The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by padayanang, 2021-05-09 03:08:42

การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

49

ความสัมพันธ์กับบุคคล ขนบธรรมเนียม ประเพณี ความเป็นอยู่ของครอบครัว ฐานะทาง
เศรษฐกจิ ทางสังคมไดแ้ ก่อยู่ในสังคมแห่งการเรียนรู้ไม่ใช่สังคมท่ีมีแต่ปัญหาไม่ว่าจะเป็นปัญหา
ยาเสพติดหรือปัญหาครอบครัว ตลอดจนกระบวนการเรียนการสอนในสถานศึกษา ซ่ึงถ้าหาก
พ่อแม่และครูผู้สอนดูแลเอาใจใส่ให้ผู้เรียนเจริญเติบโตพัฒนาทางร่างกาย จิตใจ และเสริม
สติปัญญาที่ถูกทิศทาง ผู้เรียนก็จะเจริญเติบโตพร้อมกับความสาเร็จในด้านการเรียน และใน
ท่ีสุดกจ็ ะกลายเปน็ คนดแี ละรับผิดชอบในสังคมต่อไป

2.4.3 การวัดผลประเมนิ ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียน ส่วนใหญ่ได้มาจากการวัดผลประเมินผลจาก
เครื่องมือวัด การวัดผลประเมินผล ได้มีนักการศึกษาได้กล่าวถึงการวัดผล การประเมินผล
และพฤตกิ รรมที่จะวดั ผลสมั ฤทธ์ิ ดงั น้ี
พิชิต ฤทธ์ิจรูญ (2545) ได้กล่าวถึงพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย เป็นสมรรถภาพด้าน
สมองหรือปญั ญาของบุคคล ในการเรียนรู้สงิ่ ต่างๆ แบ่งเปน็ 6 ระดับ ดงั น้คี อื

1 ความรู้ - ความจา
1.1 ความร้เู รือ่ งเฉพาะ
1.1.1 ความรเู้ กยี่ วกับศพั ท์และนยิ าม
1.1.2 ความรู้เกี่ยวกบั กฎและความจรงิ
1.2 ความรใู้ นวิธกี าร
1.2.1 ความรู้เกย่ี วกับระเบียบแบบแผน
1.2.2 ความรเู้ กี่ยวกับลาดับขน้ั และแนวโน้ม
1.2.3 ความรเู้ กยี่ วกับการจดั ประเภท
1.2.4 ความรเู้ กี่ยวกับกฏเกณฑ์
1.2.5 ความรู้เกี่ยวกบั วธิ ีการ
1.3 ความรรู้ วบยอดในบางเรือ่ ง
1.3.1 ความรูเ้ กี่ยวกับหลกั วชิ า
1.3.2 ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎแี ละโครงสรา้ ง

2 ความเขา้ ใจ
2.1 การแปลความ
2.2 การตีความ
2.3 การขยายความ

3 การนาไปใช้

50

4 การวิเคราะห์
4.1 การวิเคราะห์ความสาคญั
4.2 วเิ คราะห์ความสัมพนั ธ์
4.3 วิเคราะห์หลกั การ

5 การสังเคราะห์
5.1 การสงั เคราะห์ข้อความ
5.2 การสงั เคราะหแ์ ผนงาน
5.3 การสงั เคราะห์ความสัมพนั ธ์

6 การประเมนิ ค่า
6.1 ประเมินโดยใช้เกณฑภ์ ายใน
6.2 ประเมนิ โดยใชเ้ กณฑภ์ ายนอก

สมศกั ดิ์ สินธุระเวชญ์ (2545) ไดก้ ลา่ วถึงรูปแบบการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ดงั น้ี
การประเมินผลการเรียน (Pre Evaluation) เป็นการประเมินผลก่อนจะเริ่มต้น

แตล่ ะแผนการจดั การเรียนรู้ ในทางปฏิบตั ิสามารถแยกได้เปน็ 2 ประเดน็ คือ
1 เพอื่ ดูวา่ ผู้เรียนได้รสู้ ่งิ ต่างๆ ก่อนทผ่ี สู้ อนจะเร่มิ บทเรียนหรือไม่
2 เพอ่ื ดวู ่าผู้เรยี นมคี วามรู้และทักษะในผลการเรียนท่ีผู้เรียนจะต้องมีมาก่อน

การเรยี นเร่อื งใหม่
การประเมินผลระหว่างเรียน (Formative Evaluation) เป็นการประเมินเพ่ือ

ปรับปรุงการเรียนรแู้ ละการจัดการเรียนรู้ การวัดผลความรู้ของความสามารถของผู้เรียนตามผล
การเรยี นรทู้ ่กี าหนดไวร้ ะหวา่ งการเรียนของแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้

การประเมินผลรวม (Summative Evaluation) เป็นการประเมินผลเมื่อส้ินสุด
การจดั การเรียนรู้ในแต่ละหน่วยการเรยี นรู้ โดยมจี ดุ หมายเพ่อื ศกึ ษาว่า

1 ผเู้ รยี นมีความร้ทู งั้ สน้ิ เทา่ ไร
2 ตัดสินผลการเรียนรู้
3 พยากรณค์ วามสาเรจ็ ในรายวิชา
4 เปรียบเทยี บผลลพั ทบ์ างประการของผู้เรยี นแตล่ ะกลมุ่
เยาวดี วิบูลย์ศรี (2548) กล่าวว่า การวัดผลหมายถึง กระบวนการบ่งช้ีผลผลิต
หรอื คณุ ลกั ษณะทีว่ ัดได้จากเคร่อื งมือวดั ผลประเภทใดประเภทหนงึ่ อย่างมีระบบ ดังคานิยามที่ว่า
การวัดผล คือ การกาหนดตัวเลขให้กับสิ่งใดสิ่งหน่ึงตามกฏเกณฑ์ท่ีต้ังไว้ และกล่าวว่า การ
ประเมินผล หมายถงึ การรวบรวมข้อมูล และการจัดข้อมูลท่ีเป็นประโยชน์ เพื่อช่วยให้มีการ
ตัดสนิ ได้หลายทาง

51

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2549) ได้กล่าวถึงการวัดผล
ประเมนิ ผลการเรียนการสอนด้านพุทธพิสัยสาหรับวิชาวิทยาศาสตร์ จะวัดผลตามแนวความคิด
ของ Klopfer ซึ่งจาแนกระดับพฤติกรรมการเรียนรู้ด้านสติปัญญาหรือความรู้ความคิดเป็น 4
ลาดบั ขนั้ ดังน้ี

1 ความรคู้ วามจา
2 ความเขา้ ใจ
3 ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
4 การนาความรู้และกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรไ์ ปใช้
ดังน้ัน การวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เป็นการวัดพฤติกรรมที่ใช้การจัดจาแนก
อันดับ โดยวัดพฤติกรรมด้านพุทธพิสัย ด้านทักษะพิสัย และด้านจิตพิสัย เพ่ือดูว่าผู้เรียนได้รู้
สิง่ ตา่ งๆ มากน้อยเพียงไร เปน็ การตัดสนิ ผลการเรยี นรู้ ในการวัดผลประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรยี นมกี ารประเมินผลกอ่ นเรยี น ระหวา่ งการเรยี นการสอน และหลังเรียน
2.4.4 ความหมายของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ
ศริ ชิ ยั กาญจนวาสี (2544) กล่าวไว้ว่า แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิเป็นเครื่องมือใน
การวัดผลสมั ฤทธก์ิ ารเรยี นรู้ของผู้เรียนตามเปาู หมายท่ีกาหนดไว้ เพ่อื ใหท้ ราบวา่ ผู้เรียนได้พัฒนา
ความรคู้ วามสามารถถงึ มาตรฐานที่ผู้สอนกาหนดไว้หรือไม่ หรือมีความรู้ความสามารถระดับใด
หรอื มคี วามรู้ความสามารถดเี พยี งไรเมอ่ื เทียบกบั เพือ่ นๆ ท่เี รียนด้วยกนั
พชิ ิต ฤทธ์จิ รญู (2544) กลา่ วว่า แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิเป็นแบบทดสอบที่ใช้วัด
ความรู้ความสามารถทางวิชาการท่ีผู้เรียนได้เรียนรู้มาแล้วว่าบรรลุผลสาเร็จตามจุดประสงค์ท่ี
กาหนดไว้เพียงใด
2.4.5 แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ เป็นเคร่ืองมือที่ใช้วัดความสามารถของผู้เรียนด้าน
พทุ ธิพิสยั แบบทดสอบประเภทนี้ตอ้ งมคี วามตรงตามเน้ือหา แนวทางการสร้างแบบทดสอบวัด
ผลสมั ฤทธมิ์ รี ายละเอียด ดงั นี้
แนวทางการสร้างแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน มีนักการศึกษาได้ให้แนว
ทางการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นดังนี้
พิชิต ฤทธ์ิจรูญ (2545) กล่าวว่า แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิจะมีคุณภาพได้น้ัน
จะต้องอาศัยหลักการสร้างที่มีประสิทธิภาพ ตามทฤษฎีของ Gronlund ท่ีให้หลักการสร้างไว้
ดังน้ี
1 ต้องนิยามพฤติกรรมหรือผลการเรียนรู้ให้ชัดเจน โดยกาหนดในรูปของ
จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

52

2 ควรสร้างแบบทดสอบให้ครอบคลุมผลการเรียนรู้
3 แบบทดสอบท่สี รา้ งขน้ึ ควรวัดพฤตกิ รรม หรือผลการเรียนรู้ที่เป็นตัวแทนของ
กิจกรรมการเรียนรู้ โดยจะต้องกาหนดตัวช้ีวัด และขอบเขตของผลการเรียนรู้ที่จะวัดแล้วจึ ง
เขียนขอ้ สอบตามตวั ชวี้ ดั
4 แบบทดสอบท่ีสร้างขึ้น ควรประกอบด้วยข้อสอบชนิดต่างๆ ที่เหมาะสม
สอดคล้องกับการวดั พฤตกิ รรมหรอื ผลการเรยี นร้ทู ก่ี าหนดไวใ้ ห้มากท่ีสดุ
5 ควรสร้างแบบทดสอบโดยคานึงถึงแผนหรือวัตถุประสงค์ของการนาผลการ
ทดสอบไปใช้ประโยชน์ จะได้เขียนข้อสอบให้มีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ และทันตาม
แผนที่กาหนดไว้
6 แบบทดสอบที่สร้างข้ึน จะต้องทาการตรวจให้คะแนนไม่มีความคลาดเคลื่อน
จากการวดั ไมว่ ่าจะทาแบบทดสอบไปทดสอบกบั ผเู้ รยี นในเวลาที่แตกต่างกันจะต้องได้ผลการวัด
เหมอื นเดมิ
นอกจากนี้ยังได้กล่าวถึงการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ มีข้ันตอนดาเนินการ
ตอ่ ไปนี้ (พชิ ิต ฤทธิ์จรูญ, 2545)
1 วิเคราะหห์ ลกั สูตรและสร้างตารางวเิ คราะหห์ ลักสตู ร
2 กาหนดจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
3 กาหนดชนดิ ของขอ้ สอบและวธิ ีสรา้ ง
4 เขียนข้อสอบ
5 ตรวจทานข้อสอบ
6 จดั พิมพแ์ บบทดสอบฉบับทดลอง
7 ทดลองสอบและวิเคราะหข์ ้อสอบ
8 จัดทาแบบทดสอบฉบบั จริง
สมบูรณ์ ตันยะ (2545) ได้กลา่ วถึงแบบทดสอบผลสมั ฤทธ์ิ ดังน้ี
แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ (Achievement Test) หมายถึง แบบทดสอบท่ีใช้วัด
ความรู้ ทกั ษะและสมรรถภาพดา้ นต่างๆ ท่นี กั เรียนแต่ละคนได้เรียนรู้มาแล้ว เป็นการวัดเพ่ือให้
ทราบว่านักเรียนเรียนรู้อะไรในอดีตมากน้อยเพียงใด และสามารถนาความรู้มาใช้ได้เพียงใด
แบบทดสอบผลสัมฤทธแิ์ บง่ ได้ 2 ชนดิ คอื
1 แบบทดสอบท่ีครูสร้างขึ้น (Teach - Made Test) เป็นแบบทดสอบท่ีครูสร้าง
ขึ้น เพ่อื วัดผลการเรียนการสอน หรอื วดั ความสาเร็จในการเรียนการสอนของนกั เรียน
2 แบบทดสอบมาตรฐาน (Standardized Test) เป็นแบบทดสอบ ท่ีผ่านการ
วิเคราะห์เพื่อหาคุณภาพของแบบทดสอบเพ่ือให้มีคุณภาพดีท้ังฉบับ เป็นมาตรฐานในการใช้

53

สามารถนาผลการทดสอบไปเทยี บกบั เกณฑ์โดยส่วนรวมได้ มีประโยชน์ในด้านการเปรียบเทียบ
ผลการเรยี นของนกั เรยี นแต่ละกลมุ่ แต่ละแหง่

เยาวดี วบิ ลู ย์ศรี (2548) กล่าวไว้ว่า แบบทดสอบผลสัมฤทธ์ิที่สร้างข้ึน มักมีความ
มุ่งหมายท่ีสาคัญ คือ เพื่อใช้วัดผลการเรียนรู้ด้านเน้ือหาวิชาและทักษะต่าง ๆ ของแต่ละ
สาขาวิชาทจ่ี ัดสอนในระดับชน้ั เรียนต่างๆ ของแต่ละโรงเรียน ลักษณะแบบทดสอบผลสัมฤทธ์ิมี
ทง้ั ท่ีเป็นขอ้ เขยี น (Paper and Pencil Test) และที่เป็นภาคปฏิบัติจริง แบบสอบผลสัมฤทธิ์ที่ดี
และมีคุณค่าจะต้องสร้างให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม และการสร้างแบบสอบ
ผลสมั ฤทธิค์ วรคานงึ ถงึ ข้อตกลงเบอื้ งตน้ 3 ข้อ ดงั น้ี

1 เน้ือหาหรือทักษะ จะต้องสามารถจากัดอยู่ในรูปของพฤติกรรม ซึ่งมีความ
เฉพาะเจาะจงในลกั ษณะท่ีจะสอื่ สารไปยงั บคุ คลอ่ืนได้

2 ผลผลติ ที่แบบทดสอบวัดนน้ั จะตอ้ งเป็นผลผลิตเฉพาะท่ีเกิดขึ้นจากการเรียน
การสอนตามวัตถปุ ระสงค์ทีต่ ้องการเทา่ นนั้

3 ผลสัมฤทธิ์หรือความรู้ต่างๆ ที่แบบทดสอบผลสัมฤทธ์ิวัดได้น้ัน ถ้านาไป
เปรียบเทยี บกันแล้ว ผเู้ ข้าสอบทุกคนจะตอ้ งมโี อกาสได้เรียนรใู้ นเร่อื งน้ันๆ อย่างเทา่ เทียมกนั

นอกจากนี้ยังได้กล่าวถึงการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ สามารถแบ่งได้เป็น 4
ขนั้ ตอน ตอ่ ไปนี้ (เยาวดี วิบลู ย์ศรี, 2548)

ขั้นท่ี 1 กาหนดวัตถุประสงค์ท่ัวไปของการสอบให้อยู่ในรูปของวัตถุประสงค์เชิง
พฤติกรรม โดยระบุเป็นข้อๆ ให้วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมสอดคล้องกับเนื้อหาท้ังหมดที่จะ
ทดสอบ

ขน้ั ท่ี 2 กาหนดโครงเรือ่ งของเน้ือหาสาระทจ่ี ะทาการทดสอบให้ครบถว้ น
ขั้นท่ี 3 เตรียมตารางเฉพาะหรือผังของแบบทดสอบ เพ่ือแสดงน้าหนักของ
เนื้อหาวิชาแต่ละส่วน และพฤติกรรมต่างๆ ท่ีต้องการทดสอบให้เด่นชัด ส้ันกะทัดรัด และ
ชดั เจน
ข้ันท่ี 4 สร้างข้อกระทงทั้งหมดท่ีต้องการจะทดสอบให้เป็นไปตามสัดส่วนของ
น้าหนักทร่ี ะบไุ ว้ในตาราง
สมบูรณ์ ตันยะ (2545) ได้กล่าวถงึ ประเภทของแบบทดสอบผลสมั ฤทธ์ิ มีดงั น้ี
1 แบบทดสอบแบบอัตนัยหรือแบบความเรียง (Composition or Subjective
Test)
2 แบบทดสอบถูกผดิ (True - False Test)
3 แบบทดสอบแบบเตมิ คา (Completion Test)
4 แบบทดสอบแบบจับคู่ (Matching Test)

54

5 แบบทดสอบแบบเลอื กตอบ (Multiple - Choice Test)
พิชิต ฤทธิ์จรูญ (2545) ได้กล่าวถึง ประเภทของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ
โดยทั่วไปแบง่ ออกเป็น 2 ประเภท มีดังน้ี

1 แบบทดสอบท่ีครูสร้างขึ้นเอง หมายถึง แบบทดสอบท่ีมุ่งวัดผลสัมฤทธิ์
ผเู้ รียนเฉพาะกลุม่ ทคี่ รูสอน เป็นแบบทดสอบท่ีสร้างข้ึนโดยท่ัวไปในสถานศึกษา มีลักษณะเป็น
แบบทดสอบข้อเขยี น แบ่งเปน็ 2 ชนดิ คือ

1.1 แบบทดสอบอัตนัย เป็นแบบทดสอบท่ีกาหนดคาถาม หรือปัญหาให้
แลว้ ผูต้ อบเขยี นโดยแสดงความรู้ ความคดิ เจตคติ ได้อยา่ งเตม็ ท่ี

1.2 แบบทดสอบปรนัย หรือแบบใหต้ อบสนั้ ๆ เป็นแบบทดสอบท่ีกาหนดให้
ผูส้ อบเขยี นคาตอบสนั้ ๆ หรือมีคาตอบให้เลอื กแบบจากดั คาตอบ ผู้ตอบไม่มีโอกาสแสดงความรู้
แบบทดสอบชนิดน้ีแบ่งออกเป็น 4 แบบ คือ แบบทดสอบถูก - ผิด แบบทดสอบเติมคา
แบบทดสอบจับคู่ และแบบทดสอบเลือกตอบ

2 แบบทดสอบมาตรฐาน หมายถึง แบบทดสอบที่มุ่งวัดผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน
ทวั่ ๆ ไป ซึง่ สรา้ งโดยผู้เชย่ี วชาญ มกี ารวิเคราะห์และปรับปรุงอย่างดีจนมีคุณภาพ มีมาตรฐาน
กล่าวคอื มีมาตรฐานในการดาเนนิ การสอบ วธิ กี ารให้คะแนนและแปลความหมายของคะแนน

เยาวดี วิบูลย์ศรี (2548) ไดจ้ าแนกแบบทดสอบผลสัมฤทธต์ิ ามมติ ติ า่ งๆ ดังนี้
มิติที่ 1 จาแนกตามขอบข่ายของเนื้อหาวิชาท่ีวัด เช่น วัดเนื้อหาทาง

คณิตศาสตร์ วชิ าประวตั ศิ าสตร์ หรือการสะกดคา
มิติที่ 2 จาแนกตามลักษณะท่ัวไปของแบบทดสอบ โดยแบ่งแบบทดสอบ

ผลสัมฤทธ์ิได้ 3 ลักษณะ คือ แบบทดสอบเพ่ือสารวจผลสัมฤทธ์ิ แบบทดสอบเพื่อวินิจฉัย
ผลสัมฤทธิ์ และแบบทดสอบเพื่อวดั ความพรอ้ ม

มิตทิ ่ี 3 จาแนกตามมิติท่ีใช้ ส่วนใหญ่เป็นแบบทดสอบประเภทข้อเขียน ได้แก่
แบบทดสอบประเภทภาคปฏบิ ัติ (Performance Test)

สรุปได้ว่า แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสร้างขึ้นเพื่อวัดพฤติกรรมหรือผล
การเรียนรู้ ซ่ึงอาจเป็นแบบทดสอบมาตรฐานที่ผู้เชี่ยวชาญได้สร้างไว้ หรือแบบทดสอบท่ีผู้สอน
จดั ทาขน้ึ เพื่อใช้เองเพือ่ ให้สอดคลอ้ งกบั จุดมุ่งหมายของพฤตกิ รรมที่ต้องการจะวัด และก่อนที่จะ
สรา้ งแบบทดสอบจะต้องออกแบบการสร้างข้อสอบ วิเคราะห์หลักสูตร กาหนดจุดประสงค์การ
เรียนรู้ กาหนดชนิดของแบบสอบถาม ตรวจทาน ทดลองใช้ วิเคราะห์ข้อสอบ และนาไปใช้
ทดสอบจริง นอกจากนัน้ กาหนดสัดส่วนของเนอื้ หาสาระในการออกข้อสอบใหช้ ดั เจน

2.4.6 ขัน้ ตอนการสรา้ งแบบทดสอบ
การสรา้ งแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธมิ์ ีการดาเนนิ การดังนี้ (พิชติ ฤทธิ์จรูญ, 2544)

55

1 วิเคราะหห์ ลกั สูตรและสร้างตารางวิเคราะหห์ ลักสตู ร
การสร้างแบบทดสอบ ควรเร่ิมต้นด้วยการวิเคราะห์หลักสูตรและสร้างตาราง
วิเคราะห์หลักสูตร เพื่อวิเคราะห์เนื้อหาสาระและพฤติกรรมท่ีต้องการจะวัด ตารางวิเคราะห์
หลกั สูตรจะใช้เปน็ กรอบในการออกขอ้ สอบซึง่ จะระบจุ านวนข้อสอบในแต่ละเรื่องและพฤติกรรม
ทต่ี อ้ งการวัดไว้
2 กาหนดจุดประสงค์การเรยี นรู้
จุดประสงค์การเรียนรู้ เป็นพฤติกรรมท่ีเป็นผลการเรียนรู้ท่ีผู้สอนมุ่งหวังจะให้
เกิดข้ึนกับผู้เรียนซ่ึงผู้สอนจะต้องกาหนดไว้ล่วงหน้าสาหรับเป็นแนวทางในการจัดการ เรียนการ
สอนและการสรา้ งข้อสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ
3 กาหนดชนดิ ของข้อสอบและศกึ ษาวธิ ีสรา้ ง
โดยการศึกษาตารางวเิ คราะห์หลักสตู รและจุดประสงค์การเรียนรู้ ผู้ออกข้อสอบ
ต้องพิจารณาและตัดสินใจเลือกใช้ชนิดของข้อสอบท่ีจะใช้วัดว่าจะเป็นแบบใด โดยต้องเลือกให้
สอดคล้องกับจุดประสงค์ของการเรียนรู้และเหมาะสมกับวัยของผู้เรียน แล้วศึกษาวิธีเขียน
ขอ้ สอบชนดิ นน้ั ใหม้ คี วามรู้ความเข้าใจในหลกั และวธิ ีการเขียนข้อสอบ
4 เขยี นข้อสอบ
ผู้ออกขอ้ สอบลงมอื เขียนขอ้ สอบ ตามรายละเอยี ดที่กาหนดไว้ในตารางวิเคราะห์
หลกั สตู ร และให้สอดคลอ้ งกับจุดประสงคก์ ารเรียนรู้
5 ตรวจทานขอ้ สอบ
เพื่อให้ข้อสอบที่เขียนไว้แล้วในข้ันที่ 4 มีความถูกต้องตามหลักวิชาการมีความ
สมบรู ณ์ ครบถ้วน ตามรายละเอยี ดท่ีกาหนดไว้ในตารางวิเคราะห์หลักสูตร ผู้ออกข้อสอบต้อง
พิจารณา ทบทวนอีกครั้งกอ่ นที่จะจดั พิมพ์และนาไปใชต้ อ่ ไป
6 จัดพมิ พข์ ้อสอบฉบับทดลอง
เม่ือตรวจทานข้อสอบเสร็จแล้วให้พิมพ์ข้อสอบทั้งหมด จัดทาเป็นแบบทดสอบ
ฉบับทดลองโดยมีคาช้ีแจงหรือคาอธิบายวิธีตอบแบบทดสอบ และจัดวางรูปแบบการพิมพ์ให้
เหมาะสม
7 ทดลองสอบและวิเคราะห์ข้อสอบ
การทดลองสอบและวิเคราะห์ข้อสอบ เป็นวิธีการตรวจสอบคุณภาพของ
แบบทดสอบก่อนนาไปใช้จริง โดยนาแบบทดสอบไปทดลองสอบกับกลุ่มท่ีมีลักษณะคล้ายคลึง
กับกลุ่มที่ต้องการทดสอบจริง แล้วนาผลการทดสอบมาวิเคราะห์และปรับปรุงข้อสอบให้มี
คุณภาพ โดยสภาพการปฏิบัติจริงของการทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิในโรงเรียนมักไม่ค่อยมีการ

56

ทดลองและวเิ คราะห์ข้อสอบ สว่ นใหญ่นาแบบทดสอบไปใช้ทดสอบแล้วจึงวิเคราะห์ข้อสอบเพื่อ
ปรับปรงุ ข้อสอบและนาไปใชใ้ นครงั้ ตอ่ ๆ ไป

8 จัดทาแบบทดสอบจริง
จากผลการวิเคราะหข์ อ้ สอบ หากพบว่าข้อสอบข้อใดไม่มีคุณภาพหรือมีคุณภาพ
ไม่ดีพอ อาจจะต้องตัดทิ้งหรือปรับปรุงแก้ไขข้อทดสอบให้มีคุณภาพดีข้ึน แล้วจึงจัดทาเป็น
แบบทดสอบฉบบั จรงิ ทีจ่ ะนาไปทดสอบกบั กลุ่มเปูาหมายต่อไป
สรุปได้ว่า ข้ันตอนการสร้างแบบทดสอบนั้น ครูผู้สอนต้องวิเคราะห์หลักสูตร
กาหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ กาหนดชนิดของข้อสอบและศึกษาวิธีสร้าง เขียนข้อสอบ
ตรวจทานข้อสอบ จัดพิมพ์ข้อสอบฉบับทดลอง ทดลองและวิเคราะห์ข้อสอบ และนาไปใช้ใน
การทดสอบจริง

2.5 การประเมินผลตามสภาพจรงิ

2.5.1 ความหมายของการประเมนิ ผลตามสภาพจริง
ศิริชัย กาญจนวาสี (2545) กล่าวว่า การวัด (Measurement) เป็นกระบวนการ
กาหนดตัวเลข (Assignment of Numerals) ให้แก่สิ่งต่างๆ ตามกฏเกณฑ์ การวัดจะเกิดข้ึนได้
ตอ้ งอาศยั 3 ส่วน คือ

1 จดุ มุ่งหมายของการวัด ตอ้ งมีความชัดเจนว่าตอ้ งวดั อะไร ในสถานการณ์เช่น
ไร และวดั ไปทาไม

2 เ ค รื่ อ ง มื อ ท่ี ใ ช้ วั ด เ ช่ น แ บ บ ส อ บ ถ า ม ( Test) แ บ บ ส อ บ ถ า ม
(Questionnaire) แบบตรวจสอบรายการ (Check List) แบบสัมภาษณ์ (Interview Gide)
มาตราประเมินค่า (Rating Scale) การสังเกตโดยตรง (Direct Observation) เป็นต้น โดย
เครอ่ื งมอื ต้องมีหนว่ ยทใี่ ช้ในการวดั

3 การแปลผลและนาผลไปใช้
นุชวนา เหลอื งองั กรู (2545) ได้ให้ความหมายไว้ว่า การประเมินผลตามสภาพจริง
(Authentic Assessment) ไดแ้ ก่ การประเมินทด่ี าเนนิ ไปพรอ้ มๆ กบั กิจกรรมการเรยี นการสอน
โดยกิจกรรมการเรียนการสอนจะจัดตามความสนใจของผู้เรียนและให้สอดคล้องกับชีวิตจริง
รวมท้งั เน้นการปฏิบัตทิ ่ีต้องใช้ความคดิ ในการแก้ปัญหาที่ซบั ซอ้ น ขณะเดียวกนั ก็ใช้เทคนคิ ในการ
ประเมินผลหลากหลายวิธี เพือ่ แสดงถึงความสามารถทแ่ี ทจ้ รงิ ของผ้เู รยี น
สุวิมล ว่องวานิช (2546) กล่าวว่า การประเมินตามสภาพจริง เป็นกระบวนการ
ตดั สินความรคู้ วามสามารถและทักษะต่างๆ ของผู้เรียนในสภาพท่ีสอดคล้องกับชีวิตจริง โดยใช้

57

เรื่องราว เหตุการณ์ สภาพจริงหรือคล้ายจริงท่ีประสบในชีวิตประจาวัน เป็นส่ิงเร้าให้ผู้เรียน
ตอบสนองโดยการแสดงออก ลงมือกระทา หรือผลิต จากกระบวนการทางานตามท่ีคาดหวัง
และผลผลิตท่ีมีคุณภาพ จะเป็นการสะท้อนภาพเพื่อลงข้อสรุปถึงความรู้ ความสามารถ และ
ทักษะต่างๆ ของผูเ้ รยี นว่ามมี ากนอ้ ยเพยี งใด น่าพอใจหรอื ไม่ อยูใ่ นระดบั ความสาเรจ็ ใด

บญุ ชม ศรีสะอาด, นิภา ศรไี พโรจน์ และนชุ วนา ทองทวี (2528 : 114) ไดใ้ หค้ วามหมาย
ของการวัดและประเมนิ ผลตามสภาพจริงว่า หมายถงึ การวัดทีก่ าหนดให้นกั เรยี นไดแ้ สดงถงึ
กระบวนการ (Process) และหรือผลงาน (Product) หรือความสามารถที่จาเปน็ ซง่ึ สอดคล้องกับ
ชีวติ จริงมากทส่ี ดุ

อทุ ุมพร จามรมาน (2540: 2-4 ) ไดใ้ หค้ วามหมายของการวัดและประเมนิ ผลตามสภาพ
จริงว่าหมายถึง การวัดและประเมนิ กระบวนการทางานของสมองและจิตใจของผเู้ รยี นอยา่ ง
ตรงไปตรงมา ตามส่งิ ที่เขาได้ทาโดยพยายามตอบคาถาม วา่ เขาทาอย่างไรและทาไมจึงทาอยา่ ง
น้นั การได้ข้อมูลดงั กลา่ ว จะชว่ ยให้ผู้สอนได้ช่วยให้ผ้เู รียนได้พัฒนาการเรียนการสอนมี
ความหมาย ทาให้ผ้เู รยี นเกดิ การอยากเรียนรู้ซ่งึ เปน็ การวัดและประเมินผลโดยการปฏิบตั จิ ริง

ส. วาสนา ประวาลพฤกษ์ (2540 : 3 ) ไดใ้ ห้ความหมายของวัดและประเมนิ ผลตาม
สภาพจริงวา่ หมายถึงการวัดและประเมนิ ผลท่ีสะท้อนใหเ้ ห็นถงึ สภาพการเรียนการสอนทแ่ี ทจ้ รงิ
โดยการปฏบิ ัติจรงิ ในชวี ิตจริงของนักเรยี นให้มากทสี่ ุด

สุวิทย์ มลู คา (2544 : 22) การประเมินผลตามสภาพท่แี ท้จริง หมายถึงการวัดและ
ประเมินผลกระบวนการทางานในดา้ นสมองหรอื ดา้ นการคิดและจติ ใจของผู้เรียนอยา่ ง
ตรงไปตรงมาตามส่งิ ที่ผ้เู รียนกระทา โดยพยายามตอบคาถามวา่ ผู้เรียนทาอย่างไรและทาไมทา
อย่างน้ัน การไดข้ ้อมูลวา่ “เขาทาอยา่ งไร” และ “ทาไม” จะชว่ ยให้ผู้สอนไดช้ ่วยผเู้ รยี น
พฒั นาการเรียนของผูเ้ รียนและการสอนของผ้สู อน ทาให้การเรียนการสอนมีความหมายและทา
ให้เกิดความอยากในการเรยี นรตู้ อ่ ไป

อรทัย คามูลและคนอื่น ๆ (2542 : 156) ได้กล่าวถึงการประเมินผลตามสภาพที่แท้จริง
ว่าเป็นการประเมินกระบวนการทางานในด้านสมอง หรือการคิดและจิตใจของผู้เรียนตามท่ีได้
กระทาโดยให้ผู้เรียนได้ให้เหตุผลในการกระทาของตนทุกครั้ง จะเป็นการพัฒนาการสอนของครู
และพฒั นาศกั ยภาพของผเู้ รยี นทาใหก้ ารเรยี นการสอนมคี วามหมายมากขึน้

กรมวิชาการ กระทรวงศกึ ษาธิการ (2545) ได้กล่าวว่า การประเมินสภาพจริงเป็น
การประเมินจากการปฏิบตั งิ านหรอื กจิ กรรมอยา่ งใดอยา่ งหน่ึง โดยงานหรอื กจิ กรรมทีม่ อบหมาย
ใหผ้ ูป้ ฏบิ ัติ จะเป็นงานหรือสถานการณ์ที่เป็นจริง (Real Life) หรือใกล้เคียงกับชีวิตจริง จึงเป็น
งานที่มีสถานการณ์ซับซ้อน (Complexity) และเป็นองค์รวม (Holistic) มากกว่างานปฏิบัติใน
กิจกรรมการเรยี นทั่วไป

58

สานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ กระทรวงศึกษาธิการ (2540)
กล่าวว่า การประเมนิ สภาพจรงิ เปน็ การประเมนิ การกระทา การแสดงออกหลายๆ ด้าน ของ
นักเรียนตามสภาพความเป็นจรงิ ท้ังในและนอกหอ้ งเรยี น มีลักษณะเป็นการประเมินแบบไม่เป็น
ทางการ การทางานของผู้เรียน ความสามารถในการแก้ไขปัญหาและการแสดงออก โดยเน้น
ผเู้ รยี นเป็นผคู้ ้นพบและเป็นผู้ผลิตความรู้ ได้มีโอกาสฝึกปฏิบัติจริงหรือคล้ายจริง ได้แสดงออก
อยา่ งเตม็ ความสามารถ

สรปุ ได้วา่ การวดั ผลประเมินผลตามสภาพจริง (Authentic Assessment) หมายถึง
กระบวนการตัดสินความรู้ ความสามารถและทักษะต่างๆ ของผู้เรียนในสภาพท่ีสอดคล้องกับ
ชีวิตจริง โดยมีเคร่ืองมือวัด การวัดจะใช้เรื่องราว เหตุการณ์ตามสภาพจริงหรือคล้ายจริงที่
ประสบในชีวิตประจาวัน เพื่อสรุปถึงความรู้ ความสามารถ และทักษะ ของผู้เรียนว่ามีมาก
น้อยเพียงใด นา่ พอใจหรือไม่ มคี วามสาเรจ็ อย่ใู นระดบั ใด

2.5.2 แนวคดิ และหลักการประเมินผลตามสภาพจริง
ผู้เชี่ยวชาญในด้านการวัดผลประเมินผลกล่าวถึงแนวคิดและหลักการประเมินตาม
สภาพจรงิ ไว้หลายท่าน ทส่ี าคญั มีดงั น้ี
เอกรินทร์ สม่ี หาศาล และสุปรารถนา ยุกตะนันท์ (2546) ได้กาหนดลักษณะของ
การประเมินตามสภาพจรงิ ดังน้ี

1 เปูาหมายและกระบวนการจัดการศึกษาของชาติ
2 กระบวนการปฏิบัติในสภาพจริง
3 กระบวนการวัดผลประเมินผล
4 เกณฑ์ทใี่ ชส้ าหรับการประเมิน
5 การประเมินตนเอง
6 การนาเสนอผลงาน
สานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ กระทรวงศึกษาธิการ (2542)
กลา่ วไว้วา่
1 การประเมินตามสภาพจริง ไม่เน้นการประเมินทักษะพ้ืนฐาน (Skill
Assessment) แต่เน้นการประเมินทักษะการคิดที่ซับซ้อน (Complex Thinking Skill) ในการ
ทางาน ความร่วมมือในการแก้ปัญหา และการประเมนิ ตนเองท้ังภายในและภายนอกหอ้ งเรียน
2 การประเมินตามสภาพจริง เป็นการวัดและประเมินความก้าวหน้าของ
นกั เรยี น
3 การประเมินตามสภาพจริง เป็นการสะท้อนให้เห็นการสังเกตสภาพงาน
ปจั จบุ ัน (Current Work) ของนักเรียน และส่งิ ทน่ี กั เรยี นไดป้ ฏิบตั จิ ริง

59

4 การประเมินตามสภาพจริง เป็นการผูกติดนักเรียนกับงานที่เป็นจริง โดย
พจิ ารณาจากงานหลายๆ ชนิ้

5 ผู้ประเมินควรมีหลายๆ คน โดยมีการประชุมระหว่างกลุ่มผู้ประเมินเพื่อ
แลกเปลีย่ นข้อมลู เก่ียวกับตัวนกั เรยี น

6 การประเมนิ ตอ้ งดาเนนิ การไปพร้อมกับการเรียนการสอนอยา่ งต่อเนื่อง
7 นาการประเมินตนเองมาใชเ้ ปน็ สว่ นหนึ่งของการประเมินตามสภาพท่ีแทจ้ ริง
8 การประเมินตามสภาพจริง ควรมีการประเมินทั้ง 2 ลักษณะ คือ การ
ประเมินท่เี น้นการปฏิบัตจิ ริง และการประเมินจากแฟมู สะสมงาน
อนุวัติ คูณแกว้ (2548) กล่าวถงึ หลักการของการประเมินผลจากสภาพจรงิ ไว้ ดงั น้ี
1 เปน็ การประเมินความก้าวหน้า และการแสดงออกของนักเรียนแต่ละคนบน
รากฐานของทฤษฎที างพฤติกรรมการเรียนรู้ โดยใช้เครื่องมอื การประเมินทีห่ ลากหลาย
2 การประเมนิ ตามสภาพจริง จะต้องมรี ากฐานอยู่บนพัฒนาการและการเรียนรู้
ทางสติปัญญาทหี่ ลากหลาย
3 หลักสูตรสถานศึกษา ต้องให้ความสาคัญต่อการประเมินตามสภาพจริง คือ
หลกั สูตรต้องพัฒนามาจากบรบิ ททม่ี รี ากฐานทางวฒั นธรรมทน่ี ักเรียนอาศัยอยู่ และท่ีต้องเรียนรู้
ให้ทนั กบั กระแสการเปลย่ี นแปลงของโลก
4 การเรียน การสอน การประเมินผล จะต้องหลอมรวมกันและการประเมิน
ต้องประเมินตอ่ เนอื่ งตลอดเวลาท่ีทาการเรียนการสอน โดยผู้เรยี นมสี ่วนรว่ ม
5 การเรียน การสอน การประเมิน เน้นสภาพที่สอดคล้อง หรือใกล้เคียงกับ
ธรรมชาตคิ วามเปน็ จริงของการดาเนนิ ชีวิต และควรเปิดโอกาสให้ผเู้ รียนไดค้ ดิ งานด้วยตนเอง
6 การเรยี นการสอนจะตอ้ งเปน็ ไปเพื่อพฒั นาศักยภาพใหเ้ ตม็ ที่สูงสุด ตามสภาพ
ท่ีเป็นจริงของแตล่ ะบุคคล เต็มตามศักยภาพของตนเอง การเรียน การสอน และการประเมิน
ตอ้ งเกย่ี วเนอ่ื งกันและเนน้ การปฏบิ ัตจิ รงิ ในสภาพทใี่ กลเ้ คียงหรือสภาพท่เี ปน็ จรงิ ในชวี ิตประจาวัน
เปิดโอกาสใหผ้ เู้ รียนไดเ้ รยี นรดู้ ว้ ยตนเอง
สรุปได้ว่า การประเมินผลตามสภาพจริง เป็นการวัดและประเมินความก้าวหน้า
ของผ้เู รียน การแสดงออกของผู้เรียนบนรากฐานของทฤษฎีทางพฤติกรรมการเรียนรู้ เน้นการ
ประเมินทักษะการคิดในการทางาน โดยสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงาน โดยใช้เครื่องมือ
ประเมินท่หี ลากหลายควบคู่ไปกับการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้
2.5.3 วธิ ีการประเมินตามสภาพจรงิ
เอกรินทร์ สี่มหาศาล และสุปรารถนา ยุกตะนันท์ (2546) ได้กาหนดวิธีการ
ประเมนิ ผลตามสภาพจริงไว้ ดงั น้ี

60

1 การสังเกต เป็นวิธีการที่กระทาได้ในทุกสถานการณ์และทุกสถานที่ ผู้สอน
อาจกาหนดเคร่ืองมือ และเกณฑ์ในการสังเกต หรืออาจไม่มีเครื่องมือในการสังเกตก็ได้ ทั้งนี้
ขน้ึ อยู่กับประเด็นที่ต้องการประเมินผู้เรียนว่ามีความจาเป็นต้องใช้เคร่ืองมือในการสังเกตระดับ
ความสามารถหรือพฤติกรรมที่แสดงออกมากน้อยเพียงใด และวิธีการสังเกตสามารถใช้
ประเมินผลการเรียนรู้ท้ังในด้านความรู้ความเข้าใจด้านทักษะกระบวนการ ด้านคุ ณธรรม
จริยธรรม และคา่ นิยมท่ีพึงประสงคข์ องผูเ้ รยี น

2 การสมั ภาษณ์ เปน็ วธิ ีการประเมินโดยต้งั คาถามอย่างงา่ ยๆ ไม่ซับซ้อนเกินไป
สามารถสัมภาษณ์ผู้เรียนแต่ละคนได้ท้ังรูปแบบที่เป็นทางการหรือไม่เป็นทางการ นิยมใช้
ประเมินผลการเรียนรู้ด้านความรู้ความเข้าใจ ในระดับท่ีสูงกว่าความรู้ความจาและด้าน
ความรู้สึกนึกคิดที่สะท้อนให้เห็นถึงความเชื่อ ทัศนคติ ค่านิยมท่ีผู้เรียนยึดถือต่อส่ิงใดสิ่งหนึ่ง
รวมท้ังการเห็นคณุ ค่าในสาระการเรียนรู้รายวิชาตา่ งๆ เปน็ ตน้

3 บันทึกจากผู้ที่เกี่ยวข้อง เป็นวิธีการรวบรวมข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับตัว
ผู้เรียนท้ังในด้านความรู้ความคิด ความสามารถพิเศษ ความถนัด ความสนใจ และการ
แสดงออกของพฤติกรรมลักษณะต่างๆ ทั้งท่ีพึงประสงค์และไม่พึงประสงค์ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อ
การวางแผนการเรียนรู้ และแนวทางพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตร
ตอ่ ไป

4 แบบทดสอบวัดความสามารถท่ีเป็นจริง (Authentic Test) เป็นวิธีการสร้าง
ขอ้ สอบโดยใช้คาถามที่เกี่ยวกบั การนาความรู้ไปใช้ในสถานการณ์ต่างๆ หรือการสร้างความรู้ใหม่
จากความเข้าใจและประสบการณ์เดิม หรือจากสถานการณจ์ าลองทีก่ าหนดข้ึน ให้คล้ายคลึงกับ
สถานการณ์ต่างๆ ข้อสอบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในสถานการณ์ที่กาหนด
เปน็ ต้น เพือ่ ประเมนิ ผลการเรียนรดู้ ้านความรู้ความเข้าใจ การฝกึ ทักษะและกระบวนการรวมทั้ง
เจตคติต่อการเรยี นรูส้ งิ่ ต่างๆ ของผู้เรียนไดด้ ียงิ่ ข้ึน

5 การรายงานตนเอง เป็นวิธีการประเมินด้วยการให้ผู้เรียนเขียนบรรยาย
ความรู้สึก หรือพดู แสดงความคิดเห็นออกมาโดยตรง เพ่อื ประเมนิ ความรู้สึกนึกคิด ความเข้าใจ
ความตอ้ งการการใช้วธิ ีการต่างๆ และการสรา้ งผลงานของผู้เรียนจะชว่ ยให้ผสู้ อนเขา้ ใจผู้เรียนแต่
ละคนมากยิง่ ขน้ึ และสามารถประเมนิ ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ความเข้าใจ ทักษะกระบวนการ
รวมท้งั เจตคตติ อ่ การเรียนรู้ส่งิ ต่างๆ ของผ้เู รียนมากยง่ิ ขน้ึ

6 การใช้แฟูมสะสมผลงาน (Portfolio) เป็นการจัดเก็บตัวอย่างผลงานที่มีการ
รวบรวมไว้อย่างเป็นระบบ และกระทาอย่างต่อเนื่องตลอดช่วงชั้นของหลักสูตรหรือโปรแกรม
การเรียน เพ่ือใช้เป็นหลักฐานแสดงให้เห็นถึงความสามารถของผู้เรียน ในด้านความรู้ความ
เขา้ ใจ และทกั ษะตา่ งๆ ทผ่ี ู้เรียนพฒั นาได้สาเรจ็ รวมทง้ั ความถนัด ความสนใจ ความพยายาม

61

แรงจงู ใจ และความก้าวหน้าทางการเรียน ทส่ี ามารถนามาประกอบการประเมินผลสัมฤทธิ์ของ
ผู้เรยี นแตล่ ะคนใหค้ วามเชอ่ื ถอื (Reliability) มากยิ่งขึน้

การประเมินตามสภาพจริงมวี ิธีการประเมินที่หลากหลาย และตัวอย่างเครื่องมือใน
การประเมนิ มดี งั น้ี (ชัยวัฒน์ สุทธริ ตั น์, 2553)

1 การสังเกต เป็นวิธีการที่กระทาได้ในทุกสถานการณ์และทุกสถานท่ี ผู้สอน
อาจกาหนดเครอื่ งมือและเกณฑ์ในการสังเกตหรืออาจไมม่ ีเครือ่ งมือในการสังเกตก็ได้ ท้ังนี้ข้ึนอยู่
กับประเด็นที่ต้องการประเมินผู้เรียนว่า มีความจาเป็นต้องใช้เคร่ืองมือในการสังเกตระดับ
ความสามารถหรือพฤติกรรมท่ีแสดงออกมากน้อยเพียงใด และวิธีการสังเกตสามารถใช้
ประเมินผลการเรียนรู้ท้ังในด้านความรู้ความเข้าใจ ด้านทักษะกระบวนการ ด้านคุณธรรม
จริยธรรม และค่านิยมท่ีพึงประสงค์ของผู้เรียน เช่น สังเกตในสถานท่ีที่นักเรียนได้ลงไปศึกษา
สภาพแหล่งน้าในชมุ ชนหรือสถานการณ์จาลองต่างๆ

2 การสมั ภาษณ์ เน่ืองจากพฤติกรรมบางอย่างอาจสังเกตได้ไม่ชัดเจน ถูกต้อง
ตรงตอ่ ความเป็นจรงิ ผู้สอนจึงอาจใช้การสัมภาษณ์ช่วยเก็บข้อมูลเพิ่มเติม การสัมภาษณ์น้ีเป็น
วิธกี ารประเมินโดยต้ังคาถามอย่างงา่ ยๆ ไมซ่ ับซอ้ นเกินไป สามารถสัมภาษณ์ผู้เรียนแต่ละคนได้
ทั้งรูปแบบที่เป็นทางการหรือไม่เป็นทางการ นิยมใช้ประเมินผลการเรียนรู้ด้านความรู้ ความ
เข้าใจในระดับที่สูงกว่าความรู้ความจา และด้านความรู้สึกนึกคิดท่ีสะท้อนให้เห็นถึงความเช่ือ
ทศั นคติ ค่านิยมท่ีผู้เรยี นยดึ ถือต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง รวมท้ังการเห็นคุณค่าในเรื่องต่างๆ เช่น ครูให้
นักเรียนลงไปศึกษาการเลือกซ้ือสินค้าของประชาชนเป็นกลุ่ม หลังจากท่ีศึกษาแล้ว ครูจึง
สัมภาษณน์ ักเรียนเปน็ กล่มุ ทั้งในด้านความรู้ ความคดิ เจตคติของผเู้ รียนตอ่ การศกึ ษาและทักษะ
กระบวนการในการศกึ ษา

3 แบบสอบถาม เป็นการวดั ผลที่ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือสอบถาม ซ่ึงทา
ให้ประหยัดเวลาในการซักถาม โดยคาตอบท่ีได้รับควรอยู่ในขอบเขตของเรื่องท่ีผู้เรียนศึกษา
เช่น การให้ผูเ้ รียนลงไปศกึ ษาระบบนเิ วศในโรงเรียน

4 บันทึกจากผู้เก่ียวข้อง เป็นวิธีการรวบรวมข้อมูลความคิดเห็นเก่ียวกับตัว
ผู้เรียนท้ังในด้านความรู้ ความคิด ความสามารถพิเศษ ความถนัด ความสนใจ และการ
แสดงออกของพฤตกิ รรมลักษณะต่างๆ ทงั้ ทพี่ ึงประสงค์และไม่พึงประสงค์ ซ่ึงเป็นประโยชน์ต่อ
การวางแผนการเรียนรู้ และแนวทางพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร เช่น
ใหน้ กั เรยี นลงไปศึกษาวัฒนธรรมไทยในชุมชนแล้วให้นักเรียนหรือครูสังเกตพฤติกรรมการเรียน
ของนกั เรยี นกลุม่ ตา่ งๆ วา่ ใชก้ ระบวนการในการศึกษาไดถ้ กู ต้องหรือไม่

5 แบบทดสอบวัดความสามารถที่เป็นจริง (Authentic Test) เป็นวิธีการสร้าง
ข้อสอบโดยใชค้ าถามท่ีเกี่ยวกบั การนาความรู้ไปใช้ในสถานการณ์ต่างๆ หรือการสร้างความรู้ใหม่

62

จากความเข้าใจและประสบการณ์เดิม หรอื จากสถานการณจ์ าลองทีก่ าหนดข้ึน ให้คล้ายคลึงกับ
สถานการณ์จริง หรือเลียนแบบสภาพจริง เป็นต้น เช่น สร้างแบบทดสอบวัดทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ โดยกาหนดสถานการณ์ทางวิทยาศาสตร์ให้ผู้เรียนได้คิด และ
ตอบเพ่อื วัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของผู้เรยี นตามสถานการณท์ กี่ าหนดใหน้ ้นั

6 การรายงานตนเอง เป็นวิธีการประเมินด้วยการให้ผู้เรียนเขียนบรรยาย
ความรสู้ กึ หรอื พดู แสดงความคดิ เห็นออกมาโดยตรง เพ่อื ประเมนิ ความรู้สึกนึกคิด ความเข้าใจ
และความต้องการของผู้เรียน ซึ่งจะช่วยให้ผู้สอนเข้าใจผู้เรียนแต่ละคนมากยิ่งข้ึนและสามารถ
ประเมินผลการเรยี นรูด้ า้ นความรูค้ วามเขา้ ใจทักษะกระบวนการ รวมทง้ั เจตคติตอ่ การเรียนรู้ของ
ผเู้ รยี นได้ดียิ่งขน้ึ เชน่ ให้นกั เรยี นบรรยายความรู้สึกของตนเองที่ได้ลงไปใช้ภาษาอังกฤษในการ
ส่ือสารกับชาวต่างชาติในสถานการณ์จริง ว่ามีความรู้สึกต่อการใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสาร
และรู้สึกอย่างไรตอ่ บุคคลเหลา่ นั้น

7 การสร้างจินตภาพ เป็นเครื่องมือท่ีช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็น
หรือปฏิกิริยาออกมา เพ่ือให้ได้ข้อมูลว่าขณะนั้นผู้เรียนมีความรู้สึกนึกคิดกับเร่ืองท่ีเรียนเป็น
อย่างไร ซึ่งอาจต้ังคาถามให้นักเรียนสร้างจินตนาการโดยการต่อข้อความในประโยคต่อไปน้ีให้
สมบูรณ์

7.1 ถา้ ผมเปน็ นกั วทิ ยาศาสตร์ ผมจะ............................................
7.2 ถ้าฉันเปน็ นักศลิ ปะช้นั นาของโลก ฉันจะ...........................
8 การใชแ้ ฟูมสะสมผลงาน (Portfolio) เป็นการจัดเก็บตัวอย่างผลงาน ท่ีมีการ
รวบรวมไวอ้ ย่างเปน็ ระบบ และกระทาอย่างต่อเน่ืองตลอดช่วงช้ันของหลักสูตร หรือโปรแกรม
การเรยี น เพ่อื ใช้เปน็ หลักฐานแสดงให้เหน็ ถงึ ความสามารถของผู้เรียนในด้านความรู้ความเข้าใจ
และทักษะต่างๆ ที่ผู้เรียนพัฒนาได้สาเร็จ รวมท้ังความถนัด ความสนใจ ความพยายาม
แรงจูงใจ และความก้าวหน้าทางการเรียนที่สามารถนามาประกอบการประเมินผลสัมฤทธ์ิของ
ผู้เรียนแต่ละคนให้มีความน่าเชื่อถือ (Reliability) มากย่ิงขึ้น เช่น ให้นักเรียนศึกษาประวัติ
บคุ คลสาคัญในชมุ ชน แลว้ ให้นักเรียนทาเปน็ แฟมู สะสมผลงานประวัติของบุคคลเหล่าน้ัน
สรุปได้ว่า การประเมินผลตามสภาพจริงน้ันมีวิธีการท่ีหลากหลาย ครูผู้สอนควร
เลอื กใช้วิธีการที่เหมาะสมกับข้อมูลท่ีต้องการ ซึ่งอาจใช้วิธีการที่หลากหลายประกอบกันก็ได้ใน
การเก็บข้อมูล เพ่ือให้สามารถประเมินผู้เรียนได้อย่างรอบคอบ และครอบคลุมศักยภาพของ
ผเู้ รียน
2.5.4 ขัน้ ตอนการประเมินผลตามสภาพจริง
สมนึก นนทิจนั ทร์ (2545) กล่าวถงึ ข้ันตอนการประเมินผลตามสภาพจริงไว้ ดังนี้

63

1 ผูส้ อนและผู้เรียนรว่ มกาหนดผลสมั ฤทธท์ิ ีต่ ้องการ โดยวิเคราะห์จากหลักสูตร
กลาง หลกั สตู รท้องถิ่น คมู่ อื การเรียน ฯลฯ

2 ทาความชัดเจนกับลักษณะ/ความหมายของผลสัมฤทธเ์ิ หล่าน้นั
3 กาหนดแนวทางของงานท่จี ะต้องปฏิบตั ิ คือ

3.1 งานทท่ี กุ คนตอ้ งทา
3.2 งานทีท่ าตามความสนใจ
4 กาหนดรายละเอยี ดของงาน
5 กาหนดกรอบการประเมิน
6 กาหนดวธิ ีการประเมนิ ได้แก่ การสังเกต การสัมภาษณ์ การสอบถาม การ
ตรวจงาน การบันทึกจากบุคคลผู้เก่ียวข้อง การศึกษารายกรณี การใช้ข้อสอบแบบเน้นการ
ปฏบิ ัติจรงิ ระเบยี นสะสม แฟมู สะสมงานดเี ดน่
7 กาหนดตัวผู้ประเมนิ ควรมคี รู นกั เรยี น ผู้ปกครองหรอื ใครอีกทเี่ หมาะสม
8 กาหนดเกณฑก์ ารประเมิน
การประเมินตามสภาพจริงมีการดาเนินงานตามข้ันตอนต่อไปน้ี (อนุวัติ คูณแก้ว,
2548)
1 กาหนดวัตถุประสงค์และเปูาหมายในการประเมิน ต้องสอดคล้องกับสาระ
มาตรฐานจุดประสงค์การเรียนรแู้ ละสะทอ้ นการพฒั นาด้วย
2 กาหนดขอบเขตในการประเมิน ต้องพิจารณาเปูาหมายท่ีต้องการให้เกิดกับ
ผู้เรยี น เชน่ ความรู้ ทกั ษะและกระบวนการ ความรสู้ กึ คณุ ลกั ษณะ เปน็ ต้น
3 กาหนดผู้ประเมิน โดยพิจารณาผู้ประเมินว่าจะมีใครบ้าง เช่น นักเรียน
ประเมินตนเอง เพอื่ นนกั เรียน ครูผู้สอน ผปู้ กครองหรอื ผทู้ เี่ กยี่ วข้อง เปน็ ต้น
4 เลือกใช้เทคนิคและเคร่ืองมือในการประเมิน ควรมีความหลากหลายและ
เหมาะสมกับวตั ถปุ ระสงค์ วิธีการประเมิน เช่น การทดสอบ การสังเกต การสัมภาษณ์ การ
บันทกึ พฤติกรรม แบบสารวจความคดิ เห็น บันทึกจากผทู้ ี่เกย่ี วข้อง แฟมู สะสมงาน ฯลฯ
5 กาหนดเวลาและสถานท่ีท่ีจะประเมิน เช่น ประเมินระหว่างนักเรียนทา
กิจกรรม ระหว่างทางานกลุ่ม/โครงการ วันใดวนั หนึง่ ของสัปดาห์ เวลาว่าง/พักกลางวัน ฯลฯ
6 วิเคราะห์ผลและวิธีการจัดการข้อมูลการประเมิน เป็นการนาข้อมูลจากการ
ประเมินมาวิเคราะห์โดยระบุสิ่งที่วิเคราะห์ เช่น กระบวนการทางาน เอกสารจากแฟูมสะสม
งาน ฯลฯ รวมท้งั ระบุวิธกี ารบันทกึ ข้อมลู และวิธกี ารวิเคราะห์ข้อมูล
7 กาหนดเกณฑ์ในการประเมิน เป็นการกาหนดรายละเอียดในการให้คะแนน
ผลงานว่าผู้เรียนทาอะไร ได้สาเร็จหรือว่ามีระดับความสาเร็จในระดับใด คือ มีผลงานเป็น

64

อย่างไร การให้คะแนนอาจจะให้ในภาพรวมหรือแยกเป็นราย ให้สอดคล้องกับงานและ
จุดประสงคก์ ารเรียนรู้

สรุปได้ว่า การประเมินผลตามสภาพจริงเป็นขั้นตอนที่ครูผู้สอนและผู้เรียนร่วมกัน
กาหนดผลสัมฤทธ์ทิ ตี่ ้องการโดยวิเคราะหจ์ ากหลักสตู รกลาง หลักสูตรท้องถิ่นและความต้องการ
ของผู้เรียน มีแนวทางของงานที่ปฏิบัติ กาหนดกรอบและวิธีการประเมินร่วมกันระหว่างผู้
ประเมนิ และผู้ถกู ประเมนิ

2.6 พฤตกิ รรมของผู้เรยี น

ในสภาวะปจั จบุ ัน ปจั จัยแวดลอ้ มทางสังคมที่เปลี่ยนแปลง ส่งผลต่อการดาเนินชีวิต
มีผลทาใหค้ รอบครัวเกิดปญั หาโดยเฉพาะครอบครัวที่ตอ้ งรับผิดชอบเลย้ี งดสู มาชิกที่อยู่ในวัยเรียน
กาลังศึกษาในระดับมัธยมศึกษา พบว่า นักเรียนส่วนใหญ่มีปัญหาด้านระเบียบวินัยต่อตนเอง
และต่อสังคม ซึ่งเป็นสาเหตุสาคัญท่ีนาไปสู่ความผิดพลาดร้ายแรง ส่งผลต่อวิถีชีวิตในอนาคต
ซึ่งสถานศึกษากม็ สี ว่ นทาให้ผู้เรยี นขาดระเบียบวินัย ทั้งนี้เน่ืองจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ใน
ปจั จบุ นั มุ่งเนน้ การให้ความรทู้ างดา้ นวชิ าการ ซ่ึงสอดคล้องกับ อีริค ฟรอบน์ (1988) อ้างถึงใน
พระธรรมไตรปฎิ ก ((ป.อ. ปยตุ .โต), 2546) ทีก่ ลา่ ววา่ ในเวลาท่เี รามงุ่ สอนแต่วิชาความรู้เรากลับ
สูญเสยี การสอนอกี อยา่ งหนึง่ ซ่ึงเป็นสิง่ สาคัญทีส่ ุดตอ่ การพฒั นาการมนุษย์ น้ันก็คือ การสอนให้
มีวินยั ในตนเองมีความม่งุ ม่นั อดทนและไวต่อการรบั รใู้ นความตอ้ งการของผู้อื่น ซงึ่ การสอนเช่นน้ี
มเี พียงผูใ้ หญท่ ีม่ ีวฒุ ิภาวะ และมีความรัก ความเมตตา คอยอยู่ใกล้ชิดเด็กเท่าน้ันก็สามารถทา
ได้

อีกท้งั หนา้ ทส่ี าคญั ของการจัดการศึกษาคือการพัฒนาคนให้เป็นคนเก่ง คนดี และมี
ความสขุ ตามพระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแห่งชาติ พทุ ธศักราช 2542 กาหนดบทบาทให้โรงเรียนมี
การดูแลช่วยเหลือผู้เรียนอย่างใกล้ชิด เพื่อดูแลปูองกันและช่วยเหลือผู้เรียนที่อยู่ในความ
รบั ผดิ ชอบของสถานศกึ ษา (พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542) ซึ่งครูผู้สอน
รบั บทบาทหนกั ในการพัฒนาผู้เรียน โดยทาหน้าที่เป็นพ่อครู แม่ครู ดูแลพฤติกรรมผู้เรียนที่มี
ปัญหาในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของทุกรายวิชา ครูผู้สอนปัจจุบันต้องใช้เวลาในคาบช่ัวโมง
พัฒนาพฤติกรรมผู้เรียนเพ่ือตักเตือนผู้เรียนตลอดเวลา เป็นผลทาให้เสียเวลาของผู้เรียนท่ีมี
พฤติกรรมดีและเบ่ือหน่ายเพ่ือนๆ ท่ีไม่ปฏิบัติตนให้อยู่ในระเบียบกฏเกณฑ์ทางสังคม (สุภัทรา
ปกาสทิ ธิ์ และกุลยา พิสิษฐ์สังฆการ, 2551) ดังน้ัน ครูผู้สอนปัจจุบัน จาต้องนาหลักคุณธรรม
พื้นฐาน 8 ปราการ มาแก้ไขพัฒนาพฤติกรรมของผู้เรียน เพราะหัวใจของการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้เพ่ือแก้ไขพฤติกรรมของผู้เรียน คือ การที่ผู้เรียนได้สัมพันธ์และสัมผัสกับสรรพส่ิงท่ีอยู่

65

ภายในตัวเอง และรอบตัวผู้เรียนได้ฝึกคิด ฝึกทา ฝึกวัดและประเมิน ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้

ได้รับการฝึกหัดขัดเกลาท้ังกาย วาจา ใจ และได้เรียนรู้ในบรรยากาศที่ปลูกฝัง ปลุกเร้า

จนิ ตนาการ สร้างเสริมสุนทรยี ภาพ (กระทรวงศกึ ษาธิการ, 2546) ได้กล่าวถึงการจัดการเรียนรู้

ไว้วา่ การจดั การเรยี นร้ตู ามหลกั สตู รนอกจากจะมงุ่ ปลูกฝังดา้ นปัญญา พัฒนาการคิดของผู้เรียน

ใหม้ คี วามสามารถในการคิดสร้างสรรค์ คิดอย่างมีวิจารณญาณแล้ว ยังมุ่งพัฒนาความสามารถ

ทางอารมณ์ โดยการปลูกฝังให้ผู้เรียนเห็นคุณค่า เข้าใจตนเอง เห็นอกเห็นใจผู้อื่น สามารถ

แก้ปัญหาข้อขัดแย้งทางอารมณ์ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม การจัดการเรียนรู้เป็นงานที่ผู้บริหาร

สถานศึกษา จะต้องจัดปัจจัยสนับสนุนที่หลากหลายด้าน ต้ังแต่วัสดุครุภัณฑ์ อุปกรณ์ แบบ

พิมพ์ต่างๆ กระบวนการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมสอดคล้องกับหลักสูตร แผนการจัดการเรียนรู้

รวมทัง้ เทคนคิ กระบวนการจัดการเรียนร้ทู ่ที ันสมยั ตลอดจนการเตรียมความพร้อมด้านบุคลากร

การควบคุม กากบั ติดตาม การนิเทศการเรียนรู้ เพื่อให้ผเู้ รียนมีคุณสมบตั ิตามเจตนารมณ์ของ

หลกั สตู ร ดงั นน้ั การจดั การเรยี นรู้ตามแนวปฏริ ูปการศกึ ษาจึงเป็นสิ่งสาคญั ที่จะทาให้ผูเ้ รียนเกิด

การเรียนรู้ตามแนวทางที่ต้องการอย่างมีประสิทธิภาพ เมื่อผู้เรียนได้ผ่านกระบวนการอย่าง

ถูกต้องจะสง่ ผลใหผ้ ูเ้ รียนสามารถแสดงพฤติกรรมท่ีเปน็ คนเกง่ คนดี และมีความสุข รับผิดชอบ

ต่อตนเอง ครอบครวั สังคม และประเทศชาติต่อไป

ระบบการดูแลพัฒนาพฤติกรรมผู้เรียน เพื่อช่วยเหลือผู้เรียน เป็นกระบวนการ

ดาเนนิ การอยา่ งมขี ัน้ ตอนพร้อมด้วยวิธีการและเครื่องมือการทางานท่ีชัดเจน โดยมีครูที่ปรึกษา

เป็นบุคลากรหลักในการดาเนินการดังกล่าว และมีการประสานความร่วมมืออย่างใกล้ชิดกับ

ครูผู้สอนท่ีเกี่ยวข้อง รวมถึงผู้ปกครองหรือบุคคลภายนอก โดยหน้าที่หลักสถานศึกษาเป็น

ผู้บริหารจัดการ ส่ง เสริ มสนับสนุนทุก รูปแบบ ประ เวศ ว ะ สี (2 5 52 ) ก ล่าว ว่ า

กระบวนการพัฒนาพฤติกรรมผู้เรียนเป็นกระบวนการทางปัญญา ที่สามารถดาเนินงานตาม

ระบบการดแู ลชว่ ยเหลือนักเรียนท่ีแสดงในตารางตอ่ ไปนี้

ตารางที่ 1 ระบบการดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรียน

กระบวนการดาเนินงาน วธิ กี าร เครื่องมือ

1 การรจู้ กั นักเรยี นเป็น ศึกษาขอ้ มลู จาก 1 ระเบยี นสะสม

รายบุคคล 1 ระเบียนสะสม 2 แบบประเมินพฤตกิ รรมเด็ก

1.1 ดา้ นความสามารถ 2 แบบประเมินพฤติกรรมเดก็ (SDQ) หรือ

- การเรียน (SDQ) หรือ 3 อ่ืนๆ เช่น

- ความสามารถอ่นื ๆ 3 อน่ื ๆ เช่น - แบบประเมินความฉลาด

1.2 ดา้ นสขุ ภาพ - แบบประเมินความฉลาด ทางอารมณ์ (E.Q.)

- ร่างกาย ทางอารมณ์ (E.Q.) - แบบสมั ภาษณน์ ักเรยี น

66

- จติ ใจ พฤตกิ รรม - การสมั ภาษณ์นกั เรยี น - แบบสมั ภาษณผ์ ู้ปกครอง
1.3 ครอบครัว
- การสงั เกตพฤตกิ รรม และการเยยี่ มบา้ น
- ครอบครวั
- การคุ้มครองนักเรยี น นักเรยี น - แบบบันทึกการตรวจ
1.4 ดา้ นอ่นื ๆ
2 การคัดกรองนักเรียน - การเย่ยี มบ้านนกั เรียน สขุ ภาพดว้ ยตนเอง
2.1 กลุ่มปกติ
2.2 กล่มุ เส่ยี ง ฯลฯ ฯลฯ
2.3 กล่มุ มีปัญหา
วิเคราะห์ข้อมูลจาก 1 เกณฑก์ ารคัดกรองนกั เรยี น
3 การสง่ เสริมนักเรยี น
(สาหรบั กลมุ่ นกั เรียนทุกกลมุ่ ) 1 ระเบียนสะสม 2 แบบสรปุ ผลการคัดกรอง

กระบวนการดาเนนิ งาน 2 แบบประเมนิ พฤตกิ รรมเดก็ และช่วยเหลอื นกั เรียนเปน็

4 การปูองกนั และแก้ไขปญั หา (SDQ) หรอื 3 แหล่งข้อมูลอื่น รายบคุ คล
(จาเป็นอย่างมากสาหรับ
นักเรียนกลุม่ เสีย่ ง/มปี ัญหา) 3 แบบสรุปผลการคดั กรอง

นกั เรยี นเป็นหอ้ งเรยี น

จดั กจิ กรรมต่อไปนี้ 1 แนวทางการจัดกิจกรรม

1 กิจกรรมโฮมรูม โฮมรูมของโรงเรยี น

2 ประชมุ ผูป้ กครองชั้นเรียน 2 แนวทางการจัดกจิ กรรม

3 กจิ กรรมอนื่ ๆ ทคี่ รูพิจารณา ประชมุ ผปู้ กครองชัน้ เรียน

ว่าเหมาะสมในการสง่ เสรมิ 3 แบบบนั ทึก/สรุป

นักเรียนให้มีคณุ ภาพมากขึน้ ประเมินผล

วธิ ีการ เคร่อื งมือ

การดาเนินกิจกรรม

- โฮมรมู

- ประชุมผปู้ กครองชน้ั

เรยี น

- อื่นๆ

1 ให้การปรึกษาเบื้องตน้ 1 แนวทางการจัดกจิ กรรม

2 ประสานงานกับครแู ละ เพ่อื ปอู งกนั และแก้ไขปัญหา

ผู้เก่ียวข้องอื่นๆ เพื่อการจดั ของนกั เรยี น 5 กิจกรรม

กจิ กรรมสาหรับการปูองกัน 2 แบบบนั ทึกสรปุ ผลการคดั

และการช่วยเหลือแกไ้ ข กรองและช่วยเหลือนกั เรียน

ปญั หาของนกั เรยี น เปน็ รายบุคคล

2.1 กจิ กรรมในห้องเรียน 3 แบบบันทึกรายงานผลการ

2.2 กิจกรรมเสรมิ หลักสูตร ดแู ลช่วยเหลอื นักเรยี น

67

2.3 กจิ กรรมเพื่อนช่วย

เพือ่ น

2.4 กจิ กรรมซ่อมเสรมิ

2.5 กจิ กรรมสื่อสารกบั

ผปู้ กครอง

5 ส่งตอ่ 1 บนั ทึกการส่งนักเรียนไปยัง 1 แบบบนั ทกึ การสง่ ตอ่ ของ
5.1 สง่ ต่อภายใน
5.2 ส่งต่อภายนอก ครทู เี่ กี่ยวขอ้ งในการ โรงเรยี น

ชว่ ยเหลือนกั เรียนตอ่ ไป เช่น

ครูแนะแนว ฝาุ ยปกครอง

ครูประจารายวิชา ครู

พยาบาล เปน็ ตน้ ซงึ่ เป็น

การส่งต่อภายใน 2 แบบรายงานแจง้ ผลการ

2 บนั ทึกการส่งนักเรยี นไปยัง

ผ้เู ชยี่ วชาญภายนอกโดยครู ช่วยเหลอื นกั เรียน

แนะแนวหรือฝาุ ยปกครอง

เป็นผดู้ าเนนิ การ

สรุป องค์ประกอบของระบบการดูแลช่วยเหลือเพื่อพัฒนาพฤติกรรมผู้เรียน เป็น
กระบวนการดาเนินงานทม่ี อี งค์ประกอบสาคัญ 5 ประการ คอื

1 การรู้จกั ผู้เรยี นเป็นรายบุคคล
2 การคดั กรองผู้เรียน
3 การสง่ เสรมิ ผูเ้ รียน
4 การปอู งกันและแกไ้ ขปญั หา
5 การสง่ ตอ่
แตล่ ะองคป์ ระกอบของระบบการดแู ลช่วยเหลอื เพ่ือพัฒนาพฤติกรรมผู้เรียนดังกล่าว
มีความสาคญั มีวธิ ีการและเครื่องมือทีแ่ ตกตา่ งกันออกไป เพ่ือให้การขับเคล่ือนดังกล่าวมีความ
ชัดเจนเกิดประสิทธิภาพสูงสุด และสามารถนาไปสู่การปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม ประเวศ
วะสี (2552) กล่าวว่า การนาหลักคณุ ธรรมพนื้ ฐาน 8 ประการสอดแทรกในระหว่างการเรียนการ
สอนสามารถปรับเปล่ียนคุณลักษณะพฤติกรรมของคนได้ ดังนั้นเพื่อให้เกิดการซึมซับสู่การ
ปฏิบัติต้องกระตุ้นเตือนประจาอย่างต่อเนื่อง จนเกิดความสัมพันธ์เก่ียวเน่ืองกัน ซ่ึงจะเอื้อให้
การดูแลช่วยเหลอื พฒั นาพฤตกิ รรมผเู้ รียนมปี ระสิทธิภาพมากยงิ่ ข้ึน

68

ในการที่จะก่อให้เกิดการเสริมสร้างคุณธรรมอย่างบูรณาการให้แก่เด็กและเยาวชน
นอกจากผา่ นกระบวนการสังคมประกิตและการอบรม เล้ียงดภู ายในครอบครัวแลว้ ยงั ควรจัดให้
มีขึน้ ท่ีสถานศกึ ษา ซ่งึ เปน็ สถาบันทางสงั คมท่ีมีอิทธพิ ลอย่างสงู ตอ่ เด็กและเยาวชน และเพื่อการ
อยู่ร่วมกันดว้ ยความสมานฉนั ท์ ตามวิธีประชาธปิ ไตยโดยใชส้ นั ติวิธีในการแกป้ ัญหา และการยึด
หลักคุณธรรมเป็นพ้ืนฐานของกระบวนการเรียนรู้ สาหรับคุณธรรม (สานักงานเลขาธิการสภา
การศึกษา, 2550) ท่กี ระทรวงศกึ ษาธกิ ารมงุ่ เน้นปลกู ฝังนั้นมีท้งั หมด 8 ประการ อนั ได้แก่ ความ
ขยัน ประหยัด มีวินัย ซ่ือสัตย์ สุภาพ สะอาด สามัคคี และมีน้าใจ ซ่ึงเม่ือพิจารณา
คุณธรรมเหล่านี้แล้ว พบว่าสอดคล้องเป็นอย่างดีกับนิยามของคาว่า “คุณธรรม” ซึ่งให้ไว้โดย
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ซึง่ ระบุวา่ “คุณธรรม” หมายถงึ “สภาพคุณงาม
ความดีท่ีบุคคลมีอยู่” (ราชบัณฑิตยสถาน, 2546) แต่ทั้งนี้ เพ่ือให้ครูอาจารย์สามารถนาไป
ปลูกฝังเพ่ือพัฒนาพฤติกรรมผู้เรียนอย่างเป็นรูปธรรม ทั้ง 8 ประการ สามารถพิจารณาโดย
ละเอยี ดดังน้ี

1 ขยนั คอื ความตงั้ ใจเพยี รพยายามทาหนา้ ทกี่ ารงานอยา่ งตอ่ เนื่อง สม่าเสมอ
อดทนไม่ท้อถอยเมื่อพบอุปสรรค ความขยันต้องปฏิบัติควบคู่กับการใช้สติปัญญาแก้ปัญหาจน
เกดิ ผลสาเรจ็ ตามความมุ่งหมาย

คุณลักษณะเชงิ พฤตกิ รรม ผู้ท่ีมีความขยัน คือ ผู้ที่ตั้งใจอย่างจริงจังต่อเน่ืองใน
เรอื่ งทีถ่ กู ที่ควร ผ้ทู ่ีเปน็ คนสงู้ าน มีความพยายาม ไมท่ ้อถอย กล้าเผชิญอุปสรรค รักงานที่ทา
ต้ังใจทาหน้าที่อย่างจริงจงั

2 ประหยัด คือ การรู้จักเก็บออม ถนอมใช้ทรัพย์สิน สิ่งของแต่พอควร
พอประมาณ ใหเ้ กิดประโยชน์คุ้มค่า ไมฟ่ ุมเฟือย ฟุูงเฟูอ

คณุ ลักษณะเชิงพฤติกรรม ผทู้ ่ีมคี วามประหยัด คือ ผู้ท่ีดาเนินชีวิตความเป็นอยู่
ที่เรียบง่าย รู้จักฐานะการเงินของตน คิดก่อนใช้ คิดก่อนซ้ือ เก็บออม ถนอมใช้ทรัพย์สิน
สง่ิ ของอยา่ งคมุ้ คา่ ร้จู กั ทาบัญชีรายรับ - รายจา่ ยของตนเองอยู่เสมอ

3 ความซื่อสัตย์ คือ ประพฤติตรงไม่เอนเอียงไม่มีเล่ห์เหล่ียมมีความจริงใจ
ปลอดจากความร้สู ึกลาเอียงหรอื อคติ

คุณลักษณะเชิงพฤติกรรม ผู้ที่มีความซื่อสัตย์ คือ ผู้ที่มีความประพฤติตรงท้ัง
ต่อหนา้ ที่ ต่อวชิ าชีพ ตรงต่อเวลา ไม่ใช้เล่ห์กล คดโกงท้งั ทางตรงและทางอ้อม รับรู้หน้าท่ีของ
ตนเองและปฏบิ ัตอิ ยา่ งเต็มท่ถี กู ตอ้ ง

4 มีวินัย คือ การยึดมั่นในระเบียบแบบแผน ข้อบังคับและข้อปฏิบัติ ซึ่งมีท้ัง
วนิ ัยในตนเองและวนิ ัยตอ่ สงั คม

69

คุณลักษณะเชิงพฤติกรรม ผู้ท่ีมีวินัย คือ ผู้ท่ีปฏิบัติตนในขอบเขต กฎ
ระเบียบของสถานศกึ ษา สถาบนั /องคก์ ร/สังคมและประเทศ โดยที่ตนเองยินดีปฏิบัติตามอย่าง
เต็มใจและตง้ั ใจ

5 สุภาพ คือ เรียบร้อย อ่อนโยน ละมุนละม่อม มีกิริยามารยาทท่ีดีงาม มี
สมั มาคารวะ

คุณลักษณะเชิงพฤติกรรม ผู้ที่มีความสุภาพ คือ ผู้ที่อ่อนน้อมถ่อมตนตาม
สถานภาพและกาลเทศะ ไม่ก้าวรา้ ว รุนแรง วางอานาจข่มผู้อ่ืนท้ังโดยวาจาและท่าทาง แต่ใน
เวลาเดยี วกนั ยงั คงมีความม่ันใจในตนเอง เปน็ ผทู้ ม่ี ีมารยาท วางตนเหมาะสมตามวฒั นธรรมไทย

6 สะอาด คอื ปราศจากความมัวหมองทงั้ กาย ใจ และสภาพแวดล้อม ความ
ผอ่ งใสเป็นที่เจริญตาทาใหเ้ กิดความสบายใจแกผ่ ูพ้ บเห็น

คุณลักษณะเชิงพฤติกรรม ผู้ที่มีความสะอาด คือ ผู้รักษาร่างกาย ท่ีอยู่อาศัย
สง่ิ แวดลอ้ มถกู ต้องตามสุขลักษณะ ฝกึ ฝนจิตใจมิให้ขุน่ มัว จึงมคี วามแจ่มใสอยเู่ สมอ

7 สามัคคี คอื ความพร้อมเพรียงกัน ความกลมเกลียวกัน ความปรองดองกัน
ความร่วมใจกันปฏิบัติงานให้บรรลุผลตามท่ีต้องการเกิดงานอย่างสร้างสรรค์ ปราศจากการ
ทะเลาะวิวาท ไม่เอารัดเอาเปรียบกัน เป็นการยอมรับความมีเหตุผล ยอมรับความแตกต่าง
หลากหลายทางความคิด ความหลากหลายในเร่ืองเชื้อชาติ ความกลมเกลียวกันในลักษณะ
เช่นนเ้ี รยี กอีกอยา่ งวา่ ความสมานฉนั ท์

คุณลักษณะเชิงพฤติกรรม ผู้ที่มีความสามัคคี คือ ผู้ท่ีเปิดใจกว้างรับฟังความ
คิดเห็นของผู้อ่ืน รู้บทบาทของตนทั้งในฐานะผู้นาและผู้ตามท่ีดี มีความมุ่งมั่นต่อการรวมพลัง
ช่วยเหลือเก้ือกูลกันเพ่ือให้การงานสาเร็จลุล่วง แก้ปัญหาและขจัดความขัดแย้งได้ เป็นผู้มี
เหตุผล ยอมรับความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรม ความคิด ความเช่ือ พร้อมที่จะ
ปรับตวั เพื่ออย่รู ่วมกันอยา่ งสนั ติ

8 มีน้าใจ คือ ความจริงใจท่ีไม่เห็นแก่เพียงตัวเอง หรือเร่ืองของตัวเอง แต่
เห็นอกเห็นใจ เห็นคุณค่าในเพื่อนมนุษย์ มีความเอ้ืออาทรเอาใจใส่ ให้ความสนใจในความ
ตอ้ งการ ความจาเปน็ ความทุกข์สุขของผู้อื่น และพร้อมท่ีจะให้ความช่วยเหลือเก้ือกูลกันและ
กนั

คุณลักษณะเชิงพฤตกิ รรม ผูท้ ม่ี นี ้าใจ คอื ผใู้ หแ้ ละผู้อาสาช่วยเหลือสังคม รู้จัก
แบ่งปัน เสียสละความสุขส่วนตัว เพ่ือทาประโยชน์แก่ผู้อ่ืน เข้าใจเห็นใจผู้ท่ีมีความเดือดร้อน
อาสาช่วยเหลือสังคมด้วยแรงกาย สติปัญญา ลงมือปฏิบัติการเพื่อบรรเทาปัญหาหรือร่วม
สร้างสรรคส์ ิง่ ดงี ามให้เกดิ ข้นึ ในชมุ ชน

70

สรปุ ไดว้ า่ คณุ ธรรม 8 ประการ เป็นการปลกู ฝงั ให้ผเู้ รยี นมีคุณธรรมประจาใจ รู้จัก
คิดเป็น ทาเปน็ และแกป้ ัญหาเปน็ ครูผู้สอนเสริมสร้างปลูกฝังในกิจกรรมการเรียนรู้ทุกๆ ด้าน
ไม่ว่าจะเป็นการบรรยาย เล่านิทาน หรือฝึกประสบการณ์ขณะร่วมกันทากิจกรรมระหว่าง
กิจกรรมการเรียนรู้ในช้นั เรียน เชน่ การเล่านิทานเพื่อเปน็ การนาเขา้ สู่บทเรียน เป็นต้น

ระบบการดูแลพัฒนาพฤติกรรมผู้เรียน เพ่ือช่วยเหลือผู้เรียน เป็นกระบวนการ
ดาเนนิ การอย่างมีขัน้ ตอนพรอ้ มดว้ ยวิธีการและเคร่ืองมือการทางานที่ชัดเจน โดยมีครูที่ปรึกษา
เป็นบุคลากรหลักในการดาเนินการดังกล่าว และมีการประสานความร่วมมืออย่างใกล้ชิดกับ
ครูผู้สอนที่เกี่ยวข้อง รวมถึงผู้ปกครองหรือบุคคลภายนอก โดยหน้าท่ีหลักสถานศึก ษาเป็น
ผูบ้ รหิ ารจัดการสง่ เสริมสนับสนุนทุกรูปแบบ

เอกสารอ้างองิ
กรมวิชาการ. (2548). แนวการจดั ทาหน่วยการเรียนรู้แบบบรู ณาการ ตามหลักสูตร

การศึกษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2544. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พค์ รุ สุ ภาลาดพร้าว.
กรมวชิ าการ กระทรวงศกึ ษาธิการ. (2545). แนวทางการวัดและประเมนิ ผลการเรียน.

กรุงเทพฯ : โรงพิมพค์ ุรุสภาลาดพร้าว.
กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2546). คู่มอื การบริหารสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐานท่ีเปน็ นิติบคุ คล.

กรุงเทพฯ : องคก์ ารรับสง่ สนิ ค้าและพสั ดภุ ัณฑ.์
กระทรวงศึกษาธิการ. (2547). เอกสารสาระการเรียนรูผ้ ปู้ ระกอบชุดวชิ าการพัฒนาการ

บรหิ ารสถาบนั การศึกษา. (พมิ พ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : สานักงานคณะกรรมการ
การอดุ มศึกษา.
กลุ ดิ า ทัศนพทิ ักษ.์ (2546). การศกึ ษาความสัมพนั ธ์ระหว่างปัจจัยด้านครูผู้สอนกบั ความรู้
เกี่ยวกับการจดั การสอนที่เนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั ของครใู นกลุ่มกรงุ ธนเหนอื สงั กัด
กรงุ เทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลยั รามคาแหง.
ชนาธิป พรกุล. (2545). คลี่พระราชบญั ญตั ฯิ : จัดการเรยี นการสอนการสร้างความรู้
ด้วยตนเอง. วารสารวิชาการ, 4(10), 15 - 18.
ชัยวฒั น์ สุทธิรัตน์. (2553). สอนประวตั ิศาสตร์ ใหเ้ ด็กมคี วามสขุ สนกุ คิด. (พมิ พค์ รัง้ ท่ี 2).
นนทบุรี : สหมิตรพริ้นต้ิงแอนด์พับลิสชงิ่ .
ทศิ นา แขมมณี. (2545). ศาสตร์การสอน : องคค์ วามรเู้ พอ่ื การจัดกระบวนการเรียนร้ทู ม่ี ี
ประสทิ ธภิ าพ. (พิมพ์ครั้งท่ี 2). กรุงเทพฯ : ดา่ นสทุ ธาการพมิ พ.์

71

ทิศนา แขมมณี. (2548). ศาสตรก์ ารสอน : องค์ความรู้เพอ่ื การจัดกระบวนการเรยี นรู้ท่มี ี
ประสิทธิภาพ. (พิมพ์คร้งั ที่ 4). กรุงเทพฯ : โรงพิมพแ์ ห่งมหาจฬุ าลงกรณ์
มหาวทิ ยาลยั .

ทศิ นา แขมมณี. (2550). ศาสตร์การสอน : องคค์ วามรู้เพ่อื การจดั กระบวนการเรยี นร้ทู มี่ ี
ประสิทธภิ าพ. (พมิ พ์คร้งั ที่ 5). กรุงเทพฯ : ด่านสทุ ธาการพิมพ์.

ธนบดี บัวใหญร่ กั ษา. (2550). แนวทางการพัฒนาครใู นการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี นน้
ผ้เู รียนเปน็ สาคัญ : กรณีศึกษาโรงเรียนบ้านสวนหอ้ มผางาม สังกัดสานักงานเขต
พนื้ ที่การศกึ ษา เลย เขต 2. ปรญิ ญาครุศาสตรมหาบัณฑติ สาขาการบรหิ าร
การศึกษา มหาวิทยาลยั ราชภฏั เลย.

ธารง บวั ศร.ี (2543). กระบวนการเรียนการสอนทเี่ น้นผเู้ รียนเปน็ ศนู ย์กลาง.
วารสารวิชาการ, 3(5), 17 - 22.

ธีระ รุญเจริญ. (2545). การบริหารเพอื่ การปฏริ ูปการเรยี นร.ู้ กรุงเทพฯ : บริษัทเยลโล่
การพิมพ์.

นวลจติ ต์ เชาวกีรตพิ งศ์. (2545). การจดั การเรียนการสอนท่เี นน้ ผู้เรียนเป็นสาคญั .
กรุงเทพฯ : สานกั งานปฏริ ูปการศกึ ษา.

นาวี ทรพั ย์ห่วง. (2548). พฤติกรรมการบรหิ ารการจัดการเรียนรโู้ ดยเน้นผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ
ของผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา ระดับมัธยมศกึ ษา ในจงั หวดั นนทบรุ ี. วิทยานพิ นธ์
ปรญิ ญามหาบัณฑติ มหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช.

นา้ เพชร สินทอง. (2541). การศึกษาเปรยี บเทยี บผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นและความวิตก
กังวลระหวา่ งการอบรมเลยี้ งดูแบบเขม้ งวดกวดขัน แบบมเี หตผุ ลและแบบปลอ่ ย
ปละละเลย ของนักเรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 โรงเรียนสวนกหุ ลาบวทิ ยาลัย
นนทบุรี ปีการศึกษาปีท่ี 2541. วทิ ยานพิ นธ์ศกึ ษาศาสตรมหาบณั ฑติ
มหาวทิ ยาลัยรามคาแหง.

นชุ วนา เหลืององั กรู . (2545). การจดั การเรยี นการสอนตามแนวปฏริ ปู การศึกษา.
วารสารวชิ าการ. 5(10) : 11; ตุลาคม.

บันเทงิ จนั ทรน์ ิเวศน์. (2547). สภาพและปัญหาในการจดั การศึกษาโดยเน้นนกั เรยี นเป็น
สาคัญของโรงเรียน มัธยมศกึ ษา สังกดั กรมสามัญศกึ ษาในเขตกรุงเทพมหานคร.
กรุงเทพฯ.

บุญชม ศรสี ะอาด. (2543). การวิจยั เบอ้ื งต้น. พิมพ์ครง้ั ท่ี 6. กรุงเทพฯ : สุวรี ิยาสาส์น.
บรู ชัย ศริ ิมหาสาคร. (2545). การศกึ ษาทเ่ี นน้ มนุษย์เปน็ ศนู ยก์ ลางพฒั นา. (พมิ พ์คร้งั ที่ 1).

กรุงเทพฯ : บรษิ ัท บุค๊ พอยท์ จากัด.

72

ประยูร อาษานาม. (2544). ค่มู ือวิจัยทางการศึกษา. (พิมพ์คร้งั ที่ 4). ขอนแกน่ : คณะศกึ ษา
ศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ .

ประเวศ วะสี. (2552). จิตตปัญญาศึกษา. คน้ เมือ่ วันท่ี 27 มี.ค. 2555 จาก
http://www.ce.mahidol.ac.th /

ปราณี กองจินดา. (2549). การเปรยี บเทยี บผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตรแ์ ละทกั ษะ
การคิดเลขในใจของนักเรยี นท่ีไดร้ บั การสอนตามรูปแบบซิปปาโดยใช้แบบฝกึ หดั
ที่เน้นทกั ษะการคิดเลขในใจกับนักเรยี นท่ีได้รับการสอนโดยใช้คมู่ อื ครู.
วทิ ยานิพนธ์ ค.ม. (หลกั สูตรและการสอน). พระนครศรอี ยธุ ยา : บัณฑติ วิทยาลยั
มหาวิทยาลยั ราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.

ปริยทิพย์ บญุ คง. (2546). การศกึ ษาปจั จยั บางประการทีส่ ัมพนั ธก์ บั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น
วิชาคณิตศาสตรข์ องนักเรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 1. ปริญญานพิ นธ์การศึกษา
มหาบัณฑิต สาขาวชิ าการวิจยั และสถิตทิ างการศึกษา บัณฑติ วิทยาลยั
มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวิโรฒ.

ปรยี าพร วงศ์อนตุ รโรจน.์ (2546). การบริหารงานวชิ าการ. (พมิ พ์คร้ังที่ 3). กรงุ เทพฯ :
พิมพ์ดี.

พระธรรมไตรปฎิ ก (ป.อ. ปยตุ . โต.). (2546). วินัยเรอื่ งใหญ่กวา่ ทค่ี ิด. (พมิ พค์ รงั้ ท่ี 4).
กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์คุรุสภาลาดพรา้ ว.

พิชติ ฤทธิ์จรญู . (2544). หลักการวัดและประเมินผลการศกึ ษา. พระนครศรีอยุธยา :
คณะครุศาสตร์ สถาบันราชภัฏพระนคร.

พิชิต ฤทธจ์ิ รูญ. (2545). หลักการวัดและประเมนิ ผลการศึกษา. กรุงเทพฯ :
เฮาส์ ออฟ เดอร์มิส.

พพิ ัฒน์ พสุธารชาต.ิ (2547). ไวลดเ์ ซน็ เตอร์ : สานวนซ้าซากของการศึกษาไทย. กรงุ เทพฯ
: ศยาม.

พมิ พนั ธ์ เดชะคุปต.์ (2545). การเรียนการสอนทเี่ น้นผเู้ รียนเปน็ สาคัญ แนวคดิ วิธแี ละ
เทคนิคการสอน 2. กรุงเทพฯ : เดอะมาสเตอร์กรุ๊ป.

พมิ พนั ธ์ เดชะคุปต.์ (2548). การเรียนการสอนท่ีเนน้ ผู้เรียนเปน็ ศูนยก์ ลาง. กรงุ เทพฯ :
เดอะมาสเตอรก์ รุ๊ป แมเนจเม็นท.์

พิมพนั ธ์ เดชะคุปต์ และพเยาว์ ยนิ ดสี ขุ . (2548). ทักษะ 5C เพอ่ื การพัฒนาหนว่ ยการ
เรยี นรูแ้ ละการจัดการเรยี นการสอนแบบบรู ณาการ. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์
แหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

73

พุทธชาด ทองกร. (2546). การศกึ ษาการดาเนินการในการจดั การเรียนรู้ทเ่ี น้นผเู้ รียนเป็น
สาคัญของโรงเรียนมธั ยมศึกษา สงั กัดสานักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษา
กรงุ เทพมหานคร เขต 1. วิทยานิพนธป์ ริญญามหาบัณฑิต จฬุ าลงกรณ์
มหาวิทยาลยั .

เมธาวี อุดมธรรมานุภาพ, รัตนา ประเสรฐิ สม และเรยี ม ศรที อง. (2544). พฤติกรรมมนุษย์
กับการพฒั นาตน. กรงุ เทพมหานคร : สถาบันราชภัฏสวนดสุ ิต.

ยรุ ีย์ วรวชิ ัยยันต์ และคณะ. (2548). รายงานการวิจัยการศึกษารูปแบบการจดั การเรียนการ
สอนท่ีเน้นผเู้ รียนเป็นสาคัญในวิชาสถิติ 1. ปทมุ ธานี : คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี.

เยาวดี วิบูลย์ศร.ี (2548). การวดั ผลและการสรา้ งแบบสอบผลสมั ฤทธ์.ิ กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์
แหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย.

รววี รรณ โพธ์วิ งั , นงเยาว์ ภแู่ ก้ว, อาพร จิตรใจ และบรู ชัย ศิรมิ หาสาคร. (2548). หลักการ
จัดการศึกษายคุ ใหม่. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ครุ สุ ภาลาดพร้าว.

ราชบัณฑติ ยสถาน. (2546). พจนานกุ รม ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ :
นานมีบุ๊คพบั ลิเคชน่ั จากัด.

รุ่ง แก้วแดง. (2546). โรงเรยี นนิติบุคคล. กรงุ เทพฯ : ไทยวฒั นาพานชิ .
ลว้ น สายยศ และองั คณา สายยศ. (2538). การหาคา่ ความเช่ือมั่นของแบบสอบถามโดยหา

คา่ สัมประสทิ ธิแ์ อลฟา่ (Coefficient) ของครอนบาค (Cronbach). กรงุ เทพฯ :
สวุ รี ยิ าสาส์น.
ล้วน สายยศ และองั คณา สายยศ. (2538). การวัดดา้ นจิตพิสัย. กรงุ เทพฯ : สุวรี ยิ าสาสน์ .
ลักขณา เหลืองวิรยิ แสง. (2549). การศึกษาความสมั พนั ธร์ ะหว่างการพัฒนาครูกับความ
พร้อมของครูในการสอนโดยยึดผเู้ รียนเปน็ สาคัญของโรงเรียนประถมศึกษา
สังกดั สานักงาน เขตบางขุนเทยี น กรงุ เทพมหานคร. วทิ ยานพิ นธ์ การศึกษา
มหาบัณฑติ สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั ราชภัฏ
สวนดุสิต.
วรภทั ร์ ภู่เจริญ. (2546). การบริหารการเรยี นรู้ทีย่ ดึ ผู้เรียนเป็นสาคัญ. (พมิ พค์ ร้งั ท่ี 5).
กรงุ เทพฯ : ส.เอเซียเพลส.
วัฒนาพร ระงบั ทุกข.์ (2542). แผนการสอนที่เน้นผู้เรียนเปน็ ศนู ย์กลาง. (พิมพค์ รง้ั ที่ 2).
กรุงเทพฯ : โรงพิมพแ์ อล ที เพลส.
วฒั นาพร ระงับทุกข์. (2545). เทคนคิ และกิจกรรมการเรียนรทู้ ี่เน้นผ้เู รยี นเปน็ สาคญั ตาม
หลกั สูตรการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พ.ศ. 2544. กรุงเทพฯ : พรกิ หวานกราฟฟคิ .

74

ศิริชยั กาญจนวาสี. (2544). ทฤษฎกี ารทดสอบแบบด้งั เดมิ . (พมิ พค์ รงั้ ที่ 4). กรุงเทพฯ :
คณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย.

ศิริชยั กาญจนวาสี. (2545). “การประเมนิ การเรยี นร้ทู ี่เนน้ ผู้เรียนเปน็ ศูนย์กลาง”. ใน
ประมวลบทความนวัตกรรมเพอ่ื การเรียนรู้ 2 สาหรบั ครยู ุคปฏริ ูปการศึกษา 2545.
กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั .

ศุภลักษณ์ จริ ธนรัตน์. (2550). การศึกษาสภาพการจดั การเรียนรู้ตามหลกั สูตรการศึกษาขน้ั
พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2544 โรงเรยี นบางเมืองเขียนผ่องอนุสรณ์ สังกดั สานักงาน
เขตพนื้ ทกี่ ารศึกษา สมุทรปราการ เขต 1. วิทยานพิ นธ์ ครุศาสตรบ์ ัณฑิต สาขา
การบริหารการศึกษา วิทยาลยั ราชภัฏบา้ นสมเด็จ.

สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย.ี (2549). การวดั และประเมนิ ผลวิชา
วิทยาศาสตร.์ กรงุ เทพฯ : สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย.ี

สมนกึ นนทิจันทร์. (2545). การเรยี นการสอน การวดั และประเมินผลจากสภาพจรงิ ของ
ผ้เู รียนโดยใช้แฟม้ สะสมงาน. (พิมพ์คร้งั ท่ี 3). กรงุ เทพฯ : ไทยวัฒนาพานชิ .

สมบัติ ยศปญั ญา. (2552). แนวทางการพัฒนาการจดั การเรยี นรู้ที่เน้นผ้เู รยี นเปน็ สาคัญใน
โรงเรียนสังกัดสานักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาเลย เขต 1. ปรญิ ญาครศุ าสตร์
มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.

สมบูรณ์ ตนั ยะ. (2545). การประเมินทางการศึกษา. กรงุ เทพฯ : สวุ รี ยิ าสาสน์ .
สมพร เชอื้ พนั ธ์. (2547). การเปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นคณิตศาสตร์ของนกั เรยี น

ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 โดยใช้วธิ กี ารจัดการเรยี นการสอนแบบสรา้ งองคค์ วามรู้
ด้วยตนเองกบั การจัดการเรียนการสอนตามปกติ. วทิ ยานพิ นธ์ บณั ฑิตวทิ ยาลยั
สถาบันราชภฏั พระนครศรีอยุธยา.
สมศกั ดิ์ สนิ ธรุ ะเวชญ.์ (2545). สร้างความเขา้ ใจ สูก่ ารปฏบิ ัติจริง : การวดั และประเมนิ การ
เรยี นร้.ู กรงุ เทพฯ : วัฒนาพานชิ .
สานกั งานคณะกรรมการการประถมศกึ ษาแหง่ ชาติ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2540). การวดั และ
ประเมนิ ผลสภาพแทจ้ ริงของนกั เรยี น. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ครุ ุสภาลาดพรา้ ว.
สานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหง่ ชาติ กระทรวงศึกษาธิการ. (2542). โครงการ
อบรมครูผู้สอนกลุ่มคณะกรรมการการประถมศกึ ษาแห่งชาติ (วิทยาศาสตร์) และ
ครปู ระจาหอ้ งปฏบิ ัตกิ ารทางวทิ ยาศาสตร์. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พก์ ารศาสนา.
สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาแห่งชาติ. (2542). ปฏิรูปการเรียนรู้ผูเ้ รยี นสาคัญทส่ี ดุ .
กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ครุ ุสภาลาดพร้าว.
สานกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา. (2547). รายงาน “การสังเคราะห์รปู แบบการจัด

75

กระบวนการเรยี นรขู้ องครูตน้ แบบ” สรุปรปู แบบการจดั กระบวนการเรียนรตู้ าม
พระราชบญั ญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ : สานักงานเลขาธิการ
สภาการศกึ ษา.
สานกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา. (2550). การวจิ ัยทางการศกึ ษาระดับชาติ ครัง้ ที่ 12 :
การประชมุ ทางวิชาการ 15 - 16 พฤศจิกายน 2550 ณ โรงแรมแอมบาส
เดอร.์ กรุงเทพมหานคร : สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.
สาเรงิ บุญเรอื งรัตน์. (2540). เทคนคิ การวเิ คราะหต์ ัวแปรพหุคูณ. (ครั้งที่ 2). กรงุ เทพฯ :
ตน้ ออ้ แกรมม.่ี
สริ ิพร ทพิ ยค์ ง. (2545). หลกั สตู รและการสอนคณิตศาสตร.์ กรงุ เทพฯ : พฒั นาคุณภาพ
วิชาการ (พว.).
สกุ รี เจริญสุข และคณะ. (2545). ทฤษฎกี ารเรยี นรเู้ พอ่ื พัฒนาสุนทรียภาพและลกั ษณะทดี่ ี :
ศิลปะดนตรี กีฬา. กรงุ เทพมหานคร : วัฒนาพานชิ .
สคุ นธ์ สินธพานนท์ และคณะ. (2545). การจัดกระบวนการเรียนรู้ : เน้นผู้เรียนเปน็ สาคญั .
กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์.
สุทธภา บุญแซม. (2553). การศกึ ษาความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณและ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวชิ าฟิสกิ ส์ หนว่ ยการเรยี นรู้ เร่ือง คลน่ื แม่เหล็กไฟฟ้า
ของนกั เรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้การสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (7E).
วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรม์ หาบัณฑติ สาขาวิชาหลกั สตู รและการสอน มหาวิทยาลยั
ราชภฏั นครราชสมี า.
สุทธพิ ร คลา้ ยเมอื งปัก. (2543). บทบาทของครกู ับรปู แบบการเรียนการสอนท่ีเปล่ยี นไป.
วารสารวิชาการ, 3(2), 26 - 29.
สุพล อินเดยี . (2552). การพฒั นากิจกรรมการเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคญั ในกลมุ่
สาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 5 เรือ่ ง ทศนยิ ม โดยใช้
รปู แบบซิปปา. ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยและประเมนิ ผล
การศกึ ษา มหาวิทยาลัยราชภฏั เลย.
สภุ รณ์ สถาพงศ.์ (2545). การเรียนรูท้ เี่ นน้ ผู้เรียนเปน็ สาคัญ. วารสารวิชาการ. 5(9) : 31 –
34.
สุภทั รา ปกาสิทธิ์ และกลุ ยา พิสิษฐ์สังฆการ. (2551). การศึกษาเปรียบเทียบปัจจยั ส่วน
บุคคลครอบครัว และสังคมของวยั รนุ่ ชายทกี่ ระทาผดิ คร้งั แรก วัยรนุ่ ชายท่ี
กระทาผิดซ้า และวัยรุ่นชายทัว่ ไป. วิทยานพิ นธ์ สาขาวิชาจิตวิทยาพฒั นาการ
คณะจิตวทิ ยา จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั .

76

สุรางค์ โค้วตระกลู . (2550). จิตวิทยาการศกึ ษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพแ์ หง่ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.

สุวัฒน์ ศรีจนั ทวงศ์. (2550). แนวทางการพัฒนาการจดั การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเปน็
สาคญั กรณีศึกษา : โรงเรียนบ้านนาแปน สังกัดสานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษา
เลย เขต 2. ปริญญาครศุ าสตรมหาบณั ฑิต สาขาการบริหารการศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.

สุวมิ ล วอ่ งวานิช. (2546). การประเมินผลการเรยี นรู้แนวใหม่. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พแ์ ห่ง
จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั .

อดศิ ร ประเสริฐสงั ข.์ (2551). เอกสารประกอบการอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการการจัดกิจกรรมการ
เรียนรูท้ ี่เนน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคัญ (ออนไลน)์ . เข้าถงึ ไดจ้ าก :
http//pipat280.multiply.com /journal/tem/8.

อนวุ ตั ิ คณู แก้ว. (2548). หลกั การวัดและประเมนิ ผลทางการศึกษา. เอกสารสาเนา.
อรณุ ใจปานแกน่ . (2550). แนวทางการพฒั นาการบริหารการจัดการเรยี นรู้ที่เน้นผู้เรยี นเปน็

สาคัญแบบบรู ณาการ กรณีศกึ ษา : โรงเรียนบ้านวงั หินซา สังกัดสานักงานเขต
พ้นื ทก่ี ารศึกษาหนองบวั ลาภู เขต 2. ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการ
บรหิ ารการศกึ ษา มหาวิทยาลยั ราชภัฏเลย.
อาภรณ์ ใจเทีย่ ง. (2546). หลักการสอน (ฉบับปรบั ปรงุ ). (พมิ พ์ครัง้ ที่ 3). กรงุ เทพฯ : ท.ี
พี.พร้ิน.
เอกรนิ ทร์ สี่มหาศาล และสปุ รารถนา ยกุ ตะนันท.์ (2546). การออกแบบเครอื่ งมอื วัดและ
ประเมนิ . กรุงเทพฯ : บ๊คุ พอยท.์
Bloom, B. S. (1976). Human Characteristics and School Learning. New York :
McGraw - Hill.
Guskey, t. R. (2000). Evaluating Professional Developement. (Thousand Oaks,
Ca, Corwin Press).


Click to View FlipBook Version