรสมั พนั ธ์ โดยมเี ร่อื งเล่าปาฏหิ ารยิ ส์ ามเร่อื งทงั้ หมดสาม
ชุด เน่ืองจากในหน่ึงเร่อื งนัน้ มอี ีกเร่อื งหน่ึงสอดแทรกอยู่ (9:18-26) จงึ มปี าฏิหารยิ ์ทงั้ หมด 10 เร่อื ง ซ่ึงเป็นการ
สะทอ้ นถงึ รปู แบบและสญั ลกั ษณ์เกย่ี วกบั ทา่ นโมเสส ทป่ี รากฏเดน่ ชดั อยใู่ นกลยุทธก์ ารประพนั ธข์ องนกั บุญมทั ธวิ
ทงั้ หมด โมเสสแสดงอานาจ 10 ประการเพอ่ื ปลดปล่อยประชากรของพระเป็นเจา้ พระเยซูเจา้ ทรงทาเช่นนนั้ ดว้ ย
แต่การกระทาทแ่ี สดงพระราชอานาจของพระเยซูเจา้ นนั้ เป็นการกระทาแห่งความเมตตาและการช่วยใหร้ อดพน้
ไมใ่ ชก้ ารตดั สนิ ผกู้ ดข่ี นกั บุญมทั ธวิ ไดเ้ ปลย่ี น “บตุ รแหง่ ดาวดิ ” ทก่ี า้ วรา้ วรนุ แรงและเป็นผพู้ ชิ ติ กลายเป็นกษตั รยิ ์
ผทู้ รงรกั ษาเยยี วยาผคู้ นและไมต่ อบโตผ้ ใู้ ด เพยี งแต่ปลกี ตวั ออกมา (ดู 12:9-21) ท่านเปลย่ี นการปลดปล่อยดว้ ยการ
ใชก้ าลงั ใหเ้ ป็นการกระทาเป่ียมดว้ ยความรกั และเมตตาแทน

ภาพเปรยี บเทยี บ ปาฏหิ ารยิ แ์ บบภยั พบิ ตั จิ ากธรรมชาติ กบั ปาฏหิ ารยื ก์ ารรกั ษาโรคภยั โดยพระเยซูเจา้

ภยั พบิ ตั ิ (อพย. 7-10) ปาฏหิ ารยิ ์ (มธ. 8-9)

การปลดปล่อยจากอยี ปิ ต์ พระเยซูเจา้ ทรงประกาศอาณาจกั รสวรรค์

ไมเ้ ทา้ กลายเป็นงู เรอ่ื งเล่า : การอศั จรรยส์ บิ ประการ

ภยั พบิ ตั ปิ ระการแรก น้ากลายเป็นเลอื ด 1. พระเยซูเจา้ ทรงรกั ษาคนโรคเรอ้ื น

ภยั พบิ ตั ปิ ระการทส่ี อง ฝงู กบ 2. พระเยซูเจา้ ทรงรกั ษาผรู้ บั ใชข้ องนายรอ้ ย

ภยั พบิ ตั ปิ ระการทส่ี าม ฝงู ยงุ 3. พระเยซูเจา้ ทรงรกั ษามารดาของภรรยาเปโตร

ภยั พบิ ตั ปิ ระการทส่ี ่ี ฝงู เหลอื บ 4. พระเยซูเจา้ ทรงรกั ษาผปู้ ่วยจานวนมาก

ศษิ ยข์ องพระเยซูเจา้ ตอ้ งอทุ ศิ ตนโดยไมม่ เี งอื่ นไข

ภยั พบิ ตั ปิ ระการทห่ี า้ ฝงู สตั วข์ องชาวอยี ปิ ตล์ ม้ ตาย5. พระเยซูเจา้ ทรงทาใหพ้ ายสุ งบ

ภยั พบิ ตั ปิ ระการทห่ี ก ฝีรา้ ย 6. ชาวกาดาราผถู้ ูกปีศาจสงิ

ภยั พบิ ตั ปิ ระการทเ่ี จด็ ลกู เหบ็ 7. พระเยซูเจา้ ทรงรกั ษาคนอมั พาต

พระเยซเู จา้ ทรงเรยี กมทั ธวิ

พระเยซเู จา้ เสวยพระกระยาหารรว่ มกบั คนบาป

การถกเถยี งเรอื่ งการจาศลี อดอาหาร

ภยั พบิ ตั ปิ ระการทแ่ี ปด ฝงู ตกั ๊ แตน 8. พระเยซูเจา้ ทรงรกั ษาหญงิ ตกเลอื ด ทรงปลกุ

บตุ รหญงิ ของหวั หน้า(ศาลาธรรม)ใหค้ นื ชวี ติ

ภยั พบิ ตั ปิ ระการทเ่ี กา้ ความมดื 9. พระเยซูเจา้ ทรงรกั ษาคนตาบอดสองคน

ฉลองปัสกา 10. พระเยซูเจา้ ทรงรกั ษาคนถูกปีศาจสงิ

เทศกาลขนมปังไรเ้ ชอ้ื ความทกุ ขย์ ากของประชาชน

โมเสสสงั่ ประชาชนใหฉ้ ลองปัสกา แลว้ พระองคต์ รสั แก่บรรดาศษิ ยว์ า่ “ขา้ วทจ่ี ะเกบ็

ภยั พบิ ตั ปิ ระการทส่ี บิ บุตรชายคนแรกถูกประหาร เกย่ี วมมี าก แตค่ นงานมนี ้อย จงวอนขอเจา้ ของนาให้

ชาวอสิ ราเอลไดท้ รพั ยส์ นิ ทงั้ หมดของชาวอยี ปิ ต์ ส่งคนงานมาเกบ็ เกย่ี วขา้ วของพระองคเ์ ถดิ ”

ชาวอสิ ราเอลออกเดนิ ทาง

216

กฎเกยี่ วกบั การฉลองปัสกา

เร่อื งเล่าตอนน้ีไม่ได้มเี พยี งแต่เร่อื งปาฏหิ ารยิ ์อย่างเดยี วเท่านัน้ แต่รวมถงึ องค์ประกอบอ่นื ๆ ท่แี สดง
ความหมายของการเป็นศษิ ย์ ความเช่อื และความขดั แยง้ ทเ่ี กดิ จากการแทรกเขา้ มาของพระอาณาจกั รพระเจา้
(8:18-22; 9:9-17) เน้ือหาเกย่ี วกบั การเป็นศษิ ยไ์ ม่ไดเ้ ป็นสง่ิ ทน่ี อกประเดน็ แต่รวมอยใู่ นโครงสรา้ งของวรรณกรรมซง่ึ
เน้นย้าถงึ ความเช่อื ของนักบุญมทั ธวิ ว่าครสิ ตศาสตรแ์ ละความเป็นศษิ ย์ (พระศาสนจกั รศาสตร)์ เก่ยี วขอ้ งกนั และไม่
อาจแยกจากกนั ได้ ขอ้ พจิ ารณาเหล่าน้ีเสนอออกมาเป็นโครงสร้างในรูปภาพท่ี 5 เช่นเดยี วกบั โครงสร้างของ
นกั บญุ มทั ธวิ ในสว่ นน้ี

รปู ภาพท่ี 5: โครงสรา้ งของพระวรสารนกั บญุ มทั ธวิ บทท่ี 8: 1 – 9: 34 8: 1-17
I. กจิ การของพระครสิ ตเจา้ ทรงกระทาดว้ ยอานาจสาหรบั ผคู้ นชายขอบและผถู้ กู ทอดทง้ิ 8: 1-4 = มก. 1: 40-45
8: 5-13 = Q, ลก. 7: 1-10
ก. รกั ษาคนโรคเรอ้ื น 8: 14-15 = มก. 1: 29-31
ข. รกั ษาคนใช/้ ทาสผเู้ ป็นอมั พาตของนายทหารโรมนั
ค. รกั ษาหญงิ ป่วยไขแ้ ละคนจานวนมาก 8: 18 – 9: 17
8: 18-27 = Q; ลก. 9: 57-60;
II. กจิ การของพระครสิ ตอ์ นั ทรงอานาจสรา้ งชุมชนศษิ ย์
มก. 4: 35-41
ก. พระครสิ ตเจา้ ทรงบงั คบั คลน่ื พายุ 8: 28-34 = มก. 5: 1-20
9: 1-17 = มก. 2: 1-22
ข. พระครสิ ตเจา้ ทรงขบั ไล่ปีศาจ ชว่ ยประชาชนในดนิ แดนใหม(่ หา่ งไกล)
ค. พระครสิ ตเจา้ ทรงเป็นนายแหง่ ความขดั แยง้ และการตอ่ สู้ 9: 18-34
9: 18-26 = มก. 5: 21-43
III. พระอานาจปลุกความเชอ่ื ศรทั ธาและความไมเ่ ชอ่ื 9: 27-31 = มก. 10: 46-52
9: 32-34 = Q; ลก. 11: 14-15
ก. ความเชอ่ื ในพระเยซูเจา้ ผทู้ รงอยเู่ หนอื ความเจบ็ ป่วย, การถกู ทอดทง้ิ และความตาย
ข. ทรงเป็นแสงสว่างคนื สายตาแก่คนตาบอดและคนสงสยั ดา้ นความเชอ่ื ศรทั ธา
ค. ความเชอ่ื และไมเ่ ชอ่ื : ทรงรกั ษาคนใบแ้ ละคนถูกปีศาจสงิ

โครงสร้างในรูปภาพท่ี 5 ได้รบั การออกแบบอย่างตงั้ ใจเพ่ือเอ้ือให้เกิดการเคล่อื นตวั ของเร่อื งเล่าใน
ลกั ษณะหน่ึง (สมั ผสั ไดจ้ ากความล่นื ไหลของส่วนทเ่ี ป็นการเล่าเร่อื ง ซ่งึ ไม่ใช่โครงสรา้ งแบบคงทเ่ี หมอื นสว่ นทแ่ี สดงไวเ้ พ่อื การวเิ คราะหด์ า้ นบน)
หน่วยต่างๆ ไดจ้ ดั วางเพอ่ื นาไปสู่ (ฉาก) ทอ้ งเรอ่ื งทเ่ี ป็นจุดสงู สุด นกั บุญมทั ธวิ ตอ้ งการสรุปดว้ ยการตอบสนองต่อ
การขบั ไล่วญิ ญาณรา้ ยซง่ึ แยกออกเป็นสว่ นๆ ใน 9:32-34 เพอ่ื นาเสนอต่อขอ้ กลา่ วหาของฟารสี ที ว่ี า่ พระองคส์ มรู้
รว่ มคดิ กบั ซาตานในลกั ษณะเป็นประเดน็ สดุ ทา้ ยของชดุ เรอ่ื งเล่าน้ี

เม่อื มาถงึ 9:34 ผอู้ ่านจะอย่ใู นจุดท่ีแตกต่างไปจากเดมิ มากกว่าตอน 8:1 ในการเขา้ ใจเร่อื งราวของพระ
เยซูเจา้ เพราะเป็นครงั้ แรกในพระวรสารทม่ี คี วามขดั แยง้ ต่างๆ ระหวา่ งพระเยซูเจา้ กบั คนอ่นื เกดิ ขน้ึ (ใน 9:2 ธรรมา
จารย์คดั ค้านการการกล่าวให้อภยั บาปของพระเยซูเจ้า) ช่วงท่ผี ่านมามเี พยี งแต่มารรา้ ยเท่านัน้ ท่ตี ่อต้านพระเยซูเจ้า (4:1-11)
แสดงให้เห็นความขดั แย้งระหว่างพระอาณาจกั รของพระเป็นเจ้าและอาณาจกั รของซาตานไว้ใน 1:18 - 2:23
ในตอนน้ี เล่าถงึ การแตกแยกแบ่งออกเป็นสองฝ่ายเกดิ ขน้ึ ในอสิ ราเอล อนั เน่ืองมาจากการตอบสนองต่ออานาจ
แห่งพระวาจาและการกระทาของพระเยซูเจา้ ชุมชนศษิ ย์ของพระเยซูเจา้ ก่อตวั ขน้ึ ชาวฟารสิ เี ขา้ ร่วมกบั ความ
ขดั แยง้ น้ีใน 9:11 ในเร่อื งเดมิ คอื การทพ่ี ระเยซูเจา้ ทรงยอมรบั คนบาป (ดู 1:21-23) ความขดั แยง้ น้ีรุนแรงขน้ึ จนใน

217

ทส่ี ุดชาวฟารสิ กี ล่าวหาวา่ พระองคก์ ระทาการดว้ ยอานาจของมารรา้ ย ตลอดชว่ ง 8:1- 9:34 ไม่มใี ครปฏเิ สธไดว้ ่า
ปาฏหิ ารยิ ไ์ ม่ไดเ้ กดิ ขน้ึ จรงิ แต่ละคนสามารถเลอื กตอบสนองต่อการทาปาฏหิ ารยิ ข์ องพระเยซูเจา้ ดว้ ยความเช่อื
หรอื ความไม่เช่อื แต่คงต้องยอมรบั ว่ามปี าฏิหารยิ ์เกดิ ขน้ึ (ดูบทเสรมิ เร่อื ง “การตคี วามเร่อื งราวปาฏหิ ารยิ ์ในพระวรสารนักบุญ

มทั ธวิ ”)

มทั ธวิ 8:1-17 พระครสิ ตก์ ระทาการอยา่ งทรงอานาจเพอ่ื ผคู้ นชายขอบและผถู้ ูกกดี กนั จากสงั คม
มทั ธวิ 8:1-4 พระครสิ ตร์ กั ษาผปู้ ่วยโรคเรอ้ื น

III. พระเยซเู จา้ ทรงประกาศอาณาจกั รสวรรค์
ก. เรอ่ื งเล่า : การอศั จรรยส์ บิ ประการ
พระเยซูเจ้าทรงรกั ษาคนโรคเรอื้ น

1 เมอ่ื พระเยซูเจา้ เสดจ็ ลงมาจากภเู ขา ประชาชนจานวนมากตดิ ตามพระองค์ 2 ทนั ใดนนั้ คนโรคเรอ้ื นคนหน่ึงมาเฝ้าพระองค์
กราบลงทลู วา่ “พระเจา้ ขา้ ถา้ พระองคพ์ อพระทยั กท็ รงรกั ษาขา้ พเจา้ ใหห้ ายได”้ 3 พระองคท์ รงยน่ื พระหตั ถ์สมั ผสั เขา ตรสั วา่
“เราพอใจ จงหายเถดิ ” โรคเรอ้ื นกห็ ายไปทนั ท1ี 4 พระเยซเู จา้ ตรสั กบั เขาอกี วา่ “ระวงั อยา่ บอกใหใ้ ครรเู้ ลย จงไปแสดงตนแก่สม
ณะและถวายเครอ่ื งบชู าตามทโ่ี มเสสกาหนด เพอ่ื เป็นพยานหลกั ฐานแก่คนทงั้ หลาย”

ภาพรวม
ผปู้ ่วย “โรคเรอ้ื น” เป็นฝ่ายเรมิ่ มาหาพระเยซูเจา้ “โรคเรอ้ื น” (Leprosy) ในความหมายของพระคมั ภรี ไ์ ม่

เหมอื นกบั คาว่าโรคเรอ้ื นในปัจจบุ นั (Hansen’s Disease) แต่หมายรวมถงึ โรคผวิ หนังหลากหลายชนิด บางชนิด
ไม่รา้ ยแรงถงึ กบั ทาใหเ้ สยี ชวี ติ อยา่ งไรกต็ าม เหน็ ไดช้ ดั เจนวา่ นกั บุญมทั ธวิ มองสภาพอนั เลวรา้ ยของผทู้ ป่ี ่วยเป็น
โรคประเภทน้ีตามหนังสอื เลวนี ิติ บทท่ี 13-14 ซง่ึ ถูกมองว่าเหมอื นเป็นการตายทงั้ เป็น ทงั้ ทางร่างกายและทาง
สงั คม “ผูใ้ ดถูกตรวจพบว่าเป็นโรคตดิ ต่อ....ต้องสวมเส้อื ผา้ ฉีกขาด...ปล่อยผมรุงรงั ปิดส่วนล่างของใบหน้าและ
รอ้ งว่า ‘เป็นมลทนิ เป็นมลทนิ ’….เขาจะต้องอยู่ตามลาพงั ” [ลนต. 13-45-46] นักบวชชาวยวิ ใช้พ้นื ทจี่ านวนมากใน
หนังสอื มชิ นาห์ (Mishnah) เพอื่ กล่าวถงึ เรอื่ งน้ี และเปรยี บเทยี บว่าการหายจากโรคเร้อื นเหมอื นกบั การกลบั คนื
ชพี จากความตาย นักบุญมทั ธวิ ได้จดั ลาดบั ขอ้ มูลจากแหล่งของท่านเพ่อื เรมิ่ เร่อื งเล่าน้ี ซ่งึ เป็นสญั ลกั ษณ์ของ
สถานการณ์มนุษยท์ เ่ี ป็นอยแู่ ละการไถ่กขู้ องพระเป็นเจา้ ผา่ นทางพระครสิ ต์ ทช่ี ว่ ยฟ้ืนคนื ชวี ติ ของผคู้ นและชุมชน
และเป็นการเน้นความเคารพท่พี ระเยซูเจา้ มตี ่อธรรมบญั ญตั ิ(หนังสอื ปัญจบรรพ) ดงั นัน้ ชายผูน้ ้ีจงึ “กราบนมสั การ”
พระเยซูเจา้ (มาจากคาวา่ proskune"w proskyneo ซง่ึ เป็นคาเดยี วกนั ใน 2:2,8; 4:10; ฯลฯ) และไม่ไดก้ ล่าวถงึ พระองคใ์ นฐานะ
นักมายากลหรอื ผูก้ ระทาปาฏหิ ารยิ ท์ ศ่ี กั ดสิ ์ ทิ ธิ ์ แต่ในฐานะ “พระเป็นเจา้ ” ของชาวครสิ ต์ ซง่ึ มแี ต่ผเู้ ช่อื เท่านัน้ ท่ี
เรยี กพระองคเ์ ช่นน้ีในพระวรสารนกั บุญมทั ธวิ (ดบู ทเสรมิ เร่อื ง “ครสิ ตศาสตรใ์ นพระวรสารนกั บุญมทั ธวิ ” ) ผเู้ ป็นโรคเรอ้ื นไมไ่ ด้
รอ้ งกล่าวคาเตอื นว่า “มมี ลทนิ ” แต่กล่าวขอความช่วยเหลอื เหมอื นการวอนขอจากพระเป็นเจา้ (ดู 7:7) เขาไม่ได้
ขอใหพ้ ระเยซูเจา้ ทรงชว่ ยรกั ษาเขาดว้ ยคาวา่ “หากพระองคท์ าได”้ แตก่ ล่าวแสดงความเช่อื อยา่ งเหมาะสมต่อผทู้ ่ี
จะทรงเป็นพระเจา้ หลงั การกลบั คนื พระชนมช์ พี และยอมใหท้ ุกสงิ่ เป็นไปตามพระประสงคส์ งู สุดของพระเยซูเจา้
เท่านนั้ พระเยซูเจา้ ทรงตอบสนองต่อการแสดงออกน้ี พระองคไ์ ม่ไดร้ อ้ งขออานาจจากพระเป็นเจา้ หรอื ออกนาม
ของพระเป็นเจา้ พระองคไ์ ม่ไดก้ ล่าวว่า “พระเป็นเจา้ จะ” แต่กล่าวว่า “เราจะ” ซ่งึ เป็นการกล่าวอย่างผูม้ อี านาจ
สงู สุด ผทู้ รงเป็นพระเป็นเจา้ ทส่ี ถติ อยทู่ า่ มกลางเรา (1:21)

218

ผเู้ ป็นโรคผวิ หนังทไ่ี ด้รบั การรกั ษาใหห้ ายแลว้ จะกลบั คนื ส่สู งั คมทนั ทไี ม่ไดจ้ นกว่าจะไดร้ บั การประกาศ
อย่างเป็นทางการโดยสมณะ(นักบวช)ว่าเขาสะอาดปราศจากมลทนิ แลว้ หนังสอื ปัญจบรรพไดก้ าหนดพธิ กี รรม
ยาวเหยยี ดในการทาใหเ้ กดิ ความสะอาดน้ี (ลนต. 4) ในท่นี ้ี พระเยซูเจ้าแสดงองค์ในฐานะผูท้ ่เี คารพธรรมบญั ญตั ิ
อยา่ งเครง่ ครดั (ตย. 5:17-20) ในแหล่งขอ้ มลู ของนกั บุญมทั ธวิ คาพดู ทว่ี า่ “จงอยา่ บอกเรอ่ื งน้ีกบั ใคร” (ว. 4) เป็นสว่ น
หน่ึงของ “ความลบั แห่งพระเมสสยิ าห์” (Messianic Secret) แต่ในพระวรสารน้ีต้องการหมายความเพยี งแค่ว่า
“อย่าชกั ชา้ รา่ ไร รบี ตรงไปแสดงตนต่อสมณะ” ซ่งึ เป็นการเน้นย้าว่าพระเยซูเจ้าทรงใส่ใจกบั การปฏบิ ตั ติ ามกฎ
บญั ญตั ิ ชายผนู้ ้ีไดท้ าเช่นนัน้ ซ่งึ เป็นตวั อย่างการตอบสนองท่เี หมาะสมกบั ผูเ้ ป็นศษิ ย์ (แต่นักบุญมทั ธวิ ขา้ มขอ้ ความใน
มก. 1:45!) การกระทาของชายผนู้ ้ีคอื “การเป็นพยานใหก้ บั พวกเขา” ว่าเขาไดร้ บั การรบั รองวา่ หายจากโรคผวิ หนัง
แลว้ และพระเยซูเจา้ ปฏบิ ตั ติ ามธรรมบญั ญตั ิ นอกจากน้ยี งั เป็นพยานใหก้ บั ผอู้ า่ นวา่ พระเยซูเจา้ ทรงกระทาภารกจิ
ของพระเมสสยิ าหไ์ ดส้ าเรจ็ (11:5) ในเน้ือหาสว่ นน้ีพระเยซูเจา้ ทรงเคารพและใหเ้ กยี รตธิ รรมบญั ญตั ิ (ดงั ใน 5:17)
และทรงอยู่เหนือธรรมบญั ญตั ดิ ว้ ย เช่น คล้ายว่าทรงละเมดิ ธรรมบญั ญตั ใิ นเชงิ เทคนิค (การแตะต้องตวั ผูเ้ ป็นโรค

ผวิ หนัง 8:3; ดู ลนต. 5:3; 14-15 ส่วนใน มก. 1: 43-45 เล่าว่า 43 พระเยซูเจ้าทรงให้เขาไปทนั ที ทรงกาชบั อย่างแขง็ ขนั ว่า 44
“ระวงั อย่าบอกอะไรใหใ้ ครรเู้ ลย แต่จงไปแสดงตนแก่สมณะ และถวายเครอื่ งบชู าตามทโี่ มเสสกาหนด เพอื่ เป็นหลกั ฐานแก่คนทงั้
หลายวา่ ท่านหายจากโรคแลว้ ” 45 แต่เมอื่ ชายผูน้ ัน้ จากไป เขากป็ ่าวประกาศกระจายข่าวไปทวั่ จนพระองคไ์ ม่อาจเสดจ็ เขา้ ไปใน

เมอื งไดอ้ ย่างเปิดเผยอกี ต่อไป พระองค์จงึ ประทบั อยู่นอกเมอื งในทเี่ ปลยี่ ว แมก้ ระนัน้ ประชาชนจากทุกทศิ กย็ งั มาเฝ้าพระองค์)
แสดงวา่ พระองคท์ รงปลกี ตวั ออกไปในถนิ่ หา่ งไกลหรอื ถนิ่ ทุรกนั ดาร แต่ไม่มรี ายละเอยี ด ดงั นนั้ เน้ือหาสว่ นน้ีจงึ มี
ทศั นคตแิ บบวภิ าษวธิ ี (Dialectical Attitude) เกย่ี วกบั เร่อื งธรรมบญั ญตั เิ ช่นเดยี วกบั เน้ือหาขอ้ ความทข่ี ดั แยง้ กนั

(ดู 5:21-48)

มทั ธวิ 8:5-13 พระครสิ ตท์ รงรกั ษาคนรบั ใชข้ องนายทหารโรมนั

พระเยซูเจา้ ทรงรกั ษาผ้รู บั ใช้ของนายรอ้ ย
5 เมอ่ื พระองคเ์ สดจ็ เขา้ เมอื งคาเปอรนาอมุ นายรอ้ ยคนหน่ึงเขา้ มาเฝ้าพระองค์ ทลู ออ้ นวอนวา่ 6 “พระองคเ์ จา้ ขา้ ผรู้ บั ใชข้ องขา้ พ
เจา้ เป็นอมั พาตนอนอยทู่ บ่ี า้ น ตอ้ งทรมานอยา่ งสาหสั ” 7 พระเยซูเจา้ จงึ ตรสั กบั เขาวา่ “เราจะไปรกั ษาเขาใหห้ าย” 8 แตน่ ายรอ้ ย
ทลู ตอบวา่ “พระองคเ์ จา้ ขา้ ขา้ พเจา้ ไมส่ มควรใหพ้ ระองคเ์ สดจ็ เขา้ มาในบา้ นของขา้ พเจา้ แตข่ อพระองคต์ รสั เพยี งคาเดยี วเทา่ นนั้
ผรู้ บั ใชข้ องขา้ พเจา้ กจ็ ะหายจากโรค 9 ขา้ พเจา้ เป็นคนอยใู่ ตบ้ งั คบั บญั ชา แตก่ ย็ งั มที หารอยใู่ ตบ้ งั คบั บญั ชาดว้ ย ขา้ พเจา้ สงั่ ทหาร
คนน้ีวา่ ‘ไป’ เขากไ็ ป สงั่ อกี คนหน่ึงวา่ ‘มา’ เขากม็ า ขา้ พเจา้ สงั่ ผรู้ บั ใชว้ า่ ‘ทาน่ี’ เขากท็ า 10 เมอ่ื พระเยซเู จา้ ทรงไดย้ นิ เชน่ น้ี ทรง
ประหลาดพระทยั จงึ ตรสั แก่บรรดาผตู้ ดิ ตามวา่ “เราบอกความจรงิ แก่ทา่ นทงั้ หลายวา่ เรายงั ไมเ่ คยพบใครมคี วามเชอ่ื มากเชน่ น้ี
ในอสิ ราเอลเลย 11 เราบอกท่านทงั้ หลายวา่ คนจานวนมากจะมาจากทศิ ตะวนั ออกและตะวนั ตก และจะนงั่ รว่ มโต๊ะกบั อบั ราฮมั
อสิ อคั และยาโคบในอาณาจกั รสวรรค์ 12 แตบ่ ุตรแหง่ อาณาจกั รจะถกู ขบั ไลอ่ อกไปในทม่ี ดื ขา้ งนอก ทน่ี นั่ จะมแี ต่การร่าไหค้ ร่า
ครวญ และขบฟันดว้ ยความขนุ่ เคอื ง” 13 แลว้ พระเยซูเจา้ จงึ ตรสั กบั นายรอ้ ยวา่ “จงไปเถดิ จงเป็นไปตามทท่ี ่านเชอ่ื นนั้ เถดิ ” ผรู้ บั
ใชข้ องเขากห็ ายจากโรคในเวลานนั้ เอง

219

ข้อศึกษาวิพากษ์
นกั บุญมทั ธวิ ประพนั ธ์เรอ่ื งตอนน้ีโดยการผสมผสานเน้ือหาสองส่วนจากเอกสารแหล่ง Q (ลก 7:1-10; 13:28-

29) อย่างกระชบั โดยมุ่งเน้นทค่ี าพดู ของนายทหารและพระเยซูเจา้
8:5-6 ตามโครงเร่อื งในพระวรสารนักบุญมทั ธวิ พระเยซูเจา้ เสดจ็ กลบั ไปทค่ี าเปอรน์ าอุม ซ่งึ เป็น “เมอื ง

ของพระองค์” (9:1) เป็นครงั้ แรก ท่เี ป็นสญั ลกั ษณ์หมายถงึ ท่อี ยู่ของพระองค์ใน “กาลลิ ีดนิ แดนแห่งชนต่างชาติ”
(4:13-16) นายทหาร คนต่างชาต/ิ ศาสนาคนหน่ึงมาหาพระเยซูเจา้ และเรยี กพระองคว์ ่า “พระเจา้ ขา้ ” (เช่นใน 8:2) ซง่ึ
แสดงอย่างเปิดเผยตรงไปตรงมามากกว่าในพระวรสารนักบุญลูกา นายทหารไม่เคยได้พบพระองค์เป็นการ
ส่วนตวั เขาไม่ได้รอ้ งขอสง่ิ ใด เพยี งแต่กล่าวความต้องการของตนว่า ท่บี ้านของเขามคี นรบั ใช้ (หรอื ลูกชาย)
กาลงั ป่วยเป็นอมั พาตและกาลงั เจบ็ ปวดทุกขท์ รมานมาก

8:7-9 เครอ่ื งหมายวรรคตอนไม่มปี รากฏอยใู่ นตน้ ฉบบั ทเ่ี ป็นของโบราณ หากคาตอบของพระเยซูเจา้ เป็น
ท่เี ขา้ ใจได้ว่าเป็นการบอกกล่าว (ดงั ในฉบบั NRSV และ NIV) หรอื เป็นคาถาม จาเป็นต้องพจิ ารณาจากการเรยี บเรยี ง
และการตคี วาม เชน่ เดยี วกบั การตดั สนิ ใจอ่นื ๆ ในลกั ษณะเดยี วกนั การทน่ี กั บญุ มทั ธวิ ตอ้ งการใหค้ าตอบของพระ
เยซูเจา้ เป็นคาถามทแ่ี สดงถงึ ความลงั เล (“เราควรจะไปรกั ษาเขาหรอื ?”) อาจสงั เกตไดจ้ ากโครงสรา้ งของประโยค (คาว่า
“เรา” [ejgw" ego] ในตอนต้น) และสาระคู่ขนานกบั เร่อื งราวลกั ษณะเดยี วกนั ใน 15:21-28 ซ่งึ เป็นตอนท่พี ระเยซูเจ้า
ตอบคนต่างศาสนาในรปู แบบปฏเิ สธ นักบุญมทั ธวิ บรรยายพระเยซูเจา้ ในฐานะพระเมสสยิ าหข์ องชาวยวิ ทถ่ี ูกสง่
มาเพ่อื ตามหาแกะพลดั หลงทางของวงศว์ านอสิ ราเอล (10:5-6; 15:24) ผมู้ คี วามจงรกั ภกั ดตี ่อหนังสอื ปัญจบรรพ ซง่ึ
สว่ นต่อมาของเร่อื งและคาเทศน์สอนไดเ้ น้นย้าเช่นนัน้ อกี ครงั้ นักบุญมทั ธวิ ไม่เคยแสดงภาพของพระองคเ์ ขา้ ไป
ในบา้ นของคนต่างศาสนา (กจ. 10:28) นายทหารผนู้ ้ีเหมอื นกบั หญงิ ทอ่ี ยใู่ น 15:21-28 คอื ไมร่ สู้ กึ ขนุ่ เคอื งกบั คาถาม
ของพระเยซูเจา้ แต่มองวา่ มนั เป็นแบบทดสอบความเชอ่ื และเขากผ็ ่านการทดสอบอย่างฉลุย เขาอธบิ ายออกตวั
ว่าจรงิ ๆ แล้ว พระเยซูเจ้าไม่จาเป็นต้องเขา้ ไปในบ้าน เพียงแต่พระองค์ตรสั เท่านัน้ เด็กก็จะหายป่ วย คาว่า
“เพราะ ขา้ พเจา้ เองกเ็ ช่นกนั “ (“For I also” ภาษากรีก (kai; ga;r ejgw; kai gar ego)) ในตอนตน้ ของวรรค 9 จรงิ ๆ
แลว้ ควรแปลว่า “ถ้าแมแ้ ต่คนอย่างขา้ พเจา้ ” (“If even I”) ดงั นัน้ ขอ้ ความท่แี สดงเหตุผลในตอนต้นจงึ ไม่ได้มา
จากการเทยี บว่าบทบาทของเขาเหมอื นกบั ของพระเยซูเจา้ (การทเ่ี ขาเรยี กพระเยซูเจ้าว่า “พระเจา้ ขา้ ” ในตอนต้นได้แสดงเป็น
อาการบอกปฏเิ สธว่าตนเทยี บเท่า) แต่หมายความว่า “แมแ้ ต่ขา้ พเจา้ มผี อู้ ย่ใู ตอ้ านาจของผบู้ งั คบั บญั ชา ยงั สามารถออก
คาสงั่ และคาดหวงั ว่าคาสงั่ นนั้ จะไดร้ บั การปฏบิ ตั ติ าม สว่ นพระองคผ์ ทู้ รงมอี านาจสงู ส่งยง่ิ กว่านัน้ (28:17) เพยี ง
ตรสั แคพ่ ระวาจาเดยี วสงิ่ ทพ่ี ระองคต์ อ้ งการทากจ็ ะสาเรจ็ ไป”

8:10 คาว่า “ความจรงิ ” (Truly ซ่งึ จากคาว่า (ajmh"n amen)) ใหด้ ูท่ี 5:8 ความรูส้ กึ ผดิ หวงั ท่พี ระองคไ์ ม่พบ
ความเช่อื เช่นน้ีในอสิ ราเอลทาใหผ้ อู้ ่านยุคปัจจุบนั อาจรสู้ กึ ประหลาดใจ เพราะทผ่ี ่านมาไม่เคยพบมุมมองในทาง
ลบเกย่ี วกบั คนอสิ ราเอลในเร่อื งเลา่ ของพระวรสารนกั บุญมทั ธวิ เลย (ยกเวน้ ในเรอ่ื งการประสตู ทิ ม่ี คี าทานายไว)้ คากล่าวนนั้
เหมอื นกบั การคุกคามอ่นื ๆ ท่ี “ทายาทแห่งพระอาณาจกั รสวรรค”์ ตอ้ งยอมรบั ในสงิ่ ทย่ี งั ไม่เกดิ ขน้ึ ในปัจจบุ นั แต่
จะมผี ลตามมาภายหลงั และลกั ษณะน้ีเป็นหน่ึงในหลายสงิ่ ทบ่ี ่งช้ี (เช่น 10:38) ว่าพระวรสารน้ีไดร้ บั การประพนั ธข์ น้ึ
สาหรบั กลุ่มผู้อ่านเฉพาะเจาะจงและคุ้นเคยอยู่แล้วกบั พระวรสารนักบุญมาระโก เอกสาร แหล่ง Q และชีวติ
ประสบการณ์ในอดตี ของพวกเขาเอง ซง่ึ ตวั อย่างทงั้ หมดน้ีมมี ากเพยี งพอทบ่ี ่งชถ้ี งึ การขาดความเช่อื ในอสิ ราเอล
และแสดงวา่ เน้อื หาตอนน้คี วรเป็นผลวเิ คราะหต์ คี วามเชงิ ประวตั ศิ าสตร์ (ดบู ทนา)

220

8:11-12 นักบุญมทั ธวิ ให้ความสาคญั กบั มุมมองของเร่อื งน้ีด้วยการนา ว. 11-12 เขา้ มาในบรบิ ท การ
ตคี วามโดยทวั่ ไปคอื “ผคู้ นมากมายจากตะวนั ออกและตะวนั ตก” หมายถงึ คนต่างชาติผทู้ ม่ี าเช่อื พระครสิ ต์ อยา่ ง
นายทหารผนู้ นั้ อสิ ยาห์ บทท่ี 2 แสดงภาพคนต่างชาตทิ ม่ี คี วามเชอ่ื เหล่าน้วี า่ เป็นผเู้ ดนิ ทางจารกิ แสวงบุญเพอ่ื มา
นมสั การพระเป็นเจา้ แห่งอสิ ราเอล และเขา้ ร่วมกบั บรรดาผอู้ าวุโสตน้ ตระกูลแห่งอสิ ราเอล เพอ่ื ไปงานเลย้ี งฉลอง
แห่งอนั ตกาล ส่วนคนอิสราเอลท่ีไม่มคี วามเช่ือต้องรบั ทุกข์ทรมานจากการตดั สินลงโทษครงั้ สุดท้าย น่ีเป็น
ความหมายของการบรรยายภาพทเ่ี ลวรา้ ยอย่างชดั เจน “ความมดื มดิ ภายนอก” และ “เสยี งรอ้ งไห้คร่าครวญและ
ขบฟันดว้ ยความขนุ่ เคอื ง” นกั บุญมทั ธวิ ไดผ้ สานภาพลกั ษณ์ของวนั พพิ ากษาโลกตามธรรมเนียมของชาวยวิ และ
ใชส้ งั่ สอนชาวยวิ ท่ไี ม่มคี วามเช่อื อย่างไรกต็ าม สง่ิ น้ีไม่จาเป็นต้องปฏเิ สธลบลา้ งพระสญั ญาท่พี ระเป็นเจา้ มตี ่อ
ชาวอสิ ราเอล เพราะชาวยวิ ทงั้ หมดจะไม่ถูกแยกออกไป “ผคู้ นมากมายจากตะวนั ออกและตะวนั ตก” ไม่ได้แทนท่ี
ชาวอสิ ราเอลทม่ี ใี จศรทั ธา เหมอื นทเ่ี ราไดเ้ หน็ เหตุการณ์ในตอนทผ่ี า่ นมาของเรอ่ื งเล่า ซง่ึ พระวรสารนกั บุญมทั ธวิ
โดยรวมไดแ้ สดงอย่างชดั เจนในเร่อื งน้ี นักบุญมทั ธวิ ไม่ได้คาดหมายว่าจะมเี พยี งผอู้ าวุโสต้นตระกูลทงั้ สามแห่ง
อสิ ราเอล1เทา่ นนั้ ทไ่ี ดอ้ ยรู่ ว่ มการเลย้ี งฉลองแห่งอนั ตกาล (19:28; 21:43; 23:39)

8:13 บทสรุปสนั้ ๆ ตรงน้ีประกาศว่ามปี าฏหิ ารยิ เ์ กดิ ขน้ึ อย่างกะทนั หนั ในอกี สถานทห่ี น่ึงซ่งึ อยู่ห่างไกล
ออกไป อย่างไรกต็ าม เชน่ เดยี วกบั เรอ่ื งเล่าตอนอน่ื ๆ ของพระวรสาร สงิ่ ทเ่ี น้นความสาคญั ไม่ใชป่ าฏหิ ารยิ แ์ ตเ่ ป็น
ความเช่อื ของคนต่างศาสนา แมว้ ่าจะเรยี กพวกเขาว่า “ผูไ้ ม่เช่อื ” กต็ าม เช่นเดยี วกบั ในตอนอ่นื ของพระวรสาร
นักบุญมทั ธวิ ชายผูน้ ้ีไม่ไดก้ ล่าวอา้ งว่าตนมคี วามเช่อื แต่พระเยซูเจา้ คอื ผูท้ ่ไี ดท้ ดสอบความเช่อื ของเขา (ถงึ สอง

ครงั้ ) (8:10, 13)

ข้อคิดไตรต่ รอง
หากเราตอ้ งหาคาจากดั ความของคาว่า “ความเช่อื ” ประการแรกคอื ความหมาย ซง่ึ จะทาใหเ้ ขา้ ใจอย่าง

ชดั แจง้ ว่าความเช่อื คอื อะไร จากนนั้ จงึ มองหาผคู้ น (ทเ่ี หมอื นตวั เรา) ผมู้ คี วามเช่อื นนั้ เราจะมองผา่ นนายทหารโรมนั
ผนู้ ้ีไปหรอื ไม่ ในสายตาของเรา เขาอาจดูไม่เหมอื นคนทน่ี ่าจะมคี วามเช่อื เข้มแขง็ ยง่ิ ในสายตาของคนอ่นื ๆ ใน
พระวรสารนกั บุญมทั ธวิ ยง่ิ เป็นเช่นนนั้ เขาเป็นคนนอกอยา่ งไม่ตอ้ งสงสยั เป็นคนต่างศาสนาคนแรกทป่ี รากฏขน้ึ
ในเรอ่ื งเล่าของนักบุญมทั ธวิ (หลงั จากโหราจารยท์ งั้ สามในเรอ่ื งเล่าตอนประสตู )ิ และยงั เป็นนายทหารของกองทพั โรมนั เป็น
สว่ นหน่งึ ของกลุ่มผกู้ ดขป่ี ระชาชน

ผทู้ ม่ี องหาหลกั ฐานทช่ี ใ้ี หเ้ หน็ ถงึ ความเชอ่ื ในตวั ชายผนู้ ้ีอาจจะรสู้ กึ ตกใจกบั สงิ่ ทไ่ี ม่ไดก้ ล่าวถงึ ในเรอ่ื ง คอื
ความเชอ่ื ศรทั ธาทางศาสนา ในเร่อื งเล่าทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั เขา เราไม่รเู้ ลยว่าเขาเป็นคนทเ่ี ช่อื ในการดารงอย่ขู องพระ
เป็นเจ้า หรอื เช่อื ในพระเป็นเจ้าหน่ึงเดยี ว แต่นักบุญมทั ธวิ กล่าวถึงเขาในฐานะแบบอย่างของความเช่อื ท่าน
นกั บุญมทั ธวิ ตอ้ งการบอกอะไรกบั เราเกย่ี วกบั ขอบเขตของความเช่อื ทแ่ี ทจ้ รงิ ชายผนู้ ้ีมเี มตตาเหน็ ใจคนผหู้ น่ึงท่ี
ตอ้ งพง่ึ พาเขา นกั บุญมทั ธวิ ไม่ไดบ้ รรยายรายละเอยี ดของการเจบ็ ป่วยของเดก็ คนนนั้ หรอื ความสมั พนั ธร์ ะหว่าง
นายทหารกบั เดก็ คนนนั้ เหมอื นทเ่ี ล่ากนั ในนวนิยาย แต่เน้นไปทค่ี วามห่วงใยทเ่ี ขามใี หเ้ ดก็ คนนนั้ ความห่วงใยท่ี
ผลกั ดนั ใหเ้ ขาต้องรอ้ งขอความช่วยเหลอื อย่างสุภาพถ่อมตน เขาไม่อายทจ่ี ะแสวงหานักเทศน์ชาวยวิ อสิ ระผูม้ ี
พลงั รกั ษาโรค และสารภาพว่าตนเองไม่มคี ่าพอทจ่ี ะใหพ้ ระองคน์ นั้ มาเยย่ี มเยอื นบา้ นของเขา ขอรอ้ งใหพ้ ระองค์

1 ผอู้ าวุโสสงู สดุ หรอื หวั หน้าตน้ ตระกลู ของอสิ ราเอล หมายถงึ อบั ราฮมั อสิ อคั และยาโคบ ผเู้ ป็นตน้ ตระกูลชนชาตอิ สิ ราเอล

221

เพยี งแต่กล่าวคาสงั่ ท่จี ะทาให้เดก็ นัน้ หายจากโรค เหน็ ได้ชดั ว่าไม่มกี ารวางโตโอ้อวดในเร่อื งเล่าทงั้ หมดน้ีเลย
ชายผนู้ ้ีเขา้ ใจว่าการเจบ็ ป่ วยเป็นเร่อื งของอานาจและอานาจของพระเยซูเจา้ จะตอ้ งเหนือกว่าอานาจท่ที าใหล้ ูก
ชาย/ผู้รบั ใช้ของเขาทุกข์ทรมานและเป็นอมั พาต น่ีคอื สง่ิ ท่ีนักบุญมทั ธวิ ระบุว่าเป็นความเช่อื ท่จี รงิ แท้ (ดูขอ้ คดิ

ไตร่ตรอง ใน 17:20 “ความเชอ่ื ทเ่ี คล่อื นภูเขาได”้ )

ข้อคิดไตรต่ รอง
บางเรอ่ื งเหล่าน้ีอาจเป็นปัญหาสาหรบั เรา (เช่น มุมมองเกย่ี วกบั ธรรมชาตขิ องอานาจเช่นน้ี) แต่เรอ่ื งเลา่ ต่างๆ จะมวี ธิ ี

ทท่ี าใหเ้ รามองเหน็ ความเจบ็ ป่วยในชวี ติ เป็นเรอ่ื งของอานาจ มองเหน็ วา่ ในทา้ ยทส่ี ดุ ใครคอื ผคู้ วบคมุ ทงั้ หมด และ
มสี ่วนในความเช่อื แบบเดยี วกบั คนต่างศาสนาผู้น้ี ท่ไี วว้ างใจในพระวาจาอนั ทรงอานาจทจ่ี ะทาใหห้ ายจากโรค
พระวาจาทเ่ี มอ่ื ตรสั แลว้ จะเป็นคาขาด การเขา้ ใจดงั กล่าวจะทาใหเ้ ราปลอดภยั จากการนาเรอ่ื งน้ีและเรอ่ื งเล่าอ่นื ๆ
ทค่ี ลา้ ยกนั มาลดทอนจนเหลอื เป็นสตู รว่า “หากฉนั วอนขอการรกั ษา แต่ไม่มอี ะไรเกดิ ขน้ึ เลย แสดงว่าฉนั มคี วาม
เช่อื ไม่พอ แต่ถา้ ฉันหายกเ็ ป็นเพราะว่าฉันมคี วามเช่อื ” ความรูส้ กึ ผดิ และความหยง่ิ ยโสจากการคดิ ถงึ แต่ตวั เอง
สามารถสลายไปดว้ ยความเชอ่ื ทว่ี า่ ในพระเยซูเจา้ คอื พระวาจาของพระเป็นเจา้ ทไ่ี ดต้ รสั แลว้ มอี านาจทส่ี ามารถ
ขา้ มผา่ นทกุ เขตแดนและรกั ษาทกุ บาดแผลใหห้ ายได้

มทั ธวิ 8:14-17 พระครสิ ตร์ กั ษาสตรที เ่ี จบ็ ป่วยและคนอน่ื ๆ

พระเยซูเจ้าทรงรกั ษามารดาของภรรยาเปโตร
14 เมอ่ื พระเยซูเจา้ เสดจ็ เขา้ ไปในบา้ นของเปโตร ทรงเหน็ มารดาของภรรยาเปโตรนอนป่วยเป็นไข้ 15 พระองคจ์ งึ ทรงจบั มอื นาง
นางกห็ ายไข้ ลุกขน้ึ และปรนนิบตั ริ บั ใชพ้ ระองค์
พระเยซูเจ้าทรงรกั ษาผปู้ ่ วยจานวนมาก
16 เยน็ วนั นนั้ ประชาชนนาผถู้ ูกปีศาจสงิ จานวนมากมาเฝ้าพระองค์ พระองคท์ รงขบั ปีศาจเหล่าน้ีออกไปดว้ ยพระวาจา และทรง
บาบดั รกั ษาผปู้ ่วยทกุ คน 17 เพ่อื ใหพ้ ระวาจาทไ่ี ดต้ รสั ไวท้ างประกาศกอสิ ยาหเ์ ป็นความจรงิ วา่ พระองคท์ รงรบั เอาความอ่อน
แอของเราไว้ และทรงแบกความเจบ็ ป่ วยของเรา6

ข้อศึกษาวิพากษ์
แหล่งทม่ี าของเร่อื งเล่าในขอ้ เขยี นตอนน้ีคอื มก. 1:29-34 แต่นกั บุญมทั ธวิ สรุปย่อลงเพอ่ื เน้นความสนใจ

ไปทพ่ี ระเยซูเจา้ แลว้ นาเหตุการณ์ฉากน้ีใสล่ งไปในอกี จุดหน่งึ ของโครงเรอ่ื งทเ่ี ป็นการบรรยาย วนั เวลาไมใ่ ช่ “สบั
บาโต” (มก. 1:21-34) เช่นเดยี วกบั ในตอนทพ่ี ระองคท์ รงเรยี กใหม้ าเป็นศษิ ย์ ผทู้ รงเรมิ่ ตน้ ทุกสงิ่ คอื พระเยซูเจา้ ทรง
เป็นประธานของคากรยิ าทเ่ี ป็นจุดเรมิ่ ต้นทงั้ หลาย ไดแ้ ก่ เสดจ็ ลงมาจากภูเขา เสดจ็ ไปยงั คารเ์ ปอรน์ าอุม เสดจ็
เข้าไปในบ้าน ทรงพบแม่ของภรรยาเปโตร ทรงสมั ผสั ตวั เธอและรกั ษาเธอให้หาย สงิ่ น้ีเน้นความสาคญั ของ
อานาจสูงสุดของพระเยซูเจ้า แตกต่างจากพระวรสารนักบุญมาระโกท่ีเหตุการณ์ฉากน้ีมบี รรดาศิษย์อยู่กับ
พระองค์ดว้ ย และมผี ูอ้ ่นื บอกพระองค์ว่าหญงิ ผูน้ ้ีต้องการสง่ิ ใด ซ่งึ เป็นเร่อื งเล่าของการเป็นศษิ ย์ เหมอื นกบั ใน
8:18-22 ทจ่ี ะตามมาในภายหลงั หญงิ ผนู้ ้ีไม่เพยี งแต่หายจากไขเ้ ท่านนั้ แต่มสี ุขภาพดีขน้ึ และสดช่นื อย่างบรบิ รู ณ์
ในทนั ทอี กี ด้วย สงิ่ น้ีแสดงใหเ้ หน็ ทางขอ้ เทจ็ จรงิ ท่วี ่า “เธอลุกขน้ึ แล้วเรม่ิ ต้นรบั ใช้พระองค์” (ว. 15 ใน มก. ใช้คาว่า

“พวกเขา”)

222

นักโบราณคดไี ดข้ ุดพบซากอาคารแห่งหน่ึงในเมอื งคารเ์ ปอรน์ าอุม ซ่งึ แต่แรกเรมิ่ นัน้ สรา้ งเป็นบ้านอยู่
อาศยั ในศตวรรษท่ี 1 ก.ค.ศ. และมหี ลกั ฐานชช้ี ดั วา่ ต่อมาถกู ใชเ้ ป็นสถานทน่ี ดั พบของชาวครสิ ตใ์ นครสิ ตศตวรรษ
ท่ี 1 ต่อมาโบสถ์ทถ่ี ูกสรา้ งขน้ึ ในศตวรรษท่ี 4 และ 5 ไดค้ รอบคลุมบา้ นหลงั น้ีเขา้ ไปดว้ ย และใหค้ วามเคารพใน
ฐานะเป็นบา้ นของนกั บุญเปโตร ซง่ึ อาจถกู ตอ้ งเป็นจรงิ ตามประวตั ศิ าสตร์

เร่อื งเล่าปาฏหิ ารยิ ส์ ามชุดแรกจบลงดว้ ยคาสรุปใน ว. 16 แมว้ า่ นกั บุญมทั ธวิ ยงั ไม่ไดเ้ ล่าถงึ เรอ่ื งการไล่ผี
(8:28-34 เป็นเร่อื งแรก) แต่ท่านได้เรมิ่ กล่าวถึงการไล่ผีแล้ว ในตอนต้นแบบบทสรุป (เช่นใน 4:24) นักบุญมทั ธวิ ยงั คง
รกั ษาภาพลกั ษณ์เกย่ี วกบั พนั ธกจิ ของพระเยซูเจา้ ว่าเป็นความขดั แยง้ ระหว่างอาณาจกั ร คอื พระอาณาจกั รของ
พระเป็นเจา้ กบั อาณาจกั รของซาตาน ขณะทท่ี า่ นดาเนินเรอ่ื งไปสเู่ หตกุ ารณ์สาคญั ใน 12:22-37 (ดบู ทนา)

ขอ้ ความทย่ี กมาใน 8:17 มาจาก อสย. 53:4 เป็นการแปลจากภาษาฮบี รูท่แี ตกต่างแบบไม่ยดึ ตามพระ
คมั ภีร์ ฉบับ 70 แม้ว่าภาพของคนรบั ใช้ท่ีกาลงั ทุกข์ทรมานใน “บทเพลงของผู้รบั ใช้” ใน อสย. 42-53 จะมี
อทิ ธิพลต่อครสิ ตศาสตร์ของนักบุญมทั ธวิ แต่ขอ้ ความน้ีเป็นเพียงขอ้ ความเดยี วท่ียกมาจาก อสย. 53 อย่าง
ชดั เจนในพระวรสารนักบุญมทั ธวิ และพระวรสารอ่นื ๆ ในสารบบ เช่นเดยี วกบั สูตรการยกขอ้ ความอ่นื ๆ สาระน้ี
ไม่ได้รบั การตีความเน้ือหาตามบรบิ ททางประวตั ิศาสตร์ ดงั นัน้ ถ้าเอาภาพของคนรบั ใช้ผู้น้ีมาทงั้ หมดก็คงจะ
ผดิ พลาด เราควรทาความเขา้ ใจประโยคหน่ึงท่นี ักบุญมทั ธวิ ยกมาในบรบิ ทของสงั คมยุคสมยั นักบุญมทั ธวิ ว่า
หมายถงึ พระเยซูเจา้ ไดท้ รงขจดั ความอ่อนแอและความเจบ็ ป่วยของเรา กล่าวคอื พระองคไ์ ด้ขจดั มนั ใหห้ มดไป
ไม่ได้หมายความว่าพระองค์ทรงรบั ความเจบ็ ป่วยเขา้ มาทรมานในร่างกายของพระองคเ์ อง ความทุกขท์ รมาน
จากการรบั แทนผู้อ่นื ของผู้รบั ใช้ ใน อสย. 53 กลายเป็นพระเป็นเจ้าผู้ทรงสรรพานุภาพ ทรงเอาชนะและขจดั
ความทุกขท์ รมานของเรา เช่นเดยี วกนั ในเร่อื งเล่าทงั้ สามเร่อื งทผ่ี ่านมาและเช่นเดยี วกบั บทถอดความจากพระ
คมั ภรี ์ ฉบบั ทารก์ มุ (Targum) จาก อสย. 53

มทั ธวิ 8:18-9:17 การกระทาอนั ทรงอานาจของพระครสิ ตก์ อ่ ใหเ้ กดิ ชมุ ชนของศษิ ย์
มทั ธวิ 8:18-27 พระครสิ ตท์ รงทาใหพ้ ายสุ งบ

ศิษยข์ องพระเยซูเจา้ ต้องอทุ ิศตนโดยไม่มีเง่อื นไข
18 พระเยซูเจา้ ทรงเหน็ ประชาชนหอ้ มลอ้ มพระองค์ จงึ ทรงสงั่ บรรดาศษิ ยใ์ หข้ า้ มทะเลสาบไปอกี ฝัง่ หน่ึง 19 ธรรมาจารยค์ นหน่ึง
เขา้ มาทลู วา่ “พระอาจารย์ ขา้ พเจา้ อยากตดิ ตามพระองคไ์ ปทกุ แหง่ ทพ่ี ระองคจ์ ะเสดจ็ ” 20 พระเยซเู จา้ จงึ ตรสั กบั เขาวา่ “สุนขั
จง้ิ จอกยงั มโี พรง นกในอากาศยงั มรี งั แต่บุตรแหง่ มนุษยไ์ มม่ ที จ่ี ะวางศรี ษะ” 21 ศษิ ยอ์ กี คนหน่ึงทลู วา่ “พระองคเ์ จา้ ขา้ ขอทรง
อนุญาตใหข้ า้ พเจา้ ไปฝังศพบดิ าของขา้ พเจา้ เสยี ก่อน” 22 แตพ่ ระเยซเู จา้ ตรสั กบั เขาวา่ “จงตามเรามา และปลอ่ ยใหค้ นตายฝังคน
ตายของตนเถดิ ”
พระเยซูเจ้าทรงทาให้พายสุ งบ
23 พระเยซูเจา้ เสดจ็ ลงเรอื บรรดาศษิ ยต์ ดิ ตามพระองคไ์ ปดว้ ย 24 ทนั ใดนนั้ เกดิ พายแุ รงกลา้ ในทะเลสาบ คลน่ื สงู จนไมเ่ หน็ เรอื
แตพ่ ระองคบ์ รรทมหลบั 25 บรรดาศษิ ยจ์ งึ เขา้ มาปลุกพระองค์ ทลู วา่ “พระองคเ์ จา้ ขา้ ชว่ ยดว้ ยเถดิ เรากาลงั จะพนิ าศอยแู่ ลว้ ” 26
พระองคจ์ งึ ตรสั กบั เขาวา่ “ทาไมจงึ ตกใจกลวั เล่า ทา่ นชา่ งมคี วามเชอ่ื น้อยเหลอื เกนิ ” แลว้ ทรงลกุ ขน้ึ บงั คบั ลมและทะเล ทอ้ งทะเล
กส็ งบราบเรยี บ 27 คนทงั้ หลายตา่ งประหลาดใจ พดู วา่ “ทา่ นผนู้ ้ีเป็นใครหนอ ลมและทะเลจงึ ยอมเชอ่ื ฟังเชน่ น้ี”

223

ข้อศึกษาวิพากษ์
ปาฏหิ ารยิ อ์ กี สามเร่อื งถดั มาเรม่ิ ตรงน้ี ในสามเรอ่ื งกอ่ น (8:17) ความสนใจทงั้ หมดมุง่ ไปทพ่ี ระฤทธานุภาพ

ของพระเยซูเจา้ (ไม่มกี ารกล่าวถงึ บรรดาศษิ ย์ในสามเร่อื งน้ีเลย ดู มก. 1:29) ส่วนสามเร่อื งถดั มา (8:18-27) เน้นไปท่คี วามเป็น
ศษิ ย์ ตรงขา้ มกบั การจดั เรยี งย่อหน้าของบทแปลและบทสรุปโดยทวั่ ไป ขอ้ ความใน 8:18-27 เป็นเร่อื งเล่าเร่อื ง
หน่ึงทเ่ี รมิ่ ตน้ จากคาบญั ชาของพระเยซูเจา้ ใหบ้ รรดาศษิ ย์ไปยงั “อกี ฝัง่ หน่ึง” และไม่มบี ทสรุปจนกระทงั่ พวกเขา
ถงึ “อกี ฝัง่ หน่ึง” ใน 8:28 เร่อื งเล่าทพ่ี ระเยซูเจา้ ทรงบอกบรรดาศษิ ยใ์ หข้ า้ มทะเลไปยงั ดนิ แดน(กาลลิ )ี แหง่ ใหมแ่ ละ
ตอ้ งเผชญิ กบั พายนุ ่ากลวั ระหวา่ งทาง สะทอ้ นถงึ ประสบการณ์ของครสิ ตจกั รของนกั บุญมทั ธวิ ในการเขา้ สดู่ นิ แดน
ใหม่ เป็นประสบการณ์จากพนั ธกจิ การประกาศข่าวดใี หก้ บั ชนต่างศาสนา แสดงใหเ้ หน็ ถงึ การตอบสนองต่อคา
บญั ชาของพระเยซูเจา้ ในแบบทแ่ี ตกตา่ งออกไป (ดพู รอ้ มกบั 28:18-20)

นกั บุญมทั ธวิ ระบุว่าผทู้ ต่ี อ้ งการจะมาเป็นศษิ ยใ์ น ว. 19 เป็นธรรมาจารย์ (Scribe) ผหู้ น่ึง (ในเอกสารแหล่ง Q
ระบุว่าเป็น “บุคคลคนหน่ึงทแ่ี น่นอน” (A Certain One) ลก. 9:57) เป็นชาวครสิ ต์ (13:52; 23:34) แต่เป็นคนนอก เหน็ ไดจ้ ากการท่ี
เขาเรยี กพระเยซูเจา้ ว่า “ท่านอาจารย”์ (ไมม่ ศี ษิ ยแ์ ทจ้ รงิ คนใดเรยี กเช่นนนั้ ดู 12:38 และคาว่า “พระเจา้ ขา้ ” ใน 8:21) เขาเช่อื ว่าใคร
ก็ตามสามารถมาสมคั รเป็นศษิ ย์พระเยซูเจ้าได้ เหมอื นกบั สมคั รเป็นศษิ ย์ของสมณะชาวยวิ ซ่ึงเป็นวถิ ปี ฏบิ ตั ิ
ตามปกตใิ นสงั คมชาวยวิ อย่างไรกต็ าม ไม่มใี ครสามารถรอ้ งขอมาเป็นศษิ ยข์ องพระเยซูเจา้ ได้ เน่ืองจากผทู้ เ่ี ป็น
ฝ่ายเรมิ่ ตน้ คดั เลอื กศษิ ยค์ อื พระองคเ์ องเสมอ (ดู 4:18-22; 9:9)

มธ. 8:20 (ไม่ใช่ทฤษฎกี ารคาดเดาเก่ยี วกบั แรงผลกั ดนั หรอื แรงจูงใจของธรรมาจารยผ์ นู้ ัน้ ) อธบิ ายถงึ คาตอบทส่ี นั้ ๆ หว้ นๆ
ของพระเยซูเจา้ เน่ืองจากคาวา่ “บุตรแห่งมนุษย”์ อาจหมายถงึ เพยี งแค่ “มนุษย”์ คากล่าวน้ีในตวั มนั เองอาจเป็น
การสะทอ้ นเชงิ สุภาษิตเกย่ี วกบั สถานท่ซี ง่ึ ธรรมชาตไิ ด้จดั หาใหก้ บั นกและสรรพสตั วท์ งั้ หลาย มเี พยี งแต่มนุษย์
เทา่ นนั้ ทอ่ี ย่นู อกสง่ิ แวดลอ้ มทางธรรมชาตนิ ้ี อย่างไรกต็ าม นนั่ ไมใ่ ชค่ วามหมายในทน่ี ้ี คาวา่ “บุตรแห่งมนุษย”์ มี
เน้ือหาทางครสิ ตศาสตร์ (ดูบทเสรมิ เร่อื ง “ครสิ ตศาสตรข์ องนักบุญมทั ธวิ ” ) สาหรบั นักบุญมทั ธวิ และผูอ้ ่านของท่าน ความ
ขดั แยง้ กนั ทด่ี เู หมอื นประชดประชนั ในคาตอบของพระเยซูเจา้ คอื ขณะทส่ี รรพสตั วบ์ นผนื ดนิ และทอ้ งฟ้ามบี า้ นให้
หลบั นอน แต่บุตรแห่งมนุษยผ์ เู้ ป็นพระเป็นเจา้ ของสรรพสงิ่ และเป็นผพู้ พิ ากษาของโลกกลบั ต้องจารกิ ร่อนเร่ไป
โดยไรท้ เ่ี อนศรี ษะนอน (แมก้ ระทงั่ คาวา่ “หมอน” จาก มก. 4:38 ถูกตดั อออกใน มธ. 8:24) ผมู้ าสมคั รเป็นศษิ ยข์ องพระองคไ์ มไ่ ด้
ถูกปฏเิ สธอยา่ งเจาะจง แตค่ วามเขา้ ใจถงึ การเป็นศษิ ยข์ องเขาถกู ทา้ ทาย พระเยซูเจา้ ไม่ไดร้ บั ผสู้ มคั ร แตท่ รงเป็น
ผเู้ รม่ิ ตน้ กระแสเรยี กอนั ศกั ดสิ ์ ทิ ธทิ ์ ใ่ี หบ้ ุคคลเขา้ มามชี วี ติ ในแบบทต่ี อ้ งจดั ลาดบั ความสาคญั ของสงิ่ ต่างๆ ในโลก
แบบตรงขา้ มจากเดมิ ทงั้ หมด

แนวคดิ น้ียงั คงต่อเน่ืองมาจนถึง 8:21-22 ซ่ึงนักบุญมทั ธวิ ปรบั เขยี นใหม่เล็กน้อย ถ้า ลก. 9:59 เป็น
ตวั แทนของเอกสารแหล่ง Q พระวรสารของนกั บุญมทั ธวิ ไดต้ ดั สว่ นทก่ี ล่าวถงึ การทรงเรยี กผทู้ ่ีมศี กั ยภาพจะเป็น
ศษิ ย์ “แต่ไม่ประสบความสาเรจ็ ” ของพระเยซูเจา้ ออกไปและเปลย่ี นใหม่เป็นบุคคลผนู้ ัน้ ทข่ี อกลบั ไปฝังศพบดิ า
เขาเป็นศษิ ยอ์ ย่แู ลว้ ปรบั เพยี งนิดเดยี วนักบุญมทั ธวิ กส็ ามารถเน้นใหเ้ หน็ ว่าการทรงเรยี กของพระเยซูเจา้ นนั้ “มี
ประสทิ ธภิ าพ” และการตอบสนองต่อการเรยี กของพระองคไ์ มใ่ ชส่ งิ่ ทค่ี นเราจะทาเพยี งครงั้ เดยี วแลว้ เสรจ็ แต่เป็น
สงิ่ ทต่ี อ้ งทาซ้าๆ ครงั้ แลว้ ครงั้ เล่า

224

ข้อคิดไตร่ตรอง
หลายครงั้ มผี พู้ ยายามทาใหค้ ารอ้ งขอและการตอบสนองของพระเยซูเจา้ ดูแลว้ น่าพงึ พอใจมากขน้ึ เช่น

อธบิ ายว่าคาขอของศษิ ยผ์ นู้ นั้ เป็นการขออย่บู า้ นในระยะเวลาทไ่ี มก่ าหนด จนกว่าพอ่ จะเสยี ชวี ติ และเขาทาพธิ ฝี ัง
ศพเสรจ็ และมกี ารจดั การเรอ่ื งทด่ี นิ ใหเ้ รยี บรอ้ ย จากนนั้ เขาจะเป็น “อสิ ระ” ทจ่ี ะตดิ ตามพระองค์ ในอกี ทางหน่ึงมี
ผู้มองว่าคาตอบท่ฟี ังดูห้วนๆ ของพระเยซูเจ้าเป็นการเปรยี บเทยี บท่หี มายความว่า “ให้คนท่ตี ายแล้วทางจติ
วญิ ญาณเป็นผฝู้ ังคนทต่ี ายแลว้ ทางกายภาพ” หรอื ความหมายอน่ื ๆ ทเ่ี ราอาจเขา้ ใจในเชงิ แนวคดิ และจรยิ ธรรมได้
งา่ ยกว่า แต่การตคี วามทงั้ สองวธิ เี ป็นเหมอื นการหลบเลย่ี งแบบไม่จรงิ ใจต่อคากล่าวแขง็ กรา้ ว พ่อของชายผนู้ ัน้
เพง่ิ เสยี ชวี ติ ตามธรรมเนียมแลว้ ต้องมกี ารฝังศพภายในวนั เดยี วกนั ถอื เป็นภาระหน้าทอ่ี นั ศกั ดสิ ์ ทิ ธอิ ์ ย่างยงิ่ ต่อ
บดิ าและมารดา (ดู ปฐก: 50:5; ทบต. 1:17-18; 6:14-15) เราคงไม่จนิ ตนาการว่าคาขอรอ้ งใดจะถูกต้องตามกฎหมายและ
สมเหตุสมผล และสาคญั ไปกว่าการทพ่ี ระเยซูเจา้ ทรงเรยี กเราใหเ้ ป็นศษิ ย์ (ดู “ผแู้ รก” ใน 8:21; 6:33 และเร่อื งประกาศกเอลิ
ยาหเ์ รยี กเอลชิ ามาเป็นศษิ ยใ์ น 1 พกษ. 19:19-21 เป็นเรอ่ื งราวทเ่ี จาะจงกระตุน้ ใหเ้ รานึกถงึ ) น่คี อื ประเดน็ ทพ่ี ระเยซูเจา้ ไดก้ ล่าวไวใ้ น ว.
22 ซง่ึ เราจาเป็นตอ้ งปล่อยใหเ้ ป็นขอ้ ความทถ่ี ากถางและน่าตกใจเช่นนนั้ โดยไม่ตอ้ งคดิ ว่าเง่อื นไขการเรยี กเป็น
การเปรยี บเทยี บหรอื ทาใหแ้ นวคดิ ของเงอ่ื นไขต่อการเรยี กกลายเป็นสง่ิ ทส่ี ามารถจดั การได้

นักบุญมทั ธวิ นาขอ้ ความจากพระวรสารนักบุญมาระโกมาเขยี นใหม่เพ่อื เน้นว่าบรรดาศษิ ยต์ ดิ ตามพระ
เยซูเจา้ ไปลงเรอื (8:23; เทยี บกบั มก. 4:36) งานวจิ ารณ์พระคมั ภรี ใ์ นปัจจุบนั เน้นความสาคญั และอธบิ ายเพมิ่ เตมิ จาก
การวเิ คราะหข์ องปิตาจารยใ์ นครสิ ตจกั รสมยั แรกเรม่ิ (Patristic Exegesis) โดยเขา้ ใจว่า เรอื คอื สญั ลกั ษณ์ของ
พระศาสนจกั รในพระวรสารนักบุญมทั ธวิ ดงั นัน้ เร่อื งราวน้ีโดยหลกั ๆ แลว้ จงึ ไม่ใช่ “ปาฏหิ ารยิ ์เร่อื งธรรมชาต”ิ
สาหรบั นักบุญมทั ธวิ แต่เป็นตวั แทนของประสบการณ์ชาวครสิ ต์ในครสิ ตจกั รของนักบุญมทั ธวิ เอง ซ่งึ กาลงั ถูก
เรยี กใหก้ า้ วส่ดู นิ แดนใหมแ่ ห่งความเป็นศษิ ย์ แต่ตอ้ งเผชญิ กบั พายนุ ่าหวาดกลวั ในระหว่างทาง พายนุ นั้ ไม่ไดส้ อ่ื
ถงึ “พายุของชวี ติ ” ในระดบั ปัจเจกบุคคล แต่เป็นพายุทท่ี ุกคนตอ้ งเผชญิ เม่อื เขา้ ส่ชู ุมชนชาวครสิ ต์ ดงั นัน้ นักบุญ
มทั ธวิ จงึ นาการเปล่งเสยี งรอ้ งของบรรดาศษิ ยท์ ม่ี ลี กั ษณะการขาดความเล่อื มใสศรทั ธาแบบคนนอก (มก. 4:38 “พระ
อาจารย์ ทา่ นไมใ่ ส่ใจเลยหรอื ว่าเรากาลงั จะตายกนั หมด” [NRSV]) ใหก้ ลายเป็นเหมอื นเสยี งสวดออ้ นวอนขอความชว่ ยเหลอื (“พระ
เจา้ ขา้ โปรดช่วยเราดว้ ย”) จากพระเจา้ แห่งครสิ ตจกั ร ผซู้ ่งึ ยงั คงสถติ อยู่กบั พวกเขา สงิ่ ท่สี อดคลอ้ งกบั เร่อื งน้ีคอื พายุ
(ในฉบบั NRSV คอื “ลมพายุ” ในฉบบั NIV คอื “พายุทบ่ี า้ คลงั่ ”) ทใ่ี นตอนแรกนัน้ มกี ารบรรยายว่าเป็น “แผ่นดนิ ไหว” (Seismos
ว. 14) ซ่งึ ไม่เหมาะสมทจ่ี ะเป็นบนั ทกึ เก่ยี วกบั เร่อื งเล่าทเ่ี กดิ ขน้ึ จรงิ ในสมยั ก่อนพระเยซูเจา้ ทรงกลบั คนื พระชนม์
ชีพ แต่เป็นการกระตุ้นให้นึกถึงประสบการณ์ของครสิ ตจกั รหลงั การกลบั คืนพระชนม์ชีพ ท่ีต้อง ประสบกับ
แผน่ ดนิ ไหวในฐานะเป็นสว่ นหน่ึงของความน่ากลวั แหง่ อวสานตกาลทพ่ี วกเขาจะตอ้ งอดทนฝ่าฟัน (ดู 24:7; วว 6:12;
8:5; 11:13, 19; 16:18) นอกจากนนั้ นกั บญุ มทั ธวิ ยงั เตมิ คาบรรยายเกย่ี วกบั ศษิ ยไ์ วว้ า่ “เจา้ ผมู้ คี วามเชอ่ื น้อย” (ว. 26) ซง่ึ
ไม่ไดส้ ะทอ้ นถงึ ลกั ษณะของคนนอก แตเ่ ป็นสถานการณ์ของผเู้ ชอ่ื ในครสิ ตจกั รทม่ี คี วามเชอ่ื ออ่ นแอลงในเวลาเกดิ
เหตกุ ารณ์วกิ ฤต และยงั ทาใหร้ ะลกึ ถงึ การทพ่ี ระเยซูเจา้ ทรงเรยี กรอ้ งใหม้ คี วามเชอ่ื และไวว้ างใจ (6:25-34; เทยี บ 6:30:
14:31; 16:8; 17:20) ดงั นนั้ เรอ่ื งเล่าน้ีถงึ จะไม่ใช่นิทานเปรยี บเทยี บ (Allegory) แต่กเ็ ป็นการเล่าเร่อื งแบบมสี ญั ลกั ษณ์
(Symbolical Narrative) และเช่อื มโยงกบั ประสบการณ์สว่ นบุคคลของชาวครสิ ตใ์ นสมยั ของนกั บุญมทั ธวิ ซง่ึ “ลง
เรอื ลาเดยี วกนั ” กบั บรรดาศษิ ยท์ อ่ี ยใู่ นเรอ่ื งจรงิ ๆ

225

ข้อคิดไตร่ตรอง
พระเยซูเจ้าทรงมพี นั ธกจิ ในโลกเก่ยี วกบั การก้าวผ่านสง่ิ กดี ขวางทางธรรมประเพณี พนั ธกจิ น้ีจะมอี ยู่

ต่อไป เพราะพระองคไ์ ดเ้ ดนิ หน้าไปกอ่ นและเรยี กรอ้ งใหบ้ รรดาศษิ ยต์ ดิ ตามมา ซง่ึ ศษิ ยบ์ างคนจะทาเชน่ นนั้ เสมอ
พระเยซูเจา้ ทรงบอกใหศ้ ษิ ยอ์ อกไปส่ชู ายฝัง่ ทห่ี ่างไกล เหมอื นกบั การทพ่ี ระองคท์ าใหเ้ ราเขา้ ใจว่าการเป็นศษิ ย์
นัน้ ไม่ใช่การเติมเหตุผลท่ีคุ้มค่าให้กับหน้าท่ีความรบั ผิดชอบ แต่เป็นการเปล่ยี นแปลงความเข้าใจทงั้ หมด
เกย่ี วกบั การเป็นศษิ ยอ์ ย่างน่าตกใจยงิ่ เราไม่รวู้ ่าธรรมาจารยห์ รอื ศษิ ยผ์ นู้ นั้ ไดต้ อบสนองต่อคาประกาศของพระ
เยซูเจา้ อย่างไร ผนู้ ิพนธอ์ าจประสงค์ปล่อยใหผ้ อู้ ่านครุ่นคดิ ว่าการเป็นผตู้ ดิ ตามพระเยซูครสิ ตน์ ัน้ หมายความว่า
อย่างไร แต่ละคนต้องตดั สนิ ใจว่าจะเป็นส่วนหน่ึงของพนั ธกจิ พระเยซูเจา้ ท่ยี งั คงดาเนินอยู่ในโลกน้ี หรอื จะอยู่
อย่างปลอดภยั ต่อไปบนชายฝัง่ ทเ่ี ราคนุ้ เคย

มทั ธวิ 8:28-34 พระครสิ ตท์ รงเรยี กใหเ้ ขา้ สดู่ นิ แดนใหม่

ชาวกาดาราผ้ถู กู ปี ศาจสิง
28 พระเยซูเจา้ เสดจ็ ขา้ มฟากมาถงึ ดนิ แดนของชาวกาดารา ผถู้ กู ปีศาจสงิ สองคนออกจากบรเิ วณหลมุ ศพมาเฝ้าพระองค์ ทงั้ สอง
คนดรุ า้ ยมากจนไมม่ ใี ครเดนิ ผา่ นทางนนั้ ได้ 29 ทนั ใดนนั้ ทงั้ สองคนรอ้ งตะโกนวา่ “ขา้ แตบ่ ุตรของพระเจา้ ทา่ นมายงุ่ กบั เราทาไม
ทา่ นมาทน่ี ่ีเพ่อื ทรมานเรากอ่ นเวลาหรอื ” 30 ไมไ่ กลจากทน่ี นั่ มหี มฝู งู ใหญ่กาลงั หากนิ อยู่
31 พวกปีศาจจงึ ออ้ นวอนพระองคว์ า่ “ถา้ ท่านขบั ไล่พวกเรา ขอไดส้ ง่ เราเขา้ ไปในหมฝู งู นนั้ เถดิ ” 32 พระองคต์ รสั กบั มนั วา่ “จงไป
เถดิ ” พวกปีศาจจงึ ออกไปสงิ ในหมู หมทู งั้ ฝงู ต่างวงิ่ กระโจนจากหน้าผาลงไปในทะเลสาบ จมน้าตาย 33 คนเลย้ี งหมหู นีเขา้ ไปใน
เมอื งเล่าเรอ่ื งทงั้ หมดน้ีและเรอ่ื งผถู้ กู ปีศาจสงิ ดว้ ย 34 คนทงั้ เมอื งต่างออกมาเฝ้าพระเยซเู จา้ เม่อื เหน็ พระองค์ กท็ ลู ขอพระองคใ์ ห้
เสดจ็ ออกไปจากเขตแดนของเขา

ข้อศึกษาวิพากษ์
“อกี ฝัง่ หน่ึง” ทเ่ี ราจะไปถงึ ไดด้ ว้ ยการผา่ นประสบการณ์ทเ่ี ตม็ ไปดว้ ยมรสมุ และเช่อื ฟังคาบญั ชาของพระ

เยซูเจา้ (8:28) เป็นเขตแดนของคนต่างศาสนา (Gentile Territory) สงั เกตไดอ้ ย่างชดั เจนจากลกั ษณะสภาพทาง
ภูมศิ าสตรแ์ ละฝงู หมขู นาดใหญ่ (8:30) มคี วามสบั สนอย่างมากเกย่ี วกบั ช่อื ของสถานทแ่ี ห่งนัน้ ตามธรรมประเพณี
ของต้นฉบบั มกี ารยนื ยนั ว่าเป็นเมอื ง กาดารา (Gadara) เกราซา (Gerasa) และเกอร์กซี า (Gergesa) ในบาง
ต้นฉบบั ของพระวรสารสหทรรศน์แต่ละเล่ม และมีลกั ษณะรูปแบบอ่ืนๆ ด้วย วธิ ีแก้ปัญหาของนักวิเคราะห์
ต้นฉบับส่วนใหญ่สะท้อนอยู่ในพระคัมภีร์ฉบับสาคัญในพันธสัญญาใหม่ท่ีเป็ นภาษากรีก (Greek New
Testament) และฉบบั ต่างๆ ทเ่ี ป็นการแปลแบบสมยั ใหม่ กล่าวคอื มก. 5:1 และ ลก. 8:26 เรยี กเมอื งน้ีในแบบ
ดงั้ เดมิ ว่า “เกราซา” ส่วนในพระวรสารนักบุญมทั ธวิ เรยี กในแบบดงั้ เดมิ ว่า “กาดารา” เมอื งเกราซาทก่ี ล่าวถงึ ใน
พระวรสารนกั บุญมาระโก (ปัจจุบนั คอื เมอื งเยราช) เป็นเมอื งหน่งึ ของประเทศกรซี ทห่ี ่างจากทะเลสาบกาลลิ สี ามสบิ ไมล์
ส่วนนักบุญมทั ธิวนัน้ คุ้นเคยกบั ภูมศิ าสตร์ของซีเรยี และกาลิลีมากกว่า จึงมองว่าสง่ิ น้ีเป็นปัญหาและเปล่ยี น
สถานท่ใี นเร่อื งเป็น กาดารา ซ่งึ เป็นเมอื งท่อี ยู่ห่างจากทะเลสาบกาลลิ หี กไมล์และมเี ขตแดนท่อี าจขยายมาถึง
ชายฝัง่ หากเราเขา้ ใจว่าเร่อื งน้ีเป็นการอธบิ ายเหตุการณ์ทเ่ี กดิ ขน้ึ จรงิ ก็จะคงเป็นปัญหาอยู่ เพราะ 8:33-34 ส่อื
ใหเ้ หน็ โดยออ้ มวา่ เป็นสถานทม่ี พี น้ื ทข่ี รขุ ระมากและตอ้ งเดนิ ทางจากชายฝัง่ ไปยงั เมอื ง ดงั นนั้ การนาเมอื งเกอรเ์ ก
ซาซ่งึ อยู่บนชายฝัง่ ทะเลโดยตรง เขา้ มาใชใ้ นธรรมประเพณีของต้นฉบบั จงึ น่าจะเป็นความพยายามซ่งึ เกดิ ข้นึ

226

ภายหลงั เพ่ือทาให้เร่อื งราวสมจรงิ มากข้นึ (มกี ารยนื ยนั ครงั้ แรกในงานเขยี นของโอรเิ จน (Origen) ศตวรรษท่ีสาม) ไม่ปรากฏ
ชดั เจนวา่ เมอื งเกอรเ์ กซามอี ยจู่ รงิ หรอื ไม่ (แมว้ า่ ทกุ วนั น้จี ะมสี ถานทซ่ี ง่ึ อา้ งวา่ เคยเป็นเมอื งเกอรเ์ กซาใหน้ กั ท่องเทย่ี วชมกต็ าม)

เมอ่ื ลงจากเรอื พระเยซูเจา้ พบชายทถ่ี ูกผชี วั่ รา้ ยสงิ สองคน ไมม่ กี ารกลา่ วถงึ บรรดาศษิ ยใ์ นเรอ่ื งน้ี ใน มก.
5:1-20 มชี ายถูกผชี วั่ รา้ ยสงิ หน่ึงคน แต่นักบุญมทั ธวิ เพ่มิ จานวนของบุคคลเป็นสองเท่าจากแหล่งข้อมูลตาม
รปู แบบทท่ี า่ นใช้ (เหน็ ไดจ้ ากเรอ่ื งชายตาบอดสองคนใน 9:27-31 เทยี บกบั ชายตาบอดหน่ึงคนใน มก. 10:46-52 การเพมิ่ เรอ่ื งราวเป็นสองเท่าใน

20: 29-34 ซ่งึ มชี ายตาบอดสองคนแทนทจ่ี ะเป็นคนเดยี ว เหมอื นใน มก. 10: 46-32 ส่วนลาหน่ึงตวั ใน มก. 11:1-7 กลายเป็นสองตวั ใน มธ. 21:1-7
นอกจากน้ยี งั ลดจานวนของพยานลงเหลอื สองคนใน 26:60 จาก มก. 10:46-47)

สาหรบั นกั บุญมทั ธวิ เรอ่ื งเล่าเกย่ี วกบั การขบั ไล่ผชี วั่ รา้ ยไม่ไดเ้ ป็นเหตุการณ์ทเ่ี กดิ ขน้ึ แบบเดย่ี วๆ ไม่ได้
เป็นเพยี งบนั ทกึ ท่นี ่าต่นื เต้นเก่ยี วกบั พลงั อานาจของพระเยซูเจา้ ในการช่วยเหลอื คนเพยี งหน่ึงหรอื สองคน แต่
เป็นตวั แทนของความขดั แย้งระดบั จกั รวาลระหว่างพระอาณาจกั รของพระเป็นเจ้ากบั อาณาจกั รของซาตาน
ดงั นนั้ นกั บุญมทั ธวิ จงึ ไมก่ ล่าวถงึ รายละเอยี ดบางอย่างทเ่ี ป็นการเล่าเร่อื งแบบนวนิยายในบนั ทกึ ของนกั บุญมาระ
โกซง่ึ สมบรู ณ์กวา่ (5:1-20 คอื การนาขอ้ ความ 20 วรรคมาบบี อดั รวมกนั เหลอื 7 วรรค) เพอ่ื มงุ่ ความสนใจทงั้ หมดไปทพ่ี ระเยซูเจา้

เช่นเดยี วกบั ผชี วั่ รา้ ยใน 4:3, 6 ผชี วั่ รา้ ยในตอนน้ีจดจาพระเยซูเจา้ ไดว้ ่าพระองคเ์ ป็นพระบุตรของพระ
เป็นเจา้ ซง่ึ ยงั ไม่มมี นุษยค์ นใดจาไดเ้ ลยในพระวรสารนกั บุญมทั ธวิ พวกมนั ทา้ ทายว่า “ท่านยุ่งเกย่ี วอะไรกบั เรา
ดว้ ย” (ว. 29) ซง่ึ ไม่ใช่คาถามเพ่อื ขอขอ้ มลู แต่เป็นสตู รการปฏเิ สธไม่ยอมรบั หรอื แปลตามตวั อกั ษรไดว้ ่า “มอี ะไร
สาหรบั ท่านและสาหรบั เราหรอื ” (What to you and to us?) หมายความว่า “เรามอี ะไรสง่ิ ใดร่วมกนั หรอื เราอยู่
กนั คนละโลก” (ดู 2 ซมอ. 16:10; 19:22; มก. 1:24; ยน. 2:4; กจิ การของโทมสั 45) ตรงขา้ มกบั บนั ทกึ ในพระวรสารนกั บุญมาระโก
ผชี วั่ รา้ ยเหล่าน้ีไม่ไดบ้ อกใหพ้ ระเยซูเจา้ ทาอะไร และพระองคไ์ ม่ไดส้ นทนากบั พวกมนั วญิ ญาณเหล่าน้ีเพยี งแต่
ถามดว้ ยความตระหนกตกใจวา่ พระองคจ์ ะทรมานพวกมนั กอ่ นถงึ เวลาทก่ี าหนดอย่างนนั้ หรอื และขอไปสงิ ในหมู
แทน นกั บุญมทั ธวิ แบ่งปันแนวคดิ เกย่ี วกบั วนั สน้ิ โลกวา่ อานาจของมารรา้ ยทด่ี เู หมอื นกาลงั ครองโลกอยใู่ นขณะน้ี
จะถูกลงโทษเม่อื พระอาณาจกั รของพระเป็นเจา้ มาถงึ ในวนั พพิ ากษาโลก การท่พี ระเยซูเจา้ เสดจ็ มายงั โลก ซ่งึ
เท่ากบั การตดั สนิ อานาจชวั ่ รา้ ยกาลงั เกดิ ขน้ึ แลว้ (ดู 12:28 และสถานทส่ี าหรบั การใหอ้ ภยั บาปในเน้ือหาส่วนถดั ไป) ตรงขา้ มกบั
บนั ทกึ ของนกั บุญมาระโก ไม่มกี ารต่อรอง การใหส้ ทิ ธิ การต่อสู้ การบงการ หรอื กระบวนการไล่ผใี ดๆ มเี พยี งคา
เดยี วเทา่ นนั้ ทพ่ี ระเยซูเจา้ ตรสั คอื “จงไปเสยี ” (ว. 32)

ข้อคิดไตรต่ รอง
เน้ือหาตอนน้ีเน้นความสาคญั ท่ี อานาจในการออกคาสงั่ ของพระเยซูเจา้ นักบุญมทั ธวิ ไม่ไดม้ ุ่งเน้นการ

หายจากอาการถูกผสี งิ ของบุคคลเหล่านนั้ เหมอื นในพระวรสารนกั บญุ มาระโก (เราไมเ่ หน็ เลยวา่ เขาหายหรอื เปลา่ เพราะไม่มี
การกล่าวถงึ อกี เลย) แต่นักบุญมทั ธวิ ตอ้ งการใหผ้ อู้ ่านมองเหน็ ว่าพระเยซูเจา้ ทรงมพี ระฤทธานุภาพและทรงมอี านาจ
ในการออกคาสงั่ พระองคส์ ามารถบญั ชาจติ วญิ ญาณแหง่ ความสบั สนวุน่ วายดว้ ยการตรสั เพยี งพระวาจาเดยี ว

ดงั นัน้ เน้ือหาตอนน้ีจงึ ทาหน้าท่เี หมอื นคาสญั ญาว่า ความสบั สนวุ่นวายไม่ว่าจะรูปแบบใด การเมอื ง
ศาสนา ครอบครวั จติ ใจหรอื ร่างกาย ไม่อาจอยู่คงทนตลอดกาล พระวาจาจากพระวรสารท่มี อี านาจแห่งการ
รกั ษาเยยี วยา ช่วยใหส้ งบและฟ้ืนฟูทุกอย่างใหก้ ลบั มาดเี หมอื นเดมิ สามารถการาบพลงั แห่งความสบั สนวุ่นวาย
ความบา้ คลงั่ ความเจบ็ ป่วย และความตายไดใ้ นทส่ี ดุ

227

มทั ธวิ 9:1-17 การเรยี ก(ใหม้ าเป็น)ศษิ ยข์ องพระครสิ ตก์ ่อใหเ้ กดิ การต่อตา้ น

พระเยซูเจา้ ทรงรกั ษาคนอมั พาต
1 พระเยซูเจา้ เสดจ็ ลงเรอื ขา้ มฝัง่ กลบั มายงั เมอื งของพระองค์ 2 ทนั ใดนนั้ มผี หู้ ามคนอมั พาตคนหน่ึงนอนบนแครม่ าเฝ้าพระองค์
เมอ่ื พระเยซูเจา้ ทรงเหน็ ความเชอ่ื ของเขา จงึ ตรสั แก่คนอมั พาตวา่ “ทาใจดๆี ไวเ้ ถดิ ลูกเอ๋ย บาปของทา่ นไดร้ บั การอภยั แลว้ ” 3
ธรรมาจารยบ์ างคนคดิ ในใจวา่ “คนน้ีกลา่ วดหู มนิ่ พระเจา้ ” 4 พระเยซเู จา้ ทรงทราบความคดิ ของเขา จงึ ตรสั วา่ “ท่านคดิ รา้ ยในใจ
ทาไม 5 อยา่ งใดงา่ ยกวา่ กนั การบอกวา่ ‘บาปของท่านไดร้ บั การอภยั แลว้ ’ หรอื บอกวา่ ‘ลุกขน้ึ เดนิ ไปเถดิ ’ 6 แตเ่ พอ่ื ใหท้ ่านทราบ
วา่ บตุ รแหง่ มนุษยม์ อี านาจอภยั บาปไดบ้ นแผ่นดนิ น้ี” พระองคจ์ งึ ตรสั สงั่ คนอมั พาตวา่ “จงลุกขน้ึ แบกแคร่ กลบั บา้ นเถดิ ” 7 เขาก็
ลุกขน้ึ กลบั ไปบา้ น 8 เมอ่ื ประชาชนเหน็ ดงั น้ี ต่างมคี วามกลวั ถวายพระเกยี รตแิ ด่พระเจา้ ผปู้ ระทานอานาจเชน่ น้ีใหแ้ ก่มนุษย์
พระเยซูเจา้ ทรงเรียกมทั ธิว
9 ขณะทพ่ี ระเยซูเจา้ ทรงดาเนินไปจากทน่ี นั่ ทรงเหน็ ชายคนหน่ึงชอ่ื มทั ธวิ กาลงั นงั่ อย่ทู ด่ี ่านภาษี จงึ ตรสั สงั่ เขาวา่ “จงตามเรามา
เถดิ ” เขากล็ กุ ขน้ึ ตามพระองคไ์ ป
พระเยซูเจ้าเสวยพระกระยาหารรว่ มกบั คนบาป
10 ขณะทพ่ี ระเยซูเจา้ ทรงรว่ มโต๊ะเสวยพระกระยาหารทบ่ี า้ นของมทั ธวิ คนเกบ็ ภาษแี ละคนบาปหลายคนมารว่ มโต๊ะกบั พระองค์
และบรรดาศษิ ย์ 11 เมอ่ื เหน็ ดงั น้ี ชาวฟารสิ จี งึ ถามศษิ ยข์ องพระองคว์ า่ “ทาไมอาจารยข์ องท่านจงึ กนิ อาหารรว่ มกบั คนเกบ็ ภาษี
และคนบาปเล่า” 12 พระเยซูเจา้ ทรงไดย้ นิ ดงั นนั้ จงึ ตรสั ตอบวา่ “คนสบายดยี อ่ มไมต่ อ้ งการหมอ แตค่ นเจบ็ ไขต้ อ้ งการ 13 จงไป
เรยี นรคู้ วามหมายของพระวาจาทว่ี า่ ‘เราพอใจความเมตตากรณุ า มิใช่พอใจเครือ่ งบชู า ’ เพราะเราไมไ่ ดม้ าเพอ่ื เรยี กคนชอบ
ธรรม แต่มาเพอ่ื เรยี กคนบาป”
การถกเถียงเรื่องการจาศีลอดอาหาร
14 วนั หน่ึงบรรดาศษิ ยข์ องยอหน์ เขา้ มาทลู ถามพระเยซเู จา้ วา่ “ทาไมพวกเราและพวกฟารสิ จี าศลี อดอาหาร แตศ่ ษิ ยข์ องทา่ นไม่
จาศลี เลย” 15 พระองคท์ รงตอบวา่ “ผรู้ บั เชญิ มาในงานแตง่ งานจะโศกเศรา้ หรอื ขณะทเ่ี จา้ บ่าวยงั อยกู่ บั เขา แตจ่ ะมวี นั หน่ึงท่ี
เจา้ บ่าวจะถูกแยกไป วนั นนั้ เขาจะจาศลี อดอาหาร 16 ไมม่ ใี ครนาผา้ ใหมไ่ ปปะเสอ้ื เก่า เพราะผา้ ใหมท่ น่ี ามาปะเสอ้ื เกา่ นนั้ จะหดตวั
ทาใหร้ อยขาดมากกวา่ เดมิ 17 ไมม่ ใี ครใสเ่ หลา้ องนุ่ ใหมล่ งในถุงหนงั เกา่ เพราะถงุ หนงั จะขาด เหลา้ องนุ่ จะรวั่ และถุงหนังจะ
เสยี หายไปดว้ ย แตเ่ ขายอ่ มใสเ่ หลา้ องนุ่ ใหมล่ งในถงุ หนงั ใหมแ่ ละทงั้ สองอยา่ งจะไมเ่ สยี หาย

ข้อศึกษาวิพากษ์
มธ. 9:1-7 เป็นหน่วยเดยี วกนั การเรยี กใหม้ าเป็นศษิ ย์ รวมทงั้ บทสนทนาและความขดั แยง้ ท่งี านเลย้ี ง

อาหารค่าซ่ึงเกิดตามมานัน้ นักบุญมทั ธิวได้นามารวมเป็นเร่อื งเดียวกนั กลายเป็นคร่งึ หลงั ของวงเล็บทาง
วรรณกรรมซง่ึ เรมิ่ ตน้ ท่ี 8:18 บรบิ ททก่ี วา้ งขน้ึ ทาใหค้ วามหมายโดยรวมชดั เจน กล่าวคอื ถอ้ ยคาและการกระทา
(Word and Deed) อนั ทรงอานาจของพระเยซูเจา้ ก่อใหเ้ กดิ ความขดั แยง้ และเป็นการเรม่ิ ตน้ ของชมุ ชนใหม่

9:1 “เมอื งของพระเยซูเจา้ ” คอื คารเ์ ปอรน์ าอุม ซ่งึ อยู่ทางฝัง่ ตะวนั ตกของทะเลสาบและไม่ได้อยู่ในเขต
ของชนต่างศาสนา (แต่เทยี บกบั 4:13:16) ในฉากเร่อื งเล่าต่อมาพระเยซูเจา้ ทรงอภยั บาปใหก้ บั ชายทเ่ี ป็นอมั พาต ซง่ึ
ผอู้ ่นื พาเขามาหาพระองค์ เชน่ เดยี วกบั เรอ่ื งราวปาฏหิ ารยิ อ์ น่ื ๆ ฉากเช่นน้ีมลี กั ษณะเป็นรปู แบบตัวอยา่ งทวั่ ๆ ไป
ทาใหผ้ อู้ ่านทอ่ี ยใู่ นบรบิ ทเดยี วกบั นกั บุญมทั ธวิ เขา้ ใจไดอ้ ยา่ งทะลุปรโุ ปรง่ และสามารถนกึ ภาพของพระเป็นเจา้ ท่ี
อย่ใู นพระครสิ ต์ตอบสนองต่อคารอ้ งขอของผทู้ ต่ี อ้ งการพระองค์ เร่อื งน้ีไม่ควรถูกมองว่าเป็นนิทานเปรยี บเทยี บ
(เชน่ บอกวา่ “อมั พาต” คอื “บาป”) แต่ควรมองวา่ เหตกุ ารณ์น้ีทาหน้าทเ่ี ป็นสญั ลกั ษณ์ถงึ การเสดจ็ มายงั โลกของพระครสิ ต์
โดยรวม มฉิ ะนัน้ แล้วเราจะต้องสนั นิษฐานว่าชายอมั พาตคนนัน้ ว่าเป็นคนบาปท่ใี ครๆ รูจ้ กั หรอื ตงั้ คาถามว่า

228

ทาไมพระเยซูเจ้าถงึ ไม่อภยั บาปใหค้ นอ่นื ๆ ด้วย รวมถงึ กลุ่มคนท่แี สดงความเช่อื ของพวกเขาด้วยการนาคน
พกิ ารผนู้ ้มี าหาพระองค์

9:2 นักบุญมทั ธวิ ตดั รายละเอยี ดท่เี ป็นสสี นั ใน มก. 2:2-4 ออก ความสนใจทงั้ หมดของท่านมุ่งไปทพ่ี ระ
เยซูเจา้ และพระวาจาอนั ทรงอานาจของพระองค์ ดงั นัน้ เม่อื นกั บุญมทั ธวิ บอกว่าพระเยซูเจา้ “มองเหน็ ความเช่อื
ของพวกเขา” ท่านจงึ เช่อื ว่ารายละเอยี ดทอ่ี ย่ใู นพระวรสารนกั บุญมาระโกนนั้ มอี ยู่ และเป็นสง่ิ ท่ีนักบุญมทั ธวิ และ
ผอู้ ่านของท่านคุน้ เคยดอี ย่แู ลว้ น่าประหลาดใจทต่ี อนแรกพระเยซูเจา้ ไม่ไดต้ อบสนองต่อความตอ้ งการ “ทเ่ี หน็ ได้
ชดั ” ของคนผนู้ นั้ พระองคร์ กั ษาเขาใหห้ ายในภายหลงั เพอ่ื แสดงอานาจในการยกบาปของพระองค์ มนั ยากทจ่ี ะ
ยอมรบั วา่ เรอ่ื งน้เี ป็นบนั ทกึ เรอ่ื งจรงิ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ตามประวตั ศิ าสตร์ แต่เราเขา้ ใจไดว้ า่ เรอ่ื งเล่าน้ีแสดงถงึ ครสิ ตศาสตร์
ของนกั บุญมทั ธวิ ทว่ี า่ พระเยซูเจา้ คอื พระผไู้ ถ่ของพระเป็นเจา้ ทม่ี าชว่ ยมนุษยใ์ หร้ อดพน้ จากบาป (ดู สง่ิ ทน่ี ักบุญมทั ธิ
วเน้นความสาคญั ใน 1:21; 6:12, 14-15; 26:28 และความคดิ เหน็ เกย่ี วกบั วรรคเหล่าน้)ี พระเยซูเจา้ ทรงมองเหน็ ความตอ้ งการการอภยั
บาปของชายผนู้ ้ี ไม่ใช่เพราะว่าเขาเป็นคนบาปทใ่ี ครๆ รจู้ กั แต่เป็นเพราะเขาคอื ตวั แทนความตอ้ งการการอภยั
บาปจากพระเป็นเจา้ ของมนุษยท์ ุกคน (ดู 6:12)

9:3 คากล่าวใหอ้ ภยั บาปของพระเยซูเจา้ ถกู ธรรมาจารยก์ ล่าวหาวา่ เป็นการหมน่ิ ประมาทพระเป็นเจา้ ใน
สมัยของพระเยซูเจ้าและนักบุญมัทธิว คาว่า “การหม่ินประมาทพระเป็ นเจ้า” (Blasphemy) เป็ นคาท่ีมี
ความหมายรวมๆ ถงึ สงิ่ ใดกต็ ามทท่ี าใหศ้ กั ดศิ ์ รขี องพระเป็นเจา้ เสอ่ื มเสยี พระเยซูเจา้ ถูกกล่าวหาวา่ หมนิ่ ประมาท
พระเป็นเจา้ เพราะพระองคท์ รงกระทาการในฐานะเป็นพระเป็นเจา้ (1:23) นอกเหนือจากเร่อื งการประสตู ขิ องพระ
เยซูเจ้าท่มี ผี ู้ทานายล่วงหน้าและกล่าวถึงโดยทวั่ ไป น่ีเป็นครงั้ แรกท่ีเล่าถึงการต่อต้านพระเยซูเจ้าเกิดข้นึ ใน
พระวรสาร นกั บุญมทั ธวิ ไดต้ ดั องคป์ ระกอบความขดั แยง้ ออกจากเรอ่ื งอ่นื ๆ ก่อนหน้าน้ีในพระวรสารนกั บุญมาระ
โก (เชน่ เรอ่ื งวนั สบั บาโต เป็นตน้ ) ดงั นนั้ การดหู มนิ่ พระเป็นเจา้ ในทน่ี ้ีจงึ อย่ใู นบรบิ ทของจุดเรมิ่ ตน้ ความขดั แยง้ ทเ่ี กดิ ขน้ึ
เม่อื พระเยซูเจา้ ทรงประกาศอภยั บาป ซ่งึ จะเพม่ิ ความรุนแรงขน้ึ จนถงึ ขนั้ ท่ธี รรมาจารยก์ ล่าวหาว่าพระเยซูเจ้า
สมคบกบั มารซาตาน (9:34; 12:24) และปรากฏข้นึ อีกครงั้ ตอนท่ีพระเยซูเจ้าถูกดาเนินคดี (26:35) โดยใช้เป็นข้อ
กล่าวหาหลกั

ธรรมาจารย์ (Scribes) คอื คนกลุ่มแรกในสามกลุ่มท่ตี ่อต้านพระเยซูเจา้ ในตอนน้ี (9:11 ฟารสิ ,ี 9:14 ศษิ ย์ของ
ยอห์นผู้ทาพิธีล้าง) นักบุญมทั ธิวได้นาพระวรสารนักบุญมาระโกมาเรยี บเรยี งใหม่เพ่ือเร่อื งเล่าอีกสามเร่อื งและ
นาเสนอตวั แทนของชาวยวิ กลุ่มต่างๆ (ค่อนขา้ งกวา้ ง) ทต่ี ่อต้านพระเยซูเจา้ ท่านนักบุญมทั ธวิ ตดั มก. 2:7 ออกไป
ทาใหข้ อ้ กล่าวหาของธรรมาจารยข์ าดเหตุผลสนบั สนุน เราสามารถเช่อื ไดโ้ ดยง่ายว่าพวกเขาชวั่ รา้ ย และไม่อาจ
ทาการดใี ดๆ ไดเ้ พราะหวั ใจชวั ่ รา้ ยของพวกเขา (ดู 12:34-25; 15-19) ในพระวรสารนกั บุญมทั ธวิ บรรดาผนู้ าทต่ี ่อตา้ น
พระเยซูเจา้ มลี กั ษณะแขง็ ท่อื (Flat Characters) ไม่ยอมปรบั ปรุงแกไ้ ขตนเอง และไม่สามารถรวมอย่ใู นกลุ่มผทู้ ่ี
สรรเสรญิ พระเป็นเจา้ ใน ว. 8 (ดงั นนั้ นกั บุญมทั ธวิ จงึ ใชค้ าวา่ “ฝงู ชน” (Crowd) แทนคาวา่ “คนทงั้ หลาย” (All) ในพระวรสารนกั บญุ มาระโก)

9:4-5 พระเยซูเจ้าทรงตระหนัก “รบั รู้” ความคดิ ของพวกเขาได้ในพระทยั ธรรมจารย์เหล่าน้ีไม่ได้พูด
ออกมาดงั ๆ เพยี งแตพ่ ระเยซูเจา้ เทา่ นนั้ ทพ่ี ดู ในฉากน้ี เราไม่ควรจะเน้นการคดิ หาเหตุผลเรอ่ื ง “อยา่ งไหนงา่ ยกวา่
กนั ” ประเดน็ คอื พระองคท์ รงรกั ษาโรคดว้ ยฤทธานุภาพของพระเป็นเจา้ (ซ่งึ ทุกคนมองเหน็ และพสิ ูจน์ได)้ และสามารถ
ใหอ้ ภยั บาปดว้ ยฤทธานุภาพของพระเป็นเจา้ ดว้ ยเช่นกนั (แมว้ า่ จะมองไมเ่ หน็ และพสิ จู น์ไมไ่ ด)้ พระเยซูเจา้ ไดก้ ล่าวยนื ยนั
ว่าพระองคก์ ระทาการในฐานะบุตรแห่งมนุษย์ (ดูบทเสรมิ เรอ่ื ง “ครสิ ตศาสตรข์ องมทั ธวิ ”) ตามเร่อื งเล่าก่อนหน้าน้ี ชยั ชนะ

229

ของพระเจ้าเหนืออานาจของปิศาจได้ปรากฏอยู่ในพนั ธกิจของพระเยซูเจ้าแล้ว ดงั นัน้ การท่ีบุตรแห่งมนุษย์
ประกาศยอมรบั หรอื ปฏเิ สธบุคคลในการพพิ ากษาครงั้ สุดทา้ ย (10:32-33) ปรากฏอย่ใู นพนั ธกจิ ของพระองคเ์ ช่นกนั
แมว้ ่าพระวรสารนกั บุญมทั ธวิ จะมปี ระเดน็ เร่อื งอนั ตกาลในอนาคตค่อนขา้ งชดั เจน แต่มมี ติ ขิ องสงิ่ ทเ่ี ป็นจรงิ ดว้ ย
คอื พระอาณาจกั รของพระเป็นเจา้ ไดป้ รากฏขน้ึ แลว้ ในพระเยซูเจา้ (12:28)

9: 6-8 นกั บุญมทั ธวิ มองว่าปาฏหิ ารยิ น์ นั้ ไดเ้ กดิ ขน้ึ จรงิ ๆ เป็นการแสดงใหเ้ หน็ ถงึ พระราชอานาจของพระ
เยซูเจา้ แต่ท่านไมไ่ ดม้ ุ่งเน้นทก่ี ารหายจากโรค และขา้ มรายละเอยี ดหลายอย่างท่ีนักบุญมาระโกรวมไวใ้ นพระวร
สารของท่าน สาหรบั นักบุญมทั ธวิ ประเดน็ ของเร่อื งคอื พระเยซูเจา้ ทรงมอี านาจในการอภยั บาป ดงั นัน้ เสยี งแซ่
ซอ้ งจากฝงู ชนในตอนจบจงึ ไม่ใช่การสรรเสรญิ พระเป็นเจา้ เพราะปาฏหิ ารยิ ท์ ่เี กดิ ขน้ึ (อย่างในพระวรสารนักบุญมาระโก)
แต่เพราะอานาจของพระองคใ์ นการใหอ้ ภยั บาป ซง่ึ ไม่ไดม้ อี ย่แู ต่ในพระเยซูเจา้ เท่านัน้ แต่ยงั ส่งมาถงึ “มนุษย์”
ดว้ ย ในทน่ี ้ีนกั บุญมทั ธวิ คดิ ไปถงึ ครสิ ตจกั ร ซง่ึ ไดร้ บั มอบอานาจการอภยั บาปของพระเยซูเจา้ เป็นกจิ การสบื ทอด
ภารกจิ หน้าทอ่ี ยา่ งต่อเน่อื งจนถงึ ปัจจบุ นั (16:19; 18:15-20)

9: 9-11 แนวคดิ เร่อื งพระเป็นเจ้าทรงยอมรบั คนบาปดาเนินต่อไปในบนั ทกึ เก่ียวกบั การเรยี กนักบุญ
มทั ธวิ และการถกเถยี งทเ่ี กดิ ขน้ึ ในงานเลย้ี งอาหารค่าทบ่ี า้ นของท่าน มกี ารนารปู แบบของเร่อื งเดมิ มาเล่าซ้า คอื
การใหอ้ ภยั บาป/ การไม่ยอมรบั / และคาประกาศสรุป ในตอนทา้ ยของพระเยซูเจา้ ตรสั พระวาจาอนั ทรงอานาจ
ของพระองค์ท่สี ามารถการาบพายุ (8: 26) กล่าวใหอ้ ภยั บาป (9: 2) เรยี กรอ้ งการตอบสนองของมนุษย์ เหมอื นใน
4:18, 22 ซ่ึงเป็นตวั แบบของเร่อื งเล่าน้ี พระวาจาอนั ทรงพลงั ของพระองค์ได้สรา้ งความเป็นศษิ ย์ เราไม่ควร
ตคี วามเร่อื งเล่าในเชงิ จติ วทิ ยาและผูอ้ ่านไม่ควรคาดเดาความสมั พนั ธ์ขอ้ งเก่ยี วระหว่างพระเยซูเจา้ กบั นักบุญ
มทั ธวิ ใน-อดตี เพยี งเพราะเหน็ ว่าทา่ น “พรอ้ ม” ทจ่ี ะตดิ ตามพระองค์ ประเดน็ สาคญั คอื การเรยี กของพระเยซูเจา้
มปี ระสทิ ธภิ าพมาก พระองคท์ รงเป็นผเู้ ลอื ก ไม่ใช่จากการท่ีประชาชนสมคั รมาเป็นศษิ ยห์ รอื ศษิ ยเ์ ลอื กอาจารย์
(ดู 8:18-20) พระเยซูเจา้ ทรงปฏเิ สธผทู้ ค่ี ดิ ว่าเขาจะสามารถเป็นศษิ ยไ์ ดด้ ว้ ยการคดิ รเิ รมิ่ จากความรคู้ วามเขา้ ใจของ
ตนเอง ดงั ท่ี ยน. 15: 16 พระเยซูเจ้าตรสั ว่า “มใิ ช่ท่านทงั้ หลายได้เลอื กเรา แต่เราไดเ้ ลอื กท่าน มอบภารกจิ ให้
ทา่ นไปทาจนเกดิ ผล และผลของทา่ นจะคงอยู่ เพอื่ ว่าท่านจะขอสงิ่ ใดจากพระบดิ าในนามของเรา พระบดิ าจะประ
ทานแก่ทา่ น” และในทานองเดยี วกนั ในทน่ี ้พี ระองคท์ รงเรยี กผทู้ ถ่ี กู ปฏเิ สธ (เกย่ี วกบั เรอ่ื งคนเกบ็ ภาษี ดู 5:46)

เลวี คนเกบ็ ภาษี ใน มก. 2:14 กลายเป็นนกั บุญมทั ธวิ ในเรอ่ื งเล่าน้ี ดงั นนั้ ท่านจงึ เป็นคนเดยี วกบั นักบุญ
มทั ธวิ ใน มก. 3:18 และเป็นครงั้ แรกทร่ี ะบุว่านักบุญมทั ธวิ เป็นคนเกบ็ ภาษี แต่ไม่มหี ลกั ฐานทแ่ี สดงใหเ้ หน็ หรอื
ปรากฎในธรรมประเพณีวา่ เลวี กบั นกั บุญมทั ธวิ คอื สองช่อื ทห่ี มายถงึ คนๆ เดยี วกนั ทจ่ี รงิ แลว้ มชี าวยวิ น้อยคน
ท่ีจะมีช่ือภาษายิวสองช่ือ (ดู 10:1-5) ผู้แต่งอาจเลือกช่ือ “มทั ธิว” เพราะความเช่ือมโยงบางส่วนระหว่างอคั ร
สาวกมทั ธวิ กบั เอกสารแหล่ง Q หรอื ธรรมประเพณีในเอกสารแหล่ง M แต่ไมม่ หี ลกั ฐาน ความคดิ เหน็ วา่ ผเู้ ขยี นใช้
ช่ือของท่านเพ่ือท่ีจะอ้างอานาจของการเป็นอัครสาวกนัน้ เป็นไปไม่ได้เช่นกัน เพราะถ้าเป็นเช่นนัน้ ผู้เขยี น
จาเป็นตอ้ งใชแ้ หล่งขอ้ มลู จากนักบุญมาระโกเพ่อื เล่าเร่อื งการท่ีท่านไดร้ บั เรยี ก และท่านคงต้องทาเช่นนัน้ อย่าง
ลบั ๆ

บางครงั้ การมาถงึ ของพระอาณาจกั รพระเป็นเจา้ ได้รบั การนาเสนอเป็นภาพของงานเล้ยี งฉลอง (เช่น ใน
8:11) ดงั นัน้ งานเล้ยี งอาหารค่าท่พี ระเยซูเจา้ ทรงเป็นประธานนัน้ จงึ มคี วามหมายถงึ งานฉลองของบรรดาศษิ ย์
ของพระเมสสยิ าหใ์ นอนั ตกาล การเลอื กรบั ประทานอาหารกบั ผใู้ ดนนั้ เป็นเรอ่ื งทจ่ี รงิ จงั ในศาสนายดู ายในศตวรรษ

230

ทห่ี น่ึง (ดู กจ. 10-1-11:3) การคดั คา้ นครงั้ ก่อนมาจากธรรมาจารย์ นกั บุญมทั ธวิ เปลย่ี นเน้ือหาจากพระวรสารนกั บุญ
มาระโกเพ่อื ระบุว่าผู้คดั คา้ นในท่นี ้ีคอื พวกฟารสิ ี คาคดั คา้ นนัน้ กล่าวกบั บรรดาศษิ ย์ ไม่ใช่กล่าวกบั พระเยซูเจ้า
โดยตรง จงึ เป็นไปไดว้ า่ ฉากน้ีไม่เพยี งแต่สะทอ้ นถงึ แนวปฏบิ ตั ขิ องพระเยซูเจา้ ตวั จรงิ ในประวตั ศิ าสตรท์ เ่ี ผอ่ื แผ่ท่ี
นงั่ ในโต๊ะของผเู้ ป็นศษิ ยใ์ หก้ บั ผทู้ ส่ี งั คมไม่ยอมรบั แต่สะทอ้ นถงึ ความต่อเน่ืองของการยอมรบั “คนบาป” ใหเ้ ขา้
รว่ มสมาคมกบั พระศาสนจกั ร (ดคู วามคดิ เหน็ เกย่ี วกบั 9:8)

9:12-13 คาตอบของพระเยซูเจา้ เป็นสุภาษิตท่พี บไดท้ วั ่ ไปในวรรณกรรมภาษากรกี (แต่ไม่ได้มลี กั ษณะแบบ
ชาวยวิ โดยแท้มากนัก) นักบุญมทั ธวิ เติมขอ้ ความท่ยี กมาจาก ฮชย. 6:6 (อย่างท่ที าใน 12:7) แต่เม่อื คาสุภาษิตดงั กล่าว
ปรากฏอย่ใู น 5:17-20 มนั ไม่ไดม้ คี วามหมายสาหรบั นักบุญมทั ธวิ ถงึ การละทง้ิ ระบบพธิ ถี วายบูชาทธ่ี รรมบญั ญตั ิ
กาหนด (และไมไ่ ดห้ มายความเชน่ นัน้ ใน ฮชย.) เน่อื งจากทา่ นนิพนธพ์ ระวรสารหลงั จากพระวหิ ารไดถ้ ูกทาลายไปแลว้ การ
ทาพธิ ถี วายบูชาในความหมายแบบตามตวั อกั ษรจงึ เป็นไปไม่ได้ ไม่ว่าในกรณีใดกต็ าม ประเดน็ คอื พระเมตตา
ของพระเป็นเจา้ ทท่ี รงประทานแก่มนุษยผ์ ่านทางพระครสิ ต์มอี านาจเหนือสงิ่ อ่นื ใดทงั้ หมด และเราตอ้ งเขา้ ใจทุก
สง่ิ ทอ่ี ยใู่ นธรรมบญั ญตั ดิ ว้ ยมมุ มองน้เี ชน่ กนั

9:14-17 แมว้ ่ามคี วามต่อเน่ืองระหว่างพระเยซูเจา้ กบั นกั บุญยอหน์ ผทู้ าพธิ ลี า้ ง ซ่งึ นักบุญมทั ธวิ ไดเ้ น้น
เป็นประเดน็ สาคญั (ดู 3:2, 11:11-15) แต่ในท่นี ้ีบรรดาศษิ ย์ของนักบุญยอห์น จะเป็นคนอกี กลุ่มหน่ึง (มก. 2:18) ท่มี ี
ความตงึ เครยี ดกบั พระเยซูเจ้าและบรรดาศษิ ย์ของพระองค์ด้วย ในท่นี ้ีพวกเขายกประเด็นเร่อื งการถอื ศลี อด
อาหารขน้ึ มา ทผ่ี ่านมาภาพของพระเยซูเจา้ ทเ่ี ป็นอยู่คอื ผทู้ ย่ี นื ยนั คาสอนในธรรมบญั ญตั ิ ซง่ึ กาหนดใหม้ กี ารถอื
ศลี อดอาหารหน่ึงวนั ต่อปี (5:17-20; เทยี บ ลนต. 16:1-34) รวมถงึ ธรรมประเพณีการอดอาหารท่ีมบี ่อยครงั้ กว่านัน้ ซ่ึง
เกดิ ขน้ึ ในภายหลงั (6:16-18) คาตอบของพระเยซูเจา้ มสี ามลกั ษณะ คอื

9:15 คาตอบแรกของพระเยซูเจา้ คอื แขกท่มี างานแต่งงานจะไม่อดอาหารขณะท่กี าลงั อยู่ในพธิ ฉี ลอง
แต่งงาน กล่าวอีกอย่างหน่ึงคือ การท่ีพระเยซูเจ้าทรงดารงอยู่ด้วยนัน้ คือช่วงเวลาแห่งการเฉลิมฉลองแห่ง
อนั ตกาล การดารงอยขู่ องพระอาณาจกั รพระเป็นเจา้ (12:28) ในทน่ี ้ีไดน้ าเสนอเป็นภาพงานฉลองแต่งงานของพระ
เมสสยิ าห์ ประเดน็ สาคญั ท่นี กั บุญมทั ธวิ ตอ้ งการจะบอกคอื การดารงอยขู่ องพระเมสสยิ าห์ ผทู้ รงเป็นกษตั รยิ ต์ อ้ ง
มาก่อนสงิ่ อ่นื ใดทงั้ หมด แมว้ ่าท่านจะกล่าวย้าคาของพระวรสารนกั บุญมาระโกเกย่ี วกบั การอดอาหารหลงั จากท่ี
เจ้าบ่าวไม่อยู่แล้ว ซ่ึงสอดคล้องกบั มุมมองของนักบุญมาระโกเก่ียวกบั การท่ีพระเมสสยิ าห์ได้จากไปแล้วใน
พระศาสนจกั รในยุคของท่าน (มก. 2:19-20; 14:25; 16:6) แต่สงิ่ น้ีขดั แยง้ กบั ครสิ ตศาสตรข์ องนักบุญมทั ธวิ ท่กี ล่าวถงึ
การทพ่ี ระครสิ ตท์ รงประทบั อยเู่ สมอในพระศาสนจกั รของพระองค์ (1:23; 28:20)

9:16-17 คาตอบทส่ี องและสามคอื ไมม่ ใี ครเยบ็ ผา้ ใหม่ลงบนเสอ้ื ผา้ เก่า หรอื นาเหลา้ องนุ่ ใหมใ่ สใ่ นถุงหนัง
เก่า คาตอบแรกเหน็ ไดช้ ดั วา่ เชอ่ื มโยงกบั คาทา้ ทายจากศษิ ยข์ องนกั บุญยอหน์ สว่ นความเชอ่ื มโยงของคาตอบท่ี
สองและสามเก่ียวกับเร่ืองของการอดอาหารนัน้ เห็นไม่ชัดนัก ในสาระของคาตอบเป็ นเหมือนการสงั เกต
ขอ้ เทจ็ จรงิ เกย่ี วกบั อนั ตรายของการนาของเก่าและของใหม่มาผสมกนั ไม่มแี มแ้ ต่การสอ่ื ออกมาว่าของใหม่หรอื
ของเก่าดกี ว่า...สว่ นพระวรสารนักบุญลูกานนั้ บอกวา่ พวกเขาพงึ พอใจของเก่ามากกว่า แต่ไม่ว่าประเดน็ การสอน
ดงั้ เดมิ ของพระเยซูเจา้ หรอื ครสิ ตจกั รสมยั กอ่ นนกั บุญมทั ธวิ คอื อะไร นกั บญุ มทั ธวิ ไดป้ รบั เปลย่ี นคากล่าวเกย่ี วกบั
ถุงหนังเลก็ น้อย ในมก. 2:22 ซง่ึ แสดงความใส่ใจกบั ทงั้ เหลา้ องุน่ ใหม่กบั ถุงหนังเก่าอย่แู ลว้ แต่เพอ่ื ใหข้ อ้ ความท่ี
คลุมเครอื น้ีแสดงการยอมรบั ทงั้ ของเก่าและของใหม่ คอื การท่นี ักบุญมทั ธวิ เตมิ คาว่า “ดงั นัน้ ทงั้ สองจงึ ถูกรกั ษา

231

ไว้” นักบุญมทั ธิว หมายถึงทัง้ ถุงหนังเก่าและเหล้าองุ่นใหม่ ไม่ได้หมายถึงถุงหนังใหม่และเหล้าองุ่นใหม่
เหมอื นกบั ทเ่ี ราอาจเขา้ ใจไดจ้ ากพระวรสารนกั บุญมาระโก

ข้อคิดไตรต่ รอง
การนาของใหม่และของเก่ามาปนกนั นัน้ ถือเป็นงานท่เี ส่ยี ง เม่อื มที งั้ ของใหม่และของเก่าอยู่ตรงหน้า

ทางเลอื กทป่ี ลอดภยั สดุ คอื ตอ้ งปฏเิ สธอนั ใดอนั หน่ึง ดงั นนั้ ทงั้ หลกั การงา่ ยๆ แบบผวิ เผนิ ของผนู้ บั ถอื ศาสนาแบบ
ประเพณีนยิ ม คอื “ยดึ ของเก่าไวเ้ สมอ” และหลกั การงา่ ยๆ แบบผวิ เผนิ ของพวกละทง้ิ ความเชอ่ื คอื “ควา้ ของใหม่
ไวเ้ สมอ” จงึ ดไู ม่ซบั ซอ้ น ไม่คลุมเครอื และปลอดภยั สาหรบั คนไม่กลา้ ทจ่ี รงิ แลว้ ในทุกสถานการณ์ คนเราควร
รตู้ วั ล่วงหน้าเสมอวา่ ตอ้ งทาอะไร ใครคอื มติ รและใครคอื ศตั รู

คากล่าวสอนเกย่ี วกบั การเยบ็ ผา้ ใหม่ลงบนเสอ้ื ผา้ เก่า และนาเหลา้ องุ่นใหม่ใส่ลงในถุงหนังเก่า บ่อยครงั้
อาจถูกตีความว่าศาสนายูดายคือเส้อื ผ้าเก่าหรอื ถุงหนังเก่า และศาสนาครสิ ต์คือผ้าใหม่หรอื เหล้าองุ่นใหม่
บทเรยี นน้ีคอื ไม่ควรนาทงั้ สองอยา่ งมาผสมกนั โดยตคี วามว่าเสอ้ื ผา้ เก่าหมายถงึ ศาสนายูดาย ไมส่ ามารถรองรบั
ผา้ ท่เี ยบ็ ใหม่คอื ศาสนาครสิ ต์ ถุงหนังเก่าของชาวยวิ ไม่สามารถรองรบั เหลา้ องุ่นใหม่ของชาวครสิ ต์ การตคี วาม
แบบประเพณีนิยมน้ีไมเ่ พยี งแต่เขา้ ขา้ งตนเองเท่านนั้ แต่ยงั ไมส่ อดคลอ้ งกบั บรบิ ทอกี ดว้ ย เป็นการยนื ยนั วา่ ศษิ ย์
ของพระเยซูเจา้ ไม่ไดอ้ ดอาหารเหมอื นชาวฟารสิ ี หรอื ศษิ ย์ของนักบุญยอห์น ผูท้ าพธิ ลี า้ ง ในช่วงทพ่ี ระเยซูเจ้า
ทรงพระชนม์ชพี อย่บู นโลก แต่พวกเขาจะอดอาหารเม่อื ถงึ สมยั ครสิ ตจกั ร การถอื ศลี อดอาหารไม่ใช่ “สง่ิ ใหม่” ท่ี
พระเยซูเจา้ นาเสนอ แตเ่ ป็น “ของเก่า” เป็นพระบญั ชาจากพนั ธสญั ญาเดมิ และเป็นธรรมประเพณขี องชาวยวิ

เพ่อื ความแน่ใจ นักบุญมทั ธวิ มองว่าพระเยซูเจา้ ไดน้ าสงิ่ ใหม่แห่งอวสานตกาลมามอบให้ ไม่ใช่เพยี งแค่
ปรบั โครงสร้างหรอื เยบ็ ปะของเก่า แต่เป็นการทาให้สมบูรณ์และดารงรกั ษาไว้ (ดู 5:17:20; 13:52; 26:28-29) ตลอด
พระวรสารของท่าน นกั บุญมทั ธวิ ยนื ยนั ทงั้ สง่ิ ใหม่และสง่ิ เก่า ท่านปฏเิ สธทจ่ี ะใชก้ ารตคี วามแบบผวิ เผนิ ของกลุ่ม
อนุรกั ษ์นิยมและเสรนี ิยมในครสิ ตจกั รของท่าน ดงั นัน้ พระวรสารของนักบุญมทั ธวิ จงึ อาจมองไดว้ ่าเป็นอนุรกั ษ์
นิยมอย่างมากหรอื เสรนี ิยมอย่างมาก มคี วามเป็น “ยวิ ” หรอื เป็น “ต่างศาสนา” มคี วามเป็นประเพณีนิยมหรอื
ทนั สมยั เพราะสาระเน้ือหาคาสอนของท่านมอี งคป์ ระกอบทงั้ หมดน้ี (ดูบทนา) ด้วยวธิ นี ้ีเองท่านจงึ เป็นตวั แทนท่ี
แทจ้ รงิ ของพระเยซูเจา้ “บุรุษผไู้ ม่ยดึ ตดิ กบั สตู รใดๆ” หากเราตอ้ งรกั ษาทงั้ ของเก่าและของใหม่ จะรไู้ ดอ้ ยา่ งไรว่า
เมอ่ื ใดควรเกบ็ ของเก่าไว้ และเมอ่ื ใดตอ้ งเลอื กสงิ่ ทใ่ี หม่ทส่ี ดุ ไม่มคี าตอบอยา่ งดที เ่ี ราจะรไู้ ดล้ ่วงหน้า ไมม่ หี ลกั การ
ง่ายๆ ท่ปี ลอดภยั ไม่มที ่จี บั ยดึ แบบดงึ เปิดได้ตลอด นักบุญมทั ธวิ อยู่บนเสน้ แบ่งอนั ตรายระหว่างของเก่าและ
ของใหม่ ด้วยการยอมรบั ทงั้ สองสง่ิ บางครงั้ ท่านถูกทงั้ กลุ่มอนุรกั ษ์นิยมและกลุ่มเสรนี ิยมมองว่าเป็นศตั รู และ
ท่านไม่เคยโออ้ วดเลยว่าท่านเลอื กทางทถ่ี ูก เพยี งแต่รวู้ ่าน่ีคอื ชวี ติ ทพ่ี ระเยซูเจา้ ทรงเรยี กเราและไม่ไดม้ เี พยี งแต่
เราเทา่ นนั้

มทั ธวิ 9:18-34 ฤทธานุภาพของพระครสิ ตป์ ลุกเรา้ ทงั้ ศรทั ธาและความไมเ่ ชอ่ื
มทั ธวิ 9:18-26 พระครสิ ตท์ รงชนะความเจบ็ ป่วยและความตาย

พระเยซูเจ้าทรงรกั ษาหญิงตกเลือด ทรงปลุกบตุ รหญิงของหวั หน้าให้คืนชีวิต
18 ขณะทพ่ี ระเยซูเจา้ กาลงั ตรสั อยนู่ นั้ หวั หน้าคนหน่ึงเขา้ มากราบพระบาท ทลู วา่

232

“บตุ รหญงิ ของขา้ พเจา้ เพง่ิ สน้ิ ใจ เชญิ พระองคเ์ สดจ็ ไปปกพระหตั ถเ์ หนือเขาเถดิ เขาจะไดม้ ชี วี ติ ” 19 พระเยซเู จา้ ทรงลกุ ขน้ึ
เสดจ็ ตามเขาไปพรอ้ มกบั บรรดาศษิ ย์

20 ขณะนนั้ หญงิ คนหน่ึงเป็นโรคตกเลอื ดมาสบิ สองปีแลว้ เขา้ มาขา้ งหลงั สมั ผสั ฉลองพระองค์ 21 นางคดิ วา่ “ถา้ ฉนั เพยี ง
สมั ผสั ฉลองพระองคเ์ ทา่ นนั้ ฉนั กจ็ ะหายจากโรค” 22 พระเยซเู จา้ ทรงหนั มาเหน็ เขา้ จงึ ตรสั วา่ “ลูกเอ๋ย ทาใจดๆี ไว้ ความเชอ่ื ของ
ทา่ น ชว่ ยทา่ นใหร้ อดพน้ แลว้ ” หญงิ นนั้ กห็ ายจากโรคนบั แตเ่ วลานนั้ 23 เมอ่ื พระเยซเู จา้ เสดจ็ มาถงึ บา้ นของหวั หน้าคนนนั้ ทรง
เหน็ คนเป่าขลุย่ และผคู้ นกาลงั ชลุ มนุ วนุ่ วาย จงึ ตรสั วา่ 24 “ออกไปเถดิ เดก็ หญงิ คนน้ียงั ไมต่ าย เพยี งแตน่ อนหลบั ไปเท่านนั้ ”
พวกนนั้ ตา่ งหวั เราะเยาะพระองค์ 25 เมอ่ื คนกลุ่มนนั้ ถูกไลอ่ อกไปขา้ งนอกแลว้ พระองคจ์ งึ เสดจ็ เขา้ ไป ทรงจบั มอื เดก็ หญงิ เดก็
นนั้ กล็ กุ ขน้ึ 26 ขา่ วเรอ่ื งน้ีจงึ แพรอ่ อกไปทวั่ แควน้ นนั้

ข้อคิดวิพากษ์

เร่อื งเล่าน้ีมาจากสมมตฐิ านว่าผูอ้ ่านคุ้นเคยกนั แล้วในพระวรสารนักบุญมาระโก (5:21-43) ซ่งึ นามาอ่าน
ซ้าๆ ในครสิ ตจกั รของนกั บุญมทั ธวิ เป็นเวลาระยะหน่งึ แลว้ นกั บุญมทั ธวิ นาเร่อื งมาเรยี งลาดบั ใหม่ โดยมพี ระเยซู
เจา้ กาลงั เอนกายพกั ผ่อนอย่ทู โ่ี ต๊ะอาหารค่าในบา้ นของคนเกบ็ ภาษี (การกล่าวว่าพระองคก์ าลงั เอนกายอย่อู าจ
สนั นิษฐานจากคาว่า “ทรงลุกขน้ึ นัง่ ” (Got Up) ใน ว. 19 เทยี บ มก. 5:21 พระเยซูเจ้าเพง่ิ ก้าวออกจากเรอื มาสู่
เขตแดนเยราซีนส์ (Gerasenes)) เร่อื งเล่าน้ีเป็นการสอดแทรก (Intercalation) เพราะว่าในพระวรสารนักบุญ
มาระโก มกี ารแทรกการหายป่วยจากโรคของหญงิ ผหู้ น่ึง เขา้ ไปในเรอ่ื งการปลุกลูกสาวของผปู้ กครองใหฟ้ ้ืนจาก
ความตาย แต่เน่ืองจากในพระวรสารนักบุญมทั ธวิ เขยี นว่า เดก็ คนน้ีเสยี ชวี ติ ไปแลว้ เม่อื ผูป้ กครองคนนัน้ มาถงึ
และขอรอ้ งใหพ้ ระเยซูเจา้ ทรงช่วย การจดั เรยี งเรอ่ื งเล่าแบบน้ีทาใหส้ ญู เสยี การถ่วงเวลาและความระทกึ ใจแบบใน
พระวรสารนกั บญุ มาระโก แต่กระนนั้ นกั บุญมทั ธวิ กน็ ามาใชเ้ พอ่ื บรรลวุ ตั ถุประสงคข์ องทา่ น

นกั บุญมทั ธวิ เปลย่ี นจาก “ผนู้ าในศาลาธรรม” ในพระวรสารนกั บุญมาระโก (มก. 5:22) ใหเ้ ป็นผปู้ กครองและ
ละเวน้ การเอ่ยชอ่ื ของเขาคอื “ไยรสั ” สงิ่ น้ชี ว่ ยใหผ้ อู้ ่านเขา้ ใจผเู้ ป็นพอ่ ไดง้ า่ ยขน้ึ เพราะชุมชนของนกั บญุ มทั ธวิ นนั้
ถูกตดั ขาดจากศาลาธรรม และนกั บุญมทั ธวิ ไมเ่ คยเขยี นว่าพระเยซูเจา้ ทรงกระทาปาฏหิ ารยิ ใ์ หก้ บั ผนู้ าชาวยวิ คน
ใดเลย นอกจากน้ี ยงั เป็นการหลกี เลย่ี งคาถามทอ่ี าจเป็นเรอ่ื งสาคญั สาหรบั เจา้ พนกั งานของศาลาธรรม วา่ ในทาง
ศาสนา พระเยซูเจา้ ทรงมมี ลทนิ หรอื ไม่เม่อื สมั ผสั กบั หญงิ เป็นโรคตกเลอื ดผนู้ นั้ เช่นเดยี วกบั โหราจารยท์ งั้ สามท่ี
เป็นคนต่างศาสนา (2:11) ผู้หญิงท่ีเป็นคนต่างศาสนา (15:25) และคนป่ วยเป็นโรคเร้อื นท่ีถูกเนรเทศจากสงั คม
(15:25) ต่างหมอบกราบอย่ตู รงหน้าพระเยซูเจา้ พรอ้ มดว้ ยการขอรอ้ งวงิ วอน สง่ิ น้ีสะทอ้ นถงึ มุมมองของชุมชนชาว
ครสิ ตใ์ นยคุ หลงั ทม่ี ตี ่อพระเจา้ ผทู้ รงไดร้ บั การเทดิ ทนู ไวส้ งู สุด และการตอบสนองของพระเยซูเจา้ โดยยอมรบั การ
เคารพบูชานัน้ มุมมองของยุคสมยั หลงั การกลบั คนื พระชนม์ชพี ยงั เหน็ ได้จากการท่เี ดก็ คนนัน้ เสยี ชวี ติ ไปแล้ว
และผูว้ อนขอได้กล่าวว่าตนมคี วามเช่อื ในการกลบั คนื ชพี (มก. 5:23) ดงั นัน้ ผูอ้ ่านพระวรสารนักบุญมทั ธวิ จงึ ไม่
เพยี งแต่มองยอ้ นไปถงึ การกลบั คนื พระชนม์ชพี ของพระเยซูเจา้ ผทู้ รงสามารถเอาชนะความตายเท่านัน้ แต่ยงั
มองยอ้ นไปถงึ เรอ่ื งเลา่ ในพระวรสารนกั บญุ มาระโกดว้ ย

ระหวา่ งทางพระเยซูเจา้ ถูกสมั ผสั โดยหญงิ ผหู้ น่ึงทต่ี กเลอื ดมานานถงึ สบิ สองปี เช่นเดยี วกบั ในกรณีของ
คนเป็นโรคเรอ้ื น (8:1-4) ความยากลาบากของหญงิ ผนู้ นั้ ไม่ไดม้ เี พยี งแต่ทางกาย แต่รวมถงึ ทางสงั คมดว้ ย เพราะ
ตามหลกั ของธรรมบญั ญัติ ทุกสงิ่ ท่เี ธอสมั ผสั จะถอื ว่ามมี ลทินทางศาสนาทงั้ หมด ใน ลนต. 15 มคี าเตือนและ
กฎเกณฑอ์ ยา่ งละเอยี ดเกย่ี วกบั การลา้ งทาความสะอาดมลทนิ ของชายและหญงิ ทร่ี า่ งกายมกี ารหลงั่ สารทผ่ี ดิ ปกติ
สาหรบั เรอ่ื ง “ความมมี ลทนิ ” ดู เชงิ อรรถ 187

233

หญงิ ผนู้ ัน้ ไดต้ ดั สนิ ใจแลว้ ว่าจะตอ้ งสมั ผสั พระเยซูเจา้ และเช่อื ว่าเพยี งการสมั ผสั เท่านัน้ กจ็ ะรกั ษาเธอให้
หายป่วยได้ เราอาจมองวา่ เป็นการคดิ แบบเวทมนตค์ าถา หรอื มองวา่ เป็นการคดิ แบบเหน็ แกต่ วั เพราะการสมั ผสั
พระเยซูเจ้าก็เท่ากบั เธอเสย่ี งท่จี ะส่งต่อความมมี ลทนิ ของตนเองไปยงั พระองค์ (ลนต. 15:25-30) การท่เี ธอเขา้ มา
ทางดา้ นหลงั พระองคเ์ ป็นสว่ นทต่ี กทอดมาจากพระวรสารนกั บุญมาระโก ซง่ึ ไม่มคี วามหมายในทน่ี ้ี เพราะนกั บุญ
มทั ธวิ ได้ตดั ฝงู ชนและบรรดาศษิ ย์ออกไปหมดเพ่อื ให้ความสนใจทงั้ หมดมุ่งไปท่พี ระเยซูเจ้า หญิงผู้นัน้ สมั ผสั
เสอ้ื ผา้ ของพระองคแ์ ละพระเยซูเจา้ ทรงตรสั เป็นครงั้ แรก พระองคอ์ ่านคาพูดในใจของเธอ (เฉพาะในพระวรสารนักบุญ
มทั ธวิ เธอพดู ออกมาดงั ๆ ในพระวรสารนักบุญมาระโก) และทรงประกาศว่าการกระทาของเธอนนั้ เป็นการกระทาทม่ี คี วามเช่อื
(ไมใ่ ช่ความเช่อื แบบเวทมนตค์ าถาหรอื งมงาย) และมพี ลงั ในการช่วยใหเ้ ธอรอดพน้ และในตอนนนั้ เอง ตามคากล่าวของพระ
เยซูเจ้า นักบุญมทั ธวิ ระบุว่าผูห้ ญิงคนนัน้ หายจากโรค ซ่งึ เป็นการหลกี เล่ยี งความเขา้ ใจผดิ ท่อี าจเกดิ ข้นึ ได้ใน
พระวรสารนักบุญมาระโกทก่ี ล่าวว่าผหู้ ญงิ คนนนั้ หายจากโรคทนั ทที ส่ี มั ผสั พระเยซูเจา้ โดยปราศจากเจตนาทจ่ี ะ
ขอความช่วยเหลอื จากพระองค์ ในทน่ี ้ีกเ็ ช่นเดยี วกบั สว่ นอ่นื ๆ นักบุญมทั ธวิ นาเร่อื งมาเล่าใหม่โดยเน้นทอ่ี านาจ
ของพระเยซูเจา้ และความเชอ่ื ของผวู้ อนขอ

พระเยซูเจา้ ยงั เป็นผทู้ โ่ี ดดเดน่ ทส่ี ดุ ในฉากเหตุการณ์ทบ่ี า้ นของผปู้ กครอง ไม่มกี ารกลา่ วถงึ คณะผตู้ ดิ ตาม
และผปู้ กครองในทน่ี ้ี งานศพนัน้ ได้ดาเนินไปไดร้ ะยะหน่ึงแลว้ (ผูเ้ ป็นพ่อไม่ได้อยู่ทน่ี ัน่ !) โดยมนี ักเป่ าขลุ่ยและนักรอ้ ง
งานศพตามธรรมเนียม พระเยซูเจา้ ตรสั เพอ่ื ใหพ้ วกเขาหยุดและกลบั ออกไปดว้ ยการกล่าววา่ เดก็ คนนนั้ ยงั ไมต่ าย
เพยี งแต่หลบั ไป ฝงู ชนเขา้ ใจคาพูดของพระเยซูเจ้าตามตวั อกั ษรและหวั เราะเยาะพระองค์ นักตคี วามท่ยี ดึ มนั่
หลักเหตุผลในศตวรรษท่ี 19 เข้าใจคาพูดของพระเยซูเจ้าว่าเป็นจริงตามตัวอักษรเช่นกัน โดยอธิบายว่า
ปาฏหิ ารยิ ์นัน้ คอื พระเยซูเจ้าไดช้ ่วยเดก็ สาวจากความตายก่อนวยั อนั ควร การท่ผี ู้คนหวั เราะกนั สนุกสนานกบั
เรอ่ื งน้ี นกั บุญมทั ธวิ ตอ้ งการชใ้ี หเ้ หน็ ว่าการตคี วามคาพดู ของพระเยซูเจา้ แบบตามตวั อกั ษรนนั้ ผดิ เดก็ คนนนั้ ได้
ตายไปแล้วอย่างแน่นอน การใชค้ าว่า “นอนหลบั ไป” แทนคาว่า “ตาย” ในทน่ี ้ี ไม่ใช่การหนีความเป็นจรงิ และ
ไม่ใช่การพูดถึงความจรงิ โดยทวั่ ไปว่าความตาย “เป็นเพียง” การนอนหลบั แต่เป็นคาพูดเชิงครสิ ตศาสตร์
เก่ยี วกบั พระฤทธานุภาพของพระเยซูเจ้า ตามมุมมองความเช่อื ของครสิ ตจกั รหลงั การกลบั คนื พระชนม์ชพี ท่ี
แสดงออกมาในเร่อื งน้ี พระเยซูเจา้ คอื ผทู้ ไ่ี ด้ทรงพชิ ติ ความตายแลว้ และพระองคไ์ ด้ทรงปลุกใหเ้ ดก็ สาวผูน้ นั้ ฟ้ืน
ต่นื ข้นึ มาจาก “การนอนหลบั ” แห่งความตาย เช่นเดยี วกบั ท่พี ระองค์จะกระทากบั ทุกคนในการพพิ ากษาครงั้
สุดทา้ ย เร่อื งเล่าทงั้ หมดเป็นเหมอื นการกล่าวแสดงความเช่อื ของนักบุญมทั ธวิ ในอานาจแห่งพระเยซูเจา้ ผทู้ รง
กลบั คนื พระชนมช์ พี โดยใหผ้ ปู้ กครองและเดก็ สาวผนู้ นั้ เป็นตวั แบบ นกั บุญมทั ธวิ ไดท้ าตามรปู แบบของท่าน คอื
ตดั ออกหรอื เปลย่ี นลกั ษณะท่แี สดงถงึ แรงบนั ดาลใจแห่ง “ความลบั ของพระเมสสยิ าห”์ (Messianic Secret) ทม่ี ี
อยใู่ นบทสรปุ ของพระวรสารนกั บุญมาระโก (มก. 5:43) ออกไป เพราะเป็นสง่ิ ทเ่ี ขา้ ใจยาก ไมว่ า่ ในกรณใี ดๆ กต็ าม

มทั ธวิ 9:27-31 พระครสิ ตท์ าใหค้ นตาบอดมองเหน็

พระเยซูเจา้ ทรงรกั ษาคนตาบอดสองคน

234

27 ขณะทพ่ี ระเยซูเจา้ กาลงั เสดจ็ ออกจากทน่ี นั่ คนตาบอดสองคนตามพระองคไ์ ป รอ้ งตะโกนวา่ “โอรสของกษตั รยิ ด์ าวดิ 13 โปรด
เมตตาเราเถดิ ” 28 เมอ่ื เสดจ็ มาถงึ บา้ น คนตาบอดเขา้ มาเฝ้าพระองค์ พระเยซูเจา้ จงึ ตรสั ถามว่า “ทา่ นเชอ่ื วา่ เราทาเชน่ นนั้ ไดห้ รอื ”
เขาทงั้ สองตอบวา่ “เชอ่ื พระเจา้ ขา้ ” 29 พระองคจ์ งึ ทรงสมั ผสั ตาของเขา ตรสั วา่ “จงเป็นไปตามทเ่ี จา้ เชอ่ื เถดิ ” 30 แลว้ ตาของเขา
ทงั้ สองคนกเ็ รม่ิ มองเหน็ พระเยซูเจา้ ทรงกาชบั เขาอยา่ งเขม้ งวดวา่ “ระวงั อยา่ บอกใหใ้ ครรเู้ รอ่ื งน้ี” 31 แตเ่ มอ่ื ทงั้ สองคนออกไปก็
ประกาศเรอ่ื งของพระองคท์ วั่ แควน้ นนั้

ข้อคิดวิพากษ์
เร่อื งเล่าน้ีเป็นเร่อื งเล่าซ้าสองครงั้ แสดงใหเ้ หน็ ถงึ การท่ีนักบุญมทั ธวิ นาเร่อื งราวใน มก. 10:46-52 มา

เขยี นใหม่ (และคงรกั ษาไวใ้ น มธ 20:29-34) ในทงั้ สองกรณี คนตาบอดหน่ึงคนในพระวรสารนกั บุญมาระโกถูกเปลย่ี นให้
เป็นสองคนในพระวรสารนกั บุญมทั ธวิ โดยนกั บุญมทั ธวิ นาเรอ่ื งราวทงั้ หมดมาปะตดิ ปะต่อกนั โดยใชร้ ายละเอยี ด
จากแหล่งขอ้ มูลของท่านและองค์ประกอบจากเร่อื งเล่าของท่านเองท่เี คยมกี ารใช้ในตอนอ่นื มาแล้ว เหตุผล 3
ประการทเ่ี ป็นเชน่ นัน้ สงั เกตไดจ้ ากแผนการโดยรวมของนกั บุญมทั ธวิ (1) เรอ่ื งเลา่ น้ีเป็นขอ้ ความทท่ี าใหล้ กั ษณะ
รูปแบบการประพนั ธ์แบบตรลี กั ษณ์ของนักบุญมทั ธวิ มคี รบ 3 เร่อื ง (2) นักบุญมทั ธวิ มองว่าการกระทาของพระ
เยซูเจา้ ใน 8:1-9:34 เป็นการทาใหภ้ าพของการกูไ้ ถ่กูม้ นุษยชาติแหง่ อนั ตกาล ซง่ึ ปรากฏอยใู่ น อสย. 35: 5 ครบ
สมบูรณ์ ซ่งึ ท่านอ้างองิ ถงึ ใน 11;5 ดงั นัน้ ท่านจงึ จาเป็นต้องมเี ร่อื งเล่าคนตาบอดก่อนหน้าขอ้ ความท่ี 11:5 (3)
ในตอนน้ี ท่านบรรยายถงึ ความตงึ เครยี ดระหว่างความเช่อื และความไม่เช่อื ทเ่ี กดิ ขน้ึ ดงั นนั้ ท่านจงึ ไดน้ าเร่อื งเล่า
ในพระวรสารนกั บญุ มาระโกมาเขยี นใหม่ เพอ่ื จุดมุ่งหมายน้ี

9:27-28 “โปรดเมตตาเราเถดิ โอรสของกษตั รยิ ์ดาวดิ ” ขอ้ ความน้ีเกอื บจะเป็นคาภาวนาในพระวรสาร
นกั บุญมทั ธวิ เพราะสญั ลกั ษณ์แห่งความเป็นกษตั รยิ น์ ้ีมคี วามสาคญั สาหรบั ท่านตลอดทงั้ เล่ม (15:22; 20:30-31) ผทู้ ่ี
ตดิ ตามพระเยซูเจา้ มคี วามหมายแฝงมากกว่า “การเดนิ ตาม” พระองค์ คาว่าตดิ ตาม (Follow) เป็นคาท่นี ักบุญ
มทั ธวิ ใชส้ อ่ื ถงึ “ความเป็นศษิ ย”์ (Discipleship) และท่านไดน้ ามาเน้นลงในขอ้ มลู ทม่ี าจากพระวรสารนกั บุญมาระ
โกตอนน้ี (บารต์ มิ าอุสไม่ไดต้ ดิ ตามพระเยซูเจา้ จนกระทงั่ ถงึ ตอนจบของเร่อื งใน มก. 10:52) เช่นเดยี วกบั ใน 9:18-26 เม่อื เร่อื งเล่าใน
พระวรสารนกั บุญมทั ธวิ เรมิ่ ขน้ึ ตวั ละครหลกั อย่ใู นจุดทเ่ี ป็นตอนจบของเร่อื งเล่าในพระวรสารนักบุญมาระโกแลว้
แนวคดิ เก่ยี วกบั ความเป็นศษิ ยใ์ นเร่อื งน้ีเหน็ ไดจ้ ากการเรยี กพระเยซูเจา้ ว่า “โอรสของกษตั รยิ ์ดาวดิ ” และ “พระ
เจ้าขา้ ” (ดู บทเสรมิ เร่อื ง “ครสิ ตศาสตร์ของนักบุญมัทธวิ ”) และจากความเช่อื ของพวกเขา สาหรบั ผู้อ่านในครสิ ตจกั รของ
นักบุญมัทธิว เร่ืองเล่าน้ีไม่ได้แสดงภาพของการกลับใจใหม่ (Conversion) แต่เป็ นเร่ืองเล่าสาหรบั คนใน
ครสิ ตจกั ร ความมดื บอดไม่ได้มเี ฉพาะคนนอกเท่านัน้ ภายในครสิ ตจกั รเองก็มสี มาชกิ แบบต่างๆ ผสมกนั และ
ความมดื บอดทางจติ วญิ ญาณมอี ยู่และเป็นสง่ิ ท่คี ุกคามเสมอ แต่สามารถรกั ษาให้หายได้ เม่อื ชาวครสิ ต์ท่ี “ตา
บอด” เหลา่ นนั้ หนั มาพง่ึ พาความเชอ่ื ในพระเป็นเจา้ ผทู้ รงกลบั คนื พระชนมช์ พี (13:10-17; 16:5-12, 15-24)

9:29-30 อาจเป็นการอธบิ ายตอนทเ่ี ป็นปัญหาในตอนจบของเรอ่ื ง หลงั จากรกั ษาคนตาบอดเหลา่ นนั้ แลว้
พระเยซูเจา้ ทรงสงั่ ว่าพวกเขาจะตอ้ งไม่บอกคนอ่นื ว่าพระองคไ์ ดท้ าอะไร ซ่งึ เป็นสงิ่ ทแ่ี ปลกประหลาดและอาจดู
เหมอื นไม่ยนิ ดใี นตวั เอง แต่พวกเขาไม่ได้ทาตามคาสงั่ ของพระองค์ ตอนน้ี เราควรหลกี เล่ียงคาอธบิ ายในเชงิ
ชวี ประวตั แิ ละจติ วทิ ยาเกย่ี วกบั คาสงั่ น้ี กจิ การน้ีไมใ่ ช่การกระทาเชงิ กลยุทธเ์ พอ่ื หลกี เลย่ี งการเป็นทร่ี จู้ กั ของพระ
เยซูเจา้ ผอู้ ย่ใู นประวตั ศิ าสตร์ แน่นอนว่าผูท้ ม่ี พี ลงั อานาจในการรกั ษาคนตาบอดใหห้ ายย่อมสามารถรบั มอื กบั
เร่อื งของการส่อื สารกบั มวลชนได้ องค์ประกอบดงั กล่าวในเร่อื งเล่าทาหน้าท่ใี นระดบั ครสิ ตศาสตรข์ องนักบุญ

235

มทั ธวิ กลา่ วคอื นกั บุญมทั ธวิ ตอ้ งการแสดงใหเ้ หน็ ประเดน็ ทางเทววทิ ยา คอื การเชอ่ื ฟังคาสงั่ ของพระเยซูเจา้ (7:24-
27; 28:18-20) ทา่ นนกั บญุ มทั ธวิ ไดค้ น้ ควา้ แหล่งขอ้ มลู ของทา่ นเพอ่ื จะหาตวั แบบของการไมท่ าตามคาสงั่ พระเยซูเจา้
ลกั ษณะเด่นเร่อื งการเกบ็ ความลบั ของพระเมสสยิ าหท์ ่มี อี ยู่ในพระวรสารนักบุญมาระโกมเี น้ือหาท่เี ป็นลกั ษณะ
ดงั กล่าว มเิ ชน่ นนั้ นกั บุญมทั ธวิ คงหลกี เลย่ี งไมน่ ามาใช้ ท่านไดล้ ะเวน้ คาเหล่าน้ีในฉากเหตุการณ์เดมิ (มก. 1:43, 45;
เทยี บ มก. 5:19-20) แต่ตอนน้ีท่านพบวธิ นี ามนั มาใชป้ ระโยชน์ โดยการนามารวมกนั เพ่อื แสดงใหเ้ หน็ ภาพของคนท่ี
เรยี กพระเยซูเจ้าว่า “พระเจ้าข้า” แต่ไม่ปฏิบตั ิตามคาท่ีพระองค์ทรงสงั่ แก่นแท้ของความเป็นศิษย์จงึ ไม่ใช่
ปาฏหิ ารยิ อ์ นั น่าอศั จรรย์ แตเ่ ป็นการเคารพถอ้ ยคาพระวาจาของพระเยซูเจา้ (7:21-23)

มทั ธวิ 9:32-34 พระครสิ ตร์ กั ษาคนทถ่ี ูกผปี ิศาจสงิ และพดู ไมไ่ ด้

พระเยซูเจา้ ทรงรกั ษาคนถกู ปี ศาจสิง
32 เมอ่ื คนทเ่ี คยตาบอดทงั้ สองคนจากไปแลว้ มผี พู้ าคนใบถ้ ูกปีศาจสงิ คนหน่ึงมาเฝ้าพระเยซูเจา้ 33 ครนั้ ปีศาจถกู ขบั ออกไปแลว้
คนใบก้ พ็ ดู ได้ ประชาชนต่างประหลาดใจ กล่าววา่ “ยงั ไมเ่ คยเหน็ อะไรเชน่ น้ีเลยในอสิ ราเอล” 34 แตช่ าวฟารสิ กี ล่าววา่ “คนน้ีขบั
ไล่ปีศาจดว้ ยอานาจของเจา้ แหง่ ปีศาจนนั่ เอง”

ข้อศึกษาวิพากษ์
เช่นเดยี วกบั เร่อื งเล่าปาฏหิ ารยิ อ์ ่นื ๆ เราไม่ควรตคี วามเร่อื งน้ีแบบแยกเดย่ี วว่าเป็นการแสดงปาฏหิ ารยิ ์

ของพระเยซูเจา้ แต่ควรมองว่าเป็นสว่ นหน่ึงของเร่อื งเล่าทงั้ หมดทบ่ี อกเล่าโดยนักบุญมทั ธวิ เร่อื งน้ีสอดคลอ้ งลง
ตวั กบั โครงสรา้ งโดยรวมในฐานะบทสรุปทม่ี คี วามหมายสาหรบั 8:1-9:34 ก่อใหเ้ กดิ เป็นเรอ่ื งทส่ี ามของตรลี กั ษณ์
ชุดทส่ี ามน้ี เป็นเร่อื งทค่ี ่เู คยี งกบั 12:22-24 ทงั้ สองมาจากเร่อื งเล่าในเอกสารแหล่ง Q ทไ่ี ดร้ บั การเกบ็ รกั ษาไวใ้ น
ลก. 11:14-15 มเี หตุผล 4 ประการทน่ี กั บุญมทั ธวิ นาเรอ่ื งน้ีมาเขยี นซ้าและนามาใสไ่ วต้ รงน้ี (1) ท่านจาเป็นตอ้ งมี
เรอ่ื งทส่ี าม สาหรบั เร่อื งราวชุดทส่ี าม (2) เมอ่ื มองล่วงหน้าไปถงึ 11:5 ท่านจาเป็นตอ้ งมเี ร่อื งการรกั ษาคนเป็นใบ้
และหหู นวกเพอ่ื จะไดท้ าให้ “งานของพระเมสสยิ าห”์ ครบสมบรู ณ์และเตมิ เตม็ ภาพการไถ่กมู้ นุษยช์ าตทิ ร่ี ะบุไวใ้ น
อสย. 35:5-6 (3) ถงึ แมว้ ่านกั บุญมทั ธวิ ไดน้ าเสนอภาพของพระเยซูเจา้ ในฐานะผเู้ ป็นเจา้ นายอย่เู หนืออานาจของ
ผปี ิศาจใน 8:28-34 แต่ท่านยงั คงสรุปส่วนน้ีดว้ ยเร่อื งเล่าทแ่ี สดงใหเ้ หน็ ความขดั แยง้ ระหว่างพระอาณาจกั รของ
พระเจ้าท่ีมพี ระเยซูเจ้าเป็นตวั แทน กบั อาณาจกั รของมารซาตาน (4) นัก-บุญมทั ธวิ สรุปส่วนท่ีเป็นเร่อื งราว
ปาฏหิ ารยิ น์ ้ีดว้ ยฉากเหตุการณ์ทเ่ี น้นความสาคญั ของการตอบสนองของอสิ ราเอล โดยเฉพาะการทบ่ี รรดาผนู้ า
ทงั้ หลายตอบสนองต่อการกระทาอนั ยง่ิ ใหญ่ของพระเยซูเจ้าด้วยความไม่เช่ือ ดงั นัน้ ท่านจงึ นาเร่อื งเล่าจาก
เอกสารแหล่ง Q (ลก. 11:14-15) มาเขยี นใหม่และนามาใชอ้ กี ครงั้ กลายเป็นศูนย์กลางของโครงสรา้ งในส่วนท่เี ป็น
การบรรยายเรอ่ื งของทา่ น (ดู บทนาและขอ้ ศกึ ษาวพิ ากษ์ สาหรบั 12:22-37)

สว่ นทเ่ี ป็นปาฏหิ ารยิ น์ นั้ ไดร้ บั การเลา่ อยา่ งสนั้ ๆ และไมม่ สี สี นั สงิ่ ทม่ี ุง่ เน้นทงั้ หมดอยทู่ ก่ี ารตอบสนองของ
ผคู้ น ทแ่ี ตกต่างกนั ไป และมปี รากฏอย่ใู นเร่อื งเล่าจากเอกสารแหล่ง Q อย่แู ลว้ (ลก. 11:14-15) นักบุญมทั ธวิ ทาให้
เรอ่ื งน้ีชดั เจนยง่ิ ขน้ึ อกี ตามวตั ถุประสงคข์ องท่าน ในดา้ นหน่ึง ฝงู ชนซง่ึ เป็นตวั แทนของคนทวั่ ไปทเ่ี ป็นกลาง แต่มี
ศกั ยภาพทจ่ี ะเป็นผทู้ เ่ี ชอ่ื ต่างพากนั อศั จรรยใ์ จกบั การกระทาของพระเยซูเจา้ แมว้ า่ การช่นื ชมและอศั จรรยใ์ จนนั้
ไม่ใช่ความเช่อื แต่การตอบสนองทางบวกของฝงู ชนกลายเป็นสง่ิ ท่ปี ้องกนั พระองคจ์ ากการตอบสนองทางลบ
อย่างด้อื ดงึ หวั แขง็ ของชาวฟารสิ ี ซ่งึ นักบุญมทั ธวิ ได้เตมิ ลงมาในเร่อื งน้ี จะเหน็ ได้ว่าตลอดทงั้ เร่อื งสงิ่ ท่ีนักบุญ

236

มทั ธวิ ใส่ใจไม่ใช่ขอ้ เท็จจรงิ ท่วี ่าปาฏหิ ารยิ ์เกดิ ขน้ึ จรงิ หรอื ไม่ เพราะไม่มใี ครในเร่อื งสงสยั ประเดน็ น้ีอยู่แล้ว แต่
ทา่ นใสใ่ จกบั ความหมายของปาฎหิ ารยิ ์ เมอ่ื ชาวฟารสิ ี “อธบิ าย” วา่ อานาจในการไล่ผขี องพระเยซูเจา้ เชอ่ื มโยงกบั
อานาจของมารซาตาน พวกเขาทาใหค้ วามขดั แยง้ ทเ่ี ตบิ โตขน้ึ ตลอดมาตงั้ แต่ 9:3 มาถงึ จุดทต่ี อ้ งมกี ารตดั สนิ ใจ
และคาดหมายว่าในท่สี ุดจะต้องมกี ารแจง้ ขอ้ หาหมนิ่ ประมาทกบั พระเยซูเจ้า ซ่ึงอยู่ในฉากเหตุการณ์สาคญั ใน
12:22-37 ทา่ นนกั บญุ มทั ธวิ สรา้ งเรอ่ื งราวใหผ้ ลกั ดนั ไปจนถงึ จดุ นนั้ และประเดน็ น้จี ะปรากฏขน้ึ อกี ครงั้ ในฐานะขอ้
กลา่ วหาหลกั ในฉากการตดั สนิ โทษ (26:65)

เร่อื งเล่าทเ่ี ป็นการสรุปน้ีนาส่กู ารตอบสนองดว้ ยความเช่อื และความไม่เช่อื ทป่ี รากฏอย่ใู นปาฏหิ ารยิ ส์ าม
เร่อื งสุดท้ายในส่วนน้ีไปสู่จุดสูงสุดของเร่อื งอย่างเหมาะสม เร่อื งเล่าชุดน้ีค่อยๆ ไล่เรยี งลงไปให้เราเห็นตงั้ แต่
ความเช่อื อนั แทจ้ รงิ (ว. 18-26) ความเช่อื ทก่ี ลายเป็นการไม่เช่อื ฟัง (ว. 27-31) และไปสรุปทค่ี วามรสู้ กึ อศั จรรยใ์ จของ
ผคู้ น ซง่ึ อาจกลายเป็นความเช่อื อนั แทจ้ รงิ ได้ หากไม่มคี วามไม่เช่อื อยา่ งดอ้ื รนั้ ของบรรดาผนู้ าศาสนามาขวางไว้

(ว. 32-34)

มทั ธวิ 9:35 บทสรุปทเ่ี ชอ่ื มโยง: การเทศนา การรกั ษาโรค ฝงู ชน และพระเมตตา

ความทกุ ขข์ องประชาชน
35 พระเยซูเจา้ เสดจ็ ไปตามเมอื งและตามหมบู่ า้ น ทรงสงั่ สอนในศาลาธรรม ทรงประกาศขา่ วดเี รอ่ื งพระอาณาจกั ร ทรงรกั ษาโรค
และความเจบ็ ไขท้ กุ ชนิด

ข้อศึกษาวิพากษ์
แทนทจ่ี ะตอบสนองต่อขอ้ กล่าวหาเรอ่ื งการหมนิ่ ประมาทพระเป็นเจา้ พระเยซูเจา้ กลบั ปฏบิ ตั ภิ ารกจิ ของ

พระองคต์ ่อไป คอื เทศนา สงั่ สอน และรกั ษาคนป่วย
9:35 เป็นบทสรุปทช่ี ว่ ยเช่อื มโยง โดยสรุปหน่วยทอ่ี ยใู่ น 4:23-9:35 และเตรยี มเรอ่ื งไวส้ าหรบั ตอนต่อไป

ทพ่ี ระเยซูเจา้ มอบอานาจใหก้ บั บรรดาศษิ ย์ ในทางหน่งึ บทสรุปน้ีกอ่ ใหเ้ กดิ วงเลบ็ ทางวรรณกรรมกบั 4:23 ซง่ึ เป็น
ขอ้ ความทเ่ี กอื บจะเหมอื นถูกยกมาทงั้ หมดแบบคาต่อคา ทาให้ 4:23-9:35 เป็นส่วนศูนยก์ ลางทเ่ี ราอาจตงั้ ช่อื ว่า
“พระวาจาและการกระทาของพระเมสสยิ าห”์ (ดูบทนา) ในอกี ทางหน่ึง 9:35 เป็นการเตรยี มเขา้ ส่พู นั ธกจิ ท่ีบรรดา
ศษิ ยจ์ ะไดร้ บั มอบหมาย นักบุญมทั ธวิ เน้นทค่ี วามต่อเน่ืองระหวา่ งพนั ธกจิ ของพระเยซูเจา้ กบั พนั ธกจิ ของบรรดา
ศษิ ย์ (ดู ขอ้ คดิ ไตร่ตรอง สาหรบั 11:1)

บทเสริมเรอ่ื ง: ตีความเรอื่ งเล่าการอศั จรรยใ์ นพระวรสารนักบญุ มทั ธิว

237

เร่อื งเล่าการอศั จรรยใ์ นพระวรสารนักบญุ มทั ธิว
พระวรสารนักบุญมทั ธวิ มเี ร่อื งเล่าเกย่ี วกบั การอศั จรรยม์ ากกว่าพระวรสารเล่มอ่นื ใด นอกจากเร่อื งเล่า

การอศั จรรยเ์ ฉพาะเหตุการณ์จานวน 20 เร่อื งแลว้ ยงั มกี ารกล่าวถงึ การอศั จรรยอ์ ่นื ๆ หลายครงั้ ในบทสรุป (4:23-

24; 8:16-17; 9:35; 10:1; 12:15; 14:14; 14:35; 15:29-31; [cf. 13:58]; 19:2, 21:14; ขอ้ ความทเ่ี ป็นตวั เอยี งแสดงถงึ การรกั ษาโรคโดยการอศั จรรยท์ ่ี

นักบุญมทั ธวิ เพมิ่ เตมิ เขา้ มา นอกเหนือจากทม่ี อี ย่ใู นเร่อื งเล่าและคากล่าวสรุปของพระวรสารนักบุญมาระโก) และในขอ้ ความทพ่ี ระเยซูเจา้
ตรสั (การอศั จรรยท์ พ่ี ระองคท์ รงกระทาแต่เพยี งผูเ้ ดยี ว: 12:28; 16:9; ท่พี ระองค์และบรรดาศษิ ย์ของพระองคเ์ ป็นผกู้ ระทา: 11:5, 21-24; ทเ่ี ฉพาะ

บรรดาศษิ ยก์ ระทา: 10:8)

เอกสารแหลง่ Q มเี รอ่ื งเลา่ ไมว่ า่ จะเป็นเรอ่ื งเลา่ ประเภทใดกต็ ามเพยี งไมก่ เ่ี รอ่ื ง มเี รอ่ื งทเ่ี ป็นเรอ่ื งเลา่ การ
อศั จรรยเ์ พยี งสองเรอ่ื ง ซง่ึ ทงั้ สองเรอ่ื งเป็นเร่อื งทน่ี ักบุญมทั ธวิ รบั มา โดยมเี รอ่ื งหน่ึงทใ่ี ชส้ องครงั้ (Q 11:14-15 = มธ.

9:32-34 และ 12:22-24)

เร่อื งเล่าการอศั จรรย์ในพระวรสารนักบุญมาระโกเป็นแหล่งขอ้ มูลหลกั ของพระวรสารนักบุญมทั ธวิ ซ่งึ
โดยภาพรวมแลว้ พระวรสารนกั บุญมาระโกเป็นแหล่งทม่ี อี ทิ ธพิ ลมากทส่ี ุดในการประพนั ธพ์ ระวรสารของนักบุญ
มทั ธวิ พระวรสารนักบุญมทั ธวิ มเี ร่อื งเล่าการอศั จรรยท์ ุกเร่อื งในพระวรสารนักบุญมาระโก ยกเวน้ สามเร่อื ง คอื
มก. 1:21-28; 7:31-37; 8:22-26 เน่ืองจากนักบุญมทั ธวิ มแี นวโน้มทจ่ี ะรวมเอาเร่อื งการไล่ผเี ขา้ มาเป็นการรกั ษา
โรคด้วย (ดู ขา้ งล่าง) ท่านจงึ ไม่เหน็ ด้วยกบั การไล่ผที ่เี ป็นแต่เพยี งการไล่ผเี พยี งอย่างเดยี ว (มอี กี สองการอศั จรรยท์ ่ีท่าน

เขียนถึงด้วย คือ 8:28-34 = มก. 5:1-20 [ย่อเอาแต่ใจความสาคญั ] และ 15:21-28 = มก. 7:24-30 ซ่ึงมีการกล่าวถึงคนต่างศาสนาด้วย ทงั้ สอง

เหตุการณ์แสดงแนวคดิ ทางเทววทิ ยาของท่าน นอกเหนือไปจากการไล่ผี ดงั ท่กี ล่าวไว)้ ใน มก. 7:31-37; 8:22-26 พระเยซูเจ้าทรง
เหมอื นกบั ผู้ทาการอศั จรรย์ชาวกรกี ท่ใี ช้วธิ กี ารท่เี ป็น “เวทมนตร์” และไม่ได้มอี านาจควบคุมสถานการณ์โดย
สมบรู ณ์ น่อี าจเป็นเหตผุ ลทน่ี กั บุญมทั ธวิ หลกี เลย่ี งการอศั จรรยเ์ หล่าน้ี

ธรรมประเพณีของนกั บุญมทั ธวิ เองไมค่ ่อยมกี ารกล่าวถงึ เรอ่ื งเล่าการอศั จรรย์ จากแหล่งขอ้ มลู M ท่านมี
แตเ่ พยี ง 17:24-27 ซง่ึ ประเดน็ ไมใ่ ชอ่ ยทู่ ก่ี ารอศั จรรย์

นักบุญมทั ธวิ มแี นวโน้มทจ่ี ะรวมเอาการไล่ผเี ขา้ มาเป็นการรกั ษาโรคดว้ ย มคี รงั้ หน่ึงท่ีท่านคงไวซ้ ่งึ การ
แบ่งแยกระหว่างการไล่ผแี ละการรกั ษาโรคในพระวรสารนกั บุญมาระโกในขอ้ ความทก่ี ล่าวสรุป (8:16-17 = มก. 1:32-
34) แต่ท่านไม่เคยเพ่ิมการไล่ผีเข้ามาในบทสรุปหรอื เร่อื งเล่าท่ีมาจากแหล่งของท่าน ใน 12:15 ท่านเว้นการ
กล่าวถงึ “ผโี สโครก” ใน มก. 3:12 โดยเหน็ ไดช้ ดั วา่ ทา่ นกลา่ วถงึ พวกมนั โดยการกลา่ วรวมๆ วา่ พระเยซูเจา้ “ทรง
รกั ษาเขาใหห้ ายโรคสน้ิ ทุกคน” เชน่ เดยี วกบั ใน 4:24 ดว้ ย ขณะทพ่ี ระอาณาจกั รพระเป็นเจา้ ซง่ึ สาแดงอย่ใู นพระ
ราชกจิ ของพระเยซูเจา้ ทาใหซ้ าตานถูกขบั ออกไปจากอาณาเขตของพระองค์ (ดู ขอ้ ศกึ ษาวพิ ากษ์ 12:22-37) โดยทวั ่ ไป
แล้วการนาเสนอปรากฏการณ์เช่นน้ีจะนาเสนอภาพการรกั ษาโรคแทนท่จี ะเป็นการไล่ผี นักบุญมทั ธวิ เปล่ยี น
กระทงั่ ภาพของ “โอรสของกษตั รยิ ด์ าวดิ ” ทเ่ี ป็นคนไลผ่ ซี ง่ึ มอี ยใู่ นศาสนายดู ายในศตวรรษทห่ี น่ึง มาเป็นบุตรแหง่
กษตั รยิ ด์ าวดิ ผรู้ กั ษาโรค ซง่ึ มใี จอ่อนโยนและสงบเสงย่ี ม (12:15-21; 21:1-9) และเป็นผปู้ ระกาศถงึ การมาถงึ ของพระ
อาณาจกั รพระเป็นเจา้ ในอานาจการรกั ษาดว้ ยความรกั และความเมตตา (เทยี บ มธ. 12:22-23; 21:14-15)

นกั บุญมทั ธวิ มแี นวโน้มทจ่ี ะย่อองคป์ ระกอบดา้ นเรอ่ื งเล่าในธรรมประเพณีการอศั จรรยท์ ท่ี ่านรบั มา (เทยี บ
มก. 5:1-43 และ มธ. 8:28-34; 9:18-26) และเน้นความสาคญั ของคาสอนและบทสนทนาทอ่ี ย่ใู นเร่อื งเล่าเหล่านัน้ ผลลพั ธ์
คอื ในแง่ของรูปแบบนัน้ เร่อื งเล่าการอศั จรรย์ในพระวรสารนักบุญมทั ธวิ ใกล้เคยี งกบั คติพจน์ (Apophthegam)

238

เรอ่ื งเล่าความขดั แยง้ และเรอ่ื งเล่าบทสอนใจ มากกวา่ จะใกลเ้ คยี งกบั รปู แบบเร่อื งเล่าการอศั จรรยต์ ามตวั แบบท่ี
คงรกั ษาไวใ้ นพระวรสารนกั บุญมาระโก

นักบุญมทั ธวิ เน้นความสาคญั ของความสมั พนั ธ์ระหว่างความเช่อื และการอศั จรรย์ (เทยี บ 8:10, 13; 9:2, 22,
28-29; 15:28; 21:21-22) แต่ไม่ไดเ้ น้นความสาคญั ของความสมั พนั ธน์ นั้ ในฐานะเครอ่ื งพสิ จู น์ถงึ อานาจเหนือธรรมชาติ
ของพระเยซูเจา้ เพอ่ื จะนาใหเ้ กดิ ความเช่อื บางครงั้ การรกั ษาโรคเกดิ สมั ฤทธผิ ์ ลเพราะความเชอ่ื ของคนอ่นื ไม่ใช่
ความเชอ่ื ของผทู้ ร่ี บั การรกั ษา ซง่ึ มนี ยั ของการไมไ่ ดม้ องวา่ ความเช่อื เป็นเงอ่ื นไขเบอ้ื งตน้ ในทางจติ วทิ ยาในการท่ี
จะหายจากโรค และไม่ใช่ “งาน” ทม่ี คี ุณความดซี ง่ึ ไดร้ บั การอศั จรรยเ์ ป็นรางวลั จะเป็นการเหมาะสมกว่าหากจะ
กล่าววา่ ความเชอ่ื เป็นกจิ แหง่ การภาวนาทไ่ี ดร้ บั การทรงกระทาของพระเป็นเจา้ เป็นการสนองตอบ

ธรรมประเพณีเกี่ยวกบั พระเยซูเจ้าท่ีไม่มีการอศั จรรย์

มกี ารใหภ้ าพพระเยซูเจา้ ในแบบท่ไี ม่มเี ร่อื งการอศั จรรยใ์ นภาคพนั ธสญั ญาใหม่ดว้ ย จดหมายฝากซ่งึ มี

ขน้ึ หลงั จากทน่ี กั บุญเปาโลมาเป็นศษิ ย์ ใหภ้ าพการทรงกระทาการของพระเป็นเจา้ ในพระเยซูเจา้ ในการเสดจ็ มา

บงั เกดิ เป็นมนุษย์ การถูกตรงึ กางเขน และการกลบั คนื พระชนม์ชพี โดยไม่มกี ารกล่าวถงึ เร่อื งเล่าการอศั จรรย์

ใดๆ และไม่มกี ารบ่งช้ใี ดๆ ว่าพระชนม์ชพี บนโลกของพระเยซูเจา้ เตม็ ไปดว้ ยฤทธานุภาพแห่งพระเทวภาพอนั

อศั จรรย์ นอกจากน้ีพระวรสารยงั มีธรรมประเพณีทใ่ี หภ้ าพพระชนมช์ พี ของพระเยซูเจา้ ในแบบทป่ี ราศจากฤทธิ ์

อานาจอศั จรรยด์ ว้ ย

มทั ธวิ 4:1-11 (มาระโก 1:12-13) ลกู า 4:1-13

มทั ธวิ 12:38-42 มาระโก 8:11-12 ลกู า 11:29-32

มทั ธวิ 16:1-4 (มาระโก 8:11-12) ลกู า 12:54-56

มทั ธวิ 26-27 มาระโก 14-15 (ลกู า 22-23)

การนาธรรมประเพณีทใ่ี หภ้ าพพระเยซูเจา้ เป็นมนุษยโ์ ดยแทจ้ รงิ และอย่ภู ายใต้ขอ้ จากดั ต่างๆ มาเทยี บ

กบั ธรรมประเพณีอย่างเร่อื งเล่าการอศั จรรย์ ซง่ึ ใหภ้ าพพระเยซูเจา้ เป็นผทู้ เ่ี ป่ียมไปดว้ ยฤทธานุภาพของพระเจา้

เป็นหวั ใจสาคญั ของวรรณกรรมประเภทพระวรสาร

เรอื่ งเล่าการอศั จรรยใ์ นฐานะหน่วยอิสระ

การเล่าเร่อื งการอศั จรรยแ์ ต่เดมิ ทนี ัน้ ไม่ไดเ้ ป็นการเล่าถงึ การอศั จรรย์ ในฐานะองคป์ ระกอบสาคญั ของ
“พระชนมช์ พี ของพระเยซูเจา้ ” แตเ่ ป็นการเล่าเรอ่ื งอนั สมบรู ณ์ แต่สรุปบางดา้ นของความหมายของเหตกุ ารณ์ของ
พระคริสต์ในความเช่ือของชาวคริสต์ ซ่ึงแต่ละเร่ืองแสดงให้เห็นความต้องการบางด้านของมนุษย์ โดยมี
ความหมายเชงิ สญั ลกั ษณ์ถงึ สภาวะท่ีมนุษย์ถูกแยกออกจากพระเป็นเจ้า ชวี ติ ท่จี รงิ แท้ และความจาเป็นต้อง
ไดร้ บั ความรอด (เน่ืองจากความหวิ ความเจบ็ ป่วย สภาวะปราศจากความหมาย การตกอย่ใู ต้อานาจของมาร อุบตั เิ หตุของธรรมชาติ บาปและ
ความตาย) แต่ละเรอ่ื งใหภ้ าพการกระทาของพระเป็นเจา้ ผ่านทางพระครสิ ตเ์ พอ่ื ปลดปล่อยมนุษยจ์ ากภยั คุกคามน้ีสู่
ชวี ติ อนั จรงิ แท้ แต่ละเรอ่ื งเป็นการมองยอ้ นไปยงั พระชนมช์ พี การสน้ิ พระชนม์ การกลบั คนื พระชนมช์ พี ของพระ
เยซูเจา้ และสรุปความหมายของเหตุการณ์ของพระครสิ ต์ โดยทงั้ หมดอย่ใู นช่วงสนั้ ๆ ทเ่ี ป็นการเล่าเร่อื ง เม่อื นา
เร่อื งเล่าเหล่าน้ีรวมไวใ้ นสว่ นเรอ่ื งเล่าของพระวรสารแลว้ ลกั ษณะการเล่าเร่อื งเช่นน้ีไม่ไดส้ ญู เสยี ลกั ษณะทางคริ

239

สตศาสตรใ์ นฐานะคาพยานถงึ พระราชกจิ การชว่ ยกใู้ หร้ อดของพระเป็นเจา้ ในพระครสิ ต์ แมว้ า่ ผนู้ ิพนธแ์ ต่ละคนจะ
ตคี วามเรอ่ื งเล่าเหล่าน้ีในกรอบทางเทววทิ ยาของตนเองกต็ าม การสอนและการเทศน์ในปัจจุบนั จากเร่อื งเล่าการ
อศั จรรย์สามารถทาให้คนได้ยนิ สารเก่ยี วกบั ความรอดซ่งึ ถ่ายทอดโดยผ่านเร่อื งเล่าเหล่าน้ีอกี ครงั้ ไม่ว่าความ
เขา้ ใจของผฟู้ ังเกย่ี วกบั เร่อื งเล่าเหล่าน้ีในฐานะเป็นขอ้ เทจ็ จรงิ ทางประวตั ศิ าสตรท์ เ่ี กดิ ขน้ึ ตามทบ่ี นั ทกึ อย่างตรง
ตามตวั อกั ษรจะเป็นอยา่ งไรกต็ าม (ดขู า้ งลา่ ง)

เรอ่ื งเล่าการอศั จรรยใ์ นพนั ธสญั ญาใหม่ในแง่ท่ีสมั พนั ธก์ บั เรอื่ งราวการอศั จรรยอ์ ่ืนๆในโลกกรีก-โรมนั
ในโลกกรกี -โรมนั มกี ารเล่าเรอ่ื งการอศั จรรยเ์ กย่ี วกบั บุคคลอน่ื ๆ นอกจากพระเยซูเจา้ ดงั นนั้ การพจิ ารณา

ทงั้ ความเหมอื นกนั และความต่างกนั กบั เร่อื งเล่าประเภทเดยี วกนั เร่อื งอ่นื ๆ จะช่วยให้เกดิ ความกระจ่างแก่การ
ตคี วามเรอ่ื งราวการอศั จรรยใ์ นพนั ธสญั ญาใหมไ่ ด้

ตามทบ่ี นั ทกึ ในพนั ธสญั ญาใหม่ ผกู้ ระทาการอศั จรรยม์ ดี งั ต่อไปน้ี
1. พระเป็นเจา้ โดยตรง (มธ. 27:51-53; กจ. 2:1-4; 2:17)
2. พระเป็นเจา้ โดยผา่ นทตู สวรรค์ (มธ. 1:18-25; 2:1-12; กจ. 12:6-11; 12:20-23)
3. พระเยซูเจา้ (ดูรายการและแผนภูมขิ า้ งบน) ในพนั ธสญั ญาใหม่ เร่อื งเล่าการอศั จรรยเ์ กย่ี วกบั พระเยซูเจา้ เรยี กได้

ว่าเป็นลกั ษณะเฉพาะของพระวรสาร และหนังสอื กิจการของอคั รสาวกและจดหมายของอคั รสาวกได้
กล่าวถงึ ในลกั ษณะรบั รองว่าเป็นกจิ การอศั จรรยท์ เ่ี กดิ ขน้ึ จรงิ แต่ไม่ไดเ้ ขยี นรายงานบรรยายการอศั จรรย์
ของพระองคใ์ นลกั ษณะแบบเลา่ เรอ่ื งเหตกุ ารณ์ทเ่ี กดิ ขน้ึ
4. อคั รสาวก (มธ. 10:1, 8, 20// มก. 6:7, 13; 13:11// ลก. 9:1-2; 12:12 [การไล่ผี การรกั ษาโรค การทาใหค้ นฟ้ืนจากความตาย] กจ. 3:1-

10; 5:1-11; 5:12-16; 9:32-25, 36-43; รม. 15:19; 2คร. 12:12)

5. บรรดาศษิ ยท์ ด่ี ี มชิ ชนั นารี ครสิ ตชนทวั ่ ไป (กจ. 6:8; 8:6, 13; 14:3; 8-12; 15:12; 16:16-18; 19:11; 1คร. 12:10, 29; กท. 3:5;

ฮบ. 2:4)

6. บรรดาศิษย์ท่ีไม่ดี เทียมเท็จ และผู้ไม่เช่ือ (มธ. 7:22 [การไล่ผ,ี การพยากรณ์, “การกระทาโดยใช้ฤทธิ”์ [dynameis]; มธ.

24:24// มก. 13:22, พระครสิ ต์เทยี มเทจ็ และประกาศกเทยี มเทจ็ [“หมายสาคญั และการอศั จรรยค์ รงั้ ใหญ่” [semeia kai terata])

7. ผทู้ ไ่ี ม่ใช่ศษิ ย์ กล่าวคอื ชาวยวิ และคนต่างศาสนา (มธ. 12:27// ลก. 11:19 [=Q]) ฟารสิ ี (การไล่ผ,ี กจ. 19:13-16; 2ธส. 2:9;

วว. 13-13-14; 16:14; 19:20)

ในโลกพนั ธสญั ญาใหม่ การอศั จรรยเ์ ป็นสว่ นหน่งึ ของสง่ิ ต่างๆ ของโลกทม่ี มี าแต่แรกแลว้ การอศั จรรยอ์ ยู่
ในโลกของสิ่งท่ีเป็นไปได้ การเกิดข้นึ ของการอศั จรรย์เป็นส่วนหน่ึงของโลกทศั น์ท่ีคนส่วนใหญ่ยอมรบั กัน
อย่างไรกด็ ี ความหมายของการอศั จรรยเ์ ป็นสงิ่ ทม่ี กี ารโตเ้ ถยี งกนั สง่ิ ทเ่ี ป็นลักษณะเฉพาะของพระเยซูเจา้ ไม่ได้
อย่ทู พ่ี ระองคท์ รงกระทาการอศั จรรยใ์ นขณะทบ่ี ุคคลอ่นื ๆ ไม่ไดท้ า แน่นอนว่าไม่ไดม้ กี ารใหภ้ าพว่าพระเยซูเจา้
ทรงกระทาการอศั จรรยแ์ ละบุคคลอ่นื ๆ ไม่สามารถทาการอศั จรรยไ์ ด้ แต่มกี ารใหภ้ าพทงั้ พระเยซูเจา้ และบุคคล
อ่นื ๆ ทงั้ ในแบบทท่ี าการอศั จรรยแ์ ละไมท่ าการอศั จรรย์

การอศั จรรยแ์ ละเรอื่ งเล่าการอศั จรรยใ์ นศาสนายิวในศตวรรษท่ีหน่ึง
คาว่าธรรมชาติไม่ได้มอี ยู่ในพระคมั ภีร์ภาษาฮบี รู(HB) ซ่ึงไม่มมี โนทศั น์เร่อื ง “ธรรมชาติ” ท่หี มายถึง

ระบบทส่ี ม่าเสมอและสมบรู ณ์ในตวั เอง เชน่ เดยี วกบั แนวความคดิ ของชาวยวิ ในศตวรรษทห่ี น่งึ นอกจากวา่ จะเป็น

240

ความคิดท่ีได้รบั อิทธิพลจากความคิดแบบกรกี ตามความคิดชาวยิวในพระคมั ภีร์เดิม โลกไม่ได้เป็นระบบ
“ธรรมชาต”ิ แบบปิด ทพ่ี ระเป็นเจา้ ตอ้ งทรงเขา้ มากระทาสงิ่ ต่างๆ โดยทางสงิ่ เหนือธรรมชาตหิ รอื ปาฏหิ ารยิ ์ ซ่งึ
เป็นไปตามพระประสงค์ โลกดาเนินไปตามปกตวิ สิ ยั เพราะพระเป็นเจา้ ทรงประสงคใ์ หเ้ ป็นเช่นนัน้ เรยี กว่ากฎ
ธรรมชาตภิ ายใตร้ ะบบจกั รวาล ไมเ่ รยี กวา่ ละเมดิ กฎธรรมชาติ

เรอ่ื งเล่าการอศั จรรยไ์ ม่ไดม้ กี ารกล่าวถงึ อย่างเท่าเทยี มกนั ในพระคมั ภรี ์ เร่อื งเล่าบางเรอ่ื งมกี ารอศั จรรย์
อย่างมากมาย เช่น เร่อื งของโมเสสและวงจรชวี ติ ของประกาศกเอลยี าห์ – ประกาศกเอลชี า บางเร่อื งมแี ต่การ
อศั จรรยข์ องพระเป็นเจา้ ไม่มผี ทู้ าการอศั จรรยท์ เ่ี ป็นมนุษย์ เชน่ เรอ่ื งเกย่ี วกบั โยชวู าและดาเนียล บางเรอ่ื งมกี าร
อศั จรรยแ์ ต่น้อยหรอื ไม่มเี ลย เช่น เรอ่ื งราวของแซมสนั – ซาอูล – ดาวดิ ไม่มกี ารไล่ผใี นพนั ธสญั ญาเดมิ (ความคดิ
ทว่ี า่ ซาตานเป็นผี เป็นมโนทศั น์ทม่ี ขี น้ึ ในภายหลงั ) บางเรอ่ื งเลา่ สองแบบ คอื แบบมกี ารอศั จรรยแ์ ละไมม่ ี (1มคบ.; 2มคบ.)

กระแสความคดิ แบบยูดายในศตวรรษท่หี น่ึง บางกระแสถอื ว่าการทรงกระทาการเหนือธรรมดาเหล่าน้ี
ของพระเจา้ หรอื พระจติ เจา้ เป็นสง่ิ ทม่ี อี ยแู่ ต่ในสมยั พระคมั ภรี แ์ ละจะปรากฏใหเ้ หน็ อกี ครงั้ ณ กาลสน้ิ ยคุ แต่เรอ่ื ง
การทาการอศั จรรยเ์ ป็นสง่ิ ทม่ี อี ย่ทู วั่ ไปในหม่อู าจารยแ์ ละชาวยวิ คนอ่นื ๆ ดว้ ย อาจารยก์ ามาลเิ อลทาใหพ้ ายุสงบ
(b. บาบา เมซอิ า 59b) และเดก็ ชายชาวยวิ กเ็ ช่นกนั (b. Ber. 9:1) มเี รอ่ื งทานองเดยี วกบั การเดนิ บนน้าในเรอ่ื งของศาสนา
ยดู าย (เทยี บ Bultmann, History of the Synoptic Tradition (ประวตั ธิ รรมประเพณีพระวรสารสหทรรศน์), 237) มอี าจารยท์ ร่ี กั ษาโรคและ
ไล่ผี (b. Ber. 34b) คนทเ่ี ป็นทร่ี ู้จกั มากท่สี ุดคอื รบั บี ฮานินา เบน โดซา (Rabbi Hanina ben Dosa) ในศตวรรษทห่ี น่ึง ซ่งึ
รกั ษาบตุ รของรบั บกี ามาลเิ อล ผมู้ ชี อ่ื เสยี งใหห้ ายจากความเจบ็ ป่วยโดยรกั ษาจากทางไกล และสามารถบอกไดว้ า่
คาภาวนาของเขาจะมผี ลหรอื ไม่ โดยดวู า่ เขาภาวนาไดค้ ล่องหรอื ไม่ มขี นมปังจดั เตรยี มมาใหภ้ รรยาของรบั บี ฮา
นินา เบน โดซา อยา่ งอศั จรรย์ (b. Ta ( anit 24b-25a)

“ประเดน็ ” ของเรอ่ื งเลา่ ดงั กลา่ วโดยทวั่ ไปแลว้ ไมไ่ ดอ้ ยทู่ ก่ี ารอศั จรรยเ์ อง แตอ่ ยทู่ ค่ี าสอน บางครงั้ ประเดน็
ของเร่อื งการอศั จรรย์คอื การตีความหนังสอื ปัญจบรรพท่ีคนมกั จะถกเถียงกนั ไม่ใช่สง่ิ ท่จี ะตดั สนิ ได้ด้วยการ
อศั จรรย์ “รบั บี อาร.์ เอลเี อเซอรไ์ ดใ้ ชเ้ หตผุ ลทุกรปู แบบสนบั สนุนความเหน็ ของเขา แต่พวกเขา [รบั บคี นอ่นื ๆ] จะ
ไมย่ อมรบั ฟัง เขากล่าววา่ ‘หากธรรมบญั ญตั เิ ป็นดงั ทข่ี า้ พเจา้ ไดว้ า่ ไปแลว้ นนั้ ขอใหต้ น้ แครอ็ บน้พี ดู แทน-ขา้ พเจา้
เถดิ ’ ตน้ แครอ็ บกโ็ ผล่ขน้ึ มาเองทงั้ รากและเคล่อื นออกไปจากตาแหน่งทม่ี นั อยรู่ อ้ ยศอก บางคนบอกวา่ มนั เคล่อื น
ไปสร่ี อ้ ยศอก พวกเขาบอกว่า ‘จะเอาขอ้ พสิ จู น์มาจากตน้ ไมไ้ ม่ได้’ แลว้ เขากก็ ล่าวว่า ‘ขอคลองจงพสิ จู น์เถดิ ’ น้า
คลองกไ็ หลทวนกลบั พวกเขาบอกอกี ว่า ‘จะเอาขอ้ พสิ ูจน์มาจากคลองไม่ได้’ แลว้ เขากล่าวว่า ‘ขอใหผ้ นังของ
ศาลาธรรมน้จี งพสิ จู น์เถดิ ’ แลว้ ผนงั ของธรรมศาลากโ็ กง่ ออก ราวกบั จะลม้ ลงมา รบั บโี ยชวู า (R. Joshua) ดา่ ผนงั
และกลา่ วกบั พวกเขาวา่ ‘หากผทู้ รงความรถู้ กเถยี งกนั เกย่ี วกบั ธรรมบญั ญตั ิ แลว้ จะเกย่ี วกบั เขาอยา่ งไรเลา่ ?’ เมอ่ื
เป็นเชน่ นนั้ เพอ่ื เป็นการใหเ้ กยี รติรบั บโี ยชวู า ผนงั กไ็ ม่ไดล้ ม้ ลงมา แต่เพ่อื เป็นการใหเ้ กยี รติรบั บเี อลเี อเซอร์ (R.
Eliezer) ผนังไม่ไดก้ ลบั มาตรงเหมอื นเดมิ แลว้ รบั บเี อลเี อเซอรพ์ ดู ว่า ‘หากขา้ พเจา้ ถูก ขอใหฟ้ ้าสวรรคจ์ งพสิ จู น์
เถดิ ’ แลว้ มเี สยี งจากฟ้าสวรรคก์ ล่าวว่า ‘เหตุใดเขาจงึ ตอ้ งคดั คา้ นรบั บเี อลเี อเซอร?์ ธรรมบญั ญตั อิ ยกู่ บั เขาตลอด’
แลว้ รบั บโี ยชูวาลุกขน้ึ มาพดู ว่า ‘มนั ไม่ไดอ้ ย่บู นสวรรค์ (ฉธบ. 30:12)’ ทเ่ี ขาว่าอย่างน้ีหมายความว่าอย่างไร? รบั บี
เยเรมยี ์กล่าวว่า ‘พระเป็นเจ้าประทานหนังสอื ปัญจบรรพมาให้เรา ณ ภูเขาไซนาย เราหาได้ฟังเสยี งจากฟ้า
สวรรคไ์ ม่ เพราะมเี ขยี นไวใ้ นหนงั สอื ปัญจบรรพทภ่ี เู ขาไซนายวา่ ‘เขาพงึ ตดั สนิ ตามเสยี งสว่ นใหญ่ (อพย. 23:2)’ ‘รบั

241

บนี าธานพบประกาศกเอลยี าหแ์ ละถามทา่ นวา่ พระเป็นเจา้ ทรงกระทาอะไร ณ ตอนนนั้ ประกาศกเอลยี าหต์ อบวา่
‘พระองคท์ รงพระสรวลและตรสั วา่ ‘บตุ รของเราไดเ้ อาชนะเรา’ ”

เรือ่ งเล่าการอศั จรรยข์ องคนต่างศาสนาในโลกสมยั เฮลเลนิสติก
โลกสมยั เฮเลนนิสตกิ มเี ร่อื งเล่ามากมายเกย่ี วกบั การอศั จรรย์ของเทพเจา้ บุคคลก่งึ เทพ และมนุษยท์ ม่ี ี

คณุ สมบตั พิ เิ ศษเป็นผกู้ ระทา รายการตวั อยา่ งสนั้ ๆ ของเรอ่ื งเลา่ ดงั กลา่ ว อาจมดี งั ต่อไปน้ี
1. ศลิ าจารกึ จานวนมากจากเอพดิ อโรส (Epidauros) ซ่ึงเป็น “ลูรด์ แห่งโลกสมยั เฮเลนนิสตกิ ” กล่าว
สรรเสรญิ เทพเจา้ แอสคลปี ิอสั (Asclepius) สาหรบั การรกั ษาโรคโดยการอศั จรรย์ (สว่ นใหญ่เป็นศลิ าจารกึ

สมยั 4 ศตวรรษ ก.ค.ศ.)

2. พิธากอรสั (Pythagoras) ได้สาแดงความสามารถอันอศั จรรย์ในการรู้จานวนปลาซ่ึงจบั ได้เป็น
จานวนมาก โดยทป่ี ลายงั คงเป็นๆ อย่ตู อนทน่ี ับ พธิ ากอรสั (ราว 6 ศตวรรษ ก.ค.ศ.) สนทนากบั สตั ว์ ซ่งึ
ทาตามท่ีเขาบัญชา เดินข้ามทะเลได้อย่างอศั จรรย์ ทาให้ลม ลาธารท่ีเช่ียวกรากและทะเลสงบ
รวมทงั้ ยตุ โิ รคระบาด

3. เวสปาเซยี น (Vespasian: ราว ค.ศ. 69) รกั ษาคนตาบอดโดยใชน้ ้าลายของตนและรกั ษามอื ทเ่ี หย่ี วย่น
โดยใชแ้ รงกดจากเทา้ ของตน

4. ลูเซยี นแห่งซามอซาทา (Lucian of Samosata) ใหค้ าบรรยายอย่างละเอยี ด(และเคลอื บแคลง)ถงึ หมอผี
ชาวซเี รยี จาก ผรู้ กั คามสุ า 16 (The Lover of Lies) ประมาณ ศตวรรษ ท่ี 2

5. ปัวซานิอสั (Pausanius) ให้คาบรรยายเก่ยี วกบั กรีซ (Description of Greece 6.16.1-2) ประมาณ
ศตวรรษท่ี 2 เป็นการอศั จรรย์เร่อื งเหล้าองุ่นในวหิ ารของเทพเจา้ ไดโอนีซุส ณ เอลลสิ (Dyonysus
at Elis)

6. ฟิโลสตราตสั (Philostratus) เล่าชวี ติ ของอพอลโลนิอสั (Life of Apollonius) มกี ารอศั จรรย์ การไล่ผี
และการรกั ษาโรคมากมาย แต่วตั ถุประสงค์ในการเขยี นเพ่อื ทาให้เร่อื งเล่าแต่เดมิ ซ่ึงน่าต่ืนเต้น
ยง่ิ ข้นึ ไปอกี รูจ้ กั “เบาลง” และนาเสนอ อพอลโลนิอสั ประมาณ ศตวรรษท่ี 1 ในฐานะปราชญ์ผู้มี
ความเป็นนกั ปรชั ญามากกวา่

ผลึกลาแสงของลกั ษณะของภาษาแบบต่างๆ
เรอ่ื งเลา่ การอศั จรรยใ์ นฐานะรายงานเหตุการณ์ในประวตั ศิ าสตรแ์ บบตรงตามตวั อกั ษร
แนวทางการตคี วามบางอย่างพจิ ารณาว่าการเขา้ ใจเร่อื งเล่าการอศั จรรยใ์ นพนั ธสญั ญาใหม่เป็นรายงาน

เหตุการณ์ในประวตั ศิ าสตรท์ เ่ี กดิ ขน้ึ อย่างตรงตามทบ่ี นั ทกึ จรงิ ๆ ไมม่ ผี ดิ เพย้ี น เป็นสงิ่ ทม่ี คี วามสาคญั ในทางเทว
วทิ ยา ทศั นะน้ีมสี องแบบ

1. การอศั จรรยเ์ กดิ ขน้ึ ในสมยั นนั้ และในปัจจบุ นั
ในทัศนะแบบน้ี การเกิดข้ึนจรงิ ของการอัศจรรย์ในพระคมั ภีร์เป็นฐานในการจะเช่ือว่าการ

อศั จรรยเ์ ชน่ นนั้ ยงั คงเกดิ ขน้ึ อยู่ การอา้ งทเ่ี กดิ ขน้ึ ในปัจจุบนั ถงึ การกระทาอนั อศั จรรยม์ คี วามสบื เน่ืองกนั
กบั เรอ่ื งราวในพระคมั ภรี ์ ดงั คตพิ จน์ คอื “หากพระเป็นเจา้ ทรงกระทาการอศั จรรยใ์ นตอนนนั้ พระองคก์ ็
ทรงกระทาการอศั จรรยใ์ นตอนน้ไี ด”้

242

2. การอศั จรรยเ์ กดิ ขน้ึ ในสมยั นนั้ แตใ่ นปัจจบุ นั ไม่มแี ลว้
มมุ มองน้ีเป็นการพจิ ารณายคุ สมยั ในพระคมั ภรี เ์ ป็นยคุ ทม่ี คี วามพเิ ศษแหง่ การเปิดเผยทพ่ี ระเป็น

เจา้ ทรงกระทาการอศั จรรย์ โดยผ่านผูน้ าสารทพ่ี ระองค์ทรงเลอื ก โดยเฉพาะผ่านทางพระเยซูเจา้ เพ่อื
เป็นการประทานเคร่อื งพสิ ูจน์อนั อศั จรรย์ว่าสง่ิ ท่เี กดิ ขน้ึ เป็นการเปิดเผยอย่างแท้จรงิ เม่อื พระเป็นเจ้า
ประทานการเปิดเผยมาและมกี ารบนั ทกึ ไวใ้ นพระคมั ภรี แ์ ลว้ การอศั จรรยไ์ ดส้ นองจดุ มุ่งหมายพเิ ศษของ
มนั และส้นิ สุดแล้ว การอ้างท่ีมีต่อมาในภายหลงั ถึงฤทธิอ์ านาจในการทาการอศั จรรย์ไม่ได้เป็นสง่ิ ท่ี
สบื เน่ืองจากพระคมั ภรี แ์ ละโดยปกตแิ ลว้ ผทู้ ม่ี มี ุมมองแบบน้ีจะพจิ ารณาว่าการอา้ งดงั กล่าวเป็นความเทจ็
ทางเลอื กในการตีความแบบน้ีมอี ยู่ในศาสนายูดาย ในศตวรรษท่หี น่ึง โดยศาสนายูดายบางกระแสมี
มมุ มองวา่ การทรงกระทาการอศั จรรยข์ องพระเป็นเจา้ และพระจติ เจา้ เป็นสง่ิ ทม่ี อี ย่เู ฉพาะแต่ในอดตี สมยั
พระคมั ภรี ์ (เอสราเป็นผนู้ าสารคนสดุ ทา้ ยทพ่ี ระเป็นเจา้ ไดท้ รงเลอื ก) และคาดวา่ จะกลบั มาในกาลสน้ิ ยคุ
ผนกึ ลาแสงของปรากฎการณ์อศั จรรย์ อาจอธบิ ายในลกั ษณะตา่ งๆ ดงั น้ี
คาอธิบายแบบเหตผุ ลนิยม
เหตุการณ์จรงิ ท่เี กดิ ขน้ึ แลว้ คนเขา้ ใจผดิ ว่าเป็นการอศั จรรย์ แต่สามารถอธบิ ายได้ตามหลกั ธรรมชาติ
เช่น การไล่ผแี ละการรกั ษาโรคเป็นตวั อย่างของวธิ รี กั ษาแบบจติ มอี ทิ ธพิ ลเหนือกาย การสถติ อย่อู นั ทรงพลงั ของ
พระเยซูเจ้าและพระวาจาของพระองค์ท่ีทาให้ใจสงบ การทาให้คนตายกลบั เป็นข้นึ มาเป็นกรณี เกิดข้นึ ก่อน
กาหนดพธิ กี ารฝังศพ การเล้ยี งคน 5,000 คนเป็นบทเรยี นเก่ยี วกบั การแบ่งปัน การทรงดาเนินบนน้าเป็นภาพ
ลวงตา อุปาทานหมู่ การตบตาท่วี างแผนไวแ้ ลว้ (โดยใชแ้ พ) หรอื การเขา้ ใจเร่อื งผดิ แต่เดมิ อนั เน่ืองมาจากความ
คลุมเครอื ของคาบพุ บททแ่ี ปลวา่ “บน” (ejpi” epi แปลวา่ “ทข่ี อบของ” ไดด้ ว้ ย กลา่ วคอื ในคล่นื ทซ่ี ดั ฝัง่ )
คาอธิบายทางตานาน
เร่อื งการอศั จรรย์ในพระวรสารไม่ใช่ทงั้ คาอธบิ ายตามหลกั เหตุผลเก่ยี วกบั “สง่ิ ท่เี กดิ ขน้ึ ตามความเป็น
จรงิ ” และไม่ใช่บนั ทึกเก่ียวกบั การเข้าแทรกแซงอย่างเหนือธรรมชาติของพระเป็นเจ้าศกั ดสิ ์ ทิ ธิ ์ ผู้สนับสนุน
แนวคดิ น้ีทม่ี อี ทิ ธพิ ลสงู สดุ ยงั คงเป็นเดวดิ ฟรดี รชิ สเตราส์ (David Friedrich Strauss) ซง่ึ เขา้ ใจเรอ่ื งการอศั จรรย์
ว่าเป็นรูปแบบของจนิ ตนาการทแ่ี สดงถงึ ความเช่อื ของครสิ ตชนในสมยั แรก เป็น “ตานาน” ซง่ึ ไม่ใช่ความหมาย
เชงิ ลบ แต่หมายถงึ สงิ่ ทจ่ี ะนาไปสกู่ ารเขา้ ถงึ สจั ธรรมทส่ี งู กวา่ เกย่ี วกบั พระเยซูเจา้ ทไ่ี มเ่ ป็นเพยี งแค่ “มโนทศั น์” ท่ี
ไมจ่ ากดั เวลา แต่มภี าพของพระเยซูเจา้ ในฐานะผทู้ ท่ี าใหค้ วามหวงั ในพระคมั ภรี แ์ ละความหวงั ของชาวยวิ ในพระ
เมสสยิ าหก์ ลายมาเป็นความจรงิ เป็นสอ่ื ประจกั ษ์แจง้ โดยการใชจ้ นิ ตภาพในพระคมั ภรี ์ ซง่ึ อาจมแี กน่ ความจรงิ อยู่
ในบางเร่อื ง แต่ท่ีเร่อื งเหล่านัน้ รายงานเหตุการณ์ตามท่เี กดิ ขน้ึ จรงิ หรอื ไม่ยังคงเป็นสง่ิ ท่เี คลอื บแคลง และเป็น
เรอ่ื งนอกประเดน็

เรือ่ งเล่าการอศั จรรยใ์ นฐานะเร่ืองเล่าท่ีมีจดุ ม่งุ หมายหลกั เป็นการประกาศข่าวดีและการเทศน์สอน
มคี วามแตกตา่ งอยา่ งมนี ยั สาคญั ระหวา่ งเรอ่ื งเล่าในพระวรสารเกย่ี วกบั พระเยซูเจา้ และเรอ่ื งเล่าทม่ี คี วาม

คลา้ ยคลงึ กนั เกย่ี วกบั เฮอรค์ วิ ลสิ แอสคลปี ิอสั และอพอลโลนิอสั (Hercules, Asclepius and Apollonius) ในพนั ธ
สญั ญาใหม่ สาระท่เี ร่อื งการอศั จรรย์จะไม่ได้ส่อื เป็นการอศั จรรย์เองแต่เป็นครสิ ตศาสตร์ จุดมุ่งหมายหลกั ของ
เร่อื งเล่าเหล่าน้ีไม่ใช่เพ่อื เป็นหลกั ฐานพสิ ูจน์วา่ พระเยซูเจา้ ทรงเป็นพระครสิ ต์ หรอื เป็นหลกั ฐานทพ่ี สิ จู น์ถงึ ความ

243

เช่อื สาหรบั ผูอ้ ่านในศตวรรษท่หี น่ึง เร่อื งเล่าการอศั จรรย์เป็นส่วนหน่ึงของสงิ่ ต่างๆ ทม่ี มี าแต่แรกแลว้ ของโลก
เป็นสอ่ื สาหรบั การประกาศความเชอ่ื ไม่ใชห่ ลกั ฐานรองรบั ความเชอ่ื พระวรสารนกั บุญมทั ธวิ ไมไ่ ดม้ วี ตั ถุประสงค์
ทจ่ี ะสอ่ื สารกบั คนนอกเพ่อื นาพวกเขามาเช่อื โดยการเล่าเรอ่ื งการอศั จรรย์ แต่มวี ตั ถุประสงคท์ จ่ี ะสอ่ื สารกบั คนวง
ใน เพอ่ื แสดงออกและใหค้ วามกระจา่ งเกย่ี วกบั ความเชอ่ื

ความเชื่อของผทู้ ี่รบั การรกั ษาแล้วหาย การอศั จรรยไ์ ม่ใช่ความหมายหลกั
แมว้ า่ นกั บุญมทั ธวิ จะเปลย่ี นแปลงเร่อื งเล่าการอศั จรรยบ์ างเร่อื งใหก้ ลายเป็นความหมายของความเช่อื ผู้
ทร่ี บั การรกั ษาแลว้ หาย ไม่ได้มุ่งเน้นสาคญั ท่ีการอศั จรรย์ หรอื เป็นรางวลั สาหรบั ความเช่อื ของพวกเขา พระวร
สารไม่ไดส้ อนว่า “หากเขามคี วามเชอ่ื มากพอ การอศั จรรยจ์ ะบงั เกดิ กบั เขาดว้ ย แต่หากการอศั จรรยไ์ มไ่ ดบ้ งั เกดิ
กบั เขา นนั่ เป็นเพราะเขาไมไ่ ดม้ คี วามเชอ่ื มากพอ” ในแงห่ น่งึ น่เี ป็นทศั นะเรอ่ื งความชอบธรรมของการทางาน ใน
อกี แงห่ น่งึ การอศั จรรยใ์ นฐานะทฤษฎที างอนั ตกาลวทิ ยา (Eschatological Theories)
มกี ารคาดการณ์ว่า “ประกาศกอย่างโมเสส” ใน ฉธบ. 18:15-18 จะฟ้ืนฟูการอศั จรรย์แบบโมเสสใน
อนั ตกาล พจิ ารณาว่า อสย. 35:5-6 บรรยายถงึ วาระการอศั จรรย์แห่งอนั ตกาล การพยากรณ์ในหนงั สอื ววิ รณ์ให้
ภาพการมาถงึ ของพระอาณาจกั รพระเป็นเจา้ เป็นการขบั ไล่ซาตานออกไป (เช่น As. Mos. 10:1ff.) เร่อื งการอศั จรรย์
ทาใหก้ ารสถติ อยู่และฤทธอิ ์ านาจของพระอาณาจกั รเป็นสง่ิ ท่มี องเหน็ ได้ เร่อื งเล่าเหล่าน้ีให้ภาพพระเยซูเจ้าใน
แบบทฤ่ี ทธานุภาพแห่งพระเมสสยิ าห์ทม่ี อี ย่ใู นพระองค์ปรากฏขน้ึ มา เป็นเร่อื งการมาถงึ ของพระอาณาจกั รและ
ยคุ แห่งพระเมสสยิ าห์ ไมใ่ ช่เรอ่ื งของพระเยซูเจา้ ในฐานะมนุษยท์ ม่ี ฤี ทธอิ ์ านาจอนั ยง่ิ ใหญ่ ดงั นนั้ เช่นเดยี วกบั สงิ่
ต่างๆ ทค่ี นพดู กนั เกย่ี วกบั พระอาณาจกั รของพระเป็นเจา้ และการเสดจ็ มาของพระเมสสยิ าห์ เร่อื งเล่าเหล่าน้ีจงึ มี
จดุ สนใจอยทู่ พ่ี ระเป็นเจา้ แทนทจ่ี ะเป็นพระเยซูเจา้
สงิ่ ทค่ี าดการณ์ไวน้ นั้ คอื ยุคอวสานตกาลจะเป็นการสาแดงฤทธานุภาพแห่งความเป็นกษตั รยิ ข์ องพระเป็น
เจา้ พระราชกจิ แห่งความรกั และการปลดปลอ่ ยของพระเยซูเจา้ – และพระราชกจิ การช่วยกใู้ หร้ อดพน้ ของพระ
เป็นเจา้ ในพระชนมช์ พี การสน้ิ พระชนม์ และการกลบั คนื พระชนมช์ พี ของพระเยซเู จา้ ในภาพองคร์ วม –เมอ่ื
พจิ ารณาในมมุ มองความเชอ่ื แบบครสิ ตแ์ ลว้ จะเหน็ เป็นการทาใหค้ ามคาดหวงั เกย่ี วกบั ยคุ อนั ตกาลสาเรจ็ เป็นจรงิ
ครสิ ตชนในสมยั แรกไมไ่ ดแ้ ต่งเรอ่ื งการอศั จรรยเ์ กย่ี วกบั พระเยซูเจา้ ขน้ึ มาโดยไม่มเี คา้ ความจรงิ แต่แตง่ ขน้ึ มา
เพอ่ื เป็นรปู แบบทเ่ี หมาะสมสาหรบั การถ่ายทอดความเชอ่ื ของพวกเขาทว่ี า่ ไดม้ กี ารบอกถงึ การมาถงึ ของยคุ
อวสานตกาลแลว้ ดว้ ยลกั ษณะการดาเนินพระชนมช์ พี ของพระเยซูเจา้ ตามทเ่ี ป็นจรงิ และโดยการทรงยนื ยนั ของ
พระเป็นเจา้ ถงึ บุคคลทพ่ี ระองคท์ รงเป็นโดยการกลบั คนื พระชนมช์ พี และน่ีเป็นประเดน็ ในการตคี วาม “เชงิ
ตานาน” ของสเตราส์ ซง่ึ ไดอ้ ภปิ รายไปขา้ งตน้ แลว้
เรือ่ งเล่าการอศั จรรยใ์ นฐานะองคป์ ระกอบตามสาระเนื้อหาท่ีเกิดขึน้
เร่อื งเล่าการอศั จรรยอ์ าจทาหน้าทเ่ี ป็นองคป์ ระกอบรอง เล่าเหตุการณ์ทเ่ี กดิ ขน้ึ เป็นสาระประกอบเพ่อื ใช้
เป็นสอ่ื นาการสอนและแสดงบรรยากาศ หรอื เรอ่ื งความขดั แยง้ อย่างในฉากเหตุการณ์สาคญั คอื มธ. 12:22-37

ข้อเสนอแนะด้านการอธิบายตีความ
หลกั การต่อไปน้ีเป็นผลมาจากนาขอ้ มลู และขอ้ คดิ ทไ่ี ดก้ ล่าวไปแลว้ มาใชใ้ นการตคี วามเน้ือหาพระวรสาร

ในสว่ นทม่ี เี รอ่ื งปาฏหิ ารยิ ์

244

(1) แยกความหมายและความมเี หตุผลของเร่อื งเล่าออกจากความเป็นขอ้ เทจ็ จรงิ อย่างเคร่งครดั ความหมาย
และความมเี หตุผลอาจเหมาะสาหรบั มาใช้ โดยผทู้ ย่ี นื ยนั วา่ เร่อื งนนั้ เป็นจรงิ หรอื โดยผทู้ เ่ี คลอื บแคลงสงสยั
ในทางหน่ึงกไ็ ด้ ผทู้ ย่ี อมรบั เรอ่ื งปาฏหิ ารยิ เ์ รอ่ื งหน่ึงว่าเป็นสง่ิ ทเ่ี รอ่ื งทเ่ี กดิ ขน้ึ จรงิ กใ็ ชว่ า่ เขาจาเป็นตอ้ งเชอ่ื
ในพระวรสารหรอื มคี วามเช่อื แบบชาวครสิ ตเ์ สมอไป เขาไม่จาเป็นตอ้ งเช่อื แมแ้ ต่ใน “พระคมั ภรี ”์ ดว้ ยซ้า
ดว้ ยแนวทางการตคี วามแบบน้ี บุคคลผูห้ น่ึงอาจเช่อื ในเร่อื งการอศั จรรย์ แต่อาจจะไม่เหน็ ว่าการยอมรบั
ปาฏหิ ารยิ น์ นั้ เป็นความเชอ่ื แบบชาวครสิ ต์ มผี คู้ นในเรอ่ื งเล่าเหล่าน้ีเชอ่ื วา่ ปาฏหิ ารยิ ท์ เ่ี กดิ ขน้ึ นนั้ เป็นความ
จรงิ แต่ไมไ่ ดม้ าเป็นศษิ ย์ เชน่ เดยี วกบั ทท่ี ุกวนั น้ี มผี คู้ นทย่ี อมรบั วา่ พระเยซูเจา้ เป็นผรู้ กั ษาโรคและไลผ่ ี แต่
พวกเขาไมใ่ ชช่ าวครสิ ต์
ในอกี ทางหน่ึง หากบุคคลหน่ึงไม่ยอมรบั ว่าปาฏหิ ารยิ น์ ัน้ เป็นความจรงิ หรอื เคลอื บแคลงสงสยั ใน
ขอ้ เทจ็ จรงิ ของเร่อื งเล่านัน้ ไม่ได้หมายความว่าเขาไม่เช่อื พระวรสาร หรอื ไม่มคี วามเช่อื แบบชาวครสิ ต์
เป้าหมายของเร่อื งการอศั จรรย์เหล่าน้ีไม่ใช่การทาให้ผู้อ่านเช่อื ในความเป็นขอ้ เท็จจรงิ ของปาฏิหารยิ ์
(กล่าวคอื เปลย่ี นมุมมองโลกของผอู้ ่าน) แตใ่ ชเ้ รอ่ื งเล่าเหล่านนั้ เป็นสอ่ื ไปสขู่ า่ วดเี กย่ี วกบั พระครสิ ต์

(2) ประเมินรูปแบบการนาเสนอของเร่อื งให้เป็นทางบวกเหมอื นกับพระคมั ภีร์ อย่ามอง “เร่อื งเล่า” แบบ
หยาบๆ ราวกบั ว่าทางเลอื กมอี ย่แู คเ่ พยี ง “มนั เกดิ ขน้ึ จรงิ ” หรอื “มนั เป็นเพยี งเร่อื งเลา่ ” เพราะเรอ่ื งเล่าสว่ น
ใหญ่จะมอี งคป์ ระกอบทไ่ี มใ่ ชค่ วามจรงิ แฝงอยบู่ า้ ง

(3) ใส่ใจกบั ลกั ษณะภาษาศาสตร์ (Linguistic Category) ของเร่อื งปาฏิหารยิ ์ ต้องยอมรบั ว่าภาษาทงั้ หมด
ไม่ไดเ้ ป็นภาษาเดยี วกนั และไม่ไดท้ าหน้าทเ่ี หมอื นกนั ภาษาทใ่ี ชใ้ นเร่อื งเล่าปาฏหิ ารยิ บ์ ่อยครงั้ จดั อยู่ใน
ประเภท “ภาษาการสารภาพตน” (Confessional Language) ” กล่าวคอื ไม่เป็นรปู ธรรมและไมม่ กี ารอา้ งองิ
คลา้ ยกบั ภาษาทใ่ี ชใ้ นการอธษิ ฐานภาวนามากกวา่

(4) เคารพในความแตกต่างของการแบ่งแยกหมวดความคดิ แบบสมยั ใหม่กบั แบบศตวรรษทห่ี น่ึง แนวคดิ ทว่ี ่า
“กฎธรรมชาต”ิ นนั้ “ถูกทาลาย” โดยปาฏหิ ารยิ เ์ ป็นความคดิ แบบสมยั ใหม่ แต่ไม่ควรนามาใชก้ บั เน้ือหาท่ี
อยใู่ นพระคมั ภรี ์ โดยเฉพาะทางเลอื กทว่ี า่ “ถา้ ไม่เป็นแบบธรรมชาติ ตอ้ งมาจากพระเป็นเจา้ ” นนั้ ถอื ว่าผดิ
ถา้ มองจากมมุ มองแบบพระคมั ภรี ์

(5) หลกี เลย่ี งการนาประเดน็ น้ีมาอย่ใู นกรอบทว่ี ่า การเช่อื พระวรสารเท่ากบั เช่อื ในมุมมองบางอย่างเกย่ี วกบั
โลกหรอื จกั รวาล พระวรสารทงั้ หมดไดร้ บั การประพนั ธข์ น้ึ ในยคุ ทค่ี วามเช่อื ในปาฏหิ ารยิ เ์ ป็นสว่ นหน่ึงของ
มุมมองของโลกท่มี อี ยู่แลว้ โดยไม่จากดั ศาสนาหรอื ความเช่อื ส่วนชาวครสิ ต์สมยั ใหม่มชี วี ติ อย่ใู นยุคท่มี ี
การมองหรอื เขา้ ใจโลกในแบบท่ีแตกต่างไป ซ่ึงไม่เก่ยี วกบั เร่อื งศาสนาหรอื ความเช่อื มุมมองโลกของ
บุคคลหน่ึงเป็นสง่ิ ทเ่ี ขาไดร้ บั มาและไม่อาจเปล่ยี นแปลงไดต้ ามความตงั้ ใจของตนเอง เหมอื นกบั ทเ่ี ราไม่
อาจเช่อื ไดว้ ่า 2+2 = 5 หรอื สวรรคน์ ัน้ เป็นดนิ แดนทอ่ี ยู่ “ขา้ งบน” ดว้ ยศรทั ธาหรอื ดว้ ยความตงั้ ใจของเรา
เอง ดงั นัน้ เราไม่อาจตดั สนิ ด้วยศรทั ธาได้ว่าจกั รวาลทางานอย่างไรในยุคนิวตนั หรอื ภายหลงั ยุคนิวตนั
(Newtonian or post-Newtonian) เราควรตีความเร่อื งการอศั จรรย์ต่างๆ ด้วยวธิ ที ่สี ามารถถ่ายทอดสาร
แห่งความรอดพน้ จากมุมมองของโลกในศตวรรษทห่ี น่ึงมาสมู่ ุมมองของโลกแบบสมยั ใหม่ได้ โดยทย่ี งั คง
ซอ่ื สตั ยต์ อ่ เน้อื หาดงั้ เดมิ ของสารแหง่ ความรอดพน้ และต่อมมุ มองของโลกแบบสมยั ใหมด่ ว้ ย

245

(6) อย่ามองว่าการทรงประทบั อยู่ พระฤทธานุภาพ และการกระทาทงั้ หลายของพระเป็นเจ้าจะต้องเป็นสง่ิ
เหนือธรรมชาตเิ สมอไป แนวคดิ แบบ “พระเป็นเจา้ แห่งช่องว่าง” (God of the gaps) ทว่ี ่าการกระทาของ
พระเป็นเจา้ คอื สงิ่ ทไ่ี มอ่ าจอธบิ ายไดด้ ว้ ยวธิ กี ารอน่ื ๆ เป็นการจากดั ขอบเขตการกระทาของพระองคใ์ หอ้ ยู่
ภายในความไม่รู้ของมนุษย์ สงิ่ น้ีจะทาให้พ้นื ท่ที ่เี ราสามารถสมั ผสั การประทบั อยู่ของพระองค์ลดลงไป
เรอ่ื ยๆ ทงั้ ยงั เป็นการไม่สนบั สนุนใหค้ นขยายความรขู้ องตนเองโดยอา้ งขอ้ ความเชอ่ื

(7) หลกี เลย่ี งความสบั สนระหว่างความแตกต่างดา้ นการตคี วามและระดบั ความเช่อื หรอื ความไม่เช่อื อย่าถอื
วา่ ความศรทั ธา (แบบครสิ ต์) เท่ากบั การเช่อื ในปาฏหิ ารยิ ์ และการขาดความเช่อื ในปาฏหิ ารยิ เ์ ท่ากบั การขาด
ความศรทั ธาโดยรวม อย่ากล่าวหาผูอ้ ่นื (หรอื ตนเอง) ว่าขาดความเช่อื ศรทั ธาเพยี งเพราะเขาไม่เช่อื ว่าเร่อื ง
เล่าปาฏิหารยิ ์เหล่าน้ีว่าเป็นขอ้ เท็จจรงิ คาถามเก่ียวกบั การเช่อื /ไม่เช่อื จะต้องกล่าวถึงในลกั ษณะท่วี ่า
สารสาคญั ทเ่ี ร่อื งปาฏหิ ารยิ เ์ หล่าน้ีตอ้ งการจะส่อื คอื อะไร อย่าปล่อยใหก้ ารโจมตเี ร่อื งปาฏหิ ารยิ ก์ ลายเป็น
การโจมตพี ระวรสาร

(8) เคารพประเด็นทางจรยิ ธรรมท่ีมีอยู่ในการยืนยนั ว่า สงิ่ หน่ึงเป็นการกระทาของพระเป็นเจ้าโดยดูจาก
ปาฏหิ ารยิ ์ ประเดน็ ไม่ไดอ้ ย่ทู ว่ี ่าพระองคท์ าสง่ิ เหล่านัน้ ไดห้ รอื ไม่ แต่อย่ทู ว่ี ่าพระเป็นเจา้ ไดท้ รงกระทาสงิ่
ต่างๆ ในแบบท่เี ร่อื งปาฏหิ ารยิ ์เหล่าน้ีได้กล่าวไวต้ ามตวั อกั ษรหรอื ไม่ และพระองค์ควรกระทาสงิ่ ต่างๆ
ดว้ ยวธิ เี ช่นน้ีสอดคลอ้ งกบั ความชอบธรรมของพระองคห์ รอื ไม่ การรกั ษาโรคและการทาใหค้ นตายฟ้ืนคนื
ชพี หากมองวา่ เป็นการรายงานตามขอ้ มลู โดยตรงแลว้ ทาใหเ้ ราเกดิ คาถามในเชงิ จรยิ ธรรมว่า ทาไมมคี น
เพยี งไม่กค่ี นไดร้ บั การรกั ษา ในขณะทบ่ี ุคคลผหู้ น่ึงมอี านาจพอทจ่ี ะรกั ษาและทาใหค้ นทุกคนฟ้ืนจากความ
ตายได้ หากเรามุ่งความสนใจไปท่ปี าฏหิ ารยิ ์เพยี งอย่างเดยี ว กจ็ ะกลายเป็นปัญหาข้นึ มา ไม่ใช่แค่ทาง
กายภาพเท่านนั้ แต่ในทางจรยิ ธรรมดว้ ย ซง่ึ จะกลายเป็นอปุ สรรคกีดกนั้ ไม่ใหเ้ ราไดย้ นิ สงิ่ อ่นื ทเ่ี น้ือหาสว่ น
น้ีตอ้ งการจะสอ่ื หากเร่อื งพระเป็นเจา้ ทรงแทรกแซงเพ่อื ชว่ ยใหพ้ ระกุมารเยซูเจา้ ปลอดภยั ใน มธ 2:13-18

(เป็นนัยว่าส่อื ความในลกั ษณะใด หรอื เป็นบนั ทกึ เร่อื งจรงิ ในประวตั ศิ าสตร์แบบตรงตามตวั อกั ษร เราต้องมาคดิ ถึงเร่อื งเด็กทารกคนอ่นื ๆ

ในเบธเลเฮมท่ีถูกฆ่าตายโดยไม่มีความจาเป็น) ซ่ึงเป็ นข้อคิดเห็นของผู้อ่านหรือผู้ให้ความคิดเห็นเชิงอัตวิสัย
เปรยี บเทยี บกบั วตั ถุวสิ ยั ของเร่อื งเล่า และวธิ กี ารเล่าเร่อื งประวตั ศิ าสตรก์ บั วตั ถุประสงคข์ องผเู้ ขยี น (ดู ขอ้
ศกึ ษาวพิ ากษ์และขอ้ คดิ ไตร่ตรอง มธ. 2) ดงั นัน้ เร่อื งราวปาฏหิ ารยิ ์จงึ ไม่ควรไดร้ บั การตคี วามในแบบอตั วสิ ยั หรอื
มุมมองท่แี ตกต่างกนั ระหว่างผูเ้ ขยี นกบั ผูอ้ ่านหรอื ผูว้ เิ คราะห์ ท่กี ่อใหเ้ กดิ ความเคลอื บแคลงใจเฉพาะใน
ลกั ษณะใดลกั ษณะหน่ึง หรอื เน้นมมุ มองดา้ นเดยี ว เชน่ เน้นดา้ นจรยิ ธรรมของพระเป็นเจา้ หรอื เน้นเฉพาะ
ดา้ นสทิ ธมิ นุษยชน หรอื เน้นดา้ นเทววทิ ยา ฯลฯ เทา่ นนั้

246

มทั ธวิ 9:36-10:42 ศษิ ยไ์ ดร้ บั การมอบอานาจและถกู สง่ ออกไป

ภาพรวม
สาระเน้ือหา มธ. 9: 36 – 10: 42 เป็นชุดขอ้ ความขนาดใหญ่ชุดทส่ี องจากทงั้ หมดหา้ ชุดในส่วนบรรยาย

เร่อื งของพระวรสารนักบุญมทั ธวิ (ดูบทนา) เช่นเดยี วกบั บทพูดหรอื บรรยายอ่นื ๆ สว่ นน้ีเป็นบทประพนั ธท์ ม่ี าจาก
แหล่งขอ้ มลู ทเ่ี ป็นธรรมประเพณี ทงั้ พระวรสารนกั บุญมาระโก (6:7-11) และเอกสารแหล่ง Q (ลก. 10:2-12) ทงั้ หมดมี
การมอบหมายพนั ธกจิ ใหก้ บั บรรดาศษิ ย์ ในเม่อื แหล่งขอ้ มูลของท่านทงั้ สองแห่งมเี น้ือความคลา้ ยกนั แนวทาง
หลกั สาหรบั การประพนั ธ์ของนักบุญมทั ธิวคือนาทงั้ สองมารวมกันให้เป็นบทบรรยายท่ีขยายความออกไป
(Extensive Speech) แตกต่างจากในพระวรสารนักบุญลูกาท่ปี กติจะแยกแต่ละบทเอาไวใ้ นบรบิ ทท่ตี ่างกนั (ดู
23:1-25:46) นักบุญมทั ธวิ นาบทบรรยายจากพระวรสารนักบุญมาระโกมาใส่ไวใ้ นโครงร่างและเพท่ิ หรอื ขยายเน้น
สาระเน้ือหาขน้ึ มา โดยใชบ้ ทบรรยายจากเอกสารแหล่ง Q รวมทงั้ ใสเ่ น้ือหาเพม่ิ เตมิ อกี ซง่ึ นามาจากสว่ นอ่นื ของ
พระวรสารนกั บญุ มาระโก เอกสารแหล่ง Q และธรรมประเพณี M ของทา่ นเอง

เชน่ เดยี วกบั ทพ่ี ระเยซูเจา้ ไดร้ บั การนาเสนอในฐานะพระเมสสยิ าหท์ งั้ ในคากล่าวสอน(Messiah in Word)
(บทท่ี 5-7) และในการกระทา (Messiah in Deeds) (บทท่ี 8-9) ในทน่ี ้ีพระฤทธานุภาพและพระราชอานาจในการตรสั
สอนและคาสงั่ ของพระองค์ รวมถึงอานาจในการอภัยบาป (9:8) คงดาเนินต่อไปในพันธกิจของบรรดาศิษย์
ดงั กล่าวน้ี การมอบหมายภารกิจแก่บรรดาศษิ ย์สอดคล้องกบั โครงสร้างการเรยี กให้มาเป็นศิษย์ใน 4:18-22
เน้ือความตอนน้ีนาหน้าดว้ ยเหตุการณ์สองฉากทแ่ี สดงออกถงึ ความตอ้ งการของชนชาตอิ สิ ราเอลและพระเมตตา
ของพระเจา้ ในการเตรยี มสง่ อคั รสาวกและบรรดาศษิ ยไ์ ปปฏบิ ตั ศิ าสนบรกิ ารต่อความประสงคเ์ หล่านนั้

247

มทั ธวิ 9:36-38 ฝงู ชนทข่ี าดแคลนและพระเมตตาสงสารของพระเจา้

36 เมอ่ื พระองคท์ อดพระเนตรเหน็ ประชาชน กท็ รงสงสาร เพราะเขาเหล่านนั้ เหนด็ เหน่ือยและทอ้ แทป้ ระดจุ ฝงู แกะทไ่ี มม่ คี น
เลย้ี ง15 37 แลว้ พระองคต์ รสั แก่บรรดาศษิ ยว์ า่ “ขา้ วทจ่ี ะเกบ็ เกย่ี วมมี าก แตค่ นงานมนี ้อย 38 จงวอนขอเจา้ ของนาใหส้ ง่ คนงานมา
เกบ็ เกย่ี วขา้ วของพระองคเ์ ถดิ ”

ข้อศึกษาวิพากษ์
9:39 “เม่อื พระองค์มองเหน็ ฝงู ชน” ตามดว้ ยคากรยิ าแท้โดยมพี ระเยซูเจา้ เป็นประธานของประโยคเป็น

โครงสรา้ งท่เี หมอื นกบั ขอ้ ความใน 5:1 ทุกอย่าง โครงสรา้ งเช่นน้ีพบเพยี งสองครงั้ ในพระวรสารนักบุญมทั ธวิ
ก่อใหเ้ กดิ เป็นอกี หน่ึงวงเลบ็ ทล่ี อ้ มบทท่ี 5-7 และ 8-9 ในฐานะ “คาพูดและการกระทาของพระเมสยิ าห์” (ดูบทนา)
“ฝงู แกะทข่ี าดคนเล้ยี ง” เป็นขอ้ ความท่มี าจากพระคมั ภรี ฉ์ บบั สารบบ 70 (กดว. 27:17; 1พกษ. 22:17; 2พศด. 18:16; เทยี บ
ยรม. 23:1-6; อสค. 34:8; ศคย. 10:12) โดยนามาจากอกี บรบิ ทหน่ึงในพระวรสารนักบุญมาระโก 6:34 ท่านนักบุญมทั ธวิ
เอาขอ้ ความน้ีมาใส่ไวอ้ กี ทห่ี น่ึงเพอ่ื อธบิ ายสภาพความลาบากของ “ฝงู ชน” ซง่ึ เป็นชาวอสิ ราเอลจานวนมากทย่ี งั
ไม่ไดต้ ดั สนิ ใจจะตดิ ตามพระองค์ พวกเขามศี กั ยภาพทจ่ี ะมาเป็นศษิ ย์ แต่ตกอย่ใู นสภาวะทอ่ี าจถูกล่อลวงไปผดิ
ทางโดยผูน้ าของพวกเขาเอง นักบุญมทั ธวิ มองว่าพระเยซูเจ้าคอื คนเล้ยี งท่แี ท้จรงิ ของพวกเขา (เทยี บ 2:6; 26:31)
พระองค์ทรงมคี วามเมตตาต่อฝงู แกะท่ถี ูกทาร้ายและช่วยเหลอื ตนเองไม่ได้ พระเยซูเจ้าทรงมพี ระเมตตาต่อ
อิสราเอล ไม่ใช่เกลียดชงั พระองค์เข้าใจดีว่าหน้าท่ีของพระองค์ คือ ทรงถูกส่งมาเพ่ือพวกเขา (10:5; 15:24)
นบั ตงั้ แต่ กดว. 27:17 ขอ้ ความทก่ี ลา่ ววา่ “ฝงู แกะทไ่ี มม่ คี นเลย้ี ง” ถูกนามาใชใ้ นบรบิ ททท่ี า่ นโมเสสเตรยี มตวั ไปสู่
ความตายและกงั วลวา่ ทา่ นจะไมม่ ผี สู้ บื ทอดโดยชอบธรรม การนาขอ้ ความน้ีมาใชใ้ นพระวรสารจงึ แสดงใหเ้ หน็ อกี
แง่มุมหน่ึงท่ีนักบุญมทั ธวิ ชอบใช้รูปแบบท่ีส่อื ไปถงึ โมเสส (ดูความคดิ เหน็ ของ 5:1) กดว. 27:17 เก่ยี วขอ้ งกบั การส่ง
มอบอานาจจากโมเสสมายงั โยชอู า (ในภาษากรกี หมายถงึ “บุรุษผทู้ รงมพี ระจติ สถติ อยภู่ ายใน”) ในบทน้ีพระเยซูเจา้ ทรงสง่ มอบ
อานาจของพระองคใ์ หก้ บั บรรดาศษิ ยเ์ ชน่ กนั (10:1, 7-8)

9:37-38 สาหรบั นักบุญมทั ธวิ ภาพลกั ษณ์ของคนเล้ยี งแกะมีความหมายส่อื เขา้ ใจแบบอนั ตกาล แต่
มุมมองเก่ียวกับอันตกาล ซ่ึงมีอิทธิพลต่อเน้ือหาวาทกรรมตอนต่อไปปรากฏชัดเจนย่ิงข้ึน เม่ือภาพท่ีใช้
เปรยี บเทียบเปล่ียนจากคนเล้ียงแกะเป็นการเก็บเก่ียว บ่อยครงั้ การเก็บเก่ียวถูกใช้เป็นสญั ลกั ษณ์ของการ
พพิ ากษาแห่งอวสานตกาล (อสย. 18:4; 27:12; ยรม. 51:53; ฮซย. 6:11; ยอล. 3:13) นักบุญมทั ธวิ (3:12; 13:30, 39) รวมถงึ นัก
ประพนั ธค์ นอ่นื ๆ ในศาสนายูดายยุคเรม่ิ แรกและในพระคมั ภรี ภ์ าคพนั ธสญั ญาใหม่ นาแนวคดิ น้ีไปใชใ้ นส่วนอ่นื
ดว้ ย(อสร 4:26-37; 9:17; 2 บรค 70:1-2; มก 4:26-39; 13:27; วว 14:14-20) พนั ธกจิ ของบรรดาศษิ ย์ถูกมองว่าเป็นเหตุการณ์ใน
อนั ตกาล ดงั นัน้ จงึ เป็นการกระทาของพระเป็นเจ้า แม้ว่าจะใช้คนงานท่ีเป็นมนุษย์แทนท่จี ะใช้ทูตสวรรค์เป็น
ตวั แทนของพระองค์ บรรดาศษิ ย์ได้รบั คาสงั่ ให้อธษิ ฐานภาวนาต่อเจา้ นายผูเ้ ป็นเจา้ ของพชื ผล (พระเจ้า) เพ่อื ให้
พระองคส์ ง่ คนงานออกไปเกบ็ เกย่ี ว การตอบสนองต่อคาภาวนาน้ีของบรรดาศษิ ยห์ รอื อคั รสาวก ผเู้ ป็นตวั แทนใน
ฐานะผแู้ สดงถงึ พระเมตตาจากพระเป็นเจ้าทม่ี ตี ่อประชาชนผลู้ าบากขาดแคลนในบรบิ ทน้ี ตามทไ่ี ดแ้ สดงภาพไว้
ใน ว. 36 และเป็นผมู้ สี ว่ นร่วมในการตดั สนิ ประชากรของพระเป็นเจา้ ในอวสานตกาลรว่ มกบั พระเมสสยิ าห์ (เทยี บ
4:18-22) พนั ธกจิ ของบรรดาศษิ ยไ์ ม่ใช่กจิ การอาสาสมคั รทพ่ี วกเขาคดิ ทจ่ี ะกระทาเอง แต่พวกเขาไดร้ บั เลอื ก ไดร้ บั
มอบอานาจ และถกู สง่ ไปโดยพระเป็นเจา้ ผา่ นทางพระเยซูครสิ ต์ (10:10)

248

มทั ธวิ 10:1-5a บรรดาศษิ ยแ์ ละอคั รสาวก

ข. คาสงั่ สอนสาหรบั บรรดาอคั รสาวก
พระเยซูเจา้ ทรงส่งอคั รสาวกสิบสองคน

1 พระเยซูเจา้ ทรงเรยี กศษิ ยส์ บิ สองคนเขา้ มาพบ1 ประทานอานาจใหเ้ ขาขบั ไล่ปีศาจ ใหร้ กั ษาโรคและความเจบ็ ไขท้ กุ ชนดิ
2 อคั รสาวกสบิ สองคนมนี ามดงั น้ี คนแรกคอื ซโี มน ผมู้ สี มญาวา่ เปโตร กบั อนั ดรวู น์ ้องชายของเขา ยากอบบตุ รของเศเบดกี บั
ยอหน์ น้องชาย 3 ฟิลปิ และบารโ์ ธโลมวิ โธมสั และมทั ธวิ คนเกบ็ ภาษี ยากอบบตุ รอลั เฟอสั และธดั เดอสั 4 ซโี มนจากกล่มุ ชาตนิ ิยม
และยดู าสอสิ คารโิ อท ต่อมายดู าสผนู้ ้ีทรยศพระองค์ 5 พระเยซูเจา้ ทรงสง่ อคั รสาวกสบิ สองคนน้ีออกไป

ข้อศึกษาวิพากษ์

นักบุญมทั ธวิ เล่าเร่อื งการเรยี กศษิ ยเ์ พยี งสองเร่อื ง และมศี ษิ ยถ์ ูกเรยี กรวมทงั้ หมดหา้ คนจากสองเร่อื งน้ี
(4:18-22; 9:9) ดงั นัน้ ผูอ้ ่านจะรูส้ กึ แปลกใจ เม่อื ได้ทราบมาแล้วว่ามศี ษิ ย์ได้รบั คดั เลอื กทงั้ หมด 12 คน อย่างไรก็
ตาม ผอู้ ่านพระวรสารนกั บญุ มทั ธวิ น่าจะเป็นผทู้ ร่ี จู้ กั เรอ่ื งเล่าในพระวรสารนกั บญุ มาระโกแลว้

นักบุญมทั ธวิ กล่าวถงึ อคั รสาวกทงั้ สบิ สองแบบทวั ่ ไป ไม่มรี ายละเอยี ด (10:1; 11:1; 20:17) หรอื เรยี กอย่าง
ง่ายๆ ว่า “คณะสิบสองคน” (The Twelve) (10:5; 26:14, 20,17) และเฉพาะท่ีน้ีเท่านัน้ ท่ีพวกเขาถูกเรยี กว่า
“อคั รสาวก” (Apostles” (ajpo"stoloi apostoloi)) ซ่ึงเป็นศพั ท์ท่ดี ูเหมอื นไม่ได้ส่อื ความสาคญั อะไรกบั ท่านนัก
ธรรมประเพณีสมยั แรกๆ กล่าวถงึ “คณะสิบสองคน” และ “คณะอคั รสาวกทงั้ หมด” เป็นกลุ่มบุคคลสองกลุ่ม

ทแ่ี ตกต่างกนั แต่เหล่อื มซอ้ นกนั (1คร 15:5-7) อทิ ธพิ ลของพระวรสารนกั บุญลูกาทาใหพ้ ระศาสนจกั รคดิ ถงึ คนกลุ่มน้ี
วา่ เป็นอคั รสาวกสบิ สององค์ แต่ในทางประวตั ศิ าสตรแ์ ลว้ อคั รสาวกคอื คนกลุ่มใหญ่ทพ่ี ระครสิ ตไ์ ดป้ รากฏตวั ให้
เหน็ หลงั จากพระองคท์ รงกลบั คนื พระชนมช์ พี และทรงมอบหมายใหพ้ วกเขาเป็นตวั แทนของพระองค์ ตามทร่ี ะบุ
ไวใ้ นรายชอ่ื ของผทู้ ถ่ี กู เรยี กใหเ้ ป็นอคั รสาวก ในรปู ท่ี 7

รปู ท่ี 7 : คณะอคั รสาวก ปรากฏในพระวรสาร มทั ธิว, มาระโก, ลกู าและกิจการ, ยอหน์ และเปาโล

มธ. 10 มก. 3 ลก. 6/ กจ. 1 ยน. เปาโล

1. ซมี อน เปโตร 1. ซมี อน เปโตร 1. ซมี อน เปโตร 1. ซมี อน เปโตร ซมี อน เปโตร

2. อนั ดรวู ์ 4. อนั ดรวู ์ 2. อนั ดรวู ์ 2. อนั ดรวู ์ ยากอบ พน่ี ้องของพระเยซู กท.
3. ยากอบ 2. ยากอบ 3. ยากอบ 3. บุตรของเศเบดี
1: 19

แอนโดรนิคสั (รม. 16: 7)

4. ยอหน์ 3. ยอหน์ 4. ยอหน์ 4. (ยน. 21: 2) จเู นยี *ส (รม. 16: 7)

5. ฟิลปิ 6. ฟิลปิ 5. ฟิลปิ 5. ฟิลปิ

6. บารโ์ ธโลมวิ 6. บารโ์ ธโลมวิ 6. บารโ์ ธโลมวิ

7. โทมสั 8. มทั ธวิ 8. มทั ธวิ 7. โทมสั เปาโล (1คร. 9: 1 ฯลฯ)

8. มทั ธวิ 7. โทมสั 7. โทมสั

9. ยากอบ บุตรอลั เฟอสั 9. ยากอบ บตุ รอลั เฟอสั 9. ยากอบ บุตรอลั เฟอสั 1คร. 15: 6 ระบุ น. เปาโลรจู้ กั
อคั รสาวก มากกวา่ 12 องค์
10. ธดั เดอสั 10. ธดั เดอสั

11. ซมี อน ชาวคานาอนั 11. ซมี อน ชาวคานาอนั 11. ซมี อน ชาวคานาอนั

12. ยดู าส อสิ คารโี อต 12. ยดู าส อสิ คารโี อต 12. ยดู าส อสิ คารโี อต 12. ยดู าส อสิ คารโี อต * อาจเป็นชาย ใน RSV/ NIV

หรอื เลบเบอุส อกี ช่อื หน่งึ (เลวี บตุ รของอลั เฟอสั , 2: ยดู าส บุตรของยากอบ นาธานาแอล หรอื หญงิ ใน KJV / NRSV
ศษิ ยท์ ท่ี รงรกั
ของธดั เดอสั ในตน้ ฉบบั MSS 14) มทั ธอี สั , กจ. 1

249

ต่อมามคี วามจาเป็นทต่ี อ้ งระบุวา่ อคั รสาวกคอื สบิ สองคน จงึ ทารายการออกมาเป็นอคั รสาวกเพยี งสบิ สอง
คน (ตามทป่ี รากฏในพระวรสารนกั บญุ ลกู า-กจิ การอคั รสาวก) เม่อื ตรวจสอบในเรอ่ื งเล่าเกย่ี วกบั ศษิ ยพ์ บว่าคนเดยี วกนั มสี องชอ่ื
(เช่น เลวี ใน มก. คอื มทั ธวิ ใน มธ. และ นาธานาเอล ใน ยน. คอื บารโ์ ธโลมวิ ในพระวรสารสหทรรศน์) ซง่ึ ไม่มหี ลกั ฐานทจ่ี ะใชพ้ สิ จู น์การ
ระบุช่อื เหล่าน้ีได้ แต่ถงึ อย่างไร มคี วามเป็นไปได้น้อย และไม่มหี ลกั ฐานสนับสนุนว่ามธี รรมประเพณีการใหช้ ่อื
ภาษาฮบี รกู บั ชายชาวยวิ ถงึ สองช่อื ความเป็นสญั ลกั ษณ์ของเลขสบิ สองมคี วามสาคญั สาหรบั นักบุญมทั ธวิ และ
ศาสนาครสิ ต์ยุคเรม่ิ แรก เช่นเดยี วกบั ท่มี คี วามสาคญั ต่อพระเยซูเจ้าในการทรงเรยี กอคั รสาวกอย่างเหน็ ได้ชดั
เพราะเป็นภาพของการสรา้ งอสิ ราเอลขน้ึ มาใหม่ในอนั ตกาลเพ่อื ใหเ้ ป็นประชากรของพระเป็นเจา้ (ดู เทยี บ 19:28)
สญั ลกั ษณ์ของเลขสบิ สองมคี วามสาคญั มากกวา่ จานวนคนทป่ี ระกอบกนั เป็นกลมุ่ คณะน้ี

ในทางปฏิบตั ิแล้ว ไม่มหี ลกั ฐานอะไรเลยเก่ยี วกบั สมาชกิ คนอ่นื ๆ ในรายช่อื คณะอคั รสาวกทงั้ สบิ สอง
ยกเวน้ ซโี มนเปโตร กบั “ซโี มน ชาวคานาอนั ” ทาใหเ้ รารวู้ า่ ซโี มนน้ีเป็นคนละคนกบั ซโี มนเปโตร และทาใหท้ ราบ
วา่ เขาเป็นหน่งึ ในกลมุ่ ผรู้ กั ชาตทิ ต่ี อ้ งการโค่นชาวโรมนั (Zealot) เหน็ ไดช้ ดั วา่ นกั บุญมทั ธวิ จงใจจะนาชอ่ื ของเปโต
รข้นึ มาเป็นช่ีอแรกและให้ยูดาสเป็นช่ือสุดท้าย มีการระบุว่ายูดาสคือ “ผู้ทรยศ” พระเยซู เจ้า (ภาษากรกี คือ
paradous ซง่ึ เป็นรปู คากรยิ าแบบ aorist) การอา้ งองิ ถงึ พระมหาทรมานอยา่ งชดั เจนเป็นครงั้ แรก ซง่ึ เป็นการมอง
ยอ้ นหลงั (Retrospective) เป็นหน่ึงในตวั อย่างท่บี ่งช้วี ่าผอู้ ่านรูเ้ ร่อื งราวของพระเยซูเจา้ แลว้ และมมี ุมมองแบบ
คนในยคุ หลงั การกลบั คนื พระชนมช์ พี ซง่ึ เป็นผลของการตคี วามใหมข่ องเรอ่ื งน้ี (ดู เทยี บ 10:38)

การแทรกคาวา่ “และ” (kai) ลงไปในจุดสาคญั เป็นการทน่ี กั บุญมทั ธวิ จดั ลาดบั รายชอ่ื ใหอ้ ยใู่ นรปู แบบหก
คู่ ค่ลู ะสองช่อื เป็นการทาใหน้ ึกถงึ การสง่ ศษิ ย์ “ไปทลี ะสองคน” ใน มก. 6:7 ซง่ึ นักบุญมทั ธวิ ไดต้ ดั ส่วนน้ีออกไป
หรอื หมายถงึ “ค”ู่ ของรบั บที ม่ี ชี ่อื เสยี งโดดเด่นในรปู แบบธรรมประเพณีของชาวยวิ (ดู เทยี บ เอกสาร m, Abot 2:8) สง่ิ น้ี
อาจสอ่ื ถงึ หน้าทก่ี ารเผยแพรศ่ าสนาของบรรดาศษิ ย์ เช่นเดยี วกบั คาวา่ “สองหรอื สามคน” ใน มธ 18:20 ซง่ึ ไดร้ บั
อานาจในการตดั สนิ ใจในนามของพระเยซูเจ้า รวมถงึ การท่นี ักบุญมทั ธวิ ชอบใชส้ งิ่ ต่างๆ ทลี ะ “สอง” (ดู 8:28-34;

9:27-31)

นกั บุญมทั ธวิ พจิ ารณาพนั ธกจิ ของพระเยซูเจา้ คอื งานทบ่ี รรดาศษิ ยต์ อ้ งรบั ทาต่อไป พวกเขาไดร้ บั มอบ
อานาจทจ่ี ะพดู และกระทาสงิ่ ต่างๆ ในนามของพระเยซูเจา้ (10:1; เทยี บ 10:19-20, 40) กล่าวอกี อยา่ งคอื พวกเขาจะสบื
ทอดการกระทาการอนั ทรงอานาจเหมอื นอยา่ งทพ่ี ระเยซูเจา้ เคยทาใน 8:1-9:35 (อยา่ งไรกต็ าม พวกเขาไมไ่ ดร้ บั มอบอานาจ
ในการสงั่ สอนผอู้ ่นื จนกระทงั่ หลงั จากพระเยซูเจา้ ทรงกลบั คนื พระชนมช์ พี แลว้ , 28-20) พวกเขาเทศน์สอนในสง่ิ เดยี วกนั (4:17; 10:7) และ
ได้รบั การตอบสนองแบบเดยี วกนั (9:34; 10:25) ดงั นัน้ บรรดาศษิ ย์จงึ เขา้ ใจอย่างปรุโปร่งถงึ ประสบการณ์ท่ไี ด้รบั
ภายหลงั การกลบั คนื พระชนมช์ พี และพนั ธกจิ ของพระศาสนจกั ร พระวรสารไดเ้ ล่าถงึ พนั ธกจิ น้ีจากคาพูดทพ่ี ระ
เยซูเจา้ กล่าวกบั บรรดาศษิ ยต์ งั้ แต่เรอ่ื งเล่าก่อนการกลบั คนื พระชนมช์ พี (10:5ข-6 เป็นตวั แทนของตอนน้ี) และคาพดู ของ
พระครสิ ต์ผทู้ รงเป็นปัจจุบนั และสถติ อย่กู บั พระศาสนจกั รของพระองคใ์ นพนั ธกจิ ในอนั ตกาล ซ่งึ เกดิ ขน้ึ ระหว่าง
การกลบั คนื พระชนมช์ พี กบั การเสดจ็ กลบั มาครงั้ ทส่ี องของพระครสิ ต์ (ต.ย. 10:17-22, 32-33 แสดงภาพของเหตกุ ารณ์หลงั การ
กลบั คนื พระชนม์ชพี อย่างชดั เจน) เช่นเดยี วกบั พระวรสารโดยรวมทงั้ เล่ม คากล่าวเหล่าน้ีทาใหย้ ากทจ่ี ะแสดงว่ามคี วาม
แตกต่างอยา่ งชดั เจนระหวา่ งประวตั ศิ าสตรพ์ นั ธกจิ ของพระเยซูเจา้ ในอดตี กบั การสบื สานตอ่ พนั ธกจิ ของพระเยซู
เจา้ ในปัจจบุ นั รวมทงั้ การสถติ อยขู่ องพระองคใ์ นงานของบรรดาศษิ ย์

อนึง่ พระสนั ตะปาปาเบเนดกิ ต์ ที่16 ทรงแสดงขอ้ ศกึ ษาวพิ ากษ์วา่ พระเยซูเจา้ ทรงตงั้ กลุ่มอคั รสาวก 12
คนข้นึ มา ชอื่ “อคั รสาวก” เรมิ่ แรกนัน้ ขยายวงกว้างไกลไปกว่าคนกลุ่มน้ี แต่ต่อมาภายหลงั จากดั ไว้หมายถึง

250

เฉพาะอคั รสาวก 12 คนเท่านัน้ ยกตวั อย่างเช่น ในพระวรสารของนักบุญลูกา ท่านกล่าวถงึ อคั รสาวก 12 คนอยู่
เสมอ คาน้ีเป็นคาเดียวกบั คาว่า 12 องค์ (The Twelve) ….ในทุกขนั้ ตอนแห่งภารกิจของพระเยซูเจ้าทีเ่ ราได้
พจิ ารณามาแลว้ จนถงึ บดั น้ี เป็นทแี่ นชดั วา่ พระเยซูเจา้ ทรงผกู พนั ใกลช้ ดิ อยกู่ บั “พวกเรา” ของครอบครวั ใหมห่ รอื
กลุ่มคณะศษิ ย์ ทพี่ ระองคท์ รงรวบรวมข้นึ โดยการประกาศเทศนาและโดยกจิ การของพระองค์ว่า “พวกเรา” ของ
ครอบครวั ใหม่น้ี มใิ ช่ข้นึ อยู่กบั ชาตกิ าเนิด แต่ข้นึ อยู่กบั การสนิทสมั พนั ธ์กบั พระเยซูเจา้ ผูท้ รงเป็นธรรมบญั ญตั ิ
(Torah) ทมี่ ชี วี ติ ของพระเป็นเจา้ “พวกเรา” ของครอบครวั ใหม่น้ีมใิ ช่กลุ่มคนทมี่ ารวมตวั กนั แบบไรร้ ะเบยี บ พระ
เยซูเจา้ ทรงเรยี กจติ ใจภายในของผทู้ ที่ รงเลอื กสรรพเิ ศษ ใหพ้ วกเขากระทาภารกจิ ของพระองคส์ บื ไป และสรา้ ง
ระเบยี บและรปู รา่ งของครอบครวั ใหม่ขน้ึ มา

ขอ้ ความตอนสาคญั เกยี่ วกบั อคั รสาวกคอื มก. 3: 13-19 เรมิ่ ต้นโดยบอกว่า “พระเยซูเจา้ เสดจ็ ข้นึ ไปบน
ภูเขา ทรงเรยี กผูท้ พี่ ระองค์ทรงต้องการให้มาพบ เขาเหล่านัน้ ก็มาเฝ้าพระองค์” (มก. 3: 13) เหตุการณ์ต่างๆ อนั
นามาสเู่ หตุการณ์ตอนน้ีเกดิ ขน้ึ ณ รมิ ทะเลสาบ และเวลานนั้ พระเยซเู จา้ “เสดจ็ ขน้ึ ไปบนภเู ขา” ซงึ่ เป็นสญั ลกั ษณ์
บ่งบอกถึงสถานทที่ พี่ ระองค์ทรงมสี มั พนั ธ์เป็นหนึง่ เดยี วกบั พระเป็นเจ้า กล่าวคอื เป็นสถานทสี่ ู่เบ้อื งสูง ทอี่ ยู่
เหนือข้นึ ไปจากภารกจิ การงานของชวี ติ ประจาวนั นกั บุญลูกาเน้นสงิ่ น้ีอย่างมากในเรอื่ งราวทคี่ ลา้ ยกนั น้ีว่า “ครงั้
นนั้ พระองคเ์ สดจ็ ขน้ื ไปบนภูเขาเพอื่ อธษิ ฐานภาวนา และทรงอธษิ ฐานภาวนาต่อพระเป็นเจา้ ตลอดทงั้ คนื ครนั้ ถงึ
รงุ่ เชา้ พระองคท์ รงเรยี กบรรดาศษิ ยเ์ ขา้ มา แลว้ ทรงคดั เลอื กไวส้ บิ สองคน ประทานนามวา่ “อคั รสาวก” (ลก. 6: 12-13)

การเรยี กบรรดาศษิ ยเ์ ป็นเหตุการณ์ภาวนา ว่าพวกเขาไดก้ าเนิดขน้ึ มาในการอธษิ ฐานภาวนาทพี่ ระองค์
ทรงใกลช้ ดิ อยกู่ บั พระบดิ า การเรยี กศษิ ยส์ บิ สองคนนนั้ เป็นมากกวา่ แคเ่ รอื่ งรบั หน้าที่ แต่มคี วามหมายลกึ ซ้งึ ดา้ น
เทววทิ ยา กล่าวคอื การเรยี กพวกศษิ ยเ์ กดิ มาจากพระบุตรทรงสนทนากบั พระบดิ าและในชว่ งของการสนทนานนั้
เป็นจุดเรมิ่ ตน้ สาคญั ยงิ่ เพอื่ จะเขา้ ใจพระวาจาของพระเยซูเจา้ ทวี่ ่า “จงอธษิ ฐานขอเจา้ ของนาใหส้ ่งคนงานมาเกบ็
เกยี่ วพชื ผลของพระองคเ์ ถดิ ” (มธ. 9: 38) กล่าวคอื เราไม่สามารถเลอื กเอาคนงานไปเก็บเกยี่ วพชื ผลของพระเป็น
เจา้ ไดง้ า่ ยๆ แบบทนี่ ายจา้ งเลอื กลูกจา้ งมาทางานตามปกติ แต่พระเป็นเจา้ จะตอ้ งไดร้ บั การรอ้ งขอใหส้ ง่ คนงานมา
และพระองค์เองทรงเป็นผูเ้ ลอื กเขาเหล่านัน้ ให้มาทางานรบั ใชน้ ้ี คุณลกั ษณะดา้ นเทววทิ ยาได้รบั แรงสนับสนุน
ยงิ่ ข้นึ จากถ้อยคาในพระวรสารของนักบุญมาระโก ทวี่ ่า “พระเยซูเจา้ ทรงเรยี กผทู้ พี่ ระองคท์ รงต้องการ” ท่านไม่
สามารถทาตวั เองเป็นศษิ ยไ์ ด้ เพราะเป็นเรอื่ งของการรบั เลอื ก เป็นการตดั สนิ พระทยั อย่างอสิ ระโดยพระประสงค์
ของพระสวามเี จา้ ซงึ่ ในเหตุการณ์ของการเลอื กน้ี พระองคย์ งั คงรว่ มเป็นน้าหนงึ่ ใจเดยี วกบั พระบดิ าของพระองค์

ขอ้ ความพระวรสารของนกั บุญมาระโกตอนต่อไป มวี ่า “พระองคจ์ งึ ทรงแต่งตงั้ (แปลตรงตวั ว่า “ทรงทาใหพ้ วกเขา
เป็น”) อคั รสาวกสิบสองคน ให้อยู่กบั พระองค์ เพือ่ จะทรงส่งเขาออกไปเทศน์สอน” (มก. 3: 14) สงิ่ แรกทีจ่ ะต้อง
พจิ ารณาคอื ขอ้ ความทวี่ ่า “พระองคท์ รงแต่งตงั้ อคั รสาวกสบิ สองคน” ซงึ่ ดูเป็นสงิ่ แปลกสาหรบั เรา ในความเป็น
จรงิ แลว้ ขอ้ ความน้ีนักบุญมาระโกผนู้ ิพนธพ์ ระวรสารนามาจากถอ้ ยคาทใี่ ชใ้ นพระคมั ภรี พ์ นั ธสญั ญาเดมิ เพอื่ การ
แต่งตงั้ สมณะ (เทยี บ 1พกษ. 12: 31; 13: 33) ฉะนัน้ จงึ เป็นถ้อยคาทบี่ ่งช้คี ุณลกั ษณะของการมตี าแหน่งอคั รสาวกเป็น
หน้าทสี่ งั ฆบรกิ าร (Priestly Ministry) ยงิ่ กวา่ นนั้ ขอ้ เทจ็ จรงิ ทวี่ ่าบุคคลผถู้ ูกคดั เลอื กทไี่ ดร้ บั การเอย่ นามแต่ละคน
นัน้ เชอื่ มโยงกบั บรรดาประกาศกของอสิ ราเอลทพี่ ระเป็นเจา้ ทรงเรยื กชอื่ แต่ละคนดว้ ย นักบุญมาระโกนาเสนอ
หน้าทีอ่ คั รสาวกเป็นแบบผสมผสานพนั ธกิจแห่งการเป็นสงฆ์และพนั ธกิจแห่งการเป็นประกาศกเขา้ ด้วยกนั
(Feuillet, Etudes, p. 178) “พระองคท์ รงแต่งตงั้ อคั รสาวกสบิ สองคน” เลข 12 เป็นเลขสญั ลกั ษณ์สาหรบั ชนชาตอิ สิ ราเอล
กล่าวคอื เป็นจานวนบุตร 12 คนของยาโคบ จากบุตร 12 คนน้ีกส็ บื ทอดมาเป็น 12 ตระกูลของชนอสิ ราเอล ซงึ่

251

โดยทาง 12 ตระกูลน้ี ตระกูลยดู าหเ์ ท่านนั้ ทยี่ งั ดารงอย่ภู ายหลงั การเนรเทศในครงั้ นนั้ ตามความหมายน้ี เลข 12
จงึ เป็นการหวนกลบั สสู่ ญั ลกั ษณ์แห่งความหวงั ดว้ ย กล่าวคอื ชนชาตอิ สิ ราเอลทงั้ หมดไดร้ บั การฟ้ืนฟู และทงั้ 12
ตระกลู กลบั มารวมกนั ใหม่

เลข 12 คอื จานวน 12 ตระกูล ในเวลาเดยี วกนั ก็เป็นตวั เลขเกยี่ วกบั โลกจกั รวาลทบี่ ่งถงึ ความสมบูรณ์
พรอ้ มของประชากรของพระเป็นเจา้ ทเี่ กดิ ขน้ึ ใหม่นนั้ ดว้ ย อคั รสาวก 12 คนเป็นเหมอื นบรรดาอยั กาของประชากร
ทงั้ โลกทมี่ รี ากฐานอยู่ทอี่ คั รสาวก ในภาพนิมติ กรุงเยรซู าเลม็ ใหม่ทพี่ บอย่ใู นหนังสอื ววิ รณ์ สญั ลกั ษณ์เลข 12 ถูก
แจกแจงรายละเอยี ดเป็นภาพแสงสวา่ งสุกใส (เทยี บ วว. 21: 9-14) ชว่ ยใหป้ ระชากรของพระเป็นเจา้ ทเี่ ดนิ ทางจารกิ อยู่
ไดเ้ ขา้ ใจถงึ สภาพปัจจุบนั ของตนภายใต้แสงสว่างแห่งอนาคต และช่วยส่องสว่างประชากรด้วยจติ ตารมณ์แห่ง
คามหวงั กล่าวคอื อดตี ปัจจบุ นั และอนาคตเขา้ มาผสมผสานกนั เมอื่ พจิ ารณาจากตวั เลขสญั ลกั ษณ์ 12 น้ี

นีย่ งั เป็นบรบิ ททถี่ ูกต้องด้วยสาหรบั คาทานายทพี่ ระเยซูเจา้ ทรงให้นาธานาเอลได้เหน็ แวบหนึง่ ถงึ พระ
ธรรมชาตแิ ทจ้ รงิ ของพระองค์ “ทา่ นจะเหน็ ทอ้ งฟ้าเปิดออก และจะเหน็ บรรดาทูตสวรรคข์ องพระเป็นเจา้ ขน้ึ ลงรบั
ใชบ้ ุตรแห่งมนุษย”์ (ยน. 1: 51) พระเยซูเจา้ ทรงเผยแสดงตวั พระองคเ์ อง ณ ทนี่ ้เี ป็นยาโคบใหม่ ท่านอยั กายาโคบฝัน
วา่ ท่านเหน็ บนั ไดอนั หนึง่ ทอดข้นึ ไปขา้ งศรี ษะของท่านจากพ้นื ดนิ ข้นึ ไปสทู่ อ้ งฟ้า และทตู สวรรคข์ องพระเจา้ เดนิ
ข้นึ ลงบนั ไดนนั้ ความฝันน้ีกลายมาเป็นความจรงิ เกยี่ วกบั พระเยซูเจา้ พระองคท์ รงเป็น “ประตูสวรรค”์ นัน้ (ปฐก.
28: 10-22) พระองคท์ รงเป็นยาโคบแท้ เป็น “บุตรแหง่ มนุษย”์ เป็นอยั กาของอสิ ราเอล

ขอ้ ความพระคมั ภรี จ์ ากนักบุญมาระโก พระเยซูเจา้ ทรงแต่งตงั้ อคั รสาวก 12 คน ดว้ ยหน้าทสี่ องประการ
คอื “ใหอ้ ย่กู บั พระองค์ และใหพ้ วกเขาออกไปเทศน์สอน” พวกเขาจะตอ้ งอย่กู บั พระองคเ์ พอื่ รจู้ กั พระองค์ เพอื่ จะ
ได้คุ้นเคยใกล้ชิดกับพระองค์ซึง่ ไม่อาจให้ “ผู้คน” ทีม่ องเห็นพระองค์จากภายนอกและถือว่าพระองค์เป็น
ประกาศกองคห์ นึง่ เป็นบุคคลสาคญั คนหนีง่ ในประวตั ศิ าสตรข์ องศาสนาต่างๆ แตไ่ ม่สามารถรบั รถู้ งี ความเป็นตวั
บุคคลของพระองคไ์ ด้ (เทยี บ มธ. 16: 13 ต่อเนือ่ ง) อคั รสาวก 12 คนต้องอย่กู บั พระองค์ ทงั้ น้ีเพอื่ จะสามารถรบั รไู้ ดถ้ งึ
ความเป็นหนึง่ เดยี วกนั ของพระองค์กบั พระบดิ า และสามารถเป็นสกั ขพี ยานถงึ พระธรรมล้าลกึ ของพระองค์ได้
ดงั ทนี่ ักบุญเปโตรกล่าวก่อนมกี ารเลอื กมทั ธอิ สั ว่า พวกเขาตอ้ งอย่ตู ลอดเวลาที่ “พระเยซูเจา้ องคพ์ ระผเู้ ป็นเจ้า
ทรงดารงชีวติ อยู่กบั เรา” (เทียบ กจ. 1: 18, 21) อาจมีบางคนบอกว่าพวกเขาจะต้องผ่านจากความสมั พนั ธ์แบบ
ภายนอกสกู่ ารสนิทสมั พนั ธแ์ บบภายในกบั พระเยซูเจา้ อย่างไรกต็ าม ในเวลาเดยี วกนั พวกเขาไดอ้ ย่ทู นี่ นั่ เพอื่ จะ
กลายเป็นทูตของพระเยซูเจา้ คอื เป็น “อคั รสาวก” ผูน้ าสารของพระองค์ไปสู่โลก แรกสุดไปส่แู กะทหี่ ายไปของ
เคหะแห่งอสิ ราเอล แต่หลงั จากนัน้ ไดไ้ ป “ส่สู ุดปลายพภิ พ” การอย่กู บั พระเยซูเจา้ และการถูกส่งไปโดยพระองค์
นนั้ ดเู หมอื นเป็นสงิ่ ทขี่ ดั แยง้ กนั อยู่ แต่โดยแทจ้ รงิ แลว้ เป็นเรอื่ งเดยี วกนั คอื บรรดาอคั รสาวกตอ้ งเรยี นรทู้ จี่ ะอย่กู บั
พระองค์ ในแบบทไี่ ดอ้ ย่แู ละมปี ระสบการณ์ในชวี ติ และพนั ธกจิ ทุกสงิ่ ทพี่ ระองคท์ รงกระทา แมเ้ มอื่ พวกเขาออก
ไปสสู่ ุดปลายแผน่ ดนิ โลก การอย่กู บั พระเยซูเจา้ จะเป็นพลงั บนั ดาลใจทงั้ ในชวี ติ ความเป็นอย่แู ละการสบื สานพระ
ประสงคแ์ ละพนั ธกจิ ดา้ นงานธรรมทตู จากแบบอย่างในชวี ติ ทงั้ ครบขององคพ์ ระเยซูเจา้ หรอื อย่างเป็นธรรมชาติ
ของงานในชวี ติ ของพระเยซูเจา้ ทงั้ ครบ ผทู้ รงเป็นทงั้ พระวาจาและพนั ธกจิ แห่งพระเมสสยิ าห์ พระผไู้ ถก่ มู้ นุษย์

ขอ้ ความพระคมั ภรี บ์ อกต่อไปวา่ “เพอื่ ใหพ้ วกเขาไปเทศน์สอน โดยใหม้ อี านาจขบั ไลป่ ีศาจดว้ ย” (มก. 3: 14-
15) นักบุญมทั ธวิ ใหค้ าอธบิ ายเป็นรายละเอยี ดมากข้นึ ในเรอื่ งเน้ือหาของพนั ธกจิ น้ีว่า “แลว้ พระองคท์ รงประทาน
อานาจใหเ้ ขาขบั ไล่ปีศาจ ใหร้ กั ษาโรคและความเจบ็ ไขท้ ุกชนิด” (มธ. 10: 1) ภารกจิ แรกคอื การเทศน์สอน กล่าวคอื
มอบแสงสว่างส่องโลก คอื สารของพระเยซูเจ้าแก่ผู้คนทงั้ หลาย พวกอคั รสาวกเป็นผู้ประกาศข่าวดีแรกสุด

252

กล่าวคอื พวกเขาทาเหมอื นพระเยซูเจา้ คอื ประกาศพระอาณาจกั รของพระเป็นเจา้ แลว้ รวบรวมผคู้ นทงั้ หลาย
เขา้ มาส่คู รอบครวั ใหม่ของพระเป็นเจา้ แต่การประกาศพระอาณาจกั รของพระเป็นเจา้ น้ีมใิ ช่เป็นเพยี งคาพดู มใิ ช่
เป็นเพยี งคาสงั่ สอน การประกาศพระอาณาจกั รของพระเป็นเจา้ เป็นเหตุการณ์เหมอื นเช่นทพี่ ระเยซูเจา้ เองทรง
อยู่ในเหตุการณ์นัน้ เป็นพระวาจาของพระเป็นเจา้ ทเี่ ป็นตวั บุคคล โดยการประกาศพระเยซูเจ้า พวกอคั รสาวก
ตอ้ งนาผฟู้ ังทงั้ หลายใหเ้ ขา้ มาพบปะกบั พระองค์ (อา้ งแลว้ โยเซฟ รตั ซงิ เกอร์ “พระเยซูเจา้ แหง่ นาซาเรธ็ ” หน้า 305-311)

มทั ธวิ 10:5ข – 42 วาทกรรมเกย่ี วกบั พนั ธกจิ (Missionary Discourse)
ภาพรวม

โครงร่างต่อไปน้ีสอดคล้องกบั เหตุการณ์ตอนทน่ี ักบุญมทั ธวิ รบั มาจากแหล่งขอ้ มลู ของท่านและสะทอ้ น
แนวโน้มของการใชโ้ ครงสรา้ งแบบโพงพาง (Chiastic structure) หน่วยแรกและหน่วยสุดท้ายเป็นการรวมเอา
เน้ือหาจากพระวรสารนักบุญมาระโกและเอกสารแหล่ง Q เขา้ ดว้ ยกนั โดยมหี น่วยตรงกลางสลบั ไปมาระหว่าง
พระวรสารนักบุญมาระโกกบั เอกสารแหล่ง Q หน่วยท่หี น่ึง สอง และสุดท้ายสรุปจบด้วยคากล่าวว่า “อาแมน”
ในช่วงกลางของเน้ือหาตอนน้ีเป็นการกระตุ้นใหก้ ล่าวคายอมรบั อย่างปราศจากความหวาดกลวั โดยนามาจาก
บรบิ ทอ่นื ในเอกสารแหล่ง Q และขนาบสองขา้ งดว้ ยคาทานายทเ่ี หมอื นเป็นลางรา้ ยสาหรบั การเป็นศษิ ย์ เน้ือหา
ตอนน้ีทงั้ หมดถูกลอ้ มดว้ ยวงเลบ็ ทเ่ี ป็นการยนื ยนั การดารงอย่ขู องพระครสิ ตแ์ ละพระฤทธานุภาภาพของพระองค์
วา่ ยงั คงดาเนนิ ต่อไปในพนั ธกจิ ของบรรดาศษิ ย์

A การมสี ว่ นรว่ มในฤทธานุภาพของพระครสิ ตแ์ ละการยอมรบั ของพระองค์ 10:5ข-15 (มก 6:7-11/Q. 10:2-12)
B ชะตากรรมของบรรดาสาวก 10:16-23 (มก. 13:9-13)
C กระแสเรยี กสกู่ ารประกาศยอมรบั พระครสิ ตอ์ ยา่ งกลา้ หาญ 10:24-33 (Q 6:40; 12:2-9)
B’ คุณคา่ ชวี ติ ทต่ี อ้ งแลกเปลย่ี น อุทศิ ตนสาหรบั การเป็นสาวก 10:34-39 (Q12:51-53; 14:25-27; 17:33)
A’ การมสี ว่ นรว่ มในการประทบั อยขู่ องพระครสิ ตแ์ ละการรบั พระองค์ 10:40-42 (มก 9:37, 41/Q 10:16)

มทั ธวิ 10: 5ข – 15, รว่ มแบง่ ปันพระราชอานาจของพระครสิ ต์

ทรงสงั่ เขาวา่ “อยา่ เดนิ ตามทางของคนตา่ งชาติ อยา่ เขา้ ไปในเมอื งของชาวสะมาเรยี 6 แตจ่ งไปหาแกะพลดั ฝงู ของวงศว์ าน
อสิ ราเอลก่อน 7 จงไปประกาศวา่ อาณาจกั รสวรรคใ์ กลเ้ ขา้ มาแลว้ 8 จงรกั ษาคนเจบ็ ไข้ จงปลกุ คนตายใหก้ ลบั คนื ชพี จงรกั ษาคน
โรคเรอ้ื นใหส้ ะอาด จงขบั ไลป่ ีศาจใหอ้ อกไป ทา่ นไดร้ บั มาโดยไมเ่ สยี คา่ ตอบแทนกจ็ งใหเ้ ขาโดยไมร่ บั คา่ ตอบแทนดว้ ย 9 อยา่ หา
เหรยี ญทอง เหรยี ญเงนิ หรอื เหรยี ญทองแดงใส่ในไถ้ 10 เมอ่ื เดนิ ทาง อยา่ มยี า่ ม อยา่ มเี สอ้ื สองตวั อยา่ สวมรองเทา้ อยา่ ถอื ไมเ้ ทา้
เพราะคนงานยอ่ มมสี ทิ ธไิ์ ดร้ บั อาหารอยแู่ ลว้
11 “เมอ่ื ทา่ นเขา้ ไปในเมอื งหรอื หมบู่ า้ น จงดวู า่ ผใู้ ดทน่ี นั่ เป็นผเู้ หมาะสมทจ่ี ะตอ้ นรบั ทา่ น แลว้ จงพกั อยกู่ บั เขาจนกวา่ ท่านจะจาก
ไป 12 เมอ่ื ท่านเขา้ ไปในบา้ นใดจงใหพ้ รแก่บา้ นนนั้ 13 ถา้ บา้ นนนั้ สมควรไดร้ บั พร จงใหส้ นั ตสิ ขุ ของทา่ นมาส่บู า้ นนนั้ ถา้ บา้ นนนั้
ไมส่ มควรไดร้ บั พร จงใหส้ นั ตสิ ขุ กลบั มาหาท่าน
14 “ถา้ ผใู้ ดไมต่ อ้ นรบั ทา่ น หรอื ไมฟ่ ังทา่ น จงออกจากบา้ นหรอื เมอื งนนั้ จงสลดั ฝ่นุ จากเทา้ ออกเสยี ดว้ ย 15 เราบอกความจรงิ แก่
ท่านทงั้ หลายวา่ ในวนั พพิ ากษา เมอื งโสดมและเมอื งโกโมราหจ์ ะรบั โทษเบากว่าโทษของเมอื งนนั้

253

ข้อศึกษาวิพากษ์

เน่ืองจากศษิ ยต์ ้องทาหน้าทต่ี ามอานาจท่พี ระครสิ ต์มอบหมาย (10:1) เน้ือหาตอนน้ีจงึ เรม่ิ ต้นดว้ ยการให้
บรรดาศษิ ย์ออกไปตามหาแกะพลดั หลงของอสิ ราเอลเช่นเดยี วกบั พระเยซูเจา้ (10:5ข-6) เพ่อื ประกาศข่าวดแี ห่ง
อาณาจกั รสวรรค์ (4:17; 10:7) รกั ษาโรค ขบั ไล่วญิ ญาณรา้ ย หรอื แมแ้ ต่ปลุกคนตายใหฟ้ ้ืนคนื ชพี ด้วยวธิ เี ดยี วกนั
(8:1-9:35; 10:8) พวกเขาตอ้ งใชช้ วี ติ แบบจารกิ เดนิ ทางและยากจนเชน่ เดยี วกนั (8:20; 10:10) และคาดหวงั เช่นเดยี วกนั
วา่ การตอบรบั จากผคู้ นจะมที งั้ ดแี ละรา้ ยปนกนั (7:28-29; 8:16; 9:8 ต่อ 8:34; 9:34; 10:11-15) รายการเหลา่ น้สี ะทอ้ นใหเ้ หน็
ถงึ งานของพระครสิ ตใ์ นบทท่ี 8-9 โดยเป็นการเตรยี มผอู้ า่ นสาหรบั 11:4-6

10:5ข-8 บรรดาศษิ ย์ถูกส่งไปทวั่ ทุกแห่งในอสิ ราเอล เน้นเฉพาะในอสิ ราเอลเท่านัน้ ตามประวตั ศิ าสตร์
แลว้ บรรดาศษิ ย์ลงั เลใจกบั การไปหาชาวต่างชาติ แมก้ ระทงั่ หลงั การกลบั คนื พระชนม์ชพี ดงั นัน้ จงึ ใชเ้ วลานาน
ทเี ดยี วกวา่ พระศาสนจกั รภายใตก้ ารนาของพระจติ เจา้ จะสรา้ งพนั ธกจิ เพอ่ื ชนต่างศาสนาและทาให้พระศาสนจกั ร
รวมเป็นหน่ึงเดยี วกนั (กจ. 1-15; กท. 1-2) ดงั นัน้ 10:5ข จงึ ไม่น่าจะเป็นบนั ทกึ เร่อื งเล่าในประวตั ศิ าสตร์ เพราะพระ
เยซูเจา้ ไมไ่ ดเ้ รม่ิ มอบหมายบรรดาศษิ ยท์ งั้ ในการประกาศสอนและรเิ รม่ิ พนั ธกจิ เพอ่ื ชนตา่ งศาสนา และพวกเขาไม่
น่าจะมแี นวโน้มทจ่ี ะทาเช่นนนั้ เน่ืองจากตามประวตั ศิ าสตร์ พนั ธกจิ ของพระเยซูเจา้ บนโลกน้ีทรงเน้นกระทาอยู่
ภายในอสิ ราเอล(แต่มชี นต่างชาตผิ อู้ าศยั อย่หู รอื เดนิ ทาง/คา้ ขายไปมาภายในอสิ ราเอล ไดฟ้ ังและรบั ขา่ วดดี ว้ ย) คากล่าวน้ีจงึ สะทอ้ นถงึ
ความยงุ่ ยากภายในของครสิ ตจกั รยคุ แรกในการเรม่ิ ตน้ พนั ธกจิ เพอ่ื ชนต่างศาสนา (แตเ่ กย่ี วขอ้ งกบั การประกาศขา่ วดแี กค่ น
ต่างศาสนา ต่างชาตใิ นเมอื งคารเ์ ปอรน์ าอุม แควน้ กาลลิ ี ดนิ แดนแหง่ ชนต่างชาต)ิ โดยมผี ใู้ ชน้ ามของพระเยซูเจา้ ต่อตา้ นเร่อื งน้ี (แต่ใน

ทน่ี ้ีอา้ งองิ ถงึ ชาวสะมาเรยี หรอื คนสะมาเรยี ในพระวรสารนกั บุญมทั ธวิ เท่านนั้ มุมมองทเ่ี ป็นการรวมทุกคนเขา้ ดว้ ยกนั แบบในพระวรสารนักบุญลกู า ไม่
ควรนามาใชก้ บั พระวรสารเลม่ น้)ี

การสง่ บรรดาศษิ ยไ์ ปเฉพาะภายในอสิ ราเอลสอดคลอ้ งกบั พนั ธกจิ ของพระเยซูเจา้ ในประวตั ศิ าสตร์ (เทยี บ
รม 15:8) และมคี วามสาคญั ต่อเร่อื งเล่าทม่ี คี วามเป็นครสิ ตศาสตรข์ องนกั บุญมทั ธวิ (15:24) หลงั จากการกลบั คนื พระ
ชนม์ชพี พนั ธกจิ อนั ยงิ่ ใหญ่ (the Great Commission) แห่งการประกาศข่าวดี ได้ยุติขอ้ จากดั น้ี โดยการขยาย
พนั ธกจิ ออกไปสู่นานาประเทศ (28:18-20) เน่ืองจากขอ้ หา้ มทพ่ี ระเยซูเจา้ สงั่ ไม่ใหข้ อ้ งเกย่ี วกบั ชนต่างศาสนาและ
ชาวสะมาเรยี ไม่มผี ลบงั คบั ใชก้ บั สถานการณ์หลงั การกลบั คนื พระชนมช์ พี ของศาสนจกั รสมยั นักบุญมทั ธวิ พวก
เขาอาจขา้ มสว่ นน้ีหรอื ประกาศวา่ เป็นคาสงั่ ทถ่ี ูกลม้ เลกิ ไปแลว้ แต่พวกเขายงั เกบ็ รกั ษาสาระเร่อื งน้ีไวเ้ พราะมผี ล
บงั คบั ใชใ้ นช่วงเวลาทพ่ี ระเยซูเจา้ ทรงพระชนมช์ พี อยู่ ในมุมมองของนักบุญมทั ธวิ พนั ธกจิ ท่บี รรดาศษิ ยม์ ตี ่อชน
ชาตอิ สิ ราเอลไม่ได้ถูกล้มเลกิ ด้วยคาสงั่ ท่สี องของพระเยซูเจ้าท่มี ผี ล “จนส้นิ สุดยุคน้ี” ราวกบั ว่าพระศาสนจกั ร
ไมไ่ ดม้ พี นั ธกจิ ต่อดนิ แดนและประชากรชาวอิสราเอลอกี ต่อไป พนั ธกจิ เดมิ ถูกนาไปรวมกบั คาสงั่ สดุ ทา้ ยของพระ
เยซูเจา้ ผทู้ รงกลบั คนื พระชนมช์ พี ในการใหบ้ รรดาศษิ ยเ์ ดนิ ทางไปประกาศขา่ วดี ดงั นนั้ จงึ ไมไ่ ดถ้ ูกลม้ เลกิ แตว่ ่า
ไดร้ บั การ “เตมิ ใหส้ มบูรณ์” แมว้ ่าคาสงั่ เฉพาะและขอ้ จากดั บางอย่างจะถูกเพกิ ถอนไปกต็ าม สง่ิ น้ีคลา้ ยคลงึ กบั
ความสมั พนั ธร์ ะหว่างธรรมบญั ญตั ใิ นหนังสอื ปัญจบรรพกบั คาบญั ชาของพระเยซูเจา้ ผทู้ รงกลบั คนื พระชนมช์ พี
ซง่ึ แสดงอยใู่ นคาเทศน์สอนบนภเู ขาดว้ ย (5:17-20)

10:9-10 ต้นกาเนิดท่เี ป็นรากฐานของชวี ติ จารกิ เดนิ ทางของพระเยซูเจ้าและมชิ ชนั นารชี าวคุมราน (Q
missioners) ซง่ึ น่าจะเป็นตน้ แบบทป่ี ฏบิ ต้ กิ นั ในครสิ ตจกั รสมยั นกั บุญมทั ธวิ (ดูบทนา) เป็นกจิ การทม่ี รี อ่ งรอยอยู่ใน
พระวรสารนกั บุญมทั ธวิ นกั บุญมาระโกไดป้ รบั เปลย่ี นความเคร่งครดั ของพระบญั ชานัน้ โดยอนุญาตใหศ้ ษิ ยแ์ ต่
ละคนนาไมเ้ ทา้ และรองเทา้ แตะไปได้ (มก. 6:8-11) สว่ นนกั บุญลูกามองว่าการหา้ มมที รพั ยส์ นิ ใดๆ เลยนนั้ เป็นคาสงั่

254

ชวั่ คราวท่มี ไี ว้สาหรบั ช่วงเวลาพิเศษท่ีพระเยซูเจ้าทรงทาพนั ธกิจบนโลกน้ีเท่านัน้ (ลก. 22:35-36) นักบุญมทั ธวิ
ยดึ ถอื ความเคร่งครดั แบบดงั้ เดมิ เอาไวเ้ พอ่ื เป็นพยานถงึ การเรยี กสคู่ วามเป็นศษิ ย์อยา่ งถงึ ทส่ี ดุ ในสงิ่ ซง่ึ พระเยซู
เจา้ เคยปฏบิ ตั ิ ศษิ ยร์ ุน่ แรกไดป้ ฏบิ ตั ติ าม และยงั คงปฏบิ ตั โิ ดยกลุ่มมชิ ชนั นารจี ารกิ เดนิ ทางทค่ี รสิ ตจกั รสง่ ออกไป
ประกาศขา่ วดใี นสมยั ของนักบุญมทั ธวิ เน่ืองจากสมาชกิ คนใดของครสิ ตจกั รทถ่ี ูกเรยี กใหเ้ ป็นมชิ ชนั นารเี ช่นนัน้
(ถา้ กจ. 13:13 เป็นตวั แทนของสงิ่ น้ี) คาสงั ่ ดงั กล่าวไม่ไดเ้ ป็นเพยี งคาถาทเ่ี สอ่ื มแลว้ ในอดตี หรอื เป็นอุดมคตทิ เ่ี ป็นไปไมไ่ ด้
ในสถานการณ์ของครสิ ตจกั รสมยั นกั บุญมทั ธวิ การหา้ มพกพาเงนิ ย่าม รองเทา้ แตะ และไมเ้ ทา้ ไม่ไดเ้ ป็นกลยทุ ธ์
(เดนิ ทางแบบตวั เบา) หรอื เป็นเคร่อื งบ่งช้กี ารกระทาแบบบาเพญ็ พรต สาหรบั พระเยซูเจา้ และศษิ ยข์ องพระองค์ การ
เดนิ ทางเพ่อื กระทาพนั ธกจิ โดยไม่มแี มแ้ ต่เคร่อื งยงั ชพี พน้ื ฐานเพ่อื ประทงั ตวั หรอื ป้องกนั ตวั คอื สญั ลกั ษณ์ของ
ประกาศก และเป็นการกระทาภารกจิ อนั สบื เน่ืองจากพระอาณาจกั รของพระเป็นเจา้ คลา้ ยกบั การกระทาทเ่ี ป็น
สญั ลกั ษณ์ของบรรดาประกาศกอน่ื ๆ ในพระคมั ภรี ์ (อสย. 20:2, 4; ยรม. 13:1-11; 19:1-13; 27:1-28:14; อสค. 4; 5; 12; ฮซย. 1; 3)

ในจุดหน่ึง นักบุญมทั ธวิ เพม่ิ ความเคร่งครดั ของคาทานายตามธรรมประเพณี โดยเปลย่ี นขอ้ ความท่วี ่า
“คนงานย่อมสมควรไดร้ บั ค่าจา้ ง” ในเอกสารแหล่ง Q เป็น “คนงานย่อมสมควรไดร้ บั อาหารของเขา” (ดู เทยี บ ลก.
10:7) นกั บุญมทั ธวิ ต่อตา้ นการพฒั นาสถานะและตาแหน่งของรบั บี (ดู เทยี บ 23:5-12) ดงั นนั้ ท่านจงึ ต่อตา้ นมชิ ชนั นารี
ทร่ี บั เงนิ ค่าจา้ งในการทางานดว้ ย เพราะพวกเขาควรจะพอใจกบั อาหารเพ่อื การอย่รู อดในแต่ละวนั สงิ่ น้ีอาจเป็น
ตวั แทนของการท่ที ่านโตแ้ ยง้ คดั คา้ นแนวทางทพ่ี ฒั นาไปส่กู ารทส่ี งฆน์ กั บวชรบั เงนิ ค่าจา้ ง และสอดคลอ้ งกบั การ
หา้ มเดนิ ทางโดยมเี งนิ ตดิ ตวั ทก่ี ล่าวไวแ้ ตเ่ รมิ่ แรก (ว. 9 ดู เทยี บ 1คร. 9:3-12)

10:11-15 คาสงั่ เหล่าน้ีเป็นการรวมเอาปรชี าญาณเชงิ ปฏบิ ตั สิ าหรบั มชิ ชนั นารที ่เี ดนิ ทาง ซ่งึ ต้องพง่ึ พา
อาศยั การดแู ลตอ้ นรบั ของชาวครสิ ต์ทงั้ หลาย และเป็นคาเตอื นทางออ้ มใหช้ าวครสิ ต์ในชุมชนของนกั บุญมทั ธวิ ท่ี
มบี า้ นเรอื นตอ้ นรบั มชิ ชนั นารที เ่ี ดนิ ทางเหล่าน้ี การดูแลตอ้ นรบั แขกเป็นหน้าทอ่ี นั ศกั ดสิ ์ ทิ ธขิ ์ องสงั คมเมดเิ ตอรเ์ ร
เนียนโบราณ และไดร้ บั การเน้นย้าอย่างมากในพระคมั ภรี ์ (ปฐก.18:1-8; 19:1-11; 24:14-61; วนฉ. 19:10-25; ดูเทยี บ ฮบ. 13:2)
ซ่งึ เป็นคาสอนในกรอบแนวคดิ เร่อื งอนั ตกาล (Eschatological Framework) เป็นการสรุปจบสาระตอนน้ีด้วยคา
พยากรณ์อยา่ งสง่า (“อาเมน”<amen> เทยี บ ขอ้ ศกึ ษาวพิ ากษ์ 5:18) เกย่ี วกบั การพพิ ากษาแห่งอวสานตกาล หนงั สอื ดดี าเช
11-13 ไดอ้ ธบิ ายความสาคญั ของการดแู ลตอ้ นรบั แขกและอนั ตรายของการละเมดิ เร่อื งน้ีในชุมชนชาวครสิ ต์สมยั
ตน้ ๆ และเมอื งโสโดมไดถ้ ูกยกขน้ึ มาอา้ งอกี ครงั้ เพอ่ื เป็นตวั อยา่ งเปรยี บเทยี บในทางลบใน 11:23-24

ชาวยวิ จากปาเลสไตน์ทก่ี ลบั คนื สดู่ นิ แดนศกั ดสิ ์ ทิ ธมิ ์ ธี รรมเนียมของการสะบดั ฝ่นุ ผงทต่ี ดิ มาจากประเทศ
ของคนต่างศาสนาออกจากตวั เองก่อนทจ่ี ะเขา้ ส่ดู นิ แดนอนั ศกั ดสิ ์ ทิ ธนิ ์ ัน้ ใน ว. 13-14 และใน 3:7-10 กบั 10:16
อสิ ราเอลสนั นิษฐานว่าสถานทแ่ี ห่งนัน้ ถูกครอบครองโดยประเทศของคนต่างศาสนา ทาใหบ้ รรดาศษิ ย์ของพระ
เยซูเจา้ ไดร้ บั การแต่งตงั้ ใหเ้ ป็นเหมอื นประกาศก ซง่ึ ไม่เพยี งแต่ป่าวประกาศถงึ การพพิ ากษาในวนั สน้ิ โลกเท่านนั้
แต่ยงั คาดหวงั รอคอยเหตุการณ์ดงั กล่าวโดยแสดงออกทางคาพดู ทเ่ี ป็นทางการและการกระทาทเ่ี ป็นสญั ลกั ษณ์
มฉิ ะนัน้ ความพยายามของบรรดาศิษย์ในการดาเนินชวี ติ เคร่งครดั ตามคาพูดสอนเหล่าน้ีก็เส่ยี งต่อการสรา้ ง
ความชอบธรรมใหต้ นเองและปราศจากความรกั

255

มทั ธวิ 10:16-23 ชะตาของบรรดาศษิ ย์

16 จงฟังเถดิ เราส่งทา่ นไปเหมอื นแกะในฝงู สนุ ัขป่า ทา่ นจงฉลาดประดจุ งแู ละซอ่ื ประดจุ นกพริ าบ
ธรรมทูตจะถกู เบยี ดเบียน
17 “จงระมดั ระวงั ตนจากมนุษย์ เขาจะมอบทา่ นทศ่ี าล และเฆย่ี นท่านในศาลาธรรมของเขา 18 ทา่ นจะถกู นาตวั ไปต่อหน้า
ผวู้ า่ ราชการและเฉพาะพระพกั ตรก์ ษตั รยิ เ์ พราะเราเป็นเหตุ เพอ่ื เป็นพยานยนื ยนั แก่เขาและแก่บรรดาชนต่างชาตติ า่ งศาสนา 19
เมอ่ื เขาจะมอบท่านทศ่ี าลนนั้ อยา่ วติ กกงั วลวา่ จะพดู อยา่ งไรหรอื พดู อะไร สง่ิ ทท่ี า่ นจะพดู นนั้ จะไดร้ บั การดลใจในเวลานนั้ เอง 20
เพราะท่านจะมไิ ดพ้ ดู ดว้ ยตนเอง แตพ่ ระจติ ของพระบดิ าของทา่ นจะตรสั ในทา่ น
21 “พจ่ี ะฟ้องน้อง น้องจะฟ้องพใ่ี หต้ อ้ งโทษถงึ ตาย พอ่ จะฟ้องลกู ลกู จะลุกขน้ึ กลา่ วโทษพอ่ แมใ่ หถ้ งึ ตาย
22 “คนทงั้ ปวงจะเกลยี ดชงั ท่านเพราะนามของเรา แตผ่ ทู้ ย่ี นื หยดั จนถงึ วาระสุดทา้ ยกจ็ ะรอดพน้ 23 เมอ่ื เขาจะเบยี ดเบยี น
ท่านในเมอื งหน่ึง จงหลบหนไี ปอกี เมอื งหน่ึง เราบอกความจรงิ แก่ท่านทงั้ หลายวา่ กอ่ นทท่ี า่ นจะไปทวั่ ทกุ หวั เมอื งของอสิ ราเอล
บุตรแหง่ มนุษยก์ จ็ ะเสดจ็ กลบั มาแลว้ ”

ข้อศึกษาวิพากษ์
ตอนน้เี รม่ิ ตน้ ดว้ ย “หวั เรอ่ื ง” ทด่ี ดั แปลงมาจากเอกสารแหลง่ Q (มธ. 10:16 = Q 10:3) และตามดว้ ยคากล่าวท่ี

ยกมาจากพระวรสารนกั บุญมาระโกแบบคาต่อคา (ดู ว. 23) ตอนตน้ และตอนจบของสาระสว่ นน้ีสอดคลอ้ งกบั หน่วย
ทแ่ี ลว้ คอื เรมิ่ ตน้ ดว้ ยการเปรยี บเทยี บประชากรของพระเป็นเจา้ เป็น “แกะ” (10:5, 16) และสรุปดว้ ยคากล่าวอย่าง
สงา่ Amen ทเ่ี ป็นการพยากรณ์ถงึ อวสานตกาล (10:13, 23)

10:16 เหมอื นในเอกสารแหล่ง Q มชิ ชนั นารชี าวครสิ ต์ถูกเปรยี บเทยี บว่าเป็นแกะ และเป็นกลุ่มร่วม
สมาชกิ เดยี วกบั “แกะหลง” ของอสิ ราเอล แต่ผนู้ าของอาณาจกั รอสิ ราเอล คอื กลุ่มผนู้ าชาวยวิ ทไ่ี ม่ไดเ้ ช่อื ในพระ
ครสิ ตแ์ ละถูกกล่าวหาว่าเป็นผเู้ บยี ดเบยี นชุมชนชาวครสิ ต์ เป็นเหมอื นสนุ ขั ป่าอนั ตราย ซง่ึ เป็นฝ่ายตรงขา้ มอยา่ ง
ชดั เจนกบั ธรรมประเพณีการเปรยี บเทยี บว่าชนชาตอิ สิ ราเอลในหม่ชู นต่างชาตเิ ป็นเหมอื นแกะทอ่ี ยใู่ นฝงู สุนัขป่า
(1เอโนค 89:55; 4 อสร. 5:18) ใน ว. 16ข นักบุญมทั ธวิ ปรบั เป็นรูปแบบของคากล่าวเชงิ สุภาษิต (ดู เทยี บ รม. 16:19; Midr.
Cant 2:4) สาหรบั ท่าน ประเดน็ สาคญั คอื การรูจ้ กั แยกแยะผดิ ชอบและความมใี จมุ่งมนั ่ ของบรรดาศษิ ย์ (ในฉบบั NIV

และ NRSV ใชว้ า่ “ไรเ้ ดยี งสา”<Innocent>)

คาสงั่ เก่ยี วกบั พนั ธกจิ ใน มก. 6:7-13 ไม่ได้บอกเป็นนัยไวเ้ ลยว่าผูท้ าพนั ธกจิ นัน้ จะต้องถูกเบยี ดเบยี น
และถูกปฏเิ สธ ดงั นัน้ นักบุญมทั ธวิ จงึ นาบางตอนของวาทกรรมพยากรณ์ใน มก. 13 (มธ. 10:17-25 = มก. 13:9-13) ใส่
เขา้ มาเพ่อื ใหเ้ ป็นตวั แทนของประสบการณ์ของมชิ ชนั นารสี มยั หลงั การกลบั คนื พระชนมช์ พี สงิ่ สาคญั อย่างยงิ่ ใน
การตคี วามพระวรสารนักบุญมทั ธวิ คอื ต้องจาไวว้ ่าเน้ือหาท่เี หลอื ของตอนน้ีมาจากวาทกรรมเก่ยี วกบั อวสาน
ตกาล ใน มก. 13 ซง่ึ แสดงใหเ้ หน็ วา่ พระเยซูเจา้ ทรงมองไกลไปจนถงึ เหตุการณ์หลงั การกลบั คนื พระชนมช์ พี ของ
พระองคแ์ ละเหตุการณ์แห่งอวสานตกาล การนาคาพดู เหล่าน้ีใสเ่ ขา้ มาในวาทกรรมพนั ธกจิ ของศษิ ยซ์ ่งึ เป็นส่วน
ต้นๆ ของโครงเร่อื งเล่าและนามาประยุกต์กบั พนั ธกิจของบรรดาศษิ ย์สมยั ก่อนการฟ้ืนคนื พระชนม์ชพี ท่าน
นกั บญุ มทั ธวิ ไดก้ ระทาสามสง่ิ น้ี คอื

(1) ท่านทาลายความแตกต่างดา้ นเวลาของเร่อื งราวในอดตี เกย่ี วกบั พระเยซูเจา้ ณ ทน่ี นั้ -กบั -ทน่ี ่ี ก่อนการ
กลบั คนื พระชนมช์ พี และเร่อื งราวทก่ี าลงั เกดิ ขน้ึ ในปัจจุบนั ณ บดั น้ี-กบั -ตอนนัน้ ของผอู้ ่านพระวรสาร
ของทา่ นในสมยั หลงั การกลบั คนื พระชมน์ชพี

256

(2) ทา่ นเน้นความสาคญั ของขอ้ เทจ็ จรงิ ทว่ี า่ พนั ธกจิ ของพระศาสนจกั รทม่ี ตี ่อชนชาตทิ งั้ หลายไม่ใชแ่ ผนการ
ทางโลกทม่ี อี ย่ใู นประวตั ศิ าสตร์ รเิ รม่ิ และดาเนินการโดยผคู้ นทต่ี อ้ งการยดั เยยี ดมมุ มองทางศาสนาของ
ตนใหผ้ อู้ ่นื แต่เป็นสว่ นหน่ึงของแผนการแห่งอนั ตกาลของพระเป็นเจา้ ในการรวบรวมชนทุกชาตใิ หเ้ ขา้
มาอย่ใู นพระอาณาจกั รของพระองค์ (อสย. 2:4-2) ดงั นนั้ ปัญหาและการเบยี ดเบยี นต่างๆ ทพ่ี ระศาสนจกั ร
ตอ้ งเผชญิ จงึ เป็นสว่ นหน่งึ ของความทกุ ขท์ น่ี าไปสกู่ ารมาถงึ ของพระอาณาจกั รพระเป็นเจา้ ซง่ึ ในทน่ี ้ี ได้
แสดงภาพเป็นการเสดจ็ มาของบุตรแห่งมนุษย์ (10:23) พระศาสนจกั รไม่ประหลาดใจทต่ี อ้ งเผชญิ กบั การ
ประจญทดลองอย่างหนัก เพราะความทุกขท์ รมานนนั้ ไม่ใช่สงิ่ ทเ่ี กดิ ขน้ึ โดยบงั เอญิ ในพนั ธกจิ แต่พนั ธ
กจิ นนั้ เองทจ่ี ะนาความลาบากยากแคน้ มาให้ (เทยี บ 1ปต. 4:12)

(3) นกั บุญมทั ธวิ ทาใหพ้ นั ธกจิ ทงั้ หมดอย่ใู นมุมมองเรอ่ื งสญั ลกั ษณ์เกย่ี วกบั พระอาณาจกั รของพระเป็นเจา้
(ดู “ต่อหน้าผปู้ กครองและกษตั รยิ ท์ งั้ หลาย” ว. 19-20) ซ่งึ ไดเ้ รม่ิ นาใหท้ ราบแลว้ จากขอ้ ความทว่ี ่า “พระอาณาจกั ร
ของพระเป็นเจา้ อยใู่ กลแ้ ลว้ ” ใน 10:7
10:17 การโบยตที ก่ี ล่าวถงึ ในทน่ี ้ีไม่ใช่ความรุนแรงของฝงู ชนทเ่ี กดิ ขน้ึ เป็นครงั้ คราว แต่เป็นการลงโทษ

อยา่ งเป็นทางการแกผ่ ทู้ ท่ี าผดิ ฐานดหู มน่ิ พระเป็นเจา้ หรอื ลว่ งละเมดิ ธรรมบญั ญตั อิ ย่างรา้ ยแรง (เทยี บ ฉธบ. 25:1-3 ซง่ึ

ขยายความเพม่ิ เติมภายหลงั ในหนังสอื มชิ นาห์เก่ยี วกบั การลงโทษผูท้ ่ถี อื นอกรตี ผูท้ ่ดี ูหมนิ่ พระเป็นเจ้า และผู้ทร่ี บกวนความสงบสุขอย่างด้อื ดา้ น)

เห็นได้ชดั ว่าครสิ ตจกั รของนักบุญมทั ธวิ คงมคี วามสมั พนั ธ์บางส่วนกบั ศาลาธรรม ซ่งึ ทาให้มชิ ชนั นารชี าวยวิ -
ครสิ ต์ต้องถอื ปฏบิ ตั ติ ามกฎวนิ ัยตามนัน้ ด้วย (เช่นเดยี วกบั นักบุญเปาโล ใน 2 คร: 11:24-25) แต่ตอนน้ีศาลาธรรม ซ่งึ เคย
เป็นบา้ นแหง่ ความเชอ่ื ศรทั ธาของบรรพบุรุษและชุมชนของนกั บุญมทั ธวิ กลายเป็นศาลาธรรม “ของพวกเขา” ไป
เสยี แลว้

ชะตาของบรรดาศษิ ยน์ นั้ สอดคลอ้ งกบั ของผเู้ ป็นอาจารย์ คาสาคญั กค็ อื “การสง่ มอบ” (Hand Over) ซง่ึ มี
ความหมายโดยนัยเป็นเชงิ ครสิ ตศาสตร์ท่สี าคญั ในพระคมั ภีร์ฉบบั เจด็ สบิ อสย 53:6 พระเป็นเจ้าได้ส่งมอบ
ประกาศกผรู้ บั ใชข้ องพระองค์มาเพราะบาปของเรา ทา้ ยทส่ี ุดแลว้ เน้ือหาน้ีอาจเป็นทม่ี าของการใชค้ าดงั กล่าวใน
หม่ชู าวครสิ ต์ยุคเรม่ิ แรกเพ่อื ส่อื ถงึ พระมหาทรมานของพระเยซูเจา้ พระเป็นเจา้ เป็นผกู้ ระทาคอื ส่งมอบพระเยซู
เจา้ ใหร้ บั ความตายเพ่อื การช่วยไถ่กู้มนุษย์ใหร้ อดพน้ เป็นการทนทุกขท์ รมานแทนผอู้ ่นื ซง่ึ พระเยซูเจา้ ทรงเตม็
พระทยั ยอมรบั สาหรบั นกั บุญมทั ธวิ และนกั บญุ มาระโก นกั บญุ ยอหน์ ผทู้ าพธิ ลี า้ ง กอ็ ยใู่ นธรรมประเพณนี ้เี ชน่ กนั
(มก. 1:14 สะทอ้ นใน มธ. 4:12) พระเยซูเจา้ ในพระวรสารนักบุญมทั ธวิ ใชค้ าน้ีบ่อยครงั้ แต่ความหมายยงั ไม่ชดั แจง้ ทจ่ี ะ
สอ่ื ถงึ พระมหาทรมานของพระองค์ (17:22; 20:18-19; 26:2) ทาใหเ้ กดิ ความไม่ชดั เจนวา่ การกระทานนั้ เป็นของพระเจา้
(“ทรงถูกมอบถวายเพ่อื ความรอดของเรา”) หรอื ของมนุษย์ (“ทรยศ” “ส่งมอบ”) บรรดาศษิ ย์อยู่ในธรรมประเพณีน้ีเช่นกนั และ
พวกเขาจะถูก “นามอบ” (Deliver Up) หรอื “ส่งมอบ” (Hand Over) พวกเขาจะต้องรบั ทนทุกขเ์ พ่อื พนั ธกจิ ของ
พระเป็นเจา้ ในโลกน้ี

10:18 ก่อนการกลบั คนื พระชนมช์ พี บรรดาศษิ ย์ของพระเยซูเจา้ ไม่ไดท้ าพนั ธกจิ ประกาศข่าวดเี พ่อื ชน
ต่างศาสนา และไม่ได้ทนทุกขเ์ พ่อื พระนามของพระเยซูเจ้า พวกเขาไม่ได้ยนื อยู่ต่อหน้าผู้ปกครองและบรรดา
กษตั รยิ ์ บทวาทกรรมถูกปรบั กลบั ใหเ้ ป็นถ้อยคาทพ่ี ระเยซูเจา้ ตรสั กบั บรรดาศษิ ย์ชาวครสิ ต์ในสมยั ของนักบุญ
มทั ธวิ พนั ธกิจท่ีไม่ประสบความสาเรจ็ ในอิสราเอลเป็นเพยี งอดตี ไปแล้วสาหรบั ครสิ ตจกั รสมยั นักบุญมทั ธวิ
เพราะปัจจุบนั พวกเขากระทาพนั ธกจิ สาหรบั นานาชาติ (28:18-20) นักบุญมทั ธวิ ใสใ่ จทจ่ี ะเน้นย้าว่าการพลกิ ผนั ไป
หาชนต่างศาสนาน้ีไม่ได้กระทาเพราะว่าภารกจิ น้ีเป็นงานท่งี ่ายกว่า ผู้คนยอมรบั มากกว่า มชิ ชนั นารใี นสมยั

257

แรกเรมิ่ นนั้ ไม่เพยี งแต่ถูกนามาไต่สวนต่อหน้า “สภา” (Councils) (หมายถงึ ศาลทอ้ งถน่ิ ของชาวยวิ และมกี ารใชค้ าน้ีสอ่ื ถงึ คณะ
ตุลาการของชนต่างศาสนาดว้ ย) ทซ่ี ง่ึ ชนต่างศาสนาไดเ้ บยี ดเบยี นชาวครสิ ตท์ ม่ี ใี จศรทั ธาจนถงึ ขนั้ พาตวั ไปใหผ้ ปู้ กครอง
หรอื กษตั รยิ ไ์ ต่สวน

10:19-20 มกี ารกล่าวถ้อยคาเพ่อื เป็นกาลงั ใจใหก้ บั ชาวครสิ ต์ทถ่ี ูกทดลอง พวกเขาไม่จาเป็นต้องพง่ึ พา
สงิ่ ทต่ี นเองมอี ยู่ แต่จะไดร้ บั การดลใจจากพระจติ เจา้ (“พระจติ ของพระบดิ า” ซ่งึ เป็นคาทม่ี เี ฉพาะในพระวรสารนักบุญมทั ธวิ เท่านัน้ )
ใหก้ ล่าวคาพดู เพ่อื เป็นพยาน พระจติ เจา้ คอื ของประทานแห่งอนั ตกาล (ดู 3:11) “จงอย่าวติ กกงั วลเลย” ซง่ึ เป็นการ
เตอื นใจผอู้ า่ นใหน้ กึ ถงึ ขอ้ ความ 6:25 ทม่ี กี ารใชค้ าพดู เดยี วกนั น้ี สงิ่ ทเ่ี ป็นรากฐานของกาลงั ใจในสว่ นนนั้ คอื พระ
เป็นเจ้า ผูส้ รา้ งผู้ทรงดูแลสรรพสงิ่ ของพระองค์ ในท่นี ้ีศาสตร์เก่ยี วกบั อวสานตกาลคอื พ้นื ฐานของกาลงั ใจ ใน
มุมมองของนกั บุญมทั ธวิ ทงั้ สองอยา่ งคอื แงม่ มุ ของพระเป็นเจา้ องคเ์ ดยี วกนั เหมอื นกบั แนวคดิ ของนกั บุญยอหน์
ทว่ี า่ พระจติ เจา้ คอื ผใู้ หค้ าปรกึ ษา (Paraclete) ซง่ึ เป็นคาทม่ี นี ้าเสยี งทใ่ี ชใ้ นศาล พระจติ เจา้ คอื ผชู้ ว่ ยของศษิ ยเ์ วลา
อย่ใู นศาล ดงั นนั้ โรงศาลจงึ ไม่ไดเ้ ป็นแค่สง่ิ ทค่ี ุกคาม แต่ยงั เป็นโอกาสในการทาพนั ธกจิ อกี ดว้ ย (“เพ่อื เป็นพยานใหก้ บั
พวกเขา” ว. 18ข) น่ีคอื สง่ิ อา้ งองิ เพยี งสง่ิ เดยี วในพระวรสารนกั บุญมทั ธวิ ทย่ี นื ยนั ว่าศษิ ยข์ องพระเยซูเจา้ มพี ระจติ เจา้
(แต่ เทยี บ 3:11; 28:19) แทนทจ่ี ะมองวา่ พระจติ เจา้ คอื การประทบั อย่แู ละความช่วยเหลอื ของพระเป็นเจา้ เพราะมกี าร
มอบพระจติ เจา้ ใหก้ บั บรรดาศษิ ยใ์ นช่วงเวลาระหว่างการกลบั คนื พระชนมช์ พี กบั วนั แห่งการเสดจ็ กลบั มาอกี ครงั้
หน่ึง (เช่น ในพระวรสารนกั บุญลูกาและพระวรสารนักบุญยอหน์ ) นกั บุญมทั ธวิ คดิ ถงึ การประทบั อยขู่ องพระเยซคู รสิ ต์ (ดู ขอ้ ศกึ ษา

วพิ ากษ์ 1:23 “พระเยซูในฐานะการประทบั อยอู่ ยา่ งตอ่ เน่อื งของพระเป็นเจา้ ”)

10:21-22 ศาสนายูดายบางสาขา ตีความข้อความในพันธสญั ญาเดิม มคา. 7:6 หมายถึงความน่า
สะพรงึ กลวั ของอวสานตกาล (1เอโนค 100:2) กลุ่มท่เี ช่อื แนวคดิ เก่ยี วกบั คาพยากรณ์ (Apocalyptic Thought) จะ
เข้าใจได้ทันทีว่าส่ิงน้ีจะเกิดข้ึนก่อนวาระสุดท้ายและเป็นสญั ญาณว่าจุดจบใกล้เข้ามาแล้ว โครงสร้างตาม
ธรรมชาตขิ องโลกจะต้องล่มสลาย แม้กระทงั่ ความจงรกั ภกั ดที ่หี ยงั่ รากลกึ ในครอบครวั จะสลายไปภายใต้แรง
กดดนั ของอวสานตกาลทก่ี าลงั จะมาถงึ นักบุญมทั ธวิ สะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ ความแตกแยกทจ่ี ะเกดิ ภายในครอบครวั
เน่ืองจากการอุทศิ ตนของชาวครสิ ต์ และตคี วามตามพระวรสารนักบุญมาระโกว่าสง่ิ เหล่าน้ีเป็นการทดสอบสุด
ทรหดในอวสานตกาลท่จี ะมาพรอ้ มกบั พนั ธกจิ ของครสิ ตจกั ร คาสญั ญาท่ใี หก้ บั ผูท้ ่ีสูอ้ ดทนจนถงึ ท่สี ุดเป็นคาท่ี
พยากรณ์ไวอ้ ย่างละเอยี ดเช่นกนั โดยไม่ไดส้ ่อื ถงึ จุดจบของชวี ติ หรอื จุดจบของการเบยี ดเบยี นจากโลกทเ่ี กดิ ขน้ึ
ชวั่ คราวน้ี แต่เป็นจุดสน้ิ สดุ ทแ่ี ทจ้ รงิ คอื คอื วนั ทพ่ี ระครสิ ตเจา้ เสดจ็ กลบั มาอกี ครงั้ หน่ึง (ว. 23) ในบทวาทกรรมสว่ น
น้ี บรรดาศิษย์ในครสิ ตจกั รของนักบุญมทั ธวิ ได้ยนิ พระเป็นเจ้าได้ทรงมอบหมายพนั ธกิจให้กบั พวกเขา โดย
สบื เน่ืองมาตงั้ แต่สมยั ท่พี ระเยซูเจา้ ยงั ทรงพระชนมช์ พี อย่บู นโลกไปจนถงึ “กาลอวสานของยุค” (28:20) พนั ธกจิ
ภายหลงั การกลบั คืนพระชนม์ชีพแผ่ขยายออกไป จากท่ีเคยมุ่งเน้นเฉพาะเจาะจงอยู่เพียงแค่อิสราเอล ได้
กลายเป็นแผข่ ยายออกไปถงึ ชนทุกชาตดิ ว้ ย

10:23 รูปแบบดงั้ เดมิ ของคากล่าวน้ี ซง่ึ พบเฉพาะในพระวรสารน้ี อาจเป็นพระดารสั ของพระเยซูเจา้ ใน
ประวตั ศิ าสตรจ์ รงิ ๆ และพระองคท์ รงคาดหวงั ว่าภาวะอนั ตกาลจะมาถงึ ก่อนทบ่ี รรดาศษิ ยจ์ ะกลบั มาจากการทา
พนั ธกจิ เสรจ็ สน้ิ แต่เป็นไปไดม้ ากกว่าว่าคากล่าวน้ีอาจเป็นคาพดู ของประกาศกชาวครสิ ต์ในยคุ แรกเรมิ่ ทใ่ี หแ้ นว
ปฏบิ ตั ไิ วส้ าหรบั มชิ ชนั นารที ถ่ี ูกขม่ ขู่ การยนื ยนั วา่ จุดจบของโลกนนั้ อยใู่ กลแ้ ลว้ (ซง่ึ เป็นความผดิ พลาดดา้ นลาดบั เวลา ดูขอ้
ศึกษาวพิ ากษ์ 25:46) ไม่ใช่ปัญหาแนวคิดท่ีต้องแก้ไขหรอื หลีกเล่ียงสาหรบั นักบุญมทั ธิวและชุมชนผู้ท่ีเช่ือในคา
พยากรณ์ แต่เป็นวธิ กี ารใหก้ าลงั ใจผทู้ ป่ี ฏบิ ตั พิ นั ธกจิ เพราะนกั บุญมทั ธวิ และผอู้ ่านของท่านทราบอย่แู ลว้ ว่าบุตร

258

แห่งมนุษยไ์ ม่ไดเ้ สดจ็ มาในช่วงเวลาทพ่ี ระเยซูเจา้ ยงั ทรงอยู่ในโลก คาสงั่ เหล่าน้ีอาจเป็นสง่ิ ทพ่ี ดู กนั ในครสิ ตจกั ร
เพราะสามารถนาไปปฏบิ ตั ไิ ดใ้ นการดาเนินพนั ธกจิ ต่อเน่ืองกบั ชาวอสิ ราเอล ซง่ึ เป็นส่วนหน่ึงของพนั ธกจิ ทม่ี ตี ่อ
ชนชาตทิ งั้ หลายในโลก (28:18-20)

มทั ธวิ 10:24-33 กระแสเรยี กใหก้ ลา่ วยอมรบั ความเชอ่ื อยา่ งกลา้ หาญ

24 “ศษิ ยย์ อ่ มไมอ่ ยเู่ หนืออาจารย์ และผรู้ บั ใชย้ ่อมไมอ่ ยเู่ หนือนาย 25 ถา้ ศษิ ยเ์ ทา่ เทยี มกบั อาจารย์ และผรู้ บั ใชเ้ ท่าเทยี มกบั
นาย กเ็ ป็นการเพยี งพอแลว้ ถา้ เขาเรยี กเจา้ บา้ นวา่ ‘เบเอลเซบลู ’ เขาจะเรยี กลกู บา้ นรา้ ยกวา่ นนั้ สกั เทา่ ใด”

ธรรมทูตต้องไม่เกรงกลวั ที่จะพดู
26 “อยา่ กลวั มนุษยเ์ ลย ไมม่ สี งิ่ ใดทป่ี ิดบงั ไว้ จะไมถ่ กู เปิดเผย ไมม่ สี ง่ิ ใดทซ่ี อ่ นเรน้ จะไมม่ ใี ครรู้ 27 สงิ่ ทเ่ี ราบอกท่านในทม่ี ดื
ทา่ นจงกล่าวออกมาในทส่ี ว่าง สง่ิ ทท่ี ่านไดย้ นิ กระซบิ ทห่ี ู จงประกาศบนดาดฟ้าหลงั คาเรอื น”
28 “อยา่ กลวั ผทู้ ฆ่ี า่ ไดแ้ ต่กาย แตไ่ มอ่ าจฆา่ วญิ ญาณได้ จงกลวั ผทู้ ท่ี าลายทงั้ กายและวญิ ญาณใหพ้ นิ าศไปในนรก 29
นกกระจอกสองตวั เขาขายกนั เพยี งหน่ึงบาทมใิ ชห่ รอื ถงึ กระนนั้ กไ็ มม่ นี กสกั ตวั เดยี วทต่ี กถงึ พน้ื ดนิ โดยทพ่ี ระบดิ าของทา่ นไม่
ทรงเหน็ ชอบ 30 ผมทกุ เสน้ บนศรี ษะของทา่ นถูกนบั ไวห้ มดแลว้ 31 เพราะฉะนนั้ อยา่ กลวั เลย ทา่ นมคี า่ มากกวา่ นกกระจอก
จานวนมาก”
32 “ทุกคนทย่ี อมรบั เราต่อหน้ามนุษย์ เราจะยอมรบั ผนู้ นั้ เฉพาะพระพกั ตรพ์ ระบดิ าของเราผสู้ ถติ ในสวรรค์ 33 และผทู้ ไ่ี ม่
ยอมรบั เราต่อหน้ามนุษย์ เรากจ็ ะไมร่ บั ผนู้ นั้ เฉพาะพระพกั ตรพ์ ระบดิ าของเรา ผสู้ ถติ ในสวรรคด์ ว้ ย”

ข้อศึกษาวิพากษ์
10:24-25 สองวรรคน้ีเป็นประโยคเช่อื มโยงและทาหน้าทเ่ี ป็นแกนหมุนของบทคาพดู ทงั้ หมดในส่วนน้ี (ดู

โครงรา่ งดา้ นบน) เช่นเดยี วกบั คาวา่ (บรรดา)ศษิ ยท์ ป่ี รากฏอย่ใู นตอนตน้ และตอนจบของบทวาทกรรมน้ี (10:1, 42; 11-1)
วรรคดงั กล่าวปรากฏอยู่ตรงกลางพอดี (ว. 24) ทาให้เป็นศูนย์กลางของแนวคดิ และเป็นการนาเขา้ สู่ตอนใหม่
ข้อเท็จจรงิ ท่ีบรรดาศิษย์เป็นหรอื กาลงั จะเป็นเหมือนกบั พระอาจารย์ของพวกเขาสะท้อนถึงข้อคิดท่ีมาจาก
สุภาษติ อย่เู ลก็ น้อย (Q= ลก 6:40) โดยแนวคดิ ดงั กล่าวถูกนามาใสไ่ วใ้ นบรบิ ททเ่ี ช่อื มโยงกบั อวสานตกาลของคาพดู
ส่วนน้ีทงั้ หมด และถูกเปล่ยี นให้เป็นหลกั การพ้นื ฐานสาหรบั การเป็นศษิ ย์ของพระครสิ ต์ พระอาจารย์ในท่ีน้ี
หมายถงึ พระเยซูเจา้ เทา่ นนั้ (ดู เทยี บ 23:8) ดงั นนั้ คากล่าวน้ีจงึ ไมใ่ ชก่ ารพดู แบบรวมๆ ทวั่ ไป แตส่ อ่ื ถงึ ความสมั พนั ธ์
ของชาวครสิ ตท์ ม่ี ตี ่อพระครสิ ต์อย่างเป็นรปู ธรรม คาว่า “ผรู้ บั ใช”้ และ “เจา้ นาย” สอ่ื ถงึ ความสมั พนั ธร์ ะหว่างชาว
ครสิ ตแ์ ละพระเยซูเจา้ เช่นกนั (คาน้ีไม่ไดเ้ ป็นปัญหาสาหรบั นักบุญมทั ธวิ ดู 11:29) นกั บุญมทั ธวิ เน้นย้าความสาคญั ของความ
ค่ขู นานระหว่างพระเยซูเจา้ กบั บรรดาศษิ ยผ์ ูท้ ไ่ี ดร้ บั มอบหมายพนั ธกจิ พวกเขาจะถูกเบยี ดเบยี นเหมอื นพระองค์
ในเม่อื พระเยซูเจา้ ไม่ทรงตอบโต้ เพยี งแต่ถอยออกมาจากตรงนัน้ (ดู 14:21; เทยี บ 5:38:41) ดงั นนั้ บรรดาศษิ ยต์ ้องไม่
ตอบสนองต่อความประสงคร์ า้ ย ดว้ ยการกระทาแบบเดยี วกนั หรอื ดว้ ยการภาวนาขอใหพ้ ระเป็นเจา้ ช่วยแกแ้ คน้
แต่จะตอ้ งถอนตวั ออกมาและไปดาเนนิ พนั ธกจิ ทอ่ี ่นื โดยมคี วามมนั่ ใจและช่นื ชมยนิ ดวี า่ การเสดจ็ กลบั มาของบุตร
แห่งมนุษยน์ นั้ จะทาใหพ้ ระอาณาจกั รของพระเป็นเจา้ กลายเป็นความจรงิ อยา่ งสมบรู ณ์ ตลอดเน้ือหาบรรยายสว่ น
น้จี ะเหน็ ถงึ การเน้นความคขู่ นานระหว่างชวี ติ ของพระเยซูเจา้ และชวี ติ ของบรรดาศษิ ย์ (ดู ขอ้ ศกึ ษาวพิ ากษ์ 10: 5ข – 15)
รวมถึงการร่วมชะตาเดียวกันในการถูกปฏิเสธและถูกข่มเหงเบียดเบียน สารของบรรดา ศิษย์คือสิ่งท่ีสืบ
เน่ืองมาจากพระเยซูเจา้ (และนกั บุญยอหน์ ผทู้ าพธิ ลี า้ ง) ในการประกาศถงึ พระอาณาจกั รของพระเป็นเจา้ (3:2; 4:17; 10:7)
บรรดาศษิ ยไ์ ม่เพยี งแต่เทศน์สอนในสง่ิ ทพ่ี ระเยซูเจา้ ทรงสอนเท่านัน้ แต่ประกาศถงึ องคพ์ ระเยซูเจา้ อกี ดว้ ย (“จง

259

กล่าวยอมรบั เรา”<Cconfess Me>) ในทน่ี ้ีมกี ารใหภ้ าพของพระเยซูเจา้ (เช่นเดยี วกบั บทเทศน์สอนบนภูเขา 7:21-23) ว่าเป็นทนาย
แกต้ ่างต่อหน้าพระเป็นเจา้ ผทู้ รงพพิ ากษาโลกในอวสานตกาล โดยการเกณฑพ์ พิ ากษานนั้ อยทู่ ว่ี ่าบรรดาศษิ ยไ์ ด้
ประกาศยอมรบั พระองค์หรือว่าไม่ค่อยได้ทาเช่นนัน้ เช่นเดียวกับเน้ือหาสาระทัง้ หมด มีการคาดคะเนถึง
สถานการณ์ทม่ี ชิ ชนั นารขี องครสิ ตจกั รในยุคหลงั การกลบั คนื พระชนมช์ พี จะตอ้ งประสบ

มทั ธวิ 10:34-39 คุณคา่ แหง่ ความเป็นศษิ ย์

พระเยซูเจ้าทรงเป็นต้นเหตขุ องความขดั แย้ง
34 “อยา่ คดิ วา่ เรามาเพอ่ื นาสนั ตภิ าพมาใหโ้ ลก เรามไิ ดม้ าเพอ่ื นาสนั ตภิ าพ แต่มาเพอ่ื นาดาบมาให้ 35 เรามาเพอ่ื แยกบุตร

ชายจากบิดา แยกบตุ รหญิงจากมารดา แยกบตุ รสะใภ้จากมารดาของสามี 36 ศตั รขู องคนกค็ ือคนทีอ่ ย่รู ่วมบา้ นกบั เขา
นัน่ เอง”
การสละตนเองเพ่ือติดตามพระเยซเู จ้า

37 “ผทู้ ร่ี กั บดิ ามารดามากกวา่ รกั เรา กไ็ มค่ คู่ วรกบั เรา ผทู้ ร่ี กั บุตรชายหญงิ มากกวา่ รกั เรา กไ็ มค่ คู่ วรกบั เรา 38 ผใู้ ดไมร่ บั เอา
ไมก้ างเขนของตนแบกตามเรา ผนู้ นั้ กไ็ มค่ คู่ วรกบั เรา”

39 “ผทู้ ห่ี วงชวี ติ ของตนไว้ กจ็ ะสญู เสยี ชวี ติ นนั้ แตผ่ ทู้ ย่ี อมเสยี ชวี ติ ของตนเพราะเหน็ แก่เรา จะพบชวี ติ นนั้ อกี ”

ข้อศึกษาวิพากษ์
10:34-36 นักบุญมทั ธิวใช้แหล่งข้อมูลจากสามเน้ือความท่ีแตกต่างกนั ในเอกสารแหล่ง Q เพ่ือสร้าง

เน้ือหาสาระตอนน้ี (ดู เทียบ ลก. 12:51-53; 14:25-27; 17:33) ซ่ึงเม่ือนามาอยู่ในโครงสร้างแบบโพงพาง (Chiastic
Structure) ก็สอดคล้องกบั ความไม่ลงรอยกนั ในครอบครวั ซ่ึงเป็นลกั ษณะของความยากลาบากในยุคสุดท้าย
(10:21-22) “ดาบ” ในทน่ี ้ีไม่ใชส่ ญั ลกั ษณ์ทางการเมอื ง แต่เป็นสญั ลกั ษณ์ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั วนั พพิ ากษาโลกแหง่ อวสาน
ตกาล (ดู เทยี บ วว. 6:4) รปู แบบของคาพดู “เราไดม้ า” (I have come) สะทอ้ นถงึ มุมมองของยคุ หลงั การกลบั คนื พระ
ชนมช์ พี ท่มี องยอ้ นกลบั ไปท่ี “การเสดจ็ มา” (Coming) ของพระเยซูเจา้ เป็นภาพรวมแบบครบสมบูรณ์และมกี าร
แสดงออกอยใู่ นธรรมประเพณีทกุ สาย (ต.ย. 5:17= M; 9:13 = มก. 2:17; 10:34-35 = Q) เน้อื หาตอนน้ีสะทอ้ นถงึ สถานการณ์
จรงิ ในครสิ ตจกั รของนักบุญมทั ธวิ ซง่ึ บางครงั้ ผคู้ นต้องเลอื กระหว่างครอบครวั ของตนหรอื ศรทั ธาความเช่อื ของ
ตน ในบางมุมมองทเ่ี ช่อื ในคาพยากรณ์ การแตกรา้ วของสถาบนั ครอบครวั คอื สว่ นหน่ึงของความโหดรา้ ยน่ากลวั
ทจ่ี ะมาถงึ ก่อนภาวะอนั ตกาล นักบุญมทั ธวิ คน้ พบว่าสง่ิ น้ีเป็นขอบขา่ ยทม่ี คี วามหมายและสามารถนามาใชเ้ ป็น
กรอบการตคี วามประสบการณ์ทค่ี รสิ ตจกั รของท่านตอ้ งเผชญิ มคา. 7:6 ไดร้ บั การตคี วามในศาสนายดู ายว่าเป็น
เหมอื นการโหมโรงนาเขา้ สยู่ คุ สมยั ของพระเมสสยิ าห์ และนาไปใชโ้ ดยผตู้ ดิ ตามพระเยซูเจา้ ทเ่ี ป็นชาวคุมรานโดย
พวกเขาเห็นว่ามนั เป็นคายนื ยนั ว่ายุคสมยั นัน้ ไดเ้ รม่ิ ต้นขน้ึ แลว้ นักบุญมทั ธวิ ไดน้ าขอ้ เปรยี บเทยี บจากเอกสาร
แหล่ง Q มาเขยี นขน้ึ ใหมใ่ หส้ อดลอ้ งกบั มคา. 7:6 มากยง่ิ ขน้ึ และสอดคลอ้ งกบั ขอ้ ความเปรยี บเทยี บของทา่ นใน

260

10:26ข ดว้ ย นอกจากน้ี นกั บุญมทั ธวิ นาแนวคดิ เร่อื งครอบครวั มานาเสนอในทน่ี ้ี เพราะคาโตเ้ ถยี งของมารเบเอล
ซบี ูล ใน มก. 3 ซ่งึ ท่านได้วางเคา้ โครงไวแ้ ล้ว ถูกแวดล้อมด้วยเน้ือหาทอ่ี ธบิ ายใหเ้ หน็ ถงึ “ครอบครวั ท่แี ท้จรงิ ”
ของพระเยซูเจา้ คาว่า “สมาชกิ ของครอบครวั ” (Members of the Household หรอื “oikiakos”) ใน ว. 25 เป็น
การเปรยี บเทยี บว่าชุมชนศษิ ย์ คอื ครอบครวั ท่แี ท้จรงิ ของพระครสิ ต์ ซ่ึงเป็นการต่อต้านการแสดงความเป็น
เจ้าของของเบเอลเซบูล และเป็นการล้มเลกิ สายสมั พนั ธ์ทางสายเลอื ดตามธรรมชาติ (ดู 12:22-37) ดงั นัน้ การท่ี
นกั บุญมทั ธวิ นาคาว่า “บดิ า” มาใส่แทนทค่ี าว่า “พระเป็นเจา้ ” ในเอกสารแหล่ง Q จงึ ไม่ใช่การแสดงความเคารพ
พระเจา้ ตามธรรมประเพณีชาวยวิ แต่ยนื ยนั ว่าชุมชนชาวครสิ ต์ คอื ครอบครวั ของพระเป็นเจ้าท่มี สี ายสมั พนั ธ์
แน่นแฟ้นและมกี ารเรยี กรอ้ งจากกนั และกนั มากยง่ิ กวา่ สายสมั พนั ธใ์ นครอบครวั ตามธรรมชาติ (ดู เทยี บ 10:32-33)

10:37-39 แม้ว่าจะไม่มกี ารใชช้ ่อื เรยี กแบบครสิ ตศาสตร์ ผู้อ่านควรสงั เกตเห็นคาประกาศยนื ยนั ความ
จงรกั ภกั ดตี ่อพระเยซูเจ้าว่าควรมคี วามสาคญั เหนือสมั พนั ธภาพท่ใี กลช้ ดิ ท่สี ุดระหว่างมนุษยแ์ ละชวี ติ ด้วยคา
ประกาศน้ีเป็นแนวคดิ ทางครสิ ตศาสตรโ์ ดยอ้อม การเป็นศษิ ย์ไม่ใช่แค่การมหี น้าท่อี ันทรงคุณค่าเพมิ่ ขน้ึ มาอกี
หน่งึ อยา่ งในชวี ติ แตเ่ ป็นการถวายมอบตวั ตนของเรา ซง่ึ ในทา้ ยทส่ี ดุ แลว้ จะเป็นการเตมิ เตม็ ใหต้ วั ตนของเราครบ
สมบรู ณ์ พระเยซูเจา้ ไดก้ ล่าวอา้ งถงึ พระบุคคลของพระองคเ์ องในแบบทผ่ี เู้ ป็นพระเป็นเจา้ เทา่ นนั้ จะกล่าวได้

ผูอ้ ่านจะรูส้ กึ ประหลาดใจกบั การอา้ งองิ ถงึ กางเขนอย่างทนั ทที นั ใด ในบทบรรยายก่อนหน้าน้ีไม่มกี าร
เตรยี มตวั ใหผ้ อู้ ่านเขา้ ส่เู ร่อื งน้ี จากการอ่านบทท่ี 1-9 ผอู้ ่านจะคาดเดาว่าพนั ธกจิ ของบรรดาศษิ ย์จะตอ้ งประสบ
กบั ความสาเรจ็ อยา่ งงดงาม แตบ่ ทบรรยายทเ่ี รม่ิ ตน้ ดว้ ยพระเยซูเจา้ สง่ มอบอานาจและฤทธเิ ์ ดชใหก้ บั บรรดาศษิ ย์
นัน้ สรุปจบด้วยความจาเป็นของการท่พี วกเขาต้องร่วมแบ่งปันกางเขนกบั พระองค์ด้วย ในส่วนบรรยายเร่อื ง
ตอนน้ี มกี ารอธบิ ายถงึ ความทุกขท์ รมานของบรรดาศษิ ย์ ก่อนทจ่ี ะกล่าวถงึ ความทุกขท์ รมานของพระเยซูเจา้ ยงั
ไม่มกี ารกล่าวถงึ กลุ่มผตู้ ่อตา้ นตดั สนิ ใจทจ่ี ะสงั หารพระเยซูเจา้ จนกระทงั่ 12:14 อยา่ งไรกต็ าม ไม่มกี ารกล่าวว่า
บรรดาศษิ ยป์ ระหลาดใจกบั เรอ่ื งน้ี และผอู้ ่านพระวรสารแต่ดงั้ เดมิ กไ็ มป่ ระหลาดใจเชน่ กนั เพราะพวกเขาคุน้ เคย
กบั เร่อื งราวของพระเยซูเจ้าดีอยู่แล้ว มนั เป็นสง่ิ ท่ีส่งมอบถ่ายทอดต่อกนั มาในธรรมประเพณีของชาวครสิ ต์
โดยเฉพาะอย่างย่งิ จากการอ่านพระวรสารนักบุญมาระโก ซ่ึงในท่ีน้ี สนั นิษฐานว่าพวกเขาเคยอ่านแล้ว นัก
บุญมทั ธวิ และผู้อ่านชาวครสิ ต์ของท่านมองย้อนกลบั ไปถงึ กางเขนของพระเยซูเจ้าและการยอมรบั ความทุกข์
ทรมานและความตายของชาวครสิ ต์ท่เี คยเกดิ ขน้ึ มาแล้วในอดตี เช่นเดยี วกบั การอา้ งองิ ถงึ ยูดาส ใน 10:4 การ
อา้ งองิ ถงึ กางเขน ซง่ึ เป็นการแสดงวา่ บทบรรยายตอนนัน้ ทงั้ หมดเป็นมมุ มองของกลุ่มผเู้ ช่อื สมยั หลงั การกลบั คนื
พระชนมช์ พี ทม่ี องยอ้ นกลบั ไปยงั เรอ่ื งราวทเ่ี กดิ ขน้ึ

มทั ธวิ 10:40-42 การร่วมแบง่ ปันการประทบั อยขู่ องพระครสิ ต์

สรปุ คาสงั่ สอน
40 “ผทู้ ต่ี อ้ นรบั ทา่ นทงั้ หลาย กต็ อ้ นรบั เรา ผทู้ ต่ี อ้ นรบั เรา กต็ อ้ นรบั พระองคผ์ ทู้ รงส่งเรามา”
41 “ผทู้ ต่ี อ้ นรบั ประกาศก เพราะเราเป็นประกาศก จะไดร้ บั บาเหน็จรางวลั ของประกาศก ผทู้ ต่ี อ้ นรบั ผชู้ อบธรรม เพราะเขา

เป็นผชู้ อบธรรม จะไดร้ บั บาเหน็จรางวลั ของผชู้ อบธรรม”
42 “ผใู้ ดทใ่ี หน้ ้าเยน็ แมเ้ พยี งหน่ึงแกว้ แก่คนใดคนหน่ึงในบรรดาคนธรรมดาๆ เหลา่ น้ี15 เพราะเขาเป็นศษิ ยข์ องเรา เราบอก

ความจรงิ แก่ท่านทงั้ หลายวา่ ผนู้ นั้ จะไดร้ บั บาเหน็จรางวลั อยา่ งแน่นอน”

261

ข้อศึกษาวิพากษ์
บทสรปุ ของคาพดู ตอนน้ีเป็นการยอ้ นกลบั ไปสคู่ ากล่าวยนื ยนั ในตอนเปิดเรอ่ื งทใ่ี หอ้ านาจและฤทธเิ ์ดชแก่

บรรดาศษิ ยใ์ นฐานะตวั แทนของพระครสิ ต์ ในทน่ี ้ีมกี ารเสรมิ วา่ พระครสิ ต์คอื ตวั แทนของพระเป็นเจา้ ซง่ึ เป็นการ
อา้ งองิ เชงิ ครสิ ตศาสตรอ์ กี ประการหน่ึง ขอ้ ความทเ่ี ป็นการสรุปจบแสดงใหเ้ หน็ ชดั เจนวา่ มกี ารเปลย่ี นมุมมองจาก
คณะอคั รสาวกสบิ สององค์ท่ถี ูกส่งจากกาลลิ ไี ปเป็นมุมมองของบรรดาศษิ ย์ในยุคสมยั หลงั ทงั้ กลุ่มผูท้ ถ่ี ูกส่งไป
และกลุ่มผทู้ เ่ี ป็นฝ่ายรบั กล่าวคอื “มชิ ชนั นารที ่จี ารกิ เดนิ ทางไป” และ”ชาวครสิ ตท์ ล่ี งหลกั ปักรากฐานมคี รอบครวั ”
ในครสิ ตจกั รของนกั บุญมทั ธวิ เป็นการเน้นย้าอกี ครงั้ วา่ บทบรรยายสว่ นน้ีทงั้ หมดเป็นเรอ่ื งของธรรมชาตขิ องการ
เป็นศษิ ยส์ าหรบั บรรดาศษิ ย์ทุกคน ไม่ว่าจะมคี รอบครวั หรอื เดนิ ทางท่องไป ไม่ว่าสมยั ก่อนหรอื หลงั การกลบั คนื
พระชนมช์ พี มากกวา่ ทจ่ี ะเป็นกฎสาหรบั มชิ ชนั นารจี ารกิ เดนิ ทางเทา่ นนั้

เน่ืองจากคากล่าวเหล่าน้ีเป็นการท่นี กั บุญมทั ธวิ นาเน้ือหาจากแหล่งขอ้ มลู เก่า คอื พระวรสารนกั บุญมาระ
โก เอกสารแหล่ง Q และธรรมประเพณีของนกั บุญมทั ธวิ เอง มาปรบั แกไ้ ขและเขยี นขน้ึ ใหม่ จงึ มคี วามคลุมเครอื
อย่บู างส่วนว่า “ประกาศก”(Prophets) “ผชู้ อบธรรม”(Righteous) และ “คนเลก็ น้อย” (Little Ones) เป็นคาทส่ี ่อื
ถงึ ใคร ครสิ ตจกั รของนกั บญุ มทั ธวิ มปี ระกาศกผปู้ ระกาศขา่ วดอี ยดู่ ว้ ยและเป็นกล่มุ ทโ่ี ดดเด่นแตกตา่ งจากคนอ่นื ๆ
นักบุญมทั ธวิ ยนื ยนั ว่าพวกเขามหี น้าทเ่ี ป็นผู้ประกาศขา่ วดอี ย่างถูกต้องท่รี บั รองโดยพระเยซูเจา้ ผูท้ รงกลบั คนื
พระชนมช์ พี (ในทน่ี ้ี และ 23:34) แต่นกั บุญมทั ธวิ เองดจู ะกล่าวถงึ คนกลุ่มน้ีดว้ ยความลงั เลไม่แน่ใจ (7:21-23) คาวา่ “คน
เลก็ น้อย” ไม่ไดม้ คี วามหมายตามตวั อกั ษรถงึ เดก็ ๆ แต่เป็นคาศพั ท์ท่นี ักบุญมทั ธวิ ใชส้ ่อื ถงึ ชาวครสิ ต์ “ธรรมดา
ทวั่ ไป” ในท่ีน้ีเทียบเท่ากบั บรรดาศษิ ย์ (ดู 18:1-14) ส่วน “ผู้ชอบธรรม” ส่อื ถึงคนอีกกลุ่มหน่ึงท่ตี ่างจากกลุ่มอ่ืน
(หมายถึงมชิ ชนั ารจี ารกิ เดนิ ทาง แต่ไม่ใช่ประกาศก?) ในส่วนอ่นื ๆ นักบุญมทั ธวิ นาธรรมประเพณีของท่านมาเขยี นขน้ึ ใหม่
เพ่อื ให้ประกาศกและผูช้ อบธรรมเป็นกลุ่มคู่(สองกลุ่ม)ท่เี ป็นตวั แทนของครสิ ตจกั รทงั้ หมด (13:17; 23:29) คาว่า “ใน
นามของ” (In the Name of) เป็นสานวนในภาษาฮบิ รู หมายถงึ “เน่ืองจากเขาเป็น” (Because One Is) บรรดา
ศิษย์ท่ีมีบ้านเรือนและครอบครวั (Settled Disciples) ผู้ซ่ึงต้อนรบั และสนับสนุนบรรดาศิษย์จาริกเดินทาง
(Itinerant Disciples) เป็นผู้ได้มสี ่วนร่วมในพนั ธกจิ ของครสิ ตจกั รด้วยการทางานของพวกเขาและได้รบั รางวลั
ตอบแทนเชน่ เดยี วกนั

อนึง่ เนือ่ งจากโลกถูกปกครองโดยพลงั อานาจของความชวั่ รา้ ย การประกาศข่าวดนี ้ีจงึ เป็นการต่อสกู้ บั
พลงั อานาจเหลา่ น้ีดว้ ย “ในการตดิ ตามพระเยซูเจา้ ผนู้ าสารของพระองคจ์ ะตอ้ งขบั ไล่ปีศาจใหพ้ น้ จากโลก จะตอ้ ง
สถาปนารูปแบบใหม่ของชีวิตในพระจติ เจ้า ซึง่ นาการปลดปล่อยมาให้มนุษย์ผู้ถูกปีศาจครอบงาอยู่” (Pesch,
Markusevangelium, I, p.205) ตามทีฮ่ องรี เดอ ลือบัค ได้ช้ีให้เห็นเป็นพิเศษว่า อันทีจ่ ริงแล้ว โลกยุคโบราณก็มี
ประสบการณ์กบั การกาเนิดมาของศาสนาครสิ ตว์ ่าเป็นการชว่ ยปลดปล่อยมนุษยใ์ หเ้ ป็นอสิ ระจากความกลวั ปีศาจ
ทแี่ พร่กระจายไปทวั่ ในยุคนัน้ สงิ่ เดยี วกนั เกดิ ข้นึ ในยุคปัจจุบนั น้ีด้วย ณ ทใี่ ดกต็ ามทศี่ าสนาครสิ ต์เขา้ ไปแทนที่
ศาสนาแบบชนเผ่าโบราณโดยช่วยปรบั เปลยี่ น และนาสงิ่ ดงี ามของศาสนาเหล่านัน้ เขา้ มาส่ศู าสนาครสิ ต์เอง เรา
รสู้ กึ ถงึ ผลกระทบเตม็ ทขี่ องกา้ วกระโดดไปขา้ งหน้าน้ี เมอื่ นกั บุญเปาโล กล่าววา่ “ไม่มพี ระอนื่ ใดนอกจากพระเป็น
เจา้ เพยี งพระองคเ์ ดยี ว แมจ้ ะมสี งิ่ ทเี่ รยี กกนั ว่าพระเป็นเจา้ ทงั้ ในสวรรคแ์ ละบนแผ่นดนิ พระเป็นเจา้ และเจา้ นาย
เช่นน้ีมอี ยู่มากมาย แต่สาหรบั เรา พระเป็นเจ้ามเี พยี งพระองค์เดยี วคอื พระบิดา สรรพสงิ่ มาจากพระองค์ เรา
เป็นอยเู่ พอื่ พระองค์ และมอี งคพ์ ระผเู้ ป็นเจา้ เพยี งพระองคเ์ ดยี วคอื พระเยซูครสิ ต์ สรรพสงิ่ เป็นมาโดยทางพระองค์

262

เรากเ็ ป็นมาโดยทางพระองค”์ (1คร. 8: 4 ต่อเนือ่ ง) ถอ้ ยคาดงั กลา่ วแฝงไวซ้ งึ่ พลงั ทชี่ ว่ ยปลดปลอ่ ยใหเ้ ป็นอสิ ระ คอื การ
ขบั ไล่ปีศาจและช่วยชาระโลกใหส้ ะอาดบรสิ ุทธิ์ ไม่สาคญั ว่าในโลกน้ีจะมเี ทพเจา้ อย่มู ากมายกระจายไปทวั่ พระ
เป็นเจา้ ทรงเป็นพระเจา้ เดยี ว และพระองคผ์ เู้ ดยี วทรงเป็นเจา้ นายสงู สุด ถา้ เราเป็นของพระองค์ สงิ่ อนื่ ใดทงั้ หมดก็
ไมม่ พี ลงั อานาจใดเลย มนั สญู สน้ิ เสน่หค์ วามเป็นพระเป็นเจา้ ไปหมดสน้ิ

เวลาน้ี โลกถูกมองว่าเป็นสงิ่ ทมี่ เี หตุผล กล่าวคอื โลกเกดิ มาจากเหตุผลนิรนั ดร และเหตุผลทเี่ นรมติ โลก
ข้นึ มาน้ีก็เป็นพลงั อานาจแท้เพยี งอย่างเดยี วในโลกน้ีและเหนือโลกน้ี ความเชอื่ ในองค์พระเป็นเจ้าผู้เดยี วเป็น
เพยี งสงิ่ เดยี วทชี่ ว่ ยปลดปลอ่ ยโลกเป็นอสิ ระ ทาใหโ้ ลกปรากฏเป็นสงิ่ ทมี่ เี หตุผล พลงั อานาจตา่ งๆ ของเหตุบงั เอญิ
เวลาน้ีกอ็ า้ งตวั ออกมา “ทฤษฎอี ลวน” (Chaos Theory) เกดิ ข้นึ มาควบคู่กบั ความเขา้ ใจถงึ โครงสรา้ งทางเหตุผล
ของจกั รวาลทที่ าให้มนุษยเ์ กดิ ความไม่ชดั เจนต่างๆ ทเี่ ขาไม่สามารถคดิ หาทางออกได้ และทกี่ าหนดขอบเขต
จากดั ของมนั ใหก้ บั การมเี หตุผลของโลกน้ี “การขบั ไล่ปีศาจจากโลก” คอื การก่อสรา้ งโลกข้นึ มาภายใตแ้ สงสว่าง
แห่งเหตุผล (Ratio) ซงึ่ มาจากเหตุผลเนรมติ สรา้ งนิรนั ดรนัน้ และยอ้ นกลบั ไปส่ตู วั เหตุผลนิรนั ดรนัน้ เอง นัน่ เป็น
ภารกจิ ถาวรสาคญั ยงิ่ ของผนู้ าสารของพระเยซคู รสิ ตเจา้

ในจดหมายถึงชาวเอเฟซสั นักบุญเปาโลช้แี จงอกี ครงั้ หนึง่ ถงึ คุณลกั ษณะของ “การขบั ไล่ปีศาจ” ของ
ศาสนาครสิ ตจ์ ากมุมมองอกี แบบหนึง่ ว่า “สุดทา้ ยน้ี ทา่ นทงั้ หลายจงเป็นผเู้ ขม้ แขง็ ในองคพ์ ระผเู้ ป็นเจา้ จงตกั ตวง
พลงั จากพระพลานุภาพของพระองค์ จงสวมใส่อาวุธครบชุดของพระเป็นเจา้ เพอื่ ท่านจะยนื หยดั ต่อตา้ นเล่ห์กล
ของปีศาจได้ เพราะเรามไิ ด้ต่อสูก้ บั พลงั มนุษย์ แต่ต่อสูก้ บั เทพนิกรเจา้ และเทพนิกรอานาจ ต่อสูก้ บั ผู้ปกครอง
พภิ พแห่งความมดื มน ต่อสกู้ บั บรรดาจติ แห่งความชวั่ รา้ ยทอี่ ย่บู นทอ้ งฟ้า” (อฟ. 6: 10-12) ไฮนรชิ ชเี ลอร์ (Heinrich
Schlier) ไดอ้ ธบิ ายถงึ ภาพของการต่อสดู้ น้ิ รนของครสิ ตชนทเี่ ราพบในทกุ วนั น้วี ่าชา่ งน่าประหลาดใจ หรอื ไม่กช็ า่ ง
น่าราคาญใจยงิ่ นัก ไวด้ งั น้ี “ศตั รูนัน้ มใิ ช่มนุษยค์ นน้ีหรอื มนุษยค์ นนัน้ หรอื มใิ ช่ตวั ขา้ พเจา้ เองด้วย ศตั รูนัน้ มใิ ช่
เลอื ดและเน้ือของเรา... การขดั แยง้ ลกึ ซ้งึ ยงิ่ กว่านัน้ มนั เป็นการต่อสูก้ บั เจา้ แห่งผูข้ ดั แยง้ ทไี่ ม่เคยหยุดเลย ศตั รู
เหล่านนั้ เรมิ่ ตน้ ดว้ ยการไดเ้ ปรยี บมนุษย์ และนนั่ เป็นเพราะวา่ พวกมนั อยเู่ หนือเรามนุษย์ ตาแหน่งของมนั นนั้ “อยู่
บนทอ้ งฟ้า” มนุษยไ์ มอ่ าจขน้ึ ไปถงึ และไมอ่ าจจโู่ จมได้ กล่าวคอื เหนอื อนื่ ใดตาแหน่งของพวกมนั คอื “บรรยากาศ”
ของการเป็นอยู่ ซงึ่ พวกมนั นิยมชมชอบและแพร่ขยายไปรอบตวั พวกมนั เอง ศตั รเู หล่านนั้ ทสี่ ุดแลว้ เป็นผทู้ เี่ ตม็
ไปดว้ ยความประสงคร์ า้ ย น่ากลวั ทสี่ ดุ ” (Brief an die Epheser, p.291)

ใครทจี่ ะไม่เหน็ วา่ โลกของเราน้ี พวกครสิ ตชนถกู คกุ คามโดยบรรยากาศอนั ไม่ทราบชอื่ จาก “บางสงิ่ ทอี่ ยู่
บนทอ้ งฟ้า” ทตี่ อ้ งการทาใหค้ วามเชอื่ ดเู หมอื นเป็นสงิ่ ทนี่ ่าขบขนั และไรส้ าระเหมอื นเป็นการวางยาพษิ บรรยากาศ
ฝ่ายจติ ไปทวั่ โลก ทคี่ ุกคามศกั ดศ์ิ รขี องมนุษย์ คุกคามความเป็นอย่ขู องมนุษยแ์ ละหม่คู ณะต่างๆ เหมอื นจะตอ้ ง
ตกอยู่ใต้พลงั อานาจเช่นนัน้ อย่างช่วยไม่ได้ ผูเ้ ป็นครสิ ตชนรูว้ ่าตนไม่อาจบงั คบั ควบคุมการคุกคามน้ีได้ดว้ ยสงิ่
ต่างๆ ทตี่ นมอี ย่ทู งั้ หมด แต่ในความเชอื่ ในความสมั พนั ธเ์ ป็นหนึง่ เดยี วกบั เจา้ นายผเู้ ดยี วของโลกเท่านัน้ ทเี่ ขา
ไดร้ บั มอบ “ชุดเส้อื เกราะของพระเป็นเจา้ ” ในการมคี วามสมั พนั ธเ์ ป็นหนึง่ เดียวกบั พระกายของพระครสิ ตเจา้ ชุด
เส้อื เกราะน้ีช่วยใหเ้ ขาสามารถต่อสูก้ บั พลงั อานาจเหล่านัน้ ได้ โดยรูว้ ่า พระพรความเชอื่ ในองค์พระเป็นเจา้ นัน้
ช่วยฟ้ืนฟูลมหายใจบรสิ ุทธแ์ิ ห่งชวี ติ ใหเ้ ขาใหม่ อนั เป็นลมหายใจขององค์พระผูส้ รา้ ง ลมหายใจของพระจติ ซงึ่
สามารถคนื สนั ตสิ ขุ และสวสั ดภิ าพดใี หแ้ กโ่ ลกน้ไี ด้

ควบค่กู บั งานขบั ไล่ปีศาจ นกั บุญมทั ธวิ ยงั เพมิ่ เตมิ งานรกั ษาคนไข้เจบ็ ป่วยทงั้ หลายดว้ ย อคั รสาวกทงั้ สบิ
สองคนถูกสง่ “ไปรกั ษาโรคและความเจบ็ ไขท้ ุกชนิด” (มธ. 10: 11) การรกั ษาโรคภยั ไขเ้ จบ็ เป็นมติ สิ าคญั ยงิ่ ประการ

263

หนึง่ ของพนั ธกจิ ของพวกอคั รสาวกและพนั ธกจิ ความเชอื่ แบบครสิ ตชนโดยทวั่ ไปด้วย เอวเยน็ บแี ซร์ (Eugen
Biser) กา้ วไปไกลถงึ ขนั้ ทเี่ รยี กศาสนาครสิ ตว์ า่ เป็น “ศาสนาแห่งการบาบดั รกั ษา” (Therapeutic Religion) คอื เป็น
ศาสนาแห่งการรกั ษาโรคภยั ไขเ้ จบ็ (Einweisung) เมอื่ ทาความเขา้ ใจ ณ ระดบั ทลี่ กึ ซ้งึ พอสมควรนนั้ คาทวี่ ่าน้ีบ่ง
ถงึ เน้ือหาทงั้ หมดของ “การไถ่กูใ้ หร้ อด” (Redemption) พลงั อานาจทขี่ บั ไล่ปีศาจ พลงั อานาจทปี่ ลดปล่อยโลกให้
เป็นอิสระจากการคุกคามมืดมิดของพวกมนั เพราะเห็นแก่พระเป็นเจ้าแท้แต่พระองค์เดยี ว เป็นพลงั อานาจ
เดยี วกนั ทขี่ จดั ความเขา้ ใจแบบเวทมนต์ของการรกั ษาโดยอาศยั ความพยายามต่างๆ ทจี่ ะควบคุมพลงั อานาจอนั
เรน้ ลบั เหล่าน้ี การรกั ษาแบบเวทมนตรเ์ กยี่ วกบั การทาให้ความชวั่ รา้ ยไปตกอยู่กบั คนใดคนหนึง่ แลว้ ปล่อยให้
“เจ้าปีศาจ” จดั การกบั ผู้นัน้ อานาจปกครองของพระเป็นเจ้า คอื พระอาณาจกั รของพระเป็นเจ้าหมายถึงการ
ปลดปล่อยใหพ้ น้ พลงั อานาจเหล่าน้ี โดยการเสดจ็ เขา้ มาของพระเป็นเจา้ ผเู้ ดยี ว ทรงเป็นผู้มพี ระทยั ดี ผูท้ รงเป็น
องคค์ วามดี พลงั อานาจน้ีขบั ไล่ปีศาจจากโลกในแบบทเี่ ป็นการอศั จรรยต์ ่างๆ ทชี่ ่วยรกั ษาโรคภยั ไขเ้ จบ็ ทพี่ ระเยซู
เจา้ และพวกอคั รสาวกกระทานัน้ พระเป็นเจา้ ทรงแสดงใหเ้ หน็ พระพลานุภาพอนั ทรงเมตตาของพระองคเ์ หนือ
โลกน้ี การอศั จรรยต์ ่างๆ นนั้ เป็น “เครอื่ งหมาย” บง่ บอกถงึ องคพ์ ระเป็นเจา้ และทาหน้าทจี่ ดั การใหม้ นุษยม์ ุง่ ตรงสู่
พระเป็นเจา้ กลายเป็นหนึง่ เดยี วกบั พระองคเ์ ท่านนั้ สามารถเป็นกระบวนการแท้จรงิ ของการรกั ษามนุษยใ์ หห้ าย
จากโรคภยั ไขเ้ จบ็ ทงั้ หลายได้

สาหรบั พระเยซูเจ้าและผู้เป็นศษิ ย์ตดิ ตามพระองค์ การอศั จรรย์รกั ษาโรคภยั ไขเ้ จบ็ เป็นองค์ประกอบ
อนั ดบั รองในภารกจิ ทงั้ หมดซงึ่ เกยี่ วขอ้ งกบั สงิ่ ทลี่ กึ ซ้งึ ยงิ่ กวา่ มใิ ช่เกยี่ วกบั เรอื่ งอนื่ ใด นอกจากเกยี่ วขอ้ งกบั “พระ
อาณาจกั รของพระเป็นเจา้ ” กล่าวคอื การทพี่ ระเป็นเจา้ ทรงกลายเป็นเจา้ นายในตวั เราและในโลก อย่างเช่นการ
ขบั ไล่ความกลวั ปีศาจใหพ้ น้ ไป และทาใหโ้ ลกซงึ่ เกดิ มาจากเหตุผลของพระเป็นเจ้าเป็นเหตุผลของมนุษย์ เป็น
เชน่ เดยี วกนั กบั การรกั ษาโรคภยั ไขเ้ จบ็ โดยอานาจของพระเป็นเจา้ เป็นการนาความเชอื่ ในพระเป็นเจา้ และการใช้
อานาจของเหตผุ ลเขา้ มารวมกนั เพอื่ ชว่ ยในการรกั ษาน้ี แน่นอน ณ ทนี่ ้ี “เหตุผล” ทหี่ มายถงึ นนั้ เปิดกวา้ ง กล่าวคอื
เป็นเหตผุ ลชนิดทรี่ บั รพู้ ระเป็นเจา้ และรบั รมู้ นุษยว์ า่ เป็นเอกภาพของกายและวญิ ญาณ ใครกต็ ามทปี่ รารถนาจรงิ ๆ
ทจี่ ะรกั ษามนุษย์ กจ็ ะตอ้ งมองมนุษยแ์ บบทงั้ ครบ และตอ้ งรวู้ ่าการรกั ษามนุษยใ์ หห้ ายไดด้ ที สี่ ุดกค็ อื ดว้ ยความรกั
ของพระเป็นเจา้ เทา่ นนั้ (อา้ งแลว้ โยเซฟ รตั ซงิ เกอร์ “พระเยซเู จา้ แหง่ นาซาเรธ็ หน้า 312-317)

ข้อคิดไตรต่ รอง
1. สาหรบั ชาวครสิ ตย์ คุ ใหม่หลายคน คาพดู น้ีอาจฟังดแู ปลกๆ หรอื ไมก่ เ็ ป็นเหมอื นคลงั่ ศาสนา แต่ในคนทุก

รุน่ จะตอ้ งมศี ษิ ยข์ องพระเยซูเจา้ จานวนหน่ึงทอ่ี ย่ใู นสถานการณ์ทท่ี าให้ “บทวาทกรรมเร่อื งมชิ ชนั นาร”ี ใน 10:5-
42 เป็นคาพดู โดยตรงทม่ี าจากพระเยซูเจา้ ผทู้ รงกลบั คนื พระชนมช์ พี ขอ้ ความน้ีอาจมไี วส้ าหรบั คนในยคุ แรกเรม่ิ
(First World) สาหรบั ชาวครสิ ต์ ”กระแสหลกั ” บทอ่านน้ีดูเหมอื นเก่ยี วขอ้ งกบั อกี โลกหน่ึง ทม่ี เี ร่อื งของการเป็น
พยาน การเบยี ดเบยี น ความยากจน และการยอมสละชพี แต่ถงึ แมว้ ่าจะดูแปลกประหลาด แต่เป็นเสยี งเรยี กให้
เราหนั มาตรวจสอบคาวา่ ศาสนาครสิ ตข์ องเรา และถามตนเองว่าเรานาศรทั ธาความเช่อื ของชาวครสิ ตม์ าปรบั ให้
เขา้ กบั รสนิยมของเราเองหรอื เปล่า และเป็นไปไดไ้ หมทพ่ี อปรบั แบบนัน้ แลว้ จะยงั คงเรยี กว่าศรทั ธาความเช่อื
แบบชาวครสิ ตอ์ กี

264


Click to View FlipBook Version