The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ผลงานทางวิชาการ-วิจัยในชั้นเรียน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 30050074, 2022-06-13 23:39:38

ผลงานทางวิชาการ-วิจัยในชั้นเรียน

ผลงานทางวิชาการ-วิจัยในชั้นเรียน



รายงานวิจัยในชั้นเรียน

การพฒั นาการอ่านขอ้ ความไดอ้ ยา่ งถกู ต้องของนกั เรียนชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 3
โดยใชว้ ธิ ีสอนแบบร่วมมือ

จัดทำโดย
นายธงชยั รกั ชาติ
ตำแหน่งครู วทิ ยฐานะครชู ำนาญการ
กลุม่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย

ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564
โรงเรียนบา้ นหนองใหญ่

อำเภอด่านขุนทด จังหวดั นครราชสมี า
สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษานครราชสมี า เขต 5

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ



ชื่อวิจัยในช้ันเรยี น การพฒั นาการอ่านขอ้ ความไดอ้ ย่างถูกตอ้ งของนกั เรยี น
ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 โดยใช้วธิ สี อนแบบร่วมมอื
ผทู้ ำวิจัยในช้ันเรียน
ปกี ารศึกษา นายธงชยั รกั ชาติ
2564

บทคัดย่อ

การวิจัยในชั้นเรียนครั้งน้ี มีวัตถุประสงค์ เพื่อการพัฒนาการอ่านข้อความได้อย่างถูกต้อง
ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้วิธีสอนแบบร่วมมือ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียน

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านหนองใหญ่ จำนวน 15 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่
แผนการจัดการเรียนรู้ แบบวัดการอ่านข้อความ ได้อย่างถูกต้อง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
ไดแ้ ก่ ค่ารอ้ ยละ ค่าเฉล่ยี ( X ) ค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.)

ผลการศึกษา พบว่า ผลการพัฒนาการอ่านข้อความได้อย่างถูกต้องของนักเรียน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้วิธีสอนแบบร่วมมอื พบว่า ภาพรวม ก่อนเรียน คะแนนเฉลี่ย เท่ากับ

8.60 หรอื คิดเป็นรอ้ ยละ 43.00 จากคะแนนเตม็ 20 คะแนน หลังเรียน คะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 15.00
หรือคิดเป็นร้อยละ 75.00 จากคะแนนเต็ม 20 คะแนน และมีความก้าวหน้า คะแนนเฉลี่ย เท่ากับ
6.40 คิดเปน็ ร้อยละ 32.00 โดยภาพรวม ผลการพัฒนาการอ่านข้อความได้อย่างถกู ตอ้ งของนกั เรียน

ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 โดยใชว้ ิธสี อนแบบรว่ มมอื หลงั เรียนสูงกว่าก่อนเรียน



กติ ตกิ รรมประกาศ

งานวิจัยในชั้นเรียน เรื่องการพัฒนาการอ่านข้อความได้อย่างถูกต้องของนักเรียน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้วิธีสอนแบบร่วมมือ สำเร็จลุล่วงได้ด้วยดี โดยได้ความช่วยเหลือ
จากผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหนองใหญ่และคณะครูโรงเรียนบ้านหนองใหญ่ที่ได้ให้คำปรึกษา
คำแนะนำในการทำวิจัยในชนั้ เรียนคร้งั น้ี รวมถงึ ได้ตรวจสอบคณุ ภาพเคร่อื งมอื การวจิ ยั ในช้นั เรียนให้
มีประสทิ ธภิ าพ สามารถนำไปใชใ้ นการพัฒนาการนกั เรยี นได้อย่างเหมาะสม รวมถงึ ผู้วิจยั ขอขอบคุณ
นักเรียนกลุ่มตัวอย่างในงานวิจัยในชั้นเรียนครั้งน้ี ที่ให้ความร่วมมือในการเก็บรวบรวมข้อมลู และ
ดำเนนิ การวิจัยสำเรจ็ ลุล่วงลงด้วยดี

นายธงชยั รักชาติ
ผูท้ ำวจิ ัยในช้นั เรียน



สารบัญ

หนา้

บทคดั ยอ่ .................................................................................................................................. ก
กิตตกิ รรมประกาศ.................................................................................................................... ข
สารบัญ..................................................................................................................................... ค
สารบญั ตาราง........................................................................................................................... จ
สารบัญภาพ.............................................................................................................................. ฉ
บทท่ี
1 บทนำ.................................................................................................................................. 1

ความเปน็ มาและความสำคัญของปญั หา...........................................................................1
วตั ถุประสงค์ของการวจิ ัย..................................................................................................2.
ความสำคัญของการวิจัย................................................................................................ 2
ขอบเขตของการวิจัย................................................................................................... 2
กรอบแนวคิดในการวิจยั ............................................................................................... 3
นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ........................................................................................................... 3
2 เอกสารและงานวจิ ัยท่ีเก่ยี วข้อง............................................................................................5.
หลักสตู รกลุม่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย............................................................................6

ความสำคญั ............................................................................................................... 6
สาระสำคัญ...................................................................................................................6
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้......................................................................................7
คุณภาพผเู้ รียนเม่อื จบช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 3…………....................................................7
วธิ สี อนแบบรว่ มมอื ...........................................................................................................8.
ความหมายของวิธีสอนแบบร่วมมอื ..............................................................................8.
ความสำคญั ของวธิ สี อนแบบร่วมมือ.............................................................................9..
ข้นั ตอนของวธิ สี อนแบบร่วมมอื ....................................................................................9..
การอา่ น............................................................................................................................1..0
ความหมายของการอา่ น..............................................................................................1..1
ความสำคัญของการอา่ น.......................................................................................... 11
องคป์ ระกอบของการอา่ น...........................................................................................11
งานวจิ ัยทเ่ี กี่ยวข้อง......................................................................................................... 11
งานวิจัยในประเทศ.................................................................................................... 11
งานวิจยั ตา่ งประเทศ................................................................................................ 13
3 วธิ ีดำเนินการวจิ ยั ...............................................................................................................14
ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง........................................................................................... 14



แผนแบบการวิจัย........................................................................................................... 14
เครอื่ งมือที่ใชใ้ นการวจิ ัย............................................................................................. 15
การดำเนินการทดลอง....................................................................................................1. 6
การวเิ คราะห์ขอ้ มูล..........................................................................................................17
4 ผลการวจิ ยั ..........................................................................................................................18
ผลการพัฒนาการอ่านข้อความได้อย่างถูกต้องของนกั เรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 3
โดยใช้วธิ สี อนแบบรว่ มมอื ............................................................................................ 18
5 สรุปผลการวจิ ัย อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ...................................................................19
สรปุ ผลการวิจัย.............................................................................................................. 19
อภปิ รายผล.................................................................................................................... 19
ข้อเสนอแนะ.................................................................................................................. 20
เอกสารอา้ งอิง.......................................................................................................................... 21
แผนการจดั การจัดการเรยี นรู้โดยใช้วิธสี อนแบบรว่ มมือ......................................................... 23
แบบวัดการอ่านได้อยา่ งถูกตอ้ ง.................................................................................................8..3.
ภาพประกอบการเก็บรวบรวมขอ้ มูลงานวจิ ัยในชน้ั เรียน..........................................................84
ประวัตยิ ่อผู้ทำวจิ ยั ในชั้นเรยี น...................................................................................................8..5



สารบญั ตาราง

ตารางที่ หน้า

4.1 คะแนนและรอ้ ยละของผลการพฒั นาการอ่านขอ้ ความไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง
ของนกั เรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 3 โดยใช้วธิ สี อนแบบรว่ มมอื ...........................................1.8



สารบญั ภาพ หน้า

ภาพที่

1.1 กรอบแนวคดิ ในการวิจยั ..................................................................................................... 3
3.1 แผนแบบการวิจยั ................................................................................................................1..4.

1

บทที่ 1
บทนำ

ความเปน็ มาและความสำคัญของปัญหา
ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ของชาติ เป็นสมบัติทางวัฒนธรรม ก่อให้เกิดเอกภาพและ

เสริมสร้างบุคลิกภาพของคนในชาตใิ ห้มีความเป็นไทย เป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร เพื่อสร้าง
ความเข้าใจ และความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ทำให้สามารถประกอบกิจธุระ การงาน และดำรงชีวิต
ร่วมกันในสงั คมประชาธิปไตยไดอ้ ยา่ งสันติสุข และเป็นเครือ่ งมือในการแสวงหาความรู้ ประสบการณ์
จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศต่างๆ เพื่อพัฒนาความรู้ พัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห์ วิจารณ์และ
สร้างสรรค์ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
ตลอดจนนำไปใช้ในการพัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคงทางเศรษฐกิจ นอกจากนี้ยังเป็นสื่อแสดงภูมิ
ปัญญาของบรรพบุรุษด้านวัฒนธรรม ประเพณี และสุนทรียภาพ เป็นสมบัตลิ ้ำค่าควรแก่การเรียนรู้
อนุรักษ์ และสืบสานให้คงอยู่คู่ชาติไทยตลอดไป (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551 : 1) ทั้งนี้ กลุ่มสาระ
การเรียนรู้ภาษาไทย ผู้วิจัยมีบทบาทหนา้ ที่รับผิดชอบในการจัดการเรียนการสอนเกี่ยวกับการอ่าน
ข้อความให้ถูกต้องของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 สอดคล้องมาตรฐาน ท 1.1 ใช้กระบวนการ
อ่านสร้างความรูแ้ ละความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสนิ ใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิตและมีนิสัยการอ่าน
ตวั ช้วี ดั ป.3/1 อา่ นออกเสยี งคำ ข้อความ เรอ่ื งสน้ั ๆ และบทรอ้ ยกรองงา่ ยๆ ได้ถกู ต้อง คลอ่ งแคล่ว

การอ่าน หมายถึง กระบวนการสื่อสารระหว่างผู้อ่านและผู้เขียน โดยใช้ตัวอักษร
เป็นสื่อกลางในการถ่ายทอดประสบการณ์ความคิดต่างๆ ของผู้เขียน ทำให้ผู้อ่านเข้าใจจุดมุ่งหมาย
ของการเขียน (รักชนก แสงภักดีจิต, 2548 : 1) การอ่านมีความสำคัญ ได้แก่ 1) ทำให้ผู้อ่านได้รับ
ความรู้ และตอบสนองความอยากรู้ของผอู้ ่าน 2) ทำให้ผู้อา่ นมกี ารพฒั นาข้ึนท้ังดา้ นร่างกาย อารมณ์
สังคม และสติปัญญา 3) ทำให้ได้รับความเพลิดเพลิน สนุกสนาน คลายเครียดหลังงานประจำ
4) ทำให้มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถสรา้ งสรรค์ผลงานใหม่ได้ และ 5) ทำให้สามารถพฒั นาตนเอง
และพัฒนางานให้มีประสิทธิภาพได้ (สมพร แพ่งพิพัฒน์, 2547 : 123) อย่างไรก็ตาม การจัด
การเรียนการสอนการอ่านข้อความให้ถูกต้องของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ในชั้นเรียน
ที่ผ่านมา ผู้วิจัยสังเกตพบว่า นักเรียนยังมีปัญหาด้านการอ่านข้อความได้ถูกต้อง ดังนั้น
จึงจำเป็นตอ้ งหาแนวทางพัฒนาใหด้ ยี ิง่ ขนึ้

การพัฒนาการอ่านข้อความไดถ้ กู ต้อง ของนักเรียนช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 3 ใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพ
จำเป็นจะต้องพัฒนาผ่านวิธีการสอนที่สอดคล้อง และเหมาะสม คือ วิธีการสอนแบบร่วมมือ
ซึ่งหมายถึง การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนยก์ ลาง ส่งเสริมให้นักเรยี นมีปฏิสัมพันธ์และ
ทำงานร่วมกันเปน็ กลุ่มๆ ละ 4-5 คน สมาชกิ ในกลุ่มมีระดับความสามารถแตกต่างกัน สามารถส่ือสาร
และร่วมกนั ปฏบิ ตั ิงานที่ได้รับมอบหมาย โดยที่สมาชิกแต่ละคน มีความรับผดิ ชอบต่อหน้าที่ของตน
และของกลุ่ม โดยมีเป้าหมายร่วมกันและได้รับรางวัลร่วมกันเมื่อกลุ่มประสบความสำเร็จ (อรนุช
ลิมตศิริ, 2554 : 115) โดยมีขั้นตอนการสอน ได้แก่ ขั้นเตรียมการสอน ขั้นทำกิจกรรมกลุ่ม
ขั้นตรวจสอบผลงานและทดสอบ ขนั้ สรปุ บทเรยี น และประเมินผลการทำงานกลุม่ (อาภรณ์ ใจเทย่ี ง,
2550 : 122-123)

2

ด้วยเหตุผลและความสำคัญของการอ่านข้อความให้ถูกต้อง ผู้วิจัยจึงกำหนดหัวข้อวิจัย
ในชั้นเรียน เรื่องการพัฒนาการอ่านข้อความได้อย่างถูกต้องของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
โดยใช้วิธสี อนแบบรว่ มมอื เพื่อการพัฒนาการอ่านขอ้ ความได้อยา่ งถูกต้องของนักเรยี นให้เพิ่มยงิ่ ขึน้

วตั ถปุ ระสงค์ของการวิจัย
วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อการพัฒนาการอ่านข้อความได้อย่างถูกต้องของนักเรียน

ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 3 โดยใช้วิธีสอนแบบรว่ มมือ

ความสำคญั ของการวิจยั
1. ทำให้ทราบผลการพฒั นาการอ่านขอ้ ความได้อย่างถูกต้องของนักเรียนชั้นประถมศึกษา

ปีท่ี 3 โดยใชว้ ิธีสอนแบบร่วมมอื
2. เป็นแนวทางสำหรับครูในการพัฒนาการอ่านข้อความได้อย่างถูกต้องของนักเรียน

ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 3 โดยใช้วิธีสอนแบบร่วมมอื

ขอบเขตของการวจิ ัย
1. ประชากรและกลุม่ ตัวอยา่ ง
1.1 ประชากร ไดแ้ ก่ นกั เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 โรงเรียนบา้ นหนองใหญ่

ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564 จำนวน 19 คน
1.2 กลมุ่ ตวั อยา่ ง ได้แก่ นักเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 3 โรงเรยี นบ้านหนองใหญ่

ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 จำนวน 15 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลมุ่
2. ตวั จัดกระทำ
ตวั จดั กระทำ ได้แก่ วธิ สี อนแบบรว่ มมอื
3. ตัวแปรที่ศกึ ษา
ตวั แปรที่ศึกษา ไดแ้ ก่ การอา่ นข้อความไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง
4. สาระการเรียนรู้
หนว่ ยการเรยี นรู้เรอื่ งเด็กเอย๋ เดก็ นอ้ ย รายวชิ าภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3

ตามหลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านหนองใหญ่
5. ระยะเวลาในการทดลอง
การวิจัยในครั้งนี้ดำเนินการทดลองในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ใช้ระยะเวลา

ทดลอง จำนวน 7 แผน แผนละ 1 ชวั่ โมง

3

กรอบแนวคิดในการวิจยั
การพัฒนาการอ่านขอ้ ความไดอ้ ย่างถูกตอ้ งของนักเรียนชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้วิธีสอน

แบบรว่ มมือดงั ภาพ 1.1 ดงั นี้

ภาพที่ 1.1 กรอบแนวคดิ ในการวิจัย

ตัวจัดกระทำ ตวั แปรท่ศี ึกษา

วธิ ีสอนแบบรว่ มมอื มขี นั้ ตอน ดงั น้ี การอ่านข้อความ
1. ข้ันเตรียมการสอน ได้อยา่ งถกู ตอ้ ง

2. ขน้ั ทำกิจกรรมกลมุ่
3. ข้นั ตรวจสอบผลงานและทดสอบ

4. ขน้ั สรปุ บทเรยี น
5. ประเมนิ ผลการทำงานกลมุ่

นยิ ามศัพท์เฉพาะ
นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะที่ใชใ้ นการวิจยั ครัง้ น้ี มีดงั น้ี

1. วิธีสอนแบบร่วมมือ หมายถึง การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เน้นให้นักเรยี นมีปฏิสัมพันธ์ และทำงานร่วมกันเป็นกลมุ่ สมาชิกในกลุ่มคละความสามารถและแตกต่าง
กนั การเรียนผ่านการส่ือสาร และร่วมกันปฏิบัติงานทมี่ อบหมาย สมาชกิ แต่ละคนมีความรับผิดชอบ

ต่อหน้าที่ของตนและของกลุ่ม มีเป้าหมายร่วมกันในการทำงานกลุ่ม การสอนแบบร่วมมือ
ประกอบด้วย 5 ข้ันตอน ดงั น้ี

1.1 ขั้นเตรียมการ ผู้สอนชี้แจงจุดประสงค์ของบทเรียน ผู้สอนจัดกลุ่มผู้ เรียน
เป็นกลุ่มย่อย กลุ่มละประมาณไม่เกิน 6 คน มีสมาชิกที่มีความสามารถแตกต่างกัน ผู้สอนแนะนำ
วิธกี ารทำงานกลุ่มและบทบาทของสมาชกิ ในกลมุ่

1.2 ขั้นสอน ผู้สอนนำเข้าสู่บทเรยี น บอกปัญหาหรืองานที่ต้องการให้กลุม่ แกไ้ ขหรือคิด
วเิ คราะห์ หาคำตอบผูส้ อนแนะนำแหลง่ ขอ้ มูล คน้ ควา้ หรอื ใหข้ อ้ มลู พน้ื ฐานสำหรับการคิดวิเคราะห์

ผสู้ อนมอบหมายงานท่ีกลุม่ ตอ้ งทำใหช้ ัดเจน
1.3 ขั้นทำกิจกรรมกลุ่ม ผู้เรียนร่วมมือกันทำงานตามบทบาทหน้าที่ที่ได้รับ ทุกคนร่วม

รับผิดชอบ ร่วมคิด ร่วมแสดงความคิดเห็น การจัดกิจกรรมในขั้นนี้ ครูควรใช้เทคนิคการเรียนรู้

แบบร่วมแรงรว่ มใจท่นี ่าสนใจและเหมาะสมกับผู้เรียน เช่น เล่าเรอ่ื งรอบวง มุมสนทนา คู่ตรวจสอบ
คูค่ ดิ ฯลฯ ผสู้ อนสังเกตการณ์ทำงานของกลุม่ คอยเปน็ ผ้อู ำนวยความสะดวกใหค้ วามกระจ่างในกรณี

ทีผ่ เู้ รียนสงสยั ตอ้ งการความชว่ ยเหลอื

4

1.4 ขั้นตรวจสอบผลงานและทดสอบ ขั้นนี้ผู้เรียนจะรายงานผลการทำงานกลุ่มผู้สอน
และเพื่อนกลุ่มอื่นอาจซักถามเพื่อให้เกิดความกระจ่างชัดเจน เพื่อเป็นการตรวจสอบผลงาน
ของกลุ่มและรายบุคคล

1.5 ขั้นสรุปบทเรยี นและประเมนิ ผลการทำงานกลมุ่ ข้นั น้ีผสู้ อนและผเู้ รียนช่วยกันสรุป
บทเรยี น ผู้สอนควรชว่ ยเสริมเพ่มิ เติมความรู้ ชว่ ยคิดให้ครบตามเป้าหมายการเรยี นที่กำหนดไว้และ
ชว่ ยกันประเมนิ ผลการทำงานกลุ่มท้งั ส่วนท่ีเด่นและสว่ นที่ควรปรบั ปรงุ แก้ไข

2. การอ่านข้อความได้อย่างถูกต้อง หมายถึง ความสามารถในกระบวนการสื่อสาร
ของนักเรียนในการอ่านออกเสียงคำศัพท์ ข้อความ ประโยค ผ่านนิทาน เรื่องสั้น ข่าวได้ถูกต้อง
ตามหลักการอา่ นภาษาไทยโดยวัดจากแบบวัดการอ่านขอ้ ความได้อย่างถกู ตอ้ งทีผ่ วู้ ิจยั สรา้ งขน้ึ

5

บทที่ 2
เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวขอ้ ง

การวิจัยในชั้นเรียนครั้งนี้ เรื่องการพัฒนาการอ่านข้อความได้อย่างถูกต้องของนักเรียน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้วิธีสอนแบบร่วมมือ ผู้วิจัยได้ศึกษาแนวคิด และเอกสารงานวิจัย
ท่ีเก่ียวขอ้ ง ดังน้ี

1. หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย
1.1 ความสำคัญ
1.2 สาระสำคัญ
1.3 สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้
1.4 คุณภาพผ้เู รียนเมือ่ จบประถมศกึ ษาปีท่ี 3

2. วธิ สี อนแบบรว่ มมอื
2.1 ความหมายของวธิ ีสอนแบบร่วมมือ
2.2 ขั้นตอนของวิธสี อนแบบรว่ มมือ
2.3 ประโยชน์ของวธิ ีสอนแบบรว่ มมือ

3. การอา่ น
3.1 ความหมายของการอ่าน
3.2 ความสำคญั ของการอ่าน
3.3 องคป์ ระกอบการอ่าน

4. งานวิจยั ที่เก่ยี วขอ้ ง
4.1 งานวิจัยในประเทศ
4.2 งานวจิ ัยต่างประเทศ

6

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

มีรายละเอียดท่ีสำคัญ ดงั น้ี (กระทรวงศึกษาธกิ าร, 2551, น. 1-50)
1. ความสำคญั
ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ของชาติ เป็นสมบัติทางวัฒนธรรม ก่อให้เกิดเอกภาพและ

เสริมสร้างบุคลิกภาพของคนในชาติใหม้ ีความเปน็ ไทย เป็นเครื่องมือในการติดตอ่ สื่อสาร เพื่อสร้าง
ความเข้าใจ และความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ทำให้สามารถประกอบกิจธุระ การงาน และดำรงชีวิต
รว่ มกนั ในสังคมประชาธปิ ไตยได้อยา่ งสันติสขุ และเป็นเครอ่ื งมอื ในการแสวงหาความรู้ ประสบการณ์
จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศต่างๆ เพื่อพัฒนาความรู้ พัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห์ วิจารณ์และ
สร้างสรรค์ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
ตลอดจนนำไปใช้ในการพัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคงทางเศรษฐกิจ นอกจากนี้ยังเป็นสื่อแสดงภูมิ
ปัญญาของบรรพบุรุษดา้ นวัฒนธรรม ประเพณี และสุนทรียภาพ เป็นสมบัติล้ำคา่ ควรแก่การเรียนรู้
อนรุ ักษ์ และสืบสานให้คงอยคู่ ู่ชาติไทยตลอดไป

2. สาระสำคัญ
กล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาตา่ งประเทศ ประกอบดว้ ยสาระสำคัญ ดงั นี้
1. ภาษาไทยเป็นทักษะที่ตอ้ งฝกึ ฝนจนเกิดความชำนาญในการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร

การเรียนรู้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ และเพ่ือนำไปใชใ้ นชีวติ จริง
2. การอา่ น การอา่ นออกเสยี งคำ ประโยค การอา่ นบทรอ้ ยแก้ว คำประพนั ธ์ชนิดต่างๆ

การอ่านในใจเพื่อสร้างความเข้าใจ และการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้จากสิ่งที่อ่าน
เพือ่ นำไปปรบั ใชใ้ นชีวติ ประจำวัน

3. การเขียน การเขียนสะกดตามอักขรวิธี การเขียนสื่อสาร โดยใช้ถ้อยคำและ
รูปแบบต่างๆ ของการเขียน ซึ่งรวมถึงการเขียนเรียงความ ย่อความ รายงานชนิดต่างๆ
การเขยี นตามจนิ ตนาการ วิเคราะห์วิจารณ์ และเขียนเชงิ สรา้ งสรรค์

4. การฟัง การดู และการพูด การฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ การพูดแสดง
ความคดิ เห็น ความรู้สกึ พดู ลำดับเรอ่ื งราวต่างๆ อย่างเปน็ เหตเุ ป็นผลการพูดในโอกาสต่างๆ ท้ังเป็น
ทางการ และไม่เปน็ ทางการ และการพูดเพอื่ โนม้ นา้ วใจ

5. หลักการใช้ภาษาไทย ศึกษาธรรมชาติและกฎเกณฑ์ของภาษาไทย การใช้ภาษา
ให้ถูกต้องเหมาะสมกับโอกาส และบุคคล การแต่งบทประพันธ์ประเภทต่างๆ และอิทธิพล
ของภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย

6. วรรณคดีและวรรณกรรม วิเคราะห์วรรณคดี และวรรณกรรมเพื่อศึกษาข้อมูล
แนวความคิด คุณค่าของงานประพันธ์ และความเพลิดเพลิน การเรียนรู้และทำความเข้าใจบทเห่
บทรอ้ งเลน่ ของเด็ก เพลงพ้นื บ้านทเี่ ปน็ ภูมิปญั ญาท่ีมีคุณค่าของไทย ซึ่งไดถ้ ่ายทอดความรู้สึกนึกคิด
ค่านิยม ขนบธรรมเนียมประเพณี เรื่องราวของสังคมในอดีต และความงดงามของภาษา เพื่อใหเ้ กดิ
ความซาบซ้งึ และภูมใิ จในบรรพบุรษุ ทีไ่ ด้สั่งสมสืบทอดมาจนถึงปจั จบุ นั

7

3. สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
สาระและมาตรฐานการเรียนร้ขู องกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย มีรายละเอยี ด ดงั นี้
สาระที่ 1 การอา่ น
มาตรฐาน ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้ และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ

แก้ปญั หาในการดำเนินชวี ติ และมนี สิ ยั รักการอ่าน
สาระท่ี 2 การเขียน
มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขยี นเขยี นส่อื สาร เขียนเรียงความ ยอ่ ความ และเขียน

เรื่องราวในรูปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศ และรายงานการศึกษาค้นคว้า
อย่างมีประสทิ ธิภาพ

สาระท่ี 3 การฟงั การดู และการพดู
มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้
ความคิด และความรูส้ กึ ในโอกาสต่างๆ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ และสร้างสรรค์
สาระท่ี 4 หลักการใชภ้ าษาไทย
มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลง
ของภาษาและพลงั ของภาษา ภมู ปิ ญั ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบัติของชาติ
สาระท่ี 5 วรรณคดแี ละวรรณกรรม
มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดี และวรรณกรรมไทย
อย่างเหน็ คุณคา่ และนำมาประยุกต์ใช้ในชวี ติ
4. คุณภาพผเู้ รยี นเมื่อจบชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
4.1 อ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง ข้อความ เรื่องสั้นๆ และบทร้อยกรองง่ายๆ
ได้ถูกต้องคล่องแคล่ว เข้าใจความหมายของคำและข้อความที่อ่าน ตั้งคำถามเชิงเหตุผล ลำดับ
เหตุการณ์ คาดคะเนเหตุการณ์ สรุปความรู้ข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน ปฏิบัติตามคำสั่ง คำอธิบายจาก
เรื่องที่อ่านได้ เข้าใจความหมายของข้อมูลจากแผนภาพ แผนที่ และแผนภูมิ อ่านหนังสืออย่าง
สมำ่ เสมอ และมมี ารยาทในการอา่ น
4.2 มีทักษะในการคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนบรรยาย บันทึกประจำวัน
เขียนจดหมายลาครู เขียนเรื่องเกี่ยวกับประสบการณ์ เขียนเรื่องตามจินตนาการและมีมารยาท
ในการเขียน
4.3 เล่ารายละเอียดและบอกสาระสำคัญ ตั้งคำถาม ตอบคำถาม รวมทั้งพูดแสดง
ความคิดความรู้สึกเกยี่ วกับเร่ืองท่ีฟงั และดู พดู สื่อสารเลา่ ประสบการณ์และพูดแนะนำ หรือพูดเชิญ
ชวนใหผ้ อู้ ่ืนปฏบิ ตั ิตาม และมมี ารยาทในการฟัง ดแู ละพูด
4.4 สะกดคำและเข้าใจความหมายของคำ ความแตกต่างของคำและพยางค์ หน้าท่ี
ของคำในประโยค มีทักษะการใช้พจนานุกรมในการค้นหาความหมายของคำ แต่งประโยคง่ายๆ
แต่งคำคลอ้ งจอง แต่งคำขวัญและเลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นได้เหมาะสมกบั กาลเทศะ
4.5 เข้าใจและสามารถสรุปข้อคิดที่ได้จากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรม
เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน แสดงความคิดเห็นจากวรรณคดีที่อ่าน รู้จักเพลงพื้นบ้าน

8

เพลงกล่อมเด็ก เปน็ วัฒนธรรมของท้องถิ่น ร้องบทร้องเล่นสำหรับเดก็ ในท้องถ่ิน ทอ่ งจำบทอาขยาน
และบทร้อยกรองท่มี ีคณุ ค่าตามความสนใจได้

สรุปภาพรวมได้ว่า ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ของชาติไทย การเรียนภาษาไทยเพื่อใช้
เป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสารให้เข้าใจร่วมกันในการดำเนินชีวิต การประกอบอาชีพและ
การแสวงหาความรู้ ภาษาไทยมีสาระและมาตรฐานในการเรียน คือ การอ่าน การเขียน การฟัง
การดู และการพูด วรรณคดีและวรรณกรรม เมื่อเรียนจบชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 แล้ว ผู้เรียน
สามารถอา่ น คัดลายมือ เล่าเรอื่ ง สะกดคำ และสรุปขอ้ คิดทไี่ ดจ้ ากการเรียนภาษาไทย

วธิ สี อนแบบร่วมมอื
1. ความหมายของวิธสี อนแบบร่วมมือ
นกั วิชาการกลา่ วถงึ ความหมายของวธิ กี ารสอนแบบรว่ มมือ ดงั นี้
อรนุช ลิมตศิริ (2554 : 115) กล่าวว่า วิธีสอนแบบร่วมมือ หมายถึง การจัดการเรียน

การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ส่งเสริมให้นักเรียนมีปฏิสัมพันธ์ และทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มๆ
ละ 4-5 คน สมาชิกในกลุ่มมีระดับความสามารถแตกต่างกัน สามารถสื่อสารกัน และร่วมกัน
ปฏบิ ตั งิ านที่ได้รบั มอบหมาย โดยท่ีสมาชกิ แต่ละคนมีความรับผิดชอบต่อหนา้ ที่ของตนและของกลุ่ม
โดยมีเปา้ หมายรว่ มกันและไดร้ บั รางวัลรว่ มกนั เม่ือกลุ่มประสบความสำเร็จ

ทศิ นา แขมมณี (2552 : 98) กลา่ วว่า วิธีสอนแบบร่วมมอื หมายถึง การเรียนรู้แบบกลุ่ม
ย่อยประมาณ 3-6 คน โดยสมาชิกในกลุ่มมีความสามารถทางการเรียนที่แตกตา่ งกัน ช่วยเหลือกัน
เรยี นรู้ เพอื่ เปา้ หมายของกล่มุ ประสบผลสำเรจ็

สรุปได้ว่า วิธีสอนแบบร่วมมือ หมายถึง การเรียนการสอนที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และ
ทำงานร่วมกันเปน็ กลมุ่ มบี ทบาทหน้าที่ในกลุ่มร่วมกัน ทักษะการส่ือสารทางสงั คม ผลงานที่เกิดขึ้น
เปน็ ผลความสำเรจ็ ของกลุม่ ท่รี ่วมกนั ปฏิบัติ

2. ความสำคญั ของวิธสี อนแบบรว่ มมอื
นกั วชิ าการกล่าวถงึ ความสำคญั ของวธิ ีการสอนแบบรว่ มมอื ดังนี้
ระวิวรรณ ศรีคร้ามครัน (2553 : 174-175) กล่าวถึง ความสำคัญของวิธีสอน

แบบร่วมมอื ไว้ ดงั นี้
1. ประสบความสำเร็จทางด้านวิชาการ ทำให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการเรียน ช่วยเหลือ

ซึ่งกันและกัน โดยมุ่งให้ผลการเรยี นของกลุ่มมีคะแนนสูงเมือ่ มีการวัดผล ทำให้สมาชิกกลุ่มต้องสนใจ
ศกึ ษาในเรื่องท่ีได้รบั มอบหมาย

2. เพิ่มความมั่นใจให้แก่ผู้เรียน ทำให้ผู้เรียนแต่ละคนรู้ถึงคุณค่าและความสำคัญ
ของตนเองในการเป็นสมาชกิ กลุม่ มอี สิ ระทจ่ี ะคดิ และเสนอความคดิ เหน็ ตอ่ กลุ่ม

3. ผเู้ รยี นมีความสนใจในการเรียน
4. พัฒนาทกั ษะทางด้านสังคม เกิดจากการได้ปรึกษาหารอื กัน ช่วยเหลือซ่ึงกันและกัน
ก่อให้เกิดความเขา้ ใจท่ดี ีตอ่ กนั
5. เป็นที่ยอมรบั ของเพอื่ น และกอ่ ใหเ้ กิดสมั พันธท์ ี่ดตี ่อกนั

9

สุวิทย์ มูลคำ และอรทัย มูลคำ (2545 : 161) กล่าวถึง ความสำคัญของวิธีสอน
แบบร่วมมือ เป็นการเรียนที่ช่วยพัฒนากระบวนการคิด สร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้เรียน รวมท้ัง
เสรมิ สรา้ งทกั ษะทางสงั คม และการทำงานรว่ มกนั ทำให้ผเู้ รยี นมวี ิสัยทัศน์ทก่ี ว้างขวาง นอกจากนั้น
เป็นการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล ทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง
ส่งผลให้สัมฤทธ์ิผลทางการเรยี นของผเู้ รยี นสูงขนึ้

สรปุ ไดว้ า่ วิธสี อนแบบรว่ มมอื มคี วามสำคัญต่อผเู้ รียนที่ช่วยในการเรียนรรู้ ว่ มกันเป็นกลุ่ม
ส่งเสริมกระบวนการทางสังคม กระบวนการคิด ทักษะทางสังคม ความแตกต่างระหว่างบุคคล
การเรียนรรู้ ่วมกัน การชว่ ยเหลือกันในการเรยี น สง่ ผลให้การเรยี นรู้ได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพมากขนึ้

3. ข้ันตอนการสอนของวิธีสอนแบบร่วมมือ
นกั วิชาการกล่าวถงึ ขน้ั ตอนการสอนของวธิ สี อนแบบร่วมมือ ดังนี้
อาภรณ์ ใจเที่ยง (2550 : 122-123) กล่าวถึง ขั้นตอนการสอนของวิธีสอน

แบบรว่ มมือไว้ ดังนี้
1. ขั้นเตรียมการ ผู้สอนชี้แจงจุดประสงค์ของบทเรียน ผู้สอนจัดกลุ่มผู้เรียน

เป็นกลุ่มย่อย กลุ่มละประมาณไม่เกิน 6 คน มีสมาชิกที่มีความสามารถแตกต่างกัน ผู้สอนแนะนำ
วธิ ีการทำงานกลมุ่ และบทบาทของสมาชิกในกลุ่ม

2. ขั้นสอน ผู้สอนนำเข้าสู่บทเรียน บอกปัญหาหรืองานที่ตอ้ งการให้กลุ่มแก้ไขหรือ
คิดวิเคราะห์ หาคำตอบผู้สอนแนะนำแหล่งข้อมูล ค้นคว้า หรือให้ข้อมูลพื้นฐานสำหรับการคิด
วเิ คราะห์ผสู้ อนมอบหมายงานทก่ี ลุ่มต้องทำให้ชดั เจน

3. ขนั้ ทำกิจกรรมกลุ่ม ผเู้ รยี นร่วมมือกนั ทำงานตามบทบาทหน้าท่ีท่ไี ด้รับ ทุกคนร่วม
รับผิดชอบ ร่วมคิด ร่วมแสดงความคิดเห็น การจัดกิจกรรในขั้นนี้ ครูควรใช้เทคนิคการเรียนรู้
แบบรว่ มแรงร่วมใจทนี่ ่าสนใจและเหมาะสมกบั ผู้เรียน เชน่ เล่าเรื่องรอบวง มมุ สนทนา คู่ตรวจสอบ
คคู่ ดิ ฯลฯ ผสู้ อนสงั เกตการณ์ทำงานของกล่มุ คอยเปน็ ผอู้ ำนวยความสะดวกให้ความกระจ่างในกรณี
ทผ่ี เู้ รียนสงสยั ต้องการความช่วยเหลอื

4. ข้นั ตรวจสอบผลงานและทดสอบ ขั้นน้ีผู้เรยี นจะรายงานผลการทำงานกลุ่มผู้สอน
และเพื่อนกลุ่มอื่นอาจซักถามเพื่อให้เกิดความกระจ่างชัดเจน เพื่อเป็นการตรวจสอบผลงาน
ของกลมุ่ และรายบุคคล

5. ขั้นสรุปบทเรียนและประเมินผลการทำงานกลุ่ม ขั้นนี้ผู้สอนและผู้เรียนช่วยกัน
สรุปบทเรียน ผู้สอนควรช่วยเสริมเพิ่มเติมความรู้ ช่วยคิดให้ครบตามเป้าหมายการเรียน
ที่กำหนดไว้ และช่วยกนั ประเมินผลการทำงานกลุ่มทั้งส่วนทเี่ ดน่ และส่วนทีค่ วรปรบั ปรุงแกไ้ ข

วัฒนา ระงับทุกข์ (2543 : 39) กล่าวถึง ขน้ั ตอนการสอนของวิธีสอนแบบร่วมมอื ดงั น้ี
1. ขั้นเตรียมกิจกรรม ประกอบด้วย การแนะนำทักษะในการเรียนรู้ร่วมกัน
การจัดกลุ่มย่อยผเู้ รียนประมาณ 2-6 คน ครแู นะนำเก่ยี วกับระเบียบของกลุ่ม บทบาทในการทำงาน
ของกลุ่ม การทำหน้าที่ของสมาชิกในกลุ่ม แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ การทำงานร่วมกันและ
การฝกึ ฝนทักษะพืน้ ฐานสำหรับการทำกจิ กรรมกลมุ่
2. ขั้นสอน ครูนำเข้าสู่บทเรียน แนะนำเนื้อหาสาระ แนะนำแหล่งเรียนรู้ ข้อมูล
การมอบหมายงานให้นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มทำ

10

3. ขั้นทำกิจกรรม เป็นขัน้ ตอนท่ผี ู้เรียนร่วมกันในการทำงานกลุ่มย่อย โดยแต่ละคน
มบี ทบาทและการทำงานตามทไี่ ด้รบั มอบหมาย เปน็ การรับผดิ ชอบต่องานทีไ่ ด้รับมอบหมายในกลุ่ม
โดยข้ันตอนน้ี ครูจะกำหนดเทคนิคการสอนรวมมอื แบบตา่ งๆ ในการทำงานกลุ่มทเ่ี หมาะสม

4. ขั้นตรวจสอบผลงานและทดลอง เป็นการตรวจสอบผลงานนักเรียนที่ได้ปฏิบัติ
หนา้ ที่ครบถว้ นแลว้ หรือไม่ ผลการปฏิบตั เิ ป็นอยา่ งไร เน้นการตรวจสอบผลงานกลมุ่ และรายบุคคล

5. ขั้นสรุปบทเรียนและประเมินผลการทำงานกลุ่ม โดยครูและผู้เรียนช่ วยกัน
ประเมินผล การทำงานกลุ่ม และพิจารณาวา่ อะไรคอื จดุ เดน่ ของงาน และอะไรคอื สิง่ ท่ีควรปรับปรุง

สรุปได้ว่า ขั้นตอนการสอนของวิธีสอนแบบร่วมมือ ประกอบด้วย ขั้นตอน
การเตรียมการเพื่อใช้ในการทำกิจกรรม ขั้นการสอน เป็นการแจ้งรายละเอียดการเรียน
ขั้นการทำกิจกรรม เป็นการลงมือปฏิบัติของผู้เรียน ขั้นตรวจสอบผลงานของผู้เรียน และขั้นตอน
การประเมินผลงานของผู้เรียน การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยใช้ขั้นตอนการสอนของ อาภรณ์ ใจเที่ยง
เพื่อนำไปใช้ในการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน

การอา่ น
1. ความหมายของการอ่าน
นักวชิ าการได้ให้ความหมายของการอ่าน ดงั นี้
สำลี รักสุทธี (2553 : 5) กล่าวว่า การอ่าน หมายถึง การตีความ แปลความ

จากตัวอักษรที่ปรากฏในสื่อสิ่งพิมพ์ตา่ งๆ ออกมาเป็นข้อมูลความรู้ สู่การรับรู้ การเข้าใจของผ้อู า่ น
รักชนก แสงภักดีจิต (2548 : 1) กล่าวว่า การอ่าน หมายถึง กระบวนการสื่อสาร

ระหว่างผู้อ่านและผู้เขียน โดยใช้ตัวอักษร เป็นสื่อกลางในการถ่ายทอดประสบการณค์ วามคิดต่างๆ
ของผูเ้ ขียน ทำให้ผูอ้ า่ นเข้าใจจุดม่งุ หมายของการเขียน

สรุปได้ว่า การอ่าน หมายถึง กระบวนการทางความคิด และการปฏิสัมพันธ์ระหว่าง
ผู้อ่านและผู้เขียน โดยการแปลความจากภาพ ตัวอักษร สัญลักษณ์ หรือเรื่องราวต่างๆ โดยผ่าน
กระบวนการคิดวิเคราะห์ ตามความรู้และประสบการณ์เดิมของผู้อ่าน ในการตีความ ขยายความ
และจับใจความสำคญั เพ่ือเกิดความร้คู วามเขา้ ใจตามวตั ถปุ ระสงคข์ องผ้เู ขยี น

2. ความสำคญั ของการอ่าน
นักวชิ าการไดใ้ หค้ วามสำคญั ของการอ่าน ดงั น้ี
รญั จิต แก้วจำปา (2544 : 10) ไดก้ ลา่ วถงึ ความสำคัญของการอา่ น ดงั นี้
1. เป็นเคร่ืองมอื แสวงหาความรู้
2. เป็นเครื่องมือให้เกิดความรอบรู้ ซึ่งจะเห็นว่าในการศึกษาหาความรู้น้ัน

ต้องอาศัยการอ่านแทบทง้ั สิน้
3. เป็นเครื่องมือพัฒนาบุคลิกภาพ นั้นคือการอ่านช่วยให้เกิดความรู้ แล้วเราได้นำ

ความรู้เหล่านั้นมาใช้ในโอกาสตา่ งๆ อย่างผมู้ ีโลกทัศนก์ ว้างไกล เชน่ การสนทนาแลกเปลี่ยนความรู้
การประพฤตปิ ฏิบตั ติ น หรอื งการแต่งกายกท็ นั สมัย

4. เป็นเคร่ืองมอื ประเทืองอารมณ์ นั้นคือ การอ่านชว่ ยใหเ้ ราได้รบั ความเพลดิ เพลินหรือ
ความบันเทิงอันเปน็ สง่ิ จำเปน็ ตอ่ ชีวติ

11

5. เป็นเครื่องพัฒนาจิตใจ นั้นคือ การอ่านกล่อมเกลาจิตใจให้เรามีความอ่อนโยน
มีคณุ ธรรม มีศีลธรรม เป็นพลเมืองดขี องสงั คม

สมพร แพ่งพิพฒั น์ (2547 : 123) ไดก้ ลา่ วถึงความสำคญั ของการอา่ น ดงั นี้
1. ทำให้ผูอ้ ่านได้รับความรู้ และตอบสนองความอยากรขู้ องผู้อ่าน
2. ทำให้ผู้อ่านมกี ารพัฒนาขนึ้ ทัง้ ดา้ นรา่ งกาย อารมณ์ สังคม และสตปิ ญั ญา
3. ทำให้ได้รับความเพลิดเพลนิ สนกุ สนาน คลายเครยี ดหลังงานประจำ
4. ทำให้มคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ สามารถสร้างสรรค์ผลงานใหมไ่ ด้
5. ทำให้สามารถพัฒนาตนเอง และพัฒนางานใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพได้
สรุปได้ว่า การอ่านมีความสำคัญต่อมนุษย์ ใช้เป็นเครื่องมือในการส่ือสาร และแสวงหา
ความรเู้ พื่อประเทอื งปัญญา ทำให้มีความสุข มคี วามเพลดิ เพลิน พัฒนาจิตใจใหอ้ ่อนโยน สามารถนำ
ความร้ทู ไ่ี ด้มาพัฒนาบคุ ลิกภาพ พฒั นางาน และประเทศชาติ
3. องคป์ ระกอบของการอา่ น
นักวิชาการได้กล่าวถึงองคป์ ระกอบของการอ่าน ดงั น้ี
ถิรวัฒน์ ตันทนิส (2550 : 121) กล่าวว่า การอ่านภาษาอังกฤษนั้น ต้องอาศัย
องคป์ ระกอบหลายอยา่ ง เพ่ือช่วยใหผ้ ู้อ่านเกดิ ความเขา้ ใจในการอา่ น มี 3 องคป์ ระกอบใหญ่ๆ ได้แก่
ผู้อ่าน หมายถึง พื้นฐานความรู้เดิมของผู้อ่าน ความสามารถของผู้อ่านในการใช้กลวิธี
ในการอ่าน องคป์ ระกอบท่ีสอง คือ เนื้อเรื่องทอ่ี า่ น และองค์ประกอบสดุ ท้ายคอื บรบิ ทของการอ่าน
อุบลวรรณ ปรุงวนิชพงษ์ (2551 : 20) กล่าวว่า องค์ประกอบของความเข้าใจ
ในการอ่าน ที่จะทำให้นักเรียนประสบความสำเร็จในการอ่านภาษาอังกฤษว่า ผู้อ่านต้องมี
ความสามารถเข้าใจความหมายตั้งแต่ระดับคำ ระดับย่อหน้า ความสัมพันธ์ระหว่างแต่ละย่อหน้า
ของเรื่อง โดยอาศัยความรูเ้ ก่ียวกับภาษา วัฒนธรรม และประสบการณ์เดิมมาเชื่อมโยงเขา้ กบั เรื่อง
ที่อ่าน รวมทั้งความสามารถในการตีความจุดมุ่งหมายในการอ่าน และการใช้กลวิธีที่เหมาะสมกับ
การอา่ นแต่ละประเภท
สรุปได้ว่า องค์ประกอบในการอ่านที่ทำให้ผู้อ่านประสบความสำเร็จนั้น ผู้อ่านต้องมี
ความรู้พื้นฐานเดิมทางด้านภาษา ต้องเข้าใจคำ ลักษณะของคำ โครงสร้างทางภาษา จุดมุ่งหมาย
ในการอา่ น และกระบวนในการอา่ นท่เี ป็นทักษะด้านภาษาท่ัวไป

งานวจิ ัยทเี่ กีย่ วข้อง
1. งานวจิ ัยในประเทศ
บุญปารถนา มาลาทอง (2560) ได้ทำการวิจัย เรื่องความสามารถด้านการอ่านและ

การเขียนภาษาไทยของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 4 ท่ไี ดร้ ับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค
CIRC ร่วมกับแบบฝึกการอ่านและการเขียนภาษาไทย วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบ
ความสามารถด้านการอ่านและการเขียนภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 หลังการ
จัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค CIRC ร่วมกับแบบฝึก การอ่านและการเขียนภาษาไทยกับเกณฑ์
ร้อยละ 75 และศึกษาเจตคตขิ องนักเรยี นชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 4 ทมี่ ีตอ่ การจดั การเรียนรู้แบบรว่ มมือ
เทคนิค CIRC ร่วมกับแบบฝึกการอ่านและการเขียนภาษาไทย กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียน

12

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านสระสี่เหลี่ยม อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี ในภาคเรียนที่ 1
ปีการศึกษา 2560 จำนวน 1 ห้องเรียน จำนวน 42 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่
แผนการจัดการเรียนรู้ แบบฝึกการอ่านและการเขียนภาษาไทย แบบทดสอบวัดอ่านภาษาไทย
แบบทดสอบวัดการเขียนภาษาไทย และแบบวัดเจตคติต่อการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค
CIRC ร่วมกับแบบฝึกการอ่านและการเขียนภาษาไทย สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเฉลี่ยร้อยละ
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ t-test for one sample ผลการวิจัย พบว่า 1) ความสามารถ
ด้านการอ่านภาษาไทยของนักเรยี นช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 4 หลังการจดั การเรยี นรู้ แบบรว่ มมอื เทคนิค
CIRC ร่วมกับแบบฝึกการอ่านและการเขียนภาษาไทย มีค่าเฉลี่ย 33.04 คิดเป็นร้อยละ 82.60 และ
ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน 4.78 2) ความสามารถดา้ นการเขียนภาษาไทยของนกั เรยี นชั้นประถมศึกษา
ปีที่ 4 หลังการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค CIRC ร่วมกับแบบฝึกการอ่านและการเขียน
ภาษาไทย มีค่าเฉลี่ย 32.93 คิดเป็นร้อยละ 82.32 และมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 4.95 3) คะแนน
เฉล่ียความสามารถด้านการอ่านภาษาไทย หลังการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมอื เทคนิค CIRC ร่วมกับ
แบบฝึกการอ่านและการเขียนภาษาไทย สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 75 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่รี ะดับ
.05 4) คะแนนเฉลี่ยความสามารถด้านการเขียนภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
หลังการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค CIRC ร่วมกับแบบฝึกการอ่านและการเขียนภาษาไทย
สูงกวา่ เกณฑ์ ร้อยละ 75 อยา่ งมีนัยสำคญั ทางสถติ ทิ รี่ ะดบั .05 5). เจตคตขิ องนักเรียนอยู่ในระดบั ดี

เสาวรัตน์ ไชยสุนันท์ (2560) ได้ทำการวจิ ัย เรอ่ื งการพฒั นาความสามารถด้านการอ่าน
ภาษาไทย โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ประกอบชุดกิจกรรมการเรียนรู้สำหรับ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้การอ่านภาษาไทย
โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ประกอบชุดกิจกรรมการเรียนรู้ สำหรับนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีประสิทธิภาพกำหนดเกณฑ์ 80/80 2) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถ
ดา้ นการอ่านภาษาไทยของนักเรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 โดยใช้การเรยี นรูแ้ บบรว่ มมอื เทคนคิ STAD
ประกอบชุดกิจกรรมการเรียนรู้ก่อนเรียนกับหลังเรียน 3) เพื่อศึกษาค่าดัชนีประสิทธิผลของ
การจัดการเรียนรู้ด้านการอ่านภาษาไทย โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ประกอบ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจ
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค
STAD ด้านการอ่านภาษาไทย ประกอบชุดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนกุดปลาค้าวราษฎร์บำรุง
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 3 จำนวน 21 คน เครื่องมือที่ใช้
ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบวัดการอ่านภาษาไทย แบบสอบถาม
ความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า
1) ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ สำหรบั นกั เรียนชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 1 มปี ระสิทธภิ าพเทา่ กบั 83.21/82.86
ซึง่ สงู กวา่ เกณฑ์ 80/80 ท่ตี ง้ั ไว้ 2) ความสามารถด้านการอ่านภาษาไทยของนกั เรียนชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 1 โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ประกอบชุดกิจกรรมการ หลังเรียนสูงกว่า
กอ่ นเรียนอย่างมีนัยสำคญั ทางสถติ ิท่รี ะดบั .05 3) ดัชนปี ระสทิ ธิผลการเรียนรู้ด้านการอา่ นภาษาไทย
โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ประกอบชุดกิจกรรมการเรียนรู้สำหรับนักเรียน

13

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เท่ากับ 0.6550 หรือคิดเป็นร้อยละ 65.50 4) ความพึงพอใจของนักเรียน
ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 โดยรวมอย่ใู นระดบั มาก

2. งานวิจยั ตา่ งประเทศ
Alhaidari (2007) ได้ทำการวิจัย เรื่องการศึกษาประสิทธิภาพของการใช้การเรียนรู้

แบบร่วมมือเพื่อพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความ คำศัพท์และผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนชาย
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 และชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ในโรงเรียนชาอุตีอาระเบีย การศึกษาผลการใช้
การเรียนรแู้ บบร่วมมอื ในโรงเรยี นอสิ ลามซาอุติ ISA ในกรงุ วอชงิ ตัน ดี.ซี ซ่ึงเปน็ การอา่ นของนกั เรียน
ในหลักสูตรการอ่าน SA เป็นโรงเรียน 2 ภาษา คือ ภาษาอังกฤษและภาษาอาราบิคกับหลักสูตร
อเมริกันและซาอุดีอาระเบีย ภาษาอาราบิคและศาสนาของซาอุดีอาระเบียได้รวมอยู่ในระบบ
การศึกษา ในขณะที่วิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ จะมีผลต่อระบบการศึกษาของทางอเมริกา
การศึกษาใช้นักเรียน 4 คน ของ I5A ผู้วิจัยได้วัดประเมินผลก่อนและหลังการศึกษาความเข้าใจ
ในการอ่านและความเชีย่ วชาญด้านภาษา ผู้วิจัยได้ประเมินหลังการทดลองด้านเจตคติในการเรยี น
แบบร่วมมือและแรงจงู ใจในการอา่ นของนักเรยี นทัง้ 2 กลุม่ และทงั้ การทดลองได้ประเมินก่อนและ
หลัง ผู้วิจัยได้พัฒนาการวัดประเมินผลเจตคติของครูที่มีต่อการเรียนแบบร่วมมอื ผลการวิเคราะห์
ข้อมูลใช้สถิติ ANOVA เพื่อทดสอบความแตกต่างระหว่างการทดลองและการเปรียบเทียบกลุ่ม
ที่มีการวดั ประเมนิ ผลทงั้ หมด ผลการวจิ ัยไมม่ คี วามแตกตา่ งอยา่ งมีนัยสำคัญระหวา่ งกล่มุ ทดลองและ
กลุม่ เปรยี บเทยี บทงั้ ด้านคำศัพท์และความเช่ยี วชาญและเจตคติในการเรียนแบบรว่ มมือ

สรุปภาพรวมของงานวิจัยที่เกี่ยวขอ้ งได้ว่า วิธีสอนแบบร่วมมือสามารถพัฒนาการอ่าน
ให้กับนักเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้วิจัยจึงนำมาใช้องค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษางานวิจัย
ที่เกี่ยวข้องทั้งในประเทศและต่างประเทศมาใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาการอ่านข้อความ
ได้อยา่ งถูกตอ้ งของนกั เรียนชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 3 ตอ่ ไป

14

บทที่ 3
วิธดี ำเนนิ การวิจัย

การวิจัยในชั้นเรียนครั้งนี้ เรื่องการพัฒนาการอ่านข้อความได้อย่างถูกต้องของนักเรียน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยใชว้ ิธีสอนแบบร่วมมอื ได้ดำเนินการวจิ ัย ดังนี้

1. ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง
2. แผนแบบการวจิ ัย
3. เครอื่ งมือท่ใี ช้ในการวจิ ัย
4. การดำเนนิ การทดลอง
5. การวเิ คราะห์ข้อมลู

ประชากรและกลุม่ ตัวอยา่ ง
1. ประชากร
ประชากร ได้แก่ นกั เรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 โรงเรยี นบา้ นหนองใหญ่ ภาคเรียนท่ี 2

ปีการศึกษา 2564 จำนวน 19 คน
2. กลุ่มตวั อยา่ ง
กลมุ่ ตัวอย่าง ไดแ้ ก่ นกั เรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 โรงเรยี นบ้านหนองใหญ่ ภาคเรียนท่ี 2

ปกี ารศึกษา 2564 จำนวน 15 คน ไดม้ าโดยการสุ่มแบบกลมุ่

แผนแบบการวิจัย
การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงทดลองเบื้องต้น (Pre-experimental research) ผู้วิจัย

ได้ดำเนินการทดลองตามแผนแบบการวิจัย แบบทดลองกลุ่มเดียว มีการวัดผลก่อนและ
หลังการทดลอง (The one-group, pretest-posttest design) ใช้แบบแผนการวิจัย ดังภาพที่ 3.1
ดงั น้ี

ภาพที่ 3.1 แผนแบบการวจิ ยั

O1 X O 2

สญั ลักษณท์ ่ีใชใ้ นการทดลอง
O1 หมายถึง การทดสอบกอ่ นเรียน (Pre-test)
X หมายถึง วิธีสอนแบบร่วมมอื
O 2 หมายถึง การทดสอบหลังเรยี น (Post-test)

15

เคร่ืองมือท่ีใชใ้ นการวจิ ยั
เครื่องมือการวจิ ยั ในช้ันเรยี นครงั้ นี้ ไดแ้ ก่ แผนการจัดการเรยี นรู้ และแบบวดั การอ่านข้อความ

ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง มีดังน้ี
1. แผนการจดั การเรยี นรู้
แผนการจัดการเรยี นรู้ โดยใช้วิธสี อนแบบร่วมมอื จำนวน 7 แผน แผนละ 1 ชัว่ โมง

มีรายละเอยี ดของการสร้างและการหาคณุ ภาพ ดงั นี้
1.1 ลกั ษณะของแผนการจดั การเรยี นรู้แบบร่วมมือ จำนวน 7 แผน ดังนี้
1.1.1 แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 1 เรอ่ื ง อา่ นข้อความจากนิทาน
1.1.2 แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 2 เรอื่ ง อ่านข้อความจากคำกลอน
1.1.3 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 3 เรื่อง อ่านข้อความจากเพลง
1.1.4 แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 4 เร่อื ง อ่านขอ้ ความจากเร่อื งเล่า
1.1.5 แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 5 เรือ่ ง อา่ นขอ้ ความจากขา่ ว
1.1.6 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 6 เร่ือง อ่านข้อความจากหนังสอื
1.1.7 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 7 เรื่อง อ่านข้อความจากโฆษณา
1.2 สว่ นประกอบของแผนการจัดการเรยี นรู้ ประกอบไปด้วย
1.2.1 สาระสำคญั
1.2.2 มาตรฐานการเรยี นรู้
1.2.3 ตัวชี้วัด
1.2.4 จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
1.2.5 สาระการเรยี นรู้
1.2.6 กระบวนการจัดการเรยี นรู้
1.2.7 การวัดและประเมนิ ผล
1.2.8 สื่อและแหล่งการเรียนรู้
1.2.9 บนั ทึกผลหลังการจดั กจิ กรรม
1.3 ข้นั ตอนของวิธีสอนแบบร่วมมอื ประกอบด้วยขัน้ ตอน ดังน้ี
1.3.1 ขั้นเตรียมการ ผู้สอนชี้แจงจุดประสงค์ของบทเรียน ผู้สอนจัดกลุ่มผู้เรียน

เป็นกลุ่มย่อย กลุ่มละประมาณไม่เกิน 5 คน มีสมาชิกที่มีความสามารถแตกต่างกัน ผู้สอนแนะนำ
วธิ ีการทำงานกล่มุ และบทบาทของสมาชิกในกลุม่

1.3.2 ขั้นสอน ผู้สอนนำเข้าสู่บทเรียน บอกปัญหาหรืองานที่ต้องการให้กลุ่มแก้ไข
หรือคิดวิเคราะห์ หาคำตอบผู้สอนแนะนำแหล่งข้อมูล ค้นคว้า หรือให้ข้อมูลพื้นฐานสำหรบั การคิด
วเิ คราะหผ์ ู้สอนมอบหมายงานที่กลุ่มตอ้ งทำให้ชัดเจน

1.3.3 ขั้นทำกิจกรรมกลุ่ม ผู้เรยี นรว่ มมือกันทำงานตามบทบาทหน้าที่ที่ได้รับ ทุกคน
ร่วมรับผิดชอบ ร่วมคิด ร่วมแสดงความคิดเห็น การจัดกิจกรรมในข้ันนี้ ครูควรใช้เทคนิคการเรียนรู้
แบบร่วมแรงรว่ มใจที่น่าสนใจและเหมาะสมกับผู้เรียน เชน่ เล่าเรอ่ื งรอบวง มมุ สนทนา คู่ตรวจสอบ
คู่คิด ฯลฯ ผู้สอนสงั เกตการณ์ทำงานของกลมุ่ คอยเป็นผู้อำนวยความสะดวกใหค้ วามกระจ่างในกรณี
ทีผ่ เู้ รียนสงสัยต้องการความช่วยเหลอื

16

1.3.4 ขั้นตรวจสอบผลงานและทดสอบ ขั้นนี้ผู้เรียนจะรายงานผลการทำงานกลุ่ม
ผู้สอนและเพื่อนกลุ่มอื่นอาจซักถามเพ่ือให้เกิดความกระจ่างชัดเจน เพื่อเป็นการตรวจสอบผลงาน
ของกลุ่มและรายบุคคล

1.3.5 ขนั้ สรปุ บทเรยี นและประเมนิ ผลการทำงานกล่มุ ขัน้ นผ้ี ้สู อนและผเู้ รียนช่วยกัน
สรุปบทเรียน ผูส้ อนควรชว่ ยเสริมเพม่ิ เติมความรู้ ช่วยคดิ ให้ครบตามเป้าหมายการเรียนที่กำหนดไว้
และชว่ ยกนั ประเมนิ ผลการทำงานกลมุ่ ทงั้ สว่ นท่ีเดน่ และส่วนที่ควรปรบั ปรงุ แก้ไข

1.4 การสรา้ งและการหาคณุ ภาพแผนการจดั การเรียนรู้ ดงั น้ี
1.4.1 ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี หลักการ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับ

วิธีสอนแบบร่วมมือ
1.4.2 ศึกษาเอกสารหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย เพอ่ื เปน็ แนวทางการสรา้ งแผนการจดั การเรียนรู้
1.4.3 ศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านหนองใหญ่ กลุ่มสาระการเรียนรู้

ภาษาไทย ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 3
1.4.4 ศึกษาวิธีสอนแบบร่วมมอื ที่สามารถพัฒนาการอ่านข้อความได้อย่างถกู ต้อง
1.4.5 สรา้ งแผนการจัดการเรยี นรู้ จำนวน 7 แผน แผน ๆ ละ 1 ชว่ั โมง
1.4.6 นำแผนการจัดการเรียนรู้ปรึกษาต่อคณะครูกลุ่มสาระการเรียนรู้และ

ผู้อำนวยการโรงเรยี นบ้านหนองใหญ่นำแผนการจัดการเรยี นรูม้ าปรับปรุงแก้ไขส่วนท่ีบกพร่อง และ
นำไปใชก้ บั นักเรยี นกลุ่มตวั อยา่ ง

2. แบบวดั การอา่ นข้อความไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง
แบบวัดการอ่านข้อความได้อย่างถูกต้องของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3

เป็นแบบตรวจรายการถูก-ผดิ จำนวน 10 ข้อ 20 คะแนน มขี ้นั ตอนการสร้างและหาคณุ ภาพ ดังน้ี
1. ศึกษามาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด คำอธิบายรายวิชาภาษาไทยตามหลักสูตร

โรงเรียนบ้านหนองใหญ่ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อเป็น
แนวทางในการสร้างแบบวดั

2. ศึกษาเอกสารเก่ียวกับวิธกี ารสรา้ งแบบวัดการอ่านขอ้ ความไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง
3. สร้างแบบวัดการอ่านข้อความได้อย่างถูกต้อง ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
4. นำแบบวัดการอ่านข้อความได้อย่างถูกต้องที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น และผู้อำนวยการ
โรงเรียนบ้านหนองใหญ่ นำแบบทดสอบมาปรับปรุงแก้ไข ส่วนที่บกพร่องและนำไปใช้กับนักเรียน
กลมุ่ ตวั อยา่ ง

การดำเนินการทดลอง
การวิจัยในชั้นเรียนครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ดำเนินการวิจัยในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564

จำนวน 7 ชวั่ โมง ดังน้ี
1. ทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) โดยใช้แบบวัดการอ่านข้อความได้อย่างถูกต้อง

ของนกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 จำนวน 1 ฉบบั จำนวน 20 ข้อ

17

2. ดำเนินการสอนโดยใช้วิธีสอนแบบร่วมมือกับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
จำนวน 7 แผน

3. ทดสอบหลังเรียน (Post-test) โดยใช้แบบวัดการอ่านข้อความได้อย่างถูกต้องของ
นักเรยี นชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 ฉบบั เดมิ

การวิเคราะหข์ ้อมลู
การวิจัยในชั้นเรียนครั้งนี้ ผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูลการอ่านข้อความได้อย่างถูกต้องโดยใช้

วิธสี อนแบบรว่ มมอื โดยหาคา่ ร้อยละ ค่าเฉลยี่ ( X ) และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D.)

18

บทท่ี 4
ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล

ผลการวิจัยในชั้นเรียน เรื่องการพัฒนาการอ่านข้อความได้อย่างถูกต้องของนักเรียน
ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 โดยใช้วิธีสอนแบบรว่ มมือ ผูว้ จิ ยั ไดน้ ำเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล ดังน้ี

ผลการพัฒนาการอ่านข้อความได้อย่างถูกต้องของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3

โดยใช้วิธสี อนแบบร่วมมือ ดงั ตารางท่ี 4.1 ดงั น้ี

ตารางที่ 4.1 คะแนนและร้อยละของผลการพัฒนาการอ่านข้อความได้อย่างถูกต้องของนักเรียน
ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 โดยใช้วิธีสอนแบบร่วมมอื

เลขท่ี ชื่อ-สกุล ก่อนเรียน หลงั เรียน ความก้าวหนา้
คะแนน (20) รอ้ ยละ คะแนน (20) รอ้ ยละ คะแนน (20) รอ้ ยละ
1 ด.ช.นพรตั น์ ปัดแวว
2 ด.ช.อัครเทพ นาคจนั ทึก 6 30.00 13 65.00 7 35.00
3 ด.ช.อนวุ ฒั น์ สสี า 8 40.00 15 75.00 7 35.00
4 ด.ช.กฤชพล พรมพันธ์ใจ 9 45.00 16 80.00 7 35.00
5 ด.ช.ธญั กร คงประเสริฐ 8 40.00 14 70.00 6 30.00
6 ด.ช.ธรี ภพ ฉนุ เชอื้ 6 30.00 15 75.00 9 45.00
7 ด.ช.ธีรภทั ร์ มุงสูงเนนิ 9 45.00 16 80.00 7 35.00
8 ด.ช.ภานวุ ัฒน์ รน่ื อรุ า 8 40.00 14 70.00 6 30.00
9 ด.ช.ภูมพิ ฒั น์ สร้อยจนั ทกึ 6 30.00 12 60.00 6 30.00
10 ด.ช.ทศั ไนย แหขนุ ทด 9 45.00 16 80.00 7 35.00
11 ด.ช.ธวัชชยั โยเหลา 6 30.00 13 65.00 7 35.00
12 ด.ช.พงศกร อุ่นรรี ัมย์ 11 55.00 15 75.00 4 20.00
13 ด.ช.ธรี ะยทุ ธ มว่ งกล้ิง 16 80.00 19 95.00 3 15.00
14 ด.ญ.พรรณพร แขนสูงเนิน 6 30.00 17 85.00 11 55.00
15 ด.ญ.วรนิ ดาวรรณ ทองสอน 10 50.00 16 80.00 6 30.00
11 55.00 14 70.00 3 15.00
X
8.60 43.00 15.00 75.00 6.40 32.00
S.D
2.72 1.77 2.60

จากตารางที่ 4.1 ผลการพัฒนาการอ่านข้อความได้อย่างถูกต้องของนักเรียนชั้นประถม
ศึกษาปีที่ 3 โดยใช้วิธีสอนแบบร่วมมือ พบว่า ภาพรวม ก่อนเรียน คะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 8.60

หรือคิดเป็นร้อยละ 43.00 จากคะแนนเต็ม 20 คะแนน หลังเรียน คะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 15.00
หรือคิดเป็นร้อยละ 75.00 จากคะแนนเต็ม 20 คะแนน และมีความก้าวหน้า คะแนนเฉล่ีย
เท่ากับ 6.40 คิดเป็นร้อยละ 32.00 โดยภาพรวม ผลการพัฒนาการอ่านข้อความได้อย่างถูกต้อง

ของนักเรยี นชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 3 โดยใช้วิธสี อนแบบร่วมมือ หลงั เรยี นสูงกว่ากอ่ นเรียน

19

บทที่ 5
สรุปผลการวจิ ัย อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ

การวิจัยในชั้นเรียน เรื่องการพัฒนาการอ่านข้อความได้อย่างถูกต้องของนักเรียน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้วิธีสอนแบบร่วมมือ สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
ดังน้ี

สรปุ ผลการวิจยั
ผลการพฒั นาการอ่านข้อความไดอ้ ย่างถูกต้องของนกั เรียนช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 โดยใช้วิธี

สอนแบบร่วมมือ พบว่า ภาพรวม ก่อนเรียน คะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 8.60 หรือคิดเป็นรอ้ ยละ 43.00
จากคะแนนเตม็ 20 คะแนน หลังเรียน คะแนนเฉล่ยี เทา่ กับ 15.00 หรือคดิ เปน็ ร้อยละ 75.00 จาก
คะแนนเต็ม 20 คะแนน และมีความก้าวหน้า คะแนนเฉลย่ี เท่ากบั 6.40 คิดเป็นร้อยละ 32.00 โดย
ภาพรวม ผลการพัฒนาการอ่านข้อความได้อย่างถูกตอ้ งของนักเรยี นช้ันประถมศึกษาปที ี่ 3 โดยใช้วิธี
สอนแบบรว่ มมอื หลงั เรยี นสูงกว่าก่อนเรยี น

อภปิ รายผล
จากผลการวจิ ยั ในช้นั เรยี น สามารถนำผลวิจยั มาอภปิ รายไดด้ ังน้ี
ผลการพัฒนาการอ่านข้อความได้อย่างถูกต้องของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้

วธิ สี อนแบบรว่ มมอื พบว่า ภาพรวม ก่อนเรียน คะแนนเฉลี่ย เท่ากบั 8.60 หรอื คิดเปน็ ร้อยละ 43.00
จากคะแนนเตม็ 20 คะแนน หลังเรียน คะแนนเฉลี่ย เทา่ กับ 15.00 หรือคดิ เปน็ ร้อยละ 75.00 จาก
คะแนนเต็ม 20 คะแนน และมคี วามกา้ วหน้า คะแนนเฉลีย่ เทา่ กับ 6.40 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 32.00 โดย
ภาพรวม ผลการพัฒนาการอา่ นขอ้ ความไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งของนักเรยี นชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 3 โดยใช้วิธี
สอนแบบร่วมมอื หลังเรียนสูงกวา่ ก่อนเรียน ทั้งนี้ เนื่องจากวิธกี ารสอนแบบร่วมมือ เป็นการจัดการ
เรียนรู้การอ่านข้อความได้อย่างถูกต้องให้กับนักเรียน โดยอาศัยการร่วมมือกันในการเรียน ผ่าน
กิจกรรมกลุ่ม ผู้เรียนได้ช่วยเหลือกนั ในการเรียน แบ่งบทบาทหน้าที่กันทำงาน มีการปฏสิ ัมพันธ์ท่ดี ี
ร่วมกันการเรยี น มีการสื่อสารผ่านการทำงานกลุ่ม จึงส่งผลต่อการเรียนการสอนในการพัฒนาการ
อา่ นข้อความใหถ้ ูกตอ้ งของนกั เรยี นไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

จากผลการพัฒนาการอ่านข้อความได้อย่างถูกต้องของนักเรียน สอดคล้องกับแนวคิดของ
อรนุช ลมิ ตศริ ิ (2554 : 115) กล่าวว่า วิธสี อนแบบรว่ มมอื เปน็ การจัดการเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผ้เู รียน
เป็นศูนย์กลาง ส่งเสริมให้นักเรียนมีปฏิสัมพันธ์ และทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มๆ ละ 4-5 คน สมาชิก
ในกลุม่ มรี ะดับความสามารถแตกต่างกนั สามารถสื่อสารกนั และร่วมกนั ปฏบิ ัติงานที่ไดร้ ับมอบหมาย
โดยที่สมาชิกแต่ละคนมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตนและของกลุ่ม โดยมีเป้าหมายร่วมกันและ
ได้รับรางวัลร่วมกันเมื่อกลุ่มประสบความสำเร็จ และสอดคล้องกับแนวคิดของ ทิศนา แขมมณี
(2552 : 98) กล่าวว่า วิธีสอนแบบร่วมมือ คือ การเรียนรู้แบบกลุ่มย่อยประมาณ 3-6 คน
โดยสมาชิกในกลุ่มมีความสามารถทางการเรียนที่แตกต่างกัน ช่วยเหลือกันเรียนรู้ เพื่อเป้าหมาย
ของกลมุ่ ประสบผลสำเรจ็

20

จากผลการพัฒนาการอ่านข้อความได้อย่างถูกต้องของนักเรียน สอดคล้องกับงานวิจัยของ
บุญปารถนา มาลาทอง (2560) ได้ทำการวิจัย เรื่องความสามารถด้านการอ่านและการเขียน
ภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค CIRC
ร่วมกับแบบฝึกการอ่านและการเขียนภาษาไทย ผลการวิจัย พบว่า 1) ความสามารถด้านการอ่าน
ภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 หลังการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค CIRC
ร่วมกับแบบฝึกการอ่านและการเขียนภาษาไทย มีค่าเฉลี่ย 33.04 คิดเป็นร้อยละ 82.60 และ
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 4.78 2) คะแนนเฉลี่ยความสามารถด้านการอ่านภาษาไทย หลังการจัด
การเรียนรู้แบบร่วมมอื เทคนิค CIRC ร่วมกับแบบฝึกการอา่ นและการเขยี นภาษาไทย สูงกว่าเกณฑ์
ร้อยละ 75 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดบั .05 สอดคล้องกับงานวิจัยของ เสาวรัตน์ ไชยสุนันท์
(2560) ได้ทำการวิจัย เรื่องการพัฒนาความสามารถด้านการอ่านภาษาไทย โดยใช้การเรียนรู้
แบบร่วมมือเทคนิค STAD ประกอบชุดกิจกรรมการเรียนรู้สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ผลการวิจัย พบว่า ความสามารถด้านการอ่านภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้
การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ประกอบชุดกิจกรรมการ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน
อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และสอดคล้องกับงานวิจัยของ Alhaidari (2007) ได้ทำ
การวิจัย เรื่องการศึกษาประสิทธิภาพของการใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือเพื่อพัฒนาทักษะ
การอ่านจับใจความ คำศัพท์และผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนชายชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 และชั้น
ประถมศกึ ษาปีท่ี 5 ในโรงเรียนชาอตุ ีอาระเบยี ผลการวจิ ยั พบวา่ ทั้ง 2 กลุ่มมคี วามแตกต่างกนั

ขอ้ เสนอแนะ
1. ขอ้ เสนอแนะจากการวจิ ัยในครงั้ นี้
1.1 การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ครูผู้สอนควรใช้เนื้อเรื่องในการอ่านข้อความ

ให้หลากหลายประเภท และเนอ้ื หาท่ีเหมาะสมกับเวลาเรยี นในการจัดกจิ กรรม
1.2 การจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน ครูผู้สอนควรสอดแทรกไวยากรณ์ หลักการอ่าน

ให้กบั นกั เรยี น
2. ขอ้ เสนอแนะสำหรบั การวิจัยครั้งตอ่ ไป
2.1 ควรมีการศึกษาผลการเรยี นโดยใช้วธิ สี อนแบบร่วมมอื ในหนว่ ยการเรียนรอู้ ืน่ ๆ หรือ

ในรายวิชาอื่น ๆ ท่ีมีเน้ือหาเกย่ี วขอ้ งกับการอา่ น
2.2 ควรนำการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีสอนแบบร่วมมือร่วมกับเทคนิคการสอนหรือ

วิธีการอ่ืน ๆ เพ่ือให้การอ่านขอ้ ความให้ถกู ต้องไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพเพม่ิ ย่ิงข้ึน

21

เอกสารอ้างองิ

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2551). ตวั ชี้วัดและสาระการเรียนรแู้ กนกลาง กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : ชุมชน
สหกรณแ์ ห่งประเทศไทย.

ทศิ นา แขมมณี. (2552). ศาสตรก์ ารสอน : องค์ความรเู้ พอ่ื การจดั กระบวนการเรยี นรู้
ท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพ. กรงุ เทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

บญุ ปารถนา มาลาทอง. (2560). ความสามารถด้านการอา่ นและการเขียนภาษาไทยของนักเรยี น
ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 4 ท่ีได้รับการจดั การเรียนรู้แบบรว่ มมอื เทคนคิ CIRC รว่ มกบั
แบบฝึกการอ่านและการเขยี นภาษาไทย. วทิ ยานิพนธม์ หาบณั ฑติ . มหาวิทยาลยั บูรพา.

ถริ วฒั น์ ตันทนสิ . (2550). “กระบวนการอ่านเพอ่ื ความเขา้ ใจภาษาอังกฤษกบั ทฤษฎี
พืน้ ฐานความรเู้ ดมิ ”. วารสารอักษรศาสตรม์ หาวิทยาลยั ศิลปกร 29. ฉบับภาษา
และวฒั นธรรม (ฉบับพิเศษ) : 120-134.

ระววิ รรณ ศรีคร้ามครัน. (2553). เทคนิคการสอน. พิมพค์ รงั้ ท่ี 2. กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลยั
รามคำแหง.

วฒั นาพร ระงับทกุ ข.์ (2543). แผนการสอนทีเ่ น้นผเู้ รียนเป็นศูนยก์ ลาง. พมิ พค์ รัง้ ท่ี 3. กรุงเทพฯ :
วฒั นาพานชิ .

สมพร แพ่งพพิ ฒั น.์ (2547). ภาษาไทยเพือ่ การสอื่ สารและการสบื ค้น. กรงุ เทพฯ : โอเดียนสโตร.์
เสาวรตั น์ ไชยสุนนั ท์. (2560). การพฒั นาความสามารถด้านการอา่ นภาษาไทยโดยใช้การเรยี นรู้

แบบรว่ มมอื เทคนคิ STAD ประกอบชุดกิจกรรมการเรยี นรูส้ ำหรบั นักเรยี น
ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 1. วทิ ยานิพนธ์มหาบัณฑิต. มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏมหาสารคาม.
สำลี รักสุทธี. (2553). สอนอยา่ งไรใหเ้ ด็กอ่านออกอ่านไดอ้ ่านคล่องอา่ นเป็นเขยี น
ไดค้ ลอ่ งและเขยี นเป็น. กรุงเทพฯ : พัฒนาการศึกษา.
สุวิทย์ มูลคำ และอรทัย มลู คำ. (2545). วิธจี ัดการเรยี นรู้เพือ่ พัฒนากระบวนการคิด. กรุงเทพฯ :
ภาพพิมพ.์
อรนุช ลิมตศิริ. (2554). การจัดการเรยี นรู้แบบบูรณาการ. กรงุ เทพมหานคร : มหาวิทยาลยั
รามคำแหง.
อาภรณ์ ใจเทีย่ ง. (2550). หลักการสอน (ฉบบั ปรุงปรงุ ). พมิ พ์ครัง้ ท่ี 4. กรงุ เทพฯ : โอเดีนสโตร์.
อุบลวรรณ ปรงุ วนชิ พงษ.์ (2551). การพฒั นาแบบฝึกทักษะการอา่ นภาษาอังกฤษ
โดยใช้กจิ กรรมการอ่านใหค้ ลอ่ งสำหรับนักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 4
โรงเรียนราชนิ ีบูรณะ อำเภอเมอื ง จงั หวัดนครปฐม. วทิ ยานิพนธศ์ ึกษาศาสตร
มหาบัณฑติ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
Alharbi, L. A. (2007). The effectiveness of using cooperative learning method on ESL
reading comprehension performance, students' attitudes toward CL, and students'
motivation toward reading of secondary stage in Saudi public girls' schools. West
Virginia University.

22

ภาคผนวก

23

ภาคผนวก ก
แผนการจดั การเรยี นรู้

24

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 1 ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 3
กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย เวลา 7 ช่วั โมง
เวลา 1 ชวั่ โมง
หน่วยการเรียนรู้ 8 เรือ่ ง เด็กเอ๋ยเดก็ นอ้ ย
เรอ่ื ง การอ่านข้อความจากนทิ าน

1. สาระสำคัญ
นิทาน เป็นเรื่องที่เล่าสืบต่อกันมา นิทานแต่ละเรือ่ งมักจะแฝงด้วยข้อคิดเห็น คุณธรรม

แนวทางปฏบิ ตั ิ โดยมุ่งเพอื่ ให้อ่านเกดิ ความสนกุ สนาน เพลิดเพลินจากการอ่านนิทานและได้ความรู้
จากการอ่าน รวมถึงการอ่านนิทานแต่ละครั้งสามารถช่วยให้ผู้เรียนได้พัฒนาการอ่านข้อความได้

อยา่ งถูกตอ้ งทป่ี รากฏอยใู่ นนิทาน

2. มาตรฐานการเรยี นร้แู ละตวั ชวี้ ัด
มาตรฐาน ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ

แก้ปัญหาในการดำเนนิ ชวี ติ และมีนสิ ัยการอ่าน
ตัวชี้วัด ป.3/1 อ่านออกเสียงคำ ข้อความ เรื่องสั้นๆ และบทร้อยกรองง่ายๆ ได้ถูกต้อง

คลอ่ งแคล่ว

3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
3.1 นักเรยี นบอกข้อความจากนทิ าน เรอ่ื งเสือดาวกบั หมาจง้ิ จอกได้
3.2 นกั เรียนอา่ นขอ้ ความจากนทิ าน เร่อื งเสอื ดาวกับหมาจงิ้ จอกไดถ้ กู ตอ้ ง

4. สาระการเรียนรู้
การอ่านขอ้ ความจากนิทาน เรอ่ื งเสือดาวกับหมาจิ้งจอก

5. กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมอื
1. ขั้นเตรยี มการ (5 นาที)
1.1 ครชู แ้ี จงจดุ ประสงค์การเรยี น เรอ่ื งการอ่านข้อความจากนทิ าน
1.2 ครูจดั กล่มุ ผเู้ รียนออกเป็น 3 กลมุ่ กลมุ่ ละประมาณ 5 คน เพอ่ื ทำกิจกรรมการ

อ่านขอ้ ความจากนทิ าน
2. ขัน้ สอน (25 นาท)ี
2.1 ครูและผู้เรียนสนทนาเกี่ยวกับการอ่านข้อความจากนิทานร่วมกัน พร้อมทั้ง

ครูเปิดส่อื นิทาน เรอ่ื งเสอื ดาวกบั หมาจงิ้ จอกให้นกั เรยี นดู และรว่ มกับสนทนาเกี่ยวกบั นทิ านจากสอ่ื
2.2 ครูแจกใบความรู้ที่ 1 เรื่องเสือดาวกับหมาจิ้งจอก ให้กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 2

และกลุ่มที่ 3
3. ขน้ั ทำกิจกรรมกลุม่ (15 นาที)
3.1 ครูใหค้ วามรูน้ กั เรียนเกย่ี วกบั ขอ้ ความวา่ คอื อะไร วธิ กี ารหาขอ้ ความ
3.2 ครูอธบิ ายวธิ ีการศกึ ษาใบความรทู้ ่ี 1 ใหก้ บั นักเรียนฟงั เพอื่ ทำกจิ กรรมกลุ่ม

25

3.3 ครูให้นักเรียนทุกกลุ่มศึกษาใบความรู้ที่แจกให้ และร่วมกันค้นหาข้อความ
เขยี นลงในแบบฝกึ หัดที่ 1 เร่อื งการคน้ หาข้อความ และร่วมกนั บอกขอ้ ความท่ไี ดจ้ ากใบความรู้

3.4 นักเรียนแต่ละกลุ่มรว่ มกนั บอกขอ้ ความทไ่ี ด้จากใบความรู้ และให้นักเรียนจับคู่
ฝึกอ่านข้อความ พร้อมกับผ้สู อนใหค้ ำแนะนำการฝกึ อ่านขอ้ ความใหถ้ กู ต้อง

4. ขั้นตรวจสอบผลงานและทดสอบ (10 นาที)
4.1 ครแู จกแบบฝึกหัดที่ 2 เรอื่ งการหาข้อความจากนทิ าน เร่ืองเสือดาวกับ

หมาจิ้งจอก ให้นักเรยี นแต่ละคนทำ

4.2 ครแู ละผู้เรยี นร่วมกันเฉลยแบบฝกึ หดั ที่ 1
5. ขน้ั สรปุ บทเรยี นและประเมนิ ผลการทำงานกลมุ่ (5 นาที)

5.1 ครเู ฉลยและตรวจให้คะแนนแตล่ ะคน และจดั ลำดับคะแนนกล่มุ
5.2 ผู้สอนและผเู้ รียนรว่ มกนั สรุปบทเรียน เรอื่ งการอ่านข้อความจากนิทาน ปัญหา
ท่ีพบจากการเรียน ขอ้ เสนอแนะ หรือแนวทางการปรบั ใช้ในการดำเนนิ ชีวิต

6. การวัดและประเมินผล วิธีวัดและประเมนิ ผล เครื่องมือ เกณฑ์
ตรวจแบบฝึกหัด 1 แบบฝึกหดั 1
จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ผา่ นรอ้ ยละ 70
3.1 นกั เรยี นบอกข้อความ ตรวจแบบฝึกหัด 2 แบบฝกึ หดั 2 ขนึ้ ไป
จากนทิ าน เร่ืองเสือดาว
กับหมาจ้ิงจอกได้
3.2 นักเรียนอ่านขอ้ ความ
จากนทิ านเรื่องเสือดาว
กับหมาจงิ้ จอก ไดถ้ กู ตอ้ ง

7. สอ่ื และแหลง่ เรียนรู้
7.1 ใบความรทู้ ี่ 1 เร่อื งเสอื ดาวกับหมาจ้ิงจอก
7.2 แบบฝกึ หัด 1 เรื่องการคน้ หาขอ้ ความ
7.3 แบบฝกึ หัด 2 เรอ่ื งการหาขอ้ ความจากนทิ าน เร่อื งเสอื ดาวกบั หมาจิ้งจอก
7.4 สอ่ื นทิ านเร่อื งเสือดาวกับหมาจิง้ จอก

26

8. บนั ทึกผลหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
8.1 ผลการจดั การเรยี นการสอน

……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………

8.2 ปญั หาจากการจัดการเรียนการสอน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………

8.3 แนวทางการแกป้ ญั หาการจดั การเรยี นการสอน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………

8.4 ข้อเสนอแนะการจัดการเรยี นการสอนครง้ั ต่อไป
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………

(ลงชอ่ื ) ……………………………………………………..
(นายธงชัย รกั ชาติ)
ผู้จัดกิจกรรมการเรยี นรู้

27

9. ภาคผนวก

ใบความร้ทู ี่ 1 เรอื่ งเสือดาวกับหมาจง้ิ จอก

นทิ าน เรอ่ื งเสอื ดาวกบั หมาจิ้งจอก
เสือดาวตัวหนึ่งภูมิใจในรูปร่างที่งดงามของตัวเอง
จึงเดินอวดโฉมไปเรื่อย ๆ วางท่าคุยโวโอ้อวด และดูหมิ่นเยาะเยย้
สัตว์ตัวอื่นๆ ว่าต่ำต้อยกว่าตัวเอง จนกระทั่งวันหนึ่ง หมาจิ้งจอก
ผู้ทันโลก ได้เตือนสติเสือดาวว่า "รูปร่างเจ้าสง่างามก็จริง
แตข่ า้ ว่า ความงามในจติ ใจตา่ งหากท่ีเป็นความงามทีแ่ ท้จรงิ "

28

แบบฝกึ หัดท่ี 1 เรอื่ งการค้นหาข้อความ

คำชแ้ี จง ใหน้ ักเรยี นแต่ละกลมุ่ ร่วมกันคน้ หาขอ้ ความจากใบความรู้ เร่อื งเสือดาวกบั
หมาจงิ้ จอก แล้วเขยี นข้อความทีไ่ ด้ลงในแบบฝกึ หดั ให้มากท่สี ุด
พร้อมกบั ใหน้ ักเรยี นฝึกอ่านรว่ มกัน

29

แบบฝึกหดั ที่ 2 เร่ืองการหาข้อความจากนิทาน
เรือ่ งเสือดาวกบั หมาจงิ้ จอก

คำชแี้ จง ให้นักเรยี นแต่ละคนค้นหาขอ้ ความจากใบความรู้ เรอื่ งเสือดาวกบั
หมาจ้ิงจอก แล้วเขยี นข้อความที่ได้ลงในแบบฝึกหัดให้มากที่สุด
พร้อมกบั ให้นกั เรยี นจบั ค่กู นั ฝึกอา่ น

1.______________________________
2.______________________________
3.______________________________
4.______________________________
5.______________________________
6.______________________________
7.______________________________
8.______________________________
9.______________________________
10.______________________________

30

สือ่ วีดทิ ัศน์การเรยี นการสอน เรือ่ งเสอื ดาวกับสุนขั จิ้งจอก

ทีม่ า https://www.youtube.com/watch?v=vyWbV37MN18

31

แบบบนั ทกึ คะแนน

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 1 เรือ่ งการอา่ นขอ้ ความจากนทิ าน นกั เรียนชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 3

แบบ แบบ รวม ผ่านเกณฑ์

เลขที่ ชอ่ื -สกลุ ฝกึ หดั ที่ 1 ฝกึ หัดท่ี 1 คะแนน รอ้ ยละ 70

(5 คะแนน) (5 คะแนน) (10) (7 คะแนน)

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

32

แบบวดั การอา่ นข้อความได้ถูกตอ้ ง

คำชแี้ จง
1. แบบวดั การอ่านข้อความไดถ้ ูกต้อง นักเรยี นชั้นประถมศึกษาปที ี่ 3 มีจำนวน 10 ข้อ

20 คะแนน เวลา 15 นาที เป็นแบบการตรวจอา่ นข้อความอา่ นถกู -อ่านผิด
2. ให้นักเรียนอา่ นขอ้ ความทก่ี ำหนดให้ จำนวน 10 ขอ้ ความ
3. นกั เรียนอ่านขอ้ ความถูกใหท้ ำเคร่ืองหมาย ✓ลงในชอ่ งอา่ นถกู และถา้ นกั เรยี นอา่ นผดิ

ใหท้ ำเครอื่ ง ✓ลงในชอ่ งอา่ นผิด

ท่ี ขอ้ ความ อ่านถกู อ่านผิด
1 ราชสหี ์เจา้ ป่ากำลงั นอนหลับอย่างสบายใจ
2 หนูตวั หน่ึงวิ่งซกุ ซนจนเผลอไต่ขน้ึ ไปบนร่างของราชสีห์

3 ทำใหร้ าชสีหต์ ่นื และรอ้ งคำรามด้วยความโกรธ
4 ตะปบหนไู ว้ในกรงเล็บ
5 หนูตกใจกลัวจนตัวสัน่ พรอ้ มรอ้ งขอชีวิต
6 หากปล่อยตวั เองไป ในวันข้างหน้า

อาจสามารถชว่ ยเหลอื ราชสีหไ์ ด้
7 แมร้ าชสหี จ์ ะหัวเราะเยาะ แตก่ ย็ อมปลอ่ ยหนูไป
8 ตอ่ มาวันหน่งึ ราชสหี อ์ อกล่าเหยือ่
9 พลาดท่าติดบว่ งของนายพราน พยายามด้นิ เท่าไร

ก็ด้นิ ไมห่ ลุด
10 หนูได้ยินเสียงร้องของราชสีห์จึงเข้ามาช่วยเหลือ

ชือ่ ...........................................................นามสกลุ ....................................ชนั้ ...........เลขท.่ี .........

33

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 2 ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 3
กลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย เวลา 7 ชั่วโมง
เวลา 1 ช่ัวโมง
หนว่ ยการเรียนรู้ 8 เรอ่ื ง เด็กเอย๋ เด็กน้อย
เรอื่ ง การอา่ นข้อความจากคำกลอน

1. สาระสำคญั
คำกลอน เป็นลักษณะคำประพันธ์ไทยท่ีฉันทลักษณ์ประกอบด้วยลักษณะบังคับ 3

ประการคือ คณะ จำนวนคำ และสัมผัส ไม่มีบังคับเอกโทและครุลหุ เชื่อกันว่าเป็นคำประพันธ์
ท้องถิ่นของไทยแถบภาคกลางและภาคใต้ โดยพิจารณาจากหลักฐานในวรรณกรรมทั้งวรรณกรรม

ลายลักษณ์และวรรณกรรมมุขปาฐะ รวมถึงการอ่านกลอนแต่ละครั้งสามารถช่วยให้ผู้เรียนได้
พฒั นาการอา่ นขอ้ ความได้อยา่ งถูกตอ้ งที่ปรากฏอยู่ในคำกลอน

2. มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ช้ีวัด
มาตรฐาน ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ

แก้ปญั หาในการดำเนนิ ชวี ติ และมนี ิสยั การอ่าน
ตัวชี้วัด ป.3/1 อ่านออกเสียงคำ ข้อความ เรื่องสั้นๆ และบทร้อยกรองง่ายๆ ได้ถูกต้อง

คล่องแคลว่

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
3.1 นกั เรียนบอกขอ้ ความจากคำกลอน เรอื่ งเด็กเอ๋ยเดก็ นอ้ ยได้
3.2 นักเรียนอา่ นขอ้ ความจากคำกลอน เร่ืองเดก็ เอย๋ เดก็ น้อยไดถ้ ูกตอ้ ง

4. สาระการเรยี นรู้
การอ่านข้อความจากคำกลอน เรอื่ งเด็กเอ๋ยเดก็ น้อย

5. กระบวนการจัดการเรยี นรแู้ บบรว่ มมือ
1. ขั้นเตรียมการ (5 นาที)
1.1 ครชู ี้แจงจุดประสงค์การเรียน เรอ่ื งการอ่านข้อความจากคำกลอน
1.2 ครูจดั กลมุ่ ผเู้ รยี นออกเป็น 3 กลมุ่ กล่มุ ละประมาณ 5 คน เพอื่ ทำกิจกรรมการ

อา่ นขอ้ ความจากคำกลอน
2. ขนั้ สอน (25 นาท)ี
2.1 ครูและผู้เรียนสนทนาเก่ียวกับการอ่านขอ้ ความจากคำกลอนร่วมกัน พรอ้ มท้ัง

ครูเปดิ สอื่ คำกลอน เรอื่ งเดก็ เอ๋ยเดก็ นอ้ ยให้นักเรยี นดู และรว่ มกบั สนทนาเก่ียวกับคำกลอนจากสือ่
2.2 ครูแจกใบความร้ทู ี่ 1 เร่ืองเดก็ เอย๋ เด็กน้อย ให้กลมุ่ ท่ี 1 กล่มุ ท่ี 2 และกลุ่มท่ี 3

3. ขั้นทำกจิ กรรมกลุ่ม (15 นาท)ี
3.1 ครใู ห้ความรนู้ ักเรียนเกีย่ วกับขอ้ ความว่าคอื อะไร วิธกี ารหาข้อความ
3.2 ครูอธบิ ายวธิ ีการศกึ ษาใบความรู้ท่ี 1 ให้กบั นักเรียนฟงั เพ่อื ทำกิจกรรมกล่มุ

34

3.3 ครูให้นักเรียนทุกกลุ่มศึกษาใบความรู้ที่แจกให้ และร่วมกันค้นหาข้อความ
เขยี นลงในแบบฝึกหัดท่ี 1 เรื่องการค้นหาขอ้ ความ และรว่ มกันบอกขอ้ ความท่ไี ด้จากใบความรู้

3.4 นกั เรยี นแตล่ ะกลุม่ ร่วมกันบอกข้อความท่ีได้จากใบความรู้ และใหน้ กั เรียนจับคู่
ฝกึ อ่านขอ้ ความ พร้อมกบั ผู้สอนใหค้ ำแนะนำการฝกึ อ่านขอ้ ความใหถ้ กู ต้อง

4. ขั้นตรวจสอบผลงานและทดสอบ (10 นาท)ี
4.1 ครูแจกแบบฝึกหดั ท่ี 2 เร่ืองการหาข้อความจากคำกลอน เร่อื งเดก็ เอย๋ เดก็ นอ้ ย

ให้นกั เรียนแตล่ ะคนทำ

4.2 ครแู ละผ้เู รียนร่วมกันเฉลยแบบฝกึ หดั ที่ 1
5. ขนั้ สรุปบทเรยี นและประเมินผลการทำงานกล่มุ (5 นาท)ี

5.1 ครเู ฉลยและตรวจให้คะแนนแตล่ ะคน และจดั ลำดับคะแนนกลุม่
5.2 ผสู้ อนและผเู้ รยี นร่วมกันสรปุ บทเรียน เรื่องการอ่านขอ้ ความจากเพลง ปญั หาท่ี
พบจากการเรยี น ข้อเสนอแนะ หรือแนวทางการปรับใช้ในการดำเนนิ ชีวิต

6. การวดั และประเมินผล วิธีวัดและประเมนิ ผล เครือ่ งมือ เกณฑ์
ตรวจแบบฝกึ หัด 1 แบบฝกึ หดั 1
จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ผ่านรอ้ ยละ 70
3.1 นกั เรยี นบอกข้อความ ตรวจแบบฝกึ หัด 2 แบบฝึกหัด 2 ขึ้นไป
จากคำกลอน เรอ่ื งเดก็ เอย๋
เด็กน้อยได้
3.2 นกั เรียนอ่านขอ้ ความ
จากคำกลอน เรือ่ งเด็กเอ๋ย
เดก็ นอ้ ยได้ถูกต้อง

7. สื่อและแหลง่ เรยี นรู้
7.1 ใบความรู้ท่ี 1 เรื่องเด็กเอ๋ยเดก็ น้อย
7.2 แบบฝึกหัด 1 เร่ืองการคน้ หาข้อความ
7.3 แบบฝกึ หัด 2 เรื่องการหาขอ้ ความจากคำกลอน เรอ่ื งเด็กเอย๋ เดก็ นอ้ ย
7.4 สอ่ื คำกลอนเร่อื งเดก็ เอย๋ เด็กนอ้ ย

35

8. บันทึกผลหลงั การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้
8.1 ผลการจัดการเรยี นการสอน

……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………

8.2 ปญั หาจากการจัดการเรยี นการสอน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………

8.3 แนวทางการแกป้ ญั หาการจัดการเรียนการสอน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………

8.4 ข้อเสนอแนะการจัดการเรยี นการสอนครัง้ ตอ่ ไป
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………

(ลงชอื่ ) ……………………………………………………..
(นายธงชัย รักชาติ)
ผจู้ ัดกิจกรรมการเรียนรู้

36

9. ภาคผนวก

ใบความรทู้ ่ี 1 เรอื่ งเดก็ เอ๋ยเดก็ นอ้ ย

37

แบบฝึกหดั ท่ี 1 เร่อื งการค้นหาขอ้ ความ

คำช้ีแจง ให้นกั เรียนแต่ละกลุ่มร่วมกนั คน้ หาขอ้ ความจากใบความรู้ เรอื่ งเดก็ เอ๋ยเด็กนอ้ ย
แล้วเขียนขอ้ ความท่ีไดล้ งในแบบฝกึ หดั ใหม้ ากที่สุด พรอ้ มกบั ใหน้ กั เรยี นฝึกอ่านรว่ มกัน

38

แบบฝกึ หดั ท่ี 2 เรือ่ งการหาข้อความจากคำกลอน
เรือ่ ง เด็กเอ๋ยเด็กน้อย

คำชี้แจง ใหน้ ักเรียนแตล่ ะคนค้นหาข้อความจากใบความรู้ เร่ืองเดก็ เอย๋ เด็กนอ้ ย
แล้วเขียนข้อความท่ีไดล้ งในแบบฝกึ หัดใหม้ ากท่ีสุด พร้อมกับให้นกั เรยี นจับคกู่ นั ฝึกอา่ น

39

ส่ือวดี ทิ ัศนก์ ารเรยี นการสอน เรื่องเดก็ เอย๋ เดก็ น้อย

ท่ีมา https://www.youtube.com/watch?v=XY9Uq5pq63c&ab_channel=KrumimEDU

40

แบบบนั ทกึ คะแนน

แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ 2 เรอื่ งการอ่านขอ้ ความจากคำกลอน นกั เรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 3

แบบ แบบ รวม ผา่ นเกณฑ์

เลขท่ี ช่อื -สกุล ฝกึ หดั ที่ 1 ฝกึ หัดที่ 2 คะแนน ร้อยละ 70

(5 คะแนน) (5 คะแนน) (10) (7 คะแนน)

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

41

แบบวดั การอ่านข้อความได้ถูกต้อง

คำชแี้ จง

1. แบบวดั การอา่ นขอ้ ความได้ถกู ตอ้ ง นักเรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 มีจำนวน 8 ข้อ

20 คะแนน เวลา 15 นาที เป็นแบบการตรวจอา่ นขอ้ ความอ่านถกู -อา่ นผิด

2. ใหน้ ักเรียนอา่ นข้อความที่กำหนดให้ จำนวน 8 ขอ้ ความ
3. นกั เรยี นอ่านข้อความถกู ให้ทำเครอื่ งหมาย ✓ลงในช่องอ่านถูก และถา้ นกั เรยี นอา่ นผิด
ให้ทำเครื่อง ✓ลงในช่องอา่ นผดิ

ที่ ขอ้ ความ อา่ นถกู อา่ นผิด
1 เดก็ เอย๋ เดก็ น้อย
2 ความรูเ้ รายงั ดอ้ ยเร่งศกึ ษา
3 เมื่อเติบใหญ่เจา้ จะไดม้ วี ชิ า
4 เปน็ เคร่อื งหาเล้ียงชีพสำหรับตน
5 ไดป้ ระโยชน์หลายสถานเพราะการเรยี น
6 จงพากเพียรไปเถิดจะเกิดผล
7 ถึงลำบากตรากตรำก็จำทน
8 เกดิ เป็นคนควรหมัน่ ขยันเอย

ชอ่ื ...........................................................นามสกลุ ....................................ชน้ั ...........เลขที.่ .........

42

แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 3 ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย เวลา 7 ชว่ั โมง
เวลา 1 ชว่ั โมง
หน่วยการเรยี นรู้ 8 เรือ่ ง เด็กเอย๋ เด็กนอ้ ย
เร่ือง การอ่านข้อความจากเพลง

1. สาระสำคญั
เพลงคือถ้อยคำที่นักประพันธ์เรียงร้อยหรือเรียบเรียงขึ้น ซึ่งประกอบด้วย เนื้อร้อง

ทำนอง จังหวะ ทำให้เกิดความไพเราะสร้างความเพลิดเพลินให้แก่ผู้ฟัง มีคุณค่าด้านวรรณศิลป์ทง้ั
ดา้ นการเลอื กสรรคำที่ใช้ในการแต่ง การเรียบเรยี งประโยค และการใชโ้ วหาร เพลงนัน้ อาจให้ข้อคิด
แก่ผูฟ้ ังในการดำเนินชีวติ ดว้ ยสำเนียงขับรอ้ ง ทำนองดนตรี กระบวนวธิ รี ำระบำ โดยเพลงสร้างสรรค์
จากเคร่ืองดนตรีหรือการขบั รอ้ ง

2. มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวชวี้ ดั
มาตรฐาน ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ

แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิตและมีนสิ ัยการอา่ น
ตัวชี้วัด ป.3/1 อ่านออกเสียงคำ ข้อความ เรื่องสั้นๆ และบทร้อยกรองง่ายๆ ได้ถูกต้อง

คลอ่ งแคลว่

3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
3.1 นกั เรียนบอกข้อความจากเพลง เรือ่ งเด็กเอย๋ เด็กนอ้ ยได้
3.2 นักเรยี นอา่ นขอ้ ความจากเพลง เร่อื งเด็กเอ๋ยเดก็ นอ้ ยไดถ้ ูกตอ้ ง

4. สาระการเรยี นรู้
การอ่านข้อความจากเพลง หน้าท่เี ด็ก

5. กระบวนการจัดการเรียนรูแ้ บบรว่ มมอื
1. ข้ันเตรียมการ (5 นาท)ี
1.1 ครชู ้ีแจงจดุ ประสงค์การเรยี น เร่อื งการอ่านขอ้ ความจากเพลง
1.2 ครูจดั กล่มุ ผ้เู รียนออกเป็น 3 กลมุ่ กลมุ่ ละประมาณ 5 คน เพือ่ ทำกิจกรรมการ

อา่ นข้อความจากเพลง
2. ข้นั สอน (25 นาท)ี
2.1 ครูและผู้เรียนสนทนาเกี่ยวกับการอ่านข้อความจากเพลงร่วมกัน พร้อมท้ัง

ครูเปดิ สอ่ื เพลง หนา้ ที่เดก็ ให้นกั เรียนดู และร่วมกับสนทนาเกยี่ วกบั เพลงจากสื่อ
2.2 ครูแจกใบความรู้ที่ 1 เร่ืองเพลงหน้าท่เี ดก็ ใหก้ ลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 2 และกลมุ่ ท่ี 3

3. ขนั้ ทำกิจกรรมกลุ่ม (15 นาที)
3.1 ครูใหค้ วามรูน้ กั เรียนเกย่ี วกบั ข้อความว่าคืออะไร วธิ กี ารหาข้อความ
3.2 ครูอธิบายวิธกี ารศกึ ษาใบความรูท้ ่ี 1 ให้กบั นักเรยี นฟัง เพ่ือทำกิจกรรมกลุ่ม

43

3.3 ครูให้นักเรียนทุกกลุ่มศึกษาใบความรู้ที่แจกให้ และร่วมกันค้นหาข้อความ
เขยี นลงในแบบฝกึ หัดที่ 1 เรอื่ งการค้นหาข้อความ และรว่ มกนั บอกขอ้ ความท่ีได้จากใบความรู้

3.4 นักเรยี นแตล่ ะกลุม่ ร่วมกนั บอกข้อความท่ีได้จากใบความรู้ และใหน้ กั เรียนจับคู่
ฝกึ อ่านข้อความ พร้อมกับผสู้ อนใหค้ ำแนะนำการฝึกอา่ นขอ้ ความใหถ้ กู ต้อง

4. ข้ันตรวจสอบผลงานและทดสอบ (10 นาท)ี
4.1 ครูแจกแบบฝกึ หัดที่ 2 เร่อื งการหาขอ้ ความจากเพลง หน้าที่เด็กให้นกั เรียนแต่

ละคนทำ

4.2 ครแู ละผู้เรยี นรว่ มกนั เฉลยแบบฝึกหดั ท่ี 1
5. ขัน้ สรุปบทเรียนและประเมินผลการทำงานกลุม่ (5 นาที)

5.1 ครเู ฉลยและตรวจให้คะแนนแต่ละคน และจดั ลำดับคะแนนกล่มุ
5.2 ผู้สอนและผเู้ รียนรว่ มกนั สรุปบทเรียน เร่อื งการอา่ นข้อความจากเพลง ปัญหาที่
พบจากการเรียน ขอ้ เสนอแนะ หรอื แนวทางการปรับใช้ในการดำเนินชีวติ

6. การวัดและประเมนิ ผล วิธีวัดและประเมนิ ผล เครือ่ งมอื เกณฑ์
ตรวจแบบฝกึ หัด 1 แบบฝึกหัด 1
จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ผา่ นรอ้ ยละ 70
3.1 นกั เรียนบอกข้อความ ตรวจแบบฝกึ หัด 2 แบบฝึกหดั 2 ข้ึนไป
จากเพลงหน้าทเ่ี ด็กได้
3.2 นกั เรียนอา่ นข้อความ
จากเพลงหนา้ ท่เี ด็กไดถ้ ูกต้อง

7. ส่อื และแหล่งเรียนรู้

7.1 ใบความรทู้ ่ี 1 เร่อื งเพลงหน้าท่ีเด็ก
7.2 แบบฝกึ หัด 1 เรื่องการคน้ หาข้อความ
7.3 แบบฝกึ หัด 2 เร่อื งการหาข้อความจากเพลงหนา้ ทเี่ ด็ก
7.4 สอ่ื เพลงหนา้ ท่เี ดก็


Click to View FlipBook Version