The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ตรวจงานแปลมัทธิว 8 9 10

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by P. Tads, 2021-06-05 00:30:47

10. มัทธิว 8:1 – 9:34

ตรวจงานแปลมัทธิว 8 9 10

จากอกี มมุ มองหน่ึง บทน้ีไม่ใชส่ งิ่ แปลกประหลาดเลย แสดงใหเ้ ราเหน็ ในแบบเขม้ ขน้ วา่ โดยแก่นแทแ้ ลว้ ชวี ติ
ของชาวครสิ ตค์ วรเป็นอย่างไร ปล่อยวางจากสงิ่ ของทางโลก ปลอ่ ยวางจากความกงั วลว่าคนอ่นื จะมองเราหรอื ทา
กบั เราอย่างไร มอบความจงรกั ภกั ดตี ่อพระเป็นเจา้ ในองคพ์ ระเยซูครสิ ต์เหนือกว่าความจงรกั ภกั ดอี ่นื ใด แมแ้ ต่
ความผูกพนั ระดบั ลกึ อย่างบา้ นและครอบครวั การใชช้ วี ติ โดยไม่ตอบโต้กบั ความรุนแรง เช่อื มนั่ ในพระเป็นเจ้า
และอนาคตทพ่ี ระองคก์ าหนด กระแสเรยี กให้ดาเนินชวี ติ รบั มอบหมายพนั ธกจิ (ประกาศขา่ วด)ี ไม่ไดม้ ไี วเ้ ฉพาะ
สาหรบั อคั รสาวกสบิ สองคน สาหรบั นกั บุญมทั ธวิ ศษิ ยท์ ุกคนเป็นธรรมทตู ทุกคนมสี ว่ นรว่ มในพนั ธกจิ แห่งธรรม
ทตู

บรรดาศษิ ย์ของพระเยซูเจา้ จะเอาความกลา้ หาญมาจากไหนถงึ จะใชช้ วี ติ เช่นนัน้ ได้? ในวรรคท่ี 26-31
พระเยซูเจา้ ในพระวรสารนกั บุญมทั ธวิ ได้ทรงใหเ้ หตุผลไว้ 3 ประการ ซง่ึ ปรบั จากเน้ือหาในเอกสารแหล่ง Q (ลก.
12:2-7) เป็นเหตุผลท่ีจะอธบิ ายได้ว่าเหตุใดบรรดาศิษย์จึงไม่จาเป็นต้องหวนั่ เกรง ซ่ึงตรงขา้ มกบั การมองจาก
ภายนอกและการใชส้ ามญั สานกึ ทวั่ ไป

(ก) การพพิ ากษาตดั สนิ แห่งอวสานกาลจะมาถงึ และจะเปิดเผยทุกสงิ่ ใหท้ ุกคนรู้ ดงั นนั้ การพยายาม
เก็บความเช่อื ไวเ้ ป็นเร่อื งส่วนตวั จงึ เป็นการกระทาท่ไี รป้ ระโยชน์ในท่สี ุด (ว. 26-27) สง่ิ ท่เี คยเป็นคาสอนใน
สุภาษิตมาแต่ดงั้ เดมิ (“การเกบ็ สงิ่ ต่างๆ เป็นความลบั นัน้ ไรป้ ระโยชน์ เพราะทุกสง่ิ ต้องเปิดเผยออกมาไม่ชา้ ก็เรว็ ”) นามาตคี วาม
แบบอนั ตกาล มาตงั้ แต่อยู่ในเอกสารแหล่ง Q แล้ว (ลก. 12:2) โดยหมายความว่าการตดั สนิ พิพากษาครงั้
สดุ ทา้ ยจะเปิดเผยความลบั ทงั้ หมด นกั บุญมทั ธวิ ไดป้ รบั ขอ้ ความทเ่ี ป็นเหมอื นคาขม่ ขนู่ ้ใี หก้ ลายเป็นประโยค
คาสงั ่ (10: 27)

ในบรบิ ทของพระวรสารนกั บุญมทั ธวิ “สง่ิ ทไ่ี ดย้ นิ ในความมดื ” หมายถงึ กจิ การประชุมเวลากลางคนื
ของชมุ ชนชาวครสิ ตข์ องนกั บญุ มทั ธวิ ซง่ึ มกี ารบอกเล่าคาสอนของพระเยซูเจา้ และบางครงั้ มกี จิ ศรทั ธาความ
เช่อื ในลกั ษณะของการประกาศสอนถงึ พระครสิ ตผ์ ทู้ รงกลบั คนื พระชนมช์ พี โดยใชพ้ ระพรพเิ ศษ ความเช่อื
ของชาวครสิ ตน์ นั้ จะตอ้ งไดร้ บั การป่าวประกาศอย่างเปิดเผยต่อสาธารณชนและจะตอ้ งแสดงผ่านการใชช้ วี ติ
ของบรรดาศษิ ย์ ไม่ใชเ่ กบ็ เอาไวก้ บั ตวั เหมอื นเป็นศาสนาสว่ นบคุ คล

(ข) การพพิ ากษาของพระเป็นเจา้ ทก่ี าลงั จะมาถงึ ซง่ึ สามารถ “ทาลายวญิ ญาณ” ได้ น่ากลวั กว่าคา
พพิ ากษาของศาลท่มี นุษย์ก่อตงั้ ขน้ึ ซ่งึ ทาลายได้แต่เพยี งร่างกายเท่านัน้ (10:28) ธรรมประเพณีการพลชี พี
ของศาสนายูดาย (ต.ย. 2มคบ.; 4มคบ.) ไดน้ าความเช่อื ในการกลบั คนื ชพี ของชาวยวิ มาผสมผสานกบั ความเช่อื
ของชาวกรกี ทว่ี า่ ร่างกายและวญิ ญาณ คอื สอง “สว่ น” ของมนุษย์ ในฐานะทน่ี กั บุญมทั ธวิ เป็นครสู อนคาสอน
ในครสิ ตจกั รทม่ี กี ารพลชี พี เขาจงึ มสี ่วนในธรรมประเพณีนนั้ อย่บู า้ ง (มขี อ้ ความค่ขู นานใน ลก. 12:4 แต่เป็นลกั ษณะการ
คดิ แบบชาวยวิ มากกว่า เพราะมองการดารงอย่ขู องมนุษยเ์ ป็นหน่ึงเดยี ว) แมว้ ่าในทน่ี ้ี นกั บุญมทั ธวิ ใชศ้ พั ทบ์ ญั ญตั แิ บบมสี อง
ลกั ษณะ (Dualistic Terminology) ในการกล่าวถึงการดารงอยู่ของมนุษย์ แต่ท่านไม่ได้ยนื ยนั ความเป็น
อมตะของวญิ ญาณ นักบุญมทั ธวิ ไม่ได้พยายามจะสอนศาสตร์ด้านมานุษยวทิ ยาหรอื ศาสตร์แห่งอวสาน
ตกาล ประเด็นของท่าน (ซ่ึงกล่าวโดยมกี ารสนั นิษฐานตามกระแสความเช่อื ของท่านท่เี ป็นแบบชาวยวิ ผสมเฮเลนิสติก) คอื การ
กระตุน้ เชญิ ชวน ไม่ใชส่ รา้ งทฤษฎี การมสี ว่ นหน่ึงในการดารงอยขู่ องมนุษยท์ ศ่ี ตั รมู อิ าจแตะตอ้ งได้ มแี ต่พระ
เจา้ เทา่ นนั้ ทส่ี มั ผสั ได้ ดงั นนั้ ความกลวั พระเป็นเจา้ (คอื ความยาเกรงและใหค้ วามเคารพตามทพ่ี ระองคส์ มควรไดร้ บั ) และการ
พพิ ากษาสงู สดู จงึ เป็นสง่ิ ทเ่ี อาชนะความกลวั ทศ่ี าลของมนุษยท์ าใหเ้ กดิ ขน้ึ ทาให้บรรดาศษิ ย์เป็นอสิ ระทจ่ี ะ

265

เป็นพยานใหพ้ ระครสิ ตอ์ ยา่ งกลา้ หาญ มกี าลงั ใจแฝงอยใู่ นการตระหนกั รวู้ า่ ในทา้ ยทส่ี ดุ แลว้ เราตอ้ งเผชญิ กบั
พระเจา้ ไม่ใชท่ ฤษฎเี กย่ี วกบั วญิ ญาณของเรา

(ค) พระเป็นเจา้ ทรงเป็นพระผสู้ รา้ งทส่ี ตั ยซ์ ่อื ผทู้ รงดูแลทุกสรรพสง่ิ ทพ่ี ระองคส์ รา้ งขน้ึ ไม่ว่าจะใน
รปู แบบใดกต็ าม (10:29-31) นกกระจอกถูกนาไปซ้อื ขายทต่ี ลาด บางทกี ข็ ายคราวละสบิ ตวั คนยากจนจะซ้อื
ไป แต่ถึงแม้ นกกระจอกจะถูกล่าและถูกฆ่า แต่มนั ก็ไม่ได้อยู่นอกเหนือความรู้ อานาจ และความรกั อนั
สงู สดุ ของพระเป็นเจา้ ผทู้ รงเป็นพระผสู้ รา้ งสตั ยซ์ อ่ื ถงึ แมจ้ ะไม่มกี ารใหค้ าอธบิ ายทางทฤษฎี แต่ใน 6:25-34
เป็นการเรยี กรอ้ งใหไ้ วว้ างใจพระผสู้ รา้ งสรรพสง่ิ ทงั้ ปวง พระเป็นเจา้ ในฐานะพระผู้สรา้ งและพระผไู้ ถ่มนุษย์
ใหร้ อดพน้ คอื แนวคดิ ท่รี วมเป็นหน่ึงเดยี วกนั และเป็นรากฐานใหก้ บั ถ้อยคาทเ่ี ป็นกาลงั ใจน้ี ในเทววทิ ยา
ของนักบุญมทั ธวิ สรรพสง่ิ สรา้ งและศาสตรแ์ ห่งอวสานตกาลไม่ใช่สองตวั เลอื กท่ตี ่างกนั แต่เป็นมุมมองท่ี
ประกอบเสรมิ กนั และกนั เกย่ี วกบั พระเป็นเจา้ หน่งึ เดยี วผทู้ รงโอบอมุ้ สรรพสง่ิ ในโลกทงั้ สน้ิ
2. กฎระเบยี บอนั เขม้ งวด เคร่งครดั ยง่ิ กว่ากฎของนักเทศน์ลทั ธไิ ซนิก (Cynic Preacher) ผู้เดนิ ทางจารกิ
ช่วยใหค้ รสิ ตจกั รในซเี รยี สามารถแยกแยะมชิ ชนั นารที ่แี ทจ้ รงิ ออกจากพวกนักลงทุนประกอบการทงั้ หลาย (ดู ดี
ดาเช 11-13) ศาสนจกั รในปัจจุบนั กาลงั ต้องการความช่วยเหลอื เช่นนัน้ เพราะส่อื ต่างๆ ทาให้นักเทศน์ท่เี ป็นนัก
ธรุ กจิ หลายคนทาเงนิ ไดก้ อ้ นใหญ่ การประกาศศาสนาเชงิ พาณิชยเ์ ชน่ น้เี ป็นปัจจยั สาคญั ทท่ี าใหช้ าวครสิ ตท์ อ้ ถอย
ไม่ต้องการประกาศพระวรสารหรอื ทาพนั ธกจิ ใดๆ ทงั้ สน้ิ แต่ครสิ ตจกั รทเ่ี ช่อื ฟังพระวรสารของนักบุญมทั ธวิ จะ
ตอ้ งไม่ละทง้ิ กจิ แห่งการประกาศขา่ วดแี ห่งพระวรสารและการปฏบิ ตั พิ นั ธกจิ แห่งขา่ วดี สงิ่ ทจ่ี าเป็น คอื การรจู้ กั
แยกแยะ ตงั้ แต่สมยั แรกเรมิ่ พระศาสนจกั รตระหนกั ดวี า่ จาเป็นตอ้ งแยกบรรดาศษิ ย์ ผทู้ าพนั ธกจิ และประกาศกท่ี
แทจ้ รงิ ออกจากพวกเทจ็ เทยี ม แมว้ ่าจะกระทาไปโดยจรงิ ใจกต็ าม (1คร 12:1-3; ฟป 3:2-16; อฟ 4:4-16; 1ธส 5:12-13, 20-21;
1 ยน. 4:1-3; ดดี าเช 11-13) สง่ิ สาคญั ท่จี ะช่วยใหค้ รสิ ตจกั รแยกแยะผู้ประกาศเผยแผ่คาสอนจรงิ ออกจากผูเ้ ผยแผ่คา
สอนเทจ็ คอื ของประทานแหง่ พระจติ นนั่ เอง (1คร 12:10) ซง่ึ นกั บุญมทั ธวิ เขา้ ใจวา่ เป็นการประทบั อย่อู ยา่ งต่อเน่ือง
ของพระครสิ ตใ์ นพระศาสนจกั ร (มธ 1:23;28:16-20)
3. บนั ทกึ รายชอื่ ของคณะอคั รสาวกทงั้ สบิ สองคนบ่งบอกชอื่ ตามลาดบั ทลี ะชอื่ แสดงถงึ มติ แิ บบประกาศก
แหงพนั ธกจิ ของพวกท่าน พระเจา้ ทรงรูจ้ กั ชอื่ เราแต่ละคน โดยเรยี กชอื่ และพระองคท์ รงเรยี กชอื่ เราแต่ละคน นี่
มใิ ชเ่ ป็นทที่ เี่ ราจะใหภ้ าพของคนพวกนนั้ แตล่ ะคนวา่ เป็นใครกนั บา้ งทรี่ วมกลมุ่ กนั เป็นอคั รสาวกสบิ สองคนภายใต้
แสงสว่างของพระคมั ภรี แ์ ละธรรมประเพณี สงิ่ สาคญั สาหรบั เรา คอื เรอื่ งการประกอบกนั เป็นกลุ่มน้ีทสี่ นิทแน่น
เป็นเน้อื เดยี วกนั

ทมี่ าและคุณลกั ษณะแตกต่างมารวมตวั เป็นครอบครวั ใหม่ จากชาวยวิ สบิ สองคนผมู้ คี วามเชอื่ ทถี่ อื ตาม
บทบญั ญตั ิ ผเู้ ฝ้ารอคอยความรอดพน้ ของอสิ ราเอล แต่เมอื่ พจิ ารณาดูความคดิ เหน็ จรงิ ๆ ของพวกเขา พจิ ารณา
ถงึ ความนึกคดิ ของพวกเขาเรอื่ งวธิ ที ชี่ นอสิ ราเอลตอ้ งไดร้ บั การชว่ ยใหร้ อดพน้ แลว้ พวกเขาเป็นกลุ่มทแี่ ปลกแยก
ออกมาโดยส้นิ เชงิ สงิ่ น้ีช่วยใหเ้ ราเขา้ ใจไดว้ า่ ชา่ งยากสกั เพยี งไรทจี่ ะพาพวกเขาใหค้ ่อยๆ เขา้ มาสวู่ ถิ ที างใหม่อนั
เรน้ ลบั ของพระเยซูเจา้ มาส่สู ภาวะตงึ เครยี ดหลากหลายทพี่ วกเขาตอ้ งเอาชนะใหไ้ ดน้ นั้ ยกตวั อยา่ งเช่น การมใี จ
เร่ารอ้ นของพวกชาตนิ ิยมต้องได้รบั การชาระล้างให้บริสุทธส์ิ กั เพยี งไร ก่อนทจี่ ะสามารถเขา้ เป็นหนึง่ เดยี วกบั
“การมใี จรอ้ นรกั ” ของพระเยซูเจา้ ทพี่ ระวรสารของนักบุญยอหน์ กล่าวถงึ นนั้ ได้ (เทยี บ ยน. 2: 17) การมใี จรอ้ นรกั ของ
พระเยซูเจา้ สาเรจ็ ผลสมบรู ณ์บนไมก้ างเขน ภายในขอบขา่ ยกวา้ งใหญ่ของภมู หิ ลงั อารมณ์ ความรสู้ กึ และการทา

266

ความเขา้ ใจเหล่าน้ีเองทอี่ คั รสาวกสบิ สองคนทาใหพ้ ระศาสนจกั รของทุกยุคสมยั เกดิ เป็นตวั ตนข้นึ มา และทาให้
เป็นภารกจิ อนั ยากลาบากของพระศาสนจกั รในการชาระลา้ งใหบ้ รสิ ุทธแ์ิ ละในการรวบรวมผคู้ นทงั้ หลายใหเ้ ป็น
หนงึ่ เดยี วกบั การมใี จรอ้ นรกั ของพระเยซคู รสิ ตเจา้ นนั้ ดว้ ย(อา้ งแลว้ โยเซฟ รตั ซงิ เกอร์ “พระเยซูเจา้ แหง่ นาซาเรธ็ หน้า 318-321)

267

268


Click to View FlipBook Version