The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการวิจัย “แนวทางการบริหารจัดการการเงินชุมชน โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงบ้านสันป่าส้าน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by acroniss3435, 2022-10-11 23:58:22

โครงการวิจัย “แนวทางการบริหารจัดการการเงินชุมชน โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงบ้านสันป่าส้าน

โครงการวิจัย “แนวทางการบริหารจัดการการเงินชุมชน โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงบ้านสันป่าส้าน

รายงานฉบบั สมบรู ณ์

โครงการวจิ ยั

“แนวทางการบริหารจัดการการเงนิ ชุมชน โดยยึดหลกั ปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงบ้านสันป่าสา้ น หมูท่ ี่ 12 ตาบลหว้ ยแก้ว
อาเภอภูกามยาว จังหวดั พะเยา”

โดย

นางวารณี วิชยั ศิริ นายประเสรฐิ รูปศรีและคณะ

เมษายน 2561

สญั ญาเลขท่ี RDG59N0045

รายงานฉบบั สมบูรณ์

โครงการ “แนวทางการบริหารจัดการการเงินชุมชน โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
บ้านสันป่าส้าน หมู่ที่ 12 ตาบลห้วยแก้ว อาเภอภูกามยาว จังหวัดพะเยา”

รายงานฉบับสมบูรณ์ ตั้งแต่ วนั ท่ี 1 พฤษภาคม 2559 – 30 พฤศจิกายน 2560

คณะผวู้ ิจัย บทบาทในทีม บทบาทในชุมชน
ช่ือ – นามสกุล

1. นางวารณี วิชัยศิริ หัวหน้าโครงการวิจัย ผอู้ านวยการกศน.อาเภอภูกามยาว
หวั หน้าโครงการวจิ ยั ผนู้ ากองทนุ การเงินชุมชนบ้านสันปา่ ส้าน
2. นายประเสรฐิ รูปศรี นกั วจิ ัย ครูกศน.ตาบล
นักวิจัย ครกู ศน.ตาบล
3. นางสาวทตั พิชา เวยี งลอ นักวจิ ยั ครอู าสาฯ
นกั วจิ ัย ครกู ศน.ตาบล
4. นางผอ่ งศรี เขมิ ขนั ธ์ นกั วจิ ยั ครศู นู ยก์ ารเรียนชมุ ชน
นกั วจิ ยั ครผู สู้ อนคนพิการ
5. นางสาวธญั สนิ ี สิงหแ์ กว้ นกั วิจยั บรรณารกั ษอ์ ัตราจ้าง
นกั วิจยั ผนู้ าชมุ ชนบ้านสันปา้ ส้าน
6. นางสาวสายสดุ า เผา่ ฟู นกั วิจยั ส.อบต.บ้านสันปา่ สา้ น
นักวจิ ัย กรรมการหมู่บ้าน
7. นายวชริ านุวัฒน์ พฒั ใหม่ นักวิจยั ผู้ชว่ ยผใู้ หญ่บา้ น
นกั วจิ ัย กรรมการหมู่บา้ น
8. นายทศพล วงศล์ อดแก้ว นกั วจิ ัย กรรมการหม่บู ้าน
นกั วิจยั กรรมการหมู่บา้ น
9. นางสาวชญั ญาภัค ดูการดี

10. นายสราวุธ ก้อนคา

11. นายพิเชษฐ์ สงิ หแ์ กว้

12. นายสราวุธ งอนจตรุ ัส

13. นายสะอาด กอ้ นคา

14. นางยพุ ิน ก้อนคา

15. นางสาวจนั ทกานต์ กอ้ นคา

16. นางอรุณ วงศ์มา

ทป่ี รกึ ษาทีมวิจัย

1. ผศ.มงคลกิตติ์ โวหารเสาวภาคย์ ผู้อานวยการศูนยว์ จิ ัยพุทธศาสตร์ผญ๋าพยาว มจร.วิทยา
เขตพะเยา
2. นายชยั วชิ ัยศรี อาจารย์คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์
. สาขาบญั ชีมหาวิทยาลยั พะเยา



บอกเลา่ เพ่อื ความเข้าใจร่วมกัน

งานวิจัยเพ่ือท้องถิ่นเป็นกระบวนการที่คนในชุมชน ได้มาร่วมคิดทบทวนสถานการณ์ ตั้งคาถาม
วางแผน หาข้อมลู ทดลองทา วเิ คราะห์ สรุปผลการทางานและหาคาตอบเพ่ือปรับปรุงงานต่อไป” กล่าวคือ
งานวจิ ัยเพอื่ ทอ้ งถ่ินเป็นเครื่องมือหนง่ึ ท่ีเน้นการให้ “คน” ในชุมชนเข้ามาร่วมในกระบวนการวิจัย ตั้งแต่การ
เริ่มคิด การตั้งคาถาม การวางแผน และค้นหาคาตอบอย่างเป็นระบบเป็นรูปธรรม โดยเรียนรู้จากการ
ปฏิบัติการจริง (Action Research) อันทาให้ชุมชนได้เรียนรู้ สร้างผลงาน มีความเก่งขึ้นในการแก้ปัญหา
ของตนเอง และสามารถใชก้ ระบวนการนใี้ นการแก้ไขปัญหาอื่นๆ ในท้องถ่ิน โดยมีกระบวนการศึกษาเรียนรู้
อย่างเป็นเหตุเป็นผล ดังนั้นจุดเน้นของงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น จึงอยู่ที่ “กระบวนการ” มากกว่า “ผลลัพธ์”
เพื่อใหช้ าวบา้ นไดป้ ระโยชน์จากงานวจิ ัยโดยตรง และให้งานวิจัยมีส่วนในการแก้ปัญหาของชาวบ้าน รวมท้ัง
เกิดการเปล่ียนแปลงข้ึนจริงในชุมชน ซึ่งจะต้องอาศัย “เวที” (การประชุม เสวนา พูดคุยถกเถียง) เป็น
วิธีการเพื่อให้คนในชุมชน ทั้งชาวบ้าน ครู นักพัฒนา สมาชิกอบต. กรรมการสหกรณ์ ข้าราชการ หรือกลุ่ม
คนอื่นๆ เขา้ มาร่วมหา รว่ มใช้ “ปญั ญา” ในกระบวนการวิจยั

“กระบวนการวิจัยเพื่อท้องถิ่น” หมายถึง การทางานอย่างเป็นขั้นตอน เพ่ือตอบ “คำถำม”
หรือ “ควำมสงสัย” บางอย่าง ดังนั้นส่ิงสาคัญคือประเด็น “คาถาม” ต้องคมชัด โดยมีการแยกแยะ
ประเด็นว่า ข้อสงสัยอยู่ตรงไหน มีการหา “ข้อมูล” ก่อนทา มีการวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือของข้อมูล มี
การ “วำงแผน” การทางานบนฐานข้อมูลที่มีอยู่ และในระหวา่ งลงมอื ทามีการ “บันทึก” มีการ “ทบทวน”
ความก้าวหน้า “วิเครำะห์” ความสาเร็จและอุปสรรคอย่างสม่าเสมอ เพ่ือ “ถอด” กระบวนการเรียนรู้ที่
เกดิ ขึน้ ออกมาให้ชดั เจน ในที่สุดกจ็ ะสามารถ “สรปุ บทเรยี น” ตอบคาถามท่ีตั้งไว้แล้วอาจจะทาใหม่ให้ดีข้ึน
ตลอดจนสามารถนาไปใช้เปน็ บทเรียนสาหรับเร่ืองอ่ืนๆ หรือพ้ืนท่ีอื่นๆ ต่อไป ซึ่งทั้งหมดนี้กระทาโดย “ผู้ท่ี
สงสัย” ซ่ึงเป็นคนในท้องถิ่นน่ันเอง ดังนั้นกระบวนการงานวิจัยเพ่ือท้องถ่ินจึงเป็นงานวิจัยอีกแบบหน่ึงที่ไม่
ยดึ ตดิ กบั ระเบยี บแบบแผนทางวชิ าการมากนัก แตเ่ ป็นการสร้างความรู้ในตัวคนท้องถิ่น โดยคนท้องถ่ิน เพ่ือ
คนทอ้ งถิ่น โดยมุ่งแก้ไขปัญหาด้วยการทดลองทาจริง และมีการบันทึกและวิเคราะห์อย่างเป็นระเบียบ การ
วิจัยแบบน้ีจึงไม่ใช่เครื่องมือทางวิชาการ ไม่ใช่ของศักดิ์สิทธ์ิที่ผูกขาดอยู่กับครูบาอาจารย์ แต่เป็นเคร่ืองมือ
ธรรมดาท่ีชาวบ้านกใ็ ชเ้ ป็นประโยชนใ์ นชวี ติ ประจาวนั ได้

สกว.ฝ่ายวิจัยเพื่อท้องถ่ินได้ใช้วิธีการสนับสนุนงานวิจัยเพ่ือท้องถิ่น ตามแนวคิดและหลักการ
ดังกล่าวมาแล้วในระยะเวลาหนึ่ง พบว่า ชาวบ้านหรือทีมวิจัยส่วนใหญ่สามารถสะท้อนการดาเนินงานด้วย
การบอกเล่าได้เป็นอย่างดี ในขณะเดียวกันก็พบว่า การเขียนรายงาน เป็นปัญหาท่ีสร้างความหนักใจให้แก่
นักวิจยั เป็นอย่างยิง่ ดงั นั้นด้วยความตระหนักถึงสถานการณ์ปัญหาดังกล่าว สกว.ฝ่ายวิจัยเพ่ือท้องถิ่น จึงได้
ปรบั รปู แบบการเขยี นรายงานวจิ ยั ให้มีความยดื หยนุ่ และมคี วามงา่ ยตอ่ การนาเสนองานออกมาในรูปแบบที่
นกั วิจัยถนัดโดยไม่ยดึ ติดในเรื่อง ของภาษาและรูปแบบท่เี ป็นวิชาการมากเกนิ ไปซง่ึ เปา้ หมายสาคัญของ

รายงานวิจัยยังคงมุ่งเน้นการนาเสนอให้เห็นภาพของกระบวนการวิจัยมากกว่าผลลัพธ์ที่ได้จากการวิจัยโดย
กลไกสาคัญท่ีจะช่วยให้นักวิจัย ให้มีความสามารถเขียนรายงานที่นาเสนอกระบวนการวิจัยได้ชัดเจนย่ิงขึ้น
คือ ศนู ยป์ ระสานงานวิจยั (Node) ในพื้นที่ ซึง่ ทาหน้าท่เี ปน็ พเี่ ลี้ยงโครงการวจิ ัยมาตัง้ แต่เริ่มต้นจนกระท่ังจบ
การทางานวจิ ยั ดังนั้น Node จะรับร้พู ัฒนาการของโครงการวิจัยมาโดยตลอด บทบาทการวิเคราะห์เนื้อหา
หรือกิจกรรมของโครงการจึงเป็นการทางานร่วมกันระหว่าง Node และนักวิจัย ซึ่งความร่วมมือดังกล่าวได้
นามาซงึ่ การถอดบทเรยี นโครงการวิจัยสกู่ ารเขยี นมาเปน็ รายงานวจิ ัยทีม่ ีคุณคา่ ในท่ีสดุ

อย่างไรก็ตามรายงานวิจัยเพื่อท้องถิ่นอาจไม่สมบูรณ์แบบดังเช่นรายงานวิจัยเชิงวิ ชาการโดยทั่วไป
หากแตไ่ ดค้ าตอบและเรื่องราวต่างๆ ที่เกิดข้ึนจากกระบวนการวิจัย ซึ่งท่านสามารถเข้าไปค้นหา ศึกษาและ
เรยี นรู้เพิม่ เติมได้จากพนื้ ที่

สกว.ฝ่ายวิจัยเพอ่ื ทอ้ งถิ่น



คานา

โครงการวิจัย “แนวทางการบริหารจัดการการเงินชุมชนโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง บ้านสันป่าส้าน หมู่ที่ 12 ตาบลห้วยแก้ว อาเภอภูกามยาว จังหวัดพะเยา” ได้ดาเนินงาน
ตามนโยบายของสานักงาน กศน. ในจุดเนน้ ท่ีจดั การศึกษาเพ่ือส่งเสรมิ การเรยี นรู้ทุกช่วงวัยและพัฒนา
คุณภาพชีวิต โดยส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตลอดชีวิตในชุมชนเชิงรุกท่ีหลากหลาย ทันสมัย
สร้างสรรคต์ อ่ เนอื่ ง ตอบสนองความต้องการของประชาชนและชุมชน รวมทั้งมีการบูรณาการความรู้
ในชุมชนเพ่ือเชื่อมโยงกับหลักสูตรต่าง ๆ ของ กศน.และใช้ทุนทางสังคมของแต่ละชุมชนเป็นฐาน
บรู ณาการความรู้และทกั ษะการดารงชวี ติ เพ่ือให้เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้ นาไปสู่สังคมท่ีเข้มแข็ง มี
ความเออื้ อาทรต่อกนั และพ่ึงพาตนเองได้อย่างย่ังยืน กศน.อาเภอภูกามยาว ซ่ึงเป็นหน่วยงานหน่ึงท่ี
สง่ เสริมและสนบั สนนุ การจดั การศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาสงั คมและชมุ ชน จงึ ได้ร่วมกับแกนนาชุมชนบ้านสัน
ปา่ ส้าน วเิ คราะหส์ ถานการณก์ ารเงนิ และทาเวทปี ระชาคมร่วมกับชมุ ชนเพอื่ ค้นหาแนวทางการบริหาร
จัดการการเงินชุมชนโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและบูรณาการแนวทางการวิจัยของ
ชุมชนไปใชใ้ นการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ทีเ่ หมาะสมในพื้นที่ต่อไป

คณะผู้วิจัยหวังเป็นอย่างยิ่งว่าผลจากการศึกษาโครงการวิจัย “แนวทางการบริหารจัดการ
การเงินชุมชนโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง บ้านสันป่าส้าน หมู่ที่ 12 ตาบลห้วยแก้ว
อาเภอภูกามยาว จังหวัดพะเยา” เล่มนี้จะเป็นประโยชน์ให้กับชุมชน หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องทุกระดับ
หรือบคุ คลที่สนใจแนวคดิ ในการบรหิ ารจดั การการเงนิ ชุมชนโดยยึดหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ให้กับประชาชนในพื้นทีเ่ กิดประสิทธผิ ลอย่างกว้างขวางยิง่ ขึน้ ต่อไป

คณะนกั วิจัย
เมษายน 2561

สารบัญ ค

คานาบอกเล่าเพื่อความเข้าใจรว่ มกัน หนำ้
คานา ก
สารบัญ ข
กิตติกรรมประกาศ ค
บทคัดย่อภาษาไทย ง
บทท่ี1 บทนา จ

1.1 ความเป็นมาและความสาคัญ 1
1.2 กรอบแนวคิดในการวจิ ัย 5
1.3 คาถามวจิ ัย 6
1.4 วัตถุประสงค์ในการวจิ ัย 6
1.5 ผลทีค่ าดว่าจะได้รับ 6
1.6 นยิ ามศพั ท์ 6
บทท่ี 2 แนวคดิ ทฤษฎีและงานวิจยั ทีเ่ กย่ี วข้อง
2.1 แนวคดิ และทฤษฎี 8
2.2 งานวจิ ัยทเี่ กยี่ วขอ้ ง 23
บทที่ 3 วธิ ีการดาเนินงาน
3.1วิธกี ารดาเนนิ งาน 28
3.2 เครื่องมือท่ีใชใ้ นการดาเนินงาน 30
3.3 แผนการดาเนนิ งาน 31
บทที่ 4 ผลการดาเนนิ งาน
4.1 ข้อมลู พื้นฐาน 37
4.2 ผลการดาเนินงานตามวตั ถปุ ระสงค์ 40
บทที่5 สรปุ อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ
5.1 สรปุ ผลการดาเนินงาน 66
5.2 การอภปิ รายผล 74
5.3 ขอ้ เสนอแนะ 77
บรรณานกุ รม 80
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก. ภาพกจิ กรรม 83
ภาคผนวก ข. บทความ/การใชป้ ระโยชนจ์ ากงานวจิ ัย 93
ภาคผนวก ค. ประวัตนิ ักวิจัย 95



กิตตกิ รรมประกาศ

โครงการวิจัยเร่ือง “แนวทางการบริหารจัดการการเงินชุมชน โดยยึดหลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพียง บา้ นสันป่าส้าน หมู่ที่ 12 ตาบลห้วยแก้ว อาเภอภูกามยาว จังหวัดพะเยา” เกิดข้ึน
และดาเนนิ การแล้วเสรจ็ ลลุ ่วง โดยไดร้ ับการสนับสนุนจากสานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
ที่เป็นผ้สู นบั สนนุ เงินทนุ วจิ ยั และคณะเจ้าหน้าที่ ศูนยป์ ระสานงานเพือ่ ท้องถิ่นจงั หวัดลาปาง ดร.สุชิน
เพ็ชรักษ์ ท่ีปรึกษาศูนย์ประสานงานเพ่ือท้องถิ่นจังหวัดลาปาง ผศ.ดร.สาวิตร มีจุ้ย สถาบันวิจัย
เทคโนโลยีเกษตรลาปาง ผศ.มงคลกิตต์ โวหารเสาวภาคย์ ผู้อานวยการศูนย์วิจัยพุทธ
ศาสตร์ผญ๋าพยาว มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตพะเยา อาจารย์ชัย วิชัยศรี
อาจารยค์ ณะวิทยาการจดั การและสารสนเทศศาสตร์ สาขาบัญชี มหาวิทยาลัยพะเยา ท่ีให้คาแนะนา
พัฒนาผู้วิจัยและคณะให้มีความรู้ความเข้าใจในเร่ืองการวิจัยปฏิบัติการ ตลอดจนเป็นท่ีปรึกษา
ตรวจสอบคุณภาพของนวัตกรรมและเคร่ืองมือการวิจัย ส่งผลให้ผู้วิจัยสามารถศึกษาวิจัยได้สาเร็จ
ลลุ ว่ งไปได้ด้วยดีจึงขอขอบ พระคณุ มา ณ ท่นี ้ี

ขอขอบคณุ ทีมวิจัยชมุ ชนและชุมชนบ้านสันปา่ ส้าน หมู่ที่ 12 ตาบลห้วยแก้วอาเภอภูกามยาว
จังหวัดพะเยา ท่ีกรุณาให้ความร่วมมือและร่วมใจในการมีส่วนรวมในกิจกรรมต่าง ๆ ส่งผลให้ผู้วิจัย
และคณะสามารถขบั เคล่ือนโครงการวิจยั นีจ้ นเสรจ็ สมบูรณ์

ผู้วิจยั หวงั เป็นอย่างย่ิงว่าผลการวิจัยนี้จะเป็นประโยชน์แก่บุคลากรทางการศึกษาและผู้สนใจ
ทวั่ ไปได้ นาไปเปน็ ประโยชนก์ ารพัฒนาท้องถ่ิน ชมุ ชนต่อไป

คณะนักวิจยั
เมษายน 2561



บทคดั ย่อ

โครงการวิจยั เรอ่ื ง “แนวทางการบรหิ ารจดั การการเงนิ ชมุ ชน โดยยดึ หลักปรชั ญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี งบา้ นสันป่าสา้ น หมู่ท่ี 12 ตาบลหว้ ยแกว้ อาเภอภูกามยาว จงั หวัดพะเยา” เปน็ การ
วจิ ยั เชิงปฏิบตั ิการแบบมสี ว่ นร่วม (PAR : Participatory Action Research ) กาหนดวัตถปุ ระสงค์
การดาเนนิ งานไว้ 3 ขอ้ คือ 1.เพอื่ ศึกษาเง่อื นไข ปจั จยั พฤตกิ รรมทเ่ี กี่ยวข้องกบั การบริหารจัดการเงิน
ตัง้ แตอ่ ดีตถึงปจั จุบัน 2. เพอ่ื ศึกษาแนวทางการบรหิ ารจดั การการเงนิ ชุมชน โดยยดึ หลกั ปรชั ญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงบา้ นสันปา่ สา้ น หมู่ 12 ตาบลห้วยแก้ว อาเภอภูกามยาว จังหวัดพะเยา และ 3. เพ่ือ
บรู ณาการแนวทางการวิจัยของชมุ ชนไปใชใ้ นการจดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
ท่ีเหมาะสมในพน้ื ที่ กระบวนการทางานวิจยั เน้นการสืบค้นขอ้ มลู และกาหนดกจิ กรรมผ่านข้อมูลทีไ่ ด้
จากการสืบค้นโดยการมสี ่วนรว่ มของชมุ ชนในทกุ ขั้นตอน มกี ล่มุ เป้าหมายท่ีเป็นกลุ่มตวั อยา่ ง จานวน
22 ครวั เรือน

ผลของการดาเนนิ งานได้ขอ้ สรปุ ตามวตั ถุประสงคว์ ่า เง่ือนไข ปัจจัย พฤติกรรมท่ีเกี่ยวข้องกับ
การบริหารจัดการการเงินต้ังแต่อดีตถึงปัจจุบัน ด้านเง่ือนไข พบว่า ข้อกาหนดหรือข้อตกลงร่วมกัน
ของคนในชุมชน ในการจัดต้ังให้มีกองทุนชุมชนตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เพ่ือช่วยเหลือ ส่งเสริม
สนับสนนุ สมาชิกในชมุ ชน ภายใตแ้ นวทางของการบรหิ ารจัดการการเงินในแต่ละกองทุนตั้งแต่อดีตถึง
ปัจจุบนั โดยเอื้อประโยชนใ์ หส้ มาชิกสามารถใช้ประโยชน์จากกองทุนเพ่ือการลดค่าใช้จ่าย เพิ่มรายได้
การออม หรือการประกอบอาชีพเสริม ด้านปัจจัย พบว่า การรวมกลุ่มของคนในชุมชนท่ีส่งผลหรือมี
อิทธพิ ลตอ่ การจัดต้ังกองทุนชมุ ชนต่างๆ รวมถึงการบริหารจัดการการเงินตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ท้ัง
ท่ีชุมชนได้กาหนดขึ้นเองและท่ีได้รับการส่งเสริม สนับสนุนด้านงบประมาณ วัสดุอุปกรณ์ บุคลากร
จากหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และภาคีเครือข่าย ชุมชนมีการจัดตั้งกองทุนต่างๆ เพื่อเป็นการ
ช่วยเหลือเกื้อกูลกันภายในชุมชน ด้านพฤติกรรม พบว่า การแสดงออกของคนในชุมชนทั้งทางบวก
และทางลบในระดับครัวเรือน ระดับชุมชนท่ีตอบสนองต่อการบริหารจัดการการเงินตั้งแต่อดีตจนถึง
ปัจจบุ นั หรือรูปแบบในการบริหารกองทุนชุมชนน้ัน ส่งผลให้คนในชุมชนเข้าร่วมเป็นสมาชิกของกลุ่ม
ตา่ งๆเพิ่มมากขนึ้ เพ่ือต้องการที่จะใช้สทิ ธใิ นการกู้ยมื เงนิ และหวังผลประโยชน์จากเงินปันผลเฉลี่ยคืน
ในแต่ละกองทุน ดังน้ันพฤติกรรมของสมาชิกต่อความเข้าใจในระบบกองทุนชุมชนก็เปลี่ยนไป
พฤตกิ รรมของกองทนุ ทที่ าหน้าที่บรหิ ารกเ็ ปล่ียนไป

แนวทางการบริหารจัดการการเงินชุมชน โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงบ้านสัน
ป่าส้าน พบว่า รูปแบบการบริหารการเงินในระดับครัวเรือน คือ ให้ครัวเรือนมีการจัดทาบัญชี
ครัวเรือนอย่างต่อเนื่องและมีการวิเคราะห์ข้อมูลบัญชีครัวเรือนเพื่อหาทางออกในการลดรายจ่ายทั้ง
รายจ่ายที่จาเป็นและไม่จาเป็น เพิ่มรายได้ในครัวเรือนด้วยตนเอง และให้ครัวเรือนมีการแบ่งเงินไว้
สาหรับเงนิ ออมเพื่ออนาคต และพบวา่ รูปแบบการบริหารการเงินในระดบั ชมุ ชน ได้รปู แบบใหม่คอื
การปล่อยกู้แบบใหม่โดยใช้บัญชีครัวเรือนเป็นตัวกาหนดเงื่อนไขในการพิจารณาวงเงินกู้ พิจารณา
เงนิ กูต้ ามสภาพความเดอื ดร้อน การปรบั ลดอตั ราดอกเบ้ียเงินกู้จากเดิมร้อยละ 6 บาทต่อปี เหลือร้อย
ละ 5 บาทต่อปี สมาชิกที่คืนเงินต้นแล้วไม่ประสงค์จะกู้ต่อให้พิจารณาลดดอกเบ้ียลงจากเดิมอีก
0.5-1 % การจัดสวัสดกิ ารใหก้ บั สมาชิก เช่น การให้ทุนการศึกษาแก่บุตร สวัสดิการในการเข้ารับการ
รักษาในโรงพยาบาลกรณีเจบ็ ปว่ ย เนน้ การออม โดยการเพิม่ จานวนเงินออมขึ้นเพอ่ื ใชเ้ ป็นทนุ ฉุกเฉิน

การบูรณาการแนวทางการวิจัยของชุมชนไปใช้ในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษ า
ตามอัธยาศัยที่เหมาะสมในพ้ืนท่ี พบว่า ทีมวิจัยชุมชนได้แนวทางการทางานวิจัยไปปรับใช้ใน
ชีวิตประจาวัน มีการพัฒนาตนเองในด้านความคิด การคิดวิเคราะห์ การกล้าแสดงออก มีความเป็น

ผู้นามากขึ้น ชุมชนทราบสาเหตุของการเป็นหน้ีในอดีตที่ผ่านมาจากการทาบัญชีครัวเรือน
วางแผนการใช้จ่ายเงินในระดับครัวเรือนได้ บ้านสันป่าส้าน สามารถขยายผลองค์ความรู้การทาบัญชี
ครวั เรือนไปสู่ครัวเรือนอน่ื และเป็นชมุ ชนตน้ แบบในเรื่องการบรหิ ารจัดการการเงินชุมชน โดยยึดหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กศน.ได้รูปแบบจัดการศึกษาแบบใหม่ และสร้างภาคีเครือข่ายในการ
ขยายผลองค์ความรเู้ พือ่ พัฒนาและตอ่ ยอดองค์ความรู้ไปยงั พืน้ ท่ีอืน่ ได้

จากข้อมูลท่ีพบและสรุปเป็นองค์ความรู้ ทาให้ได้แนวคิด “กองทุนอยู่ได้ ชุมชนอยู่รอด”
ภายใตก้ ารน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง โดยมีการดาเนนิ การปรับรูปแบบของกองทุนท่ีมี
อยู่ในชุมชน และบทบาทของกองทุน โดยกลุ่มทีมวิจัยชุมชนได้เปล่ียนแปลงวิธีคิด วิธีการเรียนรู้ เกิด
ความกระตือรือร้นและการแสวงหาความรู้ใหม่อย่างไม่หยุดน่ิง เกิดความภาคภูมิใจในตนเอง นักวิจัย
ครู กศน.อาเภอภกู ามยาว ไดแ้ นว คิดเกยี่ วกบั การจดั การเรยี นรูจ้ ากการลงมือปฏิบัติ ร่วมกับชุมชน จึง
ถอื ได้ว่า “งานวิจยั เพือ่ ทอ้ งถิ่น” เปน็ เคร่อื งมอื ในการติดอาวุฒทิ างปัญญาใหค้ นอยา่ งแทจ้ ริง

บทท่ี 1

บทนำ

1.1 ควำมเป็นมำและควำมสำคญั

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560–2564) ได้จัดทาข้ึนใน
ช่วงเวลาของการปฏิรูปประเทศและสถานการณ์ของโลกท่ีมีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วและมีการ
เช่ือมโยงใกล้ชิดกันมากขึ้น โดยได้น้อมนาหลัก “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” มาเป็นปรัชญานา
ทางในการพฒั นาประเทศตอ่ เนื่อง เพ่ือเสรมิ สรา้ งภูมิคมุ้ กันและช่วยให้สังคมไทยสามารถยืนหยัดอยู่ได้
อยา่ งมนั่ คง เกิดภูมคิ มุ้ กนั และมกี ารบริหารจัดการอย่างเหมาะสม ส่งผลให้การพัฒนาประเทศสู่ความ
สมดุลและยั่งยนื (สานกั งานคณะกรรมการพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ, 2559)

สภาปฏริ ูปแห่งชาติ มเี ป้าหมายในเชิงนโยบายของงานปฏิรูปเศรษฐกิจ การเงิน การคลัง สภา
ปฏริ ูปแห่งชาติ วาระท่ี 13 การปฏริ ปู การเงินฐานรากและสหกรณ์ออมทรัพย์ เร่ือง การปฏิรูปการเงิน
ฐานราก ในปัจจุบันมีระบบสถาบันการเงินหลักของประเทศ ซึ่งรวมถึงธนาคารธนาคารพาณิชย์และ
ธนาคารเฉพาะกิจของรัฐบาล ต่างประสบปัญหาในการให้บริการแก่ประชาชนในชุมชนที่ห่างไกล
จะเห็นได้วา่ มีประชาชน เพยี งรอ้ ยละ 33.9 เทา่ น้ันทีไ่ ด้รับการบริหารทางการเงินจากธนาคารพาณิชย์
เม่ือเทียบกับร้อยละ 85.8 ของประชาชนในกรุงเทพมหานคร ถือเป็นช่องว่างท่ีสาคัญในการบริการ
ทางการเงินของประเทศ ท่ีทาให้ประชาชนในส่วนของฐานรากไม่สามารถออมและไม่มีความสามารถ
ในการเขา้ ถงึ แหล่งทุน นาไปสคู่ วามเหลือ่ มลา้ ในเชิงโอกาส รายได้ และเศรษฐกิจ เพื่อช่วยแก้ไขปัญหา
ความยากจนและสร้างแหล่งทุนในระดับชุมชน รัฐบาลจึงได้จัดตั้งกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
แห่งชาติขึ้นในปี พ.ศ.2544 ในปัจจุบัน มีกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ ที่ได้รับการจัดต้ัง
แล้ว จานวน 99,255 กองทุน มกี ระแสเงินทุนหมุนเวียนรวมทงั้ ส้ิน 162,248.66 ล้านบาท คิดเป็นร้อย
ละ 80 ของระบบการเงินระดับฐานราก ดาเนินการภายใต้พระราชบัญญัติกองทุนหมู่บ้านและชุมชน
เมืองแหง่ ชาติ พ.ศ.2549 นอกจากนยี้ งั มีองคก์ รการเงินประเภทต่างๆ ท่ีจัดตั้งเพื่อช่วยเหลือประชาชน
ในเขตชนบท ท้ังโดยภาครัฐและประชาชน อาทิ สถาบันการเงินชุมชน สถาบันการจัดการเงินชุมชน
กลุ่มออมทรัพย์ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ สหกรณ์ กองทุนสวัสดิการชุมชนซึ่งข้อมูล
จากกรมการพัฒนาชุมชนพบว่า มีองค์กรการเงินระดับฐานรากเหล่าน้ีอยู่มากกว่า 30,000 แห่งท่ัว
ประเทศ แม้นจะมีกองทุนจานวนมาก ประชาชนก็ยังไม่เข้าถึงทางการเงินอย่างแท้จริงและยั่งยืนได้
ประชาชนส่วนใหญ่ได้ใช้กองทุนหมู่บ้านในการกู้ยืมเงินเป็นหลัก จึงได้ปฏิรูปการเงินฐานรากข้ึน
โดยองค์กรการเงินระดับฐานรากส่วนใหญเ่ น้นการกู้เพอื่ ไปใช้จ่ายมากว่ามุ่งเน้นการออมและการลงทุน
ทาใหค้ รวั เรอื นใช้จ่ายเกนิ ตวั อกี ทงั้ กองทนุ หม่บู ้านและชมุ ชนเมืองแห่งชาติ ยังตั้งพร้อมกันท่ัวประเทศ
ไม่ได้พิจารณาถึงความพร้อมของชุมชนในแต่ละพื้นท่ี ท้ังด้านประสบการณ์ในการดาเนินงานและ
ความรู้ทางการเงินของประชาชน ส่งผลให้ประชาชนกู้ยืมเงินจากกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองเพื่อ
ไปใช้จ่ายสินค้าที่ไม่จาเป็นเกิดพฤติกรรมใช้จ่ายเกินตัว ขาดวินัยทางการออม ซ่ึงผลการสารวจ

1

ความเห็นของครัวเรือนสมาชิกหลังจากการออกนโยบายกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ ท่ี
จัดทาโดยสานักงานสถิติแห่งชาติ พบว่า ร้อยละ 99.2 ของครัวเรือนเห็นว่า กองทุนไม่ได้ช่วยให้เกิด
การออมในครวั เรือนมากขึน้ แต่รอ้ ยละ 44.0 พบว่า ทาให้มีรายจ่ายเพ่ิมข้ึนด้วย (สภาปฏิรูปแห่งชาติ,
2558, น.1-3)

ทิศทางการขับเคลื่อนสถาบันการเงินชุมชน ควรจะปรับองค์กรการเงินของชุมชน“เพ่ือการ
กู้ยืม” มาเป็น “เพื่อการออม”และให้ทาหน้าท่ีเป็นสถาบันการเงินในระดับหมู่บ้านและตาบล ซ่ึงจะ
สามารถขยายกิจการจากการระดมเงินออมของประชาชน ไม่ต้องพ่ึงพาเงินทุนจากรัฐเพียงอย่างเดียว
และร่วมกันหาแนวทางในการบูรณาการกองทุนต่างๆท่ีมีอยู่ของชุมชนเพ่ือสร้างพลังร่วม และง่ายต่อ
การบริหารจัดการอีกทั้งการวางรากฐานการให้ความรู้ความเข้าใจทางการเงินแก่ประชาชนอย่าง
ครอบคลมุ และทั่วถึง ประชาชนส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 90 มีความรู้เร่ืองการจัดการเงินอยู่ในระดับปาน
กลางคอ่ นข้างต่า สง่ ผลต่อสถานการณท์ างการเงนิ ของชมุ ชน

ปี พ.ศ. 2539 บ้านสันป่าส้าน หมู่ที่ 12 ตาบลห้วยแก้ว อาเภอภูกามยาว จังหวัดพะเยา
ได้แยกออกจากหมู่บ้านห้วยแก้วหลวง หมู่ท่ี 3 มาเป็นบ้านสันป่าส้าน หมู่ท่ี 12 มีการรวมกลุ่มเพื่อ
ช่วยเหลอื กันไม่วา่ จะเป็นกลุ่มอาชีพ การจัดต้ังกองทุนข้าว กองทุนการเงิน การตั้งกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือ
ระดมทุนและคืนประโยชน์ให้กับสมาชิก แต่ปัญหาสาคัญที่ชุมชนยังคงพบอยู่คือประสบกับปัญหา
ทางด้านการเงนิ รายได้ไม่เพียงพอกับค่าใช้จ่าย อยู่ในภาวะที่ขาดแคลนไม่มีความมั่นคงทางเศรษฐกิจ
และการมีหนี้สิน ท้ังนี้เนื่องจากประชาชนส่วนใหญ่ยังขาดความรู้ทางการเงินและยังประกอบอาชีพ
เกษตรกรรมเปน็ หลัก อีกทั้งผลผลิตทางการเกษตรยังมีราคาที่ตกต่าคนในชุมชนจึงต้องขยายการผลิต
โดยการขยายพื้นที่การผลิตทาให้เกิดการลงทุนท่ีสูงข้ึน แต่ปัจจัยที่มีต่อการเกษตร อาทิเช่น สภาพ
อากาศ น้า ดิน ไม่เอ้ือต่อการทาเกษตรกรรมจึงทาให้ผลผลิตไม่ได้ตามความต้องการของเกษตรกรซ่ึง
ต้นทุนส่วนใหญ่ต้องหาซ้ือมาจากภายนอกชุมชน ประกอบกับผลผลิตท่ีออกจาหน่ายไม่มีการแปรรูป
สง่ ผลให้ขายผลผลติ ได้ในราคาต่า สภาวะการเป็นหนี้จึงเพิ่มพูนข้ึนเรื่อยๆ ทาให้ประชากรในชุมชนไม่มี
รายได้จากอาชีพเสริมที่แน่นอน ตลอดจนการใช้จ่ายในครัวเรือนฟุ่มเฟือย จึงเกิดภาระหนี้สินรุมเร้า
อยา่ งไม่มีทีส่ น้ิ สดุ

จากการทบทวนสถานการณ์ปัญหาด้านการเงินในระดับครัวเรือนน้ันพบว่าเกิดจากรูปแบบ
การดาเนินชวี ิต การใชจ้ า่ ยฟุ่มเฟือย การบริโภคเกินตัว ไม่มีการเก็บออม ขาดความรู้ทางการเงิน ไม่มี
การวางแผนทางการเงิน ใช้ชีวิตไปตามการบริโภคนิยม และเคร่ืองอานวยความสะดวกท่ีไม่จาเป็นต่อ
การประกอบอาชีพ ปัจจัยเหล่านี้ทาให้รายจ่ายสูงกว่ารายรับ ท้ังน้ีทางครัวเรือนเองก็มีการบันทึก
รายรับ-รายจ่ายเพื่อหาทางออกจากปัญหาดังกล่าว แต่ก็ยังไม่สามารถจะแก้ปัญหาได้เน่ืองจากการ
บันทึกบัญชีไม่ต่อเน่ืองตัวเลขของรายรับมีน้อยกว่ารายจ่าย ทาให้หมดกาลังใจในการบันทึกบัญชี
ครัวเรือน ส่งผลให้ปัญหาทางการเงินไม่สามารถแก้ไขได้สาเร็จ สถานการณ์ด้านการเงินเป็นปัญหาท่ี
ยากตอ่ การแกไ้ ขแต่ในระดบั ชุมชนก็มีแนวทางในการรวมกลุ่มเพ่ือแก้ปัญหา ไม่ว่าจะเป็นการรวมกลุ่ม
ทาอาชพี เสริมเพื่อสร้างรายได้เชน่ ตง้ั กลุ่มเลี้ยงไก่ไข่, กลุ่มเล้ียงสุกร, กลุ่มเลี้ยงโค, กลุ่มทาอาหารสัตว์
และกล่มุ การปลูกมะนาว เป็นต้นแต่สมาชิกในกลุ่มกลับไม่ทาอย่างต่อเน่ืองและพบปัญหาเกี่ยวกับเงิน
ลงทุนท่ีสูงและผลผลิตไม่มีตลาดในการรองรับและยงั มรี าคาทตี่ า่

2

นอกจากน้ันยังมีการจัดตั้งกองทุนกู้ยืมเพื่อการประกอบอาชีพ ไม่ว่าจะเป็นกองทุนแม่ของ
แผน่ ดนิ กองทนุ สัจจะเกษตรกร กลมุ่ ออมทรพั ย์ ฯลฯ วัตถปุ ระสงคใ์ นการให้กยู้ มื เพ่ือชว่ ยเหลือสมาชิก
ให้มีแหล่งเงินกู้ยืมในยามจาเป็นและนาเงินดังกล่าวไปลงทุนประกอบ อาชีพหลักและอาชีพเสริม
แต่กลับนาเงินกู้ของกองทุนไปใช้ผิดวัตถุประสงค์ ไม่ว่าจะเป็นการนาไปใช้เป็นทุนการศึกษาของบุตร
การนาเงินไปใช้หน้ีนอกระบบ ซ่ึงส่ิงเหล่าน้ีไม่ก่อให้เกิดรายได้แต่ก่อเกิดเป็นหนี้สินสะสมจนยากจะ
หลุดพ้นได้ หลงลืมวิถชี ีวิตด้งั เดมิ ของตนเองแบบพอเพียงพออยู่พอกินด้วยการเข้าสู่กระแสโลกาภิวัตน์
ทาให้วิถีชีวิตเปลี่ยนไปสิ่งท่ีตามมาคือปัญหาสังคม ครอบครัว และกระทบต่อปัญหาด้านเศรษฐกิจ
การเงิน เหตุผลเหลา่ นี้เป็นความจรงิ ทีไ่ มส่ ามารถปฏเิ สธได้เลย เพราะถา้ หากคนในชุมชนว่างงานก็ไม่มี
รายได้เพื่อนามาเป็นค่าใช้จ่าย คุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ก็ไม่เท่าเทียมกับคนอื่นๆ และยังก่อให้เกิด
ปัญหาความไม่มั่นคงทางด้านเศรษฐกิจ ท้ังเป็นปัญหาสังคม เช่น อาชญากรรม และยังครอบคลุมถึง
ขาดโอกาสทางการศึกษา การรกั ษาพยาบาล การไร้ซงึ่ อานาจ และส่งผลทางด้านสุขภาพจิตของบุคคล
ทาใหเ้ กดิ ความทอ้ แทส้ ิ้นหวงั ตา่ งๆตามมา

การนอ้ มนาแนวทางของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระปรมินทร
มหาภูมิพลอดุลยเดชโดยพระราชดารัสช้ีแนะแก่พสกนิกรชาวไทยเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2542 โดยมี
ใจความว่า “เศรษฐกิจพอเพียงเป็นเสมือนรากฐานของชีวิต รากฐานความมั่นคงของแผ่นดิน
เปรียบเสมือนเสาเข็มท่ีถูกตอกรองรับบ้านเรือนตัวอาคารไว้นั่นเอง ส่ิงก่อสร้างจะมั่นคงได้ก็อยู่ที่
เสาเข็ม แต่คนส่วนมากมองไม่เห็นเสาเข็มและลืมเสาเข็มเสียด้วยซ้าไป” และทางทีมวิจัยได้นาหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาทบทวนรูปแบบการบริหารจัดการการเงินในชุมชนบ้านสันป่าส้านให้
คนในชุมชนรู้จักพอประมาณ มีเหตุมีผล และมีภูมิคุ้มกันท่ีดีในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ ความรอบคอบ
และคุณธรรม ประกอบการวางแผน การตัดสินใจและการกระทาซึ่งหลักของปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียงจะนาชุมชนไปสู่การพัฒนาชุมชนให้เป็นชุมชนท่ีเข้มแข็ง สามารถพ่ึงพาตนเองได้โดยการนา
บัญชีครัวเรือนมาใช้เพื่อให้คนในชุมชนรู้พฤติกรรมการใช้จ่ายของตนเองและครอบครัว และยัง
สามารถลดค่าใชจ้ ่ายท่ีไม่จาเป็นได้อีกด้วยแนวทางในการบริหารจัดการการเงินดังกล่าวจะนาไปสู่การ
สร้างการเรียนรู้ภายใต้การปฏิรูปการเงินฐานราก เพ่ือลดความเหลื่อมล้ายกระดับคุณภาพชีวิตของ
ประชาชนฐานรากและมีความม่ันคงทางการเงิน มีแหล่งทุนหมุนเวียนชุมชนเข้มแข็ง มีแรงขับเคล่ือน
ระบบเศรษฐกจิ ท่ีสง่ ผลตอ่ การสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและประโยชน์สุขร่วมกันในชุมชน กองทุน
ขับเคล่ือนภายใต้ระบบท่ียืดหยุ่นตามสภาวะความจาเป็นของคนในชุมชนเอ้ือประโยชน์และเป็นท่ีพ่ึง
ของชุมชนได้อยา่ งแท้จรงิ

จากแนวทางดังกล่าวสัมพันธ์กับแนวทางการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัย ตามยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดาเนินงาน ของสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยประจาปี 2559 ตามยุทธศาสตร์ของ สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศัย ประจาปี 2559 ในยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนา กศน.ตาบลให้เป็นกลไก
การขับเคล่ือนการจัดการศึกษาและส่งเสริมภาคีเครือข่ายในการจัดการศึกษาเพ่ือสร้างและกระจาย
โอกาสในการเรียนรู้ตลอดชีวิตในชุมชนโดยใช้จุดเน้นการดาเนินงาน ข้อที่ 1.1 ส่งเสริมและพัฒนา
เครือข่าย กศน.ตาบล/แขวง โดยเน้นการประสานเช่ือมโยงระหว่าง บ้านวัด โรงเรียน และภาคี
เครอื ข่ายอ่นื ทดี่ าเนนิ การในรปู แบบคณะกรรมการ เพ่ือการทางานร่วมกัน การส่งต่อผู้เรียน และการ

3

แลกเปล่ียนเรียนรู้ประสบการณ์ในอันท่ีจะเสริมสร้างสมรรถนะสาหรับการให้บริการทางการศึกษาที่
สนองตอบตอ่ ความต้องการของผู้เรียนอย่างมีประสิทธิภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 2 ลดความเหล่ือมล้า สร้าง
โอกาส และยกระดับคุณภาพการศึกษาโดยใช้จุดเน้นการดาเนินงานข้อท่ี 2.9 มุ่งเน้นการฝึกหลักสูตร
วิชาชีพระยะสั้นในวิชาช่างพื้นฐาน และวิชาชีพระยะสั้นอื่นๆ ท่ีสอดคล้องกับความต้องการของ
ตลาดแรงงาน บริบทของพ้ืนที่ และส่งเสริมการใช้ระบบเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาอาชีพ ในอันที่จะ
ประกอบอาชพี ท่สี ร้างรายได้ไดจ้ รงิ และยุทธศาสตร์ท่ี 4 จัดการศกึ ษาเพื่อสง่ เสริมการเรียนรู้ทุกช่วงวัย
และพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยใช้จุดเน้นการดาเนินงานข้อท่ี 4.6 ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ตลอดชีวิตในชุมชนในเชิงรุกที่หลากหลาย ทันสมัยสร้างสรรค์ต่อเน่ือง และตอบสนองความต้องการ
ของประชาชนและชุมชนและความจาเป็นเร่งด่วนต่างๆของแต่ละชุมชน รวมทั้งมีการบูรณาการ
ความร้ใู นชมุ ชนเพ่ือเช่อื มโยงกับหลักสูตรต่างๆ ของ กศน. และใช้ทุนทางสังคมของแต่ละชุมชนให้เป็น
แหล่งการเรยี นรโู้ ดยใช้ กศน.ตาบล/แขวง ท่ดี าเนินการอยู่แลว้ ให้เกดิ ประโยชน์สูงสุดที่มีบทบาทสาคัญ
ในการจัดการศึกษาเพ่ือส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคมโดยใช้ชุมชนเป็นฐานบูรณาการ
ความรู้และทักษะการดารงชีวิต เพ่ือให้เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้ นาไปสู่สังคมท่ีเข้มแข็ง มีความเอื้อ
อาทรต่อกัน และพ่ึงพาตนเองได้อย่างยั่งยืน กศน.อาเภอภูกามยาว ซึ่งเป็นหน่วยงานหน่ึงท่ีส่งเสริม
และสนับสนุนการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชนจึงได้ร่วมกับแกนนาชุมชนบ้านสันป่าส้าน
วิเคราะห์สถานการณ์การเงินและทาเวทีประชาคมร่วมกันกับชุมชนเพ่ือค้นหาแนวทางบริหารจัดการ
การเงินชุมชนโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและบูรณาการแนวทางการวิจัยของชุมชนไป
ใช้ในการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยทเี่ หมาะสมในพ้นื ที่ต่อไป

4

1.2 กรอบแนวคิดในกำร
วจิ ยั โครงการวิจัยเร่ืองแนวทางบริหารจัดการการเงินชุมชนโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง บ้านสันป่าส้าน หมู่ 12 ตาบลห้วยแก้วอาเภอภูกามยาว จังหวัดพะเยา นั้นจะต้องนาข้อมูล
มาใช้ประกอบการดาเนินการ ดังนี้ ข้อมูลพื้นฐานของชุมชนได้แก่ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพหลัก
อาชีพเสริม ต้นทุนชุมชน รายได้ รายจ่าย ลักษณะครัวเรือน รายได้รวมของครัวเรือน การออมใน
ครัวเรือน ภาวะหน้ีสิน หน่วยงานที่สนับสนุนความรู้ความเข้าใจในการจัดการการเงินโดยใช้หลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและปรัชญาคิดเป็นในการดารงชีวิต ตลอดจนการมีส่วนร่วมในการ
กาหนดรปู แบบและแนวทางในการจัดการการเงินของคนในชุมชนโดยการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง

ขอ้ มลู พ้ืนฐานของชุมชนไดแ้ ก่ อายุ ระดับ ความรูค้ วามเข้าใจในการ การมสี ว่ นร่วมในการกาหนด
การศึกษา อาชพี หลัก อาชีพเสรมิ ตน้ ทนุ จดั การการเงินโดยใช้หลัก รปู แบบและแนวทาง ในการ
ชมุ ชน รายได้ รายจา่ ย ลกั ษณะครวั เรอื น ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง จดั การการเงนิ ของคนในชมุ ชน
และปรัชญาคดิ เปน็ ในการ โดยการประยุกต์ใช้หลักปรัชญา
รายได้รวมของครัวเรอื น การออมใน
ครวั เรือน ภาวะหนส้ี ิน หน่วยงานที่ ดารงชวี ิต ของเศรษฐกจิ พอเพียง

สนับสนุน

แนวทำงบรหิ ำรจัดกำรกำรเงินชมุ ชนโดยยึดหลักปรัชญำของ
เศรษฐกิจพอเพียงบ้ำนสันป่ำส้ำนหมู่ 12 ตำบลหว้ ยแก้ว

อำเภอภกู ำมยำว จังหวดั พะเยำ

5

s1.3 คำถำมวิจัย

แนวทางการบริหารจดั การการเงินชมุ ชนโดยยดึ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงบ้านสัน
ป่าสา้ นหมู่ 12 ตาบลหว้ ยแก้วอาเภอภูกามยาว จังหวัดพะเยาควรเป็นอย่างไร

1.4 วัตถปุ ระสงค์

1. เพ่ือศึกษาเงื่อนไขปัจจัยพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการเงินต้ังแต่อดีตถึง
ปจั จุบนั

2. เพื่อศึกษาแนวทางการบริหารจัดการการเงินชุมชนโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี งบ้านสันปา่ ส้านหมู่ 12 ตาบลห้วยแก้วอาเภอภูกามยาวจงั หวัดพะเยา

3. เพื่อบูรณาการแนวทางการวิจัยของชุมชนไปใช้ในการจัดการศึกษานอกระบบและ
การศกึ ษาตามอธั ยาศยั ทเ่ี หมาะสมในพ้ืนท่ี

1.5 ผลทค่ี ำดว่ำจะไดร้ บั

มติ ิวจิ ัย
1. ได้องค์ความรู้และพัฒนาศักยภาพของคนในชุมชนเก่ียวกับแนวทางการบริหารจัดการ
การเงนิ ชมุ ชนโดยยดึ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปขยายผลและปรับใช้ใหเ้ กดิ ประโยชนส์ ูงสดุ
มติ ิพฒั นำ
1. ชุมชนมีศักยภาพมภี มู ิคุม้ กันมีความเป็นอยูม่ คี ุณภาพชวี ิตที่ดขี ้นึ และสามารถพฒั นาตนเอง
อยา่ งย่งั ยืน
2. ครู กศน.อาเภอภูกามยาว ได้ทักษะกระบวนการการทางานวิจัยชุมชนสามารถถอดองค์
ความรแู้ ละนาไปใชใ้ นการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
3. กศน.อาเภอภูกามยาวได้แนวทางการบริหารจัดการการเงินชุมชนโดยยึดหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี งไปขยายผลเพื่อเปน็ แนวทางในการจดั การศึกษาในพน้ื ท่ีอนื่

1.6 นยิ ำมศพั ท์

แนวทำงกำรบริหำรจัดกำรกำรเงินชุมชน หมายถึงการท่ีครัวเรือนมีการแบ่งสรรเงินที่ได้ใน
แต่ละช่วงเวลาเป็นเงินออม และการใช้จ่ายอย่างมีประสิทธิภาพมีองค์ประกอบสาคัญคือ ในระดับ
ครัวเรือน มีการจัดทาบัญชีครัวเรือน, มีรายได้เพียงพอกับรายจ่ายที่จาเป็น, มีเงินเหลือไว้ใช้ยาม
ฉกุ เฉนิ ,มเี งนิ ออม และมีเหตผุ ลในการใช้จา่ ยส่วนในระดับชุมชน กองทนุ สามารถเป็นท่ีพ่ึงพาของคนใน
ชุมชนได้ มคี วามยืดหยุ่นในการบรหิ ารจัดการกองทุนและสร้างอาชีพสรา้ งแรงจูงใจให้กบั คนในชมุ ชน

ปัจจัย หมายถึง การรวมกลุ่มของคนในชุมชนที่ส่งผลหรือมีอิทธิพลต่อการจัดตั้งกองทุน
ชุมชนต่างๆ รวมถงึ การบริหารจัดการการเงนิ ตง้ั แต่อดีตจนถึงปจั จบุ นั ทง้ั ทชี่ มุ ชนได้กาหนดข้ึนเองและ

6

ที่ได้รับการส่งเสริม สนับสนุนด้านงบประมาณ วัสดุอุปกรณ์ บุคลากร จากหน่วยงานภาครัฐ เอกชน
และภาคีเครอื ข่าย

เง่ือนไข หมายถึง ข้อกาหนดหรือข้อตกลงร่วมกันของคนในชุมชน ในการจัดต้ังให้มีกองทุน
ชมุ ชนตงั้ แตอ่ ดตี จนถึงปัจจุบัน เพื่อช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุน สมาชิกในชุมชนภายใต้แนวทางของ
การบริหารจัดการการเงนิ ในแต่ละกองทุนตั้งแตอ่ ดตี ถึงปจั จุบัน โดยเอื้อประโยชนใ์ ห้สมาชิกสามารถใช้
ประโยชน์จากกองทุนเพอื่ การลดค่าใช้จา่ ย เพมิ่ รายได้

พฤตกิ รรม หมายถึง การแสดงออกของคนในชุมชนท้ังทางบวกและทางลบในระดับครัวเรือน
ระดับชมุ ชนท่ตี อบสนองต่อการบริหารจัดการการเงินตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน หรือรูปแบบในการการ
บรหิ ารกองทนุ ชมุ ชน

กำรมีส่วนร่วม หมายถึง การมีส่วนร่วมของชุมชนบ้านสันป่าส้าน จะต้องมีการเข้าร่วมใน
กจิ กรรมอย่างครบวงจรตั้งแตต่ ้นจนถงึ ส้ินสดุ ไม่ใช่เป็นการจัดเวทกี ารมสี ว่ นรว่ มคร้ังเดียว โดยเฉพาะใน
เรื่องของการบริหารจัดการการเงินของชุมชนควรเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้าร่วมเวที/กิจกรรมตั้งแต่
การค้นหาปัญหา ร่วมกันวางแผนการดาเนินงาน ตลอดจนร่วมกันหาแนวทางแก้ไขปัญหาหรือ
อุปสรรคทเ่ี กิดขนึ้ เพ่ือให้การดาเนนิ งานสาเรจ็ ลลุ ่วงไปดว้ ยดี

กำรศึกนอกระบบ หมายความว่า กิจกรรมการศึกษาที่มีกลุ่มเป้าหมายผู้รับบริการและ
วตั ถปุ ระสงคข์ องการเรยี นรทู้ ่ชี ดั เจน มรี ปู แบบ หลักสตู ร วิธีการจัดและระยะเวลาเรียนหรือฝึกอบรมท่ี
ยืดหยุ่นและหลากหลายตามสภาพความตอ้ งการและศักยภาพในการเรียนรู้ของกลุ่มเป้าหมายนั้นและ
มวี ิธกี ารวดั ผลประเมินผลการเรยี นร้ทู ีม่ ีมาตรฐานเพอ่ื รับคณุ วฒุ ิทางการศึกษาหรือเพ่ือจัดระดับผลการ
เรยี นรู้

กำรศึกษำตำมอัธยำศัย หมายความว่า กิจกรรมการเรียนรู้ในวิถีชีวิติประจาวันของบุคคล
ซ่ึงบุคคลสามารถเลือกที่จะเรียนรู้ได้อย่าต่อเน่ืองตลอดชีวิต ตามความสนใจ ความต้องการ โอกาส
ความพร้อม และศกั ยภาพในการเรียนรู้ของแตล่ ะบคุ คล

กำรบูรณำกำรงำนวิจัยในกำรจัดกำรศึกษำนอกระบบ หมายถึง การท่ี ครู กศน.อาเภอ
ภูกามยาว นาความรู้ ทักษะ เทคนิคกระบวนการ เคร่ืองมือที่ได้จากกระบวนการวิจัยไปใช้ในการจัด
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีเหมาะสมและสอดคล้องกับบริบทของชุมชนน้ันๆ
โดยเน้นให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของ สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัย ประจาปี 2559 ในยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนา กศน.ตาบลให้เป็นกลไกการขับเคลื่อนการจัด
การศึกษาและส่งเสริมภาคีเครือข่ายในการจัดการศึกษาเพ่ือสร้างและกระจายโอกาสในการเรียนรู้
ตลอดชีวิตในชุมชนยุทธศาสตร์ที่ 2 ลดความเหล่ือมล้า สร้างโอกาส และยกระดับคุณภาพการศึกษา
และยุทธศาสตรท์ ่ี 4 จดั การศึกษาเพอ่ื ส่งเสริมการเรียนรทู้ กุ ช่วงวัยและพัฒนาคุณภาพชีวิตในเร่ืองของ
การจัดการศกึ ษาเพือ่ พัฒนาสงั คมและชุมชน

7

บทที่ 2

แนวคิด ทฤษฎีและงานวจิ ัยท่เี กย่ี วข้อง

จากการศึกษาวิจัยเร่ือง “แนวทางการบริหารจัดการการเงินชุมชน โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงบ้านสันป่าส้าน หมู่ท่ี 12 ตาบลห้วยแก้ว อาเภอภูกามยาว จังหวัดพะเยา” นักวิจัยได้ทาการวิจัยได้
ทาการศึกษาถึงแนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยได้รวบรวมเพ่ือใช้ประกอบเป็นแนวทางในการ
ศกึ ษาวจิ ยั ไว้ ประเดน็ ดังนี้

2.1 แนวคิด และทฤษฎี

แนวคดิ ทฤษฎที เี่ กย่ี วข้อง ประกอบดว้ ย
- แนวคิดการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย: ปรัชญาคิดเป็น
- หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
- กระบวนการมีสว่ นรว่ ม
- แนวคดิ การบริหารจัดการกองทนุ ชุมชน

2.1.1 การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
การศึกษานอกระบบ (Non-formal Education)
ปัจจบุ นั วถิ กี ารเรยี นรู้ของมนษุ ยเ์ ปลย่ี นแปลงไปอย่างรวดเร็วอันเป็นผลสืบเนื่องมาจาก ความก้าวหน้า

ของเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร การขยายตัวทางสังคมในโลกยุคโลกาภิวัตน์ (Globalization) ได้แผ่
ขยายออกไปอยา่ งกว้างขวาง องคค์ วามรแู้ ละวทิ ยาการใหม่ๆ ล้วนเกิดข้ึนมาอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนพัฒนาการ
ของระบบเศรษฐกิจที่ใช้ความรู้เป็นฐาน (Knowledge-based Economy) ทาให้ประชากรเกิดความต้องการ
ในการแสวงหาความรู้ นาไปสู่การเรียนรู้ในแทบทุกกิจกรรมของสังคม วิถีการเรียนรู้ของมนุษย์จึงขยาย
ขอบเขตจากการศกึ ษาในระบบ (ชนั้ เรียน) ไปสู่การเรยี นรูจ้ ากการศกึ ษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย
ส่งผลทาให้เกดิ กิจกรรมทางการศกึ ษารวมไปถึงแหล่งการเรยี นรู้ทหี่ ลากหลาย

ความหมายของการศกึ ษานอกระบบ
ในพระราชบัญญัติส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ.2551
มาตรา 4 ได้ให้คาจากัดความของการศึกษานอกระบบไว้ว่า “การศึกษานอกระบบ” หมายความว่า กิจกรรม
การศกึ ษาท่ีมีกลุ่มเปา้ หมายผู้รบั บรกิ ารและวตั ถุประสงคข์ องการเรียนรู้ท่ีชัดเจน มีรูปแบบ หลักสูตร วิธีการจัด
และระยะเวลาเรียน หรือฝึกอบรมที่ยืดหยุ่นและหลากหลาย ตามสภาพความต้องการและศักยภาพในการ
เรียนรู้ของกลุ่มเป้าหมายน้ัน และมีวิธีการวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ท่ีมีมาตรฐาน เพ่ือรับคุณวุฒิทาง
การศึกษา หรือเพือ่ จัดระดับผลการเรยี นรู้
จรวยพร ธรณินทร์ (2550) การศึกษานอกระบบเกิดข้ึนครั้งแรกใน ปี ค.ศ.1967 ในการประชุมของ
UNESCO เรื่องThe World Educational Crisis ซึ่งได้นิยามการศึกษานอกระบบ หมายถึง "การจัดการ
กจิ กรรมการเรยี นรูอ้ ยา่ งเป็นระบบ แต่นอกกรอบของการจัดการศึกษาในระบบโรงเรียนปกติ โดยมุ่งบริการให้
คนกลุ่มต่างๆ ของประชากร ทั้งที่เป็นผู้ใหญ่และเด็ก" โดยเน้นการเรียนรู้ (Learning) แต่ในปัจจุบันการศึกษา
นอกระบบคือ กระบวนการจัดการพัฒนาสมรรถนะของผู้เรียน ทั้งท่ีเป็นทัศนคติ ทักษะ และความรู้ซ่ึงทาได้

8

ยืดหยุ่นกว่าการเรียนในระบบโรงเรียนท่ัวไป สมรรถนะท่ีเกิดจากการศึกษานอกระบบมีตั้งแต่ทักษะในการ
เรียนรู้ด้วยตนเอง การทางานเป็นกลุ่ม การแก้ไข ความขัดแย้งการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม การเป็นผู้นา การ
แก้ปัญหาร่วมกัน การสร้างความเช่ือมั่น ความรับผิดชอบและความมีวินัย การศึกษานอกระบบยุคใหม่จึงเน้น
การเรียนรแู้ ละสมรรถนะ (Learning and Competency)

อัญชลี ธรรมะวิธีกุล (2553) ได้ให้ความหมายของการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อธั ยาศยั ในปจั จบุ ัน ดังตอ่ ไปนี้

1. พระราชบัญญตั สิ ง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั พ.ศ. 2551
1.1 ความหมาย ของการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
พระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551 ได้ให้
ความหมาย การศึกษานอกระบบและการศึกตามอัธยาศยั ในมาตรา 4 ไว้ดังนี้ (กระทรวงศึกษาธิการ,2551:3-4)
การศึกนอกระบบ หมายความว่ากิจกรรมการศึกษาท่ีมีกลุ่มเป้าหมายผู้รับบริการและวัตถุประสงค์
ของการเรียนรู้ท่ีชัดเจน มีรูปแบบ หลักสูตร วิธีการจัดและระยะเวลาเรียนหรือฝึกอบรมที่ยืดหยุ่นและ
หลากหลายตามสภาพความต้องการและศักยภาพในการเรียนรู้ของกลุ่มเป้าหมายน้ันและมีวิธีการวัดผล
ประเมนิ ผลการเรียนรู้ทม่ี ีมาตรฐานเพือ่ รบั คุณวุฒิทางการศึกษาหรือเพื่อจัดระดับผลการเรียนรู้
การศึกษาตามอัธยาศัย หมายความว่า กิจกรรมการเรียนรู้ในวิถีชีวิติประจาวันของบุคคล ซ่ึงบุคคล
สามารถเลือกที่จะเรียนรู้ได้อย่าต่อเนื่องตลอดชีวิต ตามความสนใจ ความต้องการ โอกาส ความพร้อม และ
ศักยภาพในการเรยี นรูข้ องแตล่ ะบคุ คล
การศึกษานอกระบบ (Non-formal Education) เป็นการศึกษาท่ีมีความยืดหยุ่นและหลากหลาย
รูปแบบ ไม่มีข้อจากัดเร่ืองอายุและสถานที่โดยมุ่งหมายให้เป็นการศึกษาเพ่ือพัฒนา คุณภาพมนุษย์ มีการ
กาหนดจุดมุ่งหมาย หลักสูตร วิธีการเรียนการสอน สื่อ การวัดผลและประเมินผลท่ีสอดคล้องกับสภาพปัญหา
และความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย ซ่ึงอาจแบ่งได้ 3 ประเภทใหญ่ๆ คือ ประเภทความรู้พ้ืนฐานสายสามัญ
ประเภทความรู้และทักษะอาชีพ และประเภทขอ้ มลู ความร้ทู วั่ ไป
กล่าวได้ว่า การศึกษานอกระบบหมายถึง กระบวนการทางการศึกษาที่จัดขึ้นเพ่ือเพิ่มหรือพัฒนา
ศักยภาพให้แก่ประชาชน ท้ังในด้านความรู้ ความชานาญ หรืองานอดิเรกต่างๆ ผู้ท่ีสาเร็จการศึกษาอาจได้รับ
หรือไม่ได้รับเกียรติบัตรก็ได้ ซ่ึงเกียรติบัตรนี้ไม่เกี่ยวข้องกับการปรับเทียบเงินเดือน หรือศึกษาต่อ ยกเว้น
การศึกษาสายสามัญของสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ท่ีมีการมอบ
วฒุ บิ ัตรท่สี ามารถปรับเทียบเงนิ เดือนหรือศึกษาต่อในระดับสูงข้นึ ได้

ลักษณะของการจดั การศกึ ษานอกระบบ
การศึกษานอกระบบ เป็นรูปแบบของการจัดการศึกษา ท่ีมีกลุ่มเป้าหมายเป็นผู้รับบริการท่ีพลาด

โอกาส จากการศึกษาในระบบ วตั ถุประสงคข์ องการศกึ ษามีความชัดเจนเช่นเดียวกับการศึกษาในระบบ แต่จะ
มีข้อแตกต่างตรงท่ี รูปแบบ หลักสูตร วิธีการจัดและระยะเวลาเรียน หรือฝึกอบรม มีความยืดหยุ่นและ
หลากหลายกว่า สนองตามสภาพความต้องการและศักยภาพในการเรียนรู้ของกลุ่มเป้าหมายนั้น แต่ก็ยังคงมี
วิธีการวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ที่มีมาตรฐาน เพ่ือรับคุณวุฒิทางการศึกษา หรือเพ่ือจัดระดับผลการ
เรยี นรู้

9

หลักการของการศึกษานอกระบบ
1. เน้นความเสมอภาคในโอกาสทางการศึกษาการกระจายโอกาสทางการศึกษาให้ครอบคลุมและ

ทัว่ ถึง
2. ส่งเสริมการจัดการศกึ ษาอย่างตอ่ เนือ่ งตลอดชีวิต มคี วามยดื หยุ่นในเรื่องกฎเกณฑ์ ระเบียบต่าง ๆ
3. จัดการศกึ ษาใหส้ นองความตอ้ งการของกลมุ่ เปา้ หมายใหเ้ รยี นรู้ในสง่ิ ทส่ี ัมพนั ธ์กับชีวติ
4. จัดการศึกษาหลากหลายรูปแบบคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ผู้สอนมิได้จากัดเฉพาะครู

อาจจะเป็นผรู้ ู้ ผู้เชย่ี วชาญจากหนว่ ยงานหรอื จากท้องถ่ิน
กระทรวงศึกษาธิการ (2551:8-9) หลักการส่งเสริมสนับสนุนการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม

อธั ยาศัย ยึด หลกั ดงั ต่อไปน้ี
1. หลักการ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
1) การศึกษานอกระบบ
1.1) ความเสมอภาคในการเข้าถึงและได้รับการศึกษาอย่างกว้างขวาง ท่ัวถึงเป็นธรรม และมี

คุณภาพ เหมาะสมกบั สภาพชีวิตของประชาชน
1.2) การกระจายอานาจแก่สถานศึกษาและการให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา

เรียนรู้
2) การศึกษาตามอัธยาศัย
2.1) การเข้าถึงแหล่งการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับความสนใจและวิถีชีวิตของผู้เรียนทุก

กลมุ่ เปา้ หมาย
2.2) การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้มีความหลากหลายทั้งส่วนที่เป็นภูมิปัญญาท้องถ่ิน และส่วนที่นา

เทคโนโลยีมาใช้เพอื่ การศกึ ษา
2.3) การจดั กรอบหรือแนวทางการเรียนรทู้ เ่ี ปน็ คณุ ประโยชน์ตอ่ ผู้เรียน

2. เปา้ หมายของการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
เป้าหมายในการส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มี
ดังต่อไปนี้ (กระทรวงศึกษาธกิ าร.2551:10-11)
1) การศกึ ษานอกระบบ
1.1) ประชาชนได้รบั การศกึ ษาอย่างต่อเน่ือง เพื่อพัฒนาศักยภาพกาลังคนและสังคม ที่ใช้ความรู้
และภูมิปัญญาเป็นฐานในการพัฒนา ท้ังด้านเศรษฐกิจ สังคม ส่ิงแวดล้อม ความม่ันคง และคุณภาพชีวิต ท้ังนี้
ตามแนวทางการพฒั นาประเทศ
1.2) ภาคีเครอื ขา่ ยเกิดแรงจูงใจและมีความพร้อมในการมีสว่ นร่วมเพอ่ื จัดกิจกรรมการศึกษา
2) การศึกษาตามอธั ยาศัย
2.1) ผเู้ รียนได้รับความรู้และทักษะพื้นฐานในการแสวงหาความรู้ที่จะเอ้ือต่อการเรยี นรตู้ ลอดชีวิต
2.2) ผู้เรียนได้เรียนรู้สาระที่สอดคล้องกับความสนใจและความจาเป็นในการยกระดับคุณภาพ
ชีวิต ทั้งในด้านการเมือง เศรษฐกิจ สงั คมและวฒั นธรรม
2.3) ผู้เรียนสามารถนาความรู้ท่ีได้รับไปใช้ประโยชน์และเทียบโอนผลการเรียนกับการศึกษาใน
ระบบและการศึกษานอกระบบ

10

3.กิจกรรมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
กิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ที่จัดในปัจจุบัน มีดังต่อไปน้ี(สานักงาน
กศน.2553:10–18)
1) กจิ กรรมการศกึ ษานอกระบบ
1.1) การศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน ระดับ ประถมศึกษาระดับมัธยมศึกษา
ตอนต้น และระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลา
1.2) การส่งเสริมการรหู้ นงั สอื
1.3) การศกึ ษาตอ่ เนอื่ ง

1.3.1) การศึกษาเพือ่ พัฒนาการงานและอาชีพ
1.3.2)การศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาทักษะชวี ติ
1.3.3) การศึกษาเพอ่ื พัฒนาสังคมและชมุ ชน
2) กจิ กรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
2.1) การสง่ เสริมการอ่าน
2.2) หอ้ งสมุดประชาชน
2.3) วิทยาศาสตรเ์ พ่ือการศกึ ษา

4.กลุ่มเปา้ หมาย
กลุ่มเปา้ หมายในการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มีดังนี้ (สานักงาน กศน.
2553:3)
1) กลุ่มเป้าหมาย เพอ่ื การพฒั นาคณุ ภาพชวี ิต
1.1) ผ้ดู อ้ ยโอกาส
1.2) ผูพ้ กิ ารหรอื ทุพพลภาพ
1.3) ผสู้ ูงอายุ
1.4) ชนตา่ งวฒั นธรรม
1.5) ประชาชนทั่วไปที่มีความสนใจใฝ่เรียนรู้
2) กลมุ่ เป้าหมาย เพอ่ื การพัฒนาความสามารถในเชงิ การแข่งขันทางเศรษฐกจิ
2.1) ผูอ้ ย่ใู นวัยแรงงานที่อยนู่ อกระบบ
2.2) ผู้อยู่ในวัยแรงงานทอ่ี ยูใ่ นระบบ
ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีสัมพันธ์กับงานวิจัย
ยุทธศาสตร์ท่ี 1,2 และ 4
ยุทธศาสตร์ท่ี 1 พัฒนา กศน.ตาบลให้เป็นกลไกการขับเคล่ือนการจัดการศึกษาและส่งเสริมภาคี
เครอื ขา่ ย
ยุทธศาสตรท์ ี่ 2 ลดความเหลือ่ มลา้ สร้างโอกาส และยกระดบั คณุ ภาพการศึกษา
ยทุ ธศาสตร์ที่ 4 จดั การศกึ ษาเพ่อื ส่งเสรมิ การเรียนรทู้ กุ ช่วงวัยและพัฒนาคุณภาพชีวติ

ปรัชญาคดิ เป็น

11

ปรัชญา ค“ ิดเป็น“อยู่บนพ้ืนฐานความคิดที่ว่า ความต้องการของแต่ละบุคคลไม่เหมือนกัน แต่ทุก

คนมีจุดรวมของความต้องการท่ีเหมือนกัน คือ ทุกคนต้องการความสุข คนเราจะมีความสุขเมื่อเราและสังคม
สิง่ แวดลอ้ มประสมกลมกลืนกันได้ โดยการปรบั ปรงุ ตวั เราให้เข้ากับสังคมหรือส่ิงแวดล้อมหรือโดยการปรับปรุง
สงั คมและส่งิ แวดล้อมใหเ้ ขา้ กบั ตัวเรา หรือปรบั ปรุงทั้งตัวเราและสังคมส่ิงแวดล้อมให้ประสมกลมกลืนกัน หรือ
เขา้ ไปอย่ใู นสิง่ แวดลอ้ มท่ีเหมาะสมกบั ตน คนท่ีสามารถทาได้เช่นน้ี เพื่อให้ตนเองมีความสุขนั้น จาเป็นต้องเป็น
ผู้มีความคิดสามารถคิดแก้ปัญหา รู้จักตนเองและธรรมชาติสิ่งแวดล้อม จึงจะเรียกได้ว่าผู้นั้นเป็นคนคิดเป็น
หรอื อกี นัยหน่ึงปรัชญา คิดเป็น มาจากความเช่ือพื้นฐานตามแนวพุทธศาสนา ท่ีสอนให้บุคคลสามารถพ้นทุกข์
และพบความสขุ ไดด้ ้วยการคน้ หาสาเหตขุ องปญั หา สาเหตุของทุกข์ ซ่ึงส่งผลให้บุคคลผู้น้ันสามารถอยู่ในสังคม
ได้อยา่ งมคี วามสขุ (กรมการศึกษานอกโรงเรยี น, 2538)

ความหมายของปรชั ญาคดิ เปน็

ดร.โกวิท วรพพิ ัฒน์ (2513) ได้ให้คาอธิบายเก่ียวกับ “คิดเป็น” ว่า “บุคคลที่คิดเป็นจะสามารถเผชิญ
ปัญหาในชีวิตประจาวันได้อย่างมีระบบ บุคคลผู้น้ีจะสามารถพินิจพิจารณาสาเหตุของปัญหาท่ีเขากาลังเผชิญ
อยู่ และสามารถรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ ได้อย่างกว้างขวางเกี่ยวกับทางเลือก เขาจะพิจารณาข้อดีข้อเสียของแต่
ละเร่อื ง โดยใช้ความสามารถเฉพาะตวั ค่านิยมของตนเอง และสถานการณ์ทต่ี นเองกาลังเผชิญอยู่ ประกอบการ
พจิ ารณา”

การ“คิดเป็น”เป็นการคิดเพ่ือแก้ปัญหาคือมีจุดเริ่มต้นที่ปัญหาแล้วพิจารณาย้อนไตร่ตรองถึงข้อมูล 3
ประเภท คือ ข้อมูลด้วยตนเองชุมชน สังคม สิ่งแวดล้อม และข้อมูลวิชาการ ต่อจากน้ันก็ลงมือกระทาถ้าหา ก
สามารถทาให้ปัญหาหายไป กระบวนการก็ยุติลง แต่หากบุคคลยังไม่พอใจแสดงว่ายังมีปัญหาอยู่ บุคคลก็จะ
เรมิ่ กระบวนการพจิ ารณาทางเลือกใหม่อีกคร้ัง และกระบวนการน้ียตุ ิลงเมอ่ื บคุ คลพอใจและมีความสุข

ชัยยศ อ่ิมสุวรรณ์ (2550) กล่าวถึง ปรัชญาค“ ิดเป็น ว่าขึ้นอยู่กับความต้องการของแต่ละบุคคลท่ีไม่

เหมือนกันแต่ทุกคนมีจุดรวมของความต้องการท่ีเหมือนกันคือทุกคนต้องการความสุขคนเราจะมีความสุขเมื่อ
เราและสงั คมส่งิ แวดล้อมประสมกลมกลืนกนั ไดโ้ ดยการปรับปรุงตัวเราให้เข้ากับสังคมหรือสิ่งแวดล้อมหรือโดย
การปรับปรุงสังคมและสิ่งแวดล้อมให้เข้ากับตัวเรา หรือปรับปรุงทั้งตัวเราและสังคมส่ิงแวดล้อมให้ประสม
กลมกลืนกัน หรือเข้าไปอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมกับตน คนท่ีสามารถทาได้เช่นน้ี เพื่อให้ตนเองมีความสุข
น้ัน จาเปน็ ต้องเป็นผมู้ ีความคิดสามารถคดิ แกป้ ัญหา รจู้ กั ตนเองและธรรมชาติสง่ิ แวดล้อม จึงจะเรียกได้ว่าผู้นั้น
เป็นคนคิดเป็น หรืออีกนัยหนึ่งปรัชญา “คิดเป็นม“ าจากความเชื่อพื้นฐานตามแนวพุทธศาสนาที่สอนให้บุคคล

สามารถพ้นทุกข์และพบความสุขได้ด้วยการค้นหาสาเหตุของปัญหาสาเหตุของทุกข์ซึ่งส่งผลให้บุคคลผู้นั้น
สามารถอย่ใู นสังคมไดอ้ ย่างมีความสขุ

ทองอยู่ แก้วไทรฮะ (2550) ได้ให้หลักแนวคิดและเป้าหมายของ ค“ ิดเป็น“ไว้ว่า เป้าหมายสุดท้ายของ

การเป็นคน ค“ ิดเป็น“คือความสุข คนเราจะมีความสุขเม่ือตัวเราและสังคมสิ่งแวดล้อมประสมกลมกลืนกันอย่าง

ราบร่ืนท้ังทางด้านวัตถุ กายและใจ“โดยมีหลักแนวคิด คือ ทุกคนล้วนต้องการความสุข“ความสุขที่ได้น้ันข้ึนอยู่

กับการปรับตัวของแต่ละคนให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมตามวิธีการของตนเอง “ การตัดสินใจเป็นการคิด

วิเคราะห์โดยใช้ข้อมูล 3 ด้าน คือด้านตนเอง ด้านสังคม และด้านวิชาการ“ทุกคนคิดเป็น เท่าท่ีการคิดและ

ตัดสนิ ใจทาใหเ้ ราเป็นสุขไมท่ าให้ใครหรือสงั คมเดอื ดร้อน
อัญชลี ธรรมะวิธกี ลุ (2552) ให้ความหมายของการคิดเป็นว่า บุคคลท่ีคิดเป็นจะสามารถเผชิญปัญหา

ในชวี ติ ประจาวันได้อย่างมรี ะบบ บคุ คลผู้นีจ้ ะสามารถพินิจพิจารณาสาเหตุของปัญหาท่ีเขากาลังเผชิญอยู่ และ

12

สามารถรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ ได้อย่างกว้างขวางเกี่ยวกับทางเลือก เขาจะพิจารณาข้อดีข้อเสียของแต่ละเรื่อง
โดยใช้ความสามารถเฉพาะตัวค่านิยมของตนเอง และสถานการณ์ท่ีตนเองกาลังเผชิญอยู่ ประกอบการ
พจิ ารณาการ “คิดเปน็ ” เปน็ การคดิ เพื่อแก้ปญั หา คอื มีจุดเรมิ่ ต้นที่ปัญหาแล้วพิจารณาย้อนไตร่ตรองถึงข้อมูล
3 ประเภท คอื ขอ้ มูลดว้ ยตนเองชุมชน สงั คม สิ่งแวดลอ้ ม และข้อมูลวิชาการ ต่อจากนั้นก็ลงมือกระทาถ้าหาก
สามารถทาให้ปัญหาหายไป กระบวนการก็ยุติลง แต่หากบุคคลยังไม่พอใจแสดงว่ายังมีปัญหาอยู่ บุคคลก็จะ
เรม่ิ กระบวนการพจิ ารณาทางเลอื กใหม่อีกคร้งั และกระบวนการน้ียุตลิ งเมือ่ บุคคลพอใจและมีความสขุ

สุรพงษ์ จาจด (2558) ได้กลา่ วถึง ปรัชญาการคิดเป็น คือ การมีอุดมการณ์เป็นเป้าหมายสูงสุด เข้าใจ
ชาวบ้าน ความลาบากยากแค้นของชาวบ้าน องค์กรใดไร้ปรัชญาจะแกว่ง ปักธง ปรัชญาคิดเป็นคือเป้าหมาย
และปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งคู่ขนานกันไป ทัง้ 2 ปรชั ญา คนไทยมีปัญหาท่ีการตัดสนิ ใจ ขาดหลักคิด การ
คิดเป็น คิดจากข้อมูล 3 ส่วน ตนเอง สังคม วิชาการ คิดเป็นคือทาให้คนมีความสามารถในการตัดสินใจ
ทาใหค้ น กศน.ตอ้ งเรียนร้ตู ลอดชวี ติ เพ่อื ให้ตัดสนิ ใจเป็น นาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาอยู่ด้านตนเอง
เพราะส่วนใหญใ่ ช้ข้อมลู สงั คม+วชิ าการ

ปรชั ญา กศน. 3 ข้อมีดงั นี้
1. มนุษยต์ ้องการความสขุ
2. ความแตกตา่ งของมนุษย์
3. มนุษย์อยู่รวมกันเป็นสังคมเป็นกลุ่ม จึงมีความจาเป็นจะต้องปรับตัวให้อยู่ในสังคมอย่างมี
ความสขุ
หาช่องทางให้คนคดิ เปน็ โดยผ่านกระบวนการเรียนรู้ ใช้ศิลปะในการจัดการศึกษานอกโรงเรียนให้กับ
กลุ่มเปา้ หมายศาสตร์ คอื คดิ เป็นศิลป์ คือ จิตวิทยาการเรยี นรขู้ องผ้ใู หญ่
จึงสรุปความหมายของการคิดเปน็ การวิเคราะห์ปัญหาและแสวงหาคาตอบหรือทางเลือกเพ่ือแก้ปัญหา
และดับทุกข์ก“ ารคิดอย่างรอบคอบเพื่อการแก้ปัญหาโดยอาศัยข้อมูลตนเองข้อมูลสังคมส่ิงแวดล้อมและข้อมูล
วิชาการ เป้าหมายของ “คดิ เปน็ “เปา้ หมายสุดท้ายของการเป็นคน ค“ ิดเป็นค“ ือความสุขคนเราจะมีความสุขเม่ือตัว
เราและสังคมสงิ่ แวดลอ้ มประสมกลมกลนื กนั อย่างราบรื่นทงั้ ทางดา้ นวตั ถุกายและใจ
แนวคิดหลักของ “คิดเป็น“มนุษย์ทุกคนล้วนต้องการความสุขค“ วามสุขที่ได้นั้นขึ้นอยู่กับการปรับตัวของ
แต่ละคนให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมตามวิธีการของตนเองก“ ารตัดสินใจเป็นการคิดวิเคราะห์โดยใช้ข้อมูล3
ด้าน คือด้านตนเอง ด้านสังคม และด้านวิชาการท“ ุกคนคิดเป็นเท่าท่ีการคิดและตัดสินใจทาให้เราเป็นสุขไม่ทา
ให้ใครหรือสังคมเดือดร้อนการคิดเป็นจะนาไปสู่วิธีคิดเป็นกระบวนการ เพื่อการเช่ือมโยงการเรียนรู้ไปสู้การ
น้อมนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปใช้ ในการดาเนินชีวิตประจาวัน

2.2.1หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
“เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯในหลวง

รัชกาลที่ 9 ทรงมพี ระราชดารสั ช้ีแนะแนวทางการดาเนินชีวิตให้แก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า 35
ปี ตั้งแต่ก่อนวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังได้ทรงเน้นย้าแนวทางการแก้ไขเพื่อให้รอดพ้น
วิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ และสามารถดารงอยู่ได้อย่างม่ันคงและยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัฒน์และความ
เปลยี่ นแปลงต่างๆ

13

ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาช้ีถึงแนวการดารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับต้ังแต่
ครอบครัว ระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดาเนินไปใน ทางสายกลาง
โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ
ความมีเหตุผลรวมถึงความจาเป็นที่ต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อการมีผลกระทบใดๆ อันเกิด
จากการเปล่ียนแปลงท้ังภายในและภายนอก ท้ังนี้จะต้องอาศัยความรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวัง
อย่างยิ่ง ในการนาวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนดาเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้อง
เสริมสร้างพ้ืนฐานจิตใจของคนในชาติโดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฏี และนักธุรกิจในทุกระดับให้มี
สานึกในคุณธรรม ความซ่ือสัตย์สุจริต และให้มีความรู้ที่เหมาะสม ดาเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มี
สติปัญญา และรอบคอบ เพอื่ ใหส้ มดลุ และพรอ้ มต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวางทั้ง
ด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี (ประมวลและกล่ันกรองจากพระ
ราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง ซ่ึงพระราชทานใน
วโรกาสต่างๆ รวมทั้งพระราชดารัสอื่นๆ ท่ีเก่ียวข้อง โดยได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้นาไป
เผยแพร่ เม่ือวันที่ 21 พฤศจิกายน 2542 เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติของทุกฝ่ายและประชาชนทั่วไป) (สานักงาน
คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ, 2548)
ความหมายของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดชฯ ได้พระราชทานพระราชดารัสแก่คณะบุคคลต่างๆ
ทเ่ี ขา้ เฝา้ ทลู ละอองธรุ ีพระบาทถวายพระพรชัยมงคลเนือ่ งในวโรกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย
สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต วันท่ี 4 ธันวาคม 2540 ความว่า “เศรษฐกิจพอเพียงแบบพอมีพอกิน แบบ
พอมีพอกิน นั้นหมายความว่า อุ้มชูตัวเองได้ ให้มีพอเพียงกับตัวเอง” “พอมี พอกินก็แปลว่าเศรษฐกิจ
พอเพยี ง”(สุนทร กุลวฒั นวรพงศ์ ,2544)
สเุ มธ ตันติเวชกลุ (2541) ไดก้ ล่าวถึงความหมายของเศรษฐกจิ พอเพยี งวา่ หมายถงึ ความสามารถของ
ชุมชน เมือง รัฐ ประเทศ หรือภูมภาคหนึ่งๆ ในการผลิตสินค้า และบริการทุกชนิดเพื่อเลี้ยงสังคมน้ันๆ โดย
พยายามหลีกเลยี่ งที่จะตอ้ งพาปจั จยั ตา่ งๆทีเ่ ราไมไ่ ด้เปน็ เจ้าของ
ประเวศ วะสี (2542) กล่าวว่า เศรษฐกิจพอเพียง คือ เศรษฐกิจที่มีรูปแบบเป็นทางสายกลาง หรือ
เศรษฐกิจแบบมชั ฌิมาปฏิปทา เพราะเชื่อมโยงทุกเรอื่ งเขา้ มาดว้ ยกนั ทั้งเศรษฐกิจ จิตใจ สังคม วัฒนธรรม และ
สิ่งแวดล้อม ท่ีจริงคาว่า เศรษฐกิจ เป็นคาท่ีมีความหมายในทางท่ีดี ท่ีหมายถึง ความเจริญที่เชื่อมโยง กาย ใจ
สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมเข้าด้วยกัน แต่ได้มีการนาเอาคาว่า เศรษฐกิจไปใช้ในลักษณะที่แยกส่วน ท่ี
หมายถงึ การแสวงหาเงนิ เท่าน้นั เมื่อแยกสว่ นกท็ าลายสว่ นอน่ื ๆ จนเสียสมดลุ และวิกฤต
สุรเกียรติ เสถียรไทย (2542) ได้กล่าวถึงเศรษฐกิจพอเพียง ไว้ว่า เป็นปรัชญาของการพัฒนาตาม
กระแสเศรษฐกิจ ซ่ึงมีการคิดสาคัญที่การพัฒนาคนในชุมชน ท้ังด้านเศรษฐกิจและสังคมควบคู่ไปกับการ
จรรโลงรักษาวัฒนธรรมชุมชน ทั้งน้ีการพัฒนาคนจะต้องเริ่มท่ีการพัฒนาความคิดและจิตใจของคนให้รู้จักกิน
รูจ้ ักใช้ตามอตั ภาพและความจาเปน็ ในการดารงชีวติ
อาพล เสนาณรงค์ (2542) กล่าวว่า เศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง การพยายามพ่ึงตนเอง ช่วยตนเอง
ให้มากท่ีสุดเท่าท่ีจะทาได้ ให้พอมีพอกิน โดยเฉพาะอาหารและท่ีอยู่อาศัย ส่วนท่ีไม่สามารถผลิตเองได้ ก็
แลกเปล่ียนหรือซ้ือ จากภายนอกบ้าง แต่ควรซ้ือและใช้ของจากที่ผลิตได้ในท้องถิ่นหรือในประเทศมากที่สุด
พยายามก่อหน้ีให้น้อยที่สุดและควรมีชีวิต ความเป็นอยู่ที่เรียบง่ายและพอใจในส่ิงท่ีตนเองได้รับมาโดยชอบ
ธรรม ไมฟ่ ุ้งเฟ้อ ฟมุ่ เฟอื ย เพ่ือให้รายจ่ายไมเ่ กินรายรบั

14

นิคม มูสิกะคามะ (2542) ให้ความเหน็ ว่าเศรษฐกิจพอเพียง ไว้ว่า เป็นแนวทางพัฒนาตามทฤษฏีใหม่
ที่ทาให้ประเทศไทยอยู่ในสังคมโลกได้อย่างสง่างามน่าภาคภูมิ โดยท่ีสามารถผลิตทรัพยากรได้ตามภูมิปัญญา
และเทคโนโลยีแบบไทย มีความพอเพียงในครอบครัวชุมชนมีความเข้มแข็งช่วยตนเองได้ วิถีชีวิตความเป็นอยู่
สอดคลอ้ งกบั หลกั ธรรมชาตคิ าสอนในศาสนามีสงั คมท่สี งบสขุ กินดี อยู่ดขี ึน้ การผลติ อุดมสมบูรณ์พอเพียงท่ีจะ
ค้าขายไปยงั ต่างประเทศ

กรมวิชาการ (2546) ได้กล่าวถึงความหมายของเศรษฐกิจว่า หมายถึง พอเพียงได้อย่างน้อย 7
ประการ ดว้ ยกัน คือ

1. พอเพยี งสาหรบั ทุกคน ทุกครอบครัว ไมใ่ ชเ่ ศรษฐกจิ แบบทอดทงิ้ กนั
2. จิตใจพอเพียง ทาให้เรารักและเอื้ออาทรคนอ่ืนได้ คนที่ไม่พอจะรักคนอ่ืนไม่เป็นและ

ทาลายมาก
3. สงิ่ แวดลอ้ มพอเพียง การอนุรักษ์และเพ่ิมพูนสิ่งแวดล้อม ทาให้ยังชีพและทามาหากินได้

เชน่ การทาเกษตรผสมผสาน ซึง่ ได้ท้ังอาหาร ไดท้ ้ังสิง่ แวดล้อม และได้ทัง้ เงิน
4. ชุมชนเข้มแข็งพอเพียง การรวมตัวกันเป็นชุมชนท่ีเข้มแข็งจะทาให้สามารถแก้ไขปัญหา

ตา่ งๆได้ เช่น ปญั หาสังคม ปญั หาความยากจน หรอื ปญั หาสง่ิ แวดล้อม
5. ปัญญาพอเพียง มกี ารเรยี นรรู้ ว่ มกนั ในการปฏบิ ัตแิ ละปรับตวั ได้อย่างต่อเนื่อง
6. อยู่บนพื้นฐานวัฒนธรรมพอเพียง วัฒนธรรม หมายถึง วิถีชีวิตของกลุ่มที่สัมพันธ์อยู่กับ

สงิ่ แวดล้อมท่ีหลากหลาย ดงั น้ันเศรษฐกิจต้องมีความสัมพันธ์และเติบโตขึ้นจากฐานทาง
วัฒนธรรม จึงจะม่ันคง เช่น เศรษฐกิจของจังหวัดตราด ขณะน้ีไม่กระทบกระเทือนจาก
ฟองสบแู่ ตกไม่มคี นตกงาน เพราะอยู่บนพื้นฐานของสิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมท้องถ่ินที่
เอ้ือต่ออาชีพการทาสวนผลไม้ ทาการประมงและการทอ่ งเทย่ี ว
7. มีความมั่นคงพอเพียง ไม่ใช่ชั่ววูบ ไม่ใช่วูบวาบ เดี๋ยวจน เด๋ียวรวย แบบกะทันหันเด๋ียว
ตกงานไม่มีกินไม่มีใช้ ถ้าเป็นแบบน้ันประสาทมนุษย์คงทนไม่ไหวต่อความผันผวนที่เร็ว
เกิน จึงสุขภาพจิตเสีย เครียด เพี้ยน รุนแรง ฆ่าตัวตาย ติดยา เศรษฐกิจพอเพียงที่มั่นคง
ทาให้สุขภาพจติ ดี
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นแนวทางการดารงอยู่และปฏิบัติตนในทางท่ีควรจะเป็น (normative
prescription) โดยมพี ้ืนฐานมาจาก วถิ ีชวี ิตดง้ั เดมิ ของสังคมของคนไทย (positive aspect) (กลุ่มพัฒนากรอบ
แนวคดิ ทางทฤษฏีเศรษฐศาสตร์ ,2546)
จากความหมายเศรษฐกิจพอเพียงที่นักวิชาการหลายท่านได้กล่าวไว้ข้างต้น สามารถประมวลและให้
ความหมาย ของเศรษฐกิจพอเพียงว่า หมายถึง แนวพระราชดาริท่ีพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอ
ดุลยเดชฯ ได้ทรงพระราชทานแก่ปวงชนชาวไทย ซ่ึงมีหลักการสาคัญ คือ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล
รวมถึงความจาเป็นท่ีจะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวท่ีดีพอสมควร ต่อการมีผลกระทบใดๆอันเกิดจากการ
เปล่ียนแปลงท้ังภายในและภายนอกทั้งน้ีจะต้องอาศัยความรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างย่ิงใน
การนวิชาการตา่ งๆ มาใช้ในการวางแผนและดาเนินการทกุ ขัน้ ตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพ้ืนฐาน
จิตใจของคนให้มีสานึกในคุณธรรม ความซ่ือสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ท่ีเหมาะสม ดาเนินชีวิตด้วยความ
อดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบเพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลง
อย่างรวดเรว็ กว้างขวางทั้งด้านวัตถุ สังคม ส่ิงแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดีการที่จะ
นาแนวคิดตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ในการดาเนินชีวิตเพ่ือเป็นการเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน

15

ความเข้มแข็ง ท่ีสามารถต้านทานสภาวะทางเศรษฐกิจที่ตกต่าได้ ให้ประชาชนสามารถพ่ึงพาตนเอง โดยเร่ิม
จากครอบครัวพ่งึ ตนเอง ชุมชนพึง่ ตนเอง สามารถลดรายจา่ ย และเพ่ิมรายได้ใหก้ บั ตนเองได้

2.1.2 กระบวนการมสี ว่ นรว่ ม
ความหมายของการมสี ว่ นร่วม
การมสี ่วนรว่ มของประชาชนเป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชนมีสิทธิ์ในกระบวนการนโยบายสาธารณะ

ทั้งในด้านการใหแ้ ละรบั รขู้ ้อมลู ขา่ วสารการใหค้ วามคิดเหน็ หรือข้อเสนอแนะการร่วมตัดสินใจทั้งในขั้นตอนการ
เริ่มนโยบายการจัดทาแผนงานโครงการหรือกิจกรรมท่ีอาจมีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตและ ส่ิงแวดล้อมการ
วางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม การจัดการสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ รวมท้ังการปฏิบัติการ
ติดตามและประเมนิ ผลตามนโยบายแผนงานโครงการหรอื กจิ กรรมนัน้ (กรมชลประทาน, 2552)

ถวิลวดี บุรีกุล (2554) ให้ความหมายว่า การมีส่วนร่วมของประชาชน คือ การกระจายโอกาสให้
ประชาชนมีส่วนร่วมทางการเมือง และการบริหารเก่ียวกับการตัดสินใจในเร่ืองต่างๆ รวมท้ังการจัดสรร
ทรัพยากรของชมุ ชนและของชาติ ซ่ึงจะส่งผลกระทบต่อชีวิตและความเป็นอยู่ของประชาชน โดยการให้ข้อมูล
แสดงความคิดเห็น ให้คาแนะนาปรึกษา ร่วมวางแผนและร่วมปฏิบัติ ตลอดจนการควบคุมโดยตรงจาก
ประชาชน

จนิ ตวรี ์ เกษมสขุ (2554) การมสี ่วนร่วมของประชาชน หมายถึง การที่ประชาชนหรือชุมชนพัฒนาขีด
ความสามารถของตนเองในการจัดการและควบคุมการใช้ทรัพยากรและปัจจัยการผลิตที่อยู่ในสังคมเพ่ือ
ประโยชน์ต่อการดารงชีพทางเศรษฐกิจและสังคม และการตัดสินใจต่างๆ เกี่ยวกับโครงการท่ีเหมาะสมเป็นท่ี
ยอมรบั โดยทั่วกัน

สรวิทย์ ทิพรัตนเดช (2555) การมีส่วนร่วม หมายถึง การท่ีให้กลุ่มทุกกลุ่มในสังคมมีส่วนร่วมในการ
พัฒนาทุกระดับ ทั้งเกี่ยวข้องโดยตรงและการพัฒนาสังคมโดยรวม และเป็นการมีส่วนร่วมพัฒนาโดยความ
สมัครใจ และความต้องการมสี ่วนรว่ มอย่างแท้จรงิ ภายใต้กระบวนการพัฒนาทุกระดับทุกข้ันตอนตั้งแต่การคิด
วางแผนพัฒนา การดาเนินการ การรับประโยชน์จนถึงการติดตามประเมินผลติดตามประเมินผลการพัฒนา
และการเสนอแนวทางเลอื กทางออก

ดร.สรฤทธ จันสุข (2555) ได้กล่าวว่า การมีส่วนร่วม การมีส่วนร่วมของประชาชน การพัฒนาชุมชน
หมายถึง การเข้าร่วมอย่างแข็งขันของกลุ่มบุคคลในข้ันตอนต่างๆ ของการดาเนินกิจกรรมอย่างหน่ึง การมี
ส่วนในการสนับสนุนทเี่ ป็นไปในรูปของผู้เขา้ ร่วมมีส่วนกระทาให้เกิดผลของกิจกรรมท่ีเข้าร่วมมิใช่เป็นผู้ร่วมคิด
ตัดสนิ ใจหรือผู้ไดร้ ับประโยชน์เท่าน้ัน การมีส่วนร่วมของประชาชนในกิจกรรมพัฒนาไม่ใช่กระทาถึงประชาชน
เข้ามาทากิจกรรมตามท่ีได้จัดทาข้ึน และหมู่บ้านหรือชุมชนมีกิจกรรมและวิธีดาเนินงานของตนเองอยู่แล้ว
ประชาชนมศี ักยภาพท่จี ะพัฒนาชุมชนของตนองได้

เครยต์ ัน (2556) กล่าววา่ การมีส่วนร่วมของประชาชนที่มีประสิทธิผลต้องมีคุณลักษณะคือผู้มีอานาจ
ตัดสินใจได้รับพันธกิจที่ต้องดาเนินการการดาเนินการบูรณาการสู่กระบวนการตัดสินใจโดยมีสาธารณชนท่ี
สนใจเข้ารว่ มเกยี่ วข้องในทุกข้ันตอนของการตดั สินใจ ซง่ึ แนวทางการวเิ คราะหต์ ัดสินใจคือ การสร้างการเรียนรู้
เพ่ือให้เกิดความเข้าใจถึงการตัดสินใจและความจาเป็นแนวทางที่ชัดเจนของขั้นตอนและระยะเวลา กล่าวโดย
สรุป คือ การมีส่วนร่วมของประชาชน หมายถึง การเปิดโอกาสให้ประชาชนได้มีโอกาสแสดงทัศนะ
แลกเปล่ียนขอ้ มูลและความคิดเห็น สร้างความรู้สึกเป็นเจ้าของโครงการ โดยเข้ามามีส่วนร่วมตั้งแต่การสารวจ
ปัญหาและสาเหตุของปัญหา การวางแผนและตัดสินใจ การดาเนินโครงการ การรับผลประโยชน์ และการ
ประเมินผลและสรุปผล รวมท้ังเพ่ือปกป้อง คุ้มครองดูแลรักษา สิทธิประโยชน์ของตนเอง ชุมชน และสังคม

16

เพ่ือให้เกิดความมั่นคงในชีวิต ย่ังยืนในสังคมและทรัพยากรธรรมชาติ ความเสมอภาคและเป็นธรรมในการอยู่
รว่ มกนั

ขน้ั ตอนของการมีสว่ นร่วม
ผลการศึกษาดังกล่าวสอดคล้องกับณัฐนรี ตรีทอง (2552) ได้กล่าวถึง กระบวนการมีส่วนร่วมตาม
ข้ันตอนการพฒั นา ซงึ่ เป็นการวัดเชงิ คณุ ภาพออกเปน็ 5 ข้ันตอนดงั น้ี
ขัน้ ตอนท่ี 1 การมสี ่วนร่วมในข้ันตอนการริเริ่มการพัฒนา ซ่ึงเป็นข้ันตอนที่ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม
ในการค้นหาปัญหาและสาเหตุของปัญหาภายในชุมชนตลอดจนมีส่วนร่มในการกา หนดความต้องการของ
ชุมชน และมีส่วนร่วมในการจดั ลาดับความสาคัญของความตอ้ งการ
ขนั้ ตอนที่ 2 การมสี ว่ นรว่ มในขัน้ ตอนการวางแผนการพัฒนาเป็นขั้นตอนที่ประชาชนมีส่วนร่วมในการ
กาหนดนโยบายและวัตถุประสงค์ของโครงการ กาหนดวิธีการและแนวทางการดาเนินงานตลอดกาหนด
ทรพั ยากร และแหล่งทีท่ รัพยากรทจี่ ะใช้
ขน้ั ตอนท่ี 3 การมสี ว่ นร่วมในข้ันตอนการดาเนินงานในการพัฒนา เป็นข้ันตอนที่ประชาชนมีส่วนร่วม
ในการสร้างประโยชน์ โดยการสนับสนุนทรัพยากร วัสดุอุปกรณ์ และแรงงานหรือบริหารงาน ประสานงาน
และการดาเนนิ ขอความช่วยเหลือจากแหลง่ ภายนอก
ขั้นตอนท่ี 4 การมีส่วนร่วมในขั้นการรับผลประโยชน์จากการพัฒนา เป็นข้ันตอนท่ีประชาชนเข้าร่วม
ประเมินวา่ พัฒนาทไี่ ดก้ ระทาไปแล้วน้ันสาเร็จตามวัตถุประสงค์เพียงใด ซึ่งในการประเมินอาจปรากฏอยู่ในรูป
ของการประเมนิ ยอ่ ย
ข้ันตอนที่ 5 การมีส่วนร่วมในข้ันการการประเมินผลการพัฒนา เป็นข้ันตอนท่ีประชาชนเข้าร่วม
ประเมนิ ว่า การพัฒนาท่ีได้กระทาไปแลว้ นั้นสาเร็จตามวตั ถปุ ระสงคเ์ พียงใด ซ่ึงในการประเมินอาจจะปรากฏใน
รปู ของการประเมินย่อย เป็นการประเมินผลเป็นระยะๆ หรือกระทาในรูปของการประเมินผลรวม ซ่ึงเป็นการ
ประเมนิ ผลสรุปรวบยอด

จินตวรี ์ เกษมศขุ (2554) ไดส้ รุปขั้นตอนของการมีสว่ นร่วมไว้ 4 ขั้นตอน ดงั น้ี
1. มสี ว่ นรว่ มในการคิด การศกึ ษา และคน้ คว้า หาปัญหาและสาเหตุของปัญหาตลอดจนความต้องการ
ของชมุ ชน
2. มสี ว่ นร่วมในการวางนโยบาย หรอื วางแผนโครงการ หรือกิจกรรม เพื่อลดและแกป้ ญั หา
3. มีส่วนรว่ มในการตดั สนิ ใจการจัดหรือปรับปรุงระบบการบริหารทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพและ
ปฏิบตั งิ านให้บรรลุเปา้ หมาย
4. มสี ่วนรว่ มในการควบคมุ ติดตาม และประเมนิ ผลการทางาน

จฑุ ารตั น์ ชมพันธ์ุ (2555) เสนอแนวทางในการสร้างการมีสว่ นรว่ มของประชาชนไว้ 3 ขนั้ ตอน ได้แก่
ข้ันที่ 1 การวิเคราะห์การตัดสินใจขั้นตอนนี้สาคัญโดยเฉพาะการตัดสินใจว่าใครจาเป็นที่จะอยู่ในทีม
วางแผนเพราะแตล่ ะขนั้ ตอนของการวางแผนเพราะแต่ละข้ันตอนของการวางแผนอาจมีผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้า
มาในแต่ละระยะท่ีแตกต่างกันซ่ึงหากไม่ครบถ้วนก็จะเกิดปัญหาได้ ในขั้นตอนน้ีประกอบด้วยการวิเคราะห์
องค์ประกอบสภาพแวดล้อมของกระบวนการตัดสินใจใดๆ ท่ีกระบวนการมีส่วนร่วมน้ันจะถูกจัดทาข้ึนใน
ข้ันตอนน้ีจะกาหนดองค์ประกอบสาคัญของการมีส่วนร่วมท้ังหมดได้แก่ข้ันตอนต่างๆ ของกระบวนการมีส่วน
ร่วมปัจจัยต่างๆ ท่ีจะส่งผลกระทบต่อความเชื่อมั่นและความโปร่งใสของกระบวนการและตารางสาหรับ
กิจกรรมต่างๆ ของกระบวนการมีส่วนร่วมถึงการวิเคราะห์ว่า การมีส่วนร่วมมีความสาคัญต่อกระบวนการ

17

ตัดสินใจหรือไม่หรือมีความจาเป็นด้วยเหตุผลอ่ืนเงื่อนไขในการตัดสินใจที่จะดาเนินการมีส่วนร่วมของ
ประชาชนได้แก่ 1) การตัดสินใจนั้นมีผลกระทบต่อสาธารณชนในวงกว้าง 2) การตัดสินใจน้ันส่งผลกระทบใน
วงกว้างและรุนแรง 3) การตัดสินใจน้ันส่งผลกระทบต่อผลประโยชน์บางคนหรือกลุ่มคนท่ีมีอยู่เดิมเช่นการวาง
ผังเมือง 4) การตัดสินใจน้ันมีความเก่ียวข้องกับประเด็นท่ีมีความขัดแย้งอยู่ก่อนแล้ว 5) ความจาเป็นเพื่อให้มี
การสนบั สนนุ ต่อผลการตดั สินใจ

ข้ันที่ 2 การวางแผนกระบวนการ (Process Planning) ข้ันตอนนี้เก่ียวกับการกาหนดกิจกรรมและ
เทคนิคการมีส่วนร่วมโดยเฉพาะอย่างยิ่งการวิเคราะห์ค้นหาเทคนิคการมีส่วนร่วมท่ีเหมาะสมที่สุดในการ
ประยุกตใ์ ช้ในการแต่ละขั้นของกระบวนการมสี ่วนรว่ มเพอื่ ใหบ้ รรลุวตั ถุประสงค์ของการมีส่วนร่วมอย่างแท้จริง
และการเชื่อมโยงความสมั พนั ธ์ระหว่างกิจกรรมการมีส่วนร่วมร่วมกับข้ันตอนการตัดสินใจรวมถึงการกาหนดผู้
มีส่วนไดส้ ว่ นเสยี หรอื ผูท้ ไี่ ด้รบั ผลกระทบจากการตดั สนิ ใจนั้น ๆ สถานทใี่ นการจดั กจิ กรรมตา่ ง

ขั้นท่ี 3 การปฏิบัติตามแผนข้ันตอนสุดท้ายนี้เป็นการนาแผนการทีกาหนดไว้ทั้งหมดกิจกรรมการมี
ส่วนร่วมต่าง ๆ ไปปฏิบัติจริงและทาการประเมินผลของกิจกรรมมีส่วนร่วมตลอดจนการนาข้อมูลท่ีได้จาก
กิจกรรมตามกระบวนการมีส่วนร่วมน้ันไปใช้ประโยชน์อย่างแท้จริงประเด็นสาคัญคือ การวางแผนอย่าง
ระมัดระวังและปรึกษากับหน่วยงานต่าง ๆ อย่างรอบครบซ่ึงการวางแผนการมีส่วนร่วมของประชาชนอย่าง
รอบครอบก็จะสามารถลดระยะเวลาของการดาเนินการที่อาจเกิดข้อผิดพลาดได้และควรระลึกเสมอว่า
กระบวนการมสี ่วนรว่ มของประชาชนเปน็ ศลิ ปะทตี่ อ้ งว่างแผนการดาเนินงานอยา่ งรดั กุมในทุกขัน้ ตอน

จากแนวคิดและขั้นตอนการมีส่วนร่วม ดังกล่าว จะเห็นได้ว่าส่วนใหญ่ข้ันตอนการมีส่วนร่วมมี
คล้ายคลงึ กัน ในการวิจัยครั้งน้ี ผู้วิจัยได้สรุปแนวคิดเกี่ยวกับข้ันตอนการมีส่วนร่วมของในการบริหารจัดการ 5
ดา้ นได้แก่ การมสี ่วนร่วมในการสารวจปัญหาและสาเหตขุ องปัญหา การมีส่วนร่วมในการวางแผนและตัดสินใจ
การมีส่วนรว่ มในการดาเนินงาน การมสี ่วนรว่ มในการรบั ผลประโยชนแ์ ละการมสี ว่ นรว่ มในการประเมิน

2 .1.4 แนวคิดการบรหิ ารจัดการกองทุน
การบริหารจัดการที่ดีนาไปสู่การทางานท่ีมีประสิทธิภาพและเป้าหมายสามารถบรรลุผลสาเร็จได้

เพราะการบริหารจัดการเป็นกิจกรรมท่ีจะอานวยความประโยชน์ให้มนุษย์สามารถทางานได้อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพและเกดิ ผลสาเร็จได้ดที ีส่ ุด

ความหมายของการบริหารจัดการ
ศศินา ภารา (2550) ได้ให้ความหมายของการบริหาร (Administration) หมายถึง การจัดการหรือ
การบริหารงานตามแผนการดาเนินงาน หรือนโยบายท่ีดีของหน่วยงานท่ีมีหน้าท่ีรับผิดชอบต่อ
ทรัพยากรธรรมชาติ หรอื แหล่งธรรมชาตโิ ดยตรง รวมถึงความร่วมมือและประสานกับหน่วยงานอื่นที่เก่ียวข้อง
ทั้งในภาคส่วนของรัฐและเอกชน เพ่ือให้ได้วิธีการหรือการบริหารงานที่มีประสิทธิภาพมากท่ีสุด ซึ่งจาเป็น
จะตอ้ งวเิ คราะห์และศกึ ษาองค์ประกอบต่างๆ ทจ่ี ะต้องเขา้ มาเกย่ี วขอ้ งทง้ั ทางตรงและทางอ้อม
นุชตรียา ผลพานิชย์ (2550) กล่าวว่า การบริหารจัดการ ส่วนใหญ่มักจะนึกถึง คา 2 คา คือ
การบริหาร (Administration) และการจัดการ (Management) ซ่ึงการบริหารมักจะนิยมใช้ภาคราชการเน้น
การกาหนดนโยบาย ส่วนการจัดการนิยมใช้ในภาคธุรกิจเอกชน เป็นการนานโยบายไปปฏิบัติแต่เมื่อได้ศึกษา
ค้นคว้าจากนักวิชาการ พบว่า ความหมายของการบริหาร และการจัดการสามารถใช้แทนกันได้ เพราะมี
ความหมายท่ีคล้ายคลึงกันและเหมือนกัน ในสมัยของ พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี มีการใช้
คา 2 คานีค้ วบคูก่ นั ตลอดในการบริหารการจดั การรัฐบาล และธุรกิจตา่ งๆ

18

หวน พินธุพันธ์ (2551) ได้สรุปว่า “การบริหาร คือ การดาเนินงานของกลุ่มบุคคลเพื่อให้บรรลุ
จุดประสงค์ทว่ี างไว้” ซ่งึ จะมี ขอบขา่ ยของการบรหิ ารแบ่งออกเปน็ 3 แขนงใหญ่ๆ ด้วยกนั คอื

1. การบริหารรัฐประศาสนศาสตร์ (Public Administration) หรือเรียกกันทั่วๆไปว่า“การบริหาร
ราชการแผ่นดิน” หรือ “การบริหารรัฐกิจ” เป็นบริหารกิจการของรัฐ เพื่อให้ประชาชนอยู่ดีมีสุข ไม่ได้หวังผล
กาไรเป็นเงิน เป็นการบริหารงานต้ังแต่ระดับชาติ จังหวัด อาเภอตาบล จนถึงหมู่บ้าน มีการเรียนการสอนใน
คณะรฐั ศาสตร์ และ คณะรฐั ประศาสนศาสตร์ เป็นต้น

2. การบริหารธุรกิจ (Business Administration) เป็นการบริหารกิจการของเอกชน เช่น สถาน
ประกอบการ ธนาคาร โรงงานอุตสาหกรรม โรงแรม บริษัท ร้านค้า เพ่ือมุ่งหวังกาไรเป็นเงิน มีการเรียนการ
สอนกันในคณะบรหิ ารธรุ กิจ คณะพานิชยศาสตร์ เป็นตน้

3. การบริหารการศึกษา (Education Administration) เป็นการบริหารกิจการต่างๆ เพื่อพัฒนาคน
ให้มีคุณภาพ ให้เป็นคนเก่งคนดีมีความสุข คือ ให้ท้ังความรู้ ความสามารถ ความคิดและความเป็นคนดี ไม่ได้
หวังผลกาไรเป็นเงินเช่นเดียวกับการบริหารรัฐประศาสนศาสตร์ มีการเรียนการสอนกันในคณะศึกษาศาสตร์
คณะครุศาสตร์ เป็นตน้

พล้ังเคตท์, แอดท์เนอร์, และ ออลแลน (Plunkett, Attner, & Allen, 2008) กล่าวว่า การบริหาร
จัดการ คือ การกาหนดเป้าหมาย โดยกาหนดหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ การวางแผน การจัดการองค์กร การจัด
คนเขา้ ทางาน การนา และการควบคมุ และประสานทรัพยากร

ดงั น้ัน อาจกล่าวไดว้ า่ คาวา่ “การบรหิ ารจดั การ”มาจาก2 คา คือ การบริหาร (Administration) และ
การจัดการ (Management) และหมายถึง การวางแผนการดาเนินงานให้บรรลุวัตถุประ สงค์ท่ีต้ังไว้ให้งาน
สาเร็จผล และมีประสิทธิภาพ โดยผู้กาเนินการนอกจากจะต้องมีความรู้แล้วต้องมีการวางแผน การจัดการ
องค์กร การจัดคนเข้าทางาน การนา และการควบคุม และประสานทรัพยากรโดยใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า มี
ประสิทธิภาพ สอดคล้องกับสถานการณ์ และเกิดความพึงพอใจทุกฝ่ายและมีขอบข่ายในการบริหาร 3 แขนง
ใหญ่ๆ คอื

1. การบรหิ ารรัฐประศาสนศาสตร์ (Public Administration)
2. การบริหารธรุ กิจ (Business Administration)
3. การบรหิ ารการศกึ ษา (Education Administration)
สมยศ นาวีการ (2551) ได้กล่าวถึง แนวคิดการบริหารไว้ว่าการบริหารงานไม่ว่าจะเป็นรูปแบบผู้นา
โครงสร้างระบบราชการและหน้าท่ีของผู้บริหารในองค์กรแห่งหน่ึง สามารถนามาประยุกต์ไปใช้ในองค์กร
เรียกว่า วิธีท่ีดีที่สุด (One best way) อย่างไรก็ตามผู้บริหารในแต่ละองค์จะเผชิญกับสถานการณ์เฉพาะที่มี
เอกลักษณ์ของตัวเอง ไม่มีหลักสากลใดท่ีสามารถใช้ได้กับทุกปัญหา ผู้บริหารต้องศึกษาการบริหาร โดยมี
ประสบการณ์จากกรณีศึกษา (Case study) จานวนมาก และวิเคราะห์วิธีการใดที่สามารถใช้ในสถานการณ์
ใหม่ๆ
เสนาะ ตเิ ยาว์ (2551) ได้กลา่ วถงึ หลกั สาคัญของการบริหาร 5 ลกั ษณะ คอื

1. การบริหารเป็นการทางานกับคนและโดยอาศัยคน หมายความว่า การบริหารเป็น
กระบวนการทางสังคม คือ อาศยั กล่มุ คนที่ร่วมกันทางานเพอื่ บรรลุเปา้ หมายขององคก์ ร

2. การบริหารทาให้งานบรรลุเป้าหมายององค์กร เป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ขององค์กรต้อง
อาศัยความร่วมมือกันของคนทุกคนจึงจะสาเร็จลงได้

3. การบรหิ ารเปน็ การสมดุลระหวา่ งประสิทธผิ ลและประสิทธภิ าพ
4. การบรหิ ารเปน็ การใชท้ รัพยากรที่มอี ยอู่ ยา่ งจากดั ใหเ้ กดิ ประโยชนส์ ูงสุด

19

5. การบรหิ ารจะตอ้ งเผชิญกบั สภาพแวดล้อมที่เปล่ียนแปลงไป
จากความหมายของปจั จยั สาคญั ในการบริหารงานให้มีประสิทธิภาพข้างต้น สรุปได้ว่า ปัจจัยสาคัญใน
การบริหารงานให้มีประสิทธิภาพอยู่หลายปัจจัยด้วยกัน อาทิ กลยุทธ์ โครงสร้าง ระบบ แบบ บุคลากร
ความสามารถ ค่านิยม และการทางาน ให้มีประสิทธิภาพน้ันต้องบรรลุเป้าหมายขององค์กร นอกจากน้ันก็มี
การฝกึ อบรม การกู้ยืมและการชาระหน้ีของสมาชิก การมีส่วนร่วมของสมาชิก การสนับสนุนจากหน่วยงานรัฐ
การประเมินผล มีสว่ นสาคัญใหก้ ารทางานมีประสิทธภิ าพมากขึน้ ดว้ ย
หลักการ กระบวนการ และขนั้ ตอนในการบริหารจัดการ
ไคร์ทเนอร์ (Kreitner, 2007) กล่าววา่ หลักการบรหิ ารจัดการ ประกอบดว้ ย 8 ข้ันตอน ดังนี้

1. การวางแผน (Planning) เปน็ การวางแนวปฏบิ ัตใิ นอนาคต
2. การตัดสินใจ (Decision Making) เปน็ การตดั สนิ ใจเลือกแนวการปฏิบตั อิ ืน่
3. การจัดองค์กร (Organizing) เป็นการพิจารณาโครงสร้าง เช่น สายการบังคับบัญชา แผนก

งาน และมอบหมายความรับผิดชอบ
4. การจัดคน (Staffing) ประกอบด้วย การจัดหา การฝึกอบรม การพัฒนาบุคลากร

ท่ีสามารถส่งเสรมิ ความพยายามขององค์กร
5. การส่ือสาร (Communicating) เป็นการถ่ายทอดความรู้ทางเทคนิค คาส่ัง กฎและข้อมูล

ที่ต้องการใหเ้ กดิ การทางาน
6. การจูงใจ (Motivating) เป็นการกระตุ้นให้บุคคลมุ่งไปยังวัตถุประสงค์ โดยการตอบสนอง

ความตอ้ งการและให้ไดต้ ามความคาดหวัง
7. การนา (Leading) การท่ีผู้จัดการทาหน้าท่ีเป็นต้นแบบบทบาท และปรับปรุงรูปแบบการ

บรหิ ารงานเพอื่ ตอบสนองความตอ้ งการในแตล่ ะสถานการณ์
8. การควบคุม (Controlling) เป็นการเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานท่ีต้องการกับผลการ

ปฏบิ ัติจริง และทาการแกไ้ ขการปฏบิ ตั ทิ ่จี าเปน็
แฮร์ริงตัน (Harrington,1972) ไดก้ ล่าวถึงแนวคิดเก่ยี วกับหลกั การทางานให้มีประสิทธิภาพในหนังสือ
“The Twelve Principles of Efficiency” โดยมสี าระสาคัญ ดังนี้

1. ทาความเข้าใจและกาหนดแนวคดิ ในการทางานให้กระจา่ งแจ้ง
2. ใชห้ ลกั สามญั ในการพิจารณาความนา่ จะเป็นไปได้ของงาน
3. คาปรึกษาและแนะนาตอ้ งสมบรู ณแ์ ละถูกต้อง
4. รักษาระเบยี บวนิ ัยในการทางาน
5. ปฏบิ ัติงานด้วยความยตุ ิธรรม
6. การทางานตอ้ งเชอ่ื ถอื ได้ มคี วามฉบั ไว มสี มรรถภาพและมีการลงทะเบียนเป็นหลกั ฐาน
7. งานควรมีลักษณะแจง้ ให้ทราบถึงการทางานอย่างทวั่ ถงึ
8. ผลของงานไดม้ าตรฐาน
9. การทางานสามารถยึดเปน็ มาตรฐาน
10. กาหนดมาตรฐานท่ีสามารถใชเ้ ปน็ เครื่องมือในการฝึกสอนงานได้
11. ให้บาเหนจ็ รางวัลแก่งานที่ดี
จากหลักการ กระบวนการและข้ันตอนในการบริหารจัดการข้างต้นสรุปได้ว่า หากมีองค์กรก็มักจะมี
การบริหารจัดการอยู่ในตัวอยู่แล้ว เพราะองค์กรจะเติบโตได้ก็ต้องอาศัยการบริหารจัดการที่ดี การบริหาร
จัดการมักไม่หยุดนิ่ง จะต้องมีการพัฒนาให้มีประสิทธิภาพอยู่เสมอข้ึนอยู่กับสถานการณ์ และสภาวะท่ีเกิดข้ึน

20

องค์กรใดกต็ ามทมี่ ีการพัฒนาการบริหารจัดการได้ถูกท่ีถูกเวลาก็จะเป็นองค์กรที่ประสบความสาเร็จท่ีจัดว่าอยู่
ในระดับสงู ดังนนั้ จึงควรจะศกึ ษาแนวทางการพัฒนาระบบการบริหารจัดการอยู่ตลอดเวลาเพื่อให้เกิดผลลัพธ์
ท่ดี ีต่อองค์กร

การบรหิ ารจดั การกองทนุ ชมุ ชน
กองทนุ หมบู่ ้านส่วนใหญ่ยังมปี ัญหาและอุปสรรคในการดาเนินงานและบริหารจัดการ ดังนี้ (1) วงเงินกู้
ที่สมาชิกได้รับไม่เพียงพอและขนาดของเงินทุนน้อยเกินไป โดยจานวนเงินท่ีจะนาไปใช้ให้ตรงกับวัตถุประสงค์
ของกองทุนในการสร้างอาชีพเพ่ือนามาสู่รายได้ของครัวเรือนยังไม่เพียงพอกับความจาเป็นที่ต้อง ใช้จริงที่จะ
ก่อใหเ้ กดิ รายได้เพิ่มขึ้น อาจทาให้ผู้กู้เงินกองทุนหมู่บ้านนาเงินกู้ไปใช้ในด้านอื่น ๆ ท่ีไม่เกี่ยวข้องกับการลงทุน
ซึ่งเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้กู้นาเงินไปใช้ในกิจการที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้และสร้างภาระหนี้สินเพ่ิมข้ึน (2) ปัญหา
ด้านกระบวนการ (Process) เนื่องจากไม่มีระบบการจัดการท่ีมีประสิทธิภาพในการติดตามควบคุม ดูแล
โครงการอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้เงินกู้ถูกนาไปใช้อย่างไม่มีประสิทธิภาพ เกิดปัญหาการกู้หนี้นอกระบบเพื่อ
นามาชาระหน้ีกองทุนหมู่บ้าน เกิดการก่อหนี้ซ้าซ้อนและต่อเน่ืองเพ่ิมขึ้น (3) ปัญหาหน้ีค้างชาระและเงินขาด
บญั ชมี ีแนวโนม้ เพม่ิ ข้ึนอย่างต่อเนอ่ื ง (4) การไม่สามารถรายงานข้อมูลทางการเงินและผลการดาเนินงานได้ (5)
การจัดทาหลักฐานทางด้านการเงินและบัญชีไม่ได้มาตรฐาน (6) การจัดเก็บข้อมูลยังไม่เป็นปัจจุบัน (7) ไม่มี
การเปิดเผยขอ้ มูลผลการดาเนนิ งาน/งบการเงนิ ปญั หาดงั กล่าวข้างต้น ก่อให้เกดิ ผลกระทบทาให้การดาเนินงาน
ของกองทุนหมู่บ้านไม่มีความโปร่งใสหรือเกิดช่องว่างท่ีจะนาไปสู่การแสวงหาผลประโยชน์โดยไม่ชอบได้
คณะกรรมการกองทุนฯต้องให้ความสาคัญ รวมถึงวิเคราะห์เงินให้กู้แก่สมาชิกและจัดสรรเงินกู้โดยคานึงถึง
ความจาเปน็ ของสมาชิก ตลอดจนสรา้ งความรู้ความเขา้ ใจเก่ียวกบั การดาเนินการของกองทุนหมู่บ้านให้สมาชิก
ไดร้ ับร้อู ยา่ งทว่ั ถงึ จากการประเมนิ ผลการดาเนนิ งานจากหนว่ ยงานต่าง ๆ ทาให้ทราบว่าความยงั่ ยนื
นายสวุ ทิ ย์ เมษินทรีย์ (2560) ไดก้ ลา่ ววา่ การกาหนดแนวทางการดาเนินงานของกองทุนหมู่บ้านและ
ชุมชนเมืองแห่งชาติให้ได้มีโอกาสแก้ไขปัญหาความยากจน และลดความเหล่ือมล้า โดยสนับสนุนให้กองทุน
หมบู่ า้ นและชมุ ชนเมืองไดเ้ ป็นแหลง่ เงนิ ทนุ หมุนเวยี นเพื่อการลงทุนในการสร้างอาชีพ สร้างงาน และรายได้ของ
ประชาชน อีกท้ังยังส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการออมของประชาชนเพ่ือความม่ันคงในรากฐานของชีวิต
เพื่อเตรียมพร้อมก้าวสู่ปีที่ 17 ของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ ในการพัฒนาระบบเศรษฐกิจฐาน
รากตามแนวคิด LOCAL ECONOMY
การพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติที่ผ่านมา (ฉบับที่ 1-7) เป็นการพัฒนา
ที่มุ่งเน้นการสร้างความเจริญทางเศรษฐกิจมากกว่าการพัฒนาด้านอ่ืนจึงทาให้เกิดการพัฒนาที่เรียกว่า "
เศรษฐกิจดีสังคมมีปญั หาการพัฒนาไมย่ งั่ ยนื "ในแผนพัฒนาฯฉบับท่ี 8 จงึ ได้มีการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์การ
พัฒนาประเทศใหม่โดยมีจุดมุ่งหมายให้มีการปฏิรูปสังคมเศรษฐกิจและการเมืองไปพร้อมๆกันเน้นให้คนเป็น
ศนู ย์กลางของการพฒั นาซงึ่ ในสว่ นของการพฒั นาชนบทไดก้ าหนดแนวคิดและนโยบายท่ีเน้นการกระจายความ
เจริญไปสู่ท้องถ่ินกระจายอานาจแก่ชุมชนและครอบครัวในช นบทให้มีความเข้มแข็งมี ศักยภ าพและมี
ความสามารถที่จะช่วยเหลือตนเองและชุมชนได้ส่วนทิศทางการพัฒนาประเทศในร่างแผนพัฒนาฯฉบับท่ี 9
ที่จะเริ่มใช้ในปี 2545 ได้ยึดหลัก "ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง" เป็นปรัชญานาทางให้การพัฒนาท่ีอยู่บน
พ้ืนฐานของความสมดุลพอดีโดยกาหนดเป้าหมายท่ีจะลดความยากจนลงพร้อมทั้งยกระดับคุณภาพชีวิตของ
ประชาชนให้ดีขึ้นโดยกาหนดยุทธศาสตร์ที่จะทาให้ชุมชนเข็มแข็งคือการเสริมสร้างฐานรากของสังคมให้
เข้มแข็งเปน็ ยุทธศาสตรท์ ่ีมงุ่ เน้นการพฒั นาคนครอบครวั ชุมชนและสงั คมใหเ้ ปน็ แกน่ หลักของสงั คมไทย
หัวใจของการพัฒนาดังกล่าวจะเห็นได้ว่าเน้นไปที่การแก้ไขปัญหาความยากจนซ่ึงนับว่าเป็นปัญหาที่
อยูค่ สู่ ังคมไทยมานานและเปน็ ประเดน็ ทีน่ ักวชิ าการหลายท่านได้แสดงทศั นะและความคิดเห็นเก่ียวกับประเด็น

21

นี้ไว้แตกต่างกันออกไปรัฐบาลเองก็มีนโยบายในการพัฒนาประเทศโดยเน้นไปท่ีการแก้ไขปัญหาความยากจน
โดยผ่านกลไกการทางานของหน่วยงานภาครัฐท่ีมีอย่างหลากหลายรวมทั้งหน่วยงานภาคเอกชนท่ีเข้ามามี
บทบาทในการพัฒนาประเทศเพ่ือให้บรรลุเป้าหมายคือลดจานวนคนยากจนลงซึ่งกลยุทธ์หรือมาตรการในการ
แก้ไขปัญหาความยากจนของท้ังภาครัฐบาลและเอกชนมีรูปแบบท่ีแตกต่างกันออกไปภาครัฐบาลได้ใช้กลยุทธ์
ท้งั ทางด้านเศรษฐกิจโดยการส่งเสรมิ และผลักดนั อาชพี ในชมุ ชนดว้ ยโครงการต่างๆอาทิเช่นโครงการหนึ่งตาบล
หนึ่งผลิตภัณฑ์โครงการอินเตอร์เน็ตตาบลการส่งเสริมให้ประชาชนผู้ด้อยโอกาสสามารถเข้าสู่ระบบการเงินท่ี
เป็นมาตรฐานเดียวกันเช่นโครงการธนาคารประชาชนและโครงการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติท่ี
มุ่งเน้นการกระตุ้นเศรษฐกิจในระบบฐานรากของประเทศการพักชาระหนี้เกษตรกรและปรับบาทธนาคารเพื่อ
การเกษตรและสหกรณใ์ หเ้ ปน็ ธนาคารเพอื่ การพฒั นาชนบท

ส่วนกลยุทธ์ด้านสังคมนั้นรัฐบาลได้มุ่งเน้นการส่งเสริมความเข้มแข็งของชุมชนและความสามารถใน
การบริหารจัดการเงินกองทุนของตนเองโดยดึงชาวบ้านเข้ามามีส่วนร่วมในการทางานมากขึ้นเพ่ือให้ตระหนั ก
ถึงปัญหาในชุมชนอย่างแท้จริงเป็นการสร้างศักยภาพในการสร้างเสริมความเข็มแข็งของสังคมภายใต้แนวคิด
การพง่ึ ตนเองอนั นาไปสูก่ ารพัฒนาอย่างย่ังยืนพัฒนาศักยภาพของคนจนในการประกอบอาชีพโดยการส่งเสริม
กระบวนการเรียนรู้การพัฒนาความรู้และทักษะเพ่ือการประกอบอาชีพและการขยายโอกาสการจ้างงานท้ังใน
และนอกภาคเกษตรกรรมเช่นการสนับสนุนการเกษตรแบบยั่งยืนเพื่อช่วยเหลือครอบครัวยากจนการส่งเสริม
อุตสาหกรรมและธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมเพื่อเป็นแหล่งจ้างงานในภูมิภาคและชนบทการส่งเสริมและ
สนับสนุนระบบตลาดการส่งเสริมการจัดตั้งสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชนเพ่ือแก้ไขปัญหาหนี้นอกระบบแก่
ครัวเรือนยากจนและการสนับสนุนการทากิจกรรมกลุ่มสัจจะออมทรัพย์และการจัดต้ังกองทุนสวัสดิการชุมชน
นอกจากน้ียงั มโี ครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้าให้กับประชาชนอยา่ งทัว่ ถงึ เป็นตน้

กองทนุ ในชมุ ชน
การแก้ไขปญั หาความยากจนในรปู แบบของกองทุนชมุ ชนเป็นอีกมาตรการหน่ึงที่รัฐบาลทุกยุคทุกสมัย
ไดด้ าเนนิ การโดยมากรัฐบาลจะมีนโยบายหลักในการพัฒนาแล้วมอบหมายให้หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องดาเนินการ
ซ่งึ ในรายงานฉบับนี้จะขอนาเสนอรูปแบบของกองทุนท่ีเป็นท่ีรู้จักและมีความสาคัญต่อการพัฒนาประเทศโดย
แยกออกเปน็ 2 ส่วนคือกองทนุ ท่ภี าครัฐบาลดาเนนิ การและกองทุนท่ภี าคเอกชนดาเนินการ
สานักงานคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ(2544) ได้ให้ระเบียบของ
คณะกรรมการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติการบริหารจัดการกองทุนชุมชน ว่ามีคณะกรรมการ
บริหารจัดการกองทุนระดับชุมชน เรียกว่า คณะกรรมการกองทุนชุมชน ประกอบด้วย ตัวแทนของกลุ่ม
องคก์ รประชาชน และประชาชนในชมุ ชน ซึง่ ได้มาจากการคัดเลอื กกนั เอง โดยเวทีชาวบ้าน มีจานวน 9-15 คน
โดยมีกรรมการท่ีเป็นชายกับหญิงในสัดส่วนที่เท่าเทียมกัน สาหรับหน้าท่ีของคณะกรรมการกองทุนชุมชนทา
หน้าทเ่ี ชน่ เดียวกบั คณะกรรมการกองทุนหม่บู ้านและชมุ ชนเมือง
อย่างไรก็ตาม การบริหารจัดการกองทุนชุมชนจะสามารถบรรลุผลได้หรือไม่นั้นส่วนหนึ่งขึ้นอยู่กับ
คณะกรรมการ การท่ีกองทุนจะมีคณะกรรมการดี มีความรู้ ประสบการณ์ เสียสละและรับผิดชอบ จะทาให้
กองทุนประสบความสาเร็จ (สานักงานคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ, 2544)
ซ่ึงสอดคล้องกับสานักบริหารการปกครองท้องท่ี (ชุมพล เสมาขันธ์, 2547) ได้กล่าวถึงคณะกรรมการกองทุน
วา่ ตอ้ งเป็นบุคคลท่ีมคี วามรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์ มีความรับผิดชอบ และเป็นทีย่ อมรบั ของประชาชน
นอกจากนี้ การจัดระเบียบของกองทุนชุมชนยังเป็นบทบาทหน้าท่ีของคณะกรรมการท่ีจะต้อง
ดาเนินการให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพของชุมชน ซ่ึงชุมพล เสมาขันธ์ (2547) ได้กล่าวถึงความ
เหมาะสมของกฎ ระเบียบกองทุน หมายถึง การยอมรับของสมาชิกกองทุนเก่ียวกับอัตราดอกเบ้ียเงินกู้และ

22

อัตราค่าปรับการจัดสรรกาไรประจาปีกาหนดระยะเวลาในการส่งคืน หลักเกณฑ์การเสนอโครงการขอกู้ การ
อนุมัติเงินกู้ และหลักเกณฑ์การปรับต้องมีความเหมาะสม ชัดเจนและสอดคล้องกับการประกอบอาชีพและ
สภาพการดาเนนิ ชวี ติ ของแต่ละท้องถิ่น

ศุภโชค ชนุ อิว๋ (2556) ไดก้ ล่าวถงึ ความสาคญั ของกองทุนหมบู่ ้านและชมุ ชนเมือง ไวด้ ังนี้
1. เป็นสิง่ ที่แสดงถงึ ความรับผดิ ชอบตอ่ ตนเอง ตอ่ กลุม่ และตอ่ ชมุ ชน
2. เป็นการแก้ไขให้มีวินัยทางการเงิน คือ การรู้จักการวางแผนจับจ่ายใช้สอยนอกจากนี้ยังเป็นการ

สร้างคนให้มีความเห็นอกเห็นใจซ่ึงกันและกัน เป็นการสร้างความไว้วางใจระหว่างกันในหมู่
สมาชิก ซงึ่ ทาให้สังคมมีความสงบสขุ
3. ทาให้บุคคลน้ันๆ หรือกลุ่มมีเงินทุนในการหมุนเวียนประกอบอาชีพ การออม ทาให้กลุ่มมีเงินทุน
กองทุนนั้นจะมีการเติบโตขึ้น หากกลุ่มมีความเข้มแข็งและคงอยู่ตลอดไป จานวนเงินทุนก็จะโต
ขน้ึ กลมุ่ กจ็ ะมเี งินทุนหมนุ เวยี นเปน็ ของตนเอง โดยไมต่ ้องมีการพ่งึ พาท่อี ืน่
กองทนุ หมู่บา้ นและชุมชนเมือง แบ่งออกเปน็ 2 ระดับกองทนุ คอื
1. กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ เป็นกองทุนรวมในระดับชาติเพ่ือจัดสรรให้แก่

หมู่บ้านและชุมชนเมือง ตามหลักเกณฑ์ท่ีคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
แห่งชาตกิ าหนด
2. กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง เป็นกองทุนหมุนเวียนหมู่บ้านและชุมชนเมือง เม่ือเร่ิมก่อตั้ง
จะไดร้ ับเงนิ อดุ หนุนจากกองทุนหมบู่ ้านและชุมชนเมอื งบรหิ ารจัดการกนั เอง โดยการกู้เป็นไป
ตามวัตถุประสงค์ และมอี ตั ราดอกเบ้ียในระดับต่า
ดังน้ัน ในการบริหารจัดการกองทุนชุมชนให้ได้ผลดีย่ิงขึ้น คณะกรรมการกองทุนจึงควรพิจารณา
รายละเอียดต่างๆ ให้รอบด้าน ท้ังตัวคณะกรรมการเอง กลยุทธ์ในการบริหารจัดการ สมาชิกและกฎ ระเบียบ
ของกองทุน

2.2 งานวิจัยที่เก่ียวข้อง

อเนก ชิตเกษร (2554) ได้ทาการศึกษาเร่ือง “การจัดการรายจ่าย และเพ่ิมพูนรายได้เชิงบูรณาการ
ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงตาบลท่าตุ้ม อาเภอป่าซางจังหวัดลาพูน” พบว่าการสร้างความตระหนักและการ
ยอมรับถึงประโยชน์ของการบันทึกบัญชีครัวเรือน การกาหนดแผนกิจกรรมเพ่ือดาเนินการลดรายจ่ายตาม
ข้อมูลจากการบันทึกบัญชีครัวเรือน การดาเนินกิจกรรมตามแผนโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนมุ่งเน้นการใช้
ทรัพยากรและภูมิปัญญาท้องถิ่น การเสริมประสิทธิภาพด้วยการพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ทางวิชาการเป็น
เคร่ืองมือในการขับเคล่ือนกิจกรรม การประเมินผลกิจกรรมเพ่ือวิเคราะห์ปัญหาอุปสรรครวมท้ังการปรับปรุง
แก้ไขการดาเนินกิจกรรมในรอบต่อไป อีกทั้งมาตรการในการกระตุ้นและส่งเสริมให้ชุมชนดาเนินการอย่าง
ต่อเน่ืองเพื่อนาไปสู่การออมอย่างย่ังยืน ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายรัฐบาลและหน่วยงานที่เก่ียวข้องได้แก่
กรมการพัฒนาชุมชน กรมส่งเสริมบัญชีสหกรณ์องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น กรมส่งเสริมการปกครองส่วน
ท้องถ่ิน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) ต้องทางานในรูปแบบเครือข่ายและวางแผน
ดาเนินงานร่วมกันโดยไม่แยกส่วนกันเพื่อให้การพัฒนาชุมชนเป็นไปอย่างครบวงจรและมีประสิทธิภาพอย่าง
ย่ังยืน โดยเร่ิมต้ังแตก่ ารสร้างความตระหนักและความเข้าใจแก่ชุมชนถึงปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการ
นาปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งไปสู่การปฏบิ ัติในชวี ติ ประจาวันอย่างเป็นรูปธรรม เริ่มต้ังแต่การทาบัญชีครัวเรือน
การนาข้อมูลจากการลงบันทึกบัญชีครัวเรือนไปสู่การกาหนดกิจกรรมลดรายจ่ายและเพ่ิมรายได้อย่างต่อเนื่อง

23

และจริงจัง ทาหน้าท่เี ปน็ พีเ่ ลี้ยงใหแ้ ก่ชมุ ชนและพยายามผลักดันใหช้ มุ ชนสรา้ งความเข้มแขง็ ดว้ ยตนเอง โดยยึด
หลักการทางานแบบมีส่วนร่วมและใช้ทุนทางทรัพยากร ทุนภูมิปัญญา รวมทั้งทุนทางสังคมภายในชุมชนมา
สรา้ งมลู ค่าเพม่ิ

อัชญา ไพคานาม (2554) ได้ทาการศึกษาเร่ือง “การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้จ่ายเพ่ือพัฒนา
คุณภาพชีวิตอย่างยงั่ ยืนโดยการจัดทาบัญชีครวั เรอื น กรณีศึกษา ชุมชนตาบลหนองหารอาเภอสันทราย จังหวัด
เชียงใหม่” จากการศึกษาพบว่า ทาให้ทราบถึงรายรับ-รายจ่ายของประชากรในหมู่บ้านท่ีแตกต่างกัน กลุ่ม
ตัวอย่างส่วนใหญ่จะมีรายรับที่สูงกว่ารายจ่าย โดยรายจ่ายท่ีเกิดขึ้นมีทั้งรายจ่ายที่จาเป็นต่อครัวเรือน และ
รายจา่ ยที่ไมจ่ าเป็นต่อครวั เรือน ทางคณะผู้วิจัยจึงได้จาแนกรายจ่ายที่เกิดขึ้นของกลุ่มครัวเรือนตัวอย่างท้ัง 10
ครัวเรือน ซ่ึงมีรายจ่ายท่ีสูงเกินความจาเป็นใน 3 อันดับแรก คือ ค่าใช้จ่ายอื่นๆ ค่าอาหารและค่าของใช้
ตามลาดับซ่ึงค่าใช้จ่ายอ่ืนๆประกอบด้วย ค่าทาบุญในเทศกาลหรือโอกาสงานต่าง ๆ ค่าขนม ค่าเคร่ืองดื่มและ
ซ้ืออาหารสุนัข เป็นต้น รายจ่ายในหมวดอาหาร เช่นซื้อผัก เน้ือหมู หรืออาหารสาเร็จรูปจากตลาด และ
รายจ่ายในหมวดของคา่ ของใช้เชน่ ค่าสบู่ แชมพยู าสฟี นั เป็นตน้ ซง่ึ ทางคณะผู้วิจยั ได้ให้แนวความคิดในการลด
รายจ่ายของแต่ละครัวเรือนลงได้โดย 1) ค่าทาบุญหรืองานพิธีการต่างๆไม่ว่าจะเป็นงานศพ ขึ้นบ้านใหม่ฯลฯ
ให้ทุกคนมีการจัดงบประมาณ หรือกาหนดค่าทาบุญต่อเดือนเพื่อไม่ให้เกิดรายจ่ายท่ีสูงเกินความจาเป็น 2)ค่า
ขนมเป็นค่าใช้จ่ายที่ไม่เกิดขึ้นเป็นประจา สามารถลดได้โดยลดจานวนการซื้อในแต่ละครั้งลง3) ค่าอาหาร เรา
ได้ส่งเสริมให้ประชากรมีการปลกผักสวนครัวไว้บริโภคเองซึ่งจะทาให้รายจ่ายค่าอาหารลดลงได้และทาให้
ประชากรมรี ายได้เพม่ิ ขึ้น

สุขใจ น้าผุด และอนุชนาฎ เจริญจิตรกรรม (2551) กล่าวว่า การจัดการการเงินส่วนบุคคล หมายถึง
การจัดการทรัพยากรทางการเงินท่ีบุคคลมีอยู่หรือได้มาให้บรรลุจุดมุ่งหมายท่ีวางไว้อย่างดีท่ีสุด คือให้บุคคล
ได้รับความม่งั ค่ังสงู สดุ อันจะนามาซ่งึ ความผาสกุ และความมีเสถยี รภาพทางการเงิน

ปัทมาวดี โพชนุกุล ซูซูกิ (2552) ได้ศึกษาปัจจัยความสาเร็จในการก่อตั้งและพัฒนาองค์กรชุมชน
พบวา่ การใช้กระบวนการจดั การความรู้โดยอาจเช่ือมโยงกบั เครอื ข่ายองคก์ รการเงินที่มีอยู่เดิม ซึ่งทาให้องค์กร
การเงินชุมชนสามารถพฒั นาตนเองไปได้ ในขณะเดียวกันองค์กรการเงินชุมชนก็สามารถเป็นหน่วยจัดการการ
เรียนรู้เพ่ือพัฒนาคน และสร้างทุนทางสังคมได้โดยมองว่าการก้าวข้ามการยึดติดกับกรอบคิดเดิม ๆ ว่า การ
พัฒนาองค์กรขึ้นอยู่กับผู้นาสมาชิกกติกา เพราะปัจจัยเหล่านี้อาจสามารถเปล่ียนแปลงไปในทางบวกได้หากมี
การจัดการความรู้ที่เหมาะสม และนาไปสู่ข้อเสนอแนะต่อหน่วยงานสนับสนุนอื่น ๆ คือ การสนับสนุนการ
จัดการการเรียนรู้ และการสร้างความรู้ในพน้ื ท่ี

อิสรภาพ คาฟู (2554) ได้ศึกษาเรื่อง “ปัญหาและแนวทางการบริหารจัดการกองทุนหมู่บ้าน ตาบล
บ้านพ้ี อาเภอบ้านหลวง จังหวัดน่าน” ผลการวิจัยพบว่า ควรมีการเปล่ียนแปลงคณะกรรมการเมื่อครบวาระ
การดารงตาแหน่ง 2 ปี ให้กรรมการกองทุนเสนอสมาชิกซื้อคอมพิวเตอร์เพื่อใช้ในกลุ่มกองทุน และควร
เปลยี่ นแปลงกาหนดส่งคืนเงนิ กู้ยมื จากเดอื นพฤศจกิ ายน เป็นเดือนธนั วาคม

นริศ ศรีเนตร, ประชุม กรุดสารท, และเสมอ แจ่มใส (2552) ได้ศึกษาเร่ือง “แนวทางการบริหาร
จัดการกองทุนหมู่บ้านชุมชนทหารในค่ายสมเด็จพระเอกาทศรถ” ผลการวิจัยพบว่า ปัญหาด้านการบริหาร
จัดการ คณะกรรมการดาเนินงานของกองทุนขาดความรู้ ความชานาญ ในการดาเนินงาน ควรได้รับการ
สนับสนนุ และสง่ เสริม การเรียนรู้ หรอื ศกึ ษาดงู านภายนอกเพ่ิมเตมิ ดา้ นบริหารบคุ ลากรทเ่ี ก่ยี วข้องกับกองทุน
คณะกรรมการขาดมาตรการสร้างแรงจูงใจในการดาเนินงาน แต่การท่ีกองทุนหมู่บ้านชุมชนทหารสามารถ
ดาเนินงานบรรลุวัตถุประสงค์ของกองทุนในระดับหนึ่งนั้นได้ เนื่องจากวัฒนธรรมองค์กรทหาร คือ ความ
เสียสละ ความมีวินัยของสมาชิกในทุกระดับช้ัน ตั้งแต่ผู้บังคับหน่วยของกองทุนจนถึงสมาชิกระดับล่างสุด

24

วัฒนธรรมองค์กรของทหาร จึงเป็นตัวแปรท่ีสาคัญที่จะทาให้การบริการจัดการกองทุนหมู่บ้านชุมชนทหาร
เป็นประโยชนต์ อ่ สมาชกิ กองทนุ ทกุ คน

สาธิต กฤดาคม (2556) ได้ทาการศึกษาเร่ืองความเข้มแข็งในการจัดการกองทุนหมู่บ้านและชุมชน
เมืองของหมู่บ้านหนองหลวงพัฒนา ตาบลป่าไผ่ อาเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ ผลการศกึ ษาพบว่า

1. สภาพการดาเนินงานของกองทุนหม่บู า้ นและชมุ ชนเมอื งของหมู่บา้ นหนองหลวงพัฒนา ตาบลป่าไผ่
อาเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ ลักษณะการดาเนินการทั่วไปของคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้านในภาพรวม
อยใู่ นระดับปานกลลางถงึ มาก โดยสว่ นใหญ่การดาเนินการคณะกรรมการมคี วามชัดเจนในบทบาทหน้าที่ ได้รับ
การยอมรับจากสมาชิก และมีความซ่ือสัตย์สุจริตในระดับปานกลางถึงดีมาก รองลงมาคือ การดาเนินการ
คณะกรรมการมีความร้คู วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั กองงทุนมีความสามารถการบริหารจัดการ และมีความเสียสละเพื่อ
สว่ นร่ม โดยลักษณะการดาเนินการท่ัวไปของสมาชิกกองทุนหมู่บ้านในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลางถึงดีมาก
สมาชิกกองทุนมีความซื่อสัตย์สุจริต รองลงมาคือ สมาชิกกองทุนคืนหนี้เงินกู้ตามกาหนด สมาชิกกองทุนมี
ความพงึ พอใจการบริหารงานกองทนุ และมีความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั กองทนุ

2. ความเข้มแข้งในการบริหารและจัดการกองทุนหมู่บ้านหนองหลวงพัฒนา ตาบลป่าไผ่ อาเภอสัน
ทราย จงั หวัดเชียงใหม่ พิจารณาตามความเห็นของคณะกรรมการและมาชิกกองทุนหมู่บ้านหนองหลวงพัฒนา
จากองค์ประกอบ 5 ประการ คือ การมีส่วนร่วมของผู้นาทางความคิดในชุมชน ระเบียบกฎเกณฑ์ โครงสร้าง
การบริหารงาน การเรียนรู้และเช่ือมโยงเครือข่ายและผลของกองทุนที่มีต่อสมาชิกซ่ึงผลการศึกษาในแต่ละ
องคป์ ระกอบมีดังนี้

2.1 การมีส่วนร่วมของผู้นาทางความคิดในชุมชนของกองทุนหมู่บ้านในภาพรวมอยู่ในระดับน้อยถึง
ปานกลาง โดยส่วนใหญ่ผู้นาทางความคิดหรือผู้นาทางชุมชนได้มีส่วนร่วมในการบริหารจดการกองทุน
ประกอบกับผู้นาทางความคิดหรือผู้นาทางชุมชนมีส่วนในการคัดเลือกกรรมการบริหารกองทุน และผู้นาทาง
ความคิดมคี วามถใ่ี นการเขา้ ประชุมกองทุน

2.2 ระเบียบกฎเกณฑ์ของกองทุนหมู่บ้านในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลางถึงมากโดยส่วนใหญ่การ
อนมุ ัตเิ งนิ กเู้ ปน็ ไปตามระเบียบกฎเกณฑ์ของกองทุนอยู่ในระดับปานกลางถึงมาก รองลงมาคือ การจัดทาบัญชี
ของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองเป็นไปด้วยความถูกต้อง และระเบียบกฎเกณฑ์ท่ีคณะกรรมการกองทุน
ได้รับความเหน็ ชอบจากท่ีประชุมสมาชกิ กองทุน

2.3 โครงสร้างการบริหารงานของกองทุนหมู่บ้านในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลางถึงมาก โดยส่วน
ใหญ่ความชัดเจนในโครงสร้างการบริหารจัดการกองทุนและคณะกรรมการกองทุนได้ทาการตรวจสอบกากับ
และดแู ลผลประโยชน์ของกองทุนรว่ มกันรองลงมาคือ กองทุนมีหลักฐานในการรับจ่ายเงินที่สามารถตรวจสอบ
ได้ และกองทุนของทา่ นมีความชัดเจนในการแบง่ งานของคณะกรรมการกองทนุ

2.4 การเรียนรู้และเชื่อมโงเครือข่ายของกองทุนหมู่บ้านในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลางถึงมากโดย
ส่วนใหญก่ ารพัฒนาความรแู้ ละประสบการณ์ในการบริหารจัดการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง รองลงมาคือ
การพัฒนาศักยภาพของคณะกรรมการและผู้นากองทุนอย่างต่อเนื่อง และกองทุนมีการเช่ือมโยงเครือข่าย
ระหวา่ งกองทุน

2.5 ผลของกองทุนท่ีมีต่อสมาชิก ผลของกองทุนท่ีมีต่อสมาชิกของกองทุนหมู่บ้านในภาพรวมอยู่ใน
ระดับปานกลางถึงมาก โดยส่วนใหญก่ ารนาเงินท่ีได้รับอนุมัติกู้จากกองทุนไปใช้ในการพัฒนาอาชีพของสมาชิก
และระเบียบวนิ ัยในการชาระเงนิ กู้ของสมาชกิ รองลงมาคือ มีรายได้เพ่ิมขึ้นจากการนาเงินที่ได้รับบอนุมัติไปใช้
ในการลงทุน และมีการสร้างงานขึ้นในชุมชนเมื่อพิจารณาความเข้มแข็งในการบริหารจัดการกองทุนหมู่บ้าน
หนองหลวงพฒั นา ตาบลปา่ ไผ่ อาเภอสนั ทราย จังหวัดเชียงใหม่ โดยภาพรวมตามความเหน็ ของคณะกรรมการ

25

และสมาชิกกองทุนแล้วพบว่า กองทุนหมู่บ้านหนองหลวงพัฒนามีความเข้มแข็งในการบริหารจัดการอยู่ใน
ระดับปานกลางถึงมาก เน่ืองจากการบริหารจัดการหมู่บ้านหนองหลวงพัฒนา ตาบลป่าไผ่ อาเภอสันทราย
จังหวัดเชียงใหม่ ยังมีการพัฒนาศักยภาพของคณะกรรมการกองทุนและผู้นากองทุนน้อย การเรียนรู้และ
เช่ือมโยงเครือข่ายของสมาชิก การเชื่อมโยงระหว่างกองทุน การรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาอาชีพของสมาชิกกองทุน
ตลอดจนการแลกเปล่ียนประสบการณ์และศึกษาดูงานระหว่างกองทุนของคณะกรรมการต้องมีการพัฒนา
อยา่ งตอ่ เนือ่ ง แตก่ ารบริหารจัดการหมู่บ้านหนองหลวงพัฒนามีเจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนเป็นผู้ดูแล สนับสนุนให้
มีการฝึกอบรมและแนะนาแนวทางในการดาเนินงาน รวมท้ังมีการสร้างเครือข่ายระหว่างกองทุน จาก
ผลการวิจัยพบว่า สมาชิกมีความเป็นอยู่ดีข้ึน เศรษฐกิจในชุมชนดีขึ้นและสมาชิกมีการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนา
อาชีพ ภายหลังการดาเนินการกองทุนที่จะสะท้อนให้เห็นว่ากองทุนให้ผลในทางท่ีดีต่อสมาชิกอยู่ในระดับปาน
กลาง

จานง จันทร์จอม (2552) ได้ทาการศึกษาเร่ือง “รูปแบบการจัดการหน้ีสินเชิงบูรณาการเพื่อความ
เขม้ แขง็ ของชมุ ชน บ้านสามขา ตาบลหัวเสือ อาเภอแม่ทะ จังหวัดลาปาง” จากการศึกษาพบว่า กระบวนการ
ท่ีจะทาให้คนในชุมชนตระหนักต่อปัญหาท่ีเกิดข้ึนในชุมชนน้ัน ส่ิงสาคัญอีกอย่างคือ การท่ีผู้นาต้องเป็น
แบบอยา่ งต่อเรอ่ื งนัน้ ๆ ผนู้ าในที่นี้ไม่ไดห้ มายถึงเพียงแค่ผู้ใหญ่บ้าน แต่หมายรวมถึงแกนนา กลุ่มคนท่ีเป็นแกน
หลักในการขับเคลื่อนงานส่วนรวม ชุมชนเล็กๆอย่างบ้านสามขา ให้ความสาคัญกับผู้นามาก ถ้าผู้นาสามารถ
เป็นแบบอยา่ งท่ดี ี และสรา้ งรูปธรรมให้เหน็ ได้ชดั เจน คนในชุมชนสว่ นใหญ่ก็จะเริ่มคิดพิจารณาเห็นร่วมและจะ
มีการบอกต่อกันเป็นวงกว้างออกไป อย่างการจัดการปัญหาหน้ีสินโดยการไถ่ถอนหนี้สินของกลุ่มสัจจะออม
ทรพั ย์ แรกๆหลายๆคนคิดว่าเปน็ การเข้ามาวุ่นวายกับครอบครัว แต่พอเห็นคนท่ีเข้าร่วมโครงการหลายคนเริ่ม
มีการจดั การหน้สี ินอย่างเปน็ ระบบ ภาระหนสี้ นิ ลดลงได้จริง จงึ เห็นความตงั้ ใจและความจริงใจของกลุ่มแกนนา
ทพ่ี ยายามช่วยเหลือคนในชุมชนอย่างไมม่ ผี ลประโยชนแ์ อบแฝง คนในชุมชนก็เริ่มบอกต่อและการต่อต้านก็เริ่ม
ลดลงไปเองเป็นกลมุ่ ทล่ี องทาก่อน ทาจรงิ ทาให้ดู สรา้ งให้เห็น ชาวบา้ นกจ็ ะเข้าใจและทาตาม

พระมหาฉันทยา คนเจน (2555) ได้ทาการศึกษาเรื่อง บทบาทของพระสงฆ์ต่อการพัฒนาทรัพยากร
มนุษย์ผ่านกิจกรรมทางเศรษฐกิจชุมชน ซึ่งเป็นบทบาทเชิงรุกของพระอาจารย์ในการเผยแผ่ธรรมะและการ
ช่วยเหลือคนในชุมชน จุดประสงค์ของบทบาทในส่วนน้ีเน้นการพัฒนาคน โดยใช้กิจกรรมทางเศรษฐกิจเป็น
เครื่องมือในการรวมคน ใช้วัฒนธรรม 2 ประการเป็นตัวต้ังในการพัฒนา คือ วัฒนธรรมในการสร้าง
กัลยาณมิตรและวัฒนธรรมในการมีส่วนร่วมแบบโยนิโสมนสิการ เพื่อจะเผยแผ่ธรรมะและช่วยเหลือชุมชนให้
พน้ ทกุ ข์ โดยใชก้ จิ กรรมทางเศรษฐกิจเป็นเครื่องมือในการเทศน์สอน และการพัฒนาคนในชุมชน บทบาทและ
กระบวนการการพัฒนามนุษย์ของพระสงฆ์ จึงมีส่วนสาคัญในการขับเคล่ือนให้เกิดผลการพัฒนาท้ังทางด้าน
เศรษฐกิจและสังคม โดยเฉพาะปัญหาทางด้านเศรษฐกิจ ความยากจน หนี้สิน ที่เกิดจากความจาเป็นทาง
การเงิน โดยมกี ระบวนการในการพฒั นามนุษย์ผ่านองคป์ ระกอบย่อยทางทุนสังคม 2 อย่าง ด้านโครงสร้างและ
มโนทศั น์ โดยการสรา้ งกฎระเบียบใหก้ บั กลมุ่ สจั จะสะสมทรพั ยน์ าไปพิจารณาลงเป็นมติกฎระเบยี บของกลุ่ม

ประคอง สุคนธจิตต์ และคณะ (2558) รายงานวิจัยเพ่ือท้องถ่ินฉบับสมบูรณ์ โครงการแนวทางการ
บรหิ ารจัดการสวัสดกิ ารเครอื ขา่ ยองคก์ รชุมชนเขตบางเขน จากการทคี่ ณะทมี วิจัยได้ทาการศึกษาแนวทางการ
บริหารจดั การเครอื ข่ายองค์กรชุมชนเขตบางเขน ทาใหไ้ ด้รับทราบประเดน็ ต่าง ๆ ของกองทุน อาทิเช่น ประวัติ
ความเป็นมา รูปแบบกองทุน ปัจจัยและเง่ือนไขความสาเร็จของการจัดกองทุน ปัญหาและอุปสรรคในการ
บริหารจัดการ ความต้องการของชุมชนเกี่ยวกับกองทุน การวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและภัยคุกคาม
ของกองทุน การมสี ่วนรว่ มและการรวมตัวกนั ของกองทนุ ตลอดจนการจดั หารูปแบบที่เหมาะสมและการจัดการ
กองทุนสวัสดิการชุมชนระดับเขตบางเขน ซ่ึงทุกประเด็นท่ีศึกษาเป็น ประเด็นสาคัญท่ีจะทาให้ กองทุน

26

สวัสดกิ ารชมุ ชนระดบั เขตบางเขนสามารถเตบิ โตและเปน็ หลักประกนั เพ่ือความมั่นคงของคนในชุมชน สามารถ
สร้างระบบช่วยเหลือดูแลกันเอง จากผลของการจัดสวัสดิการชุมชนคือ เกิดความสัมพันธ์ท่ีดีของคนในชุมชน
การช่วยเหลือเกื้อกูลกัน ความรู้สึกมั่นคง ภาคภูมิใจ อยู่อย่างมีศักดิ์ศรีและมีความสุขท้ังกายและจิตใจ และ
ประการสาคัญเป็นแนวทางท่ีกองทุนสวัสดิการชุมชนระดับเขตบางเขนนาไปประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการ
กองทุนใหม้ ปี ระสิทธิภาพ และประสิทธผิ ลมากย่ิงขนึ้ อันเป็นผลสัมฤทธิ์จากการวิจัยเพื่อท้องถิ่น (community
base research) รวมทั้งเป็นตัวแบบ (model) ให้กับชุมชนอื่น ๆ ที่ริเริ่มจัดตั้งสวัสดิการชุมชนนาไปเป็น
ตวั อยา่ งต่อไป

27

บทท่ี 3

วิธีการดาเนินงาน

3.1 วธิ ีการดาเนินงาน

โครงการวิจัยเรื่อง แนวทางการบรหิ ารจัดการการเงินชุมชน โดยยึดหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
บา้ นสันป่าส้าน หมู่ที่12 ตาบลห้วยแก้วอาเภอภูกามยาว จังหวัดพะเยา เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วน
ร่วม (PAR: Participatory Action Research) มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาเงื่อนไขปัจจัยพฤติกรรมท่ี
เก่ยี วข้องกับการบรหิ ารจดั การเงินตัง้ แตอ่ ดีตถงึ ปจั จบุ นั (2) เพื่อศกึ ษาแนวทางการบริหารจัดการการเงินชุมชน
โดยยดึ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งบ้านสันป่าส้านหมู่ 12 ตาบลห้วยแก้วอาเภอภูกามยาวจังหวัดพะเยา
(3) เพื่อบูรณาการแนวทางการวจิ ัยของชมุ ชนไปใช้ในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่
เหมาะสมในพน้ื ท่ี

ขอบเขตการวจิ ัย
ขอบเขตขอบเขตดา้ นเนอ้ื หา
มุ่งศึกษาเง่ือนไข ปัจจัย พฤติกรรมที่เก่ียวข้องกับการบริหารจัดการเงินตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน ที่มี

องค์ประกอบของข้อมูลพ้ืนฐานของชุมชนได้แก่ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพหลัก อาชีพเสริม ต้นทุนชุมชน
รายได้ รายจ่าย ลักษณะครัวเรือน รายได้รวมของครัวเรือน การออมในครัวเรือน ภาวะหนี้สิน หน่วยงานที่
สนับสนนุ ความรูค้ วามเขา้ ใจในการจัดการการเงินโดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและปรัชญาคิดเป็น
ในการดารงชีวิต ตลอดจนการมีส่วนร่วมในการกาหนดรูปแบบและแนวทางในการจัดการการเงินของคนใน
ชุมชน เพอ่ื นามากาหนดเป็นแนวทางการบรหิ ารจดั การการเงินชมุ ชนโดยยดึ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
และบูรณาการแนวทางการวิจัยของชุมชนไปใช้ในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยท่ี
เหมาะสมในพนื้ ท่ี

ขอบเขตของกลมุ่ เปา้ หมาย
ประชากร ประกอบดว้ ย ประชาชนในชมุ ชนบ้านสนั ปา่ สา้ น หมทู่ ่ี 12 ตาบลห้วยแก้ว อาเภอภูกามยาว
จังหวัดพะเยา
กลุ่มตวั อยา่ งทางผู้วิจัยใช้การคดั เลอื กกลุม่ ตวั อยา่ งแบบเจาะจง ประกอบดว้ ย

- สมาชิกในกลุ่มกองทนุ หม่บู า้ นสนั ปา่ สา้ น จานวน 22 ครัวเรอื น
- กลุ่มผนู้ าและแกนนาชุมชน
- ครู กศน. ตาบล

ขอบเขตพ้ืนที่
บ้านสนั ป่าสา้ น หมู่ท่ี 12 ตาบลหว้ ยแกว้ อาเภอภูกามยาว จังหวดั พะเยา

28

ระยะเวลาในการดาเนนิ งาน
การดาเนินงาน 1 ปี 4 เดอื น (16 เดอื น) โดยกาหนดใหร้ ะยะเวลาในการดาเนินการตง้ั แตว่ นั ที่ 1
พฤษภาคม 2559ถงึ 30 กนั ยายน 2560และขยายเวลาตั้งแต่ วนั ที่ 1 ตุลาคม 2560 ถงึ 30 พฤศจิกายน 2560
งบประมาณในการดาเนนิ งาน

ระยะท่ี 1 จานวน 105,340 บาท (-หนง่ึ แสนห้าพันสามร้อยสีส่ บิ บาทถว้ น-)
ระยะท่ี 2 จานวน 94,660 บาท (-เก้าหมน่ื สี่พนั หกรอ้ ยหกสิบบาทถว้ น-)
รวมงบประมาณท้งั สน้ิ 200,000 บาท (-สองแสนบาทถว้ น-)
ภายใต้บันทกึ ความรว่ มมือสนับสนนุ งานวจิ ัยเพื่อทอ้ งถิ่น (MOU) ตามแนวทางของการ
Co-funding สัดส่วน 70 : 30 ระหว่างสานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และ ศูนย์การศึกษานอก
ระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ระดับอาเภอ (กศน.อาเภอภูกามยาว)
กระบวนการทใ่ี ช้ในการดาเนนิ งาน
การดาเนินงานร่วมกันของทีมวิจัยกับชุมชนโดยมีการออกแบบกิจกรรมเพื่อให้สอดคล้องกับ
วัตถปุ ระสงค์ของการวิจัย ซึ่งมีกิจกรรมในระยะท่ี 1 จานวน 6 กิจกรรม ได้แก่ 1) การทบทวนรายรับ-รายจ่าย
ครัวเรือน คร้ังที่ 1-3 2) การสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3) การสรุปเง่ือนไขท่ี
เก่ียวข้องกับการจัดการการเงินตั้งแต่อดีต – ปัจจุบัน 4) การแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยการศึกษาดูงานพื้นท่ี
ต้นแบบการประยุกต์ใช้หลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 5) การออกแบบ และกาหนดรูปแบบกิจกรรมใน
การบริหารจัดการการเงินชุมชนทั้งมิติครัวเรือน และมิติชุมชน และ6) เวทีสรุปผลการดาเนินงานระยะท่ี 1
และจดั ทารายงานความก้าวหน้าในระยะที่ 1 รว่ มกบั คนในชุมชนของบ้านสันป่าส้าน เริ่มจากการลงพื้นท่ีในแต่
ละคร้ังเพ่ือดาเนินการตามกิจกรรม ซึ่งในการลงพื้นที่จะมีกระบวนการ ดังนี้ คือ การประชุมกลุ่มย่อย การใช้
เครื่องมือในการดาเนินกิจกรรมแต่ละกิจกรรม ได้แก่ (1) การทบทวนรายรับ-รายจ่ายครัวเรือน คร้ังท่ี 1-3
ใช้เคร่ืองมือคือ โอ่งเศรษฐกิจ Time Line ปฏิทินฤดูกาล และการ SWOT Analysis (2) กิจกรรมการสร้าง
ความเข้าใจเก่ียวกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ใช้รูปแบบของการฝึกอาชีพ การให้ความรู้เร่ืองทาบัญชี
ครัวเรือน การให้ความรู้เกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยวิทยากรที่มีความรู้ ความชานาญ
ผ่านการลงมือปฏิบัติจริง (3) การสรุปเง่ือนไขที่เก่ียวข้องกบั การจดั การการเงนิ ตงั้ แต่อดตี – ปัจจุบนั โดยวิธีการ
แบง่ กลุ่มย่อย และ Mind Mapping (4) การศึกษาดงู าน (5) การออกแบบ และกาหนดรูปแบบกิจกรรมในการ
ริหารจัดการการเงินชุมชนท้ังมิติครัวเรือน และมิติชุมชน โดยการประชุมกลุ่มย่อย Mind Mapping ลงมือ
ปฏิบัติการการวิเคราะห์บัญชีครัวเรือน (6) เวทีสรุปผลการดาเนินงานระยะท่ี 1 และจัดทารายงาน
ความก้าวหนา้ ในระยะที่ 1
การดาเนินงานร่วมกันของทีมวิจัยกับชุมชนโดยมีการออกแบบกิจกรรมเพ่ือให้สอดคล้องกับ
วัตถุประสงค์ของการวิจัย ซ่ึงมีกิจกรรมในระยะท่ี 2 จานวน 7 กิจกรรม ได้แก่ 1)เวทีแลกเปล่ียนและนาเสนอ
รายงานความก้าวหน้า คร้ังท่ี 1-2 2)เวทีทบทวนและวางแผนการดาเนินงานเตรียมเน้ือหารายงาน
ความก้าวหน้างานวิจัยฉบับสมบูรณ์ครง้ั ที่ 1-2 3)เวทสี ง่ เสริมสนับสนุนการดาเนินการจดั กิจกรรมคร้ังท่ี 1-3 4)
เวทีวิเคราะห์ผลท่ีได้จากการดาเนินงานท้ังในเชิงเรียนรู้ของคนในครัวเรือนชุมชน คร้ังที่ 1-2 5) เวทีสรุป
บทเรียนการดาเนินงาน ระยะที่ 2 และจัดทารายงานฉบับสมบูรณ์ 6)ศึกษาดูงานแนวทางบริหารจัดการ
การเงนิ ชุมชนบา้ นสามขา จังหวัดลาปาง(นอกแผน) 7)เวทีงานสื่อสารสาธารณะชุมชนวิจัย รากฐานใหม่ สู่การ

29

เรียนรู้ตลอดชีวิต เริ่มจากการลงพื้นที่ในแต่ละคร้ังเพ่ือดาเนินการตามกิจกรรม ซึ่งในการลงพ้ืนท่ีจะมี
กระบวนการ ดังนี้ (1) เวทีแลกเปลี่ยนและนาเสนอรายงานความก้าวหน้าคร้ังท่ี 1-2 โดยใช้การประชุมกลุ่ม
ยอ่ ย การใช้เคร่ืองมือในการดาเนนิ กจิ กรรมชมวีดีทัศน์ หลังจากน้ันได้ลงพ้ืนท่ีจริง ดูครัวเรือนตัวอย่างท่ีได้น้อม
นาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ เป็นการวิพากยท์ ีมวิจัยชุมชนทุกอาเภอที่นาเสนอ สาหรับทีมวิจัย กศน.
อาเภอภูกามยาวได้นาเสนอการวิจัยผ่านวีดิทัศน์โดยมี นางวารณี วิชัยศิริและนายประเสริฐ รูปศรีหัวหน้า
โครงการและนายสราวุธ งอนจัตุรัส นักวิจัยชุมชน ให้นาเสนอด้วยวาจา (2)เวทีทบทวนและวางแผนการ
ดาเนินงานเตรียมเน้ือหารายงานความก้าวหน้างานวิจัยฉบับสมบูรณ์ครั้งท่ี 1-2 เป็นเวทีเตรียมความพร้อม
เทคนิคกระบวนการนาเสนอรายงานความก้าวหน้า (3)เวทีส่งเสริมสนับสนุนการดาเนินการจัดกิจกรรมครั้งท่ี
1-3 ศึกษาพฤติกรรมการเงินของแต่ละครัวเรือนโดยวิธีการแบ่งกลุ่มย่อย และ Mind Mapping (4)เวที
วิเคราะห์ผลที่ได้จากการดาเนินงานท้ังในเชิงเรียนรู้ของคนในครัวเรือนชุมชน คร้ังที่ 1-2 โดยการประชุมกลุ่ม
ย่อย ใช้เคร่ืองมือ Mind Mapping ลงมือปฏิบัติการการวิเคราะห์บัญชีครัวเรือน (5)เวทีสรุปบทเรียนการ
ดาเนินงาน ระยะท่ี 2 และจัดทารายงานฉบบั สมบรู ณ์ (6)ศกึ ษาดงู านแนวทางบริหารจดั การ การเงินชุมชนบ้าน
สามขา จ.ลาปาง (นอกแผน) (7)เวทีงานสื่อสารสาธารณะชุมชนวิจัย รากฐานใหม่ สู่การเรียนรู้ตลอดชีวิต
โดยการจัดนิทรรศการ การเสวนาแลกเปล่ียนเรียนรู้สิ่งท่ีได้จากการทางานวิจัยชุมชนและการสาธิตอาชีพการ
ทาอาหารหมู

3.2 เครอ่ื งมือทใ่ี ช้ในการดาเนินงาน
1. เคร่ืองมือ/กระบวนการ มีการประชุมกลุ่มย่อย ให้ความรู้ ความเข้าใจสร้างความตระหนักในการ

จัดทาบญั ชคี รัวเรือน
2. โอ่งเศรษฐกิจ เพื่อวิเคราะหร์ ายรบั -รายจ่ายของคนในชุมชน
3. เส้นแบ่งเวลา (Timeline) เพือ่ วิเคราะหส์ ถานการณ์การกอ่ ต้ังกองทนุ ชุมชน
4. ปฏิทินฤดกู าล/ปฏทิ นิ การผลิตทางการเกษตร เพ่อื ลาดบั กิจกรรมในการประกอบอาชีพเกษตรกรรม

ในแตล่ ะชว่ งเวลาของรอบปี
5. แผนชีวติ เป็นเคร่ืองมือทใ่ี ชใ้ นการวางแผนการดาเนนิ ชีวติ เพอ่ื สูเ่ ปา้ หมายชวี ิตในอนาคตอย่างย่ังยนื
6. กระบวนการวเิ คราะห์ SWOT เป็นเคร่ืองมือท่ใี ชใ้ นการวิเคราะห์จดุ อ่อน จุดแข็ง ของชุมชน เพื่อนา

ข้อมลู มาใช้ในการวางแผนพัฒนา
7. แผนผังความคิด (Mind mapping) เป็นเคร่ืองมือท่ีใช้ในการถ่ายทอดความคิดหรือข้อมูลต่างๆท่ีมี

อยใู่ นขณะนน้ั ใหเ้ ชื่อมโยงและ ลาดบั ความคิดทีห่ ลากหลายมมุ มอง เพอ่ื ใช้สรปุ หรอื สร้างองค์ความรูใ้ หม่
8. บญั ชคี รัวเรอื น เปน็ เคร่ืองท่ใี ห้ในการลงรายรบั -รายจา่ ย ของแต่ละครัวเรือน
9. ตารางวิเคราะห์ วิเคราะห์รายรับ รายจ่าย เป็นเครื่องมือในการตรวจสอบ รายรับ–รายจ่าย

ท่จี าเปน็ และรายจ่ายท่ีไมจ่ าเปน็
10. การประชุมกลุ่มย่อย เป็นการสร้างความเข้าใจกับทีมวิจัยในการลงพ้ืนที่จริง และการแลกเปล่ียน

เรยี นรู้การเสวนาของทีมวิจยั ชุมชน
11. ตารางการสรุปสถิติรายรับ-รายจ่ายของครัวเรือน เป็นเครื่องมือที่แสดงถึงข้อมูลรายรับ รายจ่าย

เชิงสถิตเิ ป็นภาพรวม

30

3.3 แผนการดาเนินงาน

ระยะท่ี 1 ต้ังแตว่ นั ท่ี 1 พฤษภาคม 2559 – วันที่ 31 ธนั วาคม 2559

กจิ กรรม วัตถุประสงค์ กลมุ่ เปา้ หมาย ระยะเวลา

กจิ กรรมท่ี 1 - เพอ่ื สรา้ งความเข้าใจกับทีมวิจยั -ทมี นกั วจิ ัย 16 คน คร้ังที่ 1
จดั เวทปี ระชมุ ชแ้ี จง - เพ่อื เตรียมความพร้อมของทีม วนั ที่ 17พฤษภาคม 2559
วัตถุประสงคแ์ ละแนวทาง นกั วจิ ัยในส่วนของทีมครู กศน. กศน.อาเภอภูกามยาว
ในการดาเนนิ งานร่วมกับ และทีมวิจยั หลักในชมุ ชน ครง้ั ท่ี 2
ชุมชนและสร้างความ - เพื่อวางแผนกาหนดบทบาท - ชุมชน 22 คน วันท่ี 16 มถิ ุนายน 2559
เข้าใจเกี่ยวกับงานวิจัยให้ หน้าท่ีการดาเนินการวิจยั - ทมี นกั วิจัย 16 คน ศาลาอเนกประสงค์บ้าน
ไปในทิศทางเดียวกัน สนั ป่าส้าน ต.ห้วยแกว้
- รวมทง้ั หมด 38 อ.ภูกามยาว จ.พะเยา
กจิ กรรมท่ี 2 คน วันท่ี 22 มถิ นุ ายน 2559
เวทที บทวนรายรับ ศาลาอเนกประสงค์บ้าน
รายจ่ายของครัวเรอื น - เพือ่ ให้ทราบสาเหตข้อเท็จจรงิ - ทมี นักวิจัย16 คน สันป่าส้าน ต.ห้วยแก้ว
ครัง้ ท่ี 1 อ.ภูกามยาว จ.พะเยา
ทเ่ี ปน็ หนสี้ ิน/การกู้ยืม/กลุ่ม - ท่ีปรกึ ษา 2 คน
กิจกรรมที่ 3 วันที่ 8 กรกฎาคม 2559
เวทที บทวนสถานการณ์ ต่างๆที่ไมม่ ีความยัง่ ยนื - ชุมชน 22 คน ณ หมู่บ้านสันปา่ สา้ น
รายรับ-รายจ่ายระดบั หมทู่ ี่ 12 ต.หว้ ยแกว้
ครัวเรอื นและชุมชน - เพ่อื ใหท้ ราบข้อมลู และปจั จัย - ทมี กลไก 6 คน

เส่ยี งทีก่ อ่ ให้เกิดหน้ีสิน - พ่ีเลี้ยง 3 คน

- เพื่อวเิ คราะห์รายรบั -รายจ่าย รวมท้ังหมดมี 49

ระดับครวั เรือน คน

- เพือ่ ให้ทราบสภาวะการใชจ้ ่าย

สามารถนาไปวางแผนรายรับ-

รายจ่ายอย่างมประสิทธิภาพ

- เพอ่ื ให้ทราบถึงสถานการณ์

หนี้สนิ ของชุมชน

- เพื่อให้ทราบข้อมลู จดุ อ่อน-จดุ

แข็งของชมุ ชน

- เพอ่ื ทราบสาเหตุข้อเท็จจริงที่ ทีมวจิ ยั จานวน 16

เป็นหน/้ี การกยู้ ืม/กล่มุ ต่างๆ ที่ คนชมุ ชน จานวน

ไมย่ ่งั ยนื 22 คน

31

- ศึกษาเงื่อนไขปัจจยั - เพอ่ื ให้รู้ข้อมูลปจั จยั เส่ยี งท่ี รวมจานวน 38 คน อ.ภกู ามยาว จ.พะเยา
พฤติกรรมท่ีเกีย่ วข้องกับ กอ่ ให้เกดิ หนี้สิน
การบรหิ ารจดั การการเงิน - เพื่อวเิ คราะหร์ ายรบั -รายจา่ ย
ตั้งแต่อดีตจนถึงปจั จบุ นั ระดบั ครวั เรอื น
-วเิ คราะหส์ ถานการณ์ - เพือ่ ทราบสภาวะการใช้จ่าย
หน้ีสนิ ของชุมชนท่ีผ่านมา และสามารถนาไปวางแผน
การดาเนนิ งานบรหิ าร รายรับ–รายจา่ ยอย่างมี
กองทุนตา่ ง ๆ ทผ่ี ่านมา ประสทิ ธภิ าพ
เช่น กองทนุ หรอื การ - เพื่อให้ทราบถึงสถานการณ์
รวมกลุ่มอาชีพ หน้สี ินของชุมชน
เครื่องมอื /กระบวนการ - เพ่อื ใหท้ ราบข้อมูลจดุ อ่อน -
- SWOT Analysis จดุ แข็งของชมุ ชน
-ปฏิทินเศรษฐกิจ
- การประชุมกลุ่มยอ่ ย

กิจกรรมที่ 4 เพื่อทาความเขา้ ใจในหลัก - ทมี นักวิจยั 16 คน วันที่ 6 – 17 กรกฎาคม
เวทสี ร้างความเข้าใจใน ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง - ท่ีปรกึ ษา 2 คน 2559
หลกั ของการจัด โดยยดึ หลัก3 ห่วง 2 เง่ือนไข - ชมุ ชน 22 คน ณ ศาลาอเนกประสงค์
กระบวนการเรยี นรู้ตาม สาหรับการใชเ้ ป็นแนวทางในการ - ทีมกลไก 6 คน บา้ นสนั ป่าส้าน ม.12
หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ จัดทากจิ กรรม รวมทง้ั หมด 46 คน ต.ห้วยแก้ว อ.ภูกามยาว
พอเพียงโดยยึดหลัก 3 จงั หวดั พะเยา
ห่วง 2 เงอ่ื นไข
เครอ่ื งมือ/กระบวนการ
- Mind Mapping
- ประชมุ กลุ่มย่อย
- อบรมให้ความรู้
- ฝึกปฏบิ ตั ิ

กจิ กรรมท่ี 5 - เพื่อประมวลสรปุ ขอ้ มูล - ทีมนักวิจยั 16 คน วันที่ 26 สงิ หาคม 2559
เวทแี ลกเปลีย่ นเรยี นรู้สรปุ สถานการณร์ ายรบั - รายจ่าย - ทปี่ รกึ ษา 2 คน กศน.อาเภอภูกามยาว
เงือ่ นไขที่เก่ียวข้องกบั การ และวิธกี ารแก้ไขปัญหาใน - ทีมกลไก 6 คน
จัดการเงินตัง้ แตอ่ ดีตถงึ ระดับครัวเรือนและระดบั ชมุ ชน - พ่เี ลยี้ ง 3 คน
ปจั จบุ ันและวิธแี ก้ปัญหา ทผ่ี ่านมา รวมท้งั หมด 27 คน
ในระดับครวั เรือนชุมชน
บา้ นสนั ปา่ ส้าน

32

กจิ กรรม วตั ถปุ ระสงค์ กลมุ่ เป้าหมาย ระยะเวลา
วันท่ี 30 สงิ หาคม 2559
กิจกรรมที่ 6 (กิจกรรมที่ - เพือ่ ประมวลสรปุ ข้อมลู ทีมนักวจิ ัย 8 คน ณ ศาลาอเนกประสงค์
บ้านสันป่าสา้ น ม.12
ได้ระบุในแผนแต่ดาเนิน สถานการณ์รายรบั ชุมชน 22 คน ต.หว้ ยแก้ว อ.ภกู ามยาว
จังหวัดพะเยา
การแล้ว) การจัดกิจกรรม - รายจา่ ยและวธิ กี ารแก้ไข กลุ่มพลังปัญญา
วันท่ี 3 พฤศจิกายน 2559
พลังปัญญา (เปลีย่ นวิธีคิด ปญั หาในระดับครวั เรือนและ จังหวัดพะเยา 6 คน บ้านบัว ต.ตนุ่
อาเภอเมืองพะเยา
พลกิ ชวี ิตด้วยปัญญา) ระดับชมุ ชนทีผ่ า่ น รวมจานวน 36 คน จังหวดั พะเยา

กจิ กรรมที่ 7 วันท่ี 4 พฤศจิกายน 2559
ศาลาอเนกประสงคบ์ ้าน
เวทีแลกเปลีย่ นเรียนรูโ้ ดย เพอ่ื นาชุดประสบการณ์ที่ผา่ น - ทมี นกั วิจยั 16 คน สันป่าส้าน ม.12
ต.ห้วยแก้ว อ.ภูกามยาว
การศกึ ษาดงู านพ้ืนท่ี การวิเคราะห์ในระดับชมุ ชนและ - ทมี ชมุ ชน 22 คน จงั หวดั พะเยา

ต้นแบบการประยกุ ต์ใช้ ระดบั ครวั เรือนมาทาการแลก รวมจานวน 38 คน 8 พฤศจิกายน 2559
ศาลาอเนกประสงค์บา้ น
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ เปลี่ยนเรียนรู้กบั พ้นื ที่ต้นแบบ สันป่าสา้ น ม.12
ต.หว้ ยแกว้ อ.ภูกามยาว
พอเพียงบา้ นบวั ต.บา้ นตนุ่ ดา้ นการประยุกต์ใช้หลักของ จ.พะเยา

อ.เมอื งพะเยา จ.พะเยา ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งเพอ่ื

เครื่องมือ/กระบวนการ นามาประยุกตใ์ ช้ในพืน้ ทข่ี อง

1. ศึกษาดูงาน ตนเอง

2. แบบบันทกึ การเรยี นรู้

3. ประชุมกล่มุ ย่อย

กิจกรรมที่ 8

เวทีออกแบบและกาหนด - เพอ่ื ออกแบบแนวทางการ - ทมี วิจัย 16 คน

รปู แบบกิจกรรมในการ บรหิ ารจัดการการเงินชมุ ชนทั้ง - ทีมชุมชน 22 คน

บริหารจัดการการเงนิ มิติครัวเรือนและมิตชิ ุมชนเพื่อ รวมจานวน 38 คน

ชุมชนท้ังมติ ิครัวเรือนและ นาไปใชด้ าเนนิ การในระยะที่ 2

มติ ิชมุ ชน

เครื่องมือ/กระบวนการ

- Mind Mapping

- ประชุมกลุ่มยอ่ ย

กจิ กรรมที่ 9

ทบทวนรายรับ-รายจ่าย - เพื่อวิเคราะหร์ ายรบั -รายจ่าย - ทมี วิจัย 16 คน

โดยนาบัญชีครัวเรอื นของ ระดบั ครวั เรอื น - ทีมชมุ ชน 22 คน

กลุ่มเป้าหมายมาวิเคราะห์ - เพือ่ ให้ทราบสภาวะการใช้จ่าย รวมจานวน 38 คน

รายรับ-รายจ่ายท่ีจาเป็น/ และสามารถนาไปวางแผน

ไมจ่ าเปน็ ในหลายๆด้าน รายรับ-รายจา่ ยอย่างมี

เครอ่ื งมอื /กระบวนการ ประสิทธิภาพ

- Mind Mapping

- ประชมุ กลุ่มยอ่ ย

33

ระยะที่ 2 ต้ังแตว่ ันที่ 1 มกราคม – วันท่ี 30 พฤศจิกายน 2560 (ขยายระยะเวลา 3 เดือน)

กิจกรรม วตั ถุประสงค์ กลมุ่ เป้าหมาย ระยะเวลา

กิจกรรมที่ 1 -เพ่อื สร้างความเข้าใจอันดี - ทีมนกั วจิ ยั 14 คน ครั้งท่ี 1

เว ที แล กเ ปลี่ ยน แล ะ ตอ่ งาน ตอ่ ปัญหา และ - ทีมชุมชน 22 คน วนั ท่ี 24 มกราคม 2560

น า เ ส น อ ร า ย ง า น สามารถรว่ มแก้ปญั หาให้ รวมทง้ั หมด 36 คน ณ บ้านสนั ป่าส้าน ม.12

ความก้าวหน้า ลลุ ่วงไปดว้ ยดี ไดอ้ ย่างมี ต.หว้ ยแกว้ อ.ภกู ามยาว

หลกั การ และแนวคิดที่

เครือ่ งมอื /กระบวนการ เหมาะสม ครง้ั ท่ี 2

- Mind Mapping วนั ท่ี 25 มกราคม 2560

- ประชมุ กล่มุ ยอ่ ย ณ หอ้ งประชมุ วิทยาลัย

พยาบาลบรมราชชนนพี ะเยา

จังหวดั พะเยา

กิจกรรม ท่ี 2

เวทีทบทวนและวาง - เพื่อทบทวนข้อมูลที่ได้ - ทมี นกั วจิ ยั 6 คน ครง้ั ที่ 1

แผนการดาเนินงาน จากการดาเนินงานใน รวม 6 คน วันท่ี 18 มกราคม 2560

เตรยี มเน้ือหารายงาน ระยะท1่ี ห้องประชุมปัญญา

ความก้าวหน้างานวิจัย - เพอ่ื ประชมุ วางแผนการ สานักงาน กศน.จงั หวดั

ฉบับสมบูรณ์ ทางานกับทมี ในระยะที่ 2 พะเยา

____________________ ____________________

- ทีมนกั วิจัย 16 คน ครั้งที่ 2

- ที่ปรกึ ษา 1 คน วันท่ี 2 มีนาคม 2560

รวมท้งั หมด 17 คน ณ หมู่บ้านสันป่าส้าน

หมู่ที่ 12 ต.ห้วยแกว้

อ.ภูกามยาว จ.พะเยา

กิจกรรมที่ 3 - เพอ่ื จัดกิจกรรม - ทมี นักวิจยั 16 คน ครง้ั ท่ี 1
เวทีสง่ เสริมสนับสนุน การบรหิ ารจัดการการเงนิ
การดาเนินการจดั ตามแนวทางทไ่ี ด้ในระยะ - ชมุ ชน 22 คน วันที่ 7 มนี าคม 2560
กจิ กรรม ที่ 1 ท้งั ในระดบั ครัวเรือน
และระดบั ชุมชน รวมทัง้ หมดมี 38 คน ณหมูบ่ ้านสันป่าสา้ น

หมทู่ ่ี 12 ต.หว้ ยแก้ว

อ.ภกู ามยาว จ.พะเยา

____________________ ____________________

- ทีมนักวิจยั 16 คน ครง้ั ที่ 2

- ชมุ ชน 22 คน วันท่ี 11 ตลุ าคม 2560

34

กิจกรรม วตั ถุประสงค์ รวมท้งั หมดมี 38 คน ณ หมู่บา้ นสนั ป่าสา้ น
หม่ทู ี่ 12 ต.ห้วยแกว้
กจิ กรรมท่ี 4 กลมุ่ เปา้ หมาย อ.ภกู ามยาว จ.พะเยา
เวทวี เิ คราะหผ์ ลทไ่ี ดจ้ าก - ทมี นกั วจิ ัย16 คน
การดาเนนิ งานทง้ั ในเชงิ - ชุมชน 22 คน ระยะเวลา
เรียนรขู้ องคนใน รวมทงั้ หมดมี 38 คน ครั้งท่ี 3
ครัวเรือน ชุมชน วนั ท่ี 17 ตลุ าคม 2560
เคร่อื งมอื /กระบวนการ ณ หมู่บา้ นสนั ป่าส้าน
- SWOT Analysis หมู่ท่ี 12 ต.หว้ ยแก้ว
-Mind Mapping อ.ภูกามยาว จ.พะเยา

กจิ กรรมท่ี 5 - เพื่อหาแนวทางในการ - ทมี วิจัย จานวน 16 คน ครง้ั ท่ี 1
เวทสี รุปบทเรยี นการ บรหิ ารเปล่ยี นแปลงการ
ดาเนินงาน ระยะที่ 2 บรหิ ารจัดการกองทุน รวมจานวน 16 คน วนั ที่ 23 มนี าคม 2560
และจัดทารายงานฉบับ ชุมชนทีเ่ หมาะสม เก้ือกูล
สมบรู ณ์ กนั ท้ังในมิตคิ รัวเรอื นและ ณ กศน.อาเภอภูกามยาว
มติ ชิ ุมชน
เครือ่ งมอื /กระบวนการ ต.หว้ ยแก้ว อ.ภกู ามยาว
- Mind Mapping
-ประชมุ กลมุ่ ย่อย จ.พะเยา
กิจกรรมที่ 6
ศึกษาดงู านแนวทาง ____________________ _____________________
บริหารจดั การ การเงนิ
ชมุ ชนบ้านสามขา - ทีมวจิ ัย จานวน 16 คน ครงั้ ที่ 2
จ.ลาปาง (นอกแผน)
- ที่ปรึกษา 2 คน วันที่ 19 ตุลาคม 2560

- ชุมชน 22 คน ณ บ้านสันปา่ ส้าน

รวมจานวน 40 คน ต.หว้ ยแกว้ อ.ภกู ามยาว

จ.พะเยา

- เพ่ือสรปุ บทเรียนของ - ทมี นกั วจิ ัย 6 คน วนั ท่ี 6 ตลุ าคม 2560
การจัดกจิ กรรมและการ รวม 6 คน ณ ห้องประชมุ ปญั ญา
ดาเนนิ งานในระยะที่ 2 สานักงาน กศน.จงั หวดั
และจดั ทารายงานฉบับ พะเยา
สมบูรณ์

เพื่อนาความรูท้ ี่ไดร้ บั จาก - ทมี นกั วิจยั 16 คน วันที่ 23 พฤษภาคม 2560
การเรียนรู้พื้นที่ บ้านสาม รวมจานวน 16 คน สถานที่ บ้านสามขา
ขา ซงึ่ เปน็ พืน้ ท่ตี ้นแบบมา อ.แม่ทะ จ.ลาปาง
ปรับใช้กองทุนในพ้นื ท่ีบ้าน
สันป่าส้าน ม.12 35

กจิ กรรมที่ 7 1. เพื่อให้ชุมชนได้เรียนรู้ -ทีมชมุ ชน 22 คน วนั ที่ 6 กนั ยายน 2560
เวทีงานสือ่ สาร ณ สานักงาน กศน.จังหวัด
สาธารณะชุมชนวิจัย การวิจัยรากฐานใหม่สู่การ -ทมี วิจัยชมุ ชน 16 คน พะเยา
รากฐานใหม่ สกู่ าร
เรียนรู้ตลอดชีวติ (นอก เรียนรูต้ ลอดชวี ิต รวมจานวน 38 คน
แผน)
เครื่องมอื /กระบวนการ 2. เพือ่ ให้ชุมชนนาองค์
- Mind Mapping
- ประชมุ กลมุ่ ยอ่ ย ความรูม้ าเผยแพร่

ประชาสมั พันธ์งานวิจยั

ชุมชนของตนสู่

สาธารณชน

36

บทท่ี 4

ผลการดาเนินงาน

4.1.ขอ้ มูลพื้นฐานของชุมชน

บ้านสนั ปา่ ส้าน หมู่ที่ 12 ตาบลห้วยแก้ว อาเภอภกู ามยาว จังหวัดพะเยา เคยเป็นส่วนหนึง่ ของบ้าน
ห้วยแก้วหลวง หมู่ท่ี 3 เดิมทีหมบู่ า้ นน้ีเปน็ ปา่ และทุง่ นาตดิ กบั ลาน้าห้วยบง มีพืน้ ทที่ าเลท่เี หมาะสมทจี่ ะบกุ เบิก
ทาเป็นที่ไร่ทน่ี าจงึ มรี าษฎรจากบ้านห้วยแก้วหลวงจานวนหน่ึงจึงได้ชักชวนกันออกมาตงั้ เปน็ หม่บู ้านเล็กๆ และ
เรยี กหม่บู ้านใหม่น้ีวา่ “บา้ นห้วยตน้ ค่า” เนอื่ งจากมีตน้ มะค่าโมงใหญข่ ้ึนอย่รู มิ ลาหว้ ยบงบรเิ วณหมู่บ้านเมื่อ
จานวนประชากรเพิ่มมากขน้ึ จงึ ไดข้ ยบั ขยายมาตั้งอีกกล่มุ หน่ึงซึ่งไมห่ า่ งไกลกันมากนักในบริเวณป่าทมี่ ีตน้ สา้ น
ขึ้นอยมู่ าก จงึ ใหช้ ่ือบ้านใหม่น้ีวา่ “บ้านสันปา่ สา้ น”พื้นที่ท่ัวไปเปน็ ท่ีราบและมภี ูเขาล้อมรอบ มีลานา้ หว้ ยแก้ว
และ ลาน้าบงไหลผ่านพื้นทีเ่ พ่ือทาการเกษตร เช่น ทานาเป็นตน้ และยงั มีอ่างเก็บหน้าห้วยแกว้ ซง่ึ เปน็ แหลง่ นา้
ทส่ี าคัญเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ปลา นอกจากนี้ยังมปี า่ ไมเ้ ป็นทรัพยากรธรรมชาติท่เี ปน็ แหลง่ อาหารของชุมชน

จนกระทั่งปี พ.ศ. 2539 ทางหน่วยงานราชการเห็นว่าทั้งสองหมู่บ้านน้ี ได้มีประชากรเพิ่มมากขึ้นถึง
100 ครัวเรือน เพ่ือให้เกิดความสะดวกในการปกครองดูแลอย่างทั่วถึง กระทรวงมหาดไทยจึงได้อนุมัติให้แยก
หมู่บ้านออกมาจากหมู่บ้านห้วยแก้วหลวง หมู่ท่ี 3 มาเป็นบ้านสันป่าส้าน หมู่ท่ี 12 มีประชากรรวม 378 คน
โดยแยกเป็น ชาย 206 คน หญิง 172 คน มีครัวเรือนท้ังหมด 110 ครัวเรือนประชากรทั้งหมดนับถือศาสนา
พุทธ และเคร่งครัดต่อขนบธรรมเนียมประเพณีด้ังเดิมตลอดมาอาชีพส่วนใหญ่ของประชากรคือการทา
การเกษตร มีทานา เป็นอันดับหนึ่ง ร้อยละ 43.39 รองลงมารับจ้างท่ัวไป ร้อยละ 23.28 รายได้หลักมาจาก
การเกษตรกรรม รายได้รองเป็นการหาของป่า เก็บเห็ด การรับจ้างทั่วไป รายได้เฉลี่ยต่อครัวเรือน/ปีละ
ประมาณ 47,749 บาท มีวิถีการดารงชวี ิตแบบเรยี บงา่ ย มีลกั ษณะของการเป็นเครือญาติ และเห็นความสาคัญ
ช่วยเหลือเกือ้ กูลกันในชุมชน (จปฐ.อาเภอภูกามยาว, 2558)

ลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นทุ่งนาเนินเขา ภูเขาและป่าไม้ มีป่าชุมชนท่ีรับผิดชอบ ประมาณ
1,780 ไร่มีประชากรรวม378 คน โดยแยกเป็น ชาย 206 คน หญิง 172 คน มีครัวเรือนท้ังหมด 110
ครวั เรือน ประชากรทงั้ หมดนบั ถอื ศาสนาพุทธ และเคร่งครัดต่อขนบธรรมเนียมประเพณีดั้งเดิมตลอดมาอาชีพ
ส่วนใหญ่ของประชากรคือการทาการเกษตร มีทานา เป็นอันดับหน่ึง ร้อยละ 43.39 รองลงมารับจ้างทั่วไป
ร้อยละ 23.28 รายได้หลักมาจากการเกษตรกรรม รายได้รองเป็นการหาของป่า เก็บเห็ด การรับจ้างท่ัวไป
รายได้เฉล่ียต่อครัวเรือน/ปี 47,749 บาท (ข้อมูลจาก จปฐ.อาเภอภูกามยาว ประจาปี 2558) มีการดารงชีวิต
อยา่ งเรยี บงา่ ย มีลกั ษณะของการเป็นเครอื ญาติ และเหน็ ความสาคญั ช่วยเหลอื เกือ้ กูลกนั ในชมุ ชน

สถานทต่ี ้งั ตั้งอยู่ทิศเหนือของท่วี า่ การอาเภอภูกามยาว ระยะทางห่างจากที่ว่าการอาเภอประมาณ 4
กโิ ลเมตร อาณาเขต ทศิ เหนอื ติดกับบ้านหว้ ยทรายขาว หมู่ท่ี 7 ตาบลหว้ ยแก้ว

ทิศใต้ ตดิ กับบ้านห้วยแกว้ หลวง หมู่ที่ 3 ตาบลห้วยแก้ว
ทศิ ตะวันออก ตดิ กับบ้านหนองลาว หมทู่ ่ี 4 บ้านอิงโคง้ หมทู่ ี่ 5 ตาบลหว้ ยแกว้
ทิศตะวันตก ตดิ กบั บ้านร่องปอ ตาบลดงเจน

37

สถานการณป์ ัญหาทางการเงินเป็นปญั หาใหญ่ของชุมชนที่ตอ้ งการความชว่ ยเหลือ ซึ่งท่ีผ่านมาทาง
หนว่ ยงานท่เี กีย่ วข้องให้ความสาคัญเขา้ มาแก้ไข เช่น กศน.สง่ เสรมิ ดา้ นการจดั การศึกษา เพราะการศกึ ษาจะ
ชว่ ยใหป้ ระชาชนมีความร้ทู ส่ี ามารถนาไปใช้ประกอบอาชพี ท่มี คี วามกา้ วหนา้ อีกท้ังสง่ เสริมในด้านการจัด
การศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพเสริมให้กับชุมชน สง่ เสรมิ ในเรื่องของสขุ ภาพอนามัย และให้ขอ้ มูลข่าวสารที่เป็น
ประโยชน์ ตลอดจนหน่วยงานภาคการเกษตรตา่ ง ๆ เชน่ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณก์ ารเกษตร สาขา
อาเภอภูกามยาว จังหวดั พะเยา ซง่ึ เปน็ แหลง่ กยู้ มื เงินของเกษตรกรในชมุ ชนไดใ้ ห้ขอ้ มลู การกยู้ มื เงินของชุมชน
บา้ นสันปา่ ส้าน ในปี พ.ศ. 2558 พบวา่ ประชากรในชมุ ชนบา้ นสนั ปา่ สา้ น มีการกู้ยมื จานวน 86 ครัวเรอื น
เฉลย่ี ครัวเรือนละ 100,000 บาท ซง่ึ เปน็ เงินลงทุนระยะยาว โดยวตั ถปุ ระสงคใ์ นการก้ยู ืมน้ันเพ่ือนาไปลงทุนใน
การประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรม และประชากรที่กู้ยืมเงินของธนาคารนั้น เป็นการกู้ยมื เงินโดยจานวนเงนิ ท่ี
กนู้ ้นั ไม่ไดล้ ดลงเลย ซึง่ ในแต่ละปียงั คงกู้ยืมเงนิ เพ่ือการลงทนุ ในการทาการเกษตรมาอย่างต่อเนื่องและยาวนาน
เนือ่ งจากสง่ิ เหล่านเ้ี ปน็ ปัจจัยพ้ืนฐานท่จี ะสนบั สนนุ ใหช้ มุ ชนอยู่ไดด้ ้วยตัวเองได้ และยังไดเ้ กดิ กองทนุ ตา่ งๆ ใน
ชมุ ชนท่คี นในชมุ ชนจดั ตง้ั ข้ึนเพอื่ จะได้ช่วยเหลือซ่ึงกันและกัน มีกลุม่ กองทนุ หมู่บา้ นจานวน 10 กองทุน ดังนี้

1. กล่มุ ฌาปนกิจสงเคราะห์ เร่มิ ก่อตัง้ เม่ือปี พ.ศ.2534 โดยชุมชนร่วมกับหมู่ที่ 3 บ้านห้วยแก้วหลวง
มีสมาชิกทั้งหมด 897 คน เพ่ือช่วยเหลือการทาศพ จานวนเงินทุนหมุนเวียนในปัจจุบัน 8,970 บาท เก็บค่า
ฌาปนกิจกศพ เป็นรายคนๆละ 20 บาท มีกรรมการ 5 คน การหมุนเวียนเป็นกรรมการในการเก็บเงินซ่ึง
คณะกรรมการจะไดร้ ับสวสั ดกิ าร ปีละ 200-300 บาท ตอ่ คน

2. กล่มุ ฌาปนกิจสงเคราะห์ แม่บ้าน เริ่มก่อต้ังเม่ือปี พ.ศ.2539 โดยชุมชน มีสมาชิกท้ังหมด 387 คน
มกี รรรมการ 20 คน หากสมาชกิ มีการเสียชวี ติ เก็บศพละ 20 บาท หักเขา้ กลุ่มศพละ 200 บาท เพ่ือช่วยเหลือ
การทาศพ จานวนเงินทนุ หมุนเวยี นในปจั จุบัน 3,870 บาท

3. กลมุ่ สงเคราะหร์ าษฎร เริม่ ก่อต้ังเมอ่ื ปี พ.ศ.2539 โดยสานกั งานประชาสงเคราะห์ มีสมาชิกทั้งหมด
425 คน กรรมการ 6 คน เพื่อสงเคราะห์ผู้เจ็บป่วยและให้ยืมเงินสาหรับไปรักษาพยาบาลโดยไม่มีดอกเบ้ีย
จานวนเงินทนุ หมนุ เวียนในปัจจุบัน 20,000 บาท

38

4. กลุ่มน้าประปา เร่ิมก่อต้ังเมื่อปี พ.ศ. 2540 โดยคนในชุมชนและกรมทรัพยากรและส่ิงแวดล้อม มี
จานวนสมาชิก 120 คน สมาชิกเสียค่านา้ หน่วยละ 5 บาท มกี รรมการ 7 คน ซึ่งกรรมการจะได้รับสวัสดิการใช้
น้าฟรีเดือนละ 10 หน่วย กลุ่มมีวัตถุประสงค์เพ่ือบริการน้าใช้ในครัวเรือนให้มีน้าสะอาดอุปโภค บริโภค
จานวนเงินทุนหมุนเวยี นในปจั จุบัน 190,000 บาท

5. โครงการ กข.คจ. เรม่ิ กอ่ ตัง้ เม่อื ปี พ.ศ.2542 โดยรฐั บาล มีจานวนสมาชกิ 80 คน มกี รรมการ 5 คน
มีวัตถุประสงค์เพ่ือเป็นแหล่งเงินทุนให้สมาชิกกู้ยืม โดยหากมีการกู้ยืมต้องเสียค่าดาเนินการให้กับ
คณะกรรมการร้อยละ3 ให้กู้ปีละ 1 ครั้ง เฉลี่ยกู้คนละ 4,000 บาท จานวนเงินทุนหมุนเวียนในปัจจุบัน
280,000 บาท

6.กองทุนหมู่บ้าน เร่ิมก่อต้ังเมื่อปี พ.ศ. 2544 โดยรัฐบาล มีจานวนสมาชิก 122 คน มีกรรมการ
9 คน เป็นการแก้ไขปัญหาความยากจนในรูปแบบของกองทุนชุมชนมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นแหล่งทุนในชุมชน
ให้สมาชิกกองทุนกู้เงินไปใช้จ่ายกองทุนประกอบอาชีพ ปี 2560-2561 ภาคการเกษตร ทานา 81 ราย เป็น
เงิน 944,500 บาท ทาไร่ 7 ราย 132,500 บาท ทาสวน 1 ราย 10,000 บาท เลี้ยงหมู 23 ราย 503,000
บาท เลี้ยงววั 3 ราย 69,000 บาท รวมภาคเกษตร 119 ราย เปน็ เงินจานวน 1,639,000 บาท ค้าขาย 15 ราย
เป็นเงิน 285,000 บาท การศึกษา 7 ราย 154,000 บาท รวมเป็นเงินกู้ท้ังส้ิน 2,102,000 บาท อัตรา
ดอกเบี้ย ร้อยละ6 ในปีต่อไปได้มีมติให้ลดอัตราดอกเบี้ย เหลือ ร้อยละ5 เพ่ือจัดการการเงินชุมชน ให้สมาชิก
ไดร้ บั ผลประโยชน์จากกองทุนในหมู่บ้านมากขน้ึ

การจัดสรร กาไร สุทธิประจาปี 2560 กองทุนหมู่บ้าน บ้านสันป่าส้าน หมู่ทื่ 12 ตาบลห้วยแก้ว
ดอกเบ้ียเงินกู้ จานวน 130,000 บาท ดอกเบ้ียธนาคาร จานวน 1,308.56 บาท รวมท้ังสิ้น เป็นเงินจานวน
132,228.56 บาท หมายเหตุ ดอกเบ้ียธนาคาร จานวน 1,308.56 บาท นาเข้าสมทบกองทุน มีการจัดสรร
อัตราดอกเบ้ียตามระเบียบกองทุน ดังนี้ ค่าตอบแทนกรรมการ 25% ค่าสมทบกองทุน 5% ค่าบริหารความ
เส่ียง 10% เฉล่ียคืนให้สมาชิก 30% ค่าวัสดุอุปกรณ์ 10% ค่าสวัสดิการแก่สมาชิก 5% เพื่อประโยชน์ของ
สังคม 10 % การพัฒนาอาชีพและการศึกษา 5% การปล่อยกู้ไม่เกินคนละ 30,000 บาทและไม่ต่ากว่า
10,000 บาท มกี ารชาระคนื ปีละ 2 ครั้ง คือเดือนธันวาคม และเดือนพฤษภาคม ซึ่งสมาชิกแต่ละคนต้องมีการ
ออมเงินสัจจะทุกเดือนเพ่ือเปน็ ภมู คุ้มกันให้กับตนเองในยามคับขนั ซึ่งสมาชิกทุกคนให้การยอมรับ

7. กลมุ่ กองทุนปุ๋ยเรม่ิ ก่อตั้งเมอ่ื ปี พ.ศ.2550 โดยสมาชกิ ในชุมชน มีจานวนสมาชิก 61 คน มีกรรมการ
5 คน ใหย้ มื เป็นปุย๋ ไม่เกินคนละ 3 กระสอบโดยคิดอัตราดอกเบี้ยกระสอบละ 50 บาท ระยะเวลาในการชาระ
เงินคือรอบปใี นฤดูทานา (มีนาคม–กมุ ภาพนั ธ์ ของปถี ัดไป) เพ่อื ใหส้ มาชิกได้กู้ยืมปุ๋ยไปใช้ใน การทานา จานวน
เงินทนุ หมนุ เวียนในปจั จุบัน 46,000 บาท

8. กลุ่มธนาคารข้าว เริ่มก่อต้ังเมื่อปี พ.ศ.2552 โดยสมาชิกในชุมชน มีจานวนสมาชิก107 คน
มีกรรมการ 10 คน เพ่ือให้สมาชิกกู้ยืมข้าว คนละ 100 กิโลกรัม ส่งดอกเบี้ยเป็นข้าว 30 กิโลกรัม ถ้าหากไม่มี
ข้าวมาคืนก็สามารถคืนเปน็ เงินได้ตามราคาข้าวในขณะนน้ั จานวนเงนิ ทุนหมนุ เวียนในปจั จบุ นั 190,000 บาท

9. กลุ่มเลยี้ งไก่พ้นื เมอื ง เริ่มก่อตั้งเมอ่ื ปี พ.ศ.2555 โดยสมาชิกในชุมชน มีจานวนสมาชิก 30 คน ไม่มี
คณะกรรมการดาเนินการ ลักษณะการดาเนินการเน้นการออมเป็นหลักปีละ 240 บาทต่อคน โดยนาเงินฝาก
เข้าบัญชี หากสมาชิกเกิดเหตุจาเป็น ฉุกเฉินที่ต้องใช้เงินก็สามารถมาเบิกเงินออกคืนได้ จานวนเงินทุน
หมุนเวียนในปจั จุบนั จานวน 6,000 บาท

10. กลุ่มวิสาหกิจชุมชนสัมมาชีพผลิตอาหารสัตว์ (เกิดข้ึนระหว่างดาเนินการวิจัย) เริ่มก่อต้ังเมื่อปี
พ.ศ. 2559 โดยมีสมาชิกจานวน 25 คน มีคณะกรรมการดาเนินการ มีการออมเงินเดือนละ 30 บาท
ต่อคน นาเงินออมฝากเข้าบญั ชี ยงั ไม่มีการปล่อยกู้ เป็นกลุ่มท่ีจัดตั้งข้ึนเพ่ือแก้ไขปัญหาให้กับสมาชิกท่ีเล้ียงหมู

39

แต่ประสบปัญหาขาดทุนเนื่องจากต้นทุนด้านอาหารสูง โดยใช้วัตถุดิบท่ีได้จากชุมชน ได้รับการสนับสนุน
งบประมาณและวิทยากรในการให้ความรู้ จาก กศน.อาเภอภูกามยาว และสานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอ
ภกู ามยาว

แม้ว่าในชุมชนจะมีการรวมกลุ่มในรูปแบบของกองทุนชุมชน เพ่ือชวยเหลือตนเอง และชวยเหลือซึ่ง
กันและกันตามหลักเกณฑ์ของการจัดตั้งกองทุนชุมชน โดยมุ่งเน้นแนวทางของการประหยัดทรัพยแลวนามา
สะสมรวมกันทีละเล็กทีละนอยเปนประจาอยางสม่าเสมอเพื่อใชเปนทุนใหสมาชิกที่มีความจาเป็นยามเดือด
รอนกยู ืมไปใชในการลงทนุ ประกอบอาชีพหรือเพือ่ สวัสดกิ ารของตนเอง และครอบครัวแต่ปัญหาสาคัญท่ีชุมชน
ยงั คงพบอยู่คอื ตอ้ งประสบกบั ภาวะทางด้านการเงนิ รายไดไ้ มเ่ พียงพอกับคา่ ใชจ้ า่ ย อยู่ในภาวะท่ีขาดแคลนไม่มี
ความม่ันคงทางเศรษฐกิจ และภาระการมีหน้ีสินเพิ่มมากขึ้น ท้ังนี้เน่ืองจากประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ
เกษตรกรรม อีกท้งั ผลผลิตทางการเกษตรไม่ได้ผลิตข้ึนเพื่อการยังชีพแต่เป็นการผลิตเพ่ือสร้างรายได้ ชาวบ้าน
จึงขยายการผลิตโดยการเพิ่มพื้นที่และการลงทุนสูง แต่ปัจจัยที่มีต่อการเกษตร เช่น สภาพอากาศ น้า ดิน ไม่
เอ้ือต่อการเกษตร ผลผลิตไม่ได้รับตามคาดหวัง ซึ่งปัจจัยการผลิตส่วนใหญ่ต้องซ้ือหามาจากภายนอกชุมชน
ประกอบกับผลผลติ ท่ีออกจาหนา่ ยไมม่ กี ารแปรรูป ส่งผลใหข้ ายได้ราคาต่า ภาระการเป็นหน้ีเพ่ิมพูนข้ึนเรื่อย ๆ
ตามฤดูกาลเพาะปลูกและเม่ืออยู่นอกฤดูกาลเพาะปลูกประชากรในชุมชนกลับไม่มีรายได้จากอาชีพเสริมที่
แน่นอน ตลอดจนการใช้จา่ ยในครัวเรือนฟุม่ เฟอื ย จงึ เกิดภาระหน้สี ินรุมเร้าอย่างไมม่ ที ่ีสิน้ สุด

4.2. ผลการดาเนนิ งานตามวตั ถปุ ระสงค์

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 เพ่ือศึกษาเงื่อนไข ปัจจัย พฤติกรรมท่ีเก่ียวข้องกับการบริหารจัดการการเงินตั้งแต่
อดตี ถงึ ปจั จบุ ัน

จากวัตถุประสงค์ท่ี 1 เพ่ือศึกษาเงื่อนไข ปัจจัย พฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการการเงิน
ตงั้ แต่อดีตถงึ ปจั จบุ นั คณะทางานไดอ้ อกแบบกจิ กรรมใหม้ คี วามสอดคล้องตามวัตถุประสงค์ ซ่ึงประกอบไปด้วย
กจิ กรรมจานวน 6 กจิ กรรม เพอื่ อธบิ ายผลตามวัตถปุ ระสงค์ ดังนี้

กิจกรรมที่ 1 เวทปี ระชมุ ชแี้ จงวัตถปุ ระสงคแ์ ละแนวทางในการดาเนินงานร่วมกบั ชุมชนและ
สร้างความเข้าใจเกี่ยวกบั งานวิจัยใหไ้ ปในทศิ ทางเดียวกัน ในการจัดเวทีประชมุ ช้แี จงวัตถุประสงค์และ
แนวทางในการดาเนนิ งานรว่ มกับชมุ ชนและสรา้ งความเขา้ ใจเกยี่ วกบั งานวิจยั ให้ไปในทิศทางเดยี วกนั เพ่ือ
สรา้ งความเขา้ ใจกบั ทีมวิจยั เตรยี มความพร้อมของทมี นักวจิ ยั ในส่วนของทีมครู กศน.และทีมวิจยั หลกั ในชมุ ชน
และวางแผนกาหนดบทบาทหน้าท่กี ารดาเนินการวจิ ัย จดั เวทีการประชุมดว้ ยกนั อยู่ 2 ครั้ง โดยครัง้ ที่ 1 จดั เมื่อ
วันที่ 17 พฤษภาคม 2559 โดยมผี ้เู ข้าร่วมจานวน 15 คน เวลา 08.00-12.00 น. ณ กศน.อาเภอภูกามยาว
และครงั้ ที่ 2 วนั ท่ี 16 มิถนุ ายน 2559 เวลา 08.00-12.00 น. ณ ศาลาอเนกประสงค์บา้ นสนั ป่าสา้ น โดยมี
ผู้เข้ารว่ มจานวน 38 คน

วิธกี าร ขน้ั ตอนการดาเนินงาน
กระบวนการทางานวิจัย เริ่มจากประชมุ เพื่อสรา้ งความเข้าใจและวางแผนการดาเนนิ งานเพื่อวิเคราะห์
ชดุ ความร้แู ละบทเรียนในการดาเนนิ งานของครู กศน. โดยการกาหนดเนื้อหา และกระบวนการทางานของทมี
วจิ ัย บทเรยี นและรปู แบบแนวทางการบรหิ ารจดั การการเงินชุมชน โดยยดึ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
บา้ นสนั ป่าส้าน ม.12 เพอ่ื ใหค้ รู กศน. มีความเข้าใจในทิศทางเดยี วกันครู กศน.ไดร้ ับความร้แู ละเข้าใจใน

40

เนอื้ หาและกระบวนการทางานของทีมวจิ ัย กระบวนการการทางานวจิ ยั เรมิ่ จากประชุมเพ่ือค้นหาปัญหาของ
ชุมชน แนวทางความรว่ มมือ ประเด็นการประชมุ เพื่อสร้างความเขา้ ใจกับทีมวิจัย และเตรียมความพร้อมของ
ทมี นักวิจัยในส่วนของครู กศน.และทมี วจิ ยั หลกั ในชุมชน และวางแผนกาหนดบทบาทหน้าทก่ี ารดาเนินการ
วจิ ัยหัวหน้าโครงการ กระบวนการทางานวจิ ัย เริ่มจากประชมุ เพ่ือสรา้ งความเขา้ ใจและวางแผนการดาเนินงาน
ของเครอื ขา่ ย ในการแก้ปัญหาทเ่ี กิดขึน้ ช้ีแจงวตั ถปุ ระสงคแ์ ละแนวทางในการทางานร่วมกับชมุ ชน วางแผน
เพ่ือแบง่ หนา้ ทบ่ี ทบาทในการทางานของทีมวิจยั

การเปล่ียนแปลงท่เี กดิ ขน้ึ (Out Put )
ผลการเปลี่ยนแปลงทเี่ กิดข้ึนจากการจัดเวทีประชุมชี้แจงและแนวทางในการดาเนินงานร่วมกับชุมชน
และสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับงานวิจัยให้ไปในทิศทางเดียวกันทาให้เกิดความเข้าใจกับทีมวิจัย ท้ังทีมวิจัยหลัก
ทีมชุมชน มีความพร้อมและรับทราบบทบาทหนา้ ที่ในการดาเนินงานการวจิ ัยได้อย่างชัดเจน
ขอ้ สรปุ
จะเห็นได้ว่า ศักยภาพของทีมงานวิจัยในแต่ละบุคคล (นั กเขียน นักพูดและนักวิเคราะห์)
เกดิ กระบวนการมีสว่ นรว่ มทาใหท้ มี วิจยั เกิดแนวทางของการสร้างการเรยี นรคู้ วามเข้าใจร่วมกนั
บทเรียน/บทเรียนทเ่ี กิดข้นึ ใหม่
ได้ความรู้และเทคนิคในการจัดกระบวนการ (Facilitator) ทีมวิจัยมีทักษะในการคิด/วิเคราะห์อย่าง
เป็นระบบขึน้

กิจกรรมท่ี 2 เวทที บทวนสถานการณ์รายรบั -รายจา่ ยระดับครัวเรือนและระดับชมุ ชน
คร้ังท่ี 1 ในวันท่ี 22 มิถุนายน 2559 ณ วัดห้วยดอกอูน ตาบลห้วยแก้ว อาเภอภูกามยาว จังหวัด
พะเยา เวลา 09.00 น. โดยทีมนักวิจัย 16 คน ที่ปรึกษา 2 คน ชุมชน 22 คน ทีมกลไก 6 คน พ่ีเลี้ยง 3 คน
รวมท้งั หมด 49 คน
วิธกี าร ขัน้ ตอนการดาเนนิ งาน
ในการจดั กิจกรรมคร้ังนี้มกี ารแบ่งกลุม่ เปน็ 2 กลุม่ ดงั น้ี กลุ่มท่ี 1 ชมุ ชนกลุ่ม ละ 11 คน นักวิจัย 8 คน
เพ่ือวิเคราะห์รายรับ-รายจ่ายระดับครัวเรือนของตนเอง โดยใช้เครื่องมือโอ่งเศรษฐกิจ โดยให้ชุมชนได้ออกมา
เขียนรายรบั -รายจ่ายของตนเองบนเครอ่ื งมือ (โอ่งเศรษฐกิจ) ทกุ คน โดยมกี ารแบง่ โอ่งเป็น 2 ส่วน ด้านบนเป็น
รายรับ ดา้ นล่างเป็นรูรั่ว คือรายจ่าย ในการจัดกระบวนการครั้งนี้ พบว่าชุมชนมีรายรับ ได้แก่ รายรับจากการ
ประกอบอาชีพ เช่น การเก็บของป่าขาย การขายผลผลิตทางการเกษตร การประกอบอาชีพรับจ้าง ลูกหลาน
ส่งมาให้เป็นรายเดือน เงินเดือนค่าตอบแทน สาหรับรายจ่าย พบว่า รายจ่ายจากการประกอบอาชีพ เช่น
ค่าปุ๋ย ค่ายา ค่าเมล็ดพันธ์ุ ค่าจ้างแรงงาน รายจ่ายในชีวิตประจาวัน เช่น ค่าอาหาร ค่าน้า ค่าไฟ ค่าเล่าเรียน
บตุ ร คา่ หวย คา่ แชร์ รายจ่ายด้านสังคม เช่น ค่าฌาปนกจิ ศพ คา่ ซองงานบุญต่างๆ

41


Click to View FlipBook Version