The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บทที่ 1 ความหมายและบทบาทของสถิติในชีวิตปร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Bundit Ponrach, 2022-07-10 01:53:30

บทที่ 1 ความหมายและบทบาทของสถิติในชีวิตปร

บทที่ 1 ความหมายและบทบาทของสถิติในชีวิตปร

หน่วยที่ 1

บทบาทของสถิติ
ในชวี ิตประจาวัน

ความหมายของสถติ ิ

1 2 สถติ ิ หมายถึง ศาสตร์ซ่ึงถือเป็นท้งั วิทยาศาสตร์
และศิลปศาสตร์ (Science and arts) วา่ ดว้ ย
สถิติ หมายถึง ตวั เลขที่ถูกรวบรวมข้ึน วิธีการเก็บรวบรวมขอ้ มูลท่ีเป็นตวั เลขซ่ึงแสดง
เพ่ือแสดงความหมายท่ีแน่นอน หรือ ถึงขอ้ เท็จจริงต่าง ๆ การนาเสนอขอ้ มูล การ
วิเคราะห์ การคานวณและตีความหมายของ
หมายถึงตัวเลขที่แทนข้อเท็จจริ ง ข้อมูลผลสรุ ปที่ รวบรวมมาเพื่อนาไปสู่ การ
ตดั สินใจท่ีมีเหตุผล เรียกสถิติในฐานะท่ีเป็ น
เก่ียวกบั ลกั ษณะสาคญั ของขอ้ มลู น้นั ๆ ศาสตร์และศิลปศาสตร์วา่ “สถติ ศิ าสตร์”
ดงั น้ัน สถิติจะประกอบข้ึนดา้ นตวั เลข
ต้งั แต่ 2 ตวั ข้ึนไป

สถติ ใิ นชวี ติ ประจาวนั

สถิติอยู่รอบตวั เราเสมอ เพราะส่วนใหญ่เราจะตอ้ งไดพ้ บกบั ขอ้ มูล ใน
ช่องทางการส่ือสารในรปู แบบต่าง ๆ เช่น หนงั สือ ข่าว การประชาสมั พนั ธ์
งานวิจยั เว็บไซต์ ส่ืออินเทอรเ์ น็ต ซ่ึงช่องทางท่ีกล่าวไปนั้นจะมีวิธีการ
และข้อมูลทางสถิติเก่ียวข้องอยู่ดว้ ยเสมอ ตัวอย่างคือ สถิติจานวน
ประชากร สถิติการเกิดอบุ ตั ิเหตุ สถิติจานวนผูป้ ่ วยโรคต่าง ๆ เป็ นตน้ ซึ่ง
สถิติเหล่าน้ี มักแสดงอยู่ในรูปของตาราง กราฟแท่ง กราฟเชิงเส้น
แผนภาพ วงกลม รวมไปถึง ขอ้ มูลทางสถิติในการตอบแบบสอบถาม
ขอ้ มูลการวิจยั การสมั ภาษณ์

สถิติในชีวิตประจาวนั รำคำนำ้ มันประจำวนั ที่ 16 พ.ย. 2564

จำนวนผู้ติดเชอ้ื โควดิ รำยใหมร่ ำยวัน จำนวนผเู้ สยี ชวี ติ โควดิ รำยรำยวนั

ทาไมต้องเรียนสถิติ

สถิติมีประโยชน์ต่อการศึกษาคน้ ควา้ ไม่ว่าจะเป็ นทางดา้ น
วิทยาศาสตร์ การเพ่ิมผลผลิตทางด้านอุตสาหกรรม การ
ควบคุมทางดา้ นเศรษฐกิจ และกิจกรรมอ่ืน ๆ เป็นเหตุผลและ
ความจาเป็นท่ีจะตอ้ งศึกษาทางดา้ นสถิติ

ความหมายและประเภทของข้อมูล

ความหมายของขอ้ มูล

ข้อมูล (data) คือ ขอ้ เทจ็ จริงที่ไดจ้ ากหน่วยตวั อยา่ งอาจ
เป็นตวั เลข หรือขอ้ ความ รวมท้งั สญั ลกั ษณ์พิเศษต่าง ๆ

ประเภทของข้อมูล
จาแนกตามแหล่งทม่ี าของข้อมูล
ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary data) ข้อมูลทุตยิ ภูมิ (Secondary data)

ประเภทของข้อมูล

ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary data)

ขอ้ มูลปฐมภูมิ คือ ขอ้ มูลท่ีผใู้ ชห้ รือหน่วยงานท่ีจะใชข้ อ้ มูล
เป็นผเู้ กบ็ รวบรวมเอง ซ่ึงอาจจะเกบ็ โดยการสมั ภาษณ์
ทดลอง วดั หรือสังเกตการณ์ ขอ้ มูลปฐมภูมิจะเป็นขอ้ มูลที่มี
รายละเอียดตรงตามท่ีผใู้ ชข้ อ้ มูลตอ้ งการ แต่จะตอ้ งเสียเวลา
และค่าใชจ้ ่ายในการเกบ็ รวบรวมมาก และขอ้ มูลท่ีไดเ้ ป็น
ขอ้ มูลดิบ (Raw data) ซ่ึงเป็นขอ้ มูลท่ียงั ไม่ไดว้ ิเคราะห์

ประเภทของข้อมูล

ข้อมูลทุตยิ ภูมิ (Secondary data)

ขอ้ มูลทุติยภูมิ คือ ขอ้ มูลท่ีผใู้ ชไ้ ม่ไดเ้ กบ็ รวบรวมเอง แต่มี
ผอู้ ื่นหรือหน่วยงานอื่นทาการเกบ็ รวบรวมเอาไวแ้ ลว้
ส่วนมากจะเป็นขอ้ มูลท่ีผา่ นการวเิ คราะห์เบ้ืองตน้ มาแลว้
ผใู้ ชน้ ามาใชไ้ ดเ้ ลย

การจาแนกประเภทของข้อมูล

จาแนกตามลกั ษณะของข้อมูล

ข้อมูลเชิงปริมาณ ข้อมูลเชิงคุณภาพ
(Quantitative Data) (Qualitative Data)

การจาแนกประเภทของข้อมูลตามลกั ษณะของข้อมูล

ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Data)

ขอ้ มูลเชิงปริมาณ คือ ขอ้ มูลที่ใชแ้ ทนขนาดหรือปริมาณซ่ึงวดั ออกมาเป็นจานวนที่
แน่นอน สามารถนามาใชเ้ ปรียบเทียบกนั ไดโ้ ดยตรง เช่น จานวนนกั ศึกษา รายได้
อตั ราดอกเบ้ีย เป็นตน้

ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Data)

ขอ้ มูลเชิงคุณภาพ คือ ขอ้ มูลท่ีไม่สามารถวดั ออกมาเป็นจานวนไดแ้ น่นอน แต่อธิบาย
ลกั ษณะหรือคุณสมบตั ิในเชิงคุณภาพได้ เช่น ลกั ษณะสินคา้ สีของดอกไม้ อาชีพ เป็นตน้

การจาแนกประเภทของข้อมูล

จาแนกตามช่วงเวลาการเกบ็

ข้อมูลอนุกรมเวลำ ขอ้ มลู ภำคตดั ขวำง
( Time-series Data) ( Cross-sectional Data)

การจาแนกประเภทของข้อมูลตามช่วงเวลาการเกบ็

ข้อมูลอนุกรมเวลำ ( Time-series Data)
เปน็ ข้อมลู ทถี่ กู เก็บรวบรวมตามลาดับเวลาทเ่ี กดิ ขึน้ ตอ่ เนอ่ื งไปเร่อื ยๆ เช่น จานวนประชากรของ
ประเทศไทยในแตแ่ ตล่ ะปี จานวนผปู้ ว่ ยที่เขา้ รบั การรกั ษาพยาบาลในโรงพยาบาลตา่ งๆ ในแต่
ละปี จานวนผตู้ ิดเชื้อ โควิด-2019 รายเดือน เปน็ ต้น ข้อมูลอนกุ รมเวลาเปน็ ประโยชนใ์ นการ
วจิ ยั ระยะเวลายาว ทาให้ผูว้ จิ ยั มองเหน็ แนวโนม้ ของเร่ืองต่างๆนน้ั ได้

ขอ้ มลู ภำคตดั ขวำง ( Cross-sectional Data )
เป็นข้อมูลทเ่ี ก็บรวบรวม ณ เวลาใดเวลาหน่งึ เทา่ นน้ั เพอ่ื ประโยชนใ์ นการศกึ ษาวจิ ยั อยา่ งไรก็
ตามในการจัดประเภทของข้อมูลนี้ จะข้ึนอยกู่ บั วัตถุประสงค์ในการนาไปวิเคราะห์และใช้
ประโยชน์ดว้ ย

การจาแนกประเภทของข้อมูลตามช่วงเวลาการเกบ็

ตวั อยา่ งการเกบ็ ขอ้ มูลภาคตดั ขวาง ตัวอย่างการเกบ็ ขอ้ มลู อนกุ รมเวลา

การจาแนกข้อมูลตามวธิ ีการเกบ็ รวบรวมข้อมูล

วธิ ีการเกบ็ รวบรวมข้อมูล

การสามะโน (Census) การสารวจด้วยตัวอย่าง
(Sample Survey)

การจาแนกข้อมูลตามวธิ ีการเกบ็ รวบรวมข้อมูล

การสามะโน (Census)

การสามะโน คือ การเก็บรวบรวมขอ้ มูลจากทุก ๆ หน่วยของประชากร หรือ
สิ่งที่เราตอ้ งการศึกษา ซ่ึงการเก็บขอ้ มูลในลกั ษณะน้ีทาให้เสียเวลาและ
คา่ ใชจ้ ่ายในการเก็บรวบรวมขอ้ มูลมาก การเก็บรวบรวมโดยวิธีน้ีไม่ค่อยนิยม
ใช้ในทางปฏิบัติ ยกเว้นกรณีที่ประชากรมีขนาดเล็กหรื อมีขอบเขตไม่
กวา้ งขวางนกั การสามะโนจึงมกั ทาในหน่วยงานของรัฐ

การจาแนกข้อมูลตามวธิ ีการเกบ็ รวบรวมข้อมูล

การจาแนกข้อมูลตามวธิ ีการเกบ็ รวบรวมข้อมูล

การสารวจด้วยตัวอย่าง (Sample Survey)
เหตุผลที่ตอ้ งมีการสุ่มตวั อย่าง

ประชากรมีขนาดใหญ่เกินไป

การสารวจดว้ ยตวั อยา่ ง คือ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลจากบางหน่วยเพอ่ื มาเป็นตวั แทน
ของทุก ๆ หน่วยของประชากรหรือสิ่งท่ีเราตอ้ งการศึกษาเท่าน้นั อยา่ งไรกต็ ามการ
เลือกศึกษาเพยี งบางส่วนจากประชากร จะตอ้ งมีวธิ ีการเลือกท่ีเหมาะสม เพื่อใหไ้ ด้
ตวั อยา่ งท่ีดีท่ีสามารถเป็นตวั แทนของประชากรไดเ้ ป็นอยา่ งดี

วธิ ีการสุ่มตวั อย่าง

การสุ่มตวั อย่างโดยไม่ การสุ่มตวั อย่างโดยใช้
ใช้ความน่าจะเป็ น ความน่าจะเป็ น
(Non-probability
sampling) (probability sampling)

การสุ่มตวั อย่างโดยไม่ใช้ความน่าจะเป็ น

การสุ่มตวั อย่างตามความ
สะดวก (Convenience

sampling)

การสุ่มตวั อย่างโดย การสุ่มตวั อย่างโควตา
วจิ ารณญาณ (Quota sampling)

(Judgment sampling)

การสุ่มตวั อย่างโดยไม่ใช้ความน่าจะเป็ น

การสุ่มตวั อย่างตามความสะดวก (Convenience sampling)

เป็ นการเลือกตวั อย่างทไี่ ม่มีหลกั เกณฑ์ใดๆ ผู้ถูกเลือกเพยี งแต่
เลือกหน่วยตัวอย่างตามความสะดวกจนครบจานวนตัวอย่าง
ตามทตี่ ้องการ เช่น การให้ลูกค้าทดสอบรสชาตขิ องเคร่ืองด่ืม
ชนิดใหม่ อาจไปต้งั โต๊ะแจกเครื่องด่ืมตามศูนย์การค้า หรือ
ซุปเปอร์มาร์เกต็ แล้วให้ลูกค้าชิมเคร่ืองด่ืมแล้วสอบถามความ
พอใจในรสชาติ

การสุ่มตวั อย่างโดยไม่ใช้ความน่าจะเป็ น

การสุ่มตวั อย่างโดยวจิ ารณญาณ (Judgment sampling)

เป็ นการเลือกตวั อย่างทพ่ี จิ ารณาถงึ กลุ่มเป้าหมายทสี่ ามารถให้
ข้อมูลในเรื่องทส่ี นใจศึกษา เช่น ในการศึกษาถงึ ความสาเร็จ
ของผู้บริหารระดบั สูงซึ่งเป็ นสตรี ผู้ทส่ี ามารถให้ข้อมูลได้คือ
สตรีทม่ี ีตาแหน่งผู้บริหารระดบั สูงขององค์กรต่าง ๆ

การสุ่มตวั อย่างโดยไม่ใช้ความน่าจะเป็ น

การสุ่มตวั อย่างโควตา (Quota sampling)

การสารวจความคิดเห็นทางด้านสวสั ดิการต่าง ๆ ของบริษทั ซึ่งเป็ น

บริษัทท่ีผลติ เครื่องไฟฟ้า โดยพนักงานของบริษัทประกอบด้วย

คนงานและพนักงานสานักงาน ซึ่งมีคนงาน 60% พนักงานสานักงาน

40% ถ้าคาดว่าความคดิ เห็นด้านสวสั ดกิ ารของคนสองกล่มุ นี้

แตกต่างกนั เม่ือกาหนดให้ตวั อย่างมขี นาด 30 คน เราสามารถคานวณ

ขนาดตวั อย่างจากแต่ละกลุ่มตามเปอร์เซ็นต์ของขนาดประชากร

ขนาดตัวอย่าง คนงาน 30(0.6) = 18 คน

ขนาดตวั อย่าง พนักงานสานักงาน 30(0.4) = 12 คน

การสุ่มตวั อย่างโดยใช้ความน่าจะเป็ น

การสุ่มตวั อย่างเอย่างง่าย การสุ่มตวั อย่างแบบมีระบบ
(Simple random sampling) (Systematic random sampling)

การสุ่มตวั อย่างแบบ การสุ่มตวั อย่างแบบแบ่งกล่มุ
แบ่งเป็ นช้ันภูมิ (Cluster sampling)

(Stratified sampling) การสุ่มตวั อย่างแบบหลายช้ัน
(Multistage sampling)

การสุ่มตวั อย่างโดยใช้ความน่าจะเป็ น

การสุ่มตวั อย่างอย่างง่าย (Simple random sampling)

เป็นการเลือกตวั อยา่ งที่ใหแ้ ต่ละหน่วยในประชากรมีโอกาส
ถูกเลือกเท่า ๆ กนั ในแต่ละคร้ังของการเลือก ถา้ ประชากรมี
N หน่วย และตอ้ งการสุ่มขนาด n หน่วย สุ่มทีละหน่วย

การสุ่มตวั อย่างโดยใช้ความน่าจะเป็ น

การสุ่มตวั อย่างอย่างง่าย (Simple random sampling) มี 2 วธิ ีคือ

1. การสุ่มตวั อย่างแบบคืนท่ี
(Sampling with
replacement)

2. การสุ่มตวั อย่างแบบไม่
คืนท่ี (Sampling without

replacement)

การสุ่มตวั อย่างโดยใช้ความน่าจะเป็ น

เทคนิคการสุ่มตวั อย่างแบบง่ายทาได้หลายวธิ ี ได้แก่
การเลือกโดยการจบั ฉลาก

การเลือกโดยใชต้ ารางสุ่ม

การสุ่มตวั อย่างโดยไม่ใช้ความน่าจะเป็ น

ตารางเลขสุ่ม

การสุ่มตวั อย่างโดยใช้ความน่าจะเป็ น

การสุ่มตวั อย่างแบบมรี ะบบ

เป็นวธิ ีการสุ่มตวั อยา่ งขนาด n โดยสุ่มมีระบบ ทุก ๆ k หน่วย
จากประกรขนาด N ทาดงั น้ี
1. เรียงหน่วยตวั อยา่ งในประชากรจาก 1, 2, 3, …, N
2. คิดค่า เรียก k วา่ ช่วงสุ่ม (sampling interval) จาก k = N/n
3. สุ่มจุดเร่ิมตน้ มาเป็นตวั เลข 1 ตวั
4. ตวั อยา่ งขนาด n ตวั ถดั ไปคือ

i , i + k , i + 2k , i + 3k, …,i + (n-1)k

การสุ่มตวั อย่างโดยใช้ความน่าจะเป็ น

การสุ่มตวั อย่างแบบแบ่งเป็ นช้ันภูมิ (Stratified sampling)

ในกรณที ปี่ ระชากรมคี วามแตกต่างกนั มากในเร่ืองทส่ี นใจ จงึ ควร
แบ่งประชากรออกเป็ นส่วน ๆ เรียกว่าช้ันภูมิ (strata) โดยให้หน่วย
ตวั อย่างทอี่ ยู่ในช้ันภูมิเดยี วกนั มลี กั ษณะทส่ี นใจศึกษาเหมือนกนั
หรือใกล้เคยี งกนั มากทสี่ ุด และให้แตกต่างจากช้ันภูมอิ ื่นๆ แล้วสุ่ม
ตวั อย่างมาจากแต่ละช้ันภูมิโดยอสิ ระกนั ตวั อย่างกค็ อื หน่วย
ตวั อย่างทเี่ ลือกได้จากช้ันภูมติ ่าง ๆ ทุกช้ันภูมิ

การสุ่มตวั อย่างโดยใช้ความน่าจะเป็ น

แผนภาพการสุ่มตวั อย่างแบบแบ่งเป็ นช้ันภูมิ (Stratified sampling)

☺     
☺   
☺ ☺  ☺
   ☺
☺    
ตวั อยา่ ง
☺  ☺☺☺ ☺
 ☺ ☺ ☺☺

ประชากร ชั้นภมู ิ

การสุ่มตวั อย่างโดยใช้ความน่าจะเป็ น

การสุ่มตวั อย่างแบบแบ่งกลุ่ม (Cluster sampling)

เป็ นวธิ ีการสุ่มตวั อย่างทมี่ กี ารแบ่งประชากรออกเป็ นกล่มุ (cluster)
แล้วถือว่ากลุ่มของหน่วยตวั อย่างเหล่านีแ้ ต่ละกลุ่มเป็ นแต่ละหน่วย
ตวั อย่าง แล้วเราจะเลือกกลุ่มของหน่วยตวั อย่างเหล่านมี้ าจานวน
หนึ่งโดยวธิ ีสุ่มแบบใดกไ็ ด้ โดยปกตเิ ราจะแบ่งประชากรออกเป็ น
กลุ่มของหน่วยตวั อย่างโดยรวมหน่วยตวั อย่างทอ่ี ยู่ใกล้เคยี งกนั
หรือรวมหน่วยตวั อย่างที่จะวดั ค่าด้วยกนั ง่าย ๆ ไว้ในกล่มุ เดยี วกนั



การสุ่มตวั อย่างโดยใช้ความน่าจะเป็ น

แผนภาพการสุ่มตวั อย่างแบบ แบ่งกล่มุ (Cluster sampling)

☺  ☺ ☺  ☺☺
☺   
☺ ☺  
  
☺  ตวั อยา่ ง
☺ ☺
☺ 
 ☺ ☺☺

ประชากร ☺ ☺ 
ชนั้ ภมู ิ

การสุ่มตวั อย่างโดยใช้ความน่าจะเป็ น

การสุ่มตวั อย่างแบบหลายช้ัน
(Multistage sampling)

เป็ นการสุ่มตวั อย่างทมี่ ีการสุ่มตวั อย่าง
เป็ นข้นั ๆ มกั ใช้มากเกย่ี วกบั การสารวจ

ขนาดใหญ่

การสุ่มตวั อย่างโดยใช้ความน่าจะเป็ น

การสุ่มตวั อย่างแบบหลายช้ัน (Multistage sampling)

ระดบั การวดั ของข้อมูล
จาแนกได้ 4 ระดบั ดงั นี้

มาตรานามบญั ญตั ิ มาตราแบบอนั ตร
(nominal scale) ภาคหรือแบบช่วง
(interval scale )

มาตราเรียงลาดบั มาตราอตั ราส่วน

(ordinal scale ) (ratio scale )

ระดบั การวดั ของข้อมูล

มาตรานามบญั ญตั ิ (nominal scale)
เป็นระดบั การวดั ที่หยาบที่สุดโดยหลกั การเบ้ืองตน้ เป็นการจาแนกขอ้ มูล
เป็นประเภทหรือกลุ่มยอ่ ย เช่น เพศ แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ ชายและหญิง

มาตราเรียงลาดบั (ordinal scale )
เป็นระดบั การวดั ของขอ้ มูลซ่ึงแสดงความสมั พนั ธ์ของสิ่งท่ีตอ้ งการวดั โดยคานึงถึง
อนั ดบั หรือลาดบั ท่ีเป็นสาคญั โดยขอ้ มูลที่ไดส้ ามารถนามาเรียงลาดบั ไดแ้ ต่ไม่
สามารถบอกความมากนอ้ ยระหวา่ งขอ้ มูลไดว้ า่ แตกต่างกนั ได้

ระดบั การวดั ของข้อมูล

มาตราแบบอนั ตรภาคหรือแบบช่วง (interval scale )

เป็นระดบั การวดั ของขอ้ มูลท่ีสามารถบอกช่วงห่างของขอ้ มูลไดว้ า่ มีมากนอ้ ยอยเู่ ท่าใดจึง
ทาการบวกและลบได้ ไม่มีศูนยแ์ ท้ เช่น อุณหภูมิ เกรด เป็นตน้

มาตราอตั ราส่วน (ratio scale )

เป็นระดบั การวดั ขอ้ มูลที่ละเอียดท่ีสุด โดยเป็นมาตรา-วดั ท่ีมีค่าแน่นอน และมีความ
สมบูรณ์ของขอ้ มูลเพราะมีศูนยแ์ ท้ จึงสามารถนาขอ้ มูลมาทา การบวก ลบ คูณ หารได้
เช่น อายุ น้าหนกั ส่วนสูง ความเร็ว ความเร่ง

สรุปผลเกย่ี วกบั ระดบั การวดั ของข้อมูลท้งั 4 ระดบั

ระเบียบวธิ ีทางสถติ ิ

การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล การนาเสนอขอ้ มูล
(Data Collection) (Data Presentation)

การวิเคราะห์ขอ้ มูล การตีความหมายขอ้ มูล
(Data Analysis) (Data Interpretation)

การเกบ็ รวบรวมข้อมูล (Data Collection)

การเก็บรวบรวมข้อมูล หมายถึง กระบวนการท่ีจะให้ได้ข้อมูลมา เพ่ือตอบสนอง
วตั ถุประสงคข์ องการศึกษาขอ้ มูลเรื่องใดเร่ืองหน่ึง ท่ีผศู้ ึกษาขอ้ มูลตอ้ งการ ใหเ้ ป็นระบบท่ีทา
ให้ได้ขอ้ มูลนาไปใช้ต่อได้ แม้ว่าจะมีวิธีในการเก็บรวบรวมขอ้ มูลท่ีแตกต่างกันไปตาม
หลกั เกณฑ์ แต่กย็ งั คงใหค้ วามสาคญั กบั การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลท่ีถูกตอ้ งและเที่ยงตรง การ

กำรเลือกใชเ้ คร่ืองมือในกำรเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ที่เหมำะสม และไดร้ ับคำแนะนำในกำร
ดำเนินกำรเก็บรวบรวมข้อมลู ท่ีถกู ต้อง จะลดโอกำสในกำรเกิดข้อผดิ พลำดได้

การเกบ็ รวบรวมข้อมูลสามารถเกบ็ ได้จาก
1. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลจากการลงทะเบียนหรือการบนั ทึก
2. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลจากการสารวจ
3. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลจากการทดลอง

รูปแบบและวิธีกำรสบื ค้นข้อมูลสำรสนเทศ

การสืบค้นสารสนเทศ แบง่ ออกเป็น 2 วธิ ี คือ
1. การสบื คน้ สารสนเทศดว้ ยระบบมือ (Manual system)
2. การสบื ค้นสารสนเทศด้วยระบบคอมพิวเตอร์ (Computer system)

กำรสบื คน้ สำรสนเทศด้วยระบบมอื
สามารถกระทาได้โดยผ่านเครื่องมือหลายประเภท เช่น บตั รรายการ บัตรดรรชนวี ารสาร
บรรณานุกรม เป็นตน้ ในทนี่ จ้ี ะกลา่ วถงึ เฉพาะบัตรรายการและ บัตรดรรชนวี ารสารเท่านั้น

กำรสบื คน้ สำรสนเทศดว้ ยระบบคอมพวิ เตอร์
สามารถกระทาไดโ้ ดยผ่านอุปกรณ์คอมพวิ เตอร์ในการคน้ หาขอ้ มูลจากฐานข้อมลู ต่าง ๆ ไดแ้ ก่

รปู แบบและวิธีกำรสบื ค้นข้อมลู สำรสนเทศ

กำรสืบค้นสำรสนเทศดว้ ยระบบคอมพิวเตอร์

กำรสืบค้นสำรสนเทศดว้ ยระบบคอมพิวเตอร์ประกอบไปดว้ ย

* ฐำนขอ้ มูลโอแพ็ก (OPAC) * ฐำนขอ้ มูลซีดรี อม

* ฐำนขอ้ มูลออนไลน์ * ฐำนขอ้ มลู บนอนิ เตอร์เน็ต

1. ฐำนขอ้ มูลโอแพก็ (OPAC)
OPAC ยอ่ มาจาก Online Public Access Catalog ใช้สาหรบั ค้นหาข้อมลู ทางบรรณานุกรมของ
ทรพั ยากรสารสนเทศ ทีห่ อ้ งสมุดจัดหาเขา้ มา ใชป้ ระโยชนใ์ นการ
1. ค้นหาข้อมลู ทางบรรณานกุ รมของรายการทรพั ยากรสารสนเทศท่ีตอ้ งการ
2. ตรวจสอบรายการยมื ทรัพยากรสารสนเทศของตนเอง
3. ค้นหาบทความจากวารสารทีม่ ีให้บริการในห้องสมุด

รปู แบบและวธิ กี ำรสบื ค้นข้อมลู สำรสนเทศ

2.ฐำนข้อมูลซดี ีรอม
ฐานขอ้ มลู สาเร็จซดี รี อม จึงจดั เปน็ หนังสืออิเลก็ ทรอนกิ สท์ ่ีใหข้ ้อมูลท่ที ันสมัยกวา่ สอ่ื ชนิดเดยี วกนั ที่
ผลติ ออกมาในรปู หนังสอื เพราะข้อมูลตา่ ง ๆ สามารถปรบั ปรงุ ใหท้ นั สมยั ได้ในซดี ีรอมชุดใหม่ ซึง่
หอ้ งสมดุ จะบอกรบั เช่นเดยี วกบั วารสารและผูผ้ ลติ จะส่งแผน่ ใหม่มาเปล่ยี นแผ่นเก่าเป็นระยะ ๆ เชน่
ทกุ 3 เดือน ทกุ 6 เดือน นอกจากน้ียังได้ข้อมูลที่มากกวา่ หนังสือ ใช้เน้ือที่ในการจัดเกบ็ นอ้ ย

3. ฐำนข้อมูลออนไลน์
ฐานขอ้ มูลออนไลน์ (Online Database) เปน็ ทรัพยากรสารสนเทศประเภทหน่ึงทีม่ คี วามสาคญั ใน
การใหบ้ รกิ ารของห้องสมดุ ฐานข้อมูลออนไลน์ หมายถึงฐานข้อมูลที่ใหบ้ ริการผา่ นทางระบบ
เครอื ขา่ ยคอมพิวเตอรแ์ ละใหบ้ ริการผา่ นทางอนิ เทอรเ์ น็ต ผจู้ ัดการฐานข้อมูลหรอื สานกั พมิ พส์ ามารถ
ปรบั ปรงุ ฐานข้อมูลใหท้ นั สมัย และผู้ใช้สามารถเขา้ ถึงขอ้ มูลไดต้ ลอดเวลา

รูปแบบและวธิ ีกำรสบื คน้ ขอ้ มลู สำรสนเทศ

ประเภทของฐำนขอ้ มูลออนไลน์ เมือ่ แบ่งตำมเนอ้ื หำสำรสนเทศทีใ่ หบ้ รกิ ำร

1. ฐานข้อมูลบรรณานกุ รม (Bibliographic Databases)
เป็นฐานขอ้ มูลที่ใหข้ อ้ มูลทางบรรณานุกรม เช่น ชือ่ ผแู้ ตง่ ช่อื เรอื่ ง หวั เรื่อง อาจมีสาระสังเขปเพ่ือแนะนาผู้

ค้นควา้ ให้ไปอ่านรายละเอียดจากต้นฉบบั จริง เชน่ ฐานขอ้ มูลทรัพยากรสารสนเทศในหอ้ งสมดุ (Web OPAC)
ฐานข้อมลู ISI : Web of Science ฐานขอ้ มลู Scopus โดยท้งั สองฐานข้อมลู เปน็ ฐานขอ้ มลู บรรณานุกรมและ
สาระสงั เขป ใหข้ อ้ มูลการอ้างองิ ผลงานวจิ ยั (Citation Database) ฐานขอ้ มูล DAO ให้ขอ้ มูลบรรณานุกรมและ
สาระสงั เขปของวทิ ยานิพนธ์ต่างประเทศ ฐานขอ้ มูล ERIC ใหข้ ้อมลู บรรณานกุ รมและสาระสงั เขปของหนงั สือและ
บทความจากวารสารดา้ นการศึกษา เปน็ ตน้
2. ฐานขอ้ มูลเนอ้ื หาฉบบั เตม็ (Full-Text Databases)

เป็น ฐานข้อมลู ทใ่ี ห้สารสนเทศครบถ้วน เชน่ เดียวกบั ต้นฉบบั เช่น ฐานข้อมูล ScienceDirect, IEEE/IEE
Electronic Library (IEL) หรือ ACM Digital Library เป็นตน้

รูปแบบและวธิ ีกำรสบื คน้ ขอ้ มูลสำรสนเทศ

4. ฐำนขอ้ มูลบนอินเตอร์เนต็
กำค้นหำข้อมูลบนอินเตอรเ์ นต็ สำมำรถแบง่ ตำมลักษณะกำร
ทำงำนได้ 3 ประเภท คือ
1. Search Engine การคน้ หาข้อมูลดว้ ยคาทเ่ี จาะจง
Search Engine เป็นเวบ็ ไซต์ที่ชว่ ยในการคน้ หาข้อมูลโดยใช้
โปรแกรมช่วยในการคน้ หาที่เรยี กวา่ Robot ทาหน้าทรี่ วบรวม
ขอ้ มลู เก่ียวกับเว็บไซต์ในอนิ เตอรเ์ นต็ มาเก็บไวใ้ นฐานขอ้ มูล ซ่งึ
การคน้ หาขอ้ มลู รูปแบบน้ีจะชว่ ยให้สามารถค้นหาข้อมลู ไดต้ รง
กบั ความต้องการเฉพาะได้ระบคุ าท่ีเจาะจงลงไป เพ่ือให้โรบอต
เปน็ ตวั ช่วยในการค้นหาข้อมูลซึ่งเป็นรปู แบบที่เป็นทนี่ ยิ มมาก
เช่น www.google.com

4. ฐำนขอ้ มูลบนอนิ เตอรเ์ นต็ รูปแบบและวธิ ีกำรสบื คน้ ขอ้ มูล
2. Search Directories กำรคน้ หำข้อมูลตำมหมวดหมู่ สำรสนเทศ

การคน้ หาขอ้ มลู ตามหมวดหม่โู ดยมีเว็บไซต์ทเ่ี ปน้ ตัวกลางใน
การรวบรวมข้อมลู ในระบบเครือข่ายอนิ เตอร์เน็ต โดยจัดข้อมูลเปน็
หมวดหมู่เพือ่ ใหผ้ ใู้ ชส้ ามารถเลือกขอ้ มลู ตามที่ต้องการได้โดยการจดั
หมวดหมขู่ องข้อมูลจะจดั ตามขอ้ มลุ ท่ีคล้ายกัน หรอื เปน็ ประเภท
เดียวกนั นามารวบรวมไวใ้ นกล่มุ เดยี วกนั ลักษณะการค้นหา
ข้อมลู Search Directories จะทาให้ผใู้ ช้สะดวกในการเลอื กขอ้ มูลที่
ต้องการคน้ หา และทาใหไ้ ด้ข้อมูลตรงกับความตอ้ งการการค้นหาวิธนี ้ี
มีข้อดคี ือ สามารถเลือกจากชือ่ ไดเร็กทอรส่ี ท์ ่ีเก่ยี วขอ้ งกับสงิ่ ท่ี
ต้องการค้นหา และสามารถท่ีจะเขา้ ไปดวู า่ มีเวบ็ ไซตใ์ ด้บ้างไดท้ ันที
เชน่ www.sanook.com

รปู แบบและวธิ ีกำรสบื ค้นขอ้ มูลสำรสนเทศ

4. ฐำนขอ้ มลู บนอินเตอรเ์ น็ต
3. กำรคน้ หำจำกหมวดหมู่ หรอื Directories

กำรให้บริกำรคน้ หำข้อมูลด้วยวิธนี ้ี เปรยี บเสมอื นเรำเปดิ หน้ำตำ่ ง
เข้ำไปในห้องสมดุ ซ่ึงได้จดั หมวดหมขู่ องหนังสือไวแ้ ลว้ และเรำกไ็ ด้
เดนิ ไปยังหมวดหมู่ของหนงั สือที่ต้องกำร ซง่ึ ภำยในหมวหมู่ใหญน่ ้นั ๆ
ยงั ประกอบดว้ ยหมวดหมู่ย่อย ๆ เพ่ือใหไ้ ด้ข้อมุลที่ชดั เจนยิ่งขึน้ หรือ
แบ่งประเภทของข้อมุลให้ชัดเจน เรำก็จะสำมำรถเข้ำไปหยบิ หนงั สอื ท่ี
ต้องกำรได้ แล้วกเ็ ปิดเขำ้ ไปอำ่ นเนอ้ื หำขำ้ งในของหนงั สอื เลม่ น้ัน วธิ ี
นจี้ ะชว่ ยใหก้ ำรคน้ หำขอ้ มลู ไดง้ ่ำยขึน้ มเี วบ็ ไซตม์ ำกมำยท่ีใหบ้ รกิ ำร
กำรค้นหำข้อมลู ในรูปแบบน้ี เช่น www.siamguru.com ,
www.sanook.com , www.excite.com , www.hunsa.com ,
www.siam-search.com

การวเิ คราะห์ข้อมูล (Data Analysis)

เป็ นข้นั ตอนการประมวลผลขอ้ มูล ซ่ึงในการวิเคราะห์ จาเป็ นตอ้ งอา้ งอิง ทฤษฎีสถิติ
ต่าง ๆ ท้งั น้ีข้ึนอยู่กับวตั ถุประสงค์ของงานน้ันๆ เช่น การวิเคราะห์แนวโน้มเขา้ สู่
ส่วนกลาง การวิเคราะห์การกระจาย การวิเคราะห์ความสัมพนั ธ์เชิงฟังก์ชัน การ
ทดสอบสมมติฐาน การประมาณคา่ เป็นตน้

สถิติพนื้ ฐำนท่ีควรรู้

กำรแจกแจงควำมถ่ี
คำ่ สัดส่วน คำ่ ร้อยละ


Click to View FlipBook Version