The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

00_30รวม_คู่มือครู

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Lapadrada Kethom, 2021-05-18 05:31:45

00_30รวม_คู่มือครู

00_30รวม_คู่มือครู

เอกสาร
แบบบนั ทึกสรุปองค์ความรแู้ ละบันทึกกจิ กรรม
การเสริมสรา้ งสมรรถนะครูผูช้ ่วยส่กู ารเปน็ ครูมอื อาชพี

ชอื่ ..........................................สกลุ .................................
โรงเรียน.........................................สพป/สพม...............................เขต.......

สำนักพัฒนำระบบบรหิ ำรงำนบุคคลและนิติกำร
สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้ันพื้นฐำน

คานา

เอกสำรแบบบันทึกสรุปองค์ควำมรูแ้ ละบันทึกกจิ กรรมกำรเสริมสร้ำงสมรรถนะครูผู้ช่วย
สู่กำรเป็นครูมืออำชีพ เล่มน้ีจัดทำขึ้นเพ่ือให้ใช้เป็นเอกสำรประกอบเสรมิ สร้ำงสมรรถนะครผู ู้ช่วย
สู่กำรเป็นครูมืออำชีพ ของสำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำ/มัธยมศึกษำ ซึ่งเป็นหน่วย
ผูจ้ ดั กำรกำรอบรมพัฒนำ ใชค้ วบคกู่ บั เอกสำรเพ่อื กำรเสริมสร้ำงสมรรถนะครูผูช้ ่วย อีกจำนวน ๓ เล่ม
คอื เลม่ ท่ี ๑ เอกสำรคมู่ ือกำรพัฒนำตนเองผ่ำนระบบออนไลน์ และกำรประชุมปฏิบัตกิ ำรเสริมสรำ้ ง
สมรรถนะครูผู้ช่วยสู่กำรเป็นครูมืออำชีพ เล่มท่ี ๒ คู่มือกำรประชุมปฏิบัติกำรเสริมสร้ำงสมรรถนะ
ครูผู้ช่วยสู่กำรเป็นครูมืออำชีพ (สำหรับวทิ ยำกร/วิทยำกรพี่เล้ียง) และ เล่มท่ี ๔ ๔ เอกสำรควำมรู้
พ้นื ฐำนประกอบกำรพัฒนำตนเองผ่ำนระบบออนไลน์และกำรประชุมปฏิบัติกำรเสริมสรำ้ งสมรรถนะ
ครผู ู้ชว่ ยสกู่ ำรเป็นครมู อื อำชพี

สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขัน้ พ้ืนฐำน หวังเป็นอยำ่ งยง่ิ ว่ำเอกสำรเล่มน้ี จะเป็น
เครื่องมือสำคัญแก่ผู้เข้ำรับกำรพัฒนำ สำนักงำนเขตพ้ืนที่กำรศึกษำประถมศึกษำ/มัธยมศึกษำที่
ซึ่งเป็นหน่วยผู้จัด อันจะส่งผลต่อกำรดำเนินกำรประชุมปฏิบัติกำร ให้สำเร็จลุล่วงตำมบรรลุ
วตั ถปุ ระสงค์อยำ่ งมปี ระสทิ ธภิ ำพ

สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน

สารบัญ ก

คำนำ ๑
สำรบัญ ๒
คำชี้แจง ๓๖
รำยละเอยี ดหน่วยกำรเรยี นรู้ หลักสูตร กำรประชมุ ปฏบิ ัตกิ ำรครูผู้ชว่ ย ๕๖
บันทึกสรปุ องค์ควำมรู้
แบบนั ทึกกิจกรรม

คำชี้แจง

เอกสารแบบบนั ทึกสรปุ องคค์ วามรแู้ ละบนั ทึกกิจกรรมการเสรมิ สรา้ งสมรรถนะครูผูช้ ่วย
สู่การเป็นครูมืออาชีพ เป็นเอกสารประกอบเสริมสร้างสมรรถนะครูผู้ช่วยสู่การเป็นครูมืออาชีพ
เล่มที่ ๓ ซึ่งในเอกสารเล่มน้ี ประกอบดว้ ย

๑. รายละเอียดหน่วยการเรียนรู้หลักสูตรเสริมสร้างสมรรถนะครูผู้ช่วยสู่การเป็น
ครมู อื อาชพี หน่วยท่ี ๑ - ๓ เวลา ๓๔ ช่ัวโมง

๒. แบบบันทึกสรุปองค์ความรู้ ใช้สาหรับให้ผู้เข้ารับการพัฒนาตนเองผ่านระบบ
ออนไลน์ และการประชุมปฏิบัติการ บันทึกองค์ความรู้ท่ีได้รับจากการเรียนรู้ในแต่ละหน่วย
เป็นส่วนหนึ่งของการประเมินการเสริมสร้างสมรรถนะครูผู้ชว่ ย ผู้เข้ารบั การพัฒนาต้องบันทกึ สรุป
องค์ความร้ใู ห้ครบทุกหนว่ ย อย่างถูกต้องชดั เจน แลว้ ส่งใหว้ ทิ ยากรหรอื วิทยากรพเ่ี ลี้ยงตรวจประเมิน
ถ้าผ่านก็ถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมินการประชุมปฏิบัติการในส่วนของบันทึกสรุปองค์ความรู้
หากไม่ผ่านให้บันทึกเพ่ิมเติมตามที่วิทยากรหรือวิทยากรพี่เล้ีย งเสนอแนะแล้วส่งให้ประเมินใหม่
จนกวา่ จะผ่าน

๓. แบบบันทกึ กิจกรรมใบงาน ใช้สาหรับใหผ้ ูเ้ ขา้ ประชุมปฏิบตั ิการบนั ทกึ ตามกจิ กรรม
ที่กาหนดไว้ เป็นส่วนหนึ่งของการประเมินการเสริมสร้างสมรรถนะครูผู้ช่วย ผู้เข้ารับการพัฒนา
ต้องจัดทาให้ครบทุกหน่วย อย่างถูกต้องชดั เจน แลว้ ส่งให้วิทยากรหรือวิทยากรพีเ่ ลี้ยงตรวจประเมิน
ถา้ ผ่านก็ถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมินการประชุมปฏิบัติการในส่วนของบันทึกกิจกรรม หากไม่ผ่าน
ให้บนั ทึกเพ่มิ เตมิ ตามทีว่ ิทยากรหรอื วิทยากรพ่ีเลยี้ งเสนอแนะแลว้ ส่งใหป้ ระเมนิ ใหม่จนกว่าจะผา่ น



รำยละเอียดหน่วยกำรเรียนรู้

เน้ือหาการเสริมสร้างสมรรถนะครูผู้ช่วยสู่การเป็นครูมืออาชีพ เวลา จานวน ๓๔ ชั่วโมง
ประกอบด้วย ๓ หน่วยการเรียนรู้ ๑๖ รายวิชา

๑. การพฒั นาตนเองผ่านระบบออนไลน์ ประกอบดว้ ย 3 หน่วยการเรยี นรู้ 10 รายวิชา
ดงั นี้

1.1 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๑ การครองงาน จานวน 5 รายวิชา (จานวน ๘ ช่ัวโมง)
- รายวิชาท่ี ๑.๑ วินัย คุณธรรม จรยิ ธรรมและจรรยาบรรณวิชาชพี ครู

- รายวชิ าที่ ๑.๓ การบริการที่ดี
- รายวชิ าท่ี ๑.๔ ภาวะผ้นู าครู
- รายวิชาท่ี ๑.๕ ความกา้ วหนา้ และสทิ ธิประโยชน์
- รายวชิ าที่ ๑.๖ การนอ้ มนาศาสตร์พระราชาและพระบรมราโชบาย
ดา้ นการศกึ ษาของในหลวงรัชกาลที่ ๑๐ สกู่ ารปฏบิ ัติ

1.2 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๒ การครองคน จานวน 2 รายวิชา (จานวน ๓ ชั่วโมง ๓๐
นาที)

- รายวชิ าท่ี ๒.๒ การสรา้ งความสมั พนั ธ์ และความร่วมมือกบั ชมุ ชนเพ่อื การเรียนรู้
- รายวิชาที่ ๒.๓ ระบบการดแู ลช่วยเหลอื นักเรียน
1.3 หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ การครองงาน จานวน 3 รายวิชา (จานวน ๔ ชั่วโมง ๓๐
นาท)ี
- รายวชิ าที่ ๓.๓ การพัฒนาผู้เรียน
- รายวชิ าท่ี ๓.๔ การบรหิ ารจัดการช้ันเรยี น
- รายวิชาที่ ๓.๗ การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และThailand 4.0
2. การประชมุ เชงิ ปฏิบัตกิ าร ประกอบด้วย 3 หนว่ ยการเรียนรู้ 6 รายวิชา ดังน้ี
2.1 หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ ๑ การครองตน จานวน 1 รายวิชา (จานวน ๒ ชว่ั โมง)
- รายวชิ าท่ี ๑.๒ การพัฒนาตนเอง
2.2 หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ การครองคน จานวน 1 รายวิชา (จานวน ๑ ช่ัวโมง ๓๐
นาที)
- รายวชิ าท่ี ๒.๑ การทางานเป็นทมี
2.3 หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ การครองงาน จานวน 4 รายวิชา (จานวน ๑๔ ชั่วโมง ๓๐
นาที)
- รายวชิ าที่ ๓.๑ การมุ่งผลสัมฤทธใ์ิ นการปฏิบตั ิงาน
- รายวชิ าท่ี ๓.๒ การบริหารหลักสตู รและการจดั การเรยี นรู้
- รายวิชาท่ี ๓.๕ การวิจัยในชน้ั เรียน
- รายวิชาท่ี ๓.๖ ภาษาอังกฤษกับการเป็นครู



หน่วยที่ ๑ การครองตน จาวน ๑๐ ชว่ั โมง
รายวิชาท่ี ๑.๑ วนิ ัย คุณธรรม จรยิ ธรรมและจรรยาบรรณวิชาชพี ครู ระยะเวลา ๒ ช่วั โมง

คาอธิบายรายวิชา
การเสริมสร้างสมรรถนะของครูผู้ช่วยเกี่ยวกับจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพครู

เป็นการเสริมสร้างอุดมการณ์ในการประกอบวิชาชีพครู การปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนในฐานะ
ข้าราชการครูท่ีดี มีจรรยาบรรณและมาตรฐานวิชาชีพครู เป็นผู้มีวินัย โดยใช้วิธีการท่ีเน้นกระบวนการคิด
การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการประเมนิ ผลที่หลากหลาย

วตั ถปุ ระสงค์
๑. เพ่ือให้ครูผู้ช่วยร้จู ักตนเองและมีอดุ มการณ์ความเป็นครู
๒. เพือ่ ให้ครูผู้ช่วยปฏิบัตงิ านและการปฏิบตั ิตนเหมาะสมกบั การเปน็ ข้าราชการครูทีด่ ี
๓. เพ่ือให้ครูผู้ช่วยปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณและมาตรฐานวิชาชีพครูได้ถูกต้อง
และเหมาะสม
๔. เพื่อให้ครูผู้ช่วยมีวินัยในตนเอง ประพฤติปฏิบัติตนตามวินัยของข้าราชการครู
และบคุ ลากรทางการศกึ ษา

เน้อื หา
1. วินัยขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
2. มาตรฐานตาแหนง่ ครูผ้ชู ่วย
3. คณุ ธรรม จรยิ ธรรม
4. อุดมการณ์ ความเป็นครู
5. การปฏบิ ัตติ น และการปฏิบตั ิงานในฐานะข้าราชการครทู ด่ี ี
6. จรรยาบรรณของวิชาชพี และมาตรฐานความรู้

แนวการจัดกิจกรรม
๑. ครูผู้ชว่ ยศกึ ษาคลปิ วีดิโออุดมการณ์ครูเน้นความเสียสละ มุ่งมั่น และการมีจิตสาธารณะ
มีกระบวนการคิด การแลกเปล่ยี นเรียนรู้ การสร้างวฒั นธรรมคุณภาพเพื่อนาไปสู่องค์กร
ท่ีมคี ณุ ภาพ การปฏิบตั ิงานและการปฏิบตั ิตน ตามจรรยาบรรณและมาตรฐานวชิ าชีพครู
และการประพฤตปิ ฏบิ ัติตนตามวินัยของข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา
๒. ครูผู้ชว่ ย ศกึ ษาจากส่อื วีดิทัศน์ (ครูผู้สอนด้วยหัวใจ)
๓. ฝึกปฏบิ ัติ วิเคราะห์ สังเคราะห์ อุดมการณ์ในการเปน็ ครูแบบรายบุคคล
๔. ครูผู้ช่วยศึกษาพระราชดารสั ( ๓ หวั ใจการศึกษา) สะท้อนความคิดเพื่อนามาประยุกต์
ใช้ในการปฏิบตั ติ น ปฏบิ ตั ริ าชการในบทบาทหนา้ ที่ครูได้
๕. ครูผชู้ ว่ ยร่วมกันร้องเพลง “จาข้ึนใจ”



สอ่ื และแหลง่ เรยี นรู้
๑. ส่อื เทคโนโลยี
๒. วดี ทิ ศั น์
๓. ใบงาน
๔. สอื่ /อปุ กรณ์
๕. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรม
๖. ภาพพระราชดารสั (๓ หวั ใจการศกึ ษา)
๗. วดี ิทัศน์ (ครผู ้สู อนดว้ ยหัวใจ,เพลงจาข้นึ ใจ )

ชืน้ งาน/ภาระงาน
๑. ใบงานที่ ๑ (งานเดย่ี ว คนละ ๑ ชน้ิ )

การวดั และประเมินผล
๑.วิธีการประเมิน
๑.๑ ตรวจชิ้นงาน
๑.๒ สงั เกตพฤติกรรมการมีสว่ นรว่ ม
๒.เคร่อื งมือการประเมนิ
๒.๑ แบบตรวจชนิ้ งาน
๒.๒ แบบสงั เกตพฤติกรรมการมสี ว่ นรว่ ม
๓.เกณฑ์การประเมนิ
๓.๑ ตรวจช้ินงาน
๓.๒ สงั เกตพฤติกรรมการมีสว่ นรว่ ม



รายวชิ าที่ ๑.๒ การพัฒนาตนเอง ระยะเวลา ๒ ชวั่ โมง

คาอธิบายรายวชิ า

การเสริมสร้างสมรรถนะของครูผู้ช่วยเก่ียวกับการพัฒนาตนเองเป็นการเสริมสร้างด้าน

บุคลิกภาพเพ่ือให้เหมาะสมกับการปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีและน่าเช่ือถือ เคารพ ศรัทธา แนว

ทางการสร้างเครือข่ายและชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ รวมถึงกระบวนการในการพัฒนาตนเองระหว่างการ

ป ฏิ บั ติ ง า น

เพื่อความก้าวหน้าในวิชาชีพ โดยใช้วิธีการที่เน้นกระบวนการคิด การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการประเมินผล

ท่ีหลากหลาย

วตั ถปุ ระสงค์

๕. เพ่อื ให้ครูผู้ช่วยมีบคุ ลกิ ภาพทีด่ ีทงั้ ภายนอกและภายใน
๖. เพื่อให้ครูผู้ช่วยทราบถึงวธิ ีการและแนวทางการนากระบวนการสร้างชุมชนการเรียนรู้

ทางวิชาชีพที่ถูกต้องและสามารถนาไปเป็นเครื่องมือในการพัฒนาการจัดการเรียรู้และ

พัฒนางานในหนา้ ท่ไี ด้อย่างมีประสทิ ธิภาพ
๗. เพ่ือให้ครูผู้ช่วยทราบแนวทางในการพัฒนาตนเองและจัดทาแผนพัฒนาตนเองเพ่ือ

ความกา้ วหน้าในวชิ าชพี ได้

เนื้อหา ประกอบด้วยเร่อื งยอ่ ย ดังนี้
๑. การรู้จกั ตนเอง

๒. การพฒั นาบคุ ลิกภาพ
๓. ชุมชนการเรียนรทู้ างวชิ าชีพ (Professional Learning Community PLC)
๔. การทาแผนพฒั นาตนเอง (Individual Development Plan : ID PLAN)

แนวทางการจัดกจิ กรรม
๖. จัดกิจกรรมโดยเน้นกระบวนการปฏิบัติจริง การแลกเปล่ยี นเรียนรู้ การร่วมคิด วิเคราะห์

โดยใช้ส่ือเพ่ือกระตุ้นแนวคิดและการลงข้อสรุปร่วมกันเพ่ือการนาไปใช้ไปเป็นแนวทาง
ในการพฒั นาตนเองและพัฒนางานในหนา้ ที่ต่อไป
๗. ครผู ชู้ ว่ ยศกึ ษาส่ือวีดิทัศน์ แลว้ แบ่งกลุ่มเพ่ือวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ เกี่ยวกบั บุคลกิ ภาพที่ดี

แบบรายบุคคล และรายกล่มุ เพ่อื หาขอ้ สรุปสูก่ ารนาไปปฏบิ ตั ิ
๘. ศกึ ษากระบวนการในการทา PLC โดยใช้สถานการณ์จาลองท่ีกลุ่มกาหนดขึ้นพร้อมกับ

ดาเนินการจนสามารถสรปุ เปน็ วธิ กี ารที่ทกุ คนสามารถร่วมกันนาไปใช้ได้

๙. ครูผู้ช่วยศึกษาขั้นตอนการจัดทาแผนพัฒนาตนเองและลงมือจัดทาแผนพัฒนาตนเอง
เพ่อื นาไปเป้าแนวทางในการปฏิบตั ิตอ่ ไป



สอื่ และแหลง่ เรียนรู้
๘. สอ่ื เทคโนโลยี
๙. วดี ิทศั น์
๑๐.ใบงาน
๑๑.ใบความรู้
๑๒.สื่อ/อปุ กรณ์
๑๓.ปากกาเมจิกหลากสี

ช้ืนงาน/ภาระงาน
๒. ใบงานที่ ๑ บคุ ลิกภาพที่ดี (งานคู่ )
๓. ใบงานท่ี ๒ PLC กับการพัฒนางาน (งานกลุ่มๆละ ๑ ชิ้น)

การวัดและประเมนิ ผล
๑.วธิ กี ารประเมิน
๑.๑ ตรวจช้ินงาน
๑.๒ สงั เกตพฤติกรรมการมสี ว่ นรว่ ม
๒.เคร่อื งมอื การประเมิน
๒.๑ แบบตรวจชิน้ งาน
๒.๒ แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการมสี ่วนรว่ ม
๓.เกณฑก์ ารประเมนิ
๓.๑ ตรวจชน้ิ งาน
๓.๒ สังเกตพฤติกรรมการมีสว่ นรว่ ม



รายวิชาท่ี ๑.๓ การบริการท่ดี ี เวลา ๑ ชว่ั โมง

คาอธบิ ายรายวชิ า

มีความรู้ความเข้าใจในหลักการให้บริการที่ให้ความสาคัญกับผู้รับบริการ (นักเรียน,
ผูป้ กครอง, ผู้มาติดต่อราชการ) มคี วามสามารถด้านการบริการท่ีดีต่อชุมชน นักเรียน เพื่อนร่วมงาน
แสดงออกถึงความเอ้ือเฟื้อเผื่อแผ่และเสียสละต่อสังคม เห็นคุณค่าต่อการบริการท่ีดี ให้ความ
ช่วยเหลือและการดาเนินการเพื่อประโยชน์ของผู้อื่น ทาให้ผู้รับการบริการได้รับความประทับใจ
และเกดิ ความชน่ื ชม ในเรอ่ื งความซื่อสตั ย์สุจริต ขยันหม่ันเพียร อดทน ใฝห่ าความรู้ และตั้งใจปฏบิ ัติ
หนา้ ท่ี

โดยใช้กระบวนการกล่มุ กระบวนการคดิ กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการเผชญิ สถานการณ์
กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการสร้างความตระหนกั กระบวนการสร้างคา่ นยิ ม และกระบวนการ
สรา้ ง เจตคติ

เพ่ือให้ครูผู้ช่วยมีลักษณะท่ีดีของผู้ให้บริการ มีแนวทางในการสร้างความประทับใจ
กบั ผู้รับบริการท่ดี ี มีความต้ังใจและเตม็ ใจในการให้บรกิ าร ปรับปรงุ ระบบบริการให้มีประสิทธิภาพ
และมีวินัยในตนเองทากิจกรรมต่างๆ ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง ในเรื่องความซื่อสัตย์สุจริต
อดทน ใฝ่หาความรู้ ตง้ั ใจปฏบิ ัติหน้าท่ี ยอมรับผลทเ่ี กิดจากการกระทาของตนเอง

วตั ถปุ ระสงค์
๑. เพอ่ื ใหค้ รผู ู้ชว่ ยมคี วามรู้ความเข้าใจในหลกั การใหบ้ ริการที่ใหค้ วามสาคญั กบั ผรู้ บั บรกิ าร

(นกั เรยี น, ผ้ปู กครอง, ผูม้ าติดตอ่ ราชการ)
๒. เพอ่ื ให้ครผู ู้ช่วยมที ัศนคตติ ่อการใหบ้ รกิ ารทีด่ ี
3. เพื่อให้ครผู ้ชู ่วยสามารถปฏิบตั ติ นในการสร้างความประทบั ใจกบั ผรู้ บั บริการ

เนอื้ หา
1. ความหมาย ความสาคัญ องค์ประกอบการใหบ้ รกิ าร

การบริการ คือ การใหค้ วามชว่ ยเหลอื หรือการดาเนินการเพือ่ ประโยชน์ของผ้อู ่ืนการบริการ
ท่ีดีผู้รับบริการจะได้รับความประทับใจและเกิดความช่ืนชมองค์กร อันเป็นการสรา้ งภาพลกั ษณ์ที่ดี
แก่องค์กรเบื้องหลังความสาเร็จของทุกงาน มักจะมีงานบริการเป็นเครื่องมือในการสนับสนุน

ไม่ว่าจะเป็นงานประชาสัมพันธ์ งานบริการวิชาการต่างๆ ตลอดท้ังความร่วมมือ ร่วมแรงร่วมใจ
จากเจา้ หน้าทที่ ุกระดับ ซึ่งจะต้องช่วยกนั ขับเคลื่อนพฒั นางานบริการให้มีคุณภาพและมปี ระสิทธภิ าพ
การให้ความชว่ ยเหลือหรือการดาเนินการเพื่อประโยชน์ของผู้อื่นการบริการท่ีดีผู้รับบรกิ ารจะได้รับ

ความประทับใจและเกิดความช่ืนชมองค์กร อันเป็นการสร้างภาพลักษณ์ท่ีดีแก่องค์กรเบื้องหลัง
ความสาเร็จของทุกงาน มักจะมีงานบริการเป็นเคร่ืองมือในการสนับสนุน ไม่ว่าจะเป็นงาน



ประชาสัมพันธ์ งานบริการวิชาการต่าง ๆ ตลอดทั้งความร่วมมือ ร่วมแรงร่วมใจจากเจ้าหน้าท่ี
ทุกระดับซึง่ จะต้องช่วยกันขบั เคลื่อนพฒั นางานบริการใหม้ คี ณุ ภาพและมปี ระสิทธภิ าพ

พ้ืนฐานความสาคัญในการเปน็ ผูใ้ หบ้ รกิ าร “พ้นื ฐานสาคัญในการเป็นผู้ให้บริการ จะตอ้ ง
สุขภาพออ่ นน้อมถอ่ มตน รู้หลักการบรกิ าร และเอาใจใส่ในการบรกิ าร ดังนนั้ จึงไดจ้ ัดอบรมทาง
วิชาการและสอนงานทางปฏิบตั ิ มกี ารจดั ขั้นตอนใน การทางาน เพ่อื การเรยี นรู้ตามข้ันตอนในด้าน
การอบรมทางจติ ใจกฝ็ กึ อบรมใหก้ บั เจา้ หนา้ ที่ มขี ันติ หมายถึงอดทน อดกลน้ั ไมโ่ กรธ รู้จกั ข่มใจ
และคิดเสมอว่าผรู้ ับการบริการคอื ผู้ใหแ้ ก่เรา” ผูใ้ ห้บริการจะต้องมคี ุณสมบตั ิพื้นฐาน ดังน้ี

1. มคี วามรกั ในงานบริการ
2. มีความรบั ผิดชอบในหนา้ ท่ี
3. มีความซอื่ สัตย์ ซ่อื ตรงต่องาน
4. มีความสามารถควบคุมตนเองได้
5. มีความคดิ ริเรมิ่ สรา้ งสรรค์
6. มคี วามมานะพยายามจะทาแต่สง่ิ ท่ีดีมีคณุ ประโยชน์
7. มีจติ ใจมนั่ คงไมร่ วนเร
8. มคี วามมงุ่ มนั่ เรียนรู้สงิ่ ใหมท่ ี่ใหป้ ระโยชนต์ ่อผู้อ่ืน
9. มีความช่างสังเกต
10. มวี ิจารณญาณไตรต่ รองรอบคอบ
11. มคี วามสามารถวิเคราะห์ปญั หา และหาทางแก้ไข
12. มกี ารพิจารณาใครค่ รวญ

2. แนวทางการสรา้ งความประทบั ใจ
การให้บริการแก่คนท่ีดีมักไม่มีปัญหาเพราะเราย่อมมีความเต็มใจจะให้บริการเป็นทุนเดิม

อยู่แล้ว แต่การให้บริการแก่ผู้ซ่ึงไม่ต้องชะตาหรือไม่ถูกโฉลกกันเป็นเร่ืองท่ีต้องฝืนใจ การบริการ
เราไม่ สามารถเลือกปฏิบัติได้ เพราะจะต้องให้บริการอย่างเท่าเทียมกัน จะเลือกให้เป็นราย ๆ
หรือปฏิบัตแิ ตกต่าง กันไม่ได้ (พระราชวรมุนี (ประยูร ธมมจติ . โต) ได้ให้หลักคิดซึ่งสามารถนามาเป็น
คติเตรียมจิตใจ เพื่องานบริการไว้ ดังน้ี “เราเป็นข้าราชการที่ให้บริการประชาชนเหมือนคนอ่ืน
แต่คนอนื่ ได้รางวัลสาขา บริการประชาชนดเี ด่น ถามวา่ คนทไี่ ด้รางวัลด้านนี้ทางานหนักกว่าเรากี่เท่า
คาตอบคือไม่ก่ีเท่าหรอก แตส่ ่ิง ท่ีเขาต่างจากเราตรงที่เขาใส่ใจเข้าไปในการบริการ มนุษยสัมพันธ์ดี
มีน้าใจ เพราะฉะน้ันคนก็ประทับใจเขา มากกว่า ที่ข้าราชการไม่เป็นที่ประทับใจของประชาชนน้ัน
อาจไม่ใช่ว่าทางานน้อย แต่อยู่ที่ให้น้าใจน้อยไป หน่อยและมีจรรยาบรรณน้อยไปหน่อย
ความประทับใจจึงน้อยลงไป ถ้าข้าราชการมีน้าใจในการให้บริการ เขาจะมีความสุขใน ฐานะผู้ให้
เม่ือเขาเอื้ออาทรประชาชนเขาจะมีจรรยาบรรณ นี่คือจรรยาบรรณนาหน้า เพื่อพัฒนาข้าราชการ
ให้มีความสุขเพราะถือการทางานเป็นการปฏิบัติธรรมโดยไม่รู้สึกว่าถูกบังคับ ถ้า ข้าราชการทาอย่างน้ีได้
ทุกคนจะอยู่อย่างมีความสุข” การเตรียมตัวเป็นผู้ให้บริการ ผู้ให้บริการทุกคนจะต้องตระหนัก
ว่าตนจะตอ้ งทาหนา้ ที่เป็นผู้ให้บริการ ซ่ึงเปน็ ความ รับผิดชอบสาคญั เป็นงานท่ีท้าทายความสามารถ



ทั้งในการวางตน การพัฒนาบุคลิกภาพ การสั่งสมนิสัยที่ดีงาม ให้พร้อมเสมอในการปฏิบัติงาน
การฝึกฝนตนเองให้มีความอดทนอดกล้นั และรจู้ ักข่มใจเป็นสง่ิ สาคัญมาก

แนวการจดั กจิ กรรม
๑. ครูผชู้ ่วยชมคลิป เรือ่ ง Unsung Hero

๒. ครูผชู้ ว่ ยวิเคราะหเ์ นือ้ หาจากการชมวดี ีทัศน์ครผู ชู้ ว่ ยคิดว่าสว่ นใดในเร่ืองที่เป็นการบรกิ าร
ทด่ี ี

๓. ครผู ชู้ ่วยศกึ ษาใบความรู้ เรื่อง การบรกิ ารทด่ี ี

๔. ครูผชู้ ว่ ยเขยี นแผนผงั มโนทศั น์ (mind mapping) แนวทางการบรกิ ารทดี่ ี
๕. ครูผู้ชว่ ยฝึกปฏบิ ัติ และสรุปบทเรยี น

สอื่ ทีใ่ ชใ้ นการประชมุ ปฏิบตั ิการ
๑. ส่ือวีดีทศั น์จากยทู ปู https://www.youtube.com/watch?v=uaWA2GbcnJU
๒. เอกสารความรู้ เรอ่ื ง การบริการทดี่ ี

๓. ใบงาน

ชิน้ งาน/ภาระงาน
แผนผงั มโนทัศน์ (mind mapping) การบรกิ ารทดี่ ี

การวดั และประเมินผล

๑.วิธีการประเมนิ

1.1 การตรวจชิ้นงาน

1.๒ สงั เกตพฤตกิ รรมการมสี ว่ นร่วม

๒. เครื่องมือการประเมิน

๒.๑ การตอบคาถามจากส่อื วดี ีทัศน์

๒.๒ ช้ินงาน

๓. เกณฑก์ ารประเมิน

ระดับดเี ย่ยี ม ไดค้ ะแนน ๙-๑0 คะแนน

ระดบั ดี ไดค้ ะแนน ๗-๘ คะแนน

ระดบั ผา่ น ได้คะแนน ๕-๖ คะแนน

ไม่ผ่าน ได้คะแนน ต่ากว่า ๕ คะแนน

๑๐

รายวิชาท่ี 1.4 ภาวะผูน้ าครู เวลา 1 ช่วั โมง ๓๐ นาที

คาอธิบายรายวิชา
ศกึ ษา วิเคราะห์ อธิปราย บรรยาย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ภาวะผู้นาครู ความเปน็ ครู คณุ ธรรม

จริยธรรม ท่ีครคู วรประพฤติ ปฏิบัติเป็นแบบอย่างที่ดี ดารงชีวิตอย่างเหมาะสม โดยการจัดกิจกรรม

แบบกล่มุ เพือ่ ใหค้ รูผู้ชว่ ยได้มีการแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ สะทอ้ นความร้สู ึกหรือเจตคติทีด่ ี ประพฤติปฏบิ ตั ิ
ตนอยู่บนพ้ืนฐานของศีลธรรม คุณธรรม และจริยธรรม ความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับไปใช้
ในการดารงชีวิตและการประกอบวิชาชีพ และเป็นต้นแบบในการประพฤติปฏิบัติตน มีการวัดผล

และประเมนิ ผลด้วยวิธกี ารท่หี ลากหลาย ไดแ้ ก่ การตรวจชิ้นงาน การนาเสนอผลงาน และการสังเกต
พฤตกิ รรมการทางานร่วมกัน

วัตถุประสงค์
1. เพื่อพัฒนาครูผู้ช่วยให้ประพฤติปฏิบัติตนอยู่บนพ้ืนฐานของศีลธรรม คุณธรรม

และจริยธรรม

2. เพ่อื ให้ครูผ้ชู ่วยนาความรู้และประสบการณ์ทไ่ี ด้รบั ไปใชใ้ นการดารงชวี ิตและการประกอบ
วชิ าชพี

3. เพ่ือให้ครูผู้ช่วยเป็นต้นแบบในการประพฤติปฏิบัติตนด้านศีลธรรม คุณธรรม

และจรยิ ธรรม เผยแพร่ความรดู้ ้านศลี ธรรม คุณธรรม และจริยธรรม

เน้ือหา

1. ภาวะผนู้ าครู
2. ความเปน็ ครู

แนวการจัดกจิ กรรม

1. ทาแบบทดสอบกอ่ ยเรยี น
2. ศกึ ษาสรปุ คณุ ลกั ษณะความเปน็ ครทู ดี่ ีผ่านใบงาน
2. ชมวีดิทัศน์
3. ศกึ ษาใบความรู้และสรปุ องคค์ วามรู้
4. ทาแบบทดสอบหลังเรยี น
ส่อื ทใี่ ช้ในการประชุมปฏบิ ตั ิการ
1. ส่ือวีดที ศั น์จากยูทปู https://www.youtube.com/watch?v=rzTMS2xxLnQ
2. เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการ
3. ใบงาน 1.1.4 เรอ่ื ง ความเปน็ ครูท่ีดี

ช้นิ งาน/ภาระงาน
1. ใบงาน 1 เร่อื ง ความเป็นครทู ดี่ ี

๑๑

การวัดและประเมนิ ผล
1. วธิ กี ารประเมนิ
1.1 สงั เกตพฤตกิ รรมการมสี ว่ นร่วมในกิจกรรม
1.2 ประเมินช้ินงาน
1.3 ประเมนิ การนาเสนอผลงาน
๒. เครื่องมอื การประเมิน
2.1 แบบสังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในกิจกรรม
2.2 แบบประเมินชิน้ งาน
2.3 แบบประเมินการนาเสนอผลงาน
3. เกณฑก์ ารประเมนิ
ระดับดเี ย่ียม ผู้เขา้ รับการพัฒนาต้องได้คะแนน รอ้ ยละ 80 ขนึ้ ไป (24 - 30 คะแนน)
ระดับดี ผเู้ ข้ารับการพฒั นาต้องได้คะแนน ร้อยละ 70 ขน้ึ ไป (21 - 23 คะแนน)
ระดับผ่าน ผู้เข้ารับการพัฒนาต้องไดค้ ะแนน ร้อยละ 60 ข้ึนไป (15 - 20 คะแนน)
ไมผ่ ่าน ผู้เขา้ รับการพฒั นาต้องได้คะแนน รอ้ ยละ 50 ลงมา (ตา่ กว่า 15 คะแนน)

๑๒

รายวิชาท่ี 1.5 ความกา้ วหน้าและสทิ ธปิ ระโยชน์ เวลา......2.....ช่วั โมง

คาอธบิ ายรายวชิ า
ศึกษาและวิเคราะห์สิทธิประโยชน์และความก้าวหน้าของข้าราชการครู ในเรื่องของการ

เตรยี มความพร้อมและพัฒนาอย่างเขม้ เงินเดือนและการเล่อื นเงินเดือนข้าราชการครูและบุคลากร

ทางการศึกษา การให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษามีและเล่ือนวิทยฐานะ การเปล่ียน
ตาแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา การลาศึกษาต่อ ฝึกอบรม และศึกษาดูงานของ
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา การลาของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา

สวัสดกิ ารรักษาพยาบาลข้าราชการ สวัสดิการเก่ียวกับการศึกษาของบุตร (ค่าเล่าเรียนบุตร) ค่าเช่า
บ้านข้าราชการ สวัสดิการและสิทธิประโยชน์อื่น ๆ ซ่ึงสิ่งที่ครูผู้ช่วยจาเป็นต้องรู้และเข้าใจเพื่อ
ประโยชน์ในความก้าวหน้าของตนเอง และหน้าที่ของข้าราชการครู บทบาทฐานะต่าง ๆ ตามที่

กาหนดไว้ในพระราชบัญญตั ิ
ตระหนักถงึ ความสาคญั ของสทิ ธิประโยชน์ทขี่ ้าราชการครพู งึ มี พงึ ได้ รวมทง้ั การตง้ั ใจในการ

ปฏิบตั ิหนา้ ทเ่ี พือ่ ความกา้ วหนา้ ในตาแหน่งครผู ชู้ ่วยอนั เป็นผลทเ่ี กดิ จากการกระทาของตนเอง

วัตถุประสงค์
1. เพอ่ื ให้ขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ตาแหน่งครผู ชู้ ว่ ยมคี วามรู้ความเข้าใจ
เก่ียวกับสิทธิประโยชน์ในการเป็นข้าราชการ
2. เพือ่ ให้ขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตาแหน่งครผู ้ชู ว่ ยมีความรู้ความเข้าใจ
เกยี่ วกับความกา้ วหนา้ ในการเป็นข้าราชการ

เน้อื หา
1. หลกั เกณฑ์ และวธิ กี ารเตรียมความพรอ้ มและพฒั นาอย่างเขม้

2. เงินเดอื นและการเล่อื นเงนิ เดือนข้าราชการและบุคลากรทางการศกึ ษา

3. การให้ข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษามแี ละเลอ่ื นวทิ ยฐานะ

4. การเปลยี่ นตาแหน่งขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา

5. การลาของขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา

6. สวัสดกิ ารและสทิ ธปิ ระโยชน์อ่นื ๆ

แนวการจัดกิจกรรม
๑. ผเู้ ขา้ รบั การพฒั นาทาแบบทดสอบก่อนเรียน
๒. ผเู้ ขา้ รับการพฒั นาทาใบงานที่ ๑ (งานเดี่ยว) “My Life Timeline”
๓. ผ้เู ขา้ รบั การพฒั นาชมวดี ีทัศน์ ครตู ้นแบบ
๕. ผเู้ ข้ารบั การพัฒนาศึกษาใบความรู้ เรอื่ งความกา้ วหนา้ และสิทธปิ ระโยชน์

๖. ผเู้ ขา้ รบั การพฒั นาทาใบงานที่ ๓ และสรปุ ความรู้
๗. ผู้เข้ารบั การพฒั นาทาแบบทดสอบหลังเรยี น

๑๓

สอ่ื ที่ใช้ในการประชุมปฏิบตั ิการ
๑. เวบ็ ไซต์ https://www.youtube.com/watch?v=AKxMVM1fNko
๒. ใบงานท่ี ๑ “My Life Timeline”
๓. ใบงานท่ี ๒ งานกลุ่ม “Our Lives Timeline”
๔. ใบงานท่ี ๓ เขยี นสทิ ธปิ ระโยชนท์ ีข่ า้ ราชการครพู งึ ไดร้ ับ

ชิ้นงาน/ภาระงาน
๑. ใบงานที่ ๑.๕.๑ “My Life Timeline”
๒. ใบงานที่ ๑.๕.๒ งานกลมุ่ “Our Life Timeline”
๓. ใบงานที่ ๑.๕.๓ เขยี นสทิ ธิประโยชนท์ ี่ขา้ ราชการครพู งึ ได้รบั

การวัดและประเมินผล
1. วธิ ีการประเมนิ
1.1 การตรวจชน้ิ งาน
1.๒ สังเกตพฤติกรรมการมสี ่วนร่วม

๒. เครอ่ื งมือการประเมิน
๒.๑ ช้นิ งานเดย่ี ว
๒.๒ ชิ้นงานกลุม่

๓. เกณฑ์การประเมนิ
ระดบั ดเี ย่ียม ได้คะแนน ๙-๑๐ คะแนน
ระดับดี ได้คะแนน ๗-๘ คะแนน
ระดับผา่ น ได้คะแนน ๕-๖ คะแนน
ไม่ผ่าน ได้คะแนน ต่ากว่า ๕ คะแนน

๑๔

รายวิชาท่ี ๑.๖ การนอ้ มนาศาสตรพ์ ระราชาและพระบรมราโชบายดา้ นการศึกษา

ของในหลวงรชั กาลท่ี ๑๐ สูก่ ารปฏบิ ัติ เวลา ๑ ชัว่ โมง ๓๐ นาที

คาอธบิ ายรายวชิ า
ศึกษา วเิ คราะห์ ทาความเขา้ ใจ การน้อมนาศาสตรพ์ ระราชา และพระบรมราโชบาย

ดา้ นการศกึ ษาสูก่ ารปฏบิ ตั ิ ศาสตร์พระราชา “ศาสตรข์ องในหลวงรชั กาลท่ี ๙” ไดแ้ ก่
หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (๓ หว่ ง ๒ เงอ่ื นไข ๔ มิติ) หลักองคค์ วามรู้ ๖ มติ ิ
หลักการทรงงาน ๒๓ ประการ และยทุ ธศาสตรพ์ ระราชทาน “เข้าใจ เข้าถงึ พัฒนา”

พระบรมราโชบายดา้ นการศึกษาของในหลวงรัชกาลท่ี ๑๐ การศึกษาต้องมงุ่ สรา้ งพ้ืนฐานใหแ้ กผ่ เู้ รยี น
๔ ด้าน ไดแ้ ก่ ๑. มีทศั นคติทีถ่ กู ตอ้ งตอ่ บ้านเมือง ๒. มพี ื้นฐานชีวิตทีม่ ั่นคง – มคี ุณธรรม
๓.มงี านทา – มอี าชพี ๔.เป็นพลเมอื งดี รวมทง้ั การนอ้ มนาศาสตร์พระราชา และพระบรมราโชบาย

ของในหลวงรชั กาลท่ี ๑๐ สกู่ ารปฏิบัติ ดว้ ยวธิ กี ารศกึ ษาด้วยตนเอง ศึกษาจากใบความรู้
ศึกษาจากเวบ็ ไซต์ วเิ คราะห์ เขียน และสรปุ องค์ความรู้

วตั ถปุ ระสงค์
๑. เพอ่ื ใหค้ รูผูช้ ่วยมีความรู้ ความเข้าใจ การนอ้ มนาศาสตร์พระราชาและพระบรมราโชบาย

ด้านการศึกษาของในหลวงรัชกาลท่ี ๑๐ สูก่ ารปฏิบตั ิ

๒. เพ่ือให้ครูผู้ช่วยสามารถจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มุ่งเน้น น้อมนาศาสตร์พระราชา
และพระบรมราโชบายด้านการศึกษาของในหลวงรัชกาลที่ ๑๐ สู่การจัดการเรียนการสอนได้
อย่างมีประสิทธิภาพ

เนื้อหา
๑. ศาสตร์พระราชา “ศาสตร์ของในหลวงรชั กาลท่ี ๙”

- หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
- หลักการทรงงาน ๒๓ ประการ
- หลกั องค์ความรู้ ๖ มติ ิ

- ยุทธศาสตรพ์ ระราชทาน“เข้าใจ เขา้ ถงึ พัฒนา”
๒. พระบรมราโชบายดา้ นการศึกษาของในหลวงรัชกาลที่ ๑๐

แนวการจัดกจิ กรรม
๑. ครผู ู้ช่วย ศึกษา คาอธิบายรายวิชา การน้อมนาศาสตร์พระราชาและพระบรมราโชบาย

ดา้ นการศึกษาของในหลวงรัชกาลที่ ๑๐ สู่การปฏิบัติ

๒. ครูผู้ช่วย ศึกษา วัตถุประสงค์ และความสาคัญของการน้อมนาศาสตร์พระราชา
และพระบรมราโชบายดา้ นการศกึ ษาของในหลวงรัชกาลท่ี ๑๐ สู่การปฏบิ ตั ิ

๓. ครูผู้ช่วย ศึกษา เรียนรู้เกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์กับการจัดการศึกษา

และพระราชกรณยี กิจด้านการศกึ ษา จากเวบ็ ไซต์

๑๕

๔. ครูผู้ช่วย ศึกษา เรียนรู้เกี่ยวกับศาสตร์พระราชา “ศาสตร์ของในหลวงรัชกาลท่ี ๙”
ได้แก่ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักองค์ความรู้ ๖ มิติ หลักการทรงงาน ๒๓ ประการ

ยทุ ธศาสตร์พระราชทาน “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” และพระบรมราโชบายด้านการศึกษาของในหลวง
รชั กาลที่ ๑๐

๕. ครูผู้ช่วย ปฏิบัติกิจกรรมตามใบงานท่ี ๑ วิเคราะห์และเขียน “แนวทางการน้อมนา

ศาสตรพ์ ระราชาและพระบรมราโชบายด้านการศกึ ษาของในหลวงรัชกาลท่ี ๑๐ สู่การปฏบิ ตั ิ
๖. ครูผูช้ ว่ ย สรุปองค์ความรู้ การนอ้ มนาศาสตร์พระราชาและพระบรมราโชบายของในหลวง

รัชกาลที่ ๑๐ สู่การปฏบิ ัติ

สอื่ ท่ีใช้ในการประชมุ ปฏิบัตกิ าร
๑. เวบ็ ไซต์

๑.๑ https://web.ku.ac.th/king72/2542-08/main1.htm
๑.๒ https://tci-
thaijo.org/index.php/rpu/article/download/159602/115374/

๒. เอกสารความรู้
๓. ใบงาน

ชิน้ งาน/ภาระงาน
๑. ใบงานที่ ๑ วิเคราะหแ์ ละเขียน “แนวทางการน้อมนาศาสตร์พระราชา

และพระบรมราโชบายดา้ นการศึกษาของในหลวงรัชกาลท่ี ๑๐ สูก่ ารปฏบิ ัต”ิ ๑ เร่อื ง

๒. สรุปองค์ความรู้ การน้อมนาศาสตร์พระราชา และพระบรมราโชบายด้านการศึกษา
ของในหลวงรชั กาลที่ ๑๐ สกู่ ารปฏบิ ตั ิ

การวดั และประเมนิ ผล

๑. วิธีการประเมนิ

ประเมินชิ้นงาน (ใบงาน)

๒. เครอ่ื งมือการประเมิน

ช้นิ งาน (ใบงาน)

๓. เกณฑ์การประเมิน

ระดบั ดเี ยี่ยม ไดค้ ะแนน ๙-๑0 คะแนน

ระดับดี ได้คะแนน ๗-๘ คะแนน

ระดับผา่ น ไดค้ ะแนน ๕-๖ คะแนน

ไม่ผ่าน ไดค้ ะแนน ตา่ กวา่ ๕ คะแนน

๑๖

รายวชิ าที่ ๒.๑ การทางานเป็นทมี ระยะเวลา ๑ ชว่ั โมง ๓๐ นาที

คาอธบิ ายรายวิชา
ศกึ ษาความรูเ้ กี่ยวกับการเสริมสร้างสมรรถนะของครูผูช้ ่วยเก่ียวกบั กระบวนการทางานเป็นทีม

และการเสริมสร้างคุณลักษณะในการปฏิบัติงานร่วมกัน โดยผ่านกระบวนการวางแผนการทางาน

ร่วมกันเพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของการทางาน มีจิตอาสาช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
จนเกิดความรักความสามัคคีในองค์กรจากใบความรู้ และปฏิบัติกิจกรรมในการทางานเป็นทีม
และการสรา้ งมนุษยสมั พันธ์

วัตถปุ ระสงค์
1. เพ่อื ให้ครูผู้ชว่ ยตระหนกั ถึงความสาคญั ของการทางานเปน็ ทมี

2. เพอ่ื ให้ครผู ้ชู ว่ ยมีมนษุ ยสมั พันธ์ในการปฏิบตั ิงาน
3. เพอื่ ให้ครูผู้ช่วยปฏิบัตติ นเปน็ ผูม้ ีจิตอาสา

เนอื้ หา
1. การทางานเป็นทมี
2. มนุษยสมั พนั ธ์กบั การปฏบิ ตั งิ าน

3. จิตอาสา

แนวการจดั กิจกรรม

1. จัดกิจกรรมโดยเนน้ ความตระหนกั ถึงความสาคญั ในการทางานเปน็ ทีม เข้าใจลักษณะของ
ทีมทด่ี ี คุณลกั ษณะของทีม การทางานทป่ี ระสบความสาเรจ็ การสรา้ งมนุษยสมั พนั ธใ์ นการปฏิบตั ิงาน
และการมีจติ อาสา

2. ครผู ู้ช่วย ศกึ ษาจากส่อื วีดิทศั น์ (มดทางานเป็นทีม)
3. สรปุ ส่ิงที่ไดจ้ ากการชมวดี ทิ ัศน์
4. แบ่งกลมุ่ ปฏิบัตกิ ิจกรรมที่สง่ เสรมิ การทางานเป็นทีม(เกม “น่คี อื เพื่อนของฉนั และ“ปากกาสามคั คี”

5. ครูผชู้ ่วยรว่ มกนั สรปุ ถึงความสาคญั ในการทางานเปน็ ทีม

สื่อและแหลง่ เรยี นรู้

1. สอ่ื เทคโนโลยี
2. วดี ทิ ัศน์
3. สื่อ/อปุ กรณ์

4. ใบงานท่ี 2.1.๑ การทางานเปน็ ทมี
5. เอกสารประกอบการจดั กจิ กรรม
6. วดี ทิ ัศน์ (มดทางานเปน็ ทีม )

7. เกม“นีค่ ือเพ่อื นของฉัน” เกม “ปากกาสามคั คี”

๑๗

ชื้นงาน/ภาระงาน
ใบงานท่ี 2.1.1 การทางานเป็นทีม

การวดั และประเมินผล
๑.วิธีการประเมิน
๑.๑ ตรวจชิน้ งาน
๑.๒ สังเกตพฤติกรรมการมสี ว่ นรว่ ม
๒.เครอื่ งมือการประเมนิ
๒.๑ แบบตรวจชน้ิ งาน
๒.๒ แบบสงั เกตพฤติกรรมการมสี ว่ นร่วม
๓.เกณฑ์การประเมิน
๓.๑ ตรวจชิน้ งาน
๓.๒ สังเกตพฤติกรรมการมสี ่วนร่วม

๑๘

รายวิชาท่ี ๒.๒ การสรา้ งความสมั พนั ธ์และความรว่ มมอื กบั ชมุ ชนเพอ่ื การเรยี นรู้
เวลา 1 ช่วั โมง ๓๐ นาที

คาอธิบายรายวชิ า
ศึกษาการสร้างความสัมพันธ์และความรว่ มมอื กบั ชมุ ชนเพอื่ การจดั การเรยี นรู้ ในด้านวิชาการ

และการบริหารจดั การ โดยเอาจดุ แขง็ และความพรอ้ มของบุคคล ทรพั ยากรที่มอี ย่ใู นชมุ ชนสรา้ งสรรค์
จนเกิดเป็นประโยชน์สูงสุด ต่อการพัฒนาผู้เรียน ด้วยวิธีการแลกเปล่ียนเรียนรู้และสร้างเครือข่าย
ในการสรา้ งความสัมพนั ธแ์ ละความร่วมมอื กับชุมชนเพอ่ื การเรียนรู้

วัตถปุ ระสงค์
เพื่อให้ครผู ชู้ ่วยมกี ารสรา้ งความสัมพันธแ์ ละความรว่ มมือกับชุมชนเพ่อื การเรียนรู้

เนื้อหา
1. การสรา้ งความสมั พันธ์และความรว่ มมอื กบั ชุมชนเพอื่ การเรียนรู้
2. บริบท วัฒนธรรมของชุมชน

แนวการจดั กิจกรรม
๑. ทาแบบทดสอบก่อนอบรม
๒. ศึกษาวตั ถุประสงค์ และเนื้อหาการอบรม
3. ชมวดิ ที ัศน์ ครพู นั ธุ์ใหม่
4. ศึกษาใบความรู้ เร่ืองการสร้างความสัมพนั ธ์ และความรว่ มมอื กับชุมชน
5. ครูผู้ช่วยกรอกข้อมูลวัฒนธรรมและบริบทของชุมชนในใบงานท่ี 2.2.1 และออกแบบ

แนวทางการแกป้ ัญหาเด็กท่ีไมต่ ้งั ใจเรียนด้วยระบบการสรา้ งความสมั พันธแ์ ละความร่วมมอื กับชมุ ชน
เพอ่ื การเรยี นรจู้ ากใบงานที่ 2.2.2

6.ทาแบบทดสอบหลงั การอบรม

สื่อท่ีใช้ในการประชมุ ปฏิบตั กิ าร
๑. สอ่ื วดี ที ัศน์จากยทู ูป https://www.youtube.com/watch?v=PCKEPv-uR_I
๒. ใบความรู้

ช้นิ งาน/ภาระงาน
ใบงาน

การวดั และประเมินผล
๑. วธิ กี ารประเมิน
การตรวจใบงาน

๑๙

๒. เครอ่ื งมือการประเมนิ
แบบบนั ทึกคะแนนตรวจใบงาน

๓. เกณฑ์การประเมิน
ระดบั ดเี ย่ยี ม ได้คะแนน 8 คะแนนขึน้ ไป
ระดับดีมาก ได้คะแนน 7 คะแนนขึน้ ไป

ระดับดี ได้คะแนน 6 คะแนนขึ้นไป
ระดบั พอใช้ ไดค้ ะแนน 5 คะแนนข้ึนไป
ระดับปรบั ปรุง ได้คะแนน ต่ากวา่ ๕ คะแนน

๒๐

รายวิชาท่ี 2.3 ระบบการดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียน เวลา 2 ชัว่ โมง

คาอธบิ ายรายวชิ า
ศึกษาเกี่ยวกับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน การคัดกรอง การส่งเสริมและพัฒนา

การป้องกันและการส่งต่อนักเรียน ธรรมชาติของนักเรียน หลักจิตวิทยาในการเรียนรู้ ปัญหาและ
แนวทางในการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ตลอดจนการบริหารจัดการระบบการดูแลช่วยเหลือนกั เรียน
ปจั จยั ทส่ี ่งผลต่อความสาเร็จของระบบการดูแลผู้เรียน ด้วยวิธีการประยุกต์ความรู้ทางจิตวิทยาไปใช้
ในการดูแลชว่ ยเหลือนกั เรยี น

วตั ถปุ ระสงค์
1. เพื่อให้ครูผู้ช่วยสามารถวิเคราะห์ความสาคัญของระบบการดูแลช่วยเหลือที่มีต่อการพัฒนา

นกั เรยี น สถานศกึ ษา สงั คม และตนเองได้
2. เพ่ือให้ครูผู้ช่วยสามารถช่วยเหลือและพัฒนานักเรียนตามหลักการของระบบการดูแล

ชว่ ยเหลอื นักเรียนได้
3. เพอ่ื ให้ครผู ู้ช่วยจัดกิจกรรมเพื่อสง่ เสรมิ พัฒนานักเรยี นได้เหมาะสมกบั ธรรมชาติ ศักยภาพ

และความต้องการของนกั เรยี น

เนื้อหา
1. ความสาคัญและความเป็นมาของระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน และความเช่ือมโยง

กบั หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน ตามเอกสารขา้ งท้าย
2. กระบวนการดาเนนิ งาน 5 ขัน้ ตอนของระบบการดแู ลช่วยเหลือนกั เรียน
2.1 การรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล และการจัดทาสารสนเทศการดูแลช่วยเหลือ

นกั เรียน/การเยี่ยมบา้ น
2.2 การคัดกรองนกั เรียนรายด้าน เกณฑ์การคดั กรอง
2.3 การพฒั นานกั เรียน เน้นการเสรมิ สร้างทกั ษะชวี ติ การเสริมสรา้ งความเขม้ แขง็ ทางใจ
2.4 การป้องกันและแก้ไขปัญหานักเรียน การจัดการศึกษาเพื่อเด็กท่ีมีปัญหา

(การดาเนนิ งานตาม พรบ. ปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหาต้งั ครรภใ์ นวัยรุน่ ปัญหายาเสพตดิ ปญั หาลอ้ แกลง้
รงั แก ใชค้ วามรนุ แรง ปญั หาเดก็ ติดเกม ปญั หาพฤตกิ รรม)

2.5 การส่งต่อ
3. การประยุกตห์ ลักจติ วิทยาในการสง่ เสรมิ พัฒนาป้องกัน แก้ไขปญั หาและให้คาปรึกษานกั เรยี น
4. การบริหารจดั การระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรยี นให้ประสบความสาเร็จ
5. สภาพปัจจุบนั ปัญหา และแนวทางการพฒั นาระบบการดูแลช่วยเหลือนกั เรียน

แนวทางการจัดกิจกรรม
๑. ทาแบบทดสอบกอ่ นการอบรม
๒. ครผู ้ชู ว่ ยศึกษาวัตถุประสงค์ของระบบการดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรยี น ดังนี้

๒๑

2.1 วิเคราะห์ความสาคญั ของระบบการดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี นที่มีผลตอ่ การพัฒนา
นักเรยี น สถานศึกษา สงั คม และตนเองได้

2.2 ดาเนินการให้ความชว่ ยเหลือนกั เรยี นตามหลกั การของระบบการดูแลช่วยเหลือ
นกั เรียนได้

2.3 ใช้เคร่ืองมอื /วิธกี ารตา่ งๆ เพื่อหาความรจู้ กั นักเรียนเปน็ รายบุคคลได้
2.4 วเิ คราะหล์ กั ษณะของนกั เรยี นตามเกณฑ์การคัดกรองของโรงเรียนได้
2.5 จัดกิจกรรมเพ่ือส่งเสริมพัฒนานักเรียนได้เหมาะสมกับธรรมชาติ ศักยภาพ
และความตอ้ งการของนักเรยี น
2.6 มีทักษะในการดูแลชว่ ยเหลือนกั เรียนในเบอื้ งต้นได้
2.7 ประสานสง่ ต่อนักเรียนทคี่ วรไดร้ ับการดูแลช่วยเหลอื จากผเู้ ชี่ยวชาญเฉพาะดา้ นได้
2.8 ระบุลักษณะเด่นของพัฒนาการด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์และสังคม
ของนกั เรยี นแตล่ ะระดับได้
2.9 เสนอแนวทางการจัดกิจกรรมที่เหมาะสมเพ่ือส่งเสริม พัฒนา ป้องกัน
และแกไ้ ขปัญหานกั เรยี นได้
2.10 สามารถวิเคราะห์ปัญหาและประยุกต์ความรู้ทางจิตวิทยาไปใช้ในการดูแล
ชว่ ยเหลือนักเรียนได้
2.11 ดาเนินการดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นได้อยา่ งเปน็ ระบบ
2.12 วิเคราะห์ปัจจัยที่นาไปสู่ความสาเร็จในการดาเนินการระบบการดูแลช่วยเหลือ
นักเรียนได้
2.13 อธบิ ายสภาพปจั จุบนั ของระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรยี นได้
2.14 ระบปุ ญั หาและแนวทางการพฒั นาระบบการดแู ลช่วยเหลอื นกั เรยี นได้
๓. ครูผชู้ ว่ ยศกึ ษาเนื้อหาจากใบงานและใบความรปู้ ระจาหนว่ ย พร้อมทาใบงานที่ 2.3.1-2.3.3
4. ครูผู้ชว่ ยทาแบบทดสอบหลงั การอบรม

ส่อื ทีใ่ ชใ้ นการประชมุ ปฏิบตั กิ าร
๑. ใบความรู้
๒. สือ่ อิเล็กทรอนกิ ส์
๓. แหล่งเรยี นรทู้ เ่ี ก่ียวขอ้ ง
๔. ใบงาน

ช้ินงาน/ภาระงาน
๑. ใบงานท่ี 2.3.1
๒. ใบงานท่ี ๒.3.2
๓. ใบงานที่ 2.3.๓

๒๒

การวัดและประเมนิ ผล
๑. วธิ กี ารประเมนิ
1.1 การตรวจใบงาน
1.๒ สงั เกตพฤติกรรมการมสี ่วนรว่ ม
๒. เคร่อื งมอื การประเมิน
๒.๑ แบบบันทึกคะแนนใบงาน
๒.๒ การร่วมกจิ กรรม
๓. เกณฑ์การประเมิน
ระดับดเี ยีย่ ม ได้คะแนน 8 คะแนนข้ึนไป
ระดับดมี าก ได้คะแนน 7 คะแนนขน้ึ ไป
ระดบั ดี ได้คะแนน 6 คะแนนขนึ้ ไป
ระดบั พอใช้ ได้คะแนน 5 คะแนนข้ึนไป
ระดับปรบั ปรงุ ไดค้ ะแนน ต่ากว่า ๕ คะแนนเกณฑใ์ นการให้คะแนนการประเมิน

๒๓

รำยวชิ ำท่ี ๓.๑ กำรม่งุ ผลสัมฤทธิใ์ นกำรปฏิบัติงำน เวลำ ๒ ชวั่ โมง

คำอธิบำยรำยวิชำ
ความมุ่งม่ันในการปฏิบัติราชการในหน้าที่ให้ดีหรอื ให้เกินมาตรฐานท่ีมีอยู่ อย่างมีคุณภาพ

ถกู ต้อง ครบถ้วนสมบรู ณ์ โดยมาตรฐานน้ีอาจเป็นผลการปฏิบัตงิ านท่ีผ่านมาของตนเองหรือเกณฑว์ ัด
ผลสัมฤทธ์ิที่ส่วนหน่วยงานกาหนดขึ้น อีกทั้งยังหมายรวมถึง คิดริเร่ิม สร้างสรรค์พัฒนาผลงาน
หรือกระบวนการปฏิบัติงานตามเป้าหมายท่ียากและท้าทาย โดยมีการวางแผน กาหนดเป้าหมาย
ติดตามประเมินผลการปฏบิ ตั งิ าน ปรบั ปรงุ พฒั นาประสทิ ธภิ าพและผลงานอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง
วัตถุประสงค์

๑. เพอ่ื ใหค้ รูผู้ชว่ ยไดร้ ับรู้ ทาความเข้าใจ และให้ความรว่ มมือในการดาเนนิ งานตามนโยบาย
สาคัญขององค์กร

๒. เพ่ือให้ครูผู้ช่วยปฏิบัติงานที่รับผิดชอบให้บรรลุเป้าหมายตามกรอบของแผนงาน
ที่กาหนด ใช้กระบวนการ ขั้นตอน และวิธีการของแผน เป็นเครื่องมือสาคัญในการบริหารจัดการ
สามารถวางแผนปฏิบตั กิ ารและนาแผนกลยุทธส์ ่กู ารปฏบิ ัตไิ ดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ

๓. เพ่ือให้ครูผู้ช่วยวางแผนพัฒนางาน และพัฒนาตนให้สอดคล้องกับเป้าหมายองค์กร
(Internal Performance Agreement) อย่างเปน็ ระบบ

๔. เพื่อใหค้ รูผชู้ ว่ ยพัฒนาตนเองใหม้ ีความสามารถตามมาตรฐานสากล ด้านการจัดการเรียน
การสอน การวจิ ยั บริการวชิ าการ การใชภ้ าษา เทคโนโลยีสารสนเทศ
เนือ้ หำ

1. การวางแผน การกาหนดเป้าหมาย การวเิ คราะห์ สังเคราะหภ์ ารกจิ งาน
2. การปฏบิ ตั ิหนา้ ที่ใหม้ ีคณุ ภาพ ถกู ต้อง ครบถว้ น สมบรู ณ์
3. การตดิ ตาม ประเมนิ ผลการปฏิบัติงาน
4. การพัฒนาการปฏบิ ัตงิ านใหม้ ีประสิทธิภาพ
แนวกำรจดั กิจกรรม
๑. การฟังบรรยายจากวทิ ยากร
๒. ศึกษาสอื่ วีดิทัศน์ละครสน้ั เรือ่ ง กรณตี ามประมวลจริยธรรม (การม่งุ ผลสัมฤทธ์ิของงาน)
๓.. การศกึ ษาเอกสารเสรมิ ความรู้
๔. ฝกึ ปฏบิ ตั ิงานกลมุ่ ตามใบกิจกรรมท่ี ๑-๒
๕. การแลกเปลี่ยนเรียนรแู้ ละการสะท้อนผลการเรียนรู้

๒๔

สื่อทีใ่ ช้ในกำรประชุมปฏิบตั ิกำร
๑. สื่อวีดิทัศน์ละครสั้น เรื่อง กรณีตามประมวลจริยธรรม (การมุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน)

https://www.youtube.com/watch?v=bsQ5bf6q3Cg
๒. เอกสารเสรมิ ความรู้ ดังนี้
๒.๑ นิยามของคาว่า “ครมู ืออาชีพ”
๒.๒ บทบาทครผู สู้ อนในศตวรรษที่ ๒๑
๒.๓ สมรรถนะอืน่ ๆ ทเ่ี ก่ยี วข้องกับการมงุ่ ผลสมั ฤทธ์ิของงาน
๒.๔ แนวทางการปฏบิ ัตงิ านท่มี ุง่ ผลสัมฤทธิ์
๓. ใบกจิ กรรมท่ี ๑-๒

ชิน้ งำน/ภำระงำน
ใบกิจกรรมที่ ๑-๒

กำรวดั และประเมนิ ผล
๑. วธิ ีกำรประเมนิ
๑.๑ การตรวจใบกจิ กรรมที่ ๑-๒
๑.๒ สงั เกตพฤตกิ รรมการมีส่วนร่วม
๒. เครอื่ งมอื กำรประเมิน
๒.๑ แบบบันทึกคะแนน
๒.๒ แบบสงั เกตพฤตกิ รรม
๓. เกณฑก์ ำรประเมิน
ระดับดมี าก ผ้เู ขา้ รับการพัฒนาตอ้ งไดค้ ะแนน รอ้ ยละ ๙๐ ขนึ้ ไป (๙-๑๐ คะแนน)
ระดบั ดี ผ้เู ข้ารบั การพฒั นาต้องไดค้ ะแนน รอ้ ยละ ๗๐ ข้นึ ไป (๗-๘ คะแนน)
ระดับพอใช้ ผู้เขา้ รบั การพัฒนาตอ้ งไดค้ ะแนน รอ้ ยละ ๕๐ ขนึ้ ไป (๕-๖ คะแนน)

๒๕

รำยวชิ ำที่ ๓.๒ กำรบรหิ ำรหลักสตู รและกำรจดั กำรเรยี นรู้ เวลำ ๕ ชั่วโมง

คำอธิบำยรำยวชิ ำ
การบรหิ ารหลักสูตรและการจดั การเรียนรู้ คอื ความสามารถของครูในการสรา้ งและพฒั นา

หลักสตู รการออกแบบการเรียนรอู้ ย่างสอดคล้องและเปน็ ระบบจัดการเรยี นรู้ทเ่ี น้นผเู้ รียนเป็นสาคัญ
ใชแ้ ละพัฒนาสือ่ นวัตกรรมเทคโนโลยแี ละการวดั ประเมินผลการเรียนรเู้ พ่ือพฒั นาผเู้ รียนอย่างมี
ประสิทธภิ าพและเกดิ ประสทิ ธผิ ลสูงสดุ

วัตถุประสงค์
๑. เพ่อื ให้ครผู ู้ช่วยมคี วามรู้ ความเขา้ ใจในการนาหลักสตู รหลกั สตู รแกนกลางการศึกษา

ขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลกั สตู รการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ ไปใช้ไดอ้ ย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ

๒. เพ่ือให้ครผู ู้ช่วยมีความรู้ ความเข้าใจและทักษะในการจดั การเรยี นรู้ การออกแบบการ
เรยี นรู้ได้อยา่ งเหมาะสม

เนอ้ื หำ
๑. การนาหลักสตู รสูก่ ารปฏิบตั ติ ามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑
๒. การจัดทาหนว่ ยการเรยี นรู้
๓. การจดั การเรียนรู้

แนวกำรจดั กจิ กรรม
๑. วทิ ยากรบรรยายใหค้ วามรู้ เรอ่ื ง การบรหิ ารหลักสตู รและการจัดการเรยี นรู้
๒. ครูผชู้ ่วยฝกึ ปฏิบัติการจัดทาแผนการจัดการเรยี นรู้
๓. วทิ ยากรสรุปบทเรียน

สอื่ และแหลง่ เรยี นรู้
๑. ใบงานการจัดทาแผนการจดั การเรยี นรู้
๒. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรม

ช้ินงำน
ใบงานการเขยี นแผนการจัดการเรยี นรู้ (งานเด่ียว)

๒๖

กำรวดั และประเมนิ ผล
๑.วธิ ีกำรประเมนิ
ประเมนิ แผนการจัดการเรยี นรู้
๒.เครอื่ งมือกำรประเมนิ
แบบประเมนิ แผนการจดั การเรยี นรู้
๓.เกณฑ์กำรประเมนิ
ประเมนิ แผนการจดั การเรียนรู้ ระดบั ดีข้นึ ไป

๒๗

รำยวชิ ำที่ ๓.๓ กำรพัฒนำผูเ้ รยี น เวลำ ๑ ช่วั โมง

คำอธิบำยรำยวิชำ
ศึกษาเกีย่ วกับทักษะในการจดั กิจกรรมทเี่ กี่ยวขอ้ งกับการสง่ เสริมพัฒนาผเู้ รียน การปลูกฝัง

คุณธรรม จริยธรรม การพัฒนาทักษะชีวิต สุขภาพกาย สขุ ภาพจติ ของผู้เรยี น การพฒั นาผู้เรียนท่ีมี
ความตอ้ งการพิเศษ การปลูกฝงั ประชาธปิ ไตย วินัย การสร้างคา่ นิยมที่ดีงามและความภมู ิใจในความเปน็ ไทย

วัตถุประสงค์
๑. เพื่อใหค้ รผู ู้ช่วยมคี วามรู้ ความเขา้ ใจและประพฤตติ นเปน็ แบบอยา่ งทดี่ ี เป็นต้นแบบใน

การประพฤติปฏบิ ตั ิตนด้านคุณธรรม จริยธรรม และเผยแพรค่ วามรู้ ปลูกฝงั คณุ ธรรม จริยธรรม ให้แก่
ผู้เรยี นได้

๒. เพอ่ื ใหค้ รูผู้ชว่ ยระบสุ มรรถนะสาคัญของผู้เรยี นตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษา
ขน้ั พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ และพัฒนาทกั ษะชวี ติ สขุ ภาพกาย และสขุ ภาพจติ ของผเู้ รียนได้

๓. เพื่อให้ครผู ู้ช่วยสามารถวางแผนสง่ เสริม ปลกู ฝงั ความเปน็ ประชาธปิ ไตย ภมู ิใจในความ
เปน็ ไทยให้แก่ผเู้ รียนได้

เนอ้ื หำ
1. การปลูกฝงั คุณธรรม จริยธรรม
2. การพัฒนาทกั ษะชีวติ สขุ ภาพกาย และสขุ ภาพจิต
3. การปลกู ฝงั ความเป็นประชาธิปไตย ภูมิใจในความเปน็ ไทย

แนวกำรจัดกจิ กรรม
๑. ชมวดี ิทัศนแ์ นะนาการจดั กิจกรรมการเรียนรูอ้ อนไลน์ดว้ ยตนเอง
๒. ทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน
๓. ศึกษาเน้อื หาสาระการอบรมจากสอื่ อเิ ล็กทรอนกิ ส(์ วีดิทศั น์)
๔. ศึกษาเนือ้ หาเพมิ่ เตมิ จากใบความรู้
๕. สบื ค้นขอ้ มูลเพม่ิ เตมิ จากแหล่งเรียนรู้
๖. ทาใบงาน/กจิ กรรมทกี่ าหนด
๗. ส่งใบงานและกจิ กรรมมายังเขตพืน้ ที่
๘. ทาแบบทดสอบหลงั เรียน

ส่ือท่ใี ชใ้ นกำรประชมุ ปฏิบัตกิ ำร
๑. ใบความรู้
๒. ใบงาน

๒๘

๓. สอ่ื อิเล็กทรอนกิ ส์ (วีดทิ ัศน)์
กิจกรรมลาดับท่ี ๔
- https://www.youtube.com/watch?v=3_iu5QpKrgc
- https://www.youtube.com/watch?v=_YjcAzOhfCM
- https://www.youtube.com/watch?v=MF50urAIumE
- https://www.youtube.com/watch?v=dMLeCkLhzpU
กิจกรรมลาดับท่ี ๖
- https://www.youtube.com/watch?v=5OkXfguOKAA
- https://www.youtube.com/watch?v=-BLvE_0ssf4
- https://www.youtube.com/watch?v=GQJdZSU33jM
- https://www.youtube.com/watch?v=lBXdGCNVX0w
กิจกรรมลาดบั ท่ี ๗
- https://www.youtube.com/watch?v=K5q6pazAk7A
- https://www.youtube.com/watch?v=N7IHoM4S41U
- https://youtu.be/phj3cwz3guE

๔. แหล่งเรยี นรู้ทเ่ี ก่ียวข้อง

ช้นิ งำน/ภำระงำน
๑. ใบงาน
๒. แผนผงั มโนทศั น์ (mind mapping) การปลูกฝงั ความเปน็ ประชาธิปไตย ภูมิใจในความเปน็ ไทย

กำรวัดและประเมนิ ผล
๑. วิธกี ำรประเมิน
การตรวจใบงาน
๒. เครือ่ งมือกำรประเมนิ
๒.๑ แบบบันทกึ คะแนนใบงาน
๒.๒ การรว่ มกจิ กรรม
๓. เกณฑ์กำรประเมิน
ระดับดเี ย่ยี ม ไดค้ ะแนน ๙-๑๐ คะแนน
ระดับดี ได้คะแนน ๗ -๘ คะแนน
ระดบั ผา่ น ไดค้ ะแนน ๕-๖ คะแนน
ไมผ่ า่ น ไดค้ ะแนน ต่ากว่า ๕ คะแนน

๒๙

รำยวชิ ำท่ี ๓.๔ กำรบรหิ ำรจดั กำรชนั้ เรียน เวลำ ๒ ช่ัวโมง

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ
ศึกษา ความหมาย ความสาคัญ องค์ประกอบ แนวคิดและหลักการบริหารจัดการช้ันเรียน

สง่ เสริมการจัดบรรยากาศในชน้ั เรยี นให้เอือ้ ต่อการเรยี นรู้อยา่ งมีประสิทธิภาพ รวมถงึ การสรา้ งวนิ ัยใน
ชน้ั เรียน การแก้ปัญหาในชั้นเรียน การปรับปรุงพฤติกรรมของนักเรียน การจัดทาขอ้ มูลสารสนเทศ
และเอกสารประจาช้นั เรียนอย่างมีประสทิ ธิภาพ

วตั ถปุ ระสงค์
๑. เพ่ือให้ครูผู้ช่วยมีความรู้ความเข้าใจในการจัดบรรยากาศที่ส่งเสริมการเรียนรู้
กระบวนการคิด ทกั ษะชีวติ และสามารถนาความร้ไู ปใชใ้ นการบริหารจัดการช้ันเรียนได้
๒. เพอ่ื ใหค้ รผู ู้ชว่ ยรเู้ ทคนคิ การกากบั ดูแลชน้ั เรยี น และสามารถนาไปปรบั ใชใ้ นห้องเรียนได้
๓. เพอ่ื ใหค้ รูผชู้ ่วยมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ สามารถจัดทาขอ้ มูลสารสนเทศและเอกสารประจาชนั้ /
วิชาได้ และจดั เกบ็ ไดอ้ ยา่ งเปน็ ระบบ

เน้อื หำ
๑. การบรหิ ารจดั การชัน้ เรียน
๑.๑ ความหมายการบรหิ ารจดั การชั้นเรยี น
๑.๒ ความสาคญั ของการจดั การชั้นเรยี น
๑.๓ องค์ประกอบของการจดั การชัน้ เรียน
๑.๔ แนวคิดเก่ยี วกบั การบรหิ ารจัดการช้ันเรียน
๑.๕ การจัดบรรยากาศทสี่ ง่ เสรมิ การเรยี นรู้ กระบวนการคิด ทกั ษะชีวิต และพฒั นาผเู้ รยี น
๒. การกากบั ดแู ลช้นั เรยี น
๒.๑ หลักในการจดั การชั้นเรียน
๒.๒ การสงั เกตนกั เรยี นท่ีมปี ญั หาทางพฤติกรรม
๒.๓ สาเหตุของพฤติกรรมท่ีเป็นปญั หา
๒.๔ แนวทางในการแกไ้ ขปญั หานกั เรยี น
๒.๕ วิธีการสร้างกฎ/ข้อตกลงในห้องเรยี น
๓. การจัดทาขอ้ มลู สารสนเทศ และเอกสารประจาชั้น/วชิ า
๓.๑ เอกสารประเมินพฒั นาการและ แบบ ปพ.
๓.๒ แผนการจดั การเรียนรู้

ขั้นตอนกำรศกึ ษำบทเรียนออนไลน์

๓๐

๑. ศึกษาคาอธบิ ายรายวิชาและวตั ถปุ ระสงคข์ องบทเรยี น
๒. ศกึ ษาใบความรู้
๓. ปฏิบตั กิ จิ กรรมตามใบงาน

สอื่ ทใี่ ช้ในกำรประชมุ ปฏบิ ัตกิ ำร
๑. ใบความรู้
๒. วีดิทศั นแ์ ละส่ืออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์
๓. แหล่งเรียนรู้ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง
๔. ใบงาน

ช้นิ งำน/ภำระงำน
๑. สรปุ องค์ความรจู้ ากใบงานที่ ๓.๔.๑
๒. ผงั มโนทัศน์จากใบงานที่ ๓.๔.๒

กำรวัดและประเมินผล
๑. วิธกี ำรประเมิน
๑.๑ การตรวจใบงาน
๒. เคร่อื งมือกำรประเมนิ
๒.๑ แบบใหค้ ะแนนใบงานท่ี ๓.๔.๑
๒.๒ แบบใหค้ ะแนนใบงานที่ ๓.๔.๒
๓. เกณฑ์กำรประเมิน
ระดับดเี ยี่ยม ได้คะแนน ๙ - ๑๐ คะแนน
ระดับดี ไดค้ ะแนน ๗ - ๘ คะแนน
ระดับผา่ น ไดค้ ะแนน ๕ - ๖ คะแนน
ไม่ผ่าน ไดค้ ะแนน ต่ากวา่ ๕ คะแนน

รำยวชิ ำท่ี ๓.๕ กำรวจิ ัยในชนั้ เรียน ๓๑
เวลำ ๕.๕ ชว่ั โมง

คำอธิบำยรำยวชิ ำ
ศึกษาความหมาย ความสาคัญ ประโยชน์ รูปแบบและข้ันตอนการวิจัยในช้ันเรียนเพ่ือ

พัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน วิเคราะห์สภาพปัญหา การออกแบบวิจัยในช้ันเรียน
การวเิ คราะหผ์ ล และการต่อยอดงานวจิ ยั ในชน้ั เรยี น เพอ่ื พัฒนาตนเองเขา้ สู่ครมู ืออาชีพ

วัตถุประสงค์
๑. เพ่ือให้ครผู ู้ช่วยสามารถวิเคราะห์ปัญหาจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน สามารถ

ออกแบบและกาหนดวิธีการแกป้ ัญหาโดยใชก้ ารวิจัยในช้ันเรียน
๒. เพ่ือใหค้ รผู ู้ช่วยมีความรู้ ความเข้าใจการจดั ทาวิจัยในชั้นเรียนและนาผลการวจิ ัยไปใชใ้ น

การพฒั นาการเรยี นการสอน

เน้อื หำ
4. การวเิ คราะหส์ ภาพปญั หา
5. กระบวนการวจิ ัย
6. ขน้ั ตอนการทาวิจัยในชน้ั เรียน

แนวกำรจดั กิจกรรม
๑. ครผู ้ชู ว่ ยศกึ ษาใบความรู้ เรื่อง “การวิจัยในชัน้ เรียน”
๒. ครผู ู้ช่วยทาใบงาน เรอ่ื งการวิจัยในชั้นเรียน

ส่ือท่ีใช้ในกำรประชุมปฏบิ ตั ิกำร
๑. ใบความรู้ เรือ่ ง “การวิจยั ในชั้นเรียน”
๒. สื่ออเิ ลก็ ทรอนิกส์

ช้นิ งำน/ภำระงำน
๑. ใบงาน เรอ่ื ง “การวจิ ยั ในชั้นเรยี น”

๓๒

กำรวัดและประเมินผล
๑. วิธกี ำรประเมิน
๑.๑ การตรวจชิน้ งาน
๑.๒ พฤตกิ รรมการมีส่วนร่วม
๒. เครื่องมือกำรประเมนิ
๒.๑ ชน้ิ งาน
๒.๒ แบบบนั ทกึ คะแนน
๓. เกณฑ์กำรประเมิน
ระดบั ดเี ยยี่ ม ไดค้ ะแนน ๙-๑๐ คะแนน
ระดับดี ได้คะแนน ๗ -๘ คะแนน
ระดบั ผ่าน ไดค้ ะแนน ๕-๖ คะแนน
ไมผ่ า่ น ได้คะแนน ต่ากวา่ ๕ คะแนน

รำยวชิ ำท่ี ๓.๖ ภำษำองั กฤษกบั กำรเป็นครู ๓๓
เวลำ ๒ ชั่วโมง

คำอธบิ ำย
ปฏิบัติตามคาแนะนาจากการเข้าเรียนบทเรียน eng ๒๔ และอธิบายเนื้อหาในบทเรียน

ใชภ้ าษาในการฟงั พดู คาช้แี จง คาบรรยาย คาแนะนา ในการสร้างความสัมพันธ์ระหวา่ งบุคคลในการ
บรรยายความสนใจ กิจกรรมต่าง ๆ การขอและใหข้ ้อมูล ความช่วยเหลือ และบริการผู้อื่น ถ่ายโอน
ข้อมูลท่ีไดฟ้ ัง ท้ังประโยคคาสงั่ คาขอรอ้ ง คาแนะนา คาอธบิ าย แลว้ ถ่ายโอนเป็นคาพูดของตนเองใน
รูปแบบตา่ ง ๆอ่านออกเสยี ง ขอ้ ความ ถกู ตอ้ งตามหลักการอา่ น พดู และเขียน สรปุ ใจความสาคญั ท่ไี ด้
จากการวิเคราะห์และวิจารณ์เร่ืองจากการชมวีดีทัศน์ในแต่ละสถานการณ์ ระบุหัวเรอ่ื ง จับใจความ
สาคัญ รายละเอียดสนับสนุน และแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับเรื่องท่ีได้ชม รวมท้ังการจัดการใช้
ภาษาอังกฤษเพ่ือการจัดการเรียนรู้ โดยใช้กระบวนการทางภาษา กระบวนการกลุ่ม กระบวนการ
ปฏิบัติ เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ความเพลิดเพลิน และความสนุกสนาน สามารถใช้ภาษาและ
ท่าทางในการสือ่ สารไดเ้ หมาะสมกับระดับบุคคลและกาลเทศะ ใฝเ่ รยี นรู้ มงุ่ ม่ันในการทางานคดิ อยา่ ง
สรา้ งสรรค์ และใชเ้ ทคโนโลยใี นการเรียนรู้ได้อยา่ งเหมาะสม

เพื่อให้ครูผู้ช่วยมีความพร้อมและทักษะในการใช้บทเรียน eng ๒๔ ในการพัฒนาทักษะ
ภาษาอังกฤษทัง้ ดา้ น การเขยี น การอ่าน การฟัง และการพูด ให้สามารถส่อื สารกบั ชาวต่างประเทศ
ได้อย่างม่ันใจ และเพ่ือเป็นการเพ่ิมพูนความรู้ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษเพ่ือการจัดการ
เรียนรู้ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

วตั ถุประสงค์
๑. เพ่ือใหค้ รผู ู้ช่วยมี และทกั ษะในการใช้ภาษาองั กฤษขัน้ พื้นฐานดา้ นการสอื่ สารทงั้ ๔ ดา้ น

๒. เพ่ือใหค้ รผู ู้ช่วยเพม่ิ พูนความร้คู วามสามารถในการใชภ้ าษาอังกฤษเพอ่ื การจดั การเรยี นรู้

ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

เน้ือหำ
๑. การใช้ eng ๒๔ ในการฝึกทกั ษะภาษาอังกฤษเพ่อื การสอ่ื สาร
๒. ภาษาองั กฤษเพือ่ การจดั การเรียนรู้

แนวกำรจัดกจิ กรรม
๑. วิทยากรจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้
๒. การเข้าเวบ็ ไซต์ http://eng๒๔.ac.th/ ที่ใชใ้ นการฝกึ ทกั ษะภาษาองั กฤษเพื่อการสอ่ื สาร

๓๔

๓. การฝกึ ปฏิบัติ ทกั ษะภาษาอังกฤษเพอื่ การสื่อสาร
๔. การใช้ภาษาองั กฤษเพือ่ การจัดการเรียนรู้
๕. นาเสนอแลกเปลยี่ นเรยี นรู้

ส่ือทใ่ี ชใ้ นกำรประชุมปฏบิ ัติกำร
๑. วิทยากรแนะนาเว็บไซตก์ ารเรยี นภาษาอังกฤษเพือ่ การสอื่ สาร eng ๒๔
๒. เว็บไซต์ http://eng๒๔.ac.th/
๓. ใบงาน

ชน้ิ งำน/ภำระงำน
๑. ใบงานที่ ๑ ศกึ ษาเว็บไซต์ http://eng๒๔.ac.th/และศกึ ษาบทเรียนทัง้ ๓ บทเรยี น
๒. ใบงานที่ ๒ เขียนบทสนทนา และนาเสนอการสนทนาด้วยกจิ กรรมบทบาทสมมติ

กำรวัดและประเมนิ ผล

๑. วธิ กี ำรประเมิน

๑.๑ การตรวจชนิ้ งาน

๑.๒ สังเกตพฤติกรรมการมสี ่วนรว่ ม

๒. เคร่ืองมอื กำรประเมนิ

๒.๑ แบบประเมินชน้ิ งาน

๒.๒ แบบประเมินพฤตกิ รรมการมสี ่วนรว่ ม

๓. เกณฑ์กำรประเมนิ

ระดบั ดเี ยยี่ ม ได้คะแนน ๙-๑๐ คะแนน

ระดบั ดี ไดค้ ะแนน ๗ -๘ คะแนน

ระดบั ผา่ น ไดค้ ะแนน ๕-๖ คะแนน

ไม่ผา่ น ไดค้ ะแนน ตา่ กวา่ ๕ คะแนน

๓๕

รำยวิชำท่ี ๓.๗ กำรเรียนรใู้ นศตวรรษท่ี ๒๑ และ Thailand ๔.๐ เวลำ ๑.๕ ช่วั โมง

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ
ศึกษาแนวทางการเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ ๒๑ และ Thailand ๔.๐ เลือกใช้กิจกรรมทเ่ี หมาะสมใน

การจดั กิจกรรมการเรียนการสอนตามบรบิ ทของโรงเรียน

วัตถุประสงค์
เพือ่ ใหค้ รูผชู้ ว่ ยมีความรูค้ วามเขา้ ใจเกยี่ วกับการเรยี นรูใ้ นศตวรรษท่ี ๒๑ และ Thailand ๔.๐

เนอ้ื หำ
๑. การเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี ๒๑
๒. การเรียนรู้Thailand ๔.๐
๓. ความรู้เกย่ี วกับโปรมแกรม Kahoot

ขัน้ ตอนกำรศกึ ษำบทเรยี นออนไลน์
๑. ศกึ ษาคาอธิบายรายวชิ าและวตั ถุประสงค์ของบทเรียน
๒. ศึกษาใบความรู้

แนวกำรจัดกิจกรรม
๑. ศกึ ษาใบความรู้เกี่ยวกับการเรียนรู้ ในศตวรรษท่ี ๒๑
๒. ศกึ ษาใบความรู้เกีย่ วกบั การเรยี นรู้ Thailand ๔.๐
๓. ศกึ ษาใบความรู้เก่ียวกบั โปรมแกรม Kahoot

สอื่ ที่ใช้ในกำรประชมุ ปฏบิ ัตกิ ำร
๑. ใบความรู้
๒. สื่อวดี ีทัศน์เรอ่ื ง การเรียนรู้ ในศตวรรษท่ี ๒๑ http://youtu.be/tE32HERiEs4
๓. สอ่ื วดี ที ศั นเ์ รอ่ื ง การเรียนรู้ Thailand ๔.๐ http://youtu.be/mHerrjotcAY
๔. ส่อื วดี ที ัศนเ์ รอ่ื ง การนาเทคโนโลยมี าประยกุ ตใ์ ช้ในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน

https://www.youtube.com/watch?v=l5LhRnC4A1g

แบบบนั ทกึ สรปุ องคค์ วามรู้

หน่วยที่ ๑ การครองตน

รายวิชา ๑.๑ การบริการที่ดี
ชอื่ วทิ ยากร..................................................................วนั ที.่ ...................................เวลา................
๑. ความหมาย ความสาคัญ องค์ประกอบการให้บรกิ าร

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๒. แนวทางการสรา้ งความประทบั ใจ

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๓๗

รายวชิ า ๑.๒ การพฒั นาตนเอง
ชอ่ื วทิ ยากร..................................................................วันท่ี....................................เวลา................
๑. การพัฒนาบคุ ลกิ ภาพ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๒. ชมุ ชนการเรยี นรูท้ างวชิ าชีพ (Professional Learning Community PLC)
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๓. แผนพฒั นารายบุคคล (Individual Development Plan : ID PLAN)
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๓๘

รายวิชา ๑.๓ จริยธรรมและจรรยาบรรณวชิ าชีพครู
ชอ่ื วิทยากร..................................................................วนั ท.ี่ ...................................เวลา................
๑. อุดมการณค์ วามเปน็ ครู
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๒. จรรยาบรรณและมาตรฐานของวชิ าชพี ครู
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๓. วนิ ัยข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๓๙

รายวิชา ๑.๔ ภาวะผนู้ าครู
ชอ่ื วทิ ยากร..................................................................วนั ท่.ี ...................................เวลา................
1 ความสาคัญของภาวะครูผู้นา
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2 ความเป็นครู
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3 คุณธรรม จรยิ ธรรม วชิ าชีพครู
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๔๐

รายวิชา ๑.๕ สทิ ธิประโยชนแ์ ละความกา้ วหน้า
ชื่อวิทยากร..................................................................วนั ท่.ี ...................................เวลา................
๑. สิทธิประโยชน์ในการเป็นขา้ ราชการ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๒. ความก้าวหน้าในการเป็นข้าราชการ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๔๑

รายวชิ า ๑.๖ การนอ้ มนาศาสตร์พระราชาและพระบรมราโชบายส่กู ารปฏิบัติ
ชือ่ วทิ ยากร..................................................................วนั ที่....................................เวลา................

การนอ้ มนาศาสตร์พระราชาและพระบรมราโชบายสูก่ ารปฏบิ ัติ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๔๒

ข้อคดิ เห็นหรือข้อเสนอแนะเพม่ิ เติม (ถ้าม)ี
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๔๓

แบบบนั ทกึ สรปุ องคค์ วามรู้

หนว่ ยท่ี ๒ การครองคน

รายวิชา ๒.๑ การทางานเปน็ ทีม
ชอ่ื วิทยากร..................................................................วันที่....................................เวลา................

๑. การทางานเป็นทมี
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๒. จิตอาสา
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๔๔

รายวชิ า ๒.๒ การสร้างความสมั พันธแ์ ละความรว่ มมือกบั ชุมชนเพอ่ื การเรยี นรู้
ช่อื วทิ ยากร..................................................................วนั ท่ี....................................เวลา................

การสรา้ งความสมั พันธแ์ ละความรว่ มมอื กบั ชุมชนเพอื่ การเรยี นรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๔๕

รายวิชา ๒.๓ ระบบการดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น
ชอื่ วทิ ยากร..................................................................วนั ท.ี่ ...................................เวลา................

ระบบการดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๔๖

ขอ้ คิดเห็นหรือขอ้ เสนอแนะเพมิ่ เติม (ถา้ ม)ี
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………


Click to View FlipBook Version