The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการวิจัย “แนวทางการบริหารจัดการการเงินชุมชน โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงบ้านสันป่าส้าน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by acroniss3435, 2022-10-11 23:58:22

โครงการวิจัย “แนวทางการบริหารจัดการการเงินชุมชน โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงบ้านสันป่าส้าน

โครงการวิจัย “แนวทางการบริหารจัดการการเงินชุมชน โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงบ้านสันป่าส้าน

กลุ่มที่ 2 ชุมชน 11 คน นกั วจิ ยั 8 คน วเิ คราะหค์ วามเป็นมาของชุมชน โดยใช้เครื่องมือ เส้นแบ่งเวลา
(Time Line ) โดยให้ชุมชนได้ออกมา วาดรูปเล่าเรื่องราว เหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้นในชุมชน ต้ังแต่ชุมชนเริ่มจัดต้ัง
จนถึงปัจจุบัน ซ่ึงในกระบวนการพบว่า ปี พ.ศ.2539 แยกออกจากหมู่ 3 บ้านห้วยแก้ว เริ่มจัดตั้งเป็นหมู่บ้าน
ชื่อบ้านสันป่าส้าน หมู่ 12 โดยมี นายคาร ก้อนคา เป็นผู้ใหญ่บ้านคนแรก ต่อมา นายสราวุธ ก้อนคา ดารง
ตาแหน่งผู้ใหญ่บ้านคนปัจจุบัน ปี พ.ศ.2540 ได้งบประมาณ โครงการ SML (ขนาดเล็ก) นามาสร้างฉางข้าว
ในชุมชน ต้ังกลุ่มปุ๋ยกลุ่มออมทรัพย์ กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มฌาปนกิจชุมชน ปี พ.ศ.2542 ตั้งกลุ่มเล้ียงวัว กองทุน
เงินการแก้ไขปัญหาความยากจน (กข.คจ.) โดยทาการกู้มาทานา แก้ไขปัญหาความยากจน(ในขณะน้ัน)
ปี พ.ศ.2544 ต้ังกลุ่มไก่ กลุ่มสัจจะ ปี พ.ศ.2545 ต้ังกองทุนแม่บ้าน จานวน 80 ราย ปี พ.ศ.2547 ตั้งกลุ่ม
เล้ียงหมู ปี พ.ศ.2548 ต้ังกลุ่มผู้สูงอายุ จัดทาท่อประปาระบายน้า ปี พ.ศ.2550 ซื้อปุ๋ยมาจาหน่ายให้กลุ่ม
สมาชิก (โครงการอยู่ดีมีสุข) ปี พ.ศ.2553 สร้างวัดห้วยดอกอูนปัจจุบันมีกลุ่มต่างๆเกิดข้ึนในชุมชนมากมาย
ได้แก่ กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มปุ๋ย กลุ่มฌาปนกิจชุมชนกลุ่มออมสัจจะ(กู้แหล่งทุน) กลุ่มวัว กลุ่มไก่/อาหารสัตว์
กล่มุ ออมทรพั ย์(กู)้ กลมุ่ ขา้ ว(ธกส.กู้แหล่งทุน) กลุม่ เล้ยี งหมู กลมุ่ กองทุนหมู่บ้าน(กแู้ หลง่ ทุน)

การเปลย่ี นแปลงที่เกิดข้นึ (out put)
ผลการจดั กจิ กรรมในครง้ั นีไ้ ด้ทราบบรบิ ทของชุมชนต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบันของชุมชนบ้านสันป่าส้าน
ตาบลห้วยแก้ว อาเภอภูกามยาว จังหวัดพะเยา รู้ถึงข้อมูลรายรับรายจ่ายของชุมชน /ครัวเรือน ทราบสาเหตุ
ของการเป็นหน้ี ชมุ ชนเปน็ หนี้มากขึ้นเนือ่ งชุมชนมแี หล่งเงินทุน ทาให้ชุมชนมีปัจจัยที่ก่อให้เกิดหน้ีสิน ยังส่งผล
ใหช้ มุ ชนเกดิ ปญั หาต่าง ๆ ตามมาเชน่ การเปลี่ยนแปลงของกลุ่มอาชพี ทีเ่ กดิ ขึ้นมากใหม่และการไม่ต่อยอดกลุ่ม
อาชีพเดิม แต่ชุมชนบ้านสันป่าส้านเป็นชุมชนที่มีความร่วมมือช่วยเหลือซ่ึงกันและกันมีส่วนในการทางาน
ส่วนรวม และช่วยกันหาทางแก้ไข้ปัญหาหน้ีสินของชุมชน มีแนวทางแก้ไข้ปัญหาหนี้สินท่ีเกิดขึ้น โดยการหา
แนวทางลดรายจ่ายในครัวเรอื น
ขอ้ สรปุ
ผลจากการจัดกิจกรรมคร้ังน้ี ทีมวิจัยพบว่า ชุมชนมีความสนใจในการตอบคาถามช่วยกันคิดโดยการ
รว่ มกนั ระดมความคิดในการหาแนวทางการแก้ปัญหาในชุมชนชุมชนยังให้ข้อมูลเก่ียวกับด้านเศรษฐกิจชุมชน/
บัญชคี รวั เรอื น ซ่ึงจะส่งผลให้การดาเนนิ งานสะดวกมากข้ึน

42

บทเรยี น/บทเรียนท่เี กิดขึ้นใหม่
ผลจากการจัดทากิจกรรมในครั้งนี้ ทมี วจิ ยั ชมุ ชนไดร้ บั ทราบถงึ ผลท่ีเกิดจากการวางแผนการทางานที่มี
การวางแผนอย่างเป็นระบบของชุมชนชุมชนมีการจัดวางคนได้เหมาะสมกับงานเพื่อจะได้ทางานอย่างมี
ประสทิ ธิภาพมากขน้ึ

กจิ กรรมท่ี 3 เวทที บทวนสถานการณร์ ายรับ-รายจ่ายระดบั ครัวเรือนและระดับชุมชน
ณ อาคารอเนกประสงคบ์ า้ นสันป่าสา้ น หมู่ 12 ตาบลห้วยแก้ว อาเภอภูกามยาว จังหวัดพะเยาวันที่ 8
กรกฎาคม 2559 จานวนผ้เู ข้ารว่ ม 43 คน ไดแ้ ก่ ทมี นักวิจัย 12 คน ทมี ชุมชน 31 คน
วธิ กี าร ขัน้ ตอนการดาเนนิ งาน
ในการจดั ทาเวทยี อ่ ยที่ 1 แลกเปล่ียนเรียนรูโ้ ดยกลุม่ ชมุ ชนท้ังหมดรวมกันหาจุดอ่อนจุดแข็งของชุมชน
โดยใช้เคร่ืองมือวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ ชุมชน (SWOT ANALYSIS ) ประกอบด้วย Strengths
(S) :จุดแข็ง จุดเด่น Weaknesses (W) :จุดอ่อน ข้อเสียเปรียบ Opportunities (O) :โอกาสในการดาเนินงาน
Threats (T) :อปุ สรรคทอ่ี าจเป็นปัจจัยทีส่ าคญั โดยทีมวจิ ยั ได้ใชก้ ระบวนการการมีส่วนร่วมของชุมชน โดยการ
กระตุ้นซักถาม ให้ชุมชนวิเคราะห์ภาพรวมของหมู่บ้านของตนเองให้พูดคุย ซึ่งพบว่า ชุมชนมีจุดแข็งในเรื่องมี
ทรัพยากรธรรมชาติ ป่าชุมชน มีอาชีพ มีกลุ่มออมทรัพย์ และจุดอ่อน ไม่มีที่ดินทานา ต้องเช่าที่ดินเพ่ือการทา
นา รายได้ไม่สม่าเสมอ ไม่มีการจัดตั้งกลุ่มที่ชัดเจน มีภาระหนี้สิน และมีโอกาส มีหน่วยงานภาครัฐ ให้การ
ช่วยเหลือ อุปสรรค รายได้ไม่สม่าเสมอ ไม่มีตลาดซึ่งมีผลกระทบต่อการรวมกลุ่มทาให้ชุมชนได้รู้ตัวตนของ
ชุมชนเองมากย่งิ ขึ้น
เวทีย่อยที่ 2 มีการแบ่งกลุ่มย่อยออกเป็น 2 กลุ่ม ซ่ึงมีทีมวิจัยและทีมชุมชนอย่างละเท่าๆ กัน โดยใช้
เคร่ืองมือปฏิทินฤดูกาล เหมือนกัน โดยให้สมาชิกพูดคุยออกมาในแต่ละกลุ่ม ทาให้ทราบว่าในแต่ละเดือน
ตลอดท้ังปีมีการดาเนินชีวิตของชุมชนในการทากสิกรรม เกษตรกรรม การปลูกข้าว ข้าวโพด กระเทียม
มนั สาปะหลัง พรกิ มะนาว กลว้ ย การเลี้ยงหมู เลย้ี งไก่ เลยี้ งเปด็ เลี้ยงโค ทาใหท้ ราบถึงรายรับ–รายจ่าย ในแต่
ละเดือน ทราบถึงวฒั นธรรมและประเพณีในการดารงชีวิตในชุมชน โดยให้นักวิจัยเป็นผู้ประมวลสรุปกลุ่มย่อย
และนามาสรุปเวทีใหญอ่ กี คร้งั หน่งึ
การเปลย่ี นแปลงท่เี กดิ ขน้ึ (out put)
ทมี วจิ ัยไดท้ ราบถึงข้อมลู จุดเด่น จุดด้อย โอกาส และอุปสรรค ของชุมชน ได้เรียนรู้เร่ืองการลงทุนใน
การใช้จ่ายเงิน การชาระหน้ีสิน ในการประกอบอาชีพ ข้อมูลการประกอบอาชีพทางด้านเกษตรกรร กสิกรรม
ในแต่ละเดือนในรอบปี และการเกิดอาชีพเสริม มีการออมทรัพย์ของครัวเรือน ออมทรัพย์กลุ่มต่างๆ รวม 8
กลมุ่ มีการวางแผนการลดรายจา่ ยในครวั เรือน ชุมชนเกดิ ความตระหนักในการใช้จา่ ยของตนเองมากขึน้
ข้อสรุป
ชมุ ชนมที รพั ยากรธรรมชาติท่สี มบรู ณ์ ทง้ั ดิน นา้ ปา่ ชุมชน เป็นของตนเอง ชุมชนมีรายได้เสริมจากป่า
ชุมชน ภายหลังฤดูการทานา มีอาชีพเสริมต่างๆ เช่น ปลูกผัก ข้าวโพด เพาะเห็ด ได้รับการส่งเสริมสนับสนุน
จากภาคีเครือข่ายภาครัฐและเอกชน การใช้เคร่ืองมือวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพชุมชน (SWOT
ANALYSIS) ทาให้ไดข้ ้อมูลเพื่อใช้ในการวางแผนพัฒนาและแผนชุมชนมีการวิเคราะห์ชุมชน และกระบวนการ
เรียนรู้ที่ออกมาเป็นรูปภาพทาให้เข้าใจง่ายและเกิดกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ ซึ่งต้องส่ือด้วยภาพทาให้
ทราบสภาวะการใช้จ่ายเงนิ และสามารถนาไปวางแผนรายรับ–รายจ่ายของครวั เรอื นได้

43

บทเรียน/บทเรียนท่เี กิดขนึ้ ใหม่
1. วิธกี ารจัดกระบวนการเรียนรแู้ บบกลมุ่ ย่อยทาให้เกดิ ปฏิสัมพนั ธก์ ันมากขนึ้ ระหวา่ งทีมวิจัยกับชุมชน
สามารถสะท้อนความคดิ ของชุมชนไดม้ ากข้ึน
2. การใชเ้ คร่ืองมือในการทากิจกรรม SWOT ต้องอธิบายความหมายและความสาคัญของเครื่องมือให้
ชัดเจนก่อนทุกคร้ังเพ่ือจะได้ข้อมูลที่ถูกต้องครบถ้วน เคร่ืองมือปฏิทินฤดูกาลทาให้ดูยากควรออกแบบเป็น
ตารางเพื่อดูง่ายขนึ้

กิจกรรมท่ี 4 เวทีสร้างความเข้าใจในหลักของการจดั กระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงโดยยึดหลักการ 3 ห่วง 2 เงื่อนไข ซึ่งดาเนินการระหว่างวันท่ี 6–17 กรกฎาคม 2559
ณ ศาลาอเนกประสงค์บ้านสันป่าส้าน โดยมีผู้เข้าร่วมกิจกรรม ประกอบด้วย ทีมวิจัยหลัก จานวน 10 คน
ชุมชนกลุ่มเป้าหมายและผู้สนใจฝึกอาชีพ จานวน 22 คน และวิทยากรจากสานักงานปศุสัตว์จังหวัดพะเยา
จานวน 1 คน รวมท้ังส้ิน 33 คนซ่ึงวิทยากรได้บรรยายและสาธิตการผลิตอาหารสุกรและผลิตผลทางการ
เกษตรต่างๆ โดยเน้นแนวคิดตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และเปิดโอกาสให้ผู้เข้าอบรมได้ทดลองฝึก
ปฏิบัติ

วธิ กี าร ขัน้ ตอนการดาเนินงาน
มีวัตถุประสงค์เพ่ือทาความเข้าใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโดยยึดหลัก3 ห่วง 2 เงื่อนไข
สาหรับการใช้เป็นแนวทางในการจัดทากิจกรรม ซ่ึงกิจกรรมที่ดาเนินการจะเป็นการอบรมให้ความรู้ในเรื่องของ
การทาบัญชีครัวเรือน การส่งเสริมอาชีพและการฝึกปฏิบัติการผลิตอาหารสุกร เพื่อให้ชุมชนเข้าใจและ
ตระหนักถึงความสาคญั เกี่ยวกับหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งวิทยากรได้ใช้กระบวนการในการดาเนิน
กิจกรรมคือการอบรมใหค้ วามรใู้ นดา้ นทฤษฎีโดยใช้การนาเสนอขอ้ มลู ดว้ ยโปรแกรม power point และใช้การ
ประชุมกลุ่มย่อยเพื่อแลกเปล่ียนเรียนรู้โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน ซ่ึงเป็นกิจกรรมที่มีลักษณะของการ
แลกเปล่ียนความคิดเห็นของผู้ที่เข้าร่วมกิจกรรมและส่ิงที่สาคัญท่ีสุดในการดาเนินกิจกรรมคือการให้ผู้เข้าร่วม
กิจกรรมได้ลงมือปฏิบัติการผลิตอาหารสุกร การทาน้าหมักชีวภาพด้วยตนเอง ผ่านการปฏิบัติจริงที่อาศัย
ประสบการณความรู มุมมองที่กลุมหรอื บคุ คลมีจากการซักถาม แลกเปล่ียนความเห็น โดยมีการเสนอแนะและ
ให้ขอ้ คิดเห็นโดยวิทยากรทีม่ คี วามร้คู วามชานาญในเรอ่ื งน้ัน ๆ
การเปลย่ี นแปลงที่เกิดขนึ้ (out put)
ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย จานวน 22 ครัวเรือน มีความรู้ ความเข้าใจ เก่ียวกับหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งชี้แนวทางการดารงอยู่และการปฏิบัติของประชาชนในทุกระดับ ให้ดาเนินไปในทางสาย
กลาง มีความพอเพียง และมีความพร้อมที่จะจดั การตอ่ ผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงท้ังภายนอกและภายใน
อีกท้ังชุมชนมีความตระหนักและเห็นความสาคัญของการทาบัญชีครัวเรือน สามารถบันทึกบัญชีได้ถูกต้อง
ตลอดจนมีความรู้ ความเข้าใจและฝกึ ปฏิบัติในกระบวนการผลติ อาหารสุกรได้อย่างถูกต้อง ซึ่งสอดคล้องกับวิถี
ชีวติ ของคนในชุมชนท้องถิน่ ท่ปี ระกอบอาชีพการเลี้ยงสกุ รเพ่ือจาหนา่ ยและบรโิ ภค
ขอ้ สรปุ
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิทยากรท่ีมีความรู้ ความชานาญในเร่ืองนั้นๆ มาให้ความรู้และการ
จัดกระบวนการเรียนรู้ด้วยการฝึกปฏิบัติผ่านการทาบัญชีครัวเรือน การผลิตอาหารสุกรและการทาน้าหมัก
ชวี ภาพ ทาให้ชมุ ชนเกิดการเรยี นรไู้ ด้อยา่ งแท้จริง

44

บทเรียน/บทเรียนท่ีเกิดข้ึนใหม่
1. ในการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบกลุ่มใหญ่ กลุ่มเดียวทาให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้รับความรู้ไม่
ทว่ั ถงึ ควรจดั กลุ่มเปน็ กลมุ่ ย่อย ซงึ่ ไม่ควรเกนิ 10 คน
2. ในการจดั กระบวนการเรยี นร้คู วรมกี ารสรุปองคค์ วามรทู้ ี่ได้รับหลังการดาเนินการทุกคร้ัง เพ่ือจะทา
ให้ทราบถึงปัญหา อปุ สรรค ตลอดจนขอ้ เสนอแนะต่าง ๆ เพอื่ นามาปรบั ใช้ในครงั้ ตอ่ ไป

กิจกรรมที่ 5 เวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้สรุปเงื่อนไขท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการเงินตั้งแต่อดีตถึง
ปัจจุบันและวิธีแก้ปัญหาในระดับครัวเรือน/ชุมชน วันท่ี 26 สิงหาคม 2559 เวลา 09.00 น.-16.00 น.
ณ หอ้ งประชมุ กศน.อาเภอภูกามยาว จานวนผู้เข้าร่วม จานวน 27 คน ได้แก่ ทมี นักวิจัย จานวน 16 คน ทีมที่
ปรกึ ษา จานวน 2 คน ทีมกลไก จานวน 6 คน และทมี พเ่ี ลีย้ ง จานวน 3 คนซึง่ ใชเ้ ครื่องมอื ในการดาเนินงานคือ
Mind mapping ที่ทีมวิจัยและชาวบ้านได้ร่วมกันสรุปแผนท่ีความคิด เป็นวิธีการบันทึกความคิดเพื่อให้เห็น
ภาพของความคิดท่ีหลากหลายมุมมอง ท่ีกว้าง และที่ชัดเจน โดยยังไม่จัดระบบระเบียบความคิดใดๆ ใน
ภาพรวมของชมุ ชนบา้ นส้นป่าส้าน และการประชมุ กลมุ่ ยอ่ ย เพ่อื เสวนาการแก้ไขปัญหา ชุมชนสันป่าส้านอย่าง
ยัง่ ยืนโดยระดมความคิดจากคนในชุมชน และทมี วิจัยจาก สกว.

วิธกี าร ขนั้ ตอนการดาเนนิ งาน
จากประเดน็ การประชมุ ของคณะทางานวิจัย ทั้งทีมครู กศน.อาเภอภูกามยาว และทีมวิจัยชุมชนบ้าน
สันปา่ ส้านไดข้ ้อสรุปออกมา 3 ด้านคือ ด้านอาชีพ ด้านการเงิน และด้านการดาเนินชีวิต ซ่ึงอาชีพส่วนใหญ่
ของชุมชนบ้านสันป่าส้านคือการเกษตร เช่น ทานา ทาไร่ ทาสวนผัก เป็นอันดับหนึ่งรองลงมาคือรับจ้างท่ัวไป
และอาชีเสริมจากการหาของป่า เก็บเห็ด เล้ียงวัว เลี้ยงไก่ไข่ เป็นต้น แต่ปัจจัยที่มีต่อการเกษตร เช่น สภาพ
อากาศ น้า ดิน ไมเ่ อื้อตอ่ การเกษตร ผลผลิตไม่ได้รับตามคาดหวัง ซ่ึงปัจจัยการผลิตส่วนใหญ่ต้องซ้ือหามาจาก
ภายนอกชมุ ชน ประกอบกบั ผลผลิตที่ออกจาหนา่ ยไม่มีการแปรรูป ส่งผลให้ขายได้ราคาต่า สภาวะการเป็นหนี้
เพ่ิมพูนข้ึนเรื่อยๆ ตามฤดูกาลเพาะปลูก และเม่ืออยู่นอกฤดูกาลเพาะปลูก ประชากรในชุมชนกลับไม่มีรายได้
จากอาชีพเสรมิ ทแี่ นน่ อน ตลอดจนการใช้จ่ายในครัวเรือนฟุ่มเฟือย จึงเกิดภาระหนี้สินรุมเร้าอย่างไม่มีท่ีสิ้นสุด
ถึงแม้ชุมชนบ้านสันป่าส้านจะมีการดาเนินงานกองทุนการเงิน(กองทุนแม่ของแผ่นดิน) และกลุ่มออมทรัพย์
อ่ืนๆเพื่อให้ชาวบ้านได้กู้ยืมใช้จ่ายการประกอบอาชีพ แต่ส่วนใหญ่แล้วชาวบ้านสันป่าส้านยังมีการใช้จ่าย
ฟุ่มเฟอื ย การบรโิ ภคเกินตวั ขาดความรู้ทางการเงิน ใช้ชีวิตไปตามการบริโภคนิยม ปัจจัยเหล่านี้ทาให้รายจ่าย
สูงกวา่ รายรับ ทั้งนท้ี างครัวเรอื นเองกม็ กี ารบนั ทึกรายรบั -รายจ่ายเพอ่ื หาทางออกจากปญั หาดังกล่าว แต่ก็ยังไม่
สามารถจะแก้ปัญหาได้เน่ืองจากการบันทึกบัญชีไม่ต่อเนื่อง เพราะตัวเลขของรายรับมีน้อยกว่ารายจ่าย ทาให้
หมดกาลังใจในการบันทึกบัญชี ส่งผลให้ปัญหาทางการเงินของครัวเรือนไม่สามารถแก้ได้สาเร็จ จากประเด็น
ตา่ งๆที่ไดข้ อ้ สรุปนคี้ ณะวิจัยได้จงึ ได้วางแผนแนวความคิดขึ้นแก้ไขในระยะตอ่ ไป
การเปลีย่ นแปลงทีเ่ กดิ ขึน้ (out put)
ผลจากการจัดเวทีแลกเปลี่ยนคร้ังน้ี ทาให้ชุมชนรับรู้พฤติกรรมในการใช้จ่ายเงินในครัวเรือนแต่ไม่
ยอมรับและปรับพฤติกรรมจะเห็นได้ว่าเกิดจากรูปแบบการดาเนินชีวิต การใช้จ่ายฟุ่มเฟือย การบริโภคเกินตัว
ไม่เก็บออม ขาดความรู้ทางการเงิน ไม่วางแผนการเงิน ใช้ชีวิตไปตามการบริโภคนิยม ติดความสุขสบาย ติด
เครื่องอานวยความสะดวกทไี่ มจ่ าเป็นตอ่ การประกอบอาชีพ ปัจจัยเหล่านี้ทาให้รายจ่ายสูงกว่ารายรับ ท้ังน้ีทาง
ครัวเรือนเองกม็ กี ารบันทึกรายรับ-รายจา่ ยเพอื่ หาทางออกจากปญั หาดงั กลา่ ว

45

ผลจากการเสวนาในคร้ังนี้ทาให้ชมุ ชนได้ตระหนักและเห็นความสาคัญของการจัดทาบัญชีครัวเรือนซึ่ง
จะเปน็ ทางออกในการแกไ้ ขปญั หาการบริหารจดั การเงนิ ของชุมชนบ้านสันป่าสา้ น

ข้อสรปุ
ผลจากการเสวนาในคร้ังน้ีทีมวิจัยค้นพบว่า การทาบัญชีครัวเรือนของชาวบ้านสันป่าส้านไม่ต่อเน่ือง
เพราะตัวเลขของรายรับมีน้อยกว่ารายจ่าย ทาให้หมดกาลังใจในการบันทึกบัญชี ส่งผลให้ปัญหาทางการเงิน
ของครวั เรือนไม่สามารถแก้ได้สาเร็จและต้องมีการประเมินความพึงพอใจของแหล่งกองทุนด้านเวลาการชาระ
หนี้หรือดอกเบ้ียรวมท้ังการวางแผนการพักชาระหนี้ท่ีเหมาะสมจะทาให้ชุมชนรู้และเข้าใจระบบกองทุนต่างได้
ดียิ่งขึ้นส่วนการทา Mind Map/การประชุมกลุ่มย่อยยังไม่สามารถได้ข้อมูลเชิงลึกยังต้องมีเจ้าหน้าที่กองทุน
และผู้ที่เก่ียวข้องร่วมประชุมด้วยเพื่อหาแนวทางการแก้ไขปัญหาที่เกิดข้ึนว่าจะเป็นการกู้ การชาระหน้ี
ดอกเบยี้ หรอื การลดดอกเบย้ี สาหรับผทู้ สี่ ง่ เงนิ กไู้ ดเ้ ร็วไม่มหี นี้ค้างชาระอนั จะเป็นแนวทางท่ีดีสาหรับชุมชนบ้าน
สนั ป่าสา้ น
บทเรยี น/บทเรยี นท่ีเกดิ ขึ้นใหม่
ผลจากการจัดกิจกรรมการลงพื้นท่ีเชิงลึกเป็นรายครัวเรือนโดยทีมวิจัยหลัก จานวน 2 คนต่อ 1
ครัวเรือนและทาบัญชีครัวเรือนอย่างต่อเน่ืองเป็นระยะเวลา 1 เดือนแล้วติดตามผลและปรับปรุงวิธีการ
ดาเนินงานของกองทุนที่เอ้ือต่อคนรวยรวมถึงหาทางออกในการชาระหนี้ให้กับสมาชิกท่ีได้รับผลกระทบจาก
อาชพี ที่ส่งผลต่อการใชห้ นีใ้ ห้กบั กองทุนท้ังนี้ยังได้แนวคิดการกาหนดกฎกติกาการชาระหน้ีคืนเงินต้น/ดอกเบ้ีย
ให้กับสมาชกิ เพ่อื สร้างเงอ่ื นไขในการกูเ้ งินกองทนุ คร้งั ต่อไป

กิจกรรมท่ี 6 กิจกรรมพลังปัญญา (เปล่ียนวิธีคิด พลิกชีวิตด้วยปัญญา) เป็นกิจกรรมเสริมที่
ไมไ่ ดร้ ะบใุ นแผนแตม่ ีความสอดคล้องกบั การดาเนนิ การณ อาคารอเนกประสงค์บ้านสันป่าส้าน หมู่ที่ 12 ตาบล
ห้วยแก้ว อาเภอภูกามยาว จังหวัดพะเยาวันท่ี 30 สิงหาคม พ.ศ. 2559 เวลา 09.00 น. จานวนผู้เข้าร่วม 36
คน ไดแ้ ก่ ทมี นกั วจิ ยั 8 คน ชุมชน 22 คน กลมุ่ พลังปัญญาจังหวดั พะเยา 6 คน

วิธกี าร ขน้ั ตอนการดาเนินงาน
กิจกรรมพลังปญั ญา (เปล่ียนวธิ คี ดิ พลกิ ชีวติ ด้วยปญั ญา ) ประกอบไปด้วยกิจกรรมพัฒนากระบวนคิด
ของคนในชุมชน(แนวคิดพลังปญั ญาและปลาทอง) กิจกรรมการวางแผนชีวิต กิจกรรมชีวิตมีสุขด้วยศาสตร์ของ
พระราชาและหลักการทรงงาน (สมอง กาย ใจ)โดยวิทยากรแกนนาจากกลุ่มพลังปัญญาเป็นผู้ดาเนินกิจกรรม
และได้ใช้เครือ่ งมอื ตามกจิ กรรมทั้งหมดดังต่อไปนี้
ก่อนการเรมิ่ กจิ กรรมหลกั ทางทมี วทิ ยากรได้แนะนาประวัติและการทางานของตนเองและแนะนากลุ่ม
พลังปญั ญาวา่ เปน็ อยา่ งไร
กจิ กรรมการพัฒนากระบวนการคดิ ในชมุ ชนประกอบไปดว้ ยกิจกรรม ดังนี้
1. การแบง่ กลมุ่ กลุม่ ละ 5 คนเพอ่ื พดู เกีย่ วกับสิง่ ของที่ได้รับ จานวน 5 ช้ิน โดยร่วมกันพูดคุยและบอก
ประโยชน์ของสิ่งของนั้นภายในพร้อมส่งตัวแทนของแต่ละกลุ่มมานาเสนอโดยการเล่าเรื่องท่ีมีการบอก
ประโยชน์ของส่งิ ของท่ไี ดร้ บั ภายในกลมุ่ ให้ครบทกุ ชนิ้
2. กจิ กรรมปลาทองใช้เครอื่ งคอื ขอ้ คาถามการเลือกที่จะเป็นปลาทองในอ่างใดโดยมีให้เลือก 4 แบบ
คอื

1) ปลาทองท่ีไม่รู้เลยว่าอ่างรั่วคือ ผู้ที่ละเลยการเอาใจใส่ จึงต้องเพิ่มด้วยสติ ตรวจสอบ
ปัญหา

46

2) ปลาทองท่ีมองเห็นว่าอ่างรั่ว กาลังมองหาอ่างใหม่คือ ผู้ที่เร่ิมใช้สติ มาประกอบการ
พิจารณา แต่ยงั มองไม่เห็นทางข้างหน้าได้อย่างชัดเจน จึงควรเพ่ิมองค์ความรู้ ประกอบการตัดสินใจที่
ถูกตอ้ ง

3) ปลาทองที่มองเห็นว่าอ่างร่ัว และสามารถเริ่มต้นในอ่างใบใหม่ได้สาเร็จ แต่กาลังมองหา
แนวทางการเติบโตในอ่างใบใหม่คือ ผู้ท่ีรู้ตัวแล้ว มีองค์ความรู้ท่ีถูกต้องแล้ว จึงควรเพ่ิม รูปแบบการพัฒนา
ตวั ตน ให้เติบโตอยา่ งแขง็ แรง

4) ปลาทองทร่ี วู้ ่าอา่ งร่ัว และสามารถกระโดดไปอา่ งใหม่ไดส้ าเรจ็ และใช้ชีวิตได้อย่างแข็งแรง
คือ ผู้ที่นาสติมาประกอบการคิดพิจารณาอย่างมีเหตุผล ร่วมกับองค์ความรู้ ตลอดจนพัฒนาตนเองได้อย่างมี
ความสขุ ดว้ ยภมู คิ ุม้ กันที่ดกี ับคณุ ธรรมและความพอประมาณ

กจิ กรรมการวางแผนชีวิตโดยใชเ้ ครือ่ งมอื ในการจัดกิจกรรมคอื
1. ใบงานการวางแผนชีวิต ของแต่ละคนโดยการกาหนดช่วงชีวิตอายุของตนเอง ณ ปัจจุบัน ไป
จนถงึ การคาดคะเนอายุของตนเองวา่ จะมีอายเุ ท่าใดและนามาอายุที่ได้มาแบ่งเป็นข้ันอายุให้ได้ 4 ข้ันแล้วนาไป
เขียนสิ่งท่ีได้ในแต่ละขั้นอายุ 4 ข้ันท่ีกาหนด คือ เป้าหมายสูงสุดในชีวิต, ทางเลือกเพ่ือบรรลุเป้าหมาย,
อปุ สรรคต่อทางเลือกและวธิ ีจะผา่ นอุปสรรค
2. ใบงานการคิดคา่ ใชจ้ า่ ยประจาเดอื น ของแต่ละครัวเรือนในแต่ละเดือน โดยกาหนดจาก ปัจจัย 4
ในครัวเรือน, กรรมเก่า (ค่าดูแลบิดา, มารดา, ค่าเลี้ยงดูบุตรและค่าหน้ีสินต่างๆที่มีอยู่ในปัจจุบัน), กรรมใหม่
(การทาบญุ , ภาษีสังคมและการลงทนุ ตา่ งๆ) และค่าใชจ้ า่ ยฟุ่มเฟือย (ค่าโทรศัพท์, ค่าเหล้า–เบียร์, ค่าน้ามันรถ
และค่าหวย)แลว้ รวมค่าใช้จา่ ยท้งั หมดในรอบเดือนออกมา
3. ใบงานการคานวณรายจ่ายรายปีของแต่ละครัวเรือน โดยนารายจ่ายในรอบเดือนจากใบงานการ
คิดค่าใช้จ่ายประจาเดือนมาทาให้เป็นจานวนปี (คูณ 12 เดือน) และนารายรับจากการประมาณการในแต่ละ
เดือนมาทาใหเ้ ป็นรายรับประจาปี (นารายได้ประจาเดือนจากการประมาณการคูณ 12 เดือน) นารายรับรายปี
ท้ังหมดลบรายจ่ายประจาปีท้ังหมดจะได้เป็นเงินส่วนต่างท่ีต้องเป็นหน้ีในแต่ละปี หากได้เห็นจานวนเงินแล้ว
หากตดิ ลบต้องร่วมกันวิเคราะหว์ ่าจะเร่มิ ลดรายจ่ายในสว่ นไหนเพ่ิมรายได้อยา่ งไร
กจิ กรรมชีวติ มสี ุขดว้ ยศาสตร์ของพระราชา
โดยวิทยากรให้ความรู้เรื่องปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและยกตัวอย่างกิจกรรมโดยให้ตัวแทนผู้เข้า
รับการอบรมน่ังซ้อนกันบนเก้าอ้ีตัวเดียวจานวน 3 คนและตั้งคาถามว่ารู้สึกอย่างไรเม่ือนั่งซ้อนกันบนเก้าอี้ 3
คน และถ้าทุกคนต่างๆคนต่างน่ังเก้าอี้ของตนเองรู้สึกอย่างไร และวิทยากรให้ข้อคิดว่า การท่ีคนเราจะทาการ
ใดๆนั้นควรทากจิ กรรมทไี่ มท่ ับซอ้ นกันจะทาใหก้ ารการใดๆนน้ั ไม่มีทกุ ขแ์ ละไมเ่ บียดเบยี นผู้อื่นและให้ผู้เข้าร่วม
โครงการทง้ั หมดร่วมวเิ คราะหอ์ าชีพและการสร้างรายได้จากอาชีพหลักและอาชีพเสริมต่างๆ โดยใช้ตารางการ
วเิ คราะห์อาชีพ หลกั การคอื ง่าย ไว ใหม่ ใหญ่ ย่งั ยืน มคี วามสุข โดยแตล่ ะหลักการมีคะแนนให้คือ 5 = ดีมาก,
3 = ปานกลาง, 1 = น้อย แล้วนามารวมคะแนนว่าการสร้างจากอาชีพใดเหมาะสมกับตนเองมากที่สุดบน
พน้ื ฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งเปน็ ฐาน
กิจกรรมหลักการทรงงาน (สมอง กาย ใจ) เป็นกิจกรรมรวบยอดจากกิจกรรมทั้งหมดที่ทามาในเวที
ท้ังหมดโดยวิทยากรให้ผู้เข้ารับการอบรมทุกท่านถือพระบรมฉายาลักษณ์ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทร
มหาภูมิพลอดุลยเดช ไว้เหนือศีรษะและร่วมร้องเพลงสรรเสริญพระบารมี และให้ทุกคนร่วมคิดและแก้ปัญหา
ตามโจทยใ์ บงานรวบยอดทง้ั หมดตัง้ แต่ทามา พรอ้ มทงั้ ให้หลักการทรงงานของพระราชาว่า ทุกความคิดจะต้อง
ระเบดิ ออกมาจากขา้ งใน โดยเรม่ิ จากสมองสู่กายและใจ ตามลาดบั

47

การเปล่ยี นแปลงทเี่ กิดข้นึ (out put)
ผลจากการดาเนินงานในกิจกรรมที่ 6(กิจกรรมที่ได้ระบุในแผนแต่ดาเนินการแล้ว) การจัดกิจกรรม
พลงั ปัญญา (เปลี่ยนวิธีคิด พลกิ ชีวติ ดว้ ยปญั ญา) ชุมชนได้ฝึกทักษะการเขียน การคิดคานวณและคิดนอกกรอบ
อย่างเป็นระบบ มองเห็นปัญหาและแนวทางการแก้ไขปัญหาของตนเองจนเกิดแรงบันดาลใจในการประกอบ
อาชีพและรู้แนวทางในการเพิม่ มูลคา่ สินคา้ ทีต่ นเองมอี ยู่ นาไปสู่การแก้ไขปัญหารว่ มกนั
ขอ้ สรปุ
ผลจากการดาเนินงานในกิจกรรมที่ 6 (กิจกรรมท่ีได้ระบุในแผนแต่ดาเนินการแล้ว) ทีมวิจัยค้นพบว่า
การวางแผนอนาคตทีด่ ีเป็นหนทางสู่ความสขุ ทย่ี ่ังยนื ซงึ่ มีเครอื ขา่ ยความรู้ทเ่ี ช่ือมโยงกันในระดับชุมชนรวมไปถึง
การตระหนักในเร่ืองของสุขภาพ อนามัยและครู กศน.อาเภอภูกามยาวได้เทคนิคและวิธีการจัดกระบวนการ
เรยี นรแู้ บบใหม่ที่สามารถนาไปใชใ้ นการจัดการเรยี นการสอนของ กศน.อาเภอภกู ามยาวได้จริง
บทเรียน/บทเรียนที่เกดิ ขน้ึ ใหม่
จากการดาเนินงานในกิจกรรมท่ี 6 (กิจกรรมที่ได้ระบุในแผนแต่ดาเนินการแล้ว) ชุมชนมีวิธีคิดแบบ
ใหมเ่ พื่อใหต้ นเองประสบความสาเร็จซ่ึงตรงกบั หลกั การทรงงาน คือ เกิดขึ้นจากสมองก่อนและนาไปสู่กายและ
ใจ
สรุป จากการดาเนินท้ัง 6 กิจกรรม ตามวัตถุประสงค์ท่ี 1 เพื่อศึกษาเงื่อนไข ปัจจัย พฤติกรรมท่ี
เกย่ี วข้องกบั การบริหารจัดการการเงนิ ตัง้ แต่อดตี ถึงปจั จบุ ันสามารถแยกตามประเดน็ ได้ดังนี้
- ดา้ นเงอ่ื นไขที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการการเงินตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน พบว่า ข้อกาหนดหรือ
ข้อตกลงรว่ มกนั ของคนในชุมชน ในการจดั ต้งั ใหม้ กี องทุนชมุ ชนตงั้ แตอ่ ดตี จนถงึ ปัจจบุ นั เพ่ือช่วยเหลือ ส่งเสริม
สนับสนุน สมาชิกในชมุ ชน ภายใต้แนวทางของการบริหารจัดการการเงินในแต่ละกองทุนตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน
โดยเออ้ื ประโยชนใ์ ห้สมาชกิ สามารถใช้ประโยชนจ์ ากกองทุนเพื่อการลดคา่ ใช้จ่าย เพม่ิ รายได้ การออม หรือการ
ประกอบอาชีพเสริมในอดีตนั้นชุมชนมีข้อกาหนดในการรวมกลุ่ม โดยมีการจัดต้ังธนาคารข้าวเพื่อช่วยเหลือ
สมาชิกให้มีข้าวไว้เพื่อ อุปโภค บริโภค ซึ่งมีการชาระคืนเป็นข้าวหลังจากมีการเก็บเกี่ยวในฤดูถัดไป หาก
ประสบภัยพิบัติ เช่นภัยแล้ง น้าท่วม โรคระบาด ให้ชาระคืนเฉพาะดอกเบี้ย (เช่น ยืมข้าว 10 ต๋าง ดอกเบ้ีย 2
ต๋าง ใหค้ ืนเฉพาะดอกเบย้ี 2 ตา๋ ง ) ปจั จบุ นั มีหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน มาส่งเสริมสนับสนุน ท้ังด้านวัสดุ
บุคลากรและงบประมาณเพิ่มมากขึ้น จึงเกิดเป็นกองทุนด้านการเงินต่างๆ เช่น กองทุนหมู่บ้าน กลุ่มออม
ทรัพย์ กลุ่มฌาปนกิจ กลุม่ สงเคราะห์ราษฎรประจาหม่บู า้ น กลมุ่ ปุย๋ เป็นตน้
- ด้านปัจจัยทเ่ี กี่ยวข้องกับการบริหารจัดการการเงินตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน พบว่า การรวมกลุ่มของ
คนในชุมชนที่ส่งผลหรือมีอิทธิพลต่อการจัดตั้งกองทุนชุมชนต่างๆ รวมถึงการบริหารจัดการการเงินต้ังแต่อดีต
จนถึงปัจจุบัน ทั้งที่ชุมชนได้กาหนดข้ึนเองและท่ีได้รับการส่งเสริม สนับสนุนด้านงบประมาณ วัสดุอุปกรณ์
บุคลากร จากหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และภาคีเครือข่ายชุมชนมีการจัดตั้งกองทุนต่างๆ เพ่ือเป็นการ
ช่วยเหลือเก้ือกูลกันภายในชุมชน เช่น ด้านเงินทุนในการประกอบอาชีพ ด้านการสงเคราะห์ฌาปนกิจศพ
การส่งเสริมการออม การสงเคราะห์ช่วยเหลือยามเจ็บป่วย และด้านสาธารณูปโภคพื้นฐาน เช่น มีน้าสาหรับ
อุปโภค บริโภค มีจานวนกองทุนตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงปัจจุบัน จานวน 9 กองทุน ซ่ึงแต่ละกองทุนก็มีเงื่อนไขท่ี
แตกต่างกันเช่น บางกองทุนปล่อยให้กู้ บางกองทุนเป็นสวัสดิการ โดยมีวิธีการดาเนินการภายใต้กิจกรรมท่ี
สง่ เสริมสนับสนุนให้สมาชิกทาบัญชคี รัวเรือน ให้มกี ารออม กองทุนมีเงินปันผลเฉลี่ยคืนให้สมาชิก และส่งเสริม
การประกอบอาชีพเสริม เปน็ ต้น
- ดา้ นพฤติกรรมเก่ยี วขอ้ งกับการบริหารจัดการการเงินต้ังแต่อดีตถึงปัจจุบัน พบว่า การแสดงออก
ของคนในชุมชนทั้งทางบวกและทางลบในระดับครัวเรือน ระดับชุมชนท่ีตอบสนองต่อการบริหารจัดการ

48

การเงินตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน หรือรูปแบบในการบริหารกองทุนชุมชนน้ัน ส่งผลให้คนในชุมชนเข้าร่วมเป็น
สมาชกิ ของกลุ่มต่างๆเพ่ิมมากข้ึน เพื่อต้องการที่จะใช้สิทธิในการกู้ยืมเงิน และหวังผลประโยชน์จากเงินปันผล
เฉลีย่ คืนในแต่ละกองทุน ซ่ึงแตกต่างจากในอดีตที่ผ่านมา เช่น ยืมข้าวไป ต้องเอามาคืนเป็นข้าว แต่พอกลไกนี้
หายไป และเปลี่ยนรูปแบบเป็นกองทุนกู้ยืมในแบบต่างๆ บวกกับสภาพทางเศรษฐกิจของคนในชุมชนที่เป็น
หนี้สินจากหลายปัจจัย การกู้ยืม จึงเป็นเพียงพฤติกรรมของการบริหารจัดการการเงินในแต่ละครัวเรือนตาม
สิทธิของสมาชิกท่ีพึงได้ ไม่ได้เป็นเรื่องของชุมชนที่เน้นการช่วยเหลือเก้ือกูลเพียงอย่างเดียว กองทุนก็มีหน้าท่ี
เพยี งการเออื้ อานวยใหส้ มาชกิ ไดก้ ูเ้ งนิ ไปใชจ้ ่าย ซ่งึ กองทุนเองก็ไม่ได้มีแนวทางตรวจสอบว่าสมาชิกนาเงินไปใช้
จ่ายอย่างไร ดังน้ัน “พฤติกรรมของสมาชิกต่อความเข้าใจในระบบกองทุนชุมชนก็เปล่ียนไป จึงทาให้บทบาท
หน้าที่ของกองทุนก็เปลี่ยนไปเช่นกัน”

วัตถุประสงค์ข้อท่ี 2 คือเพื่อศึกษาแนวทางการบริหารจัดการการเงินชุมชนโดยยึดหลักปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพียงบา้ นสันป่าสา้ นหมู่ 12 ตาบลห้วยแกว้ อาเภอภกู ามยาวจังหวดั พะเยา

จากวัตถุประสงค์ข้อท่ี 2 เพ่ือศึกษาแนวทางการบริหารจัดการการเงินชุมชนโดยยึดหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงทางคณะทางานได้กาหนดกิจกรรมเพ่ือดาเนินการตามวัตถุประสงค์ รวม 10 กิจกรรมซ่ึง
ประกอบด้วยรายละเอียดของแตล่ ะกิจกรรมดังน้ี

กิจกรรมท่ี 1 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยการศึกษาดูงานพ้ืนที่ต้นแบบการประยุกต์ใช้หลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พ้ืนที่บ้านบัว ต.บ้านตุ่น อ.เมืองพะเยา จ.พะเยา วันที่ 3 พฤศจิกายน
พ.ศ. 2559 เวลา 09.00 น. จานวนผเู้ ขา้ ร่วม 38 คน ได้แก่ ทีมนักวิจยั 16 คนทมี ชุมชน 22 คน

วิธีการ ข้ันตอนการดาเนนิ งาน
ในการจัดเวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้โดยการศึกษาดูงานพ้ืนท่ีต้นแบบการประยุกต์ใช้หลัก ปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นการศึกษาดูงานเพื่อนาชุดประสบการณ์ที่ผ่านการวิเคราะห์ในระดับชุมชนและระดับ
ครัวเรอื นมาทาการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับพ้ืนที่ศึกษาดูงานซึ่งเป็นพ้ืนท่ีต้นแบบด้านการประยุกต์ใช้หลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อนามาประยุกต์ใช้กับพ้ืนที่ของตนเอง การศึกษาดูงานครั้งน้ีมีฐานการเรียนรู้จานวน
10 ฐาน ได้แก่ ฐานท่ี 1 ฐานการเรียนรู้การจักสานเข่ง ฐานที่ 2 ฐานการเรียนรู้การจักสานสุ่มไก่ ฐานท่ี 3 ฐาน
การเรียนรู้การทาปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ ฐานที่ 4 ฐานการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงตามรอยพ่อ ฐานท่ี 5 ฐานการ
เรียนรู้พลงั งานทดแทน ฐานท่ี 6 ฐานการเรียนร้ฝู ายชะลอนา้ ฐานที่ 7 ฐานการเรยี นรูก้ ารเพาะด้วงกว่าง ฐานท่ี
8 ฐานการเรยี นรู้การผลิตข้าวอนิ ทรยี ์ ฐานท่ี 9 ฐานการเรยี นรู้การทาเฟอรน์ เิ จอรไ์ มไ้ ผ่ และฐานที่ 10 ฐานการ
เรียนรู้การปลกู องนุ่ ในแตล่ ะฐานการเรียนรู้จะมีวิทยากรประจาฐานเป็นผู้ถ่ายทอดองค์ความรู้ ในการศึกษาดู
งานครัง้ นใี้ ช้เคร่อื งมอื ดงั นี้
1. แบบบนั ทึกการเรยี นรู้ โดยทางทมี นกั วิจยั ไดอ้ อกแบบแบบบันทึกการเรียนรู้ให้กับชุมชนทั้ง 22 คน
ท่ีเข้าร่วมการศึกษาดูงาน โดยมีการกาหนดหัวข้อการบันทึกคือ (1) ประโยชน์ท่ีได้จากการศึกษาดูงาน ให้
ชุมชนเขียนสรุปผลประโยชน์ที่ได้จากกการศึกษาดูงานด้านต่าง ๆตามฐานการเรียนรู้ เช่น ด้านการประกอบ
อาชีพ ด้านการปกครอง ด้านการรวมกลุ่มของกลุ่มต่างๆ (2) การนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันให้กับ
ครอบครวั หรอื ชมุ ชนอยา่ งไร ซง่ึ ในหัวขอ้ นีจ้ ะใหช้ มุ ชนวิเคราะห์และสรุปหาแนวทางท่ีได้จากการศึกษาดูงานว่า
จะนาไปปรับใช้กบั ครอบครวั และชมุ ชนอยา่ งไร เพือ่ หาทางออกในการจดั การการเงินให้กับตนเอง
2. การประชุมกลุ่มย่อย หลังจากเสร็จส้ินการศึกษาดูงานแล้ว ทางทีมวิจัยก็มีการประชุมกลุ่มย่อย
ร่วมกับทีมชุมชน โดยแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ทีมวิจัย 8 คน ทีมชุมชน 11 คนต่อกลุ่ม โดยในแต่ละกลุ่มให้สมาชิกใน
กลุม่ ที่เปน็ ทมี ชมุ ชนแตล่ ะคนออกมาพูดสรุปองค์ความรทู้ ไี่ ด้จากการศึกษาดูงานว่าประโยชน์ที่ได้จากการศึกษา

49

ดงู านในครงั้ น้ีได้อะไร และ จะนาไปปรบั ใช้ได้อย่างไรโดยในแต่ละกลุ่มจะมีนักวิจัยเป็นผู้ประมวลสรุปกลุ่มย่อย
และประมวลสรุปเวทีใหญ่อกี คร้งั

ประเดน็ การศึกษาดงู าน
1. สงิ่ ท่ไี ด้/ประโยชนท์ ่ไี ด้จากการศกึ ษาดงู าน
2. การนาไปประยุกต์ใช้ในชวี ิตประจาวันให้กับครอบครัวหรือชมุ ชนอยา่ งไร
การเปลีย่ นแปลงท่เี กิดขึ้น(out put)
ผลจากการศึกษาดูงานคร้ังน้ี ทาให้ชุมชนเกิดแรงบันดาลใจให้กับตนเองในการจะสร้างชุมชนของ
ตนเองให้เหมือนกับชุมชนต้นแบบ ได้เห็นตัวอย่างในการบริหารจัดการชุมชนด้านต่าง ๆ เช่น (1)การบริหาร
จดั การขยะ (2)การบรหิ ารจดั การน้าเพ่อื ใช้ในการเกษตรที่ใช้ระบบจ่าเหมอื ง มาเป็นผู้แลและเป็นผู้จัดการน้าให้
ในพ้ืนทแ่ี ต่ละแปลง (3)การบรหิ ารจัดการกลุ่มอาชีพต่างๆ อาทิเช่น การรวมกลุ่ม การออมทรัพย์ของกลุ่ม การ
ปล่อยกู้ยืมของกลุ่ม โดยเฉพาะการวางแผนการผลิตร่วมกันของกลุ่มปลูกข้าวโพดข้าวเหนียวท่ีมีการวาง
แผนการผลิตร่วมกันเพื่อไม่ให้ผลผลิตออกมาพร้อมกันซึ่งจะก่อให้เกิดปัญหาด้านการตลาดตามมา (4)การ
กระจายอานาจการปกครองมีการปกครองแบบเป็นคุ้ม ได้เทคนิคและทักษะการประกอบอาชีพและเห็น
ชอ่ งทางในการประกอบอาชีพท่เี นน้ ใชว้ ัตถดุ ิบทม่ี อี ยู่ในชุมชน เช่น อาชพี การจกั สาน เน่ืองจากบริบทของชุมชน
ของตนเองคล้ายกับบริบทของชุมชนหมู่บ้านต้นแบบท่ีไปศึกษาดูงาน และที่สาคัญคือชุมชนเห็นความสาคัญ
ของการดูแลสุขภาพ โดยการประกอบอาชพี ทางการเกษตรท่ีงดใช้สารเคมีทุกประเภท
ข้อสรุป
การจัดกระบวนการเรียนรู้โดยการศึกษาดูงาน โดยให้คนได้เห็นตัวอย่างท่ีดี จะทาให้คนเกิดความ
ตระหนกั เกดิ แรงบันดาลใจ และอยากเปลย่ี นแปลงตัวเองเพอ่ื ใหต้ นเองประสบความสาเรจ็

บทเรยี น/บทเรยี นที่เกิดขนึ้ ใหม่
1. ช่วงระยะเวลาในการดูงานมีค่อนข้างจากัดทาในการเรียนรู้แต่ละฐานการเรียนรู้ ทาให้ไม่ได้ข้อมูล
จากการดงู านอย่างเตม็ ท่ี
2. การท่ีเราไม่ได้ทาความเข้าใจเก่ียวกับเง่ือนไขในการศึกษาดูงานให้กับชุมชนอย่างชัดเจนทาให้เกิด
การเข้าใจผิดพลาดและการดาเนนิ การไมเ่ ปน็ ไปตามเป้าหมายทวี่ างไว้
3. การถอดองค์ความรู้ร่วมกันทันทีหลังจากการศึกษาดูงานแล้ว ทาให้เราได้ทราบและเห็นปัญหา
อปุ สรรคท่เี กิดขึ้น และสามารถหาแนวทางแก้ไขไดท้ นั ที

กิจกรรมท่ี 2 เวทีออกแบบและกาหนดรูปแบบกิจกรรมในการบริหารจัดการการเงินชุมชนทั้ง
มติ ิครวั เรอื นและมิตชิ มุ ชน เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน 2559 ณ อาคารอเนกประสงค์บ้านสันป่าส้าน ม.12 ตาบล
ห้วยแก้ว อาเภอภูกามยาว จังหวัดพะเยา ซ่ึงมีทีมวิจัย 16 คน ทีมชุมชน 22 คน โดยใช้เคร่ืองมือในการจัด
กระบวนการดงั น้ีการประชุมกลุ่มย่อย /การใช้แผนผงั ความคดิ (Mind Mapping)

วธิ ีการ/ขน้ั ตอนการดาเนินงาน
คณะทมี วิจัย กศน.ได้แบง่ กล่มุ เป้าหมายออกเป็น 8 กลมุ่ ย่อยโดยให้กลุ่มเปา้ หมายสรุปรายรับ-รายจ่าย
ของแต่ละเดือนของตนเองออกมาแล้วแยก/จาแนกค่าใช้จ่ายในครัวเรือนท่ีจาเป็น/ไม่จาเป็นออกมาให้ชัดเจน
เชน่ รายจ่ายจาเปน็ ต้องซือ้ ไดแ้ กข่ า้ ว,เนื้อ,พรกิ ,กระทยี ม,ผกั ต่างๆ,ไข,่ ปลาทุกชนิด,นา้ ดืม่ ,ค่าประปา เปน็ ตน้
รายจ่ายไม่จาเป็นต้องซื้อ ได้แก่ ค่าบุหรี่,ค่ากาแฟ,ยาชูกาลัง,ค่าสุรา,ค่าหวย,ค่าโทรศัพท์และอินเตอร์เน็ต
ค่าใช้จ่ายในการประกอบอาชีพได้แก่ ค่าจ้างไถนา,ค่าจ้างปลูกข้าว,ค่าจ้างหยอดข้าว,ค่าปุ๋ย,ค่ายาฆ่าหญ้า,การ

50

เก็บเก่ียว,ค่าซื้อเมล็ดพันธุ์ข้าว,ค่าอาหารและเครื่องดื่ม(ช่วงปลูกข้าวและเก็บเกี่ยวข้าว) เป็นต้น การนาบัญชี
ครวั เรือนมาวเิ คราะห์การใช้จ่ายในครั้งน้สี ามารถทาใหก้ ลุ่มเป้าหมายตระหนักในการใชจ้ า่ ยได้มากขนึ้

การเปล่ียนแปลงท่เี กิดขึน้ (out put)
ทมี วิจัยเกิดทกั ษะร่วมกันคิดวเิ คราะหป์ ญั หา ความตอ้ งการ จดุ แข็ง จุดอ่อน กาหนดเป้าหมายของการ
ใช้จ่ายของชุมชนในอนาคตเพ่ือการบริหารจัดการการเงินให้มีประสิทธิภาพ เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของคน
ในชุมชน บนพ้ืนฐานความเอ้ืออาทรและการมีส่วนร่วมจากทุกฝ่าย ชุมชนเกิดความตระหนักในการใช้จ่ายของ
ตนเองมากขึน้
ข้อสรุป
การจัดการทาบัญชีครัวเรือนของบ้านสันป่าส้านที่ไม่ต่อเน่ืองเพราะว่าไม่มีแรงจูงใจในการทาบัญชี
ครัวเรือนเพราะทุกหน่วยงานก็ให้ทาเหมือนกันหมดแต่ไม่สามารถเอาผลท่ีได้จากการทาบัญชีครัวเรือนนาไป
วิเคราะห์ปัญหา เมื่อทาไปแล้วหน่วยงานท่ีให้ทาไม่มาติดตามและประเมินผลของการทาบัญชีครัวเรือน คณะ
ทีมวิจัยจึงได้ปรึกษากันว่าควรทารางวัลข้ึนมาโดยไม่บอกให้ชุมชนรู้โดยให้ทีมวิ จัยชุมชนเป็นผู้คัดเลือกว่า
ครัวเรือนไหนท่ีทาบัญชีครัวเรือนได้อย่างต่อเน่ืองถูกต้องและเข้าใจเก่ียวกับการทาบัญชีครัวเรือนสมควรได้รับ
รางวัล และในระยะที่ 2 ให้ทมี วิจัยนาคณะชมุ ชนศึกษาดูงานในดา้ นการเงินโดยตรงเพ่ือมาปรับใช้ปรับปรุงด้าน
การเงินกบั ชุมชนได้อย่างเหมาะสม
บทเรียน/บทเรียนทเ่ี กิดข้ึนใหม่
พัฒนากิจกรรมให้หลากหลายครอบคลุมความต้องการและตอบสนองต่อปัญหาของชุมชนสู่การเป็น
สถาบนั การเงินชุมชน จาเป็นจะต้องนาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการบริหารจัดการและสร้างความ
เชื่อมนั่ แก่สมาชกิ และคนในชมุ ชน ซึ่งก่อนจะจดั กิจกรรมใดๆ จะตอ้ งทบทวนปัญหา ยอมรับปัญหาร่วมกัน แล้ว
มีการกาหนดแนวทางการพัฒนาที่ชัดเจน เพ่ือความเข้าใจตรงกันระหว่างคณะกรรมการ สมาชิก และชุมชน
เพ่ือส่งเสริมความร่วมมือในชุมชนชุมชนเข้มแข็งพึ่งพาตนเองได้ ควรมีการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้การ
บริหารจัดการเงินชุมชน โดยเปิดโอกาสให้คนในชุมชน เด็กและเยาวชน ได้เข้ามาเรียนรู้กระบวนการบริหาร
จดั การ เพ่ือสร้างทมี งานท่ีเขม้ แข็งในอนาคต กอ่ เกิดความยงั่ ยืนตอ่ ไป

กิจกรรมที่ 3 เวทวี ิเคราะหบ์ ญั ชีครัวเรือนโดยนาบัญชีครัวเรือนของกลุ่มเป้าหมายมาวิเคราะห์

บัญชีครัวเรือนที่จาเป็น/ไม่จาเป็นในหลายๆด้านเพื่อใช้ออกแบบกิจกรรมในการบริหารการเงินเพื่อใช้ใน

ระยะที่ 2เมอ่ื วันท่ี 8 พฤศจิกายน 2559 ณ อาคารอเนกประสงค์บ้านสันป่าส้าน ม.12 ตาบลห้วยแก้ว อาเภอภู

กามยาว จงั หวัดพะเยา ซ่ึงมีทมี วจิ ัย 16 คน ทีมชมุ ชน 22 คน ในการวิเคราะหบ์ ัญชี ครัวเรอื นพบว่า

คา่ ใช้จา่ ยทจ่ี าเปน็ ค่าใช้จ่ายท่ีไมจ่ าเป็น

รายการ จานวนครวั เรือน เฉลีย่ ครวั เรือนละ รายการ จานวนครวั เรอื น เฉลีย่ ครวั เรอื นละ

ขา้ ว 6 300 บุหรี่ 7 102

เน้อื สัตว์ 22 140 กาแฟ 11 70

พริก 16 30 เครื่องด่มื ชูกาลัง 5 70

กระเทยี ม 22 30 เครือ่ งดมื่ แอลกอฮอล์ 6 300

ไข่ 20 110 หวย 22 1,000

ปลาทกุ ชนดิ 22 120 โทรศพั ท์ 22 600

น้าดม่ื 22 65

51

คา่ ใชจ้ า่ ยในการประกอบอาชพี เฉล่ียครัวเรอื นละ รายรับ จานวนครวั เรือน เฉลี่ยครวั เรอื นละ
38,200 รายการ 15 วันละ 300
รายการ จานวนครัวเรือน ค่ารบั จ้างท่ัวไป
6,000 5 8,000
คา่ ปุย๋ ค่ายา 22 เงนิ เดอื น 22 50,000
ฆ่าหญา้ ยา ,คา่ ตอบแทน
ฆ่าแมลง ค่า คา่ จาหนา่ ย
เก็บเก่ียว ผลผลิตตอ่ ครงั้

คา่ แรงลง 22
เขก

การเปลย่ี นแปลงทเ่ี กิดข้นึ (out put)
ชุมชนเห็นถึงความแตกต่างระหว่างรายรับ – รายจ่ายท่ีได้บันทึกไว้ในแต่ละวันและสามารถนาข้อมูล
ดังกล่าวมาวิเคราะห์ เปรียบเทียบ ได้ว่าในแต่ละเดือนมีรายรับ – รายจ่าย ส่วนใหญ่มาจากไหน ซ่ึงสามารถ
นาไปดาเนนิ การในขน้ั ตอนตอ่ ไปได้
ข้อสรปุ
การแสดงข้อมูลที่พบจากการแยกรายรับ-รายจ่าย ของชุมชนทาให้เห็นถึงความแตกต่างและมีการนา
ขอ้ มลู มาเปรยี บเทียบระหว่างรายรับ-รายจ่ายและรายจ่ายที่ไม่จาเป็นรายจ่ายท่ีจาเป็นนามาเปรียบเทียบกันซ่ึง
ทาให้ชุมชนเห็นความแตกต่างสามารถนาข้อแตกต่างของรายรับ-รายจ่ายกลับไปคิดวิเคราะห์ให้สมดุลใน
ครวั เรอื นของตนเองได้
บทเรียน/บทเรียนทีเ่ กิดข้นึ ใหม่
กลุ่มเป้าหมายสามารถคิดวิเคราะห์คานวณตัวเลขให้เป็นระบบเกิดการกระตุ้นทาให้เกิดการตระหนัก
ในการทาบญั ชีครวั เรือนไดอ้ ย่างมีเหตุมีผลสามารถคดิ เลขในใจได้สามารถนาไปปรับใช้ในชีวิตประจาวัน การคิด
เลขต้องใช้สมาธิใช้สมอง ไม่ต้องใช้กระดาษ จะช่วยเสริมสร้างความสามารถในการใช้ทักษะกระบวนการคิด
วิเคราะหอ์ กี ดว้ ย
จากกิจกรรมท้ัง 2 คร้ัง สามารถจาแนกแนวทางในการออกแบบกิจกรรมในการบริหารการเงินเพ่ือใช้
ในระยะท่ี 2 โดยแยกเปน็ 2 มติ ิ ดงั น้ี
1. มติ คิ รัวเรอื น กิจกรรมเวทีทดลองการจดั การเงินระดบั ครัวเรือน เพ่ือนาไปสู่การออกแบบกิจกรรม
เพื่อแกไ้ ขปัญหาต่างๆทเี่ กิดข้นึ เพือ่ ใหไ้ ดม้ าซึง่ การลดรายจา่ ยทจี่ าเป็น โดยการปลกู พชื ผักสวนครัว ส่งเสริมการ
เล้ียงไก่ไข่ การเลี้ยงปลา การทาน้าหมักชีวภาพ ทาปุ๋ยหมัก การทาน้ายาอเนกประสงค์ การทาแก๊สชีวภาพ
แทนการใชแ้ กส๊ หุงตม้ สว่ นรายจ่ายท่ไี ม่จาเป็น ควรเน้นให้มีการจดั ทาบญั ชคี รัวเรือนและนามาวิเคราะห์จาก 3
เดือนต่อครั้งเป็นทุกๆเดือน เพ่ือช้ีให้เห็นถึงตัวเลขรายจ่ายที่ไม่จาเป็น และสร้างความตระหนักถึงสาเหตุของ
รายจ่ายท่ีไม่จาเป็นโดยให้มีการเสริมแรงให้กับสมาชิกครัวเรือนท่ีสามารถลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จาเป็น เช่น ให้ใบ
ประกาศเกยี รติคุณ ใหร้ างวลั ต่างๆ อกี ทัง้ สง่ เสรมิ ให้สมาชิกครวั เรือนมกี ารออมทุกวันๆละ 1 บาท
2. มติ ชิ มุ ชน ทมี วจิ ัยได้ดาเนินการกาหนดรูปแบบกิจกรรมในการบรหิ ารจัดการการเงินชมุ ชนดังน้ี
2.1.จัดให้กองทุนด้านการเงินในชุมชน ศึกษาดูงานบ้านสามขา จังหวัดลาปาง เพื่อหาแนวทางในการ
เปลีย่ นแปลงการบริหารจัดการกองทุนชมุ ชน ทีเ่ หมาะสม และเก้ือกลู กนั ท้งั ในมิติครัวเรือนและมิติชุมชน ให้อยู่
ร่วมกันไดอ้ ยา่ งยงั่ ยืนตอ่ ไป

52

2.2. ร่วมกันออกแบบรูปแบบในการบริหารกองทุนรูปแบบใหม่ เช่น1) การปล่อยกู้แบบใหม่โดย
ใชบ้ ญั ชคี รวั เรือน เป็นตวั กาหนดเงอื่ นไขในการพิจารณาวงเงินกู้และอัตราดอกเบี้ย 2) พิจารณาเงินกู้ตามสภาพ
ความเดอื ดรอ้ น 3) สมาชกิ ทีค่ นื เงนิ ตน้ แลว้ ไมป่ ระสงคจ์ ะกู้ตอ่ ให้พิจารณาลดดอกเบ้ียลงจากเดิมอีก 0.5-1 %

กิจกรรมที่ 4 เวทแี ลกเปล่ยี นและนาเสนอรายงานความก้าวหน้า
คร้ังที่ 1 วันที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2560 จานวนผู้เข้าร่วม 36 คน ได้แก่ ทีมนักวิจัย 14 คน นักวิจัย
ชุมชน 22 คน ณ บา้ นสันป่าส้าน หมทู่ ่ี 12 ต.หว้ ยแก้ว อ.ภูกามยาว จ.พะเยา
วธิ ีการ ขัน้ ตอนการดาเนนิ งาน
นางวารณีวิชัยศริ ผู้อานวยการ กศน.อาเภอภูกามยาว ได้กล่าวตอนรับ คณะวิจัย สกว. จากจังหวัด
ลาปาง นายประเสรฐิ รูปศรี หัวหน้าโครงการ ได้กล่าวถึงความก้าวหน้าในการวิจัยเชิงพื้นท่ี โดยมีผู้ทรงคุณวุฒิ
จากทีม สกว.จังหวัดลาปาง ทางชุมชนได้นาเสนอผลการดาเนินงานวิจัย นาเสนอโดยวีดีทัศน์ มีนายประเสริฐ
รูปศรีหัวหน้าโครงการและนายสราวุธ งอนจัตุรัสทีมวิจัยชุมชน ได้อธิบายในการทาบัญชีครัวเรือนท่ีผ่านมา
สิ่งที่เกิดข้ึนในชุมชน ระดับครัวเรือน ระดับชุมชน ครัวเรือนได้ทาบัญชีครัวเรือน หลังจากน้ันได้ลงพ้ืนที่จริง
เยี่ยมชมครัวเรือนตัวอย่างท่ีได้น้อมนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ เป็นการเพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย
จานวน 2 แห่ง 1)บ้านนายพันธ์ ก้อนคา มีการปลูกพืชผัก สวนครัว เล้ียงปลา เลี้ยงไก่ 2)นายสะอาด ก้อนคา
ปลูกมะนาว และมีการเล้ียงหมู เลี้ยงไก่ ทางผู้ทรงคุณวุฒิจาก สกว. ได้ให้ข้อเสนอแนะว่าการทางานที่ดีต้องมี
ข้อมูลในการวางแผนการทางาน และขอบคุณทาง กศน.อาเภอภูกามยาวท่ีเป็นพี่เล้ียงทาให้ทางชุมชนมีองค์
ความรู้
ขอ้ สรุป
การทากจิ กรรมในครง้ั นี้ เปน็ การนาเสนอรายงานความกา้ วหนา้ ของงานวจิ ยั ในชุมชน ระยะที่ 1 ให้กับ
ทางผู้ทรงคุณวุฒิจากทาง สกว.ซึ่งมีการติดตามท้ังการลงพื้นท่ีจริงและการนาเสนอโดยวีดีทัศน์ ซึ่งการ
ดาเนินงานวิจัยในระยะที่ 1 เป็นการทากิจกรรมท่ีตอบวัตถุประสงค์งานวิจัย ข้อที่ 1 เพื่อศึกษาเงื่อนไขปัจจัย
พฤตกิ รรมทเี่ กี่ยวขอ้ งกับการบริหารจดั การเงินตง้ั แต่อดตี ถึงปจั จบุ ัน
บทเรยี น/บทเรียนใหมท่ ่เี กิดขน้ึ
1. การจดั การการเงินของตัวเอง ต้องหาแนวทาง หรือทางออกใหส้ อดคล้องกบั อาชพี ของตนเอง
2. การทาบัญชีครัวเรือนถ้าทาแล้วไม่ได้นาข้อมูลมาใช้ก็ไม่มีประโยชน์ต้องรู้จักนาข้อมูลมาใช้ในการ

วางแผนการใชจ้ ่ายเงนิ ดว้ ย
3. การจดบันทึกบัญชีครัวเรือน ถ้าคิดรายจ่ายและรายรับไว้ก่อนล่วงหน้า 1 เดือนว่าจะมีรายรับ

เท่าไร และมีรายจ่ายอะไร แล้วหาทางลดรายจา่ ยไวล้ ่วงหน้า กจ็ ะเปน็ สิง่ ท่ีดมี าก

คร้งั ที่ 2วนั ที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2560 เวลา 09.00 น.จานวนผู้เข้าร่วม 6 คน ไดแ้ ก่ ทีมนักวจิ ัย 6 คน
ณ หอ้ งประชมุ วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนีพะเยาจังหวดั พะเยา

วิธกี าร ข้นั ตอนการดาเนินงาน
ดร.สุภาพร อุดมรัตน์ ผู้อานวยการวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีพะเยา เป็นประธานเปิดการอบรม
กล่าวต้อนรับ และให้ข้อคิดโดยกล่าวถึงการเชื่อมโยงของกลไกการทางาน ลดปัญหาการทาวิจัย ทาให้นักวิจัย
ใหมไ่ ด้เรียนรกู้ ระบวนการการทาวิจัยให้กับกลุ่มบุคคลที่เกี่ยวข้องไปพร้อมกัน ก่อให้เกิด วัฒนธรรมเพ่ือพัฒนา
ท้องถ่ินของ กศน.มีเวทกี ารแลกเปลีย่ นเรียนรู้ การทาวิจัยของแตล่ ะอาเภอ วิพากย์การทางานจากผู้ทรงคุณวุฒิ
การรายงานความก้าวหน้าระยะท่ี 1 เป็นการวิพากย์ทีมวิจัยชุมชนทุกอาเภอที่นาเสนอ สาหรับทีมวิจัย กศน.

53

อาเภอภูกามยาวได้นาเสนอโดย power point และโดยตัวแทนนักวิจัยชุมชนจานวน 2 ท่านได้แก่นาย
ประเสริฐ รูปศรี และ นายสราวุทธ งอนจัตุรัส ให้นาเสนอโดยการเล่าประสบการณ์และสิ่งท่ีได้จากการทาวิจัย
โดยการนาเสนอทงั้ 2 วิธีตอ้ งใช้เวลาไมเ่ กิน 15 นาที โดยมี ดร.สมพงษ์ จิตระดับ ผู้ทรงคุณวุฒิทาง สกว.เป็นผู้
วิพากษ์ และใหข้ อ้ เสนอแนะงานวจิ ัยชมุ ชนในพน้ื ที่

ข้อสรุป
งานวิจัยชุมชนของบ้านสันป่าส้าน นาเสนอได้ดี มองเห็นภาพ และเครื่องมือท่ีใช้ก็สอดคล้องกับ
งานวิจยั การใชภ้ าษาเขียนเปน็ ภาษาทางวิชาการดีอา่ นแล้วเขา้ ใจงา่ ย รปู แบบการเขยี นกระชับ
บทเรียน/บทเรยี นใหม่ทเ่ี กดิ ขนึ้
1. การทาวิจัยชุมชน กระบวนการมีการใช้เคร่ืองมือต่าง ๆ ซ่ึงทางนักวิจัยตองศึกษาเคร่ืองมือให้ดี
เพราะเคร่ืองมือเป็นสิ่งท่ีทาให้ได้ข้อมูลมา และทาให้ชาวบ้านรู้สึกเป็นเจ้าของความรู้หรือข้อมูล เพราะมีส่วน
รว่ มในการทากระบวนการ

กิจกรรมท่ี 5 เวทที บทวนและวางแผนการดาเนนิ งาน
ครั้งที่ 1 วันที่ 18 มกราคม 2560 เวลา 09.00 น. จานวนผู้เข้าร่วมเป็นนักวิจัย 6 คน ณ ห้องประชุม
ปญั ญา สานกั งาน กศน.จงั หวัดพะเยา
วธิ กี าร ขั้นตอนการดาเนินงาน
เป็นเวทีเตรียมความพร้อม เทคนิคกระบวนการนาเสนอรายงานความก้าวหน้าในวันที่ 24-25
มกราคม 2560 ดร.สาวิตร มจี ้ยุ กลา่ วถงึ รปู แบบในวนั ท่ี 25 มกราคม 2560 โดยให้ทีมพี่เลี้ยงกล่าวนาโครงการ
ทัง้ หมดแจ้งให้ผทู้ รงคณุ วฒุ ทิ ราบ และในวนั ที่ 24 มกราคม 2560 อยากให้ทีมวิจัยแต่ละพื้นที่พูดถึงงานวิจัยให้
ผู้ทรงคุณวุฒิได้มองเห็นภาพ ส่ิงท่ีได้คืออะไร โดยให้ผู้ทรงคุณวุฒิเป็นผู้ซักถามกับทีมวิจัยชุมชนว่า กศน.
ทาอะไรกับชุมชนบ้างอย่างไร หลังจากน้ันให้แต่ละพ้ืนท่ีนาเสนองานวิจัยให้ได้ไม่เกิน 10 นาที โดยจาลอง
เหตกุ ารณ์ทีต่ อ้ งนาเสนอ กระบวนการรายงานความก้าวหน้าในวันที่ 25 มกราคม 2560 แต่ละพื้นท่ีต้องทราบ
ว่า โจทย์คืออะไร กระบวนการคืออะไร ผลที่เกิดข้ึน เรื่องท่ีสะท้อนจากชุมชน คืออะไร โดยจากัดเวลาในการ
นาเสนอ
ข้อสรปุ
รูปแบบการนาเสนอให้นาเสนอในรูปแบบ วีดีทัศน์ หรือ power point ซ่ึงความยาวในการนาเสนอ
ต้องไมเ่ กิน 10 นาที และให้นาเสนอผ่านการสมั ภาษณพ์ ดู คยุ กบั ตวั แทนนกั วิจยั จานวน 2 ทา่ น ไมเ่ กนิ 5 นาที
โดยการนาเสนอต้องช้ีให้เห็นว่าตอบโจทย์หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอย่างไร (3 ห่วง 2 เงื่อนไข) และ
ชาวบา้ นเกิดการเรียนรหู้ ลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งได้อย่างไร
บทเรียน/บทเรียนท่ีเกดิ ขนึ้ ใหม่
ทางทีมวจิ ยั ได้รูปแบบและแนวทางการนาเสนอรายงานความก้าวหนา้ กับผทู้ รงคณุ วฒุ ิ จาก สกว. โดย
ให้ทา scrip ว่าจะพูดอะไร โจทย์วิจัยคืออะไร กระบวนการที่ใช้มีอะไร ผลท่ีเกิดขึ้นคืออะไร และเสียงสะท้อน
จากชมุ ชนคอื อะไร ในระยะเวลาที่จากัดเพยี ง 10 นาที
คร้ังท่ี 2 วันที่ 2 มีนาคม พ.ศ.2560 เวลา 09.00 น. จานวนผู้เข้าร่วม 17 คน ได้แก่ ทีมนักวิจัย 16
คน ท่ีปรึกษา 1คน ณ กศน.อาเภอภูกามยาว
เรมิ่ จากนางวารณี วิชยั ศิริ ผูอ้ านวยการ กศน.อาเภอภูกามยาว หัวหน้าโครงการวิจัย ได้กล่าวต้อนรับ
ทีมวิจัยจากบ้านสันป่าส้าน จานวน 16 คนที่ปรึกษา 1 คนและได้แสดงความยินดีกับนักวิจัยที่ช่วยกันทางาน
ร่วมกันจนงานวิจัยผ่านไปด้วยดีในระยะที่ 1 และหลังจากน้ีทีมวิจัยก็ต้องทางานต่อไปอีกประมาณ 8 เดือน

54

รวมถึงอาจารย์ที่ปรึกษา ผศ.มงคลกิตติ์ โวหารเสาวภาคย์อาจารย์ประจาหลักสูตรสังคมศึกษา คณะครุศาสตร์
มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย วิทยาเขตพะเยา ท่ีให้คาปรึกษาด้วยดีจากนั้นได้ฉายวีดีโอในการทางานของทีม
วจิ ยั ตั้งแตเ่ ริ่มแรกจนจบระยะที่ 1 เพือ่ เช่อื โยงสู่แนวทางในการดาเนนิ งานในระยะท่ี 2

จากน้ันคุณครูวชิรานุวัฒน์ พัฒใหม่ ซ่ึงได้ทาหน้าที่เป็นผู้นากระบวนการ (Facilitator) ในคร้ังน้ี
ซ่งึ กิจกรรมตอ่ ไปทีมวิจัยจะได้นาทมี วิจัยลงพื้นทบี่ า้ นสันป่าส้าน โดยเจาะลึกในการทาบัญชีครัวเรือนให้ทีมวิจัย
ประกบชุมชนให้คาแนะนาการคิดเลขการสรุปรายรับรายจ่ายของแต่เดือนให้เป็นปัจจุบัน ในวันที่ 7 มีนาคม
2560 เวลา 18.30 น. เป็นต้นไปโดยทีมวิจัยแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม เพ่ือให้ความรู้และช้ีแนะให้กับชุมชนในการ
ทาบัญชี

วธิ ีการ ข้ันตอนการดาเนินงาน
ในการจดั ทาเวที ทบทวนข้อมูลท่ีได้รับในระยะที่ 1 และวางแผนทางานวิจัยกับทีมวิจัยในระยะที่ 2 นี้
ทีมวิจัยมีการทบทวน ระยะท่ี 1 และการวางแผนการทางานระยะที่ 2 ทีมวิจัยแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม เพ่ือให้
ความรู้และชี้แนะให้กับชุมชนในการทาบัญชี เจาะลึกในการทาบัญชีครัวเรือน โดยมีกระบวนการทางานดังนี้
ให้ทีมวิจัยประกบชุมชนให้คาแนะนาการคิดเลข การสรุปรายรับ-รายจ่ายของแต่ละเดือนให้เป็นปัจจุบัน
วิเคราะห์เพ่ือลดรายจ่ายในครัวเรือน แบ่งเป็น รายจ่ายจาเป็น เช่น ค่าอาหาร ค่าน้า ค่าไฟ ค่าเล้ียงดูบุตร ค่า
โทรศัพท์เป็นต้น รายจ่ายที่ไม่จาเป็น เช่น บุหร่ี เหล้า เบียร์ ค่าหวย และรายจ่ายอ่ืนๆ เช่น ค่าฌาปนกิจ ปุ๋ย
เมล็ดพันธ์ ค่าวัสดุการเกษตร ค่าไฟแนนซ์โดยใช้เครื่องมือMind Mapping และบัญชีครัวเรือน โดยให้ตัวแทน
ของสมาชิกกล่มุ มาสรปุ เก่ียวกบั รายรบั -รายจา่ ยและรายจ่ายอื่นๆ เพ่อื แก้ไขปญั หา หนีส้ ินในครวั เรอื น
การเปล่ยี นแปลงทเ่ี กดิ ขนึ้ (out put)
ผลจากการดาเนินกจิ กรรมในคร้งั น้ี ทาให้ครัวเรือนตระหนักและเห็นความสาคัญของการทาบัญชีและ
ทาอยา่ งตอ่ เนือ่ ง รจู้ ักวิเคราะห์รายรับ –รายจา่ ยจากการทาบัญชีและหาทางลดรายจ่ายท่ีไม่จาเป็นในครัวเรือน
เช่น ปลูกพืชผักสวนครัวมากขึ้น เลี้ยงไก่ไข่ไว้กินเอง การทาน้ายาเอนกประสงค์ การทาสบู่ ไว้ใช้ในครัวเรือน
โดยการน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน ในส่วนของชุมชนก็ทาให้
ทราบสถานะทางการเงินของกองทุนมากข้ึน และมีการวางแผนการบริหารจัดการกองทุนแนวใหม่ ปรับ
โครงสร้างการบริหาร เปลี่ยนแปลงระเบียบกองทุนท่ีปรับลดอัตราดอกเบี้ย และเน้นการออมมากข้ึน และทาง
ทีมวิจยั มีแผนการดาเนินงานวิจัยในระยะท่ี 2
ขอ้ สรุป
กระบวนการที่เกิดข้ึน ทาให้ทีมวิจัยได้ทราบผลการดาเนินงานท่ีผ่านมา ตลอดจนปัญหาหรืออุปสรรค
ที่เกดิ ขึ้น เพอื่ วางแผนการทางานในระยะท่ี 2 ตอ่ ไป
บทเรยี น/บทเรียนทเ่ี กดิ ขึน้ ใหม่
1. ทีมวิจัยมีการปรับเปล่ียนพฤติกรรมการบริหารจัดการการเงินทั้งในมิติครัวเรือนโดยการวิเคราะห์
รายรบั รายจา่ ยจากการทาบัญชีครัวเรือน และมิติชุมชนโดยทางกองทุนมีการปรับโครงสร้างการบริหารจัดการ
กองทุน ซงึ่ ไดแ้ นวคดิ มาจากการไปศึกษาดงู าน
2.การทาบญั ชีครัวเรือนอยา่ งตอ่ เน่อื ง ทาให้ครวั เรือนเห็นถึงรายจ่ายท่ีไม่จาเป็นและหาทางลดรายจ่าย
ดงั กล่าวในครวั เรอื นไดด้ ้วยตนเอง

55

กิจกรรมที่ 6 เวทีส่งเสริมสนับสนุนการดาเนินการจัดกิจกรรมในระดับครัวเรือนและระดับ
ชมุ ชนตามประเด็นที่ได้ในระยะที่ 1 จานวน 3 ครั้ง

คร้งั ที่ 1 วันที่ 7 มีนาคม พ.ศ.2560 เวลา 18.00 น. จานวนผเู้ ข้าร่วม 38 คน ได้แก่ ทมี นักวิจัย 16 คน
ชมุ ชน 22 คน ณ ศาลาอเนกประสงค์บ้านสันป่าส้าน หมู่ 12 ต.หว้ ยแกว้ อ.ภูกามยาว จ.พะเยา

วิธีการ/ขัน้ ตอนการดาเนินงาน
ครูผ่องศรี เขิมขันธ์ นาเข้าสู่กระบวนการ และได้พูดถึงการทาวิจัยซ่ึงเราจะทาวิจัยจะต้องใช้เวลา 16
เดือน ระยะแรกเสร็จส้ินไปแล้วซึ่งเร่ิมต้ังแต่เดือนพฤษภาคม-ธันวาคม 2559 ในระยะที่ 2 จะเริ่มต้ังแต่เดือน
มีนาคม-เดอื นสงิ หาคม 2560 ซ่ึงในกิจกรรมครั้งนจ้ี ะชวนกนั ศึกษาพฤติกรรมการเงินของแต่ละครัวเรือนเพ่ือจะ
ช่วยกันหาทางออกในการลดรายจา่ ยให้กับครัวเรือนและจะมีรางวัลให้กับครัวเรือนที่สามารถทาบัญชีครัวเรือน
ได้อย่างต่อเนื่องและลดค่าใช้จ่ายได้ในช่วงสองเดือนแรกคือ เดือนมกราคมและเดือนกุมภาพันธ์ 2560 โดยให้
แบง่ เป็นสองกล่มุ เพ่ือความสะดวกในการตรวจสอบบญั ชีครวั เรือนของแต่ละคน
กระบวนการกลุ่มย่อย มีการแบง่ กลุ่มออกเปน็ 2 กล่มุ ดงั นี้
กลุม่ ที่ 1 โดยนากระบวนการหลัก มีนายวชิรานวุ ัฒนพ์ ฒั ใหม่ ผทู้ าหน้าท่ี Fa นางสาวธญั สนิ ี สิงห์แก้ว
ทาหน้าท่ี Co Fa นางสาวชัญญาภัค ดูการดี ทาหน้าท่ีผู้ประมวลผล นายพิเชษฐ์ สิงห์แก้ว ผู้บันทึกภาพ
นายประเสริฐ รูปศรี นางอรณุ วงค์มา นางยุพิน กอ้ นคา ผจู้ ดบนั ทึก
กลมุ่ ท่ี 2 โดยนากระบวนการหลัก นางผอ่ งศรี เขมิ ขนั ธ์ ผ้ทู าหน้าที่ Fa นางสาวภทั ริญาอุปวรรณ์ ทา
หน้าที่ Co Fa นางสาวสายสุดา เผ่าฟู ทาหน้าทผ่ี ้ปู ระมวลผล นายสราวุธ ก้อนคา นางสาวจันทกานต์ ก้อนคา
ทาหน้าที่ผ้บู ันทกึ ภาพ นายสราวุธ งอนจตั ุรัส นายสะอาด กอ้ นคา ทาหนา้ ทจี่ ดบันทกึ
กระบวนการท่ีเกิดขึ้น คือ ให้แต่ละกลุ่มนาบัญชีครัวเรือนของแต่ครัวเรือนมาวิเคราะห์ รายรับ
รายจ่าย จาเป็น รายจ่ายท่ีไม่จาเป็นและรายจ่ายอื่นๆ ตั้งแต่เดือน มีนาคม –ตุลาคม 2560หลังจากน้ันให้
แตล่ ะคนคดิ คา่ รายการตา่ งๆของแต่ละเดือนออกมาและนาตัวเลขมาคานวณเพื่อจะได้ทาการสรุปผลการใช้จ่าย
ของจาเปน็ และรายจา่ ยที่ไมจ่ าเป็นของแต่ละเดอื นออกมาได้ผลดังตาราง

ตารางสรุปรายรบั -รายจ่ายประจาเดอื นมกราคม 2560 (กลมุ่ 1)

ชอ่ื -สกลุ รายจ่าย รายจ่ายอ่ืนๆ คงเหลอื ตดิ ลบ
รายรบั จาเปน็ ไมจ่ าเป็น 17,840
2,451
นางกนกอรใจ ชานาญ 28,000 3,450 240 1,642 6470 -
8,777 7376 -
นางอรุณ วงคม์ า 12,940 2,949 200 934 1179 -
54,630 5,619
นางสาวนติ ยา กอ้ นคา 7,300 4,479 - 11,720 - -
3,855 17,861 31,280
นางยุพนิ กอ้ นคา 9,136 5,608 370 4,150 -
21,487 - 1,264
นายประเสรฐิ รปู ศรี 24,500 4,470 1,253 4,500 27,507 -
313,950 -
นางสมนึก แก้วกา 27,000 3,410 240 - -
2,584 38,163
นางจันทร์ มาฟู 43,940 4,533 180 2,935

นางคาปนั ผลสนิ ธุ 3,900 1,309 - -
65,912
นายชอ้ ย ช่ืนจิต 9,800 2,936 2,595

นางสมุ าลี ป้อวงค์สาย 30,050 5,628 160

นายพิเชษฐ์ สิงหแ์ กว้ 8,400 3,750 2,756

รวม 204,966 42,522 6,741

56

ตารางสรปุ รายรับ-รายจา่ ยประจาเดือนมกราคม 2560(กล่มุ 2)

ชอ่ื -สกลุ รายรบั จาเป็น รายจ่าย รายจ่ายอื่นๆ คงเหลอื ติดลบ
ไม่จาเป็น 2,538
4,030 122 -
นางพรพรรณี กอ้ นคา 5,400 1,840 1,300 23,610 - 426
5,770 - 4,090
นางศิรลิ ักษณย์ วงมณี 5,700 2,096 - 1,600 - 2,242
550 3,530 -
นายสะอาด ก้อนคา 25,530 5,850 160 17,100 2,705 -
24,899 17,190 -
นางบวั เรว็ กอ้ นคา 9,450 4,502 1,420 12,800 14,117 -
15,150 6,190 -
นางปทั มาพร ก้อนคา 8,700 3,700 - 61,500 3,323 -
14,730 -
นายพุธ ราไฟ 4,220 965 - รายจา่ ยอืน่ ๆ
20,737 คงเหลือ ตดิ ลบ
นางศิริมา กอ้ นคา 35,100 810 - 4,695
42,000 53,625 -
นางตรเี พชร กอ้ นคา 52,860 12,344 1,500 23,6979 1,607 -
29,290 -
นายสอน กอ้ นคา 31,750 12,760 - 146,429 6,758

นางบญุ มี เวียงอินทร์ 24,861 6,238 150

นางละ ก้อนคา 81,100 4,370 300

ชื่อ-สกลุ รายรับ จาเปน็ รายจา่ ย
ไม่จาเปน็

นายสราวุธ ก้อนคา 81,360 6,328 670

น.ส.จนั ทร์การณ์ กอ้ นคา 9,400 2,508 590

นายอนิ สม ก้อนคา 37,820 5,310 19,800

รวม 413,251 69,621 25,890

ผลจากการทากจิ กรรมที่ 2 ทมี นกั วิจยั และชมุ ชน รว่ มกันวเิ คราะหบ์ ญั ชีเปน็ รายครัวเรือน มีการแยก
ประเภทรายจ่ายทจ่ี าเป็น เชน่ รายจ่ายทเ่ี ป็นคา่ อุปโภค บรโิ ภค คา่ ใชจ้ ่ายในการประกอบอาชพี และ รายจ่ายที่
ไม่จาเป็น ได้แก่ ค่าเหลา้ ค่าบุหรี่ ค่าหวย ค่าขนม ซึง่ พบว่าเป็นรายจ่ายทีเ่ ปน็ ตัวเลขค่อนข้างสงู ส่วนรายจ่ายที่
จาเป็นที่สว่ นใหญเ่ ป็นรายจ่ายที่เป็นคา่ อาหาร เชน่ ไข่ ปลา ผกั สวนครัวตา่ ง ๆ จึงไดม้ ีการมีการวางแผนการลด
คา่ ใช้จา่ ย รว่ มกันโดยการ มีการรวมกลุ่มกันเล้ยี งไกไ่ ข่ ปลกู พืชผกั สวนครวั ไว้กนิ เอง และในการจดั กจิ กรรม
คร้ังนีม้ ีการมอบไข่ไก่ เป็นรางวัลใหก้ บั ผทู้ ท่ี าบัญชคี รวั เรือนอยา่ งสม่าเสมอและสามารถลดรายจา่ ยจากบญั ชี
ครัวเรือนลงได้ เพ่อื เปน็ การเสรมิ แรง และยงั ไดต้ วั เลขเชงิ สถติ ิด้านการลดค่าใชจ้ า่ ยในครวั เรือนจากการทาบัญชี
ครัวเรือนตงั้ แตเ่ ดอื นมีนาคม–กนั ยายน 2560

(ครงั้ ท2ี่ ) วนั ท่ี 11 ตลุ าคม 2560 ทมี นักวจิ ยั 16 คน ทีมชุมชน 22 คน รวมทั้งหมด 38 คน
วธิ ีการ/ข้ันตอนการดาเนินงาน
กิจกรรมในคร้ังนี้ นายประเสริฐ ได้กล่าวสรุปภาพรวมระดับครัวเรือนในการทาบัญชีเพื่อท่ีจะมา
วิเคราะห์ตัวเลขออกมาขยายผล มีการทบทวนในระยะที่ 1 และมีการวางแผนการทางานระยะที่2 โดยนา
เคร่ืองมือ Time Line มาทบทวนแผนการดาเนินเงิน ต้ังแต่ระยะท่ี1 ถึงระยะที่2 ได้ทดลองปฏิบัติงานมีการ
ประชุม โดยมีการแบ่งกลุ่มเป้าหมายให้กับนักวิจัยชุมชน รับผิดชอบ 3 คน ต่อนักวิจัย 1 คน สรุปบัญชี
ครัวเรือน ตั้งแต่เดือน มีนาคม –กันยายน 2560 ของแต่ละครัวเรือน เพื่อดูค่าใช่จ่ายท่ีจาเป็นและไม่จาเป็นใน

57

ครัวเรือน มกี ารใหร้ างวัลกับผู้ทาบัญชีอย่างต่อเน่ือง มีการสง่ บญั ชี จดบันทึกซง่ึ ทีผ่ ่านมาอยู่ 3คร้ัง และคร้ังนี้จะ
ได้เก็บรวบรวมข้อมูลมาวิเคราะห์ผลการดาเนินงานท้ังในเชิงเรียนรู้ของคนในบัญชีครัวเรือน ชุมชน ชุมชน
ข้างเคยี ง ครู กศน.และผมู้ ีสว่ นเก่ยี วขอ้ งเพ่อื ตอ่ ยอดแนวทางการพัฒนาของชุมชนระยะท่ี 2 น้ีจะได้วิเคราะห์ผล
จากการดาเนนิ งานทง้ั หมดและขยายผลแนวทางการพฒั นาศกั ยภาพของชุมชน ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องที่มีผลกระทบ
กับกจิ กรรมทเ่ี กิดขึน้

(คร้งั ท3ี่ ) วนั ท่ี 17 ตลุ าคม 2560 ทีมนักวจิ ยั 16 คน ทมี ชมุ ชน 22 คน รวมทงั้ หมด 38 คน
วิธกี าร/ข้ันตอนการดาเนนิ งาน
กิจกรรมการติดตามผลการสรุปบัญชีครัวเรือน ต้ังแต่เดือน มีนาคม –กันยายน 2560 ของแต่ละกลุ่ม
ผู้รับผิดชอบ 3 ครัวเรือน ต่อนักวิจัย 1 คน โดยมีการแบ่งกลุ่ม ออกเป็น 4 กลุ่ม โดยมีทีมวิจัยเป็นท่ีปรึกษาใน
การทาบัญชีครัวเรือน ให้แต่ละครัวเรือนทาการเก็บรวบรวมข้อมูลมาวิเคราะห์ผลการดาเนินงานท้ังในเชิง
เรียนรู้ของคนในบัญชีครัวเรือน สรุปบัญชีครัวเรือนของตัวเอง ทั้งรายรับ – รายจ่าย รายจ่ายท่ีไม่จาเป็น
รายจ่ายท่ีจาเป็น รายจ่ายอ่ืนๆ แล้วให้แต่ละกลุ่มนามาเสนอให้เห็นว่าท่ีผ่านมา ในแต่ละครัวเรือนมี รายรับ-
รายจ่ายเป็นอย่างไร จะได้วิเคราะห์ผลจากการดาเนินงานทั้งหมดนามาขยายผล แนวทางการพัฒนาศักยภาพ
ของชุมชน ผู้มีส่วนเก่ียวข้องท่ีมีผลกระทบกับกิจกรรมที่ทา แนวทางการนาไปต่อยอดพัฒนาศักยภาพ ด้าน
ชุมชน การสร้างชมุ ชนให้เปน็ ตน้ แบบ เนน้ ให้สมาชิกกลมุ่ ทาบญั ชีครัวเรือนอย่างต่อเนื่อง
กิจกรรมการช้ีแจ้งการใช้ระเบียบในการบริหารจัดการกองทุนชุมชน โดยนายประเสริฐ รูปศรี และ
นายสราวุธ งอนจัตุรัส คณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน และการแปรูป ผลผลิตในชุมชน ที่ได้รับการสนับสนุน
จากส่วนสานักงานเกษตร ตามโครงการ 9101 ได้กิจกรรมอาหารหมูอยา่ งป็นรปู ธรรม ด้าน กศน.อาเภอภูกาม
ยาวได้นาแนวทางที่ได้จากงานวิจัยนาไปขยายผลให้กับชุมชนอื่น ส่งเสริมพัฒนาบ้านสันป่าส้าน หมู่ 12 เป็น
แหล่งเรยี นรู้หมบู่ ้านเศรษฐกิจพอเพยี งต้นแบบ

ขอ้ สรปุ
การทาบัญชีครัวเรือนอย่างต่อเนื่อง ทาให้ชุมชนสามารถวิเคราะห์บัญชีครัวเรือนเองได้ และสามารถ
แยกแยะรายจ่ายท่ีจาเป็น และไม่จาเป็นได้ อีกทั้งยังหาแนวทางแก้ไขปัญหาค่าใช้จ่ายท่ีไม่จาเป็นลงได้เองมี
ความรู้ ความชานาญในการแยกแยะรายรับ-รายจ่าย เพื่อลงรายละเอียดในสมุดบัญชีได้เก่งข้ึน ถึงแม้ว่า
แบบฟอร์มในการบันทกึ บญั ชียังไม่ลงรายละเอยี ดมากพอจากการทาบัญชีพบว่ารายจ่ายที่เป็นค่าฌาปนกิจ เงิน
สงเคราะห์ตา่ ง ๆ ถอื วา่ เป็นเงินออมประเภทหน่งึ
บทเรียน/บทเรยี นท่ีเกิดข้นึ ใหม่
1. เกิดกลุ่มอาชีพ และอาชีพเสริมขึ้น เช่น กลุ่มอาหารสัตว์ กลุ่มเล้ียงหมู การเลี้ยงไก่ไข่ เพื่อเป็นการ
ลดตน้ ทุนในการประกอบอาชีพ และลดคา่ ใช้จา่ ยในครวั เรือน
2. การใหร้ างวลั เพอ่ื เป็นการเสรมิ แรง ทาใหเ้ กดิ แรงจูงใจที่จะกระตุ้นหรอื เกดิ ความกระตือรือร้นในการ
ปฏิบัตงิ าน
3. จากการทาบัญชีครัวเรือนมีการจัดสรรเงินเพื่อเป็นเงินออมมากข้ึนและส่งเสริมให้ฝากเงินในรูปเงิน
ฝากธนาคาร (ลดเงินจากรายจ่ายท่ีไมจ่ าเป็น) อยา่ งน้อยเดอื นละ 5 บาท
ระหว่างท่ีดาเนินการวิจัย พบว่าการทาบัญชีครัวเรือนมีรายจ่ายมากว่ารายรับ ซ่ึงรายจ่ายบางอย่าง
เป็นรายจ่ายที่สามารถลดรายจ่ายเองได้ ทางครัวเรือนจึงเร่ิมพยายามหาทางออกในการลดค่าใช้ต่างๆใน
ครัวเรือน กศน.อาเภอภูกามยาวจึงจัดให้มีการส่งเสริมอาชีพเสริมให้กับทางชุมชน โดยประสานความร่วมมือ
จาก ผศ.สันติ ช่างเจรจา อาจารย์จากสถาบันวิจัยเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

58

ล้านนา จังหวัดลาปางมาให้ความรู้ทัง้ ภาคทฤษฏี และการฝึกปฏบิ ัติ เพ่อื ส่งเสริมอาชีพอาชีพการปลูกมะนาวใน
บ่อซีเมนต์แบบครบวงจร โดยมีการให้ความรู้เรื่องการปลูกมะนาว การขยายกล้าพันธ์ุมะนาว การแปรรูป
ผลผลิตจากมะนาว จากการทากจิ กรรมนี้ทาให้ชมุ ชนมอี งค์ความรู้เร่ืองการปลูกมะนาว สามารถขยายพันธุ์กล้า
มะนาวเพ่อื จาหน่ายไดด้ าเนินการเมือ่ วนั ที่ 7 พฤษภาคม 2560 และวันที่ 28 พฤษภาคม2560

กศน.อาเภอภกู ามยาว ได้สง่ เสรมิ อาชพี รปู แบบระยะสั้น วิชาการทาสบู่สมุนไพรเมื่อวันท่ี 18 มิถุนายน
2560 โดยวิทยากรที่มีความรู้ ความชานาญมาให้ความรู้ท้ังเร่ืองทฤษฎี การสาธิต และการฝึกปฏิบัติจริง
ซ่ึงสมุนไพรท่ีนามาทาเป็นสบู่ได้แก่ มะนาว อัญชัน มังคุด น้าผ้ึงและการทาน้ายาเอนกประสงค์ เพื่อใช้ใน
ครัวเรอื น และจาหนา่ ย ทาใหค้ รวั เรอื นมกี ารลดรายจ่าย มรี ายไดเ้ สริมเกดิ ข้ึน

กิจกรรมท่ี 7 เวทีวิเคราะห์ผลที่ได้จากการดาเนินท้ังในเชิงเรียนรู้ของคนในครัวเรือน ชุมชน
เปน็ กิจกรรมท่ีไม่ได้ระบุในแผนแต่ดาเนนิ การแล้ว

คร้ังที่ 1 วันท่ี 23 มีนาคม พ.ศ.2560 เวลา 09.00 น. จานวนผู้เข้าร่วม 16 คน ได้แก่ ทีมนักวิจัย 16
คน ณ ห้องประชมุ กศน.อาเภอภูกามยาว

วธิ กี ารขนั้ ตอนการดาเนนิ งาน
การอธบิ ายความเป็นมาของกองทนุ โดยนายประเสรฐิ รปู ศรี พบว่าก่อตั้งมา พ.ศ. 2544 โดยเริ่มจาก
เงนิ ทนุ 1 ลา้ นบาท เรม่ิ กู้ คร้ังแรกเดอื น ตุลาคม 2544 ต่อมามีการประเมินหมู่บ้านกองทุนดีเด่น ได้อันดับที่ 2
จงึ ได้รับเงนิ เพิ่มอีก 100,000 บาทและ 1,200,000 บาท ตามลาดับ จัดสรรกาไรสุทธิตามระเบียบของกองทุน
มีคณะกรรมการดาเนินการ มีหน้าท่ีพิจารณาเงินกู้ จัดสรรเงินกู้ปัจจุบันกองทุนชุมชน มีเงินจานวนท้ังส้ิน
2,584,172 บาท สมาชิกกองทุน มีจานวน 150 คน มีการออมเงินสัจจะ และการซ้ือหุ้น ซ่ึงออมเป็นปี ปีละ
240 บาท คา่ หนุ้ ปลี ะ 40 บาท
การ SWOT Analysis เพื่อหา จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค ของกองทุนหมู่บ้านสันป่าส้านม.12
พบว่า กองทุนมีจุดแข็งด้านกฎ ระเบียบ ความสามัคคีของคณะกรรมการ การบริหารงานมีความโปร่งใส
ตรวจสอบได้ เป็นกองทุนท่ีเป็นนิติบุคคล ส่วนจุดอ่อนของทุน สมาชิกชาระหน้ีไม่ตรงกาหนด ไม่มีความพร้อม
ในการเป็นสถาบันการเงินชุมชน โอกาสของกองทุน คือ ได้รับจัดสรรเงินเพิ่ม ได้รับการสนับสนุนคอมพิวเตอร์
กรรมการได้รับการพัฒนาความรู้ อุปสรรค สมาชิกไม่สามารถชาระหน้ีได้ตามกาหนดเน่ืองจากประสบปัญหา
จากภัยธรรมชาติ
ขอ้ สรปุ
ในการจัดกจิ กรรมครั้งน้ี เป็นการจัดกิจกรรมเพ่ือวิเคราะห์การบริหารจัดการกองทุนทีผ่านมา และหา
แนวทางในการบริหารเปลี่ยนแปลงการบริหารจัดการกองทุนชุมชนมิติใหม่ท่ีเหมาะสม เกื้อกูลกันทั้งในมิติ
ครัวเรือน และมิติชุมชน ท่ีเน้นการใช้บัญชีครัวเรือนเป็นฐานในการพิจารณาเงินกู้ การปรับลดอัตราดอกเบ้ีย
การส่งเสริมให้มีการออมเพมิ่ มากข้ึน และการจัดสวัสดิการให้กบั สมาชกิ
บทเรียน/บทเรยี นท่ีเกดิ ขนึ้ ใหม่
1. กองทุนชุมชนต้องให้สมาชิกมีการจัดทาแผนการใช้จ่ายเงินประกอบการกู้เงินทุกครั้งในการย่ืนกู้
เพอื่ เปน็ หลักประกันความเสีย่ งในการปลอ่ ยเงินก้ใู ห้กบั สมาชิก

59

คร้ังท่ี 2 วันที่ 19ตุลาคม พ.ศ. 2560 เวลา 10.00 น. จานวนผู้เข้าร่วม 40 คน ได้แก่ ทีมนักวิจัย 16
คน ชุมชน 22 คน ที่ปรึกษา 2 คน ณ ศาลาอเนกประสงค์บ้านสันป่าส้าน หมู่ 12 ต.ห้วยแก้ว อ.ภูกามยาว
จ.พะเยา

วิธกี ารขน้ั ตอนการดาเนินงาน
นายชัย วชิ ัยศรี ทป่ี รกึ ษาโครงการวิจัย ไดน้ าเข้าสูก่ ระบวนการ การชแ้ี จง และสร้างความเข้าใจในการ
วิเคราะห์ผลท่ีได้จาการทาบัญชีครัวเรือนเชิงลึกเพื่อหาค่าสถิติ โดยมีการแบ่งกลุ่มย่อยออกเป็น 2 กลุ่ม
เพื่อที่จะหาแนวทางการลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน ให้ผู้เข้าร่วม กลุ่มท่ี1ทาบัญชีครัวเรือนเป็นตัวเลข มี
รายละเอียดรายรับรายจ่าย รายจา่ ยทจ่ี าเปน็ จะมากกวา่ รายจ่ายท่ีไม่จาเป็นแต่ก็น่าจะสามารถลดรายจ่ายท่ีไม่
จาเป็นลงได้อยู่อีก และรายรับส่วนมากได้จากเวลาที่เราเก็บเกี่ยวผลผลิตกลุ่ม ที่ 2 วิเคราะห์รายรับและ
รายจ่ายมากกวา่ กล่มุ ท1ี่ และเงินคงเหลอื ตดิ ลบ ตอ้ งลดรายจ่ายที่ไม่จาเปน็ ไปเติมเงินออม ผลท่ีได้จากการออม
กจ็ ะให้ลูกหลานหรือคนขา้ งหลังท่ีจะได้รับผลประโยชน์ลดรายจ่ายท่ีไม่จาเป็น และให้นาไปฝากในรูปแบบฝาก
Bank อย่างน้อยเดือนละ 5 บาทซื้อฉลากออมสินไว้จากการวิเคราะห์การทาบัญชีครัวเรือนคร้ังนี้ ทาให้ทราบ
กลุ่มที่ 1 รายรับต้ังแต่เดือน มีนาคม ถึงเดือนกันยายน 2560 มีรายรับรวม จานวน 892,652 บาท รายจ่าย
แยกเป็น รายจ่ายจาเป็น จานวน 414,208 บาท รายจ่ายไม่จาเป็น จานวน 22,641 บาท เงินคงเหลือ
422,209 บาท เงินออม 83,823 บาท กลุ่มที่ 2 รายรับตั้งแต่เดือน มีนาคม ถึงเดือนกันยายน 2560 มีรายรับ
รวมจานวน 1,257,713 บาท รายจา่ ยจาเปน็ จานวน 760,342 บาท รายจ่ายไม่จาเป็น จานวน 98,505 บาท
คงเหลอื จานวน 346,683 บาท เงินออม จานวน 16,704 บาท จากการลงพืน้ ที่การทาวิจยั แนวทางการบริหาร
จัดการการเงนิ ชมุ ชน โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงบ้านสันป่าส้าน หมู่ที่12 ตาบลห้วยแก้ว อาเภอ
ภกู ามยาว จงั หวัดพะเยา ไดท้ ราบถงึ ความเปลี่ยนแปลงของการทาบัญชีและผู้เข้าร่วมโครงการตระหนักเข้าใจ
ในการทาบัญชีครัวเรอื นมากขึน้ สามารถจาแนกรายรับท่ีจาเป็นและไม่จาเป็นได้ผู้เข้าร่วมโครงการลดค่าใช้จ่าย
ในครัวเรือนของตนเองโดยการปลูกพืชพักสวนครัว การทาสบู่ การทาน้ายาอเนกประสงค์ เพ่ือใช้เองและ
สามารถนามาจาหนา่ ยเพิม่ รายไดอ้ กี ทางหนึ่งดว้ ย
การเปลยี่ นแปลงทีเ่ กดิ ขึ้น(out put)
ผลจากการดาเนินกิจกรรมในครั้งนี้ ทางทีมวิจัยได้แนวทางการการทางานวิจัยไปปรับใช้ใน
ชวี ิตประจาวนั มีการพัฒนาตนเองในดา้ นความคดิ การคดิ วเิ คราะห์ การกลา้ แสดงออก มีความเป็นผู้นามากข้ึน
ชุมชนทราบสาเหตุของการเป็นหนี้ในอดีตที่ผ่านมาจากการทาบัญชีครัวเรือน วางแผนการใช้จ่ายเงินในระดับ
ครัวเรือนได้
ขอ้ สรุป
ผลจากการดาเนินงานในกิจกรรมท่ี 11 ชุมชนมีการรวมกลุ่มกันประกอบอาชีพ เช่นกลุ่มการเลี้ยงหมู
การเลี้ยงไก่ไข่ กลมุ่ อาหารสตั ว์ มกี ารน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การทาบัญชีครัวเรือนสามารถ
ชว่ ยให้ครวั เรือนรักษาระดบั การใช้จ่ายของตน ครัวเรือนสามารถขยายผลองค์ความรู้การทาบัญชีครัวเรือนไปสู่
ครัวเรือนอ่ืน และเป็นชุมชนต้นแบบในเร่ืองการบริหารจัดการการเงินชุมชน ศูนย์การศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอภูกามยาว สามารถเช่ือมโยงองค์ความรู้ สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้กับบ้านสัน
ปา่ ส้าน ขยายผลงานวิจัยสู่พ้ืนท่ีใหม่ สร้างภาคีเครือข่ายในการขยายผลองค์ความรู้เพ่ือพัฒนาและต่อยอดองค์
ความรู้ เช่น มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์พะเยา มหาวิทยาลัยพะเยา กองทุนชุมชนมีแนวทางการบริหารจัดการ
กองทนุ รูปแบบใหมท่ ี่เน้นการออมและเน้นการลดหนี้

60

บทเรยี น/บทเรยี นทเ่ี กิดข้ึนใหม่
1. ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ เป็นกลุ่มใหญ่ ทาให้ชุมชนไม่ค่อยกล้าแสดงความคิดเห็น หรือไม่กล้า
พดู เท่าทค่ี วร ควรจัดเป็นกลมุ่ ยอ่ ย กลมุ่ ละ 5-7 คน
2. แบบฟอรม์ ในการลงบัญชี มีความสบั สน (ทาง กศน.ควรจัดทาคมู่ ือในการลงบญั ชีครวั เรอื น)

กิจกรรมท่ี 8 เวทีสรุปบทเรียนการดาเนินงานระยะท่ี 2 วันที่ 6 ตุลาคม 2560 เวลา 09.00 น.
จานวนผู้เข้ารว่ มเปน็ ทมี วจิ ัย จานวน 6 คน ณ ห้องประชุมปัญญาสานักงาน กศน.จังหวดั พะเยา

วธิ ีการ/ข้นั ตอนการดาเนินงาน
คณุ ภทั รา มาน้อย ไดช้ ้แี จงเป้าหมายการจัดการประชมุ และชแี้ จงขั้นตอนรายละเอียดการเขยี น
รายงานฉบบั สมบูรณ์ 5 บท โดยการนาเสนอเปน็ Power Point ประกอบเอกสาร แนบ1 คอื แบบฟอรม์ การ
เขียนรายงานความกา้ วหน้าและรายงานฉบับสมบรู ณ์ เอกสารแนบ2 คือ เคร่อื งมือการดึงข้อมูลเพ่ือเขยี น
รายงาน ดร.สุชนิ เพ็ชรักษ์ นาเสนอมุมมอง ข้อคิดเหน็ ตอ่ ทงั้ 4 โครงการ ท่ีจะเขยี นรายงานฉบบั สมบูรณ์
ซง่ึ ประกอบด้วย กศน.อาเภอภูกามยาว กศน.อาเภอภูซาง กศน.อาเภอปง และบา้ นต๋อมดง อาเภอเมือง
ในประเด็นทเ่ี ป็นข้อสาคัญท่ีควรนาเสนอ ทง้ั ในเชงิ เน้ือหา และเชงิ ปริมาณ ทสี่ ามารถใช้เขียนในบทท่ี 4-5 ใน
ส่วนของผลการดาเนินงานและสรุปผลการดาเนินงาน
มีการทากระบวนการในการดึงข้อมูลเพื่อเขียนรายงานความก้าวหน้า ตามเคร่ืองมือ Smart Boxes
โดยการแบ่งกลุ่มตามโครงการวิจัย จานวน 4 กลุ่ม มีพี่เล้ียงกลไก อธิบายรายละเอียดของการใช้เครื่องแบบ
คร่าวๆและองค์ประกอบในแต่ละส่วนของเครื่องมือที่จะนามาเติมในรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ ตามเอกสาร
แนบ2 และนามาเทียบเคียงกบั เอกสารแนบ1ใหแ้ ต่ละกลุม่ เขยี นวตั ถปุ ระสงค์โครงการ ของแต่ละโครงการลงใน
กระดาษปร๊ฟู แล้วเขียนกิจกรรม รายเดอื น ตั้งแต่ระยะที่1 จนถึงระยะท่ี 2 โดยใช้ Time Line ซ่ึงการดึงข้อมูล
วิธีนี้จะนาไปเขียนอธิบายในบทท่ี 3 ข้อ3.3 แล้วแต่ละกลุ่มนาเสนอความคืบหน้าของข้อมูลท่ีจะนามาเขียน
รายงานฉบับสมบูรณ์ ทมี พ่ีเลย้ี งกลไกนัดหมายส่งร่างรายงานวจิ ัยฉบับสมบรู ณ์
ขอ้ สรปุ
การทากิจกรรมทาให้นักวิจัยแต่ละโครงการท่ีจะเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์ สามารถพัฒนาแนว
ทางการเขยี นรายงาน นาแนวทางทไ่ี ด้ไปใช้ในการเขียนรายงาน
บทเรียน/บทเรียนที่เกดิ ขน้ึ ใหม่
1. นกั วจิ ยั และทีมพี่เลี้ยงกลไก รจู้ ักใชเ้ คร่ืองมือในการดึงขอ้ มลู ในการเขียนรายงานวจิ ัย
2. การเขียนรายงานวิจัยถ้ามีข้อมูลเชิงปริมาณสามารถนามาใส่ได้ แต่ต้องเป็นข้อมูลที่ผ่านการ

วิเคราะหแ์ ล้วอาจนาเสนอในรูปของแผนภูมิ กราฟ โดยเฉพาะงานวิจัยของบ้านสันป่าส้านเพราะ
เป็นเรื่องเกี่ยวกับตัวเลข เชน่ การลดหนี้ การลดคา่ ใชจ้ า่ ย

กิจกรรมที่ 9 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากการศึกษาดูงานแนวทางการบริหารจัดการการเงิน
ชุมชน บ้านสามขา อาเภอแม่ทะ จังหวัดลาปาง เป็นกิจกรรมที่ไม่ได้ระบุในแผนแต่ดาเนินการแล้ว วันที่ 23
พฤษภาคม พ.ศ. 2560 เวลา 09.00 น. จานวนผู้เขา้ รว่ ม 38คน ได้แก่ ทีมนกั วจิ ัย 16 คน ชุมชน 22 คน

วิธกี าร ขัน้ ตอนการดาเนินงาน
ในการจดั เวทีแลกเปลย่ี นเรียนรู้โดยการศึกษาดูงานพื้นท่ีต้นแบบการบริหารจัดการการเงินชุมชน เป็น
การศึกษาดูงานเพื่อนาชุดประสบการณ์ท่ีผ่านการวิเคราะห์ในระดับชุมชนและระดับครัวเรือนมาทาการ

61

แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับพ้ืนที่ศึกษาดูงานซ่ึงเป็นพื้นท่ีต้นแบบด้านการบริหารจัดการการเงินชุมชน เพื่อนามา
ประยุกต์ใช้กับพ้ืนท่ีของตนเอง การศึกษาดูงานคร้ังนี้เป็นการศึกษาดูงานการบริหารจัดการกลุ่มด้านการเงิน
ตา่ งๆ กลุม่ ออมทรัพย์ ในการศึกษาดงู านครัง้ นใี้ ชเ้ ครอ่ื งมือ ดงั นี้

1. แบบบนั ทกึ การเรยี นรู้ โดยทางทีมนักวิจัยได้ออกแบบแบบบันทึกการเรียนรู้ให้กับชุมชนท้ัง 22 คน
ท่ีเข้าร่วมการศึกษาดูงาน โดยมีการกาหนดหัวข้อการบันทึกคือ (1) ประโยชน์ท่ีได้จากการศึกษาดูงาน ให้
ชุมชนเขียนสรุปผลประโยชน์ที่ได้จากกการศึกษาดูงานด้านต่าง ๆตามฐานการเรียนรู้ เช่น ด้านการประกอบ
อาชีพ ด้านการปกครอง ด้านการรวมกลุ่มของกลุ่มต่าง ๆ (2) การนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันให้กับ
ครอบครัวหรอื ชุมชนอย่างไร ซง่ึ ในหวั ขอ้ น้ีจะใหช้ ุมชนวิเคราะห์และสรุปหาแนวทางท่ีได้จากการศึกษาดูงานว่า
จะนาไปปรบั ใช้กับครอบครวั และชมุ ชนอยา่ งไร เพอื่ หาทางออกในการจดั การการเงินให้กบั ตนเอง

2. การประชุมกลุ่มย่อย หลังจากเสร็จสิ้นการศึกษาดูงานแล้ว ทางทีมวิจัยก็มีการประชุมกลุ่มย่อย
ร่วมกับทีมชุมชน โดยแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ทีมวิจัย 8 คน ทีมชุมชน 11 คนต่อกลุ่ม โดยในแต่ละกลุ่มให้สมาชิกใน
กลุม่ ทเี่ ป็นทมี ชมุ ชนแตล่ ะคนออกมาพดู สรปุ องค์ความรทู้ ี่ได้จากการศึกษาดูงานว่าประโยชน์ท่ีได้จากการศึกษา
ดงู านในคร้ังนไ้ี ดอ้ ะไร และ จะนาไปปรับใช้ได้อย่างไรโดยในแต่ละกลุ่มจะมีนักวิจัยเป็นผู้ประมวลสรุปกลุ่มย่อย
และประมวลสรปุ เวทีใหญ่อีกครงั้

ประเดน็ การศกึ ษาดงู าน
1. สิ่งท่ไี ด้/ประโยชน์ท่ไี ด้จากการศึกษาดูงาน
2. การนาไปประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจาวนั ใหก้ ับครอบครัวหรอื ชมุ ชนอยา่ งไร
ผลจากการศึกษาดูงานคร้ังน้ี ทาให้ชุมชนได้แนวทางในการบริหารจัดการการเงินชุมชน(กองทุนเงิน
ล้าน) ได้เห็นตัวอย่างในการบริหารจัดการการเงิน เช่น (1)การจัดสวัสดิการให้กับสมาชิก (2)การให้
ทุนการศึกษาแก่บุตรหลานสมาชิกกองทุน (3)การบริหารจัดการกลุ่มอาชีพต่างๆ อาทิเช่น การรวมกลุ่ม การ
ออมทรัพย์ของกลุ่ม การปล่อยกู้ยืมของกลุ่ม (4) ชุมชนได้โครงสร้างการบริหารงานกองทุนรูปแบบใหม่ ที่เน้น
การออม และปรับลดอตั ราดอกเบ้ยี เงินกู้ลง และมกี ารใชบ้ ัญชคี รวั เรือนเป็นเงอื่ นไขในการพิจารณาเงนิ กู้
ข้อสรุป
การจัดกระบวนการเรียนรู้โดยการศึกษาดูงาน โดยให้คนได้เห็นตัวอย่างท่ีดี จะทาให้คนเกิดความ
ตระหนัก เกิดแรงบันดาลใจ และอยากเปลีย่ นแปลงตวั เองเพื่อใหต้ นเองประสบความสาเร็จ
บทเรียน/บทเรียนทเี่ กดิ ข้ึนใหม่
1. การที่เราไม่ได้ทาความเข้าใจเก่ียวกับเงื่อนไขในการศึกษาดูงานให้กับชุมชนอย่างชัดเจนทาให้เกิด
การเข้าใจผิดพลาดและการดาเนนิ การไม่เป็นไปตามเป้าหมายทีว่ างไว้
2. การไม่ถอดองค์ความรู้ร่วมกันทันทีหลังจากการศึกษาดูงานแล้ว ทาให้เราไม่ได้ข้อมูลครบถ้วน
เพราะระยะเวลาทาให้คนเราลมื ประเด็น

กิจกรรมที่ 10 เวทีงานส่ือสารสาธารณะชุมชนวิจัย รากฐานใหม่ สู่การเรียนรู้ตลอดชีวิตเป็น
กิจกรรมท่ไี มไ่ ด้ระบุในแผนณ สานักงาน กศน.จังหวัดพะเยา วันท่ี 6 กันยายน 2560 จานวนผู้เข้าร่วม จานวน
ผู้เขา้ รว่ ม 38คน ไดแ้ ก่ ทีมนกั วจิ ัย 16 คน ชุมชน 22 คน

วธิ ีการ/ขั้นตอนการดาเนนิ งาน
สานักงาน กศน.จังหวัดพะเยาร่วมกับสานกั งานกองทนุ สนบั สนนุ งานวิจยั (สกว.จังหวัดลาปาง) ร่วมกัน
จัดโครงการ 8 กันยายน วันท่ีระลึกสากลแห่งการรู้หนังสือ ชุมชนแห่งการวิจัย รากฐานใหม่แห่งการเรียนรู้
ตลอดชีวิต ได้ประชุมวางแผนการดาเนินงาน การจัดกิจกรรมงานวิจัยของแต่ละอาเภอ เพื่อให้การดาเนินงาน

62

เปน็ ไปด้วยความเรยี บร้อย ทีมวจิ ยั บา้ นสนั ปา่ สา้ น หม่1ู 2 ร่วมกันวางแผนการดาเนินงานและทาความเข้าใจกับ
ทีมวิจัยชุมขนในการจัดกิจกรรมในครั้งน้ี โดยการออกแบบการจัดนิทรรศการ แนวทางการบริหารจัดการ
การเงินชุมชน โดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง บ้านสันป่าส้าน หมู่12 โดยการจัดกิจกรรมโอ่งเศรษฐกิจ
โดยน้อมนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการจัดนิทรรศการครั้งน้ี โดยมีการนาผักปลอดสารพิษและ
เห็ด พรอ้ มท้ังสาธิตวธิ ีการทาอาหารหมูเมด็ และมีการเสวนาแลกเปล่ียนเรียนรู้บนเวทีเก่ียวกับงานวิจัยบ้านสัน
ป่าส้าน หมู่ 12 เรื่องแนวทางการบริหารจัดการการเงินชุมชน โดยโดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดย
การจดั งานในครงั้ นี้ ไดม้ ีการแลกเปลย่ี นเรียนรงู้ านวิจัยแต่ละอาเภอ ทาให้ได้มองเห็นงานวิจัยท่ีหลากหลาย ทา
ให้เกิดเครือขา่ ยงานวิจยั ต่อไป

ผลจากการดาเนินกิจกรรมในครั้งน้ี ทาให้นักวิจัยได้เผยแพร่งานวิจัยของตนเอง และเห็นผลงาน หรือ
ตัวอย่างงานวิจัยเพ่ือท้องถิ่น ท่ีหลากหลายในพื้นที่จังหวัดพะเยา เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และมุมมองท่ี
แตกต่างกนั ดา้ นงานวจิ ัย

ข้อสรุป
ผลจากการดาเนินงานในกิจกรรมท่ี 10(กิจกรรมที่ไม่ได้ระบุในแผนแต่ดาเนินการแล้ว) ทีมวิจัยมี
เครือขา่ ยท่สี ามารถเชื่อมโยงองคค์ วามร้ดู ้านงานวจิ ยั เพ่อื ท้องถนิ่ ในพ้นื ทจ่ี งั หวดั พะเยา
บทเรียน/บทเรียนทีเ่ กดิ ขน้ึ ใหม่
จากการดาเนินงานในกิจกรรมที่ 16(กิจกรรมที่ไม่ได้ระบุในแผนแต่ดาเนินการแล้ว) ศูนย์การศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอภูกามยาว มีตัวอย่างงานวิจัยที่จะขยายผลไปเป็นแนวทางในการ
ทาวิจัยในพน้ื ทอ่ี าเภอภกู ามยาว
สรุปจากการดาเนินทั้ง 10 กิจกรรมตามวัตถุประสงค์ข้อท่ี 2 เพ่ือศึกษาแนวทางการบริหารจัดการ
การเงินชุมชนโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงบ้านสันป่าส้าน พบว่า แนวทางท่ีกาหนดข้ึน
ประกอบดว้ ย
รูปแบบการบริหารการเงินในระดับครัวเรือน คือ ให้ครัวเรือนมีการน้อมนาหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันส่งเสริมให้ครัวเรือนรู้จักพัฒนาตนเองให้สามารถบริหาร
จดั การการเงินครวั เรอื น รกั ษาระดับการใชจ้ า่ ยของตน ไมใ่ หเ้ ป็นหน้ี "อยไู่ ด้อยา่ งพอเพียง" ดังนี้
1. ครัวเรือนจัดทาบัญชีครัวเรือนเพื่อจดบันทึกรายรับ รายจ่ายประจาวันของครัวเรือนอย่างต่อเน่ือง
และนาข้อมูลมาวางแผนการใช้จ่ายเงินในอนาคตได้อย่างเหมาะสม ซ่ึงจะทาให้ตนเองและครอบครัวทราบ
รายรบั รายจา่ ย หนส้ี ิน และเงนิ คงเหลอื ในแต่ละวัน
2. ครัวเรือนมีเหตุผลในการใช้จ่ายเงินมากขึ้นคือ นาข้อมูลการใช้จ่ายเงินภายในครอบครัวมาจัด
เรียงลาดับความสาคัญของรายจ่าย และวางแผนการใช้จ่ายเงิน โดยพิจารณาแต่ละรายการในแต่ละวัน มี
รายจ่ายใดท่ีมีความสาคัญมาก และรายจ่ายใดไม่จาเป็นให้ตัดออก เพื่อให้การใช้จ่ายเงินภายในครอบครัวมี
พอใช้และเหลอื เกบ็ สาหรับใช้จา่ ยสง่ิ ท่จี าเปน็ ในอนาคต
3. ครวั เรอื นมีรายได้เพยี งพอกับรายจา่ ยทจ่ี าเปน็ มอี าชพี เสริม หรอื หาทางลดรายจ่ายในครัวเรือน เช่น
ปลูกพืชผักสวนครัว เล้ียงไก่ไข่ เล้ียงปลา เพ่ือบริโภคในครัวเรือนเพ่ือช่วยลดค่าอาหาร เหลือก็จาหน่ายเพ่ือให้
เกิดรายได้
4. ครัวเรือนมีการแบ่งเงินไว้สาหรับเงินออม และเงินเหลือไว้ใช้จ่ายยามฉุกเฉินเป็นการออมเงินเพื่อ
อนาคตอันใกล้ ออมเพ่อื ใช้ในสว่ นของการจา่ ยหน้สี ินในแต่ละเดอื น ออมเพื่อนาเงินท่ีออมไปใช่จ่ายในครอบครัว
และออมเงนิ เพื่อตอ้ งการซ้ือส่ิงของ รวมท้งั การออมเงินสารองเพือ่ จ่ายคา่ รักษาตวั ยามป่วยไข้

63

รูปแบบการบริหารการเงินในระดับชุมชน คือ กองทุนด้านชุมชนปรับโครงสร้างการบริหารจัดการ
การเงินรูปแบบใหม่ ที่เหมาะสม เป็นที่พึ่งพา เกื้อกูลกันท้ังในมิติครัวเรือนและมิติชุมชน ให้อยู่ร่วมกันได้อย่าง
ย่ังยืนเปน็ แหล่งเงนิ ทนุ ด้านอาชพี ใหก้ บั ชมุ ชนทไี่ ม่ใช่เปน็ แหลง่ หาเงินใหก้ ับคนรวยที่มาซ้ือหุ้นเพ่ือหวังเงินปันผล
จากดอกเบี้ยเงินกู้ท่ีปล่อยกู้ให้กับคนจนกองทุนสามารถขยายผลองค์ความรู้และสร้างความตระหนักในการ
จัดทาบัญชีครัวเรือนให้กับชุมชน มีความยืดหยุ่นในการบริหารจัดการ ปรับโครงสร้างบริหารกองทุนรูปแบบ
ใหม่ เช่น 1)การปลอ่ ยกู้แบบใหมโ่ ดยใชบ้ ญั ชคี รัวเรือน เป็นตัวกาหนดเง่ือนไขในการพิจารณาวงเงินกู้และอัตรา
ดอกเบ้ีย 2)พิจารณาเงินกู้ตามสภาพความเดือดร้อน 3)สมาชิกที่คืนเงินต้นแล้วไม่ประสงค์จะกู้ต่อให้พิจารณา
ลดดอกเบ้ียลงจากเดิมอีก 0.5-1% 4) ปรับลดอัตราดอกเบี้ยปกติลง จากเดิม 6 บาทต่อปี เป็นอัตราร้อยละ 5
บาทต่อปี 5)เปล่ยี นแปลงการออมเงินกับสมาชิกเพ่ือให้สมาชิกมีเงินออมมากขึ้น สามารถนาเงินท่ีออมมาชาระ
หน้ไี ด้ 6)จดั สวัสดิการการช่วยเหลือให้กบั สมาชกิ เชน่ กรณเี จบ็ ปว่ ยตอ้ งนอนโรงพยาบาล มีเงินชดเชยให้คืนละ
100 บาทสูงสุด 5 คืนต่อครั้ง ปีละไม่เกิน 3 ครั้ง และมีการมอบทุนการศึกษาให้กับบุตรหลานสมาชิกที่เรียนดี
แตม่ ีฐานะยากจน เป็นตน้

วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 เพ่ือบูรณาการแนวทางการวิจัยของชุมชนไปใช้ในการจัดการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศยั ท่เี หมาะสมในพนื้ ที่

จากการทาวิจัยแนวทางการบริหารจัดการการเงินชุมชน โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
บา้ นสันปา่ สา้ น หมู่ 12 ตาบลห้วยแกว้ อาเภอภูกามยาว จังหวดั พะเยา กศน.อาเภอภูกามยาว ได้นาแนวทางท่ี
ได้จากการวิจัยไปขยายผลเพ่ือต่อยอดองค์ความรู้ให้กับพื้นท่ีอ่ืน ครูที่ทาวิจัยสามารถนากระบวนการทางวิจัย
มาปรับใช้ในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ให้กับ
นักศึกษา กศน. ซ่ึงสอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์ นโยบายและจุดเน้นการดาเนินงานของสานักงานส่งเสริม
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย (สานกั งาน กศน.) ประจาปี 2559 ท่สี ัมพันธ์กับงานวจิ ยั ดังน้ี

ยุทธศาสตร์ท่ี 1 พัฒนา กศน.ตาบลให้เป็นกลไกการขับเคลื่อนการจัดการศึกษาและส่งเสริมภาคี
เครือขา่ ยในการจดั การศึกษาเพื่อสร้างและกระจายโอกาสในการเรยี นร้ตู ลอดชีวิตในชมุ ชนโดย

ครู กศน.อาเภอภูกามยาว ได้ชุดเคร่ืองมือท่ีใช้ในการสารวจข้อมูลชุมชนท่ีสามารถนาข้อมูลมา
วิเคราะหใ์ หเ้ กิดความเหมาะสม และออกแบบ กิจกรรมการเรียนการสอน สาหรบั การใชใ้ นการจัดการเรียนการ
สอน จัดกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองกบั การเปลย่ี นแปลงและความต้องการของประชาชน ชุมชนและสังคม
ในรูปแบบท่ีหลากหลาย ให้ประชาชนคิดเป็น วิเคราะห์ได้ ตัดสินใจภายใต้ฐานข้อมูลที่ถูกต้องได้เทคนิค
กระบวน การในการทางานวิจัยมาปรับใช้ในการทางานที่ให้ความสาคัญกับการทางานท่ีเป็นระบบ คือมีการ
วางแผน (มีการทาSession plan) การปฏิบัติงาน (ท่ีเน้นกระบวนการ การใช้เครื่องมือ) การติดตาม
ประเมินผล(AAR) และการนาผลมาพัฒนาการดาเนินงาน กศน.ตาบลอย่างต่อเนื่องประสานงานภาคีเครือข่าย
ท้ังภาครัฐและเอกชนที่มาร่วมพัฒนาชุมชน สามารถขับเคลื่อน กศน.ตาบลให้เป็นฐานการเรียนรู้ของคนใน
ชมุ ชนได้

ยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 ลดความเหล่ือมล้า สร้างโอกาส และยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษา
การทาวิจัยในคร้ังน้ี นักวิจัยบางท่านเป็น นักศึกษาของ กศน.อาเภอภูกามยาวที่เรียนการศึกษาข้ัน
พ้ืนฐานนอกระบบ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลาย ซึ่งได้ร่วมกันสร้างกระบวนการเรียนรู้
ร่วมกัน มีวิธีคิดแบบใหม่เพ่ือให้ตนเองประสบความสาเร็จในชีวิต เช่น รู้จักการจัดทาบัญชีครัวเรือนการ
วิเคราะห์บัญชีครัวเรือน การวางแผนการใช้จ่ายเงินในแต่ละเดือน สามารถลดรายจ่ายที่ไม่จาเป็น ได้รับการ
ส่งเสริมอาชีพระยะส้ัน ด้านการผลิตอาหารหมู ด้านการเกษตรทฤษฏีใหม่ มีรายได้เกิดการรวมกลุ่มกันสร้าง

64

งานสร้างอาชีพ มีการยกระดับการประกอบอาชีพที่นาเทคโนโลยีมาใช้ในการผลิต เป็นการสร้างโอกาสในการ
เรยี นร้ตู ลอดชีวติ ใหก้ ับตนเอง และครอบครัว

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 จดั การศึกษาเพื่อส่งเสรมิ การเรยี นรู้ทุกช่วงวยั และพฒั นาคุณภาพชวี ติ
การทาวิจัยในคร้ังน้ี ครูและบุคลากรทางการศึกษาสามารถนาแนวทางบูรณาการทาให้ครูเกิดการ
พัฒนา ด้านคุณภาพ มีทักษะ เทคนิค กระบวนการ การเรียนรู้การเป็นผู้นามาพัฒนาคุณภาพการศึกษา และ
สร้างการเรียนรู้ร่วมกับชุมชน แลกเปลี่ยนวิธีคิด วิธีการ นาผลที่ได้ไปพัฒนาระบบการจัดการการเงินในระดับ
ครัวเรือน ระดับชุมชน ให้มีมีความรู้ สู่การปฏิบัติจริง และพัฒนาคุณภาพชีวิตได้อย่างเหมาะสม และยัง
สามารถส่งเสริมพ้ืนท่ีในการทาวิจัยให้เป็นแหล่งเรียนรู้ชุมชนต้นแบบเช่น ขยายผลการทาบัญชีครัวเรือน น้อม
นาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจาวนั ดงั บุคคลตวั อยา่ งต่อไปนี้
นางยพุ ิน ก้อนคา นักวจิ ัยชุมชน เห็นความสาคญั ของการทาบัญชคี รัวเรอื น ถึงแมว้ า่ ตวั เลขรายจ่ายจะ
มากกว่ารายรับทุกเดือน พยายามหาทางออกในการลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จาเป็นลง เช่น ค่าหวย ค่าเหล้า ค่าบุหร่ี
และหาอาชีพเสรมิ ท่แี ตกต่างจากคนในชมุ ชน เพื่อให้เกิดรายได้ที่เพียงพอกับค่าใช้จ่าย เช่น การปลูกพุทรานม
สด จนประสบผลสาเรจ็
ปรชั ญาคิดเป็น
ปรชั ญาคดิ เป็น เปน็ ปรัชญาของการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ที่มีเป้าหมาย
ในการจัดการศึกษาที่มุ่งเน้นให้เกิดกระบวนการคิดเพื่อแก้ปัญหา คือ มีจุดเร่ิมต้นที่ปัญหาแล้วพิจารณาย้อน
ไตรต่ รองถงึ ข้อมลู 3 ประเภท คอื ข้อมลู ด้านตนเอง ชุมชน สังคม ส่ิงแวดล้อม และข้อมูลวิชาการ ต่อจากน้ันก็
ลงมือกระทา ถ้าหากสามารถทาให้ปัญหาหายไป กระบวนการก็ยุติลง แต่หากบุคคลยังไม่พอใจแสดงว่ายังมี
ปัญหาอยู่ บุคคลก็จะเริ่มกระบวนการพิจารณาทางเลือกใหม่อีกครั้ง และกระบวนการน้ียุติลงเม่ือบุคคลพอใจ
และมคี วามสุข ดังเช่นบคุ คลตัวอยา่ งตอ่ ไปนี้
นายสราวุทธ งอนจัตุรัส นักวิจัยชุมชน ได้หาทางออกจากการประสบปัญหาการประกอบอาชีพการ
เลี้ยงหมู พบว่า การประกอบอาชีพเลี้ยงหมูขาดทุน เพราะต้นทุนด้านอาหารหมูสูง จึงหาทางออกด้วยการ
รวมกลุ่มอาชีพผลิตอาหารหมูข้ึนเอง จากวัตถุดับท่ีมีในชุมชน และประสานขอความอนุเคราะห์วิทยากรจาก
ทาง กศน.อาเภอภูกามยาว ซ่ึงปัจจุบันทางกลมุ่ สามารถผลิตอาหารหมจู าหนา่ ยได้เอง
นายสราวุทธ งอนจัตุรัส เป็นตัวอย่างของบุคคลที่เป็นรูปแบบของความหมาย “คิดเป็น” ได้อย่างดี
จะมีความคิดที่เชื่อมโยง คิดแยกแยะ ชัดเจน เพื่อหาทางเลือกท่ีดีที่สุดในการนาไปปฏิบัติ และต้องทดลอง
ความรู้ท่ีหามาได้ก่อนการยืนยันเสมอ แนวคิดเช่นน้ีทาให้นายสราวุธ งอนจัตุรัส เป็นบุคคลสาคัญท่ีจะทาให้
ชุมชนบ้านสนั ปา่ ส้าน เปน็ ชมุ ชนทีเ่ ข้มแขง็ พ่ึงพาตนเองได้อย่างเหมาะสมพอดีกับบริบทของตนเอง
การบูรณาการแนวทางการวิจัยของชุมชนไปใช้ในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัยที่เหมาะสมในพ้ืนท่ี ครู กศน. ซึ่ง ครู กศน.อาเภอภูกามยาวได้ชุดเครื่องมือที่ใช้ในการสารวจข้อมูล
ชมุ ชนท่ีสามารถนาข้อมลู มาวิเคราะห์ใหเ้ กิดความเหมาะสม และออกแบบกิจกรรม สาหรับงาน กศน.ในการจัด
กระบวนการเรียนรู้ท่ีตอบสนองกับการเปล่ียนแปลงและความต้องการของประชาชน โดยใช้ข้อมูลสถานการณ์
ปัญหาเป็นการสร้างบทเรียน ได้รปู แบบการจัดการศึกษาแบบใหม่ ให้ประชาชนคิดเป็น วิเคราะห์ได้ ตัดสินใจ
ภายใต้ฐานขอ้ มลู ที่ถูกตอ้ งได้เทคนิคกระบวน การในการทางานวิจัยมาปรับใช้ในการทางานที่ให้ความสาคัญกับ
การทางานที่เป็นระบบ คือมีการวางแผน(มีการทาSession plan) การปฏิบัติงาน (ท่ีเน้นกระบวนการ การใช้
เครื่องมือ) การติดตามประเมินผล(AAR) และการนาผลมาพัฒนาการดาเนินงาน กศน.ตาบลอย่างต่อเน่ือง
ประสานงานภาคีเครือข่ายทั้งภาครัฐและเอกชนท่ีมาร่วมพัฒนาชุมชน สามารถขับเคลื่อน กศน.ตาบลให้เป็น
ฐานการเรียนรขู้ องคนในชุมชนได้

65

บทท่ี 5

สรปุ อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ

5.1. สรุปผลการดาเนนิ งาน

โครงการวิจัยเร่อื ง แนวทางการบริหารจดั การการเงินชุมชน โดยยดึ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
บา้ นสนั ปา่ ส้าน หมทู่ ่ี 12 ตาบลหว้ ยแก้ว อาเภอภูกามยาว จงั หวดั พะเยา เปน็ การวจิ ยั เชิงปฏิบัติการแบบมีส่วน
ร่วม (PAR: Participatory Action Research) โดยมีวัตถุประสงค์ 1. เพ่ือศึกษาเง่ือนไข ปัจจัยพฤติกรรมท่ี
เก่ียวขอ้ งกับการบริหารจัดการเงินตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน 2. เพื่อศึกษาแนวทางการบริหารจัดการการเงินชุมชน
โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงบ้านสันป่าส้านหมู่ 12 ตาบลห้วยแก้ว อาเภอภูกามยาว จังหวัด
พะเยาและ 3. เพือ่ บรู ณาการแนวทางการวจิ ัยของชุมชนไปใชใ้ นการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัยที่เหมาะสมในพื้นท่ีในการวิจัยครั้งนี้มีการใช้เคร่ืองมือในกระบวนการที่หลากหลาย อาทิเช่น โอ่ง
เศรษฐกิจ Time Line ปฏทิ นิ ฤดูกาล Mind Mapping แผนชีวติ และกระบวนการการทาบัญชีครัวเรือน โดยมี
กลมุ่ เปา้ หมาย เปน็ กล่มุ ประชาชนในชมุ ชนบ้านสันป่าส้าน ท่เี ปน็ กลุม่ ตัวอย่าง จานวน 22 ครัวเรอื น

โดยใชก้ ระบวนการมีสว่ นรว่ มของชมุ ชนในทุกขนั้ ตอนของการดาเนินกจิ กรรม รว่ มกันเรียนรู้สภาพ
ความเป็นอยู่ การประกอบอาชพี และทรัพยากรท่ีมีอยู่ในชุมชน ตลอดจนปัญหาตา่ ง ๆของชุมชนเพื่อใชเ้ ป็น
ข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนแก้ไขปัญหา

กระบวนการทางานวิจัย เร่ิมจาการประชุมเพ่ือสร้างความเขา้ ใจและวางแผนการดาเนนิ งานเพื่อ
วิเคราะหช์ ดุ ความรู้และบทเรียนในการดาเนินงานของครู กศน.ชุดทมี วิจัยทีเ่ ป็นทีมชมุ ชน โดยการกาหนด
เนือ้ หาและกระบวนการการทางานของทมี วิจัย บทเรียนและรปู แบบที่ใช้ในการจัดการศึกษาสาหรับการ
แก้ปัญหาเรื่องหนสี้ ินหรือการจดั การการเงนิ ของชุมชน เพื่อให้มคี วามเข้าใจในทิศทางเดยี วกนั

การดาเนินระยะที่ 1 ซึ่งกระบวนการทางานวิจัยโดยเริ่มจากการประชุมเพื่อค้นหาปัญหาของชุมชน
แนวทางความร่วมมือของภาคีเครือข่ายในการแก้ปัญหาที่เกิดข้ึน มีการชี้แจงวัตถุประสงค์และแนวทางการ
ทางานร่วมกับชุมชน วางแผนเพ่ือแบ่งบทบาทหน้าที่ในการทางานของทีมวิจัย ตลอดจนช่วยกันวิเคราะห์หา
วิธีการแก้ไขปัญหา ข้อดี ข้อเสีย ปัญหาอุปสรรค เงื่อนไขและพฤติกรรมท่ีเก่ียวข้องกับการบริหารจัดการ
การเงินตง้ั แตอ่ ดีต จนถงึ ปัจจุบัน โดยมีข้ันตอนการทาวิจัย ดังนี้

1. ทบทวนสถานการณ์รายรับ-รายจ่าย ระดับครัวเรือนและระดับชุมชน คร้ังท่ี 1 -3 เพื่อทบทวน
ตนเองด้านพฤติกรรมที่ส่งผลต่อหน้ีสินระดับครัวเรือน เพื่อให้ทราบสาเหตุข้อเท็จจริงท่ีเป็นหนี้สิน การกู้ยืม
กลมุ่ ต่างๆที่ไม่มีความย่ังยืน และเพ่ือวิเคราะห์รายรับ-รายจ่ายระดับครัวเรือนวิเคราะห์สถานการณ์หนี้สินของ
ชุมชนผ่านการดาเนินงานการบริหารงานของกองทุนต่าง ๆ เช่น กองทุน หรือการรวมกลุ่มอาชีพ โดยใช้
เครื่องมอื โอ่งเศรษฐกิจ Time Line การ SWOT ปฏทิ นิ ฤดูกาล และการวิเคราะห์บญั ชคี รวั เรอื น

2. สรา้ งความเข้าใจในหลักของการจัดกระบวนการการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โดยมีการส่งเสริมอาชีพการทาอาหารหมู การทาบัญชีครัวเรือน กระบวนการเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง โดยการให้ความรู้ และการลงมือปฏบิ ัติจริง จากวิทยากรผู้มคี วามรู้ ความชานาญ

66

3. การแลกเปล่ียนเรียนรู้โดยการศึกษาดูงานพ้ืนท่ีต้นแบบการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง บ้านบัว ตาบลบ้านตุ่น อาเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา เพื่อให้ชุมชนเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับ
พื้นท่ีศกึ ษาดงู าน

4. การออกแบบและกาหนดรูปแบบกิจกรรมในการบริหารจัดการการเงินชุมชนทั้งมิติครัวเรือน และ
มติ ิชมุ ชน ในระยะท่ี 2

การดาเนนิ การระยะท่ี 2 ซึ่งกระบวนการทางานวจิ ัยโดยเร่ิมจากการศึกษาแนวทางการบริหารจัดการ
การเงินชมุ ชน โดยยึดหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการหาแนวทางการวิจัยของชุมชนไปใช้ในการจัด
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีเหมาะสมในพื้นท่ีอาเภอภูกามยาว โดยมีข้ันตอนการทาวิจัย
ดังนี้

1. เวทีทบทวนส่ิงท่ีได้รับในการดาเนินการวิจัยในระยะท่ี 1 และวางแผนทางานวิจัยกับทีมวิจัยใน
ระยะที่ 2 เพื่อทบทวนข้อมูลท่ีได้จากการดาเนินงานในระยะท่ี 1 และวางแผนการทางานในระยะท่ี 2 โดยใช้
เครือ่ งมือการประชมุ กลมุ่ ยอ่ ย

2. เวทีทดลองการปฏิบัติการการจัดกิจกรรมในระดับครัวเรือนและระดับชุมชนตามประเด็นท่ีได้ใน
ระยะท่ี1 (คร้ังที่ 1-4) เพ่ือจัดกิจกรรมการบริหารจัดการการเงินตามแนวทางที่ได้ในระยะท่ี 1 ท้ังในระดับ
ครวั เรอื นและระดบั ชุมชน โดยมกี ารประชมุ กลุ่มย่อยการเขยี น Mind Mappingและการใชบ้ ญั ชคี รวั เรือน

3. เวทีการหาแนวทางในการบริหารจัดการกองทุนชุมชนเพื่อหาแนวทางในการเปลี่ยนแปลงการ
บริหารจัดการกองทนุ ทีเหมาะสม เก้ือกูลกันท้ังในมิติครัวเรือนและมิติชุมชน โดยใช้เครื่องมือ SWOT Analysis
และการเขียน Mind Mapping

4. การอบรมการปลูกมะนาวในบ่อซีเมนต์แบบครบวงจร (คร้ังท่ี 1-2) ซ่ึงเป็นกิจกรรมเสริมที่ไม่มีใน
แผน เพอ่ื ใหผ้ ูเ้ ขา้ อบรมซง่ึ เป็นนักวิจัยชุมชนได้มีความรู้ในการปลูกมะนาว การขยายพันธุ์มะนาว สามารถนาไป
ทาเป็นอาชีพเสริม หรือลดค่าใช้จา่ ยในครวั เรอื นได้ โดยการให้ความรู้ และการลงมือปฏิบัติจริง จากวิทยากรผู้มี
ความรู้ ความชานาญ

5. การแลกเปล่ียนเรียนรู้โดยการศึกษาดูงานพ้ืนที่ต้นแบบการบริหารจัดการการเงิน บ้านสามขา
อาเภอแม่ทะ จังหวัดลาปาง เพื่อให้ชุมชนเกิดการแลกเปล่ียนเรียนรู้ นาความรู้หรือแนวทางท่ีได้มาปรับใช้ใน
กองทนุ ชมุ ชนบ้านสันปา่ ส้าน

6. การอบรมการทาสบู่สมุนไพร ซึ่งเป็นกิจกรรมเสริมที่ไม่มีในแผน เพื่อให้ผู้เข้าอบรมซึ่งเป็นนักวิจัย
ชุมชนได้มีความรู้ในเรื่องสมุนไพร และมีทักษะในการทาสบู่ สามารถทาสบู่ใช้เองเป็นการลดค่าใช้จ่ ายใน
ครัวเรอื น และเกิดการรวมกลุ่มกันเพ่ือพัฒนาเปน็ กลุ่มวิสาหกจิ ชมุ ชน

7. เวทีเสวนาแลกเปล่ียนเรียนรู้ รากฐานงานวิจัยสู่การเรียนรู้ตลอดชีวิต เป็นกิจกรรมที่ไม่มีในแผน
เพื่อเผยแพร่งานวิจัยชุมชนบ้านสันป่าส้าน และเป็นการแลกเปล่ียนเรียนรู้งานวิจัยชุมชนในพ้ืนท่ีจังหวัดพะเยา
โดยการเสวนางานวจิ ัย การจัดนิทรรศการเพือ่ แสดงผลงานและเผยแพร่งานวิจยั เพอ่ื ท้องถน่ิ

8. เวทวี ิเคราะห์ผลทไ่ี ดจ้ ากการดาเนินงาน ทั้งในเชิงเรียนรู้ของคนในครัวเรือน ชุมชน ชุมชนข้างเคียง
ครู กศน. และผมู้ สี ว่ นเกย่ี วข้องตลอดจนการขยายผลการดาเนินงาน เพื่อต่อยอดการพัฒนาศักยภาพของชุมชน
(คร้ังท่ี 1-2) เพื่อนาผลท่ีได้จากการวิเคราะห์กาหนดเป็นแนวทางในการขยายผลสู่แนวทางการนาไปใช้เพ่ือต่อ
ยอดและพัฒนาศักยภาพการดาเนนิ ชีวิต โดยการใชเ้ ครื่องมือ การเขียน Mind Mapping ประชุมกลุ่มย่อย และ
การวเิ คราะห์การทาบัญชีครวั เรอื นเชิงสถิติ โดยวิทยากรผมู้ ีความรู้ ความชานาญ

67

จากกิจกรรมข้างต้นสามารถสรุปผลการดาเนินงานตามวัตถุประสงค์ข้อท่ี 1 เพ่ือศึกษาเง่ือนไข
ปจั จยั พฤตกิ รรมท่ีเกยี่ วขอ้ งกบั การบริหารจัดการการเงินตงั้ แต่อดีตถึงปัจจุบนั พบวา่

ด้านเงื่อนไขท่ีเก่ียวข้องกับการบริหารจัดการการเงินตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน การรวมกลุ่มต้ังแต่อดีต
เพื่อช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุน สมาชิกในชุมชน ภายใต้แนวทางของการบริหารจัดการการเงินในแต่ละ
กองทุนต้งั แตอ่ ดีตถึงปัจจุบนั โดยเอ้อื ประโยชน์ให้สมาชิกสามารถใช้ประโยชน์จากกองทุนเพ่ือการลดค่าใช้จ่าย
เพม่ิ รายได้ การออม หรอื การประกอบอาชีพเสริม ในอดีตนั้นชุมชนมีขอ้ กาหนดในการรวมกลุม่ โดยมีการจัดตั้ง
ธนาคารข้าวเพ่ือช่วยเหลือสมาชิกให้มีข้าวไว้เพื่อ อุปโภค บริโภค ซ่ึงมีการชาระคืนเป็นข้าวหลังจากมีการเก็บ
เก่ียวในฤดูถัดไป หากประสบภัยพิบัติ เช่น ภัยแล้ง น้าท่วม โรคระบาด ให้ชาระคืนเฉพาะดอกเบี้ย (เช่น ยืม
ข้าว 10 ต๋าง ดอกเบ้ีย 2 ต๋าง ให้คืนเฉพาะดอกเบี้ย 2 ต๋าง ) ปัจจุบันมีหน่วยงานท้ังภาครัฐ ให้การสนับสนุน
ได้แก่ 1.หน่วยงานพัฒนาชุมชนอาเภอภูกามยาว สนับสนุนอบรมให้ความรู้ในด้านสัมมาอาชีพ 2.หน่วยงาน
เกษตรอาเภอ สนับสนุนด้านเงินทุนโครงการแปรรูปอาหารหมู 3.ปศุสัตว์อาเภออบรมให้ความรู้เก่ียวกับด้าน
แปรรปู อาหารหมู 4.กศน.อาเภอภูกามยาว สง่ แสรมิ การมีสว่ นร่วมในการพัฒนาสังคมโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน 5.
ธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณ์เพ่ือการเกษตร(ธกส.) อบรมให้ความรู้ในการทาบัญชีครัวเรือน 6.กอง
อานวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร(กอ.รมน) สนับสนุนงบประมาณ ในการทาฝายน้าล้นใน
ชมุ ชน 7.สถาบันวจิ ยั เทคโนโลยกี ารเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา อบรมให้ความรู้เร่ืองการ
ปลกู มะนาวในบ่อซีเมนต์และการทาสบู่สมนุ ไพร 8.สานักงานตรวจสอบบัญชีสหกรณ์พะเยา ให้ความรู้ด้านการ
จดั ทาบัญชี 9.มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณร์ าชวทิ ยาลยั วิทยาเขตพะเยา สนับสนุนบุคลากรเป็นท่ีปรึกษาใน
การทาวจิ ัย 10.มหาวิทยาลัยพะเยา สนับสนนุ บคุ ลากรเป็นท่ีปรึกษาในการทาวจิ ัย เอกชนท่ีร่วมสนับสนุนได้แก่
1.โครงการพลังปัญญา อบรมให้ความรู้ด้านการพัฒนาการคิดของคนในชุมชน การวางแผนชีวิต มาส่งเสริม
สนบั สนุน ท้งั ดา้ นวสั ดุ บคุ ลากรและงบประมาณเพ่ิมมากข้ึน จึงเกิดเป็นกองทุนด้านการเงินต่างๆ เช่น กองทุน
หม่บู ้าน กลมุ่ ออมทรพั ย์ กลุม่ ฌาปนกจิ กล่มุ สงเคราะห์ราษฎรประจาหมูบ่ ้าน กลมุ่ ปุ๋ย เปน็ ตน้

ด้านปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการการเงินตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน พบว่า การรวมกลุ่มของ
คนในชุมชนที่ส่งผลหรือมีอิทธิพลต่อการจัดต้ังกองทุนชุมชนต่างๆ รวมถึงการบริหารจัดการการเงินต้ังแต่อดีต
จนถึงปัจจุบัน ทั้งที่ชุมชนได้กาหนดข้ึนเองและที่ได้รับการส่งเสริม สนับสนุนด้านงบประมาณ วัสดุอุปกรณ์
บุคลากร จากหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และภาคีเครือข่าย ชุมชนมีการจัดต้ังกองทุนต่างๆ เพื่อเป็นการ
ช่วยเหลอื เกอื้ กลู กนั ภายในชุมชน เช่น ด้านเงินทุนในการประกอบอาชีพ ด้านการสงเคราะห์ฌาปนกิจศพ การ
ส่งเสริมการออม การสงเคราะห์ช่วยเหลือยามเจ็บป่วย และด้านสาธารณูปโภคพ้ืนฐาน เช่น มีน้าสาหรั บ
อุปโภค บริโภค มีจานวนกองทุนต้ังแต่เร่ิมต้นจนถึงปัจจุบัน จานวน 10 กองทุน 1. ฌาปนกิจสงเคราะห์ 2.
กลุ่มฌาปนกจิ สงเคราะห์แม่บ้าน 3.กลุม่ สงเคราะหร์ าษฎร 4.กลมุ่ น้าประปา 5.กลุ่มโครง กขคจ. 6.กลุ่มกองทุน
หมู่บ้าน 7.กลุ่มกองทุนปุ๋ย 8.กลุ่มธนาคารข้าว 9.กลุ่มเล้ียงไก่พื้นเมือง 10. กลุ่มวิสาหกิจชุมชนสัมมาชีพผลิต
อาหารสัตว์ ซ่ึงแต่ละกองทุนก็มีเง่ือนไขที่แตกต่างกันเช่น บางกองทุนปล่อยให้กู้ บางกองทุนเป็นสวัสดิการ
โดยมีวิธีการดาเนินการภายใต้กิจกรรมที่ส่งเสริมสนับสนุนให้สมาชิกทาบัญชีครัวเรือน ให้มีการออม กองทุนมี
เงนิ ปันผลเฉล่ยี คืนใหส้ มาชกิ และสง่ เสรมิ การประกอบอาชีพเสรมิ เป็นต้น

ด้านพฤติกรรมเกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการการเงินต้ังแต่อดีตถึงปัจจุบัน พบว่า การแสดงออก
ของคนในชุมชนทั้งทางบวกและทางลบในระดับครัวเรือน ระดับชุมชนที่ตอบสนองต่อการบริหารจัดการ
การเงินต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน หรือรูปแบบในการบริหารกองทุนชุมชนนั้น ส่งผลให้คนในชุมชนเข้าร่วมเป็น
สมาชิกของกลุ่มต่างๆเพ่ิมมากข้ึน เพื่อต้องการท่ีจะใช้สิทธิในการกู้ยืมเงิน และหวังผลประโยชน์จากเงินปันผล

68

เฉลี่ยคนื ในแตล่ ะกองทุน ซ่ึงแตกต่างจากในอดีตที่ผ่านมา เช่น ยืมข้าวไป ต้องเอามาคืนเป็นข้าว แต่พอกลไกน้ี
มนั หายไป และเปลีย่ นรปู แบบเปน็ กองทนุ กยู้ ืมในแบบต่างๆ บวกกับสภาพทางเศรษฐกิจของคนในชุมชนที่เป็น
หนี้สินจากหลายปัจจัย การกู้ยืม จึงเป็นเพียงพฤติกรรมของการบริหารจัดการการเงินในแต่ละครัวเรือนตาม
สิทธขิ องสมาชกิ ที่พึงได้ ไม่ได้เป็นเรือ่ งของชุมชนที่เน้นการช่วยเหลือเกื้อกูลเพียงอย่างเดียว กองทุนก็มีหน้าท่ี
เพยี งการเอ้อื อานวยใหส้ มาชกิ ไดก้ ู้เงนิ ไปใช้จ่าย ซ่ึงกองทุนเองก็ไม่ได้มีแนวทางตรวจสอบว่าสมาชิกนาเงินไปใช้
จ่ายอย่างไร ดังน้ันพฤติกรรมของสมาชิกต่อความเข้าใจในระบบกองทุนชุมชนก็เปล่ียนไป พฤติกรรมของ
กองทนุ ทท่ี าหนา้ ที่บรหิ ารก็เปลีย่ นไป

ดังน้ันพบว่า เงื่อนไข ปัจจัย และการปรับเปล่ียนพฤติกรรมทางลบและบวก สาเหตุที่เกิดในระดับ
ครัวเรือน เกิดจากภาวะเศรษฐกิจและสังคมท่ีเปลี่ยนไป การหารายได้ไม่พอกับรายจ่าย อีกท้ังขาดความรู้ทาง
การเงินและยังประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก จึงทาให้คนในชุมชนไม่มีรายได้ท่ีแน่นอน ขาดการวาง
แผนการใช้จ่ายเงินในครัวเรือน ไม่มีอาชีพเสริมรองรับ มีการใช้จ่ายฟุ่มเฟือย การบริโภคเกินตัว ไม่มีการเก็บ
ออม ขาดความรู้ทางการเงิน จึงต้องหันพ่ึงสถาบันการเงินหลายแห่ง ที่มุ่งหวังผลกาไรของดอกเบ้ีย จึงมีภาระ
หนี้สนิ ในระดับชุมชนบา้ นสันป่าส้าน ได้จัดตัง้ กองทนุ หมู่บ้าน ปี 2544 และมีการบริหารจัดการการเงินกองทุน
ก็มหี นา้ ทีเ่ พยี งการเอ้ืออานวยใหส้ มาชิกได้ก้เู งนิ ไปใชจ้ า่ ย สิง่ ท่ีได้ปรับพฤติกรรมคนในชุมชนมีการรับรู้รายรับ –
รายจ่ายของตนเองโดยการทาบัญชีครัวเรือนเป็นประจา และมีการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้
ในการดารงชีวิต รู้จกั ประมาณตนกอ่ นการใชจ้ ่ายเงนิ มกี ารจดั ทาบญั ชคี รวั เรือนซง่ึ จากอดตี ไม่ได้คานึงถึงการใช้
จา่ ยเงิน ไมค่ านึงว่าจะใชจ้ ่ายด้วยเร่ืองใด ไมม่ ภี ูมิคุ้มกันให้กับตนเอง ในการประกอบอาชีพก็ใช้สารเคมี โดยไม่
คานึงถึงผลกระทบที่จะมีต่อตนเองและสังคม คนในชุมชนมีภูมิคุ้มกันที่ดีข้ึน มีการศึกษาหาความรู้ด้านการ
ประกอบอาชีพด้านการเกษตร จากการปลูกพืชเชิงเดียวก็ปรับเปล่ียนเป็นเกษตรทฤษฎีใหม่ การทาอาหารหมู
ใช้เองเพ่ือลดต้นทุน ปลูกส่ิงที่ตนเองกินเช่น พริก ข่า ตะไคร้ กระเพรา มะนาว มะกรูดและอ่ืน ๆ เพ่ิมมากขึ้น
หากเหลอื จงึ นาไปจาหนา่ ย มีการแบ่งปันและเอือ้ อาทรต่อกนั สอดคล้องกบั หลกั คุณธรรมจริยธรรม และเคารพ
การตัดสินใจของผอู้ น่ื มากข้ึน

สาหรับการแสดงออกของคนในระดับชุมชน พบว่า คณะกรรมการมีการบริหารจัดการการเงินมา
ชมุ ชนเปลย่ี นไปโดยมกี ารพิจารณา 1) กลั่นกรองการกู้ยืมเงินของครัวเรอื นมาเปน็ อนั ดับแรกของการพิจารณามี
การประชุมในรูปแบบของคณะกรรมการ 2) ใช้บัญชีครัวเรือนเป็นเกณฑ์ในการกู้ยืมเงิน การลดเงินกู้และลด
ดอกเบ้ีย 3) สร้างกลุ่มอาชีพที่เป็นต้นแบบในการบริหารจัดการด้านอาชีพ 4) พิจารณาเหตุผลและความ
จาเป็นของการกู้ยืมเงิน โดยมีบัญชีครัวเรือนเป็นหลัก 5) คณะกรรมการต้องติดตามผลของผู้กู้ว่าได้นาเงินไป
ประกอบอาชพี จริงหรือไม่ 6) มีคณุ ธรรมในการกู้ยืมเงิน กรณีเกิดปัญหาในการกู้ยืมเงินกองทุน เมื่อถึงกาหนด
ในการใช้เงนิ กยู้ ืมกองทนุ คืน คณะกรรมการควรมกี ารไกลเ่ กล่ีย ประนีประนอม ยนิ ยอมตามความเหมาะสม

วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 เพ่ือศึกษาแนวทางการบริหารจัดการการเงินชุมชนโดยยึดหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงบ้านสันป่าส้าน จากกระบวนการที่ประกอบด้วย 1) การไปศึกษาดูงานพ้ืนท่ีต้นแบบการ
ประยุกตใ์ ชห้ ลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พื้นที่บ้านบัว ต.บ้านตุ่น อ.เมืองพะเยา เพื่อสร้างการเรียนรู้ใน
การนากลับมาปรับประยุกต์ใช้ในการดาเนินชวี ติ ดา้ นตา่ งๆ เช่น การประกอบอาชีพเสริมที่เน้นใช้วัตถุดิบท่ีมีอยู่
ในท้องถ่ิน (การจักสานไม้ไผ่) การประกอบอาชีพที่ลดการใช้สารเคมีทางการเกษตร การบริหารจัดการน้าท่ีมี
แก่เหมอื งเปน็ ผู้ดูแลบรหิ ารจดั การ การวางแผนการผลิตผลทางการเกษตรร่วมกันเพ่ือแก้ไขปัญหาผลผลิตที่ล้น
ตลาด การรวมกลมุ่ ในรูปแบบสหกรณ์ 2) การศึกษาดูงานแนวทางบริหารจัดการ การเงินชุมชนชนบ้านสามขา

69

จังหวัดลาปาง เพื่อนาความรู้มาปรับใช้ในการบริหารจัดการกองทุนในพื้นท่ี 3)การออกแบบและกาหนดการ
รูปแบบกิจกรรมในการบรหิ ารจัดการการเงนิ ชุมชนทัง้ ระดบั ครัวเรอื นและระดับชมุ ชน โดยมีขอ้ สรุปดงั นี้

สาเหตุปัญหาสาคัญท่ีระดับครัวเรือน ทางการการเงิน รายได้ไม่พอกับรายจ่าย มีภาระหนี้สิน ขาด
ความรู้ทางการเงินและยังประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก จึงทาให้คนในชุมชนไม่มีรายได้ที่แน่นอน ขาด
การวางแผนการใช้จ่ายเงินในครัวเรือน ไม่มีอาชีพเสริมรองรับ มีการใช้จ่ายฟุ่มเฟือย การบริโภคเกินตัว ไม่มี
การเกบ็ ออม ขาดความร้ทู างการเงิน เกิดภาระหน้ีสินรมุ เร้าซึ่งผลการดาเนินงานพบว่า

รูปแบบการบริหารการเงินในระดับครัวเรือน คือ ให้ครัวเรือนมีการน้อมนาหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันส่งเสริมให้ครัวเรือนรู้จักพัฒนาตนเองให้สามารถบริหาร
จัดการการเงนิ ครวั เรือน รกั ษาระดับการใชจ้ ่ายของตน ไมใ่ หเ้ ปน็ หนี้ "อยู่ไดอ้ ย่างพอเพยี ง" ดังน้ี

1. ครัวเรือนจัดทาบัญชีครัวเรือนเพื่อจดบันทึกรายรับ รายจ่ายประจาวันของครัวเรือนอย่างต่อเนื่อง
และนาข้อมูลมาวางแผนการใช้จ่ายเงินในอนาคตได้อย่างเหมาะสม ซึ่งจะทาให้ตนเองและครอบครัวทราบ
รายรับ รายจ่าย หน้ีสิน และเงินคงเหลอื ในแตล่ ะวนั

2. ครัวเรือนมีเหตุผลในการใช้จ่ายเงินมากขึ้นคือ นาข้อมูลการใช้จ่ายเงินภายในครอบครัวมาจัด
เรียงลาดับความสาคัญของรายจ่าย และวางแผนการใช้จ่ายเงิน โดยพิจารณาแต่ละรายการในแต่ละวันมี
รายจ่ายใดท่ีมีความสาคัญมาก และรายจ่ายใดไม่จาเป็นให้ตัดออก เพื่อให้การใช้จ่ายเงินภายในครอบครัวมี
พอใช้และเหลือเกบ็ สาหรับใชจ้ า่ ยสง่ิ ท่ีจาเป็นในอนาคต

3. ครวั เรือนมีรายได้เพียงพอกบั รายจา่ ยทจ่ี าเป็นมีอาชีพเสรมิ หรือหาทางลดรายจ่ายในครัวเรือน เช่น
ปลกู พืชผักสวนครัว เลี้ยงไก่ไข่ เล้ียงปลา เพื่อบริโภคในครัวเรือนเพ่ือช่วยลดค่าอาหาร เหลือก็จาหน่ายเพ่ือให้
เกิดรายได้

4. ครัวเรือนมีการแบ่งเงินไว้สาหรับเงินออม และเงินเหลือไว้ใช้จ่ายยามฉุกเฉินเป็นการออมเงินเพ่ือ
อนาคตอันใกล้ ออมเพ่ือใช้ในส่วนของการจ่ายหนี้สินในแต่ละเดือน ออมเพ่ือนาเงินท่ีออมไปใช่จ่ายใน

ครอบครวั และออมเงินเพอื่ ตอ้ งการซื้อสิ่งของ รวมทั้งการออมเงินสารองเพ่ือจ่ายค่ารกั ษาตัวยามปว่ ยไข้
โดยทาให้ระดับครัวเรือนต้องคานึงถึงรายได้ – รายจ่าย ของตนเองโดยการทาบัญชีอย่างต่อเนื่อง

พรอ้ มทงั้ วิเคราะห์รายจา่ ยทส่ี ามารถลดไดแ้ ละหาแนวทางในการปรับเปล่ียนการใช้จ่ายเงินของแต่ละครัวเรือน
ซึ่งในการน้ี บัญชีครัวเรือนยังสามารถเป็นเคร่ืองมือหน่ึงในการที่คณะบริหารการเงินในระดับชุมชนใช้เป็น
เอกสารในการประเมนิ ความสามารถในการใช้จ่ายเงินและดคู วามเหมาะสมในการให้กู้เงินตามการวางแผนการ
ใชเ้ งนิ ในแต่ละครวั เรอื นได้

รูปแบบการบริหารการเงินในระดับชุมชน คือกองทุนด้านชุมชนปรับโครงสร้างการบริหารจัดการ
การเงินรูปแบบใหม่ ที่เหมาะสม เป็นที่พึ่งพา เก้ือกูลกันท้ังในมิติครัวเรือนและมิติชุมชน ให้อยู่ร่วมกันได้อย่าง
ยั่งยนื เป็นแหลง่ เงินทนุ ด้านอาชีพให้กับชุมชน ดังคาพูดนายประเสริฐ รูปศรี ได้กล่าวว่า “กองทุนท่ีไม่ใช่เป็น
แหล่งหาเงนิ ให้กบั คนรวยที่มาซ้ือหนุ้ เพอื่ หวังเงนิ ปันผลจากดอกเบี้ยเงินก้ทู ี่ปล่อยกู้ให้กับคนจน”

กองทนุ สามารถขยายผลองคค์ วามรแู้ ละสรา้ งความตระหนกั ในการจัดทาบัญชีครัวเรือนให้กับชุมชน มี
ความยืดหยนุ่ ในการบริหารจัดการ ปรบั โครงสร้างบริหารกองทนุ รูปแบบใหม่ ดังน้ี

1) การปลอ่ ยกู้แบบใหมโ่ ดยใช้บัญชคี รัวเรอื น เป็นตัวกาหนดเง่ือนไขในการพิจารณาวงเงินกู้และอัตรา
ดอกเบี้ยซ่ึงเป็นให้ครัวเรือนมีเหตุมีผลในการกู้เงิน มีความพอประมาณในตนเอง และจะสามารถรู้ถึงรายรับที่
เป็นจริงของตนเองและระยะเวลาในการกู้และการส่งใช้เงินกู้ เป็นภูมิคุ้มกันตนเองในการจัดการการเงิน
ครวั เรือน

70

2) พจิ ารณาเงนิ กแู้ ก่สมาชิกตามสภาพความเดือดร้อน สมาชิกมีอาชีพไม่เหมือนกันและมีความจาเป็น
ไมเ่ หมือนกัน ซ่งึ ถอื ได้วา่ ไดน้ าเอาเหตุผลมาเปน็ เคร่ืองมือในการตัดสินใจ

3) สมาชกิ ทค่ี นื เงินต้นแลว้ ไม่ประสงค์จะกู้ต่อให้พิจารณาลดดอกเบี้ยลงจากเดิมอีก 0.5-1 % เป็นสิ่ง
ที่ กองทนุ ชมุ ชนควรทาเป็นอย่างยงิ่ เพราะจะช่วยหนุนเสริมใหส้ มาชิกปลดหน้แี ละมกี าลังใจมากขึ้น

4) ปรบั ลดอตั ราดอกเบี้ยปกติลง จากเดมิ 6 บาทตอ่ ปี เปน็ อตั ราร้อยละ 5 บาทต่อปี
5) เปลี่ยนแปลงการออมเงนิ กับสมาชิกเพ่ือให้สมาชิกมเี งนิ ออมมากข้นึ สามารถนาเงินทีอ่ อมมาชาระ
หนีไ้ ดซ้ ง่ึ ถือไดว้ ่าเปน็ การสรา้ งภมู ิคุ้มกันแกส่ มาชิกได้โดยอ้อมอยา่ งต่อเนื่อง
6) จดั สวสั ดกิ ารการชว่ ยเหลือให้กับสมาชิก เชน่ กรณีเจ็บป่วยตอ้ งนอนโรงพยาบาล มเี งินชดเชยให้คืน
ละ 100 บาทสูงสุด 5 คนื ตอ่ คร้ัง ปลี ะไมเ่ กนิ 3 ครั้ง
7) การสนบั สนุนเงินทนุ ในการสง่ เสริมอาชีพแกส่ มาชกิ แก่อาชีพการทาอาหารหมูเปน็ เงิน 20,000.-
บาท เพื่อเป็นต้นแบบในการบรหิ ารจดั การดา้ นอาชพี ท่ีเขม็ แขง็ สอดคล้องกับการสร้างความรู้และใหม้ ี
ภูมิคมุ้ กนั แก่สมาชิก
8) การมอบทนุ การศึกษาใหก้ ับบุตรหลานสมาชิกท่ีเรียนดีแต่มีฐานะยากจน เป็นการสรา้ งภมู คิ ุ้มกนั แก่
บตุ รหลานสมาชิก และความมคี ุณธรรมในการอยรู่ วมกันในชุมชน

ดังนัน้ สรปุ ได้วา่ แนวทางการบริหารการจัดการการเงินระดับชุมชน สิง่ ท่ีกองทนุ ชุมชนควรทา ดังนี้
1. กลน่ั กรองการกยู้ ืมเงนิ ของครัวเรือนมาเปน็ อนั ดบั แรกของการพจิ ารณามีการประชมุ ในรูปแบบของ
คณะกรรมการ
2. ใชบ้ ัญชีครัวเรอื นเป็นเกณฑใ์ นการกยู้ ืมเงิน การลดเงินกู้และลดดอกเบี้ย
3. สรา้ งกลมุ่ อาชีพที่เปน็ ตน้ แบบในการบรหิ ารจัดการด้านอาชพี
4. พิจารณาเหตผุ ลและความจาเป็นของการกูย้ ืมเงนิ โดยมีบญั ชีครัวเรอื นเป็นหลัก
5. คณะกรรมการต้องติดตามผลของผู้กู้เปน็ รายบุคคลวา่ ได้นาเงนิ ไปประกอบอาชพี จริงหรือไม่
6. การใหค้ วามรใู้ นการประกอบอาชีพท่ที นั สมยั แกส่ มาชกิ
7. มีคุณธรรมในการกยู้ มื เงนิ กรณีเกดิ ปญั หาในการก้ยู ืมเงินกองทุน เมื่อถึงกาหนดในการใช้เงนิ กูย้ มื
กองทนุ คืน คณะกรรมการควรมกี ารไกลเ่ กลยี่ ประนปี ระนอม ยินยอมตามความเหมาะสม
และสิง่ ที่กองทุนไม่ควรทา คือ กองทุนไม่ควรเป็นธนาคารที่ดาเนินการให้กเู้ งินเพอ่ื หวงั ผลกาไรอย่าง
เดยี ว หากผู้กไู้ มส่ ง่ เงินกตู้ ามกาหนดก็ยึดทรัพย์หรอื มีมาตรการทร่ี นุ แรง

วัตถุประสงค์ข้อท่ี 3 เพื่อบูรณาการแนวทางการวิจัยของชุมชนไปใช้ในการจัดการศึกษานอก
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่เหมาะสมในพ้ืนท่ี จากการทาวิจัยแนวทางการบริหารจัดการการเงิน
ชุมชน โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง บ้านสันป่าส้าน หมู่ 12 ตาบลห้วยแก้ว อาเภอภูกามยาว
จังหวัดพะเยา กศน.อาเภอภูกามยาว ได้นาแนวทางท่ีได้จากการวิจัยไปขยายผลเพ่ือต่อยอดองค์ความรู้ให้กับ
พื้นที่อ่ืน ครูท่ีทาวิจัยสามารถนากระบวนการทางวิจัยมาปรับใช้ในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศัย เพ่ือสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ให้กับนักศึกษา กศน. ซึ่งสอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์ นโยบายและ
จุดเน้นการดาเนนิ งานของสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (สานักงาน กศน.)
ประจาปี 2559 ซ่ึงสอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนา กศน.ตาบลให้เป็นกลไกการขับเคลื่อนการจัด
การศกึ ษาและส่งเสรมิ ภาคีเครอื ข่ายในการจัดการศึกษาเพอื่ สร้างและกระจายโอกาสในการเรียนรู้ตลอดชีวิตใน

71

ชมุ ชนโดย ยุทธศาสตร์ท่ี 2 ลดความเหลื่อมล้า สรา้ งโอกาส และยกระดับคณุ ภาพการศึกษา และ ยุทธศาสตร์
ที่ 4 จดั การศึกษาเพือ่ ส่งเสรมิ การเรียนรทู้ กุ ช่วงวัยและพัฒนาคุณภาพชีวติ พบว่า แนวทางการวิจัยของชุมชน
ไปใช้ในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยทเ่ี หมาะสม สง่ ผลทาให้

1. ทีมวิจัยชุมชนทั้งที่เป็นกลุ่มเป้าหมายของการวิจัยและนักศึกษา กศน.ท่ีเรียนการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
นอกระบบ ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลาย ซึ่งได้ร่วมกันสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน
มีวธิ ีคดิ แบบใหม่ สามารถนางานวิจัยไปปรับใชใ้ นชวี ติ ประจาวัน เกิดการการพัฒนาตนเองในด้านความคิด การ
คดิ วเิ คราะห์ การกลา้ แสดงออก มคี วามเปน็ ผ้นู ามากขน้ึ ทราบสาเหตุของการเป็นหนี้ในอดีตท่ีผ่านมาจากการ
ทาบญั ชีครวั เรอื น วางแผนการใช้จา่ ยเงนิ ในระดบั ครัวเรือนได้

2. บ้านสนั ป่าส้าน เปน็ ชมุ ชนตน้ แบบในเรื่องการบริหารจัดการการเงินชุมชน โดยยึดหลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพียง ครัวเรอื นสามารถขยายผลองค์ความรูก้ ารทาบญั ชคี รวั เรือนไปสคู่ รวั เรือนอื่น

3. ครู กศน.อาเภอภูกามยาวได้ชุดเครื่องมือที่ใช้ในการสารวจข้อมูลชุมชนท่ีสามารถนาข้อมูลมา
วิเคราะหใ์ ห้เกิดความเหมาะสม และออกแบบ กจิ กรรมการเรยี นการสอน สาหรับการใชใ้ นการจัดการเรียนการ
สอน จัดกระบวนการเรียนรทู้ ต่ี อบสนองกับการเปล่ยี นแปลงและความต้องการของประชาชน ชุมชนและสังคม
ในรูปแบบท่ีหลากหลาย ให้ประชาชนคิดเป็น วิเคราะห์ได้ ตัดสินใจภายใต้ฐานข้อมูลท่ีถูกต้องได้เทคนิค
กระบวน การในการทางานวิจัยมาปรับใช้ในการทางานที่ใหค้ วามสาคญั กับการทางานท่ีเปน็ ระบบ

4. ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอภูกามยาว สามารถเชื่อมโยงองค์ความรู้
สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้กับบา้ นสนั ป่าส้านใหเ้ ป็นพนื้ ท่ตี ้นแบบด้านการบรหิ ารจัดการการเงินชุมชนและขยาย
ผลงานของแนวคดิ สู่พ้นื ท่ีใหมใ่ นระดบั ตาบล

5. เกิดภาคีเครือข่ายในการขยายผลองค์ความรู้เพื่อพัฒนาและต่อยอดองค์ความรู้ เช่น สถาบันวิจัย
เทคโนโลยีเกษตร ด้านการปลูกมะนาวในบ่อซีเมนต์ การขยายผลการปลูกมะนาว การทาสบู่สมุนไพร
มหาวิทยาลัยพะเยา ด้านระบบบัญชีครัวเรือน สานักงานปศุสัตว์จังหวัดพะเยา ด้านการแปรรูปอาหารหมูและ
สานกั งานเกษตรอาเภอภกู ามยาว ด้านเงินทุนโครงการแปรรปู อาหารหมู

บทเรียนที่ไดร้ ับ
มติ นิ กั วจิ ยั ชมุ ชน
นักวิจัยชุมชน ได้ความรู้และเทคนิคในการจัดกระบวนการ Facilitator ได้รับทราบผลที่เกิดข้ึนจาก

การวางแผนการทางานท่ีมีการวางแผนอย่างเป็นระบบ เพื่อการวางคนให้เหมาะสมกับงานที่ได้รับมอบหมาย
นักวจิ ยั ชมุ ชนได้พัฒนาตนเองในด้านทักษะ คดิ วเิ คราะห์ มภี าวะความเปน็ ผู้นาและทางานเป็นระบบมากยิ่งข้ึน
สามารถวางแผนการใช้จ่ายเงินในระดับครัวเรือนจากการทาบัญชีท่ีต่อเนื่องและ สามารถขยายผลองค์ความรู้
การทาบัญชีครัวเรือนไปยังครัวเรือนอื่นได้ รู้ถึงปัญหาการเกิดหน้ีสิน ท้ังด้านพฤติกรรมการใช้จ่ายผลจากการ
ประกอบอาชีพท่ีจะต้องมีความรู้ด้านอาชีพนั้นๆ โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดาเนิน
ชีวิต และการมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชนในการแกไ้ ขปญั หาการเงนิ ของชมุ ชน

มติ ชิ ุมชน
ชุมชนได้วิธีคิดแบบใหม่เพื่อให้ตนเองประสบความสาเร็จ ทั้งด้านการดาเนินชีวิต และการประกอบ
อาชีพ วิธีการปรับปรุงการบริหารงานของกองทุนที่เอื้อต่อคนรวม เน้นการการจัดทาบัญชีครัวเรือนมี
ความสาคัญเพ่ือนาขอ้ มูลไปวิเคราะหก์ ารบรหิ ารจดั การการเงินทกุ ครัวเรือน หาแนวทางในการแก้ไขปัญหาการ
ชาระหนใ้ี หก้ ับสมาชิกท่ไี ด้รับผลกระทบตอ่ การเป็นหนี้ การกาหนดฤดกู าล การสร้างเง่ือนไขในการชาระคืนเงิน

72

ต้น และดอกเบยี้ ให้แกส่ มาชิก ชมุ ชนได้โครงสร้างการบริหารจัดการกองทุนรูปแบบใหม่ ท่ีเหมาะสม เกื้อกูลกัน
ทง้ั ในมติ คิ รวั เรือน และมติ ิชมุ ชน ชุมชนสามารถพฒั นาตนเองใหเ้ ป็นชมุ ชนตน้ แบบในการบริหารจัดการการเงิน
ชุมชน โดยชุมชน
การเปล่ยี นแปลงที่เกิดขึน้

การเปลยี่ นแปลงของ ครู กศน.
ครูกศน.อาเภอภูกามยาวได้กระบวนการทางานและกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบมากข้ึน เกิดการ
เรียนรู้ในการจัดกระบวนการคิด วิเคราะห์อย่างเป็นระบบ เทคนิคการเข้าชุมชน สร้างปฏิสัมพันธ์กับชุมชน
ชุมชนให้ความไว้วางใจครู ความมั่นใจในการทางานกับชุมชน ได้ชุดเคร่ืองมือที่ใช้ในการสารวจข้อมูลชุมชนท่ี
สามารถนาไปใช้ให้เหมาะสมกับการจัดกิจกรรมการจัดการศึกษานอกระบบ ครูสามารถนากระบวนการ
ทางการวิจัยมาปรับใช้ในการจัดการเรียนการสอนแก่นักศึกษาและการทางาน กศน.สามารถเชื่องโยงองค์
ความรู้ และสร้างสงั คมแหง่ การเรยี นรู้กับชุมชนบ้านสนั ป่าส้าน ครูได้แนวทาง และองค์ความรู้เกี่ยวกับงานวิจัย
ไปขยายผลงานวิจัยในพื้นท่ีอืน่
การเปลีย่ นแปลงของชุมชน
ชมุ ชนให้การยอมรับทมี วจิ ัย ให้ความร่วมมือในการลงพนื้ ทใ่ี นการจัดทาเวทีแต่ละกิจกรรม ซึ่งแตกต่าง
จากการเข้าชุมชนในครัง้ แรกซึ่งชมุ ชนไมค่ ่อยให้ความร่วมมือ ไม่กล้าพูด ไม่กล้าแสดงความคิดเห็น หลังจากทีม
วิจัยได้เข้าพ้ืนที่บ่อยขึ้นและได้เอาเครื่องมือไปทากิจกรรมในแต่ละครั้ง ก็กล้าให้ข้อมูล ให้ความร่วมมือดีข้ึน
ยอมใหข้ ้อมลู กล้าทจ่ี ะเปิดเผยข้อมูลดา้ นรายรับ รายจา่ ยทเ่ี ปน็ จรงิ มีความรู้สกึ ไวเ้ นือ้ เช่อื ใจกับทีมวิจัย มองเห็น
คุณค่าของตนเอง คุณค่าต่องานวิจัยเพื่อท้องถ่ิน เกิดการเปล่ียนแปลงเชิงวิธีคิด และเห็นความสาคัญในการ
ทางานร่วมกบั ทมี วิจยั
ชุมชนมีข้อมูลเชิงสถิติในด้านการเงิน ในระดับครัวเรือน สามารถบริหารจัดการการเงินของชุมชน
ในการจัดการหน้ีสิน การจัดการเงินในครัวเรือน ได้ด้วยตนเอง สามารถพัฒนาตนเองให้เป็นชุมชนต้นแบบใน
ดา้ นการบรหิ ารจดั การการเงนิ ชุมชนได้
การเปลยี่ นแปลงของ กศน.อาเภอ/ผูบ้ ริหาร
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอภูกามยาว ได้พัฒนาบุคลากรให้มีความรู้
ความเข้าใจในกระบวนการวจิ ัย โดยอาศัยเครอ่ื งมือโครงการวจิ ัยเพอื่ ทอ้ งถ่ินโครงการการบริหารจัดการการเงิน
ชุมชนบ้านสันป่าส้าน หมู่ 12 ตาบลห้วยแก้ว อาเภอภูกามยาว จังหวัดพะเยา ในการพัฒนาครูท้ังด้านทักษะ
การคิดวิเคราะห์ และการเข้าชุมชน โดยนาเทคนิค กระบวนการวิจัยมาใช้ในการทางานควบคู่กันไปใน
ขณะเดียวกัน ผู้บริหารก็เป็นนักวิจัยร่วมกับครูไปด้วย ทาให้มีความเข้าใจในการทางานร่วมกับชุมชนมากข้ึน
ให้การสนับสนุน ข้อเสนอแนะ และหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาร่วมกับทีมวิจัย และมีการนา
กระบวนการวิจัยมาใช้ในการบริหารงาน เพ่ือให้งานบรรลุผลอย่างมีประสิทธิภาพตามรูปแบบการบริหารงาน
แบบ PDCA ไปในกระบวนการทางานทุกข้ันตอน จนเกิดเป็นวัฒนธรรมองค์กรในการทางานให้เป็นงาน
วชิ าการ ซ่งึ จะส่งผลตอ่ การจดั การศึกษาท่ีมีคุณภาพใหก้ ับผ้เู รยี นไดเ้ ปน็ อย่างดีและเปน็ ทย่ี อมรับของชุมชน

73

5.2 การอภปิ รายผล

ผลที่ได้จากการวิจัยการบริหารจัดการการเงินชุมชนโดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง บ้านสัน
ป้าสา้ น หมู่ท1่ี 2 ตาบลห้วยแก้ว อาเภอภูกามยาว จงั หวดั พะเยา สามารถอภิปรายผลได้ดงั น้ี

1. ด้านเงื่อนไขทเ่ี กย่ี วขอ้ งกับการบริหารจัดการการเงนิ ตง้ั แต่อดีตถึงปัจจุบัน พบว่า ข้อกาหนดหรือ
ข้อตกลงร่วมกันของคนในชมุ ชน ในการจดั ตั้งให้มีกองทุนชุมชนตงั้ แตอ่ ดีตจนถึงปัจจบุ นั เพ่ือช่วยเหลือ ส่งเสริม
สนับสนนุ สมาชิกในชมุ ชน ภายใตแ้ นวทางของการบริหารจัดการการเงินในแต่ละกองทุนตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน
โดยเอ้ือประโยชน์ให้สมาชิกสามารถใช้ประโยชน์จาก กองทุนเพื่อการลดค่าใช้จ่าย เพ่ิมรายได้ การออม หรือ
การประกอบอาชีพเสริม ในอดีตนั้นชุมชนมีข้อกาหนดในการรวมกลุ่ม โดยมีการจัดตั้งธนาคารข้าวเพื่อ
ช่วยเหลือสมาชิกให้มีข้าวไว้เพ่ือ อุปโภค บริโภค ซ่ึงมีการชาระคืนเป็นข้าวหลังจากมีการเก็บเก่ียวในฤดูถัดไป
หากประสบภัยพิบัติ สอดคล้อง จินตวีร์ เกษมสุข (2554) ได้ให้ความหมายของการมีส่วนร่วมของประชาชน
หมายถึง การท่ีประชาชนหรือชุมชนพัฒนาขีดความสามารถของตนเองในการจัดการและควบคุมการใช้
ทรัพยากรและปัจจัยการผลิตท่ีอยู่ในสังคมเพ่ือประโยชน์ต่อการดารงชีพทางเศรษฐกิจและสังคมและการ
ตัดสินใจต่าง ๆ และได้ได้สรุปข้ันตอนของการมีส่วนร่วมไว้ 4 ขั้นตอน ดังน้ี 1) การมีส่วนร่วมในการติด
การศึกษา และค้นคว้าหาปัญหาและสาเหตุของปัญหาตลอดจนความต้องการของชุมชน 2) การมีส่วนร่วมใน
การวางนโยบายหรือวางแผนโครงการ หรือกิจกรรมเพ่ือลดและแก้ปัญหา 3)มีส่านร่วมในการตัดสินใจการจัด
หรอื ปรบั ปรุงระบบการบริหารทรัพยากรอยา่ งมีประสทิ ธิภาพและปฏิบัตงิ านใหบ้ รรลเุ ป้าหมาย 4) มีส่วนร่วมใน
การควบคมุ ติดตามและประเมินผลการทางาน ปัจจุบันมีหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน มาส่งเสริมสนับสนุน
ทั้งด้านวัสดุ บุคลากรและงบประมาณเพิ่มมากข้ึน จึงเกิดเป็นกองทุนด้านการเงินต่างๆ เช่น กองทุนหมู่บ้าน
กลมุ่ ออมทรัพย์ กลุม่ ฌาปนกจิ กล่มุ สงเคราะหร์ าษฎรประจาหมู่บ้าน กล่มุ ปุ๋ย เปน็ ตน้

2. ดา้ นปัจจยั ท่เี กยี่ วข้องกบั การบรหิ ารจัดการการเงินต้ังแตอ่ ดีตถึงปจั จุบัน พบว่า การรวมกลุ่มของ
คนในชุมชนที่ส่งผลหรือมีอิทธิพลต่อการจัดตั้งกองทุนชุมชนต่างๆ รวมถึงการบริหารจัดการการเงินตั้งแต่อดีต
จนถึงปัจจุบัน ทั้งที่ชุมชนได้กาหนดข้ึนเองและท่ีได้รับการส่งเสริม สนับสนุนด้านงบประมาณ วัสดุอุปกรณ์
บุคลากร จากหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และภาคีเครือข่าย สอดคล้องกับแนวคิดของกรมการพัฒนาชุมชน
(2547) ได้บอกวัตถุประสงค์กองทุนหมู่บ้านท่ีต้องดาเนินการคือเป็นแหล่งเงินทุนหมุนเวียนในหมู่บ้านและ
ชุมชนเมอื งสาหรับการลงทุนเพื่อพัฒนาอาชีพ สร้างงาน สร้างรายได้ หรือบรรเทาเหตุฉุกเฉินและความจาเป็น
เร่งด่วน เป็นการเสริมสร้างกระบวนการพึ่งพาตนเองของชุมชนในการสร้างและพัฒนาความคิดริเร่ิมและเพื่อ
แก้ไขปัญหา เสริมสร้างศักยภาพและส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียงในชุมชน ซ่ึงชุมชนมีการจัดตั้งกองทุนต่างๆ
เพื่อเป็นการช่วยเหลือเกื้อกูลกันภายในชุมชน เช่น ด้านเงินทุนในการประกอบอาชีพ ด้านการสงเคราะห์
ฌาปนกิจศพ การส่งเสริมการออม การสงเคราะห์ช่วยเหลือยามเจ็บป่วย และด้านสาธารณูปโภคพ้ืนฐาน เช่น
มนี ้าสาหรับอุปโภค บริโภค มีจานวนกองทนุ ต้งั แต่เริม่ ต้นจนถงึ ปจั จุบัน จานวน 10 กองทนุ ซึ่งแตล่ ะกองทุนก็มี
เง่ือนไขท่ีแตกต่างกันเช่น บางกองทุนปล่อยให้กู้ บางกองทุนเป็นสวัสดิการ โดยมีวิธีการดาเนินการภายใต้
กิจกรรมที่ส่งเสริมสนับสนุนให้สมาชิกทาบัญชีครัวเรือน ให้มีการออม กองทุนมีเงินปันผลเฉลี่ยคืนให้สมาชิก
และส่งเสริมการประกอบอาชพี เสรมิ เป็นต้น

3.ดา้ นพฤติกรรมเกีย่ วข้องกบั การบรหิ ารจดั การการเงินต้ังแต่อดีตถึงปัจจุบัน พบว่า การแสดงออก
ของคนในชุมชนท้ังทางบวกและทางลบในระดับครัวเรือน ระดับชุมชนท่ีตอบสนองต่อการบริหารจัดการ
การเงินต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน หรือรูปแบบในการบริหารกองทุนชุมชนน้ัน ส่งผลให้คนในชุมชนเข้าร่วมเป็น

74

สมาชิกของกลุ่มต่างๆเพ่ิมมากข้ึน เพ่ือต้องการท่ีจะใช้สิทธิในการกู้ยืมเงิน และหวังผลประโยชน์จากเงินปันผล
เฉล่ียคนื ในแตล่ ะกองทุน ซ่ึงแตกต่างจากในอดีตท่ีผ่านมา เช่น ยืมข้าวไป ต้องเอามาคืนเป็นข้าว แต่พอกลไกนี้
มันหายไป และเปลี่ยนรูปแบบเป็นกองทุนกูย้ ืมในแบบต่างๆ บวกกับสภาพทางเศรษฐกิจของคนในชุมชนท่ีเป็น
หนี้สินจากหลายปัจจัย การกู้ยืม จึงเป็นเพียงพฤติกรรมของการบริหารจัดการการเงินในแต่ละครัวเรือนตาม
สิทธิของสมาชิกที่พึงได้ ไม่ได้เป็นเรื่องของชุมชนท่ีเน้นการช่วยเหลือเกื้อกูลเพียงอย่างเดียว กองทุนก็มีหน้าที่
เพยี งการเออื้ อานวยใหส้ มาชิกได้กู้เงนิ ไปใช้จา่ ย ซง่ึ กองทุนเองก็ไม่ได้มีแนวทางตรวจสอบว่าสมาชิกนาเงินไปใช้
จ่ายอย่างไร ดังนั้นพฤติกรรมของสมาชิกต่อความเข้าใจในระบบกองทุนชุมชนก็เปล่ียนไป พฤติกรรมของ
กองทนุ ท่ีทาหน้าที่บริหารก็เปลย่ี นไปซึ่งตา่ งจาก ศุภโชค ชุนอิ๋ว (2556) ท่ีให้ความสาคัญของกองทุนหมู่บ้านว่า
เป็นสิ่งที่แสดงออกถึงความรับผิดชอบต่อตนเอง ต่อกลุ่มและต่อชุมชน เป็นการแก้ไขให้มีวินัยทางการเงิน
คือการรจู้ ักการวางแผนจบั จ่ายใช้สอยนอกจากน้ียังเป็นการสร้างคนให้มีความเห็นอกเห็นใจซึ่งกันและกัน เป็น
การสรา้ งความไวว้ างใจซ่ึงกันและกันระหวา่ งหมู่สมาชกิ ซงึ่ ทาใหส้ ังคมมคี วามสงบสุข

แนวทางการบรหิ ารจัดการการเงินชุมชน โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง บ้านสันป่าส้าน
พบวา่ รูปแบบการบริหารการเงินในระดับครัวเรือน คือ ให้ครัวเรือนมีการน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี งไปประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตประจาวันส่งเสริมให้ครัวเรือนรู้จักพัฒนาตนเองให้สามารถบริหารจัดการการเงิน
ครัวเรอื น รกั ษาระดบั การใช้จ่ายของตน ไม่ใหเ้ ปน็ หน้ี "อยไู่ ดอ้ ยา่ งพอเพียง" ดังนี้

1. ครัวเรือนจัดทาบัญชีครัวเรือนเพื่อจดบันทึกรายรับ รายจ่ายประจาวันของครัวเรือนอย่างต่อเนื่อง
และนาข้อมูลมาวางแผนการใช้จ่ายเงินในอนาคตได้อย่างเหมาะสม ซ่ึงจะทาให้ตนเองและครอบครัวทราบ
รายรับ รายจ่าย หนี้สิน และเงินคงเหลือในแต่ละวันสอดคล้องกับงานวิจัยของ อเนก ชิตเกสร(2554)
ได้ทาการศึกษาเรื่อง “การจัดการรายจ่าย และเพ่ิมพูนรายได้เชิงบูรณาการตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงตาบล
ทา่ ตมุ้ อาเภอปา่ ซาง จงั หวัดลาพนู ” พบว่าการสร้างความตระหนักและการยอมรับถึงประโยชน์ของการบันทึก
บัญชีครัวเรือน การกาหนดแผนกิจกรรมเพื่อดาเนินการลดรายจ่ายตามข้อมูลจากการบันทึกบัญชีครัวเรือน
การดาเนนิ กิจกรรมตามแผนโดยการมสี ่วนร่วมของชุมชนมุ่งเน้นการใชท้ รพั ยากรและภมู ิปญั ญาท้องถิน่

2. ครัวเรือนมีเหตุผลในการใช้จ่ายเงินมากขึ้นคือ นาข้อมูลการใช้จ่ายเงินภายในครอบครัวมาจัด
เรียงลาดับความสาคัญของรายจ่าย และวางแผนการใช้จ่ายเงิน โดยพิจารณาแต่ละรายการในแต่ละวันมี
รายจ่ายใดท่ีมีความสาคัญมาก และรายจ่ายใดไม่จาเป็นให้ตัดออก เพ่ือให้การใช้จ่ายเงินภายในครอบครัวมี
พอใช้และเหลือเก็บสาหรับใช้จ่ายสิ่งที่จาเป็นในอนาคตและสอดคล้องกับ อัชญา ไพคานาม (2554)
ได้ทาการศึกษาเร่ือง “การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้จ่ายเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างย่ังยืนโดยการจัดทา
บัญชีครัวเรอื น กรณศี ึกษา ชุมชนตาบลหนองหารอาเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่” ที่เน้นการจัดทาบัญชีเป็น
การพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตของประชาชน

3. ครัวเรอื นมรี ายได้เพียงพอกบั รายจ่ายท่จี าเปน็ มอี าชีพเสรมิ หรอื หาทางลดรายจ่ายในครัวเรือน เช่น
ปลูกพชื ผักสวนครัว เลี้ยงไก่ไข่ เล้ียงปลา เพื่อบริโภคในครัวเรือนเพื่อช่วยลดค่าอาหาร เหลือก็จาหน่ายเพื่อให้
เกิดรายได้ และสอดคล้องกับ อัชญา ไพคานาม (2554) ได้ทาการศึกษาเร่ือง “การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการ
ใช้จ่ายเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างยั่งยืนโดยการจัดทาบัญชีครัวเรือน กรณีศึกษา ชุมชนตาบลหนองหาร
อาเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่” ทาให้ประชากรมีการปลูกผักสวนครัวไว้บริโภคเองซึ่งจะทาให้รายจ่าย
คา่ อาหารลดลงได้และจะทาใหป้ ระชากร มรี ายไดเ้ พม่ิ ขึน้

75

4. ครัวเรือนมีการแบ่งเงินไว้สาหรับเงินออม และเงินเหลือไว้ใช้จ่ายยามฉุกเฉินเป็นการออมเงินเพื่อ
อนาคตอันใกล้ ออมเพื่อใช้ในส่วนของการจ่ายหนี้สินในแต่ละเดือน ออมเพ่ือนาเงินที่ออมไปใช่จ่ายใน
ครอบครวั และออมเงินเพ่ือตอ้ งการซื้อส่ิงของ รวมทัง้ การออมเงินสารองเพอื่ จ่ายค่ารกั ษาตัวยามป่วยไข้

รูปแบบการบริหารการเงินในระดับชุมชน คือกองทุนด้านชุมชนปรับโครงสร้างการบริหารจัดการ
การเงินรูปแบบใหม่ ท่ีเหมาะสม เป็นที่พึ่งพา เก้ือกูลกันท้ังในมิติครัวเรือนและมิติชุมชน ให้อยู่ร่วมกันได้อย่าง
ยั่งยืนเป็นแหล่งเงินทุนด้านอาชีพให้กับชุมชน ดังคาพูดนายประเสริฐ รูปศรี ได้กล่าวว่า “กองทุนท่ีไม่ใช่เป็น
แหล่งหาเงินให้กับคนรวยท่ีมาซ้ือหุ้นเพ่ือหวังเงินปันผลจากดอกเบ้ียเงินกู้ที่ปล่อยกู้ให้กับคนจน” จึงได้น้อมนา
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระบรมมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ ที่พระราชทาน
พระราชดารัสแก่คณะบุคคลต่างๆ ท่ีเข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทถวายพระพรชัยมงคลเน่ืองในวโรกาสวัน
เฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต วันท่ี 4 ธันวาคม 2540 ความว่า
“เศรษฐกจิ พอเพียงแบบพอมพี อกิน แบบพอมีพอกินน้ันหมายความว่า อุ้มชู้ตนเองได้ ให้มีพอเพียงกับตัวเอง”
“พอมี พอกินก็แปลว่าเศรษฐกิจพอเพียง” (สุนทร กุลวัฒนวรพงศ์ ,2544) มาปรับใช้ซ่ึงสอดคล้องกับกรม
วิชาการ (2546) ได้กล่าวถึงความหมายของเศรษฐกิจว่า หมายถึง พอเพียงได้อย่างน้อย 7 ประการ ด้วยกัน
ซึ่งรวมถงึ ชุมชนเข้มแขง็ พอเพยี ง การรวมตัวกันเป็นชุมชนที่เข้มแข็งจะทาให้สามารถแก้ไขปัญหาต่างๆได้ เช่น
ปญั หาสังคม ปัญหาความยากจน หรือปญั หาสิง่ แวดลอ้ ม

กองทุนสามารถขยายผลองคค์ วามรู้และสร้างความตระหนกั ในการจัดทาบัญชีครัวเรือนให้กับชุมชน มี
ความยืดหยนุ่ ในการบรหิ ารจดั การ ปรบั โครงสร้างบริหารกองทุนรูปแบบใหม่ เช่น 1) การปล่อยกู้แบบใหม่โดย
ใชบ้ ญั ชีครวั เรอื น เป็นตัวกาหนดเงอื่ นไขในการพิจารณาวงเงินกู้และอตั ราดอกเบ้ีย 2) พิจารณาเงินกู้ตามสภาพ
ความเดือดรอ้ น 3) สมาชิกท่คี ืนเงนิ ต้นแล้วไมป่ ระสงค์จะกู้ต่อให้พิจารณาลดดอกเบี้ยลงจากเดิมอีก 0.5-1 %4)
ปรับลดอัตราดอกเบี้ยปกติลง จากเดิม 6 บาทต่อปี เป็นอัตราร้อยละ 5 บาทต่อปี 5)เปล่ียนแปลงการออมเงิน
กับสมาชิกเพื่อให้สมาชิกมีเงินออมมากข้ึน สามารถนาเงินที่ออมมาชาระหน้ีได้ 6) จัดสวัสดิการการช่วยเหลือ
ให้กับสมาชกิ เช่น กรณเี จบ็ ปว่ ยตอ้ งนอนโรงพยาบาล มีเงินชดเชยให้คืนละ 100 บาทสูงสุด 5 คืนต่อครั้ง ปีละ
ไม่เกิน 3 คร้ัง และมีการมอบทุนการศึกษาให้กับบุตรหลานสมาชิกท่ีเรียนดีแต่มีฐานะยากจนสอดคล้องกับ
งานวิจัยของบ้านสามขา ตาบลหัวเสือ อาเภอแม่ทะ จังหวัดลาปาง ในเรื่อง”รูปแบบการจัดการหนี้สิ้นเชิง
บูรณาการเพื่อความเข็มแขง็ ของชุมน พบวา่ กระบวนการท่ีจะทาให้คนในชุมชนตระหนักต่อปัญหาที่เกิดข้ึนใน
ชุมชนนั้น คือการที่ผู้นาต้องเป็นแบบอย่างต่อเน่ืองน้ันๆ ผู้นาในท่ีน้ีไม่ได้หมายถึงเพียงแค่ผู้ใหญ่บ้านแต่หมาย
รวมถงึ แกนนา กลุ่มคนท่ีเป็นแกนหลักในการขับเคล่ือนงานส่วนรวม สอดคล้องกับงานวิจัยนี้ในเร่ืองการมีนาย
ประเสริฐ รูปศรี และนายสราวทุ ธ งอนจตั ุรัส นักวจิ ัยชมุ ชนทเี่ ปน็ ผนู้ าให้มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการบริหาร
การเงนิ ในชุมชนขน้ึ

76

5.3. ขอ้ เสนอแนะ

5.3.1 ปญั หาและอุปสรรค
ระดบั บคุ คล
1. ครู กศน. เห็นว่า งานวิจัยเป็นเร่ืองที่ยาก ยังไม่เข้าใจในรูปแบบและกระบวนการทาวิจัยท้องถิ่น
ครบทุกขั้นตอน รวมถึงการปรับวิธีคิดท่ีชัดเจนอีกทั้งยังมีภาระงานงาน และหน้าท่ีรับผิดชอบของ
ครู กศน.มมี ากเกนิ ไปทาใหก้ ารเข้าชมุ ชนเปน็ ไปอย่างไม่สม่าเสมอมีการปรับเปล่ียนบทบาทหน้าท่ี
ของทีมวิจัยซึ่งบางคนไม่มีทักษะ และความถนัดในการจัดกระบวนการ ทาให้ไม่มีความเช่ือม่ันใน
การจดั กระบวนได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
2. ครูขาดความรู้ ความเข้าใจในการเขียนรายงานความก้าวหน้า และไม่มีทักษะในการจัด
กระบวนการในการการนามาซงึ่ ขอ้ มูลของชุมชน
3. ชุมชนยังไม่เข้าใจและไม่ให้ความสาคัญกับเครื่องมือในกระบวนการจัดกิจกรรม และบางคร้ังทีม
วจิ ยั ไม่ได้อธบิ ายความหมายและความสาคญั ของเครื่องมือทาให้ได้ข้อมูลไม่ครบถว้ น
4. ทีมวิจัยชุมชนบางท่านไม่กล้าแสดงความคิดเห็นในกระบวนการทาวิจัยได้เนื่องจากไม่เข้าใจใน
กระบวนการและข้ันตอนวิธีการทาวจิ ัยในชุมชน

5.3.2 ข้อเสนอแนะในมุมมองชมุ ชน/หน่วยงาน
1. ควรพฒั นาทมี วิจยั ทกุ คน ใหม้ ที ักษะในการจัดกระบวนการทุกบทบาท เช่น การเป็น Facilitator
(Fa) การเป็น Co-Fa การจดบันทึกข้อมูล เพราะทมี วจิ ัยในส่วนของครู กศน.มจี านวนจากัด
2. ทีมพ่ีเล้ียงควรทาหน้าที่พี่เล้ียงโครงการวิจัยในการเข้าร่วมกิจกรรมร่วมกับทีมวิจัยชุมชนอย่าง
สม่าเสมอและต่อเนอื่ ง เพื่อเพิม่ เตมิ การถอดบทเรียนทสี่ มบรู ณส์ ู่การเขียนรายงานการ
3. ควรให้ทมี นกั วิจัยทกุ คนจดั ทาบัญชรี ายรับรายจา่ ยของตนเองเพอ่ื เป็นตวั อย่างให้แก่ชมุ ชน
4. ควรมแี รงจงู ใจหรือรางวัลให้กับชมุ ชนในเร่ืองการทาบญั ชีครวั เรือนอยา่ งต่อเน่ือง
5. ควรมีการเผยแพร่งานวิจัยให้กับชุมชนข้างเคียงเพื่อเป็นการขยายความรู้และแนวคิดในการทา
วิจัยในการทาบญั ชคี รัวเรือนเพ่ือลดรายร่ายที่ไม่จาเป็นใหก้ บั ชมุ ชนต่อไป

5.3.3 ขอ้ เสนอแนะจากศนู ย์ประสานงานวิจัยเพ่ือท้องถน่ิ จังหวัดลาปาง
โครงการวจิ ัยแนวทางการบริหารจัดการการเงินชุมชน โดยยึดหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

บา้ นสันปา่ ส้าน หมู่ท่ี 12 อาเภอภกู ามยาว จงั หวดั พะเยา” (กศน.อ.ภูกามยาว) ที่มีรูปแบบในการค้นหาแนว
ทางการบริหารจัดการการเงนิ ชมุ ชนทมี่ คี วามเหมาะสม ตามแนวคดิ “กองทุนอยู่ได้ ชุมชนอยู่รอด” ภายใต้การ
นอ้ มนาหลกั ของปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง โดยดาเนนิ การปรับรูปแบบของกองทุนท่ีมีอยู่ในชุมชน ตามข้อมูลท่ี
ไดจ้ ากการทาวิจยั และนามาวเิ คราะห์เปน็ แนวทางใหม่ท่ีสอดคล้องกบั หลักการของกองทุนท่ีสามารถหนุนเสริม
ชุมชนได้ งานวิจัยสะท้อนถึงปัญหาพื้นฐานของประเทศ คือ เรื่องความอ่อนด้อยในการจัดการการเงินของ
ชาวบ้าน งานวิจัยช้ีให้เห็นว่าเร่ืองใหญ่ก็สามารถแก้ไขได้โดยการเรียนรู้ของชุมชนเองหากได้รับการสนับสนุน
ต่อเน่ือง จากปัญหาของกองทุนขนาดเล็กจานวน 10 กว่ากองทุนท่ีจัดตั้งขึ้นและไม่ยั่งยืน นาไปสู่การอธิบาย
ปัญหาความล้มเหลวของสนบั สนนุ การจัดตงั้ กองทนุ ของหนว่ ยงานภาครฐั ได้อย่างชดั เจน

จากงานวิจัยทาให้ได้ข้อสรุปว่า ความย่ังยืนของการบริหารจัดการกองทุนที่ประสบความสาเร็จไม่ใช่
ผลประกอบการของของกองทุนท่ีมีการปันผลกาไรให้กับสมาชิก แต่เป็นการยึดหลักของกองทุนที่จะเก้ือหนุน

77

ใหส้ มาชิกสามารถได้รับประโยชน์จากการบริหารจัดการการเงินในชุมชนของแต่ละกองทุนให้สามารถบรรเทา
สภาพคล่องทางการเงินของสมาชิกได้อย่างเข้าใจ โดยยึดหลักตามแนวทางของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
บทบาทของกองทุนปรับเปลี่ยนไปตามแนวทางของ 3 ห่วง 2 เง่ือนไข พอประมาณ ในทุกอย่าง ความพอดีไม่
มากหรือว่าน้อยจนเกินไปโดยต้องไม่เบียดเบียนตนเอง มีเหตุผล ในการตัดสินใจเก่ียวกับระดับของความ
พอเพียงนนั้ จะตอ้ งเปน็ ไปอย่างมเี หตุผลโดยพจิ ารณาจากเหตปุ จั จัยท่ีเกี่ยวข้อง ตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดว่าจะ
เกิดขึ้นจากการกระทาน้ันๆ อย่างรอบคอบ มีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวเอง หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับ
ผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านการต่างๆ ท่ีจะเกิดข้ึนโดยคานึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ
ทีค่ าดวา่ จะเกดิ ขน้ึ ในอนาคตท้งั ใกลแ้ ละไกล ทาให้กองทุนฯ บ้านสันป่าส้าน ปรับแนวทางในการบริหารจัดการ
ใหม่โดย 1) การปลอ่ ยกู้แบบใหมโ่ ดยใชบ้ ัญชีครัวเรอื น เปน็ ตัวกาหนดเงื่อนไขในการพิจารณาวงเงินกู้และอัตรา
ดอกเบ้ยี 2) พิจารณาเงนิ กตู้ ามสภาพความเดือดร้อน 3) สมาชิกท่ีคืนเงินต้นแล้วไม่ประสงค์จะกู้ต่อให้พิจารณา
ลดดอกเบ้ียลงจากเดิมอีก 0.5-1% 4) ปรับลดอัตราดอกเบ้ียปกติลง จากเดิม 6 บาทต่อปี เป็นอัตราร้อยละ 5
บาทต่อปี 5) เปล่ยี นแปลงการออมเงนิ กบั สมาชิกเพ่อื ใหส้ มาชิกมเี งนิ ออมมากข้ึน สามารถนาเงินท่ีออมมาชาระ
หนีไ้ ด้ 6)จดั สวสั ดิการการชว่ ยเหลือให้กับสมาชิก เช่น กรณีเจ็บป่วยตอ้ งนอนโรงพยาบาล มีเงินชดเชยให้คืนละ
100 บาทสูงสุด 5 คืนต่อคร้ัง ปีละไม่เกิน 3 ครั้ง และมีการมอบทุนการศึกษาให้กับบุตรหลานสมาชิกท่ีเรียนดี
แต่มีฐานะยากจน ทั้งน้ี กองทุนปรับรูปแบบโดยอาศัย เงื่อนไขของความรู้ มีความรอบรู้เก่ียวกับข้อมูลและ
ความรู้ทางวชิ าการต่างๆท่ีเกี่ยวข้องอย่างรอบด้านเพื่อใช้ในการประกอบการพิจารณาการช่วยเหลือแก่สมาชิก
และมีความรอบคอบท่ีจะนาข้อมูลความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เช่ือมโยงกันเพื่อประกอบการวางแผน สร้าง
กตกิ า หรือ กาหนดแนวทางความระมดั ระวงั เง่ือนไขที่ 2 ของคณุ ธรรม มีความตระหนักในคุณธรรม มีความ
ซ่ือสัตย์สุจริต อดทน ใช้สติปัญญาประกอบกับความรู้โดยตระหนักถึงเป้าหมายสาคัญของกองทุนชุมชนที่
สามารถเป็นแหล่งเงินทุนหมนุ เวยี นสาหรับการลงทุน เพ่ือพัฒนาอาชีพ สร้างงาน สร้างรายได้ หรือ เพ่ิมรายได้
ลดรายจ่าย และบรรเทาเหตุฉุกเฉิน และจาเปน็ เรง่ ดว่ น โดยเน้นให้เกิดการเสริมสร้างกระบวนการพ่ึงพาตัวเอง
ของคนในชุมเพ่ือสร้างการเรียนรู้และเสริมสร้างศักยภาพและส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง จนนาไปสู่การ
เสรมิ สร้างภูมคิ มุ้ กันทางเศรษฐกิจและสงั คมในอนาคต

มุมมองของการขับเคล่ือนงานวิจัยทางการศึกษาในอนาคตของ กศน.ที่น่าสนใจคือ องค์ความรู้และ
กระบวนการหนุนเสริมใหก้ ารศกึ ษาท้ังนอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั โดยการขับเคล่ือนของ กศน. โดย
ใช้งานวิจัยเพื่อท้องถ่ินเป็นเคร่ืองมือยังไม่ได้ถูกถอดบทเรียน และขยายผลจากตัวอย่างท่ีเกิดข้ึนสู่การปรับใช้
ระบบการศึกษา เพื่อสร้างนวัตกรรมที่เป็น “วิชาใหม่ที่สอดคล้องกับชีวิตและใช้ประโยชน์ได้จริง” “การ
กาหนดรูปแบบการศึกษาที่เช่ือมโยงเหมาะสมกับคนในชุมชนท้องถิ่น” หรือ “วิธีการหนุนเสริมความรู้วิชาการ
ที่เหมาะสมกับท้องถิ่น” แต่ในขณะเดียวกันกลับพบความชัดเจนของการเปล่ียนแปลงของการเรียนรู้แบบ
Active Learning ในกลุ่มของนักวิจัยชาวบ้านในเร่ืองของการเปลี่ยนแปลงของวิธีคิด วิธีการเรียนรู้ เกิดความ
กระตือรือร้นและการแสวงหาความรู้ใหม่อย่างไม่หยุดน่ิง แม้จุดเริ่มต้นจะถูกกระตุ้นเพื่อให้เกิดการเรียนรู้จาก
กศน.หรือคนภายนอกก็ตาม ท้ังนี้วิเคราะห์ได้จากกระบวนการของการใช้ประเด็นวิจัยที่สอดคล้องกับ
สถานการณ์ปัญหาที่เป็นแรงจูงใจในการสร้างให้เกิดการเรียนรู้ในประเด็นเหล่าน้ัน กลับพบว่า การศึกษาตาม
อัธยาศัย (ตามที่ชุมชนสนใจ) กลับทาให้ชุมชนเกิดการเรียนรู้ต่อเน่ืองตลอดเวลาซ่ึงเป็นพ้ืนฐานสาคัญในการ
พัฒนามนุษย์ให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต งานวิจัยเพื่อท้องถ่ินจึงถือเป็นเคร่ืองมือสาคัญที่จะทาให้
กลุ่มเป้าหมายทางการศกึ ษาเกดิ การเรียนรู้ได้อย่างแท้จริง เพราะไม่มีหลักสูตรตายตัว ไม่จากัดเนื้อหา (เน้ือหา
เกดิ จากการต้ังคาถามรว่ มกนั และได้ข้อสรปุ ) ไมจ่ ากดั วธิ ีการสอน สร้างการเรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติ (Active

78

Learning) และเกิดองค์ความรู้ใหม่เพ่ือใช้อธิบายปรากฏการณ์เหล่าน้ันร่วมกัน นาไปสู่การเรียนรู้สิ่งใหม่ไม่จบ
ส้ิน ซึ่งจะเกิดขึ้นได้กับบุคคลท่ีได้ลงมือปฏิบัติ เกิดคนรู้ในประเด็นท่ีอยากเรียนรู้ (นวัตกร) เกิดการยกระดับ
ความรู้สู่การคล่ีคลายข้อสงสัย (นวัตกรรม) จากความสนใจเป็นพ้ืนฐานที่เป็นตัวกระตุ้นหรือแรงจูงใจในการ
แสวงหาทางออก

ความท้าทายในการขับเคลื่อนให้เกิดงานวิจัยเพ่ือท้องถิ่นของการศึกษานอกระบบและตามอัธยาศัยท่ี
นาไปสกู่ ารสรา้ ง “การเปลย่ี นแปลงระบบเพอ่ื การปฏิรูป” ท่ีเป็นรูปธรรมชัดเจนจึงจาเป็นต้องอาศัยการกระตุ้น
หนุนเสริมและสร้างการเรียนรู้ร่วมกันผ่านตัวอย่างของ “ความรู้” “พ้ืนที่รูปธรรม” ที่เกิดขึ้นของงานวิจัยเพ่ือ
ท้องถ่ิน ถอดบทเรียนท้ังในเชิงกระบวนการ เนื้อหาสาระที่สอดคล้องกับกลุ่มเป้าหมาย ผลักดันระบบให้เกิด
การเปล่ยี นแปลงระบบโดยใช้รูปธรรมพ้ืนที่เป็นตัวอธิบาย สร้างกาลังใจ และสนับสนุนเพื่อให้เกิดความเช่ือมั่น
ในกระบวนการเรียนรู้ ซ่ึงอาจจะทาให้เห็นแนวทางในการขับเคลื่อนให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในระบบ โดย
กาหนดเปา้ หมายเพอ่ื ขับเคลื่อนสู่องคก์ รแห่งการเรยี นร้ใู นร่วมกนั ในอนาคต

79

บรรณานุกรม

กาญจนา ทองทว่ั . (2555). เคร่อื งมือการศกึ ษาบรบิ ทชมุ ชน ในงานวิจยั เพอ่ื ท้องถิน่ .
สบื คน้ จาก www.ubu.ac.th/web/files_up/08f2015112820164196.pdf .(8 พฤศจิกายน 2559)

กรมชลประทาน. (2552). การบรหิ ารจัดการชลประทานโดยเกษตรกรมสี ว่ นรว่ ม. กรงุ เทพฯ : กรม
ชลประทาน

กรมวชิ าการ.(2542). การจดั สาระการเรยี นรูก้ ลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมชน้ั
มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1-6 ตามหลกั สตู รการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศักราช 2544. กรงุ เทพฯ :กรมวชิ าการ

กลมุ่ พฒั นากรอบแนวคิดทางทฤษฏีเศรษฐศาสตร.์ (2546). กรอบแนวคิดทางทฤษฏีเศรษฐศาสตร์ปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพียง. สืบค้นจาก www.sufficiencyeconomy.org08/11/59

โกวทิ วรพิพัฒน์ (2513) “คดิ เปน็ ” วา่ “บคุ คลท่ีคิดเปน็ จะสามารถเผชญิ ปัญหาในชีวิตประจาวันได้อย่างมี
ระบบ”.สบื ค้นจาก http://www.vcharkarn.com/vblog/44899 (13 ธนั วาคม 2560)

จรวยพร ธรณนิ ทร์ (2550) .การศกึ ษานอกระบบโรงเรียน (Non-formal Education)
สบื คน้ จาก https://panchalee.wordpress.com/2009/05/17/non-formaleducation/(13
ธนั วาคม 2560) (เพิ่มเติม)

จานง จันทรห์ อม. (2552).“รูปแบบการจดั การหนี้สินเชิงบรู ณาการเพอื่ ความเข้มแข็งของชุมชน บ้านสามขา
ตาบลหัวเสือ อาเภอแมท่ ะ จงั หวดั ลาปาง” สืบคน้ จาก
http://elibrary.trf.or.th/project_contentTRFN.asp?PJID=RDG44N0019 (13 ธนั วาคม 2560)

จินตวีร์ เกษมศขุ . (2554). เอกสารประกอบการเรยี นรู้ด้วยตนเองการสรา้ งกระบวนการมีส่วนร่วม.
กรงุ เทพมหานคร : มหาวิทยาลยั ศรปี ทุม

จนิ ตวีร์ เกษมศุข. (2554). การสอื่ สารกับการเปลย่ี นแปลงของสงั คม. กรงุ เทพฯ : สานกั พมิ พจ์ ฬุ าลงกรณ์
มหาวิทยาลยั

ชัยยศ อมิ่ สุวรรณ์.(2550). คิดเป็นคือคิดพอเพยี ง. กรุงเทพฯ : วารสาร กศน.เพื่อการเรยี นรู้
ชุมพล หนสู ง และคณะ. (2544). ปรชั ญาคดิ เปน็ . (หนังสอื รวบรวม คาบรรยายและบทสัมภาษณ์ ดร.โกวิท

วรพพิ ัฒน์. 2544. ในโอกาสต่างๆ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์อักษรไทย
ดร.ถวลิ วดี บุรีกลุ (2554) การมสี ่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการนโยบายสาธารณะ.2552 พลวัตการ

มสี ว่ นร่วม: สานกั วิจัยและพฒั นา สถาบันพระปกเกลา้
ถวิลวดี บรุ กี ลุ และคณะ. (2552). คู่มอื การบริหารราชการแบบมีสว่ นร่วมของประชาชน. กรุงเทพฯ: เอ.พี.

กราฟิกดไี ซน์และการพิมพ์
ทองอยู่ แก้วไทรฮะ. (2550). คิดเปน็ : เพื่อนเรยี นรู้สู่อนาคต วารสาร กศน.เพือ่ นเรยี นรู้ มีนาคม 2550,9-11
นคิ ม มสู ิกะคามะ. (2542). ทฤษฎใี หมใ่ นหลวง : ชีวติ ท่ีพอเพียง. กรุงเทพฯ : ร่วมด้วยช่วยกนั

80

ประเวศ วะสี. (2542). เศรษฐกิจพอเพียงและแนวทางประชาสังคม : แนวทางพลกิ ฟน้ื เศรษฐกิจสงั คม.
กรงุ เทพฯ : หมอชาวบา้ น

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประคอง สุคนธจิตต์ และคณะ (2558). รายงานวจิ ัยเพื่อท้องถิ่นฉบบั สมบูรณ: โครงการ
แนวทางการบริหารจัดการสวัสดิการเครอื ข่าย องค์กรชุมชนเขตบางเขน

พรทวี ยอดมงคล. (2555). เครือ่ งมือวิเคราะห์ชมุ ชนแบบมีสว่ นรว่ ม.
สืบคน้ จากhttp://old.scbfoundation.com/projects/knowledge.php?proj =24&sub=
&unit=&id=266(8 พฤศจิกายน 2559).

พระมหาฉันทยา คนเจน. (2555). บทบาทพระสงฆต์ ่อการพฒั นาทรัพยากรมนุษย์ผา่ นกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ
ชมุ ชน: กรณศี ึกษาพระอาจารย์สบุ นิ ปณโี ต. ปริญญานพิ นธ์ ศ.ม.(เศรษฐศาสตร์การพฒั นามนษุ ย์).
กรุงเทพฯ: บัณฑติ วิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒ.คณะกรรมการควบคุม: รองศาสตราจารย์
ดร.เรณู สขุ ารมณ,์ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วรรณา ประยกุ ต์วงศ์

มยรุ ฉตั ร ธรรมวเิ ศษ. (2555). การสนทนากลมุ่ . สบื ค้นจาก https://www.gotoknow.org/posts/198852
เขา้ ถึงเมื่อ 8 พฤศจิกายน 2559.

ราพา ชนะพลชยั . (2555). แผนชีวิตพิชิตความจนบนความพอเพยี ง. สบื คน้ จาก
http://kmcddccs.blogspot.com/2012/06/blog-post_21.html (8 พฤศจิกายน 2559).

เรอื งวทิ ย์ เกษสุวรรณ. (2555). โลกาภวิ ตั น์กบั ท้องถ่นิ . กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั บพธิ การพมิ พ์ จากดั
สรวชิ ญ์ ทิพรัตนเ์ ดช. (2555). การพฒั นาการมีส่วนรว่ มและการสร้างความเข้มแขง็ องค์กรผใู้ ชน้ ้าในการ

บริหารจดั การชลประทานโครงการสง่ น้าและบารุงรักษาแม่แฝก-แมง่ ัด อาเภอสันทราย จังหวดั
เชยี งใหม่. ปรญิ ญาศลิ ปศาสตรดุษฏีบณั ฑิต สาขาวชิ าการวางแผนและพัฒนาชนบท : มหาวิทยาลัย
แม่โจ้
สนุ ทร กลุ วัฒนาวรพงศ.์ (2544). ตามรอยพระราชดาริ เศรษฐกจิ พอเพยี ง-ทฤษฏีใหม่. กรงุ เทพฯ:ชมรมเดก็
สเุ มธ ตนั ตเิ วชกลุ . (2541). การดาเนินชวี ติ ในระบบเศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดาร.ิ มติชน
รายสัดาห์ ฉบับท่ี ๕ ธันวาคม (5 ธันวาคม 2541). กรุงเทพฯ : มติชน
สุรเกียรติ เสถยี รไทย. (2542). ทฤษฏีใหมใ่ นหลวง : ชีวติ ทีพ่ อเพยี ง. กรุงเทพฯ : รว่ มด้วยชว่ ยกนั
สานักงานคณะกรรมการพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ. (2548). เศรษฐกิจพอเพยี ง คอื อะไร.
พมิ พค์ รง้ั ท่ี 2 กรุงเทพฯ : คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกจิ พอเพียงสานักงานคณะกรรมการ
พฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ สืบค้นจาก www.sufficiency economy.org 08/11/2559
สานกั วเิ คราะห์ผลกระทบกบั สงิ่ แวดล้อม. (2549). แนวทางการมสี ่วนร่วมของประชาชนและการประเมนิ ผล
กระทบ สิ่งแวดล้อมทางสังคมในกระบวนการวเิ คราะหผ์ ลกระทบส่ิงแวดลอ้ ม. สานกั งานนโยบายและ
แผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม
อัญชลี ธรรมะวธิ ีกลุ (2553).การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ในปัจจบุ นั .
สบื ค้นจาก https://panchalee.wordpress.com/2010/12/21/nfe_ac1/ (13 ธันวาคม 2560)

81

อัญชลี ธรรมะวธิ ีกลุ (2553).คิดเปน็ (Khit – pen)
สบื คน้ จาก https://panchalee.wordpress.com/2009/05/17/khit-pen/ (13 ธนั วาคม 2560)
(เพ่มิ เติม)

อุ่นตา นพคุณ. (2528). แนวคดิ ทางการศึกษานอกระบบโรงเรียนและการพัฒนาชุมชนเรื่อง คิดเปน็ .
กรุงเทพฯ : กรุงสยามการพมิ พ์

อาพล เสนาณรงค์. (2542). “ทิศทางการพฒั นาชนบทตามแนวเศรษฐกิจพอเพยี ง” ในเอกสาร การประชมุ
วชิ าการของสถาบันวชิ าการของสถาบนั วิจัยพัฒนามหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ .ขอนแก่น,มกราคม

ฤทธิไกร ไชยงาม. 2556. เคร่ืองมือจัดการความรู้.สบื ค้นจาก m-instruments.blogspot.com /2013/08/
timeline.html (8 พฤศจิกายน 2559).

82

ภาคผนวก

82

ภาคผนวก ก. ภาพกจิ กรรม
กิจกรรมท่ี 1 เวทีทบทวนส่งิ ท่ไี ด้รับในระยะที่ 1 และวางแผนทางานวจิ ยั กบั ทีมวจิ ยั ในระยะท่ี 2
วนั ที่ 2 มีนาคม 2560 กศน.อาเภอภูกามยาว ณ ห้องประชุมอาเภอภกู ามยาว หมู่ที่ 17 ตาบลห้วยแก้ว อาเภอ
ภกู ามยาว จงั หวดั พะเยา ทมี นักวิจัย 16 คน ทีป่ รกึ ษา 2 คน รวมท้ังหมด 18 คน เคร่ืองมือที่ใช้ ประชุมกลุ่ม
ย่อย Mind mapping

83

กจิ กรรมท่ี 2 เวทีทดลองการปฏบิ ตั ิการการจัดกิจกรรมในระดบั ครัวเรือนและระดับชุมชนตามประเดน็
ที่ได้ในระยะที่ 1 ( ครั้งท่ี 1) วันท่ี 7 มีนาคม 2560 ณ หมู่บ้านสันป่าส้าน หมู่ที่ 12 ตาบลห้วยแก้ว อาเภอภู
กามยาว จังหวัดพะเยา ทีมนกั วจิ ยั 16 คน ทีป่ รกึ ษา 2 คน ชุมชน 22 คน รวมท้ังหมดมี 40 คน

84

กิจกรรมที่ 3 เวทีการหาแนวทางในการบริหารจัดการกองทุนชุมชนบ้านสันป่าส้าน เครื่องมือ/กระบวนการ
SWOT Analysis Mind Mapping วันที่ 23 มีนาคม 2560 ณ กศน.อาเภอภูกามยาว ตาบลห้วยแก้ว
อาเภอภูกามยาว จงั หวัดพะเยา ทมี นกั วิจัย รวมจานวน 16 คน

85

กิจกรรมท่ี 5 อบรมการปลูกมะนาวในบ่อซีเมนต์แบบครบวงจร (กิจกรรมเสริม ไม่มีในแผน) เครื่องมือ/
กระบวนการ ต้นมะนาว การเตรียมดิน วัชพืช วันท่ี 7 พฤษภาคม 2560 ณ ศาลาอเนกประสงค์บ้านสัน
ป่าส้าน หมู่ 12 ตาบลห้วยแก้ว อาเภอกามยาว จังหวัดพะเยา ทีมนักวิจัย 16 คน ทีมชุมชน 22 คน
วิทยากรผู้ให้ความรู้ 1 คน รวมทั้งหมด 39 คน

86

กิจกรรมท่ี 6 ศึกษาดงู านแนวทางบรหิ ารจดั การ การเงนิ ชมุ ชนบา้ นสามขา จ.ลาปาง
วนั ที่ 23 พฤษภาคม 2560 สถานท่ี บา้ นสามขา อาเภอแมท่ ะ จงั หวดั ลาปาง ทีมนกั วิจัย 16 คน
ชุมชน 22 คน รวมจานวน 38 คน

87

กิจกรรมท่ี 7 ขยายผลการปลูกมะนาวในบ่อซีเมนต์ (กิจรรมเสริม ท่ีไม่อยู่ในแผน) เคร่ืองมือ/กระบวนการ
วันท่ี28 พฤษภาคม 2560 ณ ศาลาอเนกประสงค์บ้านสันป่าส้าน หมู่12 ตาบลห้วยแก้ว
อาเภอภูกามยาว จังหวัดพะเยา มีทีมนักวิจัย 16 คน ทีมชุมชน 22 คน วิทยากรผู้ให้ความรู้ 1 คน รวม
ท้ังหมด 39 คน

88

กิจกรรมที่ 8 การทาสบู่สมุนไพร (กิจรรมเสริม ที่ไม่อยู่ในแผน)เคร่ืองมือ/กระบวนการ วันท่ี 18 มิถุนายน
2560 ณ ศาลาอเนกประสงค์บ้านสันป่าส้าน หมู่12 ตาบลห้วยแก้ว อาเภอภูกามยาว จังหวัดพะเยา
มีทมี นกั วจิ ัย 16 คนทีมชุมชน 22 คนวิทยากรผใู้ ห้ความรู้ 1 คน รวมทัง้ หมด 39 คน

89

กิจกรรมท่ี 9 เวทีเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ รากฐานงานวิจัย สู่การเรียนรู้ตลอดชีวิต (กิจรรมเสริม ที่ไม่อยู่ใน

แผน)เครื่องมือ/กระบวนการ Mind Mapping / ประชุมกลุ่มย่อย วันท่ี 6 กันยายน 2560 ณ

ห้องประชุมสานักงาน กศน.จังหวัดพะเยา มีทีมวิจัย 16 คน ทีมชุมชน 22 คน นักศึกษาประชาชนทั่วไป 32

คน รวมจานวน 70 คน

90


Click to View FlipBook Version