ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ หรับนักเรียน) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 45 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 แต่ละส่วน ควรเป็นอย่างไร 3. จงหาผลลบของ -2 3 5 ⎛ ⎝ ⎜ ⎜ ⎜ ⎜⎜ ⎞ ⎠ ⎟ ⎟ ⎟ ⎟ ⎟ − - 9 10 ⎛ ⎝ ⎜ ⎜ ⎜ ⎜⎜ ⎞ ⎠ ⎟ ⎟ ⎟ ⎟ ⎟ วิธีทำ� ตอบ 4. จงหาผลลบของ - 5 3 − 11 4 วิธีทำ� ตอบ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ หรับนักเรียน) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 46 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 แต่ละส่วน ควรเป็นอย่างไร ใบกิจกรรมที่ 1 : น้อยสุด จุดคว้าชัย แต้มบนหน้าของลูกเต๋าลูกที่ 1 แต้มบนหน้าของลูกเต๋าลูกที่ 2 ผลบวกที่ได้ ชื่อ–สกุล ชั้น ม.1/ เลขที่ ชื่อ–สกุล ชั้น ม.1/ เลขที่ ชื่อ–สกุล ชั้น ม.1/ เลขที่ ชื่อ–สกุล ชั้น ม.1/ เลขที่ คำ�ชี้แจง ให้นักเรียนทอดลูกเต๋า 2 ลูกพร้อมกัน 1 ครั้ง แล้วบันทึกผลที่ได้ของตนเองลงในตารางให้สมบูรณ์ พร้อมทั้งหาผลบวกของแต้มบนหน้าลูกเต๋าทั้งคู่ที่หงายขึ้น
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ หรับนักเรียน) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 47 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 แต่ละส่วน ควรเป็นอย่างไร แบบฝึกหัด 6 : การคูณเศษส่วน เมื่อ a b และ c d เป็นเศษส่วนใด ๆ a b × c d = a × c b × d คำ�ชี้แจง ให้นักเรียนแสดงวิธีการหาผลคูณในแต่ละข้อต่อไปนี้ 1. จงหาผลคูณของ - 1 2 ⎛ ⎝ ⎜ ⎜ ⎜ ⎜⎜ ⎞ ⎠ ⎟ ⎟ ⎟ ⎟ ⎟ × 5 12 วิธีทำ� ตอบ 2. จงหาผลคูณของ - 3 4 × - 8 9 วิธีทำ� ตอบ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ หรับนักเรียน) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 48 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 แต่ละส่วน ควรเป็นอย่างไร 3. จงหาผลคูณของ -4 1 2 ⎛ ⎝ ⎜ ⎜ ⎜ ⎜⎜ ⎞ ⎠ ⎟ ⎟ ⎟ ⎟ ⎟ × - 2 3 ⎛ ⎝ ⎜ ⎜ ⎜ ⎜⎜ ⎞ ⎠ ⎟ ⎟ ⎟ ⎟ ⎟ วิธีทำ� ตอบ 4. จงหาผลคูณของ -22 3 × 13 4 วิธีทำ� ตอบ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ หรับนักเรียน) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 49 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 แต่ละส่วน ควรเป็นอย่างไร แบบฝึกหัด 7 : สมบัติของการคูณเศษส่วน ตอนที่ 1 คำ�ชี้แจง ให้นักเรียนเติมจำ�นวนลงใน แล้วทำ�ให้ประโยคต่อไปนี้เป็นจริง 1. 8 15 × = - 15 8 × 8 15 2. × 9 10 = 9 10 3. - 5 7 ⎛ ⎝ ⎜ ⎜ ⎜ ⎜⎜ ⎞ ⎠ ⎟ ⎟ ⎟ ⎟ ⎟ × 2 9 × 2 9 = - 5 7 ⎛ ⎝ ⎜ ⎜ ⎜ ⎜⎜ ⎞ ⎠ ⎟ ⎟ ⎟ ⎟ ⎟ × × 2 9 4. - 9 13 × 4 11 + - 11 4 ⎛ ⎝ ⎜ ⎜ ⎜ ⎜⎜ ⎞ ⎠ ⎟ ⎟ ⎟ ⎟ ⎟ = × 4 11 + × - 11 4 ⎛ ⎝ ⎜ ⎜ ⎜ ⎜⎜ ⎞ ⎠ ⎟ ⎟ ⎟ ⎟ ⎟ 5. × -1 3 5 ⎛ ⎝ ⎜ ⎜ ⎜ ⎜⎜ ⎞ ⎠ ⎟ ⎟ ⎟ ⎟ ⎟ = 0 เมื่อ a, b และ c เป็นเศษส่วนใด ๆ สมบัติการสลับที่ a × b = b × a สมบัติการคูณด้วยศูนย์ a × 0 = 0 = 0 × a สมบัติการแจกแจง a × (b + c) = (a × b) + (a × c) สมบัติการเปลี่ยนหมู่ (a × b) × c = a × (b × c) สมบัติการคูณด้วยหนึ่ง a × 1 = a = 1 × a
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ หรับนักเรียน) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 50 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 แต่ละส่วน ควรเป็นอย่างไร คำ�ชี้แจง ให้นักเรียนใช้สมบัติที่เกี่ยวข้องกับการคูณเศษส่วนในการแสดงวิธีการหาผลลัพธ์ต่อไปนี้ 1. 7 12 × (-4) + (-4) × 11 12 วิธีทำ� ตอบ 2. 5 9 × (-6) + (-6) × 1 9 วิธีทำ� ตอนที่ 2 ตอบ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ หรับนักเรียน) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 51 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 แต่ละส่วน ควรเป็นอย่างไร แบบฝึกหัด 8 : การหารเศษส่วน คำ�ชี้แจง ให้นักเรียนแสดงวิธีการหาผลหารในแต่ละข้อต่อไปนี้ 1. จงหาผลหารของ 2 5 ÷ - 3 7 ⎛ ⎝ ⎜ ⎜ ⎜ ⎜⎜ ⎞ ⎠ ⎟ ⎟ ⎟ ⎟ ⎟ วิธีทำ� ตอบ 2. จงหาผลหารของ 9 16 ÷ - 3 4 ⎛ ⎝ ⎜ ⎜ ⎜ ⎜⎜ ⎞ ⎠ ⎟ ⎟ ⎟ ⎟ ⎟ วิธีทำ� ตอบ เมื่อ a b และ c d เป็นเศษส่วนใด ๆ โดยที่ c ≠ 0 a b ÷ c d = a b × d c 9 16 - 4 9
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ หรับนักเรียน) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 52 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 แต่ละส่วน ควรเป็นอย่างไร 3. จงหาผลหารของ - 7 8 ÷ 9 16 วิธีทำ� ตอบ 4. จงหาผลหารของ 3 14 ÷ - 15 14 ÷ -1 1 7 วิธีทำ� ตอบ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ หรับนักเรียน) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 53 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 แต่ละส่วน ควรเป็นอย่างไร ใบกิจกรรม 2 : ผลลัพธ์สร้างภาพ ข้อที่ โจทย์ คำ�ตอบ สี 0 ข้อที่ โจทย์ คำ�ตอบ สี 1 2 3 4 5 6 7 8 หมายความว่า ให้ระบายสีทุกช่องที่เป็น - 1 7 ด้วยสีแดง - 2 7 ⎛ ⎝ ⎜ ⎜ ⎜ ⎜⎜ ⎞ ⎠ ⎟ ⎟ ⎟ ⎟ ⎟ + 1 7 - 2 3 ⎛ ⎝ ⎜ ⎜ ⎜ ⎜⎜ ⎞ ⎠ ⎟ ⎟ ⎟ ⎟ ⎟ + - 1 3 ⎛ ⎝ ⎜ ⎜ ⎜ ⎜⎜ ⎞ ⎠ ⎟ ⎟ ⎟ ⎟ ⎟ - 2 5 ⎛ ⎝ ⎜ ⎜ ⎜ ⎜⎜ ⎞ ⎠ ⎟ ⎟ ⎟ ⎟ ⎟ − 1 10 - 5 7 ⎛ ⎝ ⎜ ⎜ ⎜ ⎜⎜ ⎞ ⎠ ⎟ ⎟ ⎟ ⎟ ⎟ × - 3 4 ⎛ ⎝ ⎜ ⎜ ⎜ ⎜⎜ ⎞ ⎠ ⎟ ⎟ ⎟ ⎟ ⎟ 1 7 ÷ - 2 5 ⎛ ⎝ ⎜ ⎜ ⎜ ⎜⎜ ⎞ ⎠ ⎟ ⎟ ⎟ ⎟ ⎟ - 7 10 ⎛ ⎝ ⎜ ⎜ ⎜ ⎜⎜ ⎞ ⎠ ⎟ ⎟ ⎟ ⎟ ⎟ + 8 5 − 9 10 3 4 - 1 2 ⎛ ⎝ ⎜ ⎜ ⎜ ⎜⎜ ⎞ ⎠ ⎟ ⎟ ⎟ ⎟ ⎟ + 1 4 7 8 − - 1 2 ⎛ ⎝ ⎜ ⎜ ⎜ ⎜⎜ ⎞ ⎠ ⎟ ⎟ ⎟ ⎟ ⎟ + 1 2 1 5 − - 4 5 ⎛ ⎝ ⎜ ⎜ ⎜ ⎜⎜ ⎞ ⎠ ⎟ ⎟ ⎟ ⎟ ⎟ 3 5 ชื่อ–สกุล ชั้น ม.1/ เลขที่ ชื่อ–สกุล ชั้น ม.1/ เลขที่ ชื่อ–สกุล ชั้น ม.1/ เลขที่ ชื่อ–สกุล ชั้น ม.1/ เลขที่ คำ�ชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำ�ถามในแต่ละข้อต่อไปนี้ จากนั้นใช้สีตามที่ระบุในตารางไประบายในช่องที่เป็น คำ�ตอบนั้น ตัวอย่าง แดง - 1 7
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ หรับนักเรียน) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 54 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 แต่ละส่วน ควรเป็นอย่างไร ภาพที่ได้ คือ 1 5 - 1 5 1 5 1 5 -1 -1 - 1 2 - 1 2 - 1 2 - 2 7 - 2 7 1 5 1 5 - 2 7 - 2 7 1 5 -1 -1 -1 - 1 2 - 1 2 - 1 2 3 5 1 5 - 2 7 - 2 7 - 2 7 - 2 7 -1 -1 -1 - 1 2 - 1 2 7 8 7 8 3 5 7 8 - 4 9 - 4 9 - 2 7 - 2 7 -1 -1 - 1 2 - 1 2 7 8 7 8 7 8 3 5 7 8 - 4 9 - 4 9 - 4 9 - 4 9 - 1 2 - 1 2 - 1 2 3 5 7 8 3 5 3 5 3 5 1 5 - 2 7 - 4 9 - 4 9 - 1 2 - 1 2 3 5 3 5 7 8 3 5 3 5 1 5 - 2 7 - 1 3 - 1 3 3 5 7 8 7 8 3 5 3 5 7 8 1 5 - 2 7 - 1 3 - 1 3 3 5 7 8 7 8 3 5 3 5 - 1 5 - 2 7 1 5 1 5 - 3 8 7 8 7 8 7 8 - 4 9 - 4 9 - 4 9 1 5 1 5 - 3 8 - 3 8 7 8 1 5 - 1 5 - 3 8 - 3 8 - 3 8 - 3 8 - 3 8 - 3 8 - 2 7 - 2 7 0 - 3 8 - 3 8 1 5 - 1 5 - 3 8 - 3 8 - 3 8 - 3 8 - 1 3 - 1 3 - 4 9 - 4 9 - 3 8 - 3 8 1 5 - 1 5 - 3 8 - 3 8 - 3 8 - 3 8 - 1 3 - 1 3 - 4 9 - 4 9 - 2 7 - 2 7 - 2 7 - 2 7 - 2 7 - 2 7 15 28 15 28 15 28 15 28 15 28 15 28 15 28 15 28 15 28 - 5 14 - 5 14 - 5 14 - 5 14 - 5 14 - 5 14 - 5 14 - 5 14 - 5 14 - 3 16 - 3 16
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ หรับนักเรียน) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 55 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เครื่องมือพร้อมสรรพ สรรค์สร้างงานเรขา
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ หรับนักเรียน) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 56 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เครื่องมือพร้อมสรรพ สรรค์สร้างงานเรขา ใบกิจกรรม 1 : เท่าไม่เท่า ได้รู้กัน คำ ชี้แจง ให้นักเรียนเขียน AB และ CD แล้วใช้วงเวียนตรวจสอบว่าส่วนของเส้นตรงทั้งสองยาวเท่ากัน หรือไม่ พร้อมทั้งสรุปผลที่ได้ลงในช่องว่าง คำ ชี้แจง ให้นักเรียนเขียน ABC และ PQR จากนั้นใช้วงเวียนตรวจสอบว่ามุมทั้งสองมีขนาดเท่ากันหรือไม่ พร้อมทั้งสรุปผลที่ได้ลงในช่องว่าง ตอนที่ 1 ตอนที่ 2 จากรูป สรุปได้ว่า ABC PQR จากรูป สรุปได้ว่า AB CD ชื่อ–สกุล ชั้น ม.1/ เลขที่ ชื่อ–สกุล ชั้น ม.1/ เลขที่ ชื่อ–สกุล ชั้น ม.1/ เลขที่ ชื่อ–สกุล ชั้น ม.1/ เลขที่
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ หรับนักเรียน) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 57 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เครื่องมือพร้อมสรรพ สรรค์สร้างงานเรขา คำ ชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาสถานการณ์ต่อไปนี้แล้วใช้วงเวียนในการตรวจสอบความยาวและขนาดของมุม ระหว่างต้นไม้และตอบคำ ถามต่อไปนี้ ตอนที่ 3 D A 2 1 3 B C ต้นมังคุด ต้นทุเรียน ต้นมะม่วง บ้าน 1. จงเรียงลำ ดับของต้นไม้ที่ป้าจุ๋มรดน้ำ จากต้นแรกไปต้นสุดท้าย ตอบ 2. จงเรียงลำ ดับของบริเวณที่ป้าจุ๋มจะตัดหญ้าจากบริเวณแรกไปบริเวณสุดท้าย ตอบ ต้นไหนไกลกว่ากัน ป้าจุ๋มปลูกต้นไม้ในสวน 3 ต้น ได้แก่ ต้นมังคุด (จุด B) ต้นมะม่วง (จุด C) และ ต้นทุเรียน (จุด D) และมีบ้าน (จุด A) อยู่ระหว่างต้นไม้ทั้งสามต้น ดังแสดงในแผนภาพ ทุกเช้าป้าจุ๋มจะรดน้ำ ต้นไม้ทั้งสามต้น โดยรดน้ำ ต้นที่อยู่ไกลบ้านที่สุดมายังต้นที่อยู่ใกล้ บ้านที่สุด ทุกเดือนป้าจุ๋มจะตัดหญ้าในสวนโดยเริ่มจากบริเวณที่ขนาดของมุมระหว่างต้นไม้ซึ่งมี บ้านเป็นจุดยอดมีขนาดเล็กสุดไปยังบริเวณที่มีขนาดของมุมระหว่างต้นไม้มากสุด
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ หรับนักเรียน) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 58 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เครื่องมือพร้อมสรรพ สรรค์สร้างงานเรขา A B ขั้นตอนการสร้าง สร้างจุด O กางวงเวียนให้มีรัศมียาวเท่ากับ AB ใช้จุด O เป็นจุดศูนย์กลาง และรัศมี ยาวเท่ากับ AB เขียนวงกลม O ใบกิจกรรม 2 : สร้างให้เท่า คำ ชี้แจง ให้นักเรียนเขียนรูปการสร้างตามลำ ดับขั้นตอนให้ถูกต้อง กำ หนด AB ดังรูป จงสร้างวงกลมให้มีรัศมียาวเท่ากับส่วนของเส้นตรงที่กำ หนดให้ ตอนที่ 1 1. 2. 3.
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ หรับนักเรียน) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 59 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เครื่องมือพร้อมสรรพ สรรค์สร้างงานเรขา ขั้นตอนการสร้าง ลาก XZ ให้ยาวพอประมาณ กางวงเวียนให้มีรัศมียาวเท่ากับ AB ใช้จุด X เป็นจุดศูนย์กลาง และรัศมียาว เท่ากับ AB เขียนส่วนโค้งให้ตัด XZ ให้จุดตัดคือ จุด Y จะได้ XY ยาวเท่ากับความยาวของ AB ตามต้องการ กำ หนด AB ดังรูป จงสร้าง XY ให้ยาวเท่ากับความยาวของ AB ตอนที่ 2 A B 1. 2. 3.
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ หรับนักเรียน) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 60 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เครื่องมือพร้อมสรรพ สรรค์สร้างงานเรขา ขั้นตอนการสร้าง ลาก YZ ให้ยาวพอประมาณ ใช้จุด B เป็นจุดศูนย์กลาง รัศมียาวพอสมควร เขียนส่วนโค้งให้ตัด BC และ BA ให้จุดตัด คือ จุด N และจุด M ตามลำ ดับ ใช้จุด Y เป็นจุดศูนย์กลาง กำ หนดรัศมียาว เท่ากับ BM เขียนส่วนโค้ง QL ตัด YZ ให้จุดตัดคือ จุด P ใช้จุด P เป็นจุดศูนย์กลาง และรัศมียาว เท่ากับ MN เขียนส่วนโค้งให้ตัดส่วนโค้ง QL ให้จุดตัดคือ จุด X จากนั้น ลาก YX จะได้ XYZ มีขนาดเท่ากับ ขนาดของ ABC ตามต้องการ 1. 2. 3. 4. กำ หนด ABC ดังรูป จงสร้าง XYZ ให้มีขนาดเท่ากับขนาดของ ABC ตอนที่ 3 B C A
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ หรับนักเรียน) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 61 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เครื่องมือพร้อมสรรพ สรรค์สร้างงานเรขา คำ ชี้แจง ให้นักเรียนเขียนรูปการสร้างตามลำ ดับขั้นตอนให้ถูกต้อง กำ หนด AB และ DEF ดังรูป จงสร้างรูปสามเหลี่ยม XYZ ที่มี YXZ = DEF และ XY = XZ = 2(AB) ขั้นตอนการสร้าง ลาก XK ให้ยาวพอประมาณ กางวงเวียนให้มีรัศมียาวเท่ากับ AB ใช้จุด X เป็นจุดศูนย์กลาง และรัศมียาวเท่ากับ AB เขียนส่วนโค้งให้ตัด XK ให้จุดตัดคือ จุด L จะได้ XL ยาวเป็นสองเท่าของ ความยาวของ AB ใช้จุด L เป็นจุดศูนย์กลางและรัศมียาวเท่ากับ AB เขียนส่วนโค้งให้ตัด XK ให้จุดตัดคือ จุด Y จะได้ XY ยาวเป็นสองเท่าของ ความยาวของ AB ใช้จุด E เป็นจุดศูนย์กลาง รัศมียาวพอสมควร เขียนส่วนโค้งให้ตัด ED และ EF ให้จุดตัดคือ จุด M และจุด N ตามลำ ดับ 1. 2. 3. 4. 5. F A B E เฉลย ใบกิจกรรม 3 : ใหญ่กว่า...ต้องทำ อย่างไร D
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ หรับนักเรียน) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 62 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เครื่องมือพร้อมสรรพ สรรค์สร้างงานเรขา ขั้นตอนการสร้าง ใช้จุด X เป็นจุดศูนย์กลาง กำ หนดรัศมียาว เท่ากับ EM เขียนส่วนโค้ง UV ตัด XK ให้จุดตัดคือ จุด P ใช้จุด P เป็นจุดศูนย์กลาง และรัศมียาว เท่ากับ MN เขียนส่วนโค้งให้ตัดส่วนโค้ง UV ให้จุดตัดคือ จุด R จากนั้น ลาก XR จะได้YXR มีขนาดเท่ากับ DEF กางวงเวียนให้มีรัศมียาวเท่ากับ AB ใช้จุด X เป็นจุดศูนย์กลาง และรัศมียาวเท่ากับ AB เขียนส่วนโค้งให้ตัด XR ให้จุดตัดคือ จุด S จะได้ XS ยาวเท่ากับความยาวของ AB ใช้จุด S เป็นจุดศูนย์กลาง และรัศมียาวเท่ากับ AB เขียนส่วนโค้งให้ตัด XR ให้จุดตัดคือ จุด Z จะได้ XZ ยาวเป็นสองเท่าของ ความยาวของ AB ลาก YZ จะได้รูปสามเหลี่ยม XYZ ที่มี YXZ = DEF และ XY = XZ = 2(AB) 6. 7. 8. 9. 10.
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ หรับนักเรียน) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 63 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เครื่องมือพร้อมสรรพ สรรค์สร้างงานเรขา แนวคิดในการหาตำ แหน่งของบ่อน้ำ 1. ให้นักเรียนหาตำ แหน่งของบ่อน้ำ ที่สอดคล้องกับเงื่อนไขในสถานการณ์ เมื่อกำ หนดให้จุด A แทนตำ แหน่ง บ้านของเจนนี่ และจุด B แทนตำ แหน่งบ้านของโจอี้ 2. ถ้ากำ หนดให้มาตราส่วน 1 เซนติเมตร : 10 เมตร อยากทราบว่าบ้านของเจนนี่อยู่ห่างจากบ่อน้ำ กี่เมตร ตอบ ใบกิจกรรม 4 : บ่อน้ำ บ้านฉันกับบ้านเธอ สถานการณ์ เจนนี่และโจอี้สร้างบ้านไว้ใกล้กัน ทั้งสองคนตกลงกันว่าจะขุดบ่อน้ำ ไว้ระหว่างบ้านของพวกเขา โดยมีเงื่อนไขว่าบ่อน้ำ ต้องอยู่ในตำ แหน่งที่ห่างจากบ้านของทั้งสองเป็นระยะทางเท่ากัน และอยู่ใกล้ บ้านที่สุด พวกเขาควรขุดบ่อน้ำ ที่ตำ แหน่งใด A บ้านของเจนนี่ บ้านของโจอี้ B
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ หรับนักเรียน) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 64 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เครื่องมือพร้อมสรรพ สรรค์สร้างงานเรขา ขั้นตอนการสร้าง ใช้จุด B เป็นจุดศูนย์กลาง รัศมียาวพอสมควร เขียนส่วนโค้งให้ตัด BA และ BC ให้จุดตัด คือ จุด D และจุด E ตามลำ ดับ ใช้จุด D เป็นจุดศูนย์กลาง รัศมียาวพอสมควร เขียนส่วนโค้งภายในมุม ABC ใช้จุด E เป็นจุดศูนย์กลาง รัศมียาวเท่ากับ ความยาวของรัศมีในข้อที่ 2 เขียนส่วนโค้ง ให้ตัดส่วนโค้งในข้อที่2 และให้จุดตัดคือ จุด F ลาก BF จะได้ ABF = FBC ใบกิจกรรม 5 : แบ่งให้ครึ่ง คำ ชี้แจง ให้นักเรียนเขียนรูปการสร้างตามลำ ดับขั้นตอนให้ถูกต้อง กำ หนด ABC ดังรูป จงสร้างเส้นแบ่งครึ่ง ABC B C A 1. 2. 3. 4. A B C
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ หรับนักเรียน) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 65 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เครื่องมือพร้อมสรรพ สรรค์สร้างงานเรขา คำ ชี้แจง ให้นักเรียนเขียนรูปการสร้างตามลำ ดับขั้นตอนให้ถูกต้อง กำ หนดจุด P เป็นจุดที่อยู่ภายนอก AB ดังรูป จงสร้างส่วนของเส้นตรงจากจุด P ให้ตั้งฉากกับ AB ขั้นตอนการสร้าง ใช้จุด P เป็นจุดศูนย์กลาง รัศมียาวพอสมควร เขียนส่วนโค้งให้ตัด AB ให้จุดตัดคือ จุด C และจุด D ใช้จุด C และจุด D เป็นจุดศูนย์กลาง รัศมี ยาวเท่ากันเขียนส่วนโค้งให้ตัดกันหนึ่งจุด ให้จุดตัดคือ จุด E ลาก PE ตัด AB ให้จุดตัดคือ จุด Q จะได้ AQP = BQP = 90° ดังนั้น PE ตั้งฉากกับ AB ที่จุด Q ตามต้องการ 1. 2. 3. ใบกิจกรรม 6 : สร้างให้ฉาก ตอนที่ 1 P A B P A B
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ หรับนักเรียน) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 66 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เครื่องมือพร้อมสรรพ สรรค์สร้างงานเรขา กำ หนดจุด P เป็นจุดบน AB ดังรูป จงสร้างเส้นตั้งฉากกับ AB ที่จุด P ขั้นตอนการสร้าง ใช้จุด P เป็นจุดศูนย์กลาง รัศมียาวพอสมควร เขียนส่วนโค้งให้ตัด AB ให้จุดตัดคือ จุด C และจุด D ใช้จุด C และจุด D เป็นจุดศูนย์กลาง รัศมียาว เท่ากัน เขียนส่วนโค้งให้ตัดกันหนึ่งจุด ให้จุดตัดคือ จุด E ลาก PE จะได้ APE = BPE = 90° ดังนั้น PE ตั้งฉากกับ AB ที่จุด P ตามต้องการ 1. 2. 3. ตอนที่ 2 A A P B P B
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ หรับนักเรียน) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 67 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เครื่องมือพร้อมสรรพ สรรค์สร้างงานเรขา คำ ชี้แจง ให้นักเรียนพิจารณาสถานการณ์ต่อไปนี้แล้วใช้การสร้างเพื่อตอบคำ ถาม ใบกิจกรรม 7 : สิงโตเจ้าป่า สถานการณ์ สิงโตตัวหนึ่งยืนอยู่กลางทุ่งหญ้า มันต้องการเดินไปยังลำ ธารซึ่งอยู่ด้านหน้า ด้วยระยะทาง ที่สั้นที่สุด สิงโตตัวนี้ต้องเดินไปในทิศทางใด และคิดเป็นระยะทางกี่เมตร 1. สิงโตตัวนี้ต้องเดินไปในทิศทางใดจึงจะเป็นเส้นทางที่มีระยะทางที่สั้นที่สุด ตอบ 2. จากการวัด จะได้ AO = เซนติเมตร ดังนั้น สิงโตตัวนี้เดินไปยังลำ ธารเป็นระยะทางเท่ากับ มาตราส่วน 1 : 1,000
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ หรับนักเรียน) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 68 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เครื่องมือพร้อมสรรพ สรรค์สร้างงานเรขา ใบกิจกรรม 8 : กึ่งกลางสร้างสัมพันธ์ คำ ชี้แจง ให้นักเรียนพิจารณาสถานการณ์ต่อไปนี้แล้วใช้การสร้างเพื่อหาตำ แหน่งของสะพาน สถานการณ์ แพทต้องการสร้างสะพานข้ามแม่น้ำ โดยให้แนวสะพานตั้งฉากกับริมฝั่งแม่น้ำ ทั้งสอง และอยู่ ห่างจากโรงเรียนและโรงพยาบาลเป็นระยะเท่ากัน โดยโรงเรียนและโรงพยาบาลตั้งอยู่คนละฟาก ของริมฝั่งแม่น้ำ ซึ่งริมฝั่งแม่น้ำ ทั้งสองฝั่งนี้ขนานกัน ดังรูป อยากทราบว่า แพทจะต้องสร้างสะพาน ที่ตำ แหน่งใด
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ หรับนักเรียน) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 69 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เครื่องมือพร้อมสรรพ สรรค์สร้างงานเรขา ใบกิจกรรม 9 : สวนสนุกอยู่ที่ไหน คำ ชี้แจง ให้นักเรียนพิจารณาสถานการณ์ต่อไปนี้แล้วใช้การสร้างเพื่อหาตำ แหน่งที่จะสร้างสวนสนุก สถานการณ์ หมู่บ้านดอนหวาย หมู่บ้านไร่ขิง และหมู่บ้านศาลายา มีถนนสายตรงเชื่อมระหว่างหมู่บ้าน ทั้งสาม ดังรูป คณะกรรมการของหมู่บ้านทั้งสามตกลงจะสร้างสวนสนุกแห่งหนึ่งให้อยู่ห่างจากถนน ทั้งสามสายเป็นระยะทางเท่ากัน อยากทราบว่า คณะกรรมการจะต้องสร้างสวนสนุกที่ตำ แหน่งใด หมู่บ้านดอนหวาย หมู่บ้านศาลายา หมู่บ้านไร่ขิง C A B
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ หรับนักเรียน) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 70 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เครื่องมือพร้อมสรรพ สรรค์สร้างงานเรขา ใบกิจกรรม 10 : สร้างมุมง่ายง่าย คำ ชี้แจง ให้นักเรียนเขียนรูปการสร้างตามลำ ดับขั้นตอนให้ถูกต้อง จงสร้างมุม 60° ขั้นตอนการสร้าง ลาก AB และให้จุด O เป็นจุดจุดหนึ่งบน AB ใช้จุด O เป็นจุดศูนย์กลาง รัศมียาวพอสมควร เขียนส่วนโค้งให้ตัด AB ให้จุดตัดคือ จุด X และจุด Y ใช้จุด Y เป็นจุดศูนย์กลาง รัศมียาว OY เขียนส่วนโค้งให้ตัดส่วนโค้ง XY ให้จุดตัด คือ จุด C แล้วลาก OC จะได้ YOC มีขนาด 60° ตามต้องการ 1. 2. 3.
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ หรับนักเรียน) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 71 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เครื่องมือพร้อมสรรพ สรรค์สร้างงานเรขา a คำ ชี้แจง ให้นักเรียนเขียนรูปตามเงื่อนไขที่กำ หนด แบบฝึกหัด 1 : สร้างรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า จงสร้างรูปสามเหลี่ยมด้านเท่าที่มีแต่ละด้านยาว a หน่วย กำ หนดส่วนของเส้นตรงยาว a หน่วย ดังรูป รูปสามเหลี่ยมด้านเท่า
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ หรับนักเรียน) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 72 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เครื่องมือพร้อมสรรพ สรรค์สร้างงานเรขา ใบกิจกรรม 11 : มุมเล็กมุมน้อย คำ ชี้แจง ให้นักเรียนเขียนรูปการสร้างตามลำ ดับขั้นตอนให้ถูกต้อง จงสร้างมุม 15° ขั้นตอนการสร้าง ลาก AB และให้จุด O เป็นจุดจุดหนึ่งบน AB ใช้จุด O เป็นจุดศูนย์กลาง รัศมียาวพอสมควร เขียนส่วนโค้งให้ตัด AB ให้จุดตัดคือ จุด X และจุด Y ใช้จุด Y เป็นจุดศูนย์กลาง รัศมียาว OY เขียน ส่วนโค้งให้ตัดส่วนโค้ง XY ให้จุดตัดคือ จุด C จากนั้น ลาก OC จะได้ YOC มีขนาด 60° ใช้จุด C และจุด Y เป็นจุดศูนย์กลาง รัศมียาว เท่ากัน เขียนส่วนโค้งให้ตัดกันภายใน YOC ให้จุดตัดคือ จุด F ลาก OF จะได้ COF = FOY = 30° และให้ OF ตัดกับส่วนโค้ง XY ที่จุด Z ใช้จุด Y และจุด Z เป็นจุดศูนย์กลาง รัศมียาว เท่ากัน เขียนส่วนโค้งภายใน YOZ ให้จุดตัด คือจุด G ลาก OG จะได้ ZOG = GOY = 15° ตามต้องการ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ หรับนักเรียน) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 73 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เครื่องมือพร้อมสรรพ สรรค์สร้างงานเรขา คำ ชี้แจง ให้นักเรียนเขียนรูปตามเงื่อนไขที่กำ หนด แบบฝึกหัด 2 : การสร้างมุมที่มีขนาด 75° แนวคิดในการสร้างมุม 75° คือ การสร้างมุมที่มีขนาด 75° ชื่อ_สกุล ชั้น ม.1/ เลขที่ ชื่อ_สกุล ชั้น ม.1/ เลขที่
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ หรับนักเรียน) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 74 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เครื่องมือพร้อมสรรพ สรรค์สร้างงานเรขา รูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว ABC a คำ ชี้แจง ให้นักเรียนเขียนรูปตามเงื่อนไขที่กำ หนด ใบกิจกรรม 12 : ยอดแหลมด้านประกอบยาวเท่ากัน กำ หนดส่วนของเส้นตรงยาว a หน่วย ดังรูป จงสร้างรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว ABC ที่มี AB เป็นฐานยาว a หน่วย และมุมที่ฐานมีขนาด 30°
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ หรับนักเรียน) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 75 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เครื่องมือพร้อมสรรพ สรรค์สร้างงานเรขา รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ใบกิจกรรม 13 : ด้านก็เท่า มุมก็ฉาก a คำ ชี้แจง ให้นักเรียนเขียนรูปตามเงื่อนไขที่กำ หนด กำ หนดส่วนของเส้นตรงยาว a หน่วย ดังรูป จงสร้างรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีแต่ละด้านยาว a หน่วย
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ หรับนักเรียน) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 76 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เครื่องมือพร้อมสรรพ สรรค์สร้างงานเรขา รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ใบกิจกรรม 14 : มุมเท่า ยาวเป็นคู่ คำ ชี้แจง ให้นักเรียนเขียนรูปตามเงื่อนไขที่กำ หนด กำ หนดส่วนของเส้นตรงยาว a และ b หน่วย ดังรูป จงสร้างรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าที่มีความกว้างและความยาวเป็น a หน่วย และ b หน่วย ตามลำ ดับ a b
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ หรับนักเรียน) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 77 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เครื่องมือพร้อมสรรพ สรรค์สร้างงานเรขา รถมหาสนุก ใบกิจกรรม 15 : รถมหาสนุก ชื่อ_สกุล ชั้น ม.1/ เลขที่ ชื่อ_สกุล ชั้น ม.1/ เลขที่ รูปต้นแบบ คำ ชี้แจง ให้นักเรียนเขียนรูปตามเงื่อนไขที่กำ หนดให้ถูกต้อง กำ หนดส่วนของเส้นตรงยาว a และ b หน่วย ดังรูป จงสร้างรูปรถตามรูปต้นแบบ โดยใช้ความรู้เรื่องการสร้าง พร้อมทั้งตกแต่งระบายสีให้สวยงาม a b b b a a b b b b
ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ หรับนักเรียน) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 78
ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ หรับนักเรียน) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 79 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 สมการสู่ชีวิต
80 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 สมการสู่ชีวิต ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ หรับนักเรียน) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 คำ ชี้แจง จงหาค่าของนิพจน์พีชคณิตต่อไปนี้ 1. 16 – 2p เมื่อ p = 4 วิธีทำ 2. 5(r − 11) เมื่อ r = 15 วิธีทำ 3. (4m + 12) − 7 เมื่อ m = 6 วิธีทำ แบบฝึกหัด 1 : หาค่าของนิพจน์พีชคณิต เมื่อมีนิพจน์พีชคณิตนิพจน์หนึ่ง การหาค่าของนิพจน์พีชคณิตนั้น สามารถทำ ได้โดยแทนตัวแปรในนิพจน์พีชคณิตด้วยจำ นวนที่กำ หนดให้ แล้วคำ นวณหาค่าของนิพจน์พีชคณิตนั้น เมื่อแทน p ด้วย 4 ใน 16 – 2p จะได้
81 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 สมการสู่ชีวิต ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ หรับนักเรียน) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ตอนที่ 1 คำ ชี้แจง จงเขียนนิพจน์พีชคณิตต่อไปนี้ ให้อยู่ในรูปอย่างง่าย 1. 7x + 3x – x = 2. 5w – 2w – 4 + 1 = 3. 9(2t – 3) = แบบฝึกหัด 2 : เขียนนิพจน์พีชคณิตแทนข้อความที่กำ หนดให้ ดังนั้น จำ นวนซึ่งน้อยกว่า 21 อยู่ x เขียนได้เป็น 2. จิ๊บซื้อดินสอ 2 แท่ง ราคาแท่งละ w บาท และไม้บรรทัด 1 อัน ราคา 10 บาท จิ๊บจะต้องจ่ายเงินเท่าไร บาท บาท บาท ดังนั้น จ๊ิบจะต้องจ่ายเงิน บาท 3. แม่ซื้อไข่ไก่มาจำ นวนหนึ่งในราคาฟองละ 3 บาท แม่มีเงินเหลือ 56 บาท เดิมแม่มีเงินเท่าไร สมมุติ ให้ไข่ไก่มีจำ นวน ฟอง ราคาฟองละ บาท แม่มีเงินเหลือ บาท ตอนที่ 2 คำ ชี้แจง จงเขียนนิพจน์พีชคณิตแทนข้อความที่กำ หนดให้ พร้อมทั้งแสดงแนวคิดโดยเติมข้อมูลลงใน แผนภาพหรือเส้นจำ นวนให้สมบูรณ์ 1. จำ นวนซึ่งน้อยกว่า 21 อยู่ x คือจำ นวนใด ดังนั้น เดิมแม่มีเงิน บาท แนวคิด แนวคิด แนวคิด บาท บาท บาท
82 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 สมการสู่ชีวิต ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ หรับนักเรียน) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ให้นักเรียนเขียนข้อความที่สอดคล้องกับนิพจน์พีชคณิต 2x + 5 ท้าให้ลอง ตัวแปร เป็นตัวที่ยังไม่ทราบค่าที่แน่นอนและ สามารถเปลี่ยนค่าได้ นิยมใช้ตัวอักษรภาษาอังกฤษ ตัวพิมพ์เล็กในการเขียนแทนตัวแปร นิพจน์พีชคณิต ประกอบด้วยค่าคงตัว และตัวแปร ซึ่งอยู่ในรูปของการดำ เนินการต่าง ๆ
83 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 สมการสู่ชีวิต ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ หรับนักเรียน) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 แบบฝึกหัด 3 : ตรวจสอบคำ ตอบของสมการ ประโยคที่แสดงการเท่ากันของจำ นวน โดยมีเครื่องหมายเท่ากับ (ใช้สัญลักษณ์ =) บอกการเท่ากัน คือ สมการ สมการซึ่งมีจำ นวนที่อยู่ทางซ้ายกับจำ นวนที่อยู่ทางขวาของเครื่องหมายเท่ากับ เป็นจำ นวนที่เท่ากัน เรียกว่า สมการที่เป็นจริง สมการซึ่งมีจำ นวนที่อยู่ทางซ้ายกับจำ นวนที่อยู่ทางขวาของ เครื่องหมายเท่ากับ เป็นจำ นวนที่ไม่เท่ากัน เรียกว่า สมการที่ไม่เป็นจริง คำ ตอบของสมการ คือ จำ นวนที่แทนตัวแปรในสมการ แล้วทำ ให้ได้สมการที่เป็นจริง คำ ชี้แจง จงตรวจสอบว่า จำ นวนที่ให้ไว้ใน [ ] เป็นคำ ตอบของสมการที่กำ หนดให้หรือไม่ 1. 7 + k = 9 [2] ตอบ 2. x – 3 = 10 [7] ตอบ 3. a 4 = 2 [8] ตอบ 4. -5y = -50 [-10] ตอบ 5. -1 = 5 – m [4] ตอบ
84 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 สมการสู่ชีวิต ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ หรับนักเรียน) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ใบกิจกรรม 1 : จิ๊กซอว์ปริศนา สมการ คำ ตอบของสมการ ตอนที่ 1 คำ ชี้แจง ให้นักเรียนเขียนสมการ และคำ ตอบของสมการนั้น ลงในตารางให้สมบูรณ์ ชื่อ–สกุล ชั้น ม.1/ เลขที่ ชื่อ–สกุล ชั้น ม.1/ เลขที่ ชื่อ–สกุล ชั้น ม.1/ เลขที่ ชื่อ–สกุล ชั้น ม.1/ เลขที่
85 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 สมการสู่ชีวิต ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ หรับนักเรียน) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ตอนที่ 2 คำ ชี้แจง ให้นักเรียนวาดภาพการจัดเรียงจิ๊กซอว์ที่ได้ พร้อมทั้งระบุว่าภาพที่ได้คล้ายกับสิ่งใด ภาพที่ได้ คือ
86 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 สมการสู่ชีวิต ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ หรับนักเรียน) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 แบบฝึกหัด 4 : สมบัติสมมาตรและสมบัติถ่ายทอด สมบัติสมมาตร ถ้า a = b แล้ว b = a เมื่อ a และ b แทนจำ นวนใด ๆ สมบัติถ่ายทอด ถ้า a = b และ b = c แล้ว a = c เมื่อ a, b และ c แทนจำ นวนใด ๆ คำ ชี้แจง จงเติมข้อความหรือจำ นวนลงในช่องว่างต่อไปนี้ให้สมบูรณ์ 1. ให้ -4 + x = 10 ดังนั้น = -4 + x ใช้สมบัติ 2. ให้ v = 0.7 + 2u และ 0.7 + 2u = 31 ดังนั้น v = ใช้สมบัติ 3. ให้ 18 = -0.6k ดังนั้น -0.6k = ใช้สมบัติ 4. ให้ h = -10 + g และ -10 + g = 25 ดังนั้น h = ใช้สมบัติ 5. ให้ a + 2 = 18 และ 18 = 3 – b ดังนั้น a + 2 = ใช้สมบัติ
87 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 สมการสู่ชีวิต ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ หรับนักเรียน) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 แบบฝึกหัด 5 : สมบัติของการเท่ากันเกี่ยวกับการบวกและ สมบัติของการเท่ากันเกี่ยวกับการคูณ สมบัติของการเท่ากันเกี่ยวกับการบวก ถ้า a = b แล้ว a + c = b + c เมื่อ a, b และ c แทนจำ นวนใด ๆ สมบัติของการเท่ากันเกี่ยวกับการคูณ ถ้า a = b แล้ว ca = cb เมื่อ a, b และ c แทนจำ นวนใด ๆ คำ ชี้แจง จงเติมข้อความหรือจำ นวนลงในช่องว่างต่อไปนี้ให้สมบูรณ์ 1. ให้ y = 15 ดังนั้น y − 4 = ใช้สมบัติ 2. ให้ m – 9 = 4 ดังนั้น (m – 9) + 9 = 4 + ใช้สมบัติ 3. ให้ 3t = 12 ดังนั้น 3t 3 = ใช้สมบัติ 4. ให้ 5m + 3 = 18 ดังนั้น = 18 + 7 ใช้สมบัติ 5. ให้ 12 3 k = 6 ดังนั้น 12 3 k × 2 = ใช้สมบัติ
88 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 สมการสู่ชีวิต ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ หรับนักเรียน) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 แบบฝึกหัด 6 : การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว (1) คำ ชี้แจง จงแก้สมการต่อไปนี้ พร้อมทั้งตรวจสอบคำ ตอบที่ได้ 1. n – 11 = 19 วิธีทำ นั่นคือ เป็นคำ ตอบของสมการ n – 1 = 19 ตอบ สมการที่สามารถจัดให้อยู่ในรูป ax + b = 0 เมื่อ x เป็นตัวแปร a, b เป็นค่าคงตัว และ a ≠ 0 เรียกว่า สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ตรวจสอบ
89 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 สมการสู่ชีวิต ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ หรับนักเรียน) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 2. m 6 = -20 วิธีทำ นั่นคือ เป็นคำ ตอบของสมการ ตอบ ตรวจสอบ
90 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 สมการสู่ชีวิต ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ หรับนักเรียน) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ท้าให้ลอง 3. -5x = 60 วิธีทำ นั่นคือ ตอบ จงแก้สมการ 0.8t = 6.4 วิธีทำ นั่นคือ ตอบ ตรวจสอบ ตรวจสอบ
91 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 สมการสู่ชีวิต ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ หรับนักเรียน) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 คำ ชี้แจง จงแก้สมการต่อไปนี้ พร้อมทั้งตรวจสอบคำ ตอบที่ได้ 1. 8(y – 3) = 48 วิธีทำ นั่นคือ ตอบ แบบฝึกหัด 7 : การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว (2) ตรวจสอบ
92 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 สมการสู่ชีวิต ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ หรับนักเรียน) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 2. -0.4 + 0.2k = 1.6 วิธีทำ นั่นคือ ตอบ ตรวจสอบ
93 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 สมการสู่ชีวิต ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ หรับนักเรียน) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 3. 15 = m 4 – 20 วิธีทำ นั่นคือ ตอบ ตรวจสอบ
94 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 สมการสู่ชีวิต ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (สำ หรับนักเรียน) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ท้าให้ลอง จงแก้สมการ w + 3 7 = 4 วิธีทำ นั่นคือ ตอบ ตรวจสอบ