The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง 65

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by krurungyorpor, 2022-05-11 23:31:47

คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง 65

คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง 65

ค่มู ือนกั เรยี นและผู้ปกครอง ปี 2565 หนา้ 1

พระโอวาท
สมเดจ็ พระเจา้ นอ้ งนางเธอ เจ้าฟ้าจฬุ าภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกมุ ารี

กรมพระศรีสวางควัฒน วรขตั ตยิ ราชนารี
เม่ือ วนั อาทิตย์ ที่ 10 กรกฎาคม 2554

“...พื้นฐานจิตใจท่ีดีน้ัน มีความสาคัญอย่างยิ่งต่อการสร้างความสาเร็จในชีวิต
และกิจการงาน บุคคลท่ีมีความสุจริต มีความตั้งใจจริง มีความอุตสาหะ อดทน มีความ
เมตตาเสียสละ และคานึงถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตนย่อมจะสามารถ
ดาเนินชีวิตและประกอบกิจการงาน ให้บรรลุถึงความสาเร็จและ ความเจริญอย่างย่ังยืน
แทจ้ รงิ ได.้ ..”

คมู่ อื นกั เรียนและผู้ปกครอง ปี 2565 หนา้ 2

คำนำ

โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย สตูล เป็นองค์กรท่ีจัดการศึกษาประเภท
โรงเรียนนักเรียนอยู่พักประจา เพ่ือจะพัฒนาศักยภาพของนักเรียนผู้มีความสามารถพิเศษทางด้าน
วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ระบบการจัดการศึกษาของโรงเรียนทั้งด้านหลักสูตร กระบวนการจัด
การเรยี นรู้ และการดูแลความเปน็ อยูข่ องนกั เรียน จงึ ตอ้ งกาหนดใหเ้ ป็นแนวปฏบิ ัตอิ ย่างชดั เจน

เอกสารคู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ประจาปีการศึกษา 2565 โรงเรียนได้จัดทาขึ้น
โดยรวบรวมข้อมูลเบื้องต้นของโรงเรียน กฎ ระเบียบ และแนวปฏิบัติ ตลอดจนการอานวยการ
การใหบ้ รกิ ารด้านต่าง ๆ ของโรงเรยี น เพ่ือใหน้ ักเรียนและผปู้ กครองได้ใชเ้ ป็นแนวทางในการปฏิบัติตน
ในช่วงระยะเวลาทศ่ี กึ ษาเลา่ เรียนอยู่ในสถาบนั แห่งน้ี

ทางโรงเรียนขอขอบพระคุณคณะผู้จัดทาและผู้เกี่ยวข้องทุกท่าน และหวังเป็นอย่างย่ิงว่า
นักเรียนและผู้ปกครองได้ใช้คู่มือนักเรียนและผ้ปู กครอง ประจาปีการศึกษา 2565 ฉบับน้ี เพื่อให้เกิด
ประโยชน์สูงสุด และสามารถพัฒนาตนเอง ได้เต็มศักยภาพตามความมุ่งหวังของนักเรียน ผู้ปกครอง
ชุมชน และสงั คมต่อไป

(นายปญั ญา ขุนฤทธิแ์ กว้ )
ผู้อานวยการโรงเรยี นวิทยาศาสตรจ์ ุฬาภรณราชวทิ ยาลยั สตูล

คมู่ ือนกั เรยี นและผู้ปกครอง ปี 2565 หนา้ 3

สำรบัญ หนำ้
1
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง ตัง้ โรงเรยี นรัฐบาล 2
ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เรอ่ื ง การเปลยี่ นช่อื โรงเรยี นจุฬาภรณราชวทิ ยาลัย 4
ทตี่ ง้ั และประวตั ิโรงเรยี นวทิ ยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย สตูล 5
วัตถปุ ระสงคก์ ารจดั ต้ังโรงเรยี นวิทยาศาสตรจ์ ุฬาภรณราชวิทยาลยั สตูล 6
อุดมการณ์และเป้าหมายในการพฒั นานกั เรียน 7
ตราประจาโรงเรียน / คาขวญั ของโรงเรียน / ปรัชญาโรงเรยี น 8
สปี ระจาโรงเรยี น / ตน้ ไมป้ ระจาโรงเรียน / อักษรย่อของโรงเรียน 9
เพลงมาร์ชโรงเรยี นจุฬาภรณราชวทิ ยาลยั 10
จุดเนน้ ในการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา โรงเรียนวทิ ยาศาสตร์จฬุ าภรณราชวทิ ยาลัย สตูล 11
แนวปฏิบตั ิของผู้ปกครองนักเรยี น 14
แนวปฏิบัตใิ นการรบั - ส่งนักเรียน 15
แนวปฏิบตั ิเกย่ี วกับการลาของนักเรียน 16
แนวปฏิบตั ิการขอใบรับรองความประพฤตนิ ักเรียน 17
แนวปฏิบัติในการขอมบี ตั รผูป้ กครองนักเรียน 18
แนวปฏิบัติในการขอพบหรือเยย่ี มนักเรยี น 19
ระเบียบเครื่องแตง่ กายนักเรยี น 27
ระเบยี บโรงเรียนฯ ว่าด้วยการควบคมุ ความประพฤตินกั เรยี น 37
ประกาศโรงเรยี นฯ เรอื่ ง กาหนดเขตพืน้ ท่คี วบคมุ หลังเวลา 19.00 น. 38
แนวปฏบิ ัติการรบั นกั เรยี น และการส่งเขา้ หอพกั 38
แนวปฏิบตั ิเกย่ี วกับการแต่งกายนกั เรียนหอพัก 39
แนวปฏบิ ัตเิ กี่ยวกับการจัดนกั เรียนเขา้ หอพกั 39
แนวปฏบิ ัตเิ กี่ยวกบั การจัดกจิ กรรมส่งเสริมการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษตั รยิ ์เป็นประมขุ 40
แนวการปฏิบตั ติ นในการอยหู่ อพัก / กิจกรรมหอพัก 41
แนวปฏบิ ัติการส่งเสื้อผ้าซกั - รีด 41
ขอ้ ปฏบิ ัติของนกั เรียนฯ เรื่อง การนาของใชส้ ว่ นตัวของนกั เรียนมาใช้ในหอพัก 43
แนวปฏิบัติภารกิจของนักเรียนประจา โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย สตูล 44
ระเบียบกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ว่าด้วยการลงโทษนกั เรยี นและนกั ศึกษา พ.ศ. 2548 46
โครงสรา้ งหลักสูตรโรงเรยี นวทิ ยาศาสตรจ์ ุฬาภรณราชวิทยาลัย สตลู 71
คณะกรรมการท่ปี รกึ ษา / คณะผูจ้ ดั ทา 88
ทีมงานบริหารโรงเรียน

คมู่ อื นักเรยี นและผปู้ กครอง ปี 2565 หน้า 4

ประกำศกระทรวงศกึ ษำธกิ ำร
เร่อื ง ตง้ั โรงเรียนรัฐบำล
……………………….

เนื่องในวโรกาสที่สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลกั ษณ์ อัครราชกุมารี ทรงเจริญ
พระชนมายุครบ 3 รอบ 36 พรรษา ในวันที่ 4 กรกฎาคม 2536 กระทรวงศึกษาธิการ สานึกใน
พระมหากรุณาธิคุณ ท่ีทรงมีต่องานด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม และเพื่อสนอง
พระราชประสงค์ของพระองค์ท่ีทรงมุ่งมั่นจะส่งเสริมคุณภาพชีวิตในด้านความเป็นอยู่ และการศึกษา
ของเยาวชน โดยเฉพาะเยาวชนที่อยหู่ า่ งไกล

ฉะนั้น อาศัยอานาจตามความในมาตรา 25 แห่งพระราชบัญญัติปรับปรุง กระทรวง ทบวง
กรม พ.ศ. 2534 จึงให้ต้ังโรงเรียนมัธยมศึกษา เพ่ือเป็นการเฉลิมฉลองในวโรกาสดังกล่าว จานวน 1
โรงเรียน โดยให้เป็นโรงเรียนสหศึกษา รับนักเรียนประเภทประจา และไป - กลับ คือ โรงเรียน
จุฬาภรณราชวิทยาลัย สตูล ตาบลฉลงุ อาเภอเมือง จงั หวดั สตลู

ประกำศ ณ วนั ท่ี 20 พฤษภำคม พ.ศ. 2537

(นายสมั พันธ์ ทองสมคั ร)
รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศึกษาธิการ

คมู่ อื นกั เรียนและผู้ปกครอง ปี 2565 หนา้ 1

ประกำศกระทรวงศกึ ษำธิกำร
เร่อื ง กำรเปล่ยี นช่ือโรงเรยี นจฬุ ำภรณรำชวทิ ยำลยั

……………………….
ด้วยสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัคราชกุมารี พระราชทานพระราชา
นุญาต ให้เปลี่ยนช่ือ “โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย” เป็นชื่อ “โรงเรียนวิทยาศาสตรจ์ ุฬาภรณราช
วิทยาลัย” ต่อท้ายด้วยช่ือจังหวัดท่ีเป็นสถานที่ต้ังของโรงเรียนและใช้นามภาษาอังกฤษว่า “Princess
Chulabhoorn Science High School” ในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
ฉะน้ัน อาศัยอานาจตามความในมาตรา 40 แห่งพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง
กรม พ.ศ. 2545 มาตรา 5 แห่งพระราชบญั ญตั ริ ะเบียบบรหิ ารราชการกระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. 2546
และระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการตั้งชื่อสถานศึกษา พ.ศ. 2547 กระทรวงศึกษาธิการขอ
ประกาศเปลี่ยนช่ือโรงเรยี นจฬุ าภรณราชวิทยาลัยทง้ั 12 แหง่ ดงั น้ี
1. โรงเรียนจฬุ าภรณราชวิทยาลยั เชยี งราย เปลย่ี นชือ่ เปน็ “โรงเรยี นวทิ ยาศาสตร์จุฬาภรณ
ราชวทิ ยาลัย เชยี งราย”
2. โรงเรยี นจฬุ าภรณราชวทิ ยาลยั พิษณโุ ลก เปลย่ี นชอื่ เปน็ “โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณ
ราชวิทยาลยั พิษณโุ ลก”
3. โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ลพบุรี เปลี่ยนช่ือเป็น “โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณ
ราชวิทยาลยั ลพบุรี”
4. โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เลย เปล่ียนช่ือเป็น “โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณ
ราชวทิ ยาลยั เลย”
5. โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย มุกดาหาร เปลี่ยนชื่อเป็น “โรงเรียนวิทยาศาสตร์
จุฬาภรณราชวิทยาลยั มุกดาหาร”
6. โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย บุรีรัมย์ เปล่ียนชื่อเป็น “โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณ
ราชวิทยาลยั บุรรี มั ย์”
7. โรงเรยี นจุฬาภรณราชวิทยาลัย ปทมุ ธานี เปลีย่ นช่ือเป็น “โรงเรยี นวิทยาศาสตรจ์ ฬุ าภรณ
ราชวทิ ยาลยั ปทมุ ธาน”ี

คมู่ ือนักเรียนและผูป้ กครอง ปี 2565 หนา้ 2

8. โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ชลบุรี เปลี่ยนช่ือเป็น “โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณ
ราชวทิ ยาลัย ชลบรุ ี”

9. โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลยั เพชรบุรี เปล่ียนช่ือเป็น “โรงเรียนวิทยาศาสตรจ์ ฬุ าภรณ
ราชวทิ ยาลยั เพชรบุรี”

10. โรงเรยี นจฬุ าภรณราชวทิ ยาลยั นครศรีธรรมราช เปลี่ยนช่ือเป็น “โรงเรียนวิทยาศาสตร์
จุฬาภรณราชวทิ ยาลยั นครศรธี รรมราช”

11. โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ตรัง เปลี่ยนชื่อเป็น “โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณ
ราชวทิ ยาลัย ตรงั ”

12. โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย สตูล เปล่ียนชื่อเป็น “โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณ
ราชวิทยาลัย สตูล”

สาหรับงานภาษาอังกฤษของโรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย ให้ใช้นาม
ภาษาอังกฤษว่า “Princess Chulabhoorn Science High School” ต่อท้ายด้วยช่ือจังหวัดที่เป็น
สถานทต่ี ั้งของโรงเรียน

ท้ังน้ี ตัง้ แต่วันท่ี 3 กรกฎาคม 2561 ซ่งึ เปน็ วนั ทไ่ี ดร้ ับพระราชทานพระอนุญาต
ประกำศ ณ วันที่ 6 สิงหำคม พ.ศ. 2561

(นายธรี ะเกียรติ เจรญิ เศรษฐศลิ ป์)
รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธิการ

คู่มือนกั เรียนและผปู้ กครอง ปี 2565 หน้า 3

ทตี่ ัง้ และประวตั ิโรงเรยี นวิทยำศำสตรจ์ ฬุ ำภรณรำชวทิ ยำลยั สตูล

ทตี่ งั้ โรงเรยี น

โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย สตูล ต้ังอยู่บริเวณทุ่งเขาน้อย บนท่ีดิน
สาธารณประโยชน์ หมู่ที่ 12 ตาบลฉลุง อาเภอเมือง จังหวัดสตูล มีเน้ือท่ีท่ีเป็นท่ีตั้งโรงเรียนจานวน
58 ไร่

ประวตั โิ รงเรยี นวิทยำศำสตร์จุฬำภรณรำชวทิ ยำลยั สตลู

ควำมเป็นมำ
โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย สตูล เป็นโรงเรียนที่กรมสามัญศึกษาจัดตั้งขึ้น

เพื่อเฉลิมพระเกียรตเิ นอ่ื งในวโรกาสท่ีสมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราช
กมุ ารี กรมพระศรีสวางควฒั นวรขัตติยราชนารี ทรงเจริญพระชนมายุ ครบ 3 รอบ ในวนั ท่ี 4 กรกฎาคม
2536 ด้วยสานึกในพระกรุณาธิคุณที่ทรงมีต่องานด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและส่ิงแวดล้อม สนอง
ตามพระราชประสงค์ท่ี ทรงมุ่งมั่นส่งเสริมคุณภาพชีวิตในด้านความเป็นอยู่ และการศึกษาของ
ประชาชน โดยเฉพาะในท้องถิ่นห่างไกล โดยให้โอกาสแก่เยาวชนที่มีความสนใจ และมีความสามารถ
ทางด้านวิทยาศาสตรเ์ ทคโนโลยีและสง่ิ แวดลอ้ ม ได้ฝึกฝนความรู้ ความสามารถด้านน้ีเป็นพิเศษต้งั แต่
เยาว์วัย

พ.ศ.2537 ใช้ช่ือโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย สตูล จัดการเรียนการสอนเป็นการชั่วคราว
ณ วทิ ยาลัยเกษตรกรรม สตลู อาเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

20 พฤษภำคม 2537 ได้รบั อนุญาตให้ใช้ที่ดินสาธารณประโยชน์บรเิ วณทุ่งเขาน้อย หมู่ที่ 12
ตาบลฉลงุ อาเภอเมอื ง จังหวดั สตลู เปน็ ที่ตั้งโรงเรียน

4 ธันวำคม 2538 ย้ายสถานท่ีเรียนชั่วคราวจากวิทยาลัยเกษตรกรรม สตูล อาเภอ
ควนกาหลง จังหวดั สตลู มาเรียนในสถานท่ปี ัจจบุ ัน

17 มกรำคม 2539 ได้รับพระราชทานแผ่นศิลาฤกษ์และดาเนินการจัดพิธีวางศิลาฤกษ์
พร้อมกันกบั โรงเรยี นจฬุ าภรณราชวทิ ยาลยั 12 แหง่ ทั่วประเทศ

24 กรกฎำคม 2549 ลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ ระหว่างโรงเรียน
มหิดลวิทยานุสรณ์กับโรงเรียนจุฬาภรณราชวทิ ยาลยั 12 แห่ง

พ.ศ.2552 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ประกาศให้โรงเรียนจุฬาภรณ
ราชวทิ ยาลัย เปน็ โรงเรียนวทิ ยาศาสตร์ภมู ภิ าค ของ สพฐ.

คูม่ อื นักเรียนและผูป้ กครอง ปี 2565 หน้า 4

25 พฤศจิกำยน 2553 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบ โครงการพัฒนาโรงเรียนจุฬาภรณ
ราชวิทยาลยั ใหเ้ ปน็ โรงเรยี นวิทยาศาสตรภ์ ูมภิ าค (12 โรงเรียนทัว่ ประเทศ)

3 กรกฎำคม 2561 ได้รับพระราชทานพระอนุญาต จากสมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้า
จฬุ าภรณวลยั ลกั ษณ์ อคั รราชกมุ ารี กรมพระศรสี วางควฒั น วรขัตติยราชนารี ใหเ้ ปล่ยี นช่อื จากโรงเรยี น
จุฬาภรณราชวิทยาลัย สตูล เป็นโรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย สตูล และ ใช้นาม
ภาษาอังกฤษวา่ “Princess Chulabhorn Science High School Satun”

วัตถปุ ระสงคก์ ำรจดั ตง้ั โรงเรยี นวิทยำศำสตรจ์ ุฬำภรณรำชวิทยำลัย สตลู

1. เพื่อเฉลิมพระเกียรติในวโรกาสท่ีสมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์
อัครราชกุมารี กรมพระศรสี วางควฒั น วรขัตตยิ ราชนารี ทรงเจริญพระชนมายุ ครบ 3 รอบ

2. เพ่ือเป็นสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษาท่ีฝึกทักษะความรู้ ความสามารถของนักเรียน
ด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีของประเทศ

3. เพ่ือส่งเสริมให้นักเรียนที่เรียนดี มีความสามารถทางด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีได้มี
โอกาสเพิ่มมากขึ้นในการเข้าเรียนระดับมัธยมศึกษา และได้พัฒนาความรู้พื้นฐานในด้านน้ีให้เข้มข้น
เพอ่ื นาไปสู่การแก้ปญั หา และปรับปรงุ สิง่ แวดลอ้ มให้ได้ผลอย่างแท้จริงตอ่ ไป

4. เพ่ือเป็นสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษาท่ีเป็นตัวอย่างในด้านการฝึกอบรมนักเรียน ให้เป็น
กุลบุตรและกุลธิดาที่เพียบพร้อมด้วยคุณธรรม จริยธรรม สามารถพ่ึงตนเองได้ และเป็นประโยชน์
ตอ่ สังคม

คมู่ ือนกั เรยี นและผูป้ กครอง ปี 2565 หน้า 5

อุดมกำรณแ์ ละเปำ้ หมำยในกำรพัฒนำนักเรยี น

อุดมการณ์และเป้าหมายในการพัฒนานักเรียน ของโรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณ
ราชวทิ ยาลัยม่งุ ส่งเสรมิ และพฒั นานักเรียนให้

1. เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยในตนเอง ปฏบิ ัตติ ามหลกั ธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนา
ทต่ี น นับถอื มีคณุ ธรรมจริยธรรม มีบคุ ลิกภาพท่ดี ี และมคี วามเป็นผู้นา

2. มคี วามรู้ความเข้าใจเกยี่ วกับหลักการพื้นฐานด้านคณิตศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตรอ์ ยา่ งลึกซง้ึ ใน
ระดับเดยี วกนั กับนกั เรียนโรงเรยี นวิทยาศาสตรช์ น้ั นาของนานาชาติ

3. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีจิตวิญญาณของความเป็นนักวิจัย นักประดิษฐ์ นักคิดค้น และ
นักพัฒนา ด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ในระดับเดียวกันกับนักเรียนโรงเรียน
วทิ ยาศาสตร์ชัน้ นาของนานาชาติ

4. รักการเรียนรู้ รักการอ่าน รักการเขียน รักการค้นคว้าอย่างเป็นระบบ มีความรอบรู้ รู้รอบ
และสามารถบูรณาการความร้ไู ด้

5. มีความรู้และทักษะการใช้ภาษาต่างประเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างมี
ประสิทธภิ าพ ในระดับเดยี วกันกบั นักเรียนโรงเรยี นวิทยาศาสตร์ชน้ั นาของนานาชาติ

6. มจี ิตสานกึ ในเกยี รติภมู ขิ องความเป็นไทย มคี วามเข้าใจและภูมใิ จในประวตั ศิ าสตร์ของชาติ มี
ความรักและความภาคภูมใิ จในชาตบิ ้านเมืองและท้องถ่ิน เป็นพลเมืองดี ยึดม่ันในการปกครองระบอบ
ประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั ริยเ์ ป็นประมขุ

7. มีจิตสานึกในการอนุรักษ์ภาษาไทย ศิลปวัฒนธรรมไทย ประเพณีไทย ภูมิปัญญาไทย
ตลอดจนอนุรักษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม มีเจตคตทิ ด่ี ตี อ่ เพ่ือนรว่ มโลกและธรรมชาติ

8. มจี ิตมงุ่ ทจี่ ะทาประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดีงามให้กบั สังคม มีความรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคม ต้องการ
ตอบแทนบา้ นเมอื งตามความสามารถของตนอย่างตอ่ เนือ่ ง

9. มีสขุ ภาพอนามัยท่ดี ี รักการออกกาลังกาย รจู้ ักดูแลตนเองใหเ้ ขม้ แขง็ ท้ังกายและใจ
ทั้งนี้ เพื่อพัฒนาไปสูค่ วามเป็นนกั วจิ ยั นักประดษิ ฐ์คิดคน้ ดา้ นคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และ

เทคโนโลยที ่ีมีความสามารถระดับสูงเยี่ยมเทียบเคียงกับนักวิจยั ช้ันนาของนานาชาติ และมีจิตวญิ ญาณ
มุ่งม่ันพัฒนาประเทศชาติ มีเจตคติท่ีดีต่อเพื่อนร่วมโลกและธรรมชาติ สามารถสร้างองค์ความรู้ด้าน
คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ให้กับประเทศชาติและสังคมไทยในอนาคต ช่วยพัฒนา
ประเทศชาติให้สามารถดารงอยู่และแข่งขันได้ในประชาคมโลก เป็นสังคมผู้ผลิตท่ีมีมูลค่าเพิ่มมากข้ึน
สรา้ งสังคมแห่งภมู ปิ ญั ญา และการเรียนรู้ สังคมแหง่ คุณภาพและแขง่ ขันได้ และสงั คมทีย่ ั่งยืนพอเพยี ง

คู่มือนกั เรียนและผปู้ กครอง ปี 2565 หนา้ 6

ตรำประจำโรงเรียน

รำยกำรประกอบแบบตรำโรงเรยี นวิทยำศำสตรจ์ ุฬำภรณรำชวิทยำลยั สตูล
• พระมงกฎุ และรศั มีเหนอื พระมงกฎุ 19 เส้นเปน็ สเี หลอื งทอง
• อกั ษรพระนามยอ่ จ.ภ. อยู่ใต้พระมงกฎุ อกั ษร จ เปน็ สีแสด อกั ษร ภ เป็นสขี าว
• โบดา้ นลา่ งเปน็ สนี ้าเงิน ตดั ขอบโบด้วยเส้นสีเหลอื งทอง
• อกั ษรช่อื โรงเรียน ตามด้วยชื่อจงั หวัดท่ีตงั้ เป็นตวั อกั ษรสเี หลืองทอง

คำขวัญของโรงเรยี น

รักษ์ศักด์ิศรี มีคุณธรรม นำวชิ ำกำร สบื สำนงำนพระรำชดำริ

ปรัชญำโรงเรยี น

ปญฺญำยตถ วิปสฺสติ
คนยอ่ มเห็นเนอื้ ควำมดว้ ยปญั ญำ

คมู่ อื นกั เรียนและผู้ปกครอง ปี 2565 หนา้ 7

สปี ระจำโรงเรียน

นำ้ เงิน - แสด
สนี ้าเงนิ เปน็ สปี ระจาสถาบนั พระมหากษัตรยิ ์

สีแสด เปน็ สีประจาวันพฤหสั บดี ซึง่ ตรงกับวนั ประสูตขิ องสมเดจ็ พระเจ้านอ้ งนางเธอ
เจ้าฟา้ จฬุ าภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกมุ ารี กรมพระศรสี วางควฒั น วรขตั ตยิ ราชนารี

ต้นไมป้ ระจำโรงเรียน

ตน้ แคแสด

ตน้ แคแสด เป็นต้นไม้ท่ใี หด้ อกสแี สด และเปน็ ต้นไม้ทีโ่ ตเร็ว สามารถขนึ้ ได้ทกุ พน้ื ทีท่ กุ ภาค

อักษรย่อของโรงเรยี น

จ.ภ.
ค่มู ือนักเรยี นและผู้ปกครอง ปี 2565 หน้า 8

เพลงมำร์ชโรงเรียนจุฬำภรณรำชวิทยำลยั

คำร้อง : วชิ าญ เชาวลิต
ทำนอง : กิตติ ศรเี ปารยะ

ราชวทิ ยาลยั อันใหญ่ยง่ิ งามเพรศิ พริง้ คณุ ธรรมเลิศล้าคา่
ท้งั ศาสตร์ศิลปเ์ ลิศลา้ ทางปญั ญา มุ่งศึกษาวิทยาศาสตรใ์ ห้กา้ วไกล
ชเู ชิดเทิดพระเกยี รตแิ ห่งเจา้ ฟา้ องค์จุฬาภรณพระนามยง่ิ ใหญ่
เจ้าฟ้านกั วิทยาศาสตร์ของชาติไทย กอ้ งเกรกิ ไกรลือเลอ่ื งกระเด่ืองนาม
สีแสดประเสริฐเจดิ จา้ องคฟ์ ้าหญิง น้าเงนิ มิง่ กษตั รยิ าฟ้าสยาม
มงคลสถติ อยู่คู่เขตคาม ปรากฏนามจฬุ าภรณราชวิทยาลยั
มงุ่ สง่ เสรมิ สร้างสรรค์จรรโลงชาติ สรา้ งนักวทิ ยาศาสตร์ใหย้ ิ่งใหญ่
สรา้ งเกยี รติยศช่อื เสียงให้เกรยี งไกร นาชาตไิ ทยก้าวหนา้ คูฟ่ า้ ดนิ

คู่มอื นกั เรยี นและผู้ปกครอง ปี 2565 หน้า 9

จดุ เน้นในกำรพฒั นำคณุ ภำพกำรศกึ ษำ
โรงเรยี นวทิ ยำศำสตร์จุฬำภรณรำชวทิ ยำลยั สตลู

จุดเนน้ 10 ประกำร
1. พัฒนาระบบการบริหารและจัดการสถานศึกษาทั้ง 5 ด้าน คือ การบริหารวิชาการ
การบริหารงบประมาณ การบริหารงานบุคคล การบริหารทว่ั ไป และการบริหารกจิ การนกั เรียน
2. พฒั นาระบบการดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี นเป็นรายบุคคล
3. พัฒนาด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม แกน่ ักเรยี นเป็นรายบุคคล สูค่ วามเป็นเลิศ
4. พัฒนาการจัดการเรียนการสอนทางด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
แกน่ กั เรียนเปน็ รายบคุ คลส่คู วามเปน็ เลศิ ทง้ั ในระดับชาตแิ ละระดบั นานาชาติ
5. พัฒนาศักยภาพทางด้านวิชาการและแววความสามารถพิเศษ แก่นักเรียนเป็นรายบุคคล
สคู่ วามเป็นเลิศ ทง้ั ในระดบั ชาติและระดบั นานาชาติ
6. พัฒนาครู บุคลากรทางการศึกษา และบุคลากรอื่น ๆ ในสถานศึกษา สู่มืออาชีพ และไดร้ บั
การยอมรบั ทงั้ ในเวทรี ะดับชาติและระดบั นานาชาติ
7. สร้างเสรมิ ขวัญกาลังใจแก่นักเรยี น และบคุ ลากรในสถานศึกษาอย่างต่อเนอ่ื ง
8. พฒั นาระบบความสัมพันธ์และความรว่ มมือ ระหว่างโรงเรยี นกับชมุ ชน เครือขา่ ยผูป้ กครอง
สถาบนั การศึกษา สถาบันวจิ ัยและโรงเรียนวทิ ยาศาสตรช์ ั้นนา ทงั้ ในและตา่ งประเทศ
9. พัฒนาอาคารสถานที่ สภาพแวดล้อม และภมู ิทศั นข์ องโรงเรยี น ใหส้ ะอาด เรยี บรอ้ ย รม่ รนื่
และสวยงาม
10. สืบสานงานพระราชดาริ

คมู่ อื นักเรียนและผปู้ กครอง ปี 2565 หน้า 10

แนวปฏิบัติของผ้ปู กครองนักเรียน

1. ผ้ปู กครองนกั เรยี น
1.1 การแจง้ ชอ่ื บดิ า - มารดาในทะเบียนของโรงเรียนน้ัน ตามระเบยี บของกระทรวงศกึ ษาธิการ

ต้องแจ้งช่ือบิดา - มารดาผู้ให้กาเนิดเท่าน้ัน แม้ว่าจะจดทะเบียนเป็นบุตรบุญธรรมของผู้อื่นแล้วก็ตาม
ดงั น้ันการเขยี นใบมอบตัวซึ่งเปน็ หนา้ ท่ขี องผู้ปกครอง จึงตอ้ งเขยี นให้ถูกต้อง การเขยี นวัน เดือน ปี เกิด
ของนกั เรียนก็เชน่ กนั ตอ้ งเขียนตามทะเบียนบ้าน

1.2 กรณีผู้ปกครองนักเรียนเปล่ียนช่ือหรือชื่อสกุล ย้ายที่อยู่ และเปลี่ยนแปลงหมายเลข
โทรศัพท์ จะต้องแจ้งให้โรงเรียนทราบพร้อมส่งหลักฐานการเปล่ียนแปลงโดยเร็วเพ่ือความสะดวก
ในการติดตอ่

1.3 นกั เรียน 1 คน มผี ปู้ กครองไดไ้ มเ่ กนิ 4 คน
1.4 ผปู้ กครอง 1 คน สามารถเป็นผ้ปู กครองของนกั เรยี นได้ไมเ่ กิน 4 คน
2. กำรรว่ มมอื กับทำงโรงเรียน
2.1 กรณีมีข้อสงสัยหรือปัญหาใด ๆ โปรดติดต่อโรงเรียนด้วยตนเอง เพ่ือสอบถามหรือ
ปรึกษาหารอื กบั ครทู ป่ี รึกษาและฝา่ ยบริหาร เพอ่ื รว่ มกนั แกป้ ญั หา
2.2 กรณีผู้ปกครองนักเรียนได้รับหนังสือแจ้ง หรือโทรศัพท์จากโรงเรียน ขอความร่วมมือ
ผ้ปู กครอง นกั เรียนมาพบตามวันและเวลาท่โี รงเรยี นกาหนด
2.3 ผู้ปกครองนักเรียนจะต้องเข้าร่วมประชุมผู้ปกครองชั้นเรียน (Classroom meeting)
ทกุ คร้ังตามวันและเวลาทโี่ รงเรียนกาหนด
2.4 ผู้ปกครองนักเรียนจะต้องเป็นสมาชิกสมาคมผู้ปกครองของโรงเรียน และเข้าร่วมประชุม
ทุกคร้ัง
3. กำรศึกษำของนกั เรียนในปกครอง
3.1 ควรสอบถามถึงการเรียนของนักเรียนทั้งในและนอกโรงเรียน และควบคุมให้นักเรียน
เอาใจใสใ่ นการเล่าเรียนอย่างสม่าเสมอ
3.2 ควรดูแลในเรื่อง อุปกรณ์การเรียนของนักเรียน อย่าให้บกพร่อง เพราะจะเป็นอุปสรรค
สาคัญในการศกึ ษาของนักเรียน
3.3 ควรห้ามนักเรียนอ่านหนังสืออ่านเล่นที่ชวนให้เพลิดเพลิน หรือเว็บไซต์ท่ีย่ัวยุกามารมณ์
หรือขัดต่อหลักศีลธรรมอันดี หรือหลงเช่ือในทางที่ผิด ต้องห้ามปรามนักเรียนดูภาพยนตร์ที่ย่ัวยุ
กามารมณ์และต้องห้าม นักเรียนไปเท่ียวในสถานท่ีซึ่งไม่เหมาะสมแก่สภาพนักเรียน เช่น ดิสโก้เทค
ไนตค์ ลับ สถานอาบอบนวด คาราโอเกะ รา้ นเกม หรอื สถานทีอ่ ืน่ ๆ ทีไ่ ม่เหมาะสม

คู่มอื นกั เรียนและผู้ปกครอง ปี 2565 หน้า 11

3.4 ควรให้โอกาสแก่นักเรียนได้ไปศึกษานอกสถานที่ ตามโอกาสท่ีโรงเรียนจัด หรือผู้ปกครอง
จะนาไปเอง สุดแต่จะเห็นสมควร แต่ไม่ควรปล่อยให้นักเรียนไปกับเพ่ือนตามลาพัง เพราะอาจจะถูก
ชกั จูง/ชักชวน ไปในทางเสียหาย หรอื อาจก่อใหเ้ กดิ อนั ตรายกับตัวนักเรียนไดง้ ่าย
4. ควำมประพฤตขิ องนกั เรยี นในปกครอง

4.1 ควรระมัดระวงั ในเรอ่ื งการเงนิ โปรดควบคุมอย่าใหใ้ ช้เงินอยา่ งฟุ่มเฟือย
4.2 ควรกวดขันนักเรียนใหก้ ลบั เข้าโรงเรียนใหท้ นั เวลาทกี่ าหนด
4.3 ควรกวดขันการแตง่ กายในการกลบั เข้าโรงเรียนใหถ้ กู ต้อง เรยี บร้อย
4.4 ควรเอาใจใส่เร่ืองการคบเพ่ือนของนักเรียน โดยเลือกคบเพื่อนที่มีความประพฤติดีจะได้
ชกั จงู กันไปในทางทีด่ ี
4.5 ควรห้ามนักเรียนสูบบุหรี่ ด่ืมเครื่องด่ืมผสมแอลกอฮอล์ เสพส่ิงเสพติดให้โทษ และเล่น
การพนันโดยเด็ดขาด เพราะสิ่งเหล่านี้เป็นเคร่ืองชักจูงไปในทางท่ีไม่ดี และไม่เหมาะสมกับสภาพ
ของนกั เรยี น
4.6 ควรกวดขันการเท่ียวเตร่ของนักเรยี น ขณะทีน่ กั เรยี นกลบั ไปอย่ทู ่ีบ้าน
4.7 ควรสอดส่อง และป้องกันอย่าให้นักเรียนกระทาการอันใด ไปในทางชู้สาว ต้องพยายาม
ช้ีแจง อบรมให้นักเรียนเข้าใจ ตลอดถึงการจัดงานสังสรรค์ หรือร่วมงานสังสรรค์ใด ๆ ที่โรงเรียนมิได้
จัดข้ึน
4.8 ควรแนะนาตักเตือน และอบรมสั่งสอนให้นักเรียนดารงตนอยู่ในศีลธรรม กิริยามารยาท
ทเ่ี รียบรอ้ ยมสี ัมมาคารวะ รจู้ กั ประพฤตใิ นสิ่งทีค่ วรประพฤติ และละเวน้ ในสง่ิ ทคี่ วรละเวน้
4.9 ควรอบรมให้นักเรยี นเป็นผมู้ ีนิสัยรักความเรียบรอ้ ย และความสะอาดท้ังในสว่ นที่เก่ียวข้อง
กบั ตนเองและครอบครัว โดยการช่วยงานทบ่ี ้านตามควรแกก่ าลังและเวลา
4.10 ไม่ควรใหน้ ักเรียนทางานทีไ่ ม่สมควรกับวัยหรอื ภาวะของนกั เรยี น
5. กำรอนำมัย
5.1 ชว่ ยดแู ลรกั ษาความสะอาดรา่ งกาย ผม เลบ็ เสอื้ ผ้า อปุ กรณก์ ารเรียน และเครอื่ งใช้ทุกชนดิ
ของนักเรียนตลอดจนสถานที่อยู่อาศัยและไม่ส่งเสริมให้นักเรียนดัดผม ยืดผม ซอยผม ทาสีผม
ไว้ผมยาว และใช้เครื่องสาอาง หรอื แตง่ กายผดิ ระเบียบของโรงเรียน
5.2 ควรให้นักเรียนรับประทานอาหารท่ีเป็นประโยชน์ต่อร่างกาย เพ่ือความเจริญเติบโต
แขง็ แรง และรับประทานอาหารตรงตามเวลาเสมอ
5.3 ควรสง่ เสริมให้นกั เรยี นออกกาลงั กายอยา่ งสม่าเสมอ
5.4 ดูแลให้นกั เรียนไดพ้ ักผ่อนอย่างเพียงพอ
5.5 คอยสังเกต และเอาใจใส่ต่อสุขภาพของนักเรียนให้ปกติอยู่เสมอ หากผิดปกติต้องนาไป
ปรกึ ษาแพทย์ทันที

คูม่ อื นักเรยี นและผปู้ กครอง ปี 2565 หน้า 12

6. กำรแตง่ กำยของนักเรียน
6.1 ผู้ปกครองนักเรียนช่วยดูแลนักเรียนให้แต่งกายสะอาดเรียบร้อย ถูกต้องตามระเบียบของ

โรงเรยี น
6.2 ไมค่ วรใหน้ ักเรยี นใชเ้ ครอ่ื งแตง่ กายท่ีมรี าคาแพงเกินสมควร
6.3 ไมส่ ง่ เสรมิ ใหใ้ ชเ้ ครอื่ งประดบั ตา่ ง ๆ ทผ่ี ดิ ระเบียบของโรงเรียน
6.4 ถ้านักเรียนจะห้อยพระเครื่อง ควรเก็บให้มิดชิดไม่ให้โผล่ออกมานอกเสื้อ เพ่ือ

ความปลอดภยั และความเรยี บรอ้ ยของนักเรียน
6.5 การตัดผมของนักเรียนให้เป็นไปตามระเบยี บของโรงเรียน
6.6 ห้ามนกั เรียนในปกครองใช้แวน่ ตารูปทรงแปลก ๆ กรอบแว่นสายตาทนี่ กั เรียนจาเปน็ ตอ้ งใช้

ควรเปน็ สดี า สีนา้ ตาล ท่ีมีกรอบกะทัดรัด และสุภาพเรียบรอ้ ย
6.7 ห้ามนักเรียนใช้คอนแทคเลนส์ทีม่ ีสีและลวดลายตา่ ง ๆ

7. กำรหยุดเรยี นของนักเรียน
7.1 เม่ือนักเรียนในปกครองของท่านมีเหตุจาเป็นต้องหยุดเรียน ไม่ว่ากรณีใด ๆ ต้องส่งใบลา

ทุกคร้งั
7.2 ถา้ นักเรยี นหยดุ เรียนเกนิ 3 วัน ผู้ปกครองจะตอ้ งแจง้ ให้ทางโรงเรยี นทราบด้วยตนเอง
7.3 ถ้านกั เรียนหยดุ เรียนเนอ่ื งจากป่วยเกิน 5 วนั ควรมีใบรับรองแพทย์ไปแสดงตอ่ ทางโรงเรียน
7.4 เม่ือเปิดภาคเรียนแล้ว หากนักเรียนไม่มาเรียนภายใน 1 สัปดาห์ โดยไม่แจ้งเหตุผลให้

ทางโรงเรียนทราบ โรงเรียนจะถือวา่ นกั เรยี นขาดเรยี น
7.5 นักเรียนจะต้องมีเวลาเรียน 80% ของรายวิชาเรียนในแต่ละภาคเรียน จึงจะมีสิทธิ์สอบ

ในรายวชิ านั้น ๆ
7.6 เม่ือผ้ปู กครองไดร้ บั แจง้ จากโรงเรยี นใหท้ ราบเกย่ี วกับการขาดเรยี นของนักเรยี นตลอดจน

เร่อื งอ่ืน ๆ ผู้ปกครองจะตอ้ งรบี ตดิ ตอ่ ทางโรงเรียนทันที
7.7 ในกรณีทผ่ี ู้ปกครองจะใหน้ กั เรียนลาออกจากโรงเรยี นผูป้ กครองจะตอ้ งมาลาออกด้วยตนเอง
โรงเรียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ท่านผู้ปกครองจะอ่านและทาความเข้าใจระเบียบการปฏิบัติ

ของนกั เรียน แนวปฏิบัติสาหรบั ผ้ปู กครอง เพอ่ื จะไดร้ ว่ มมือกบั ทางโรงเรยี นอบรมและปกครองนักเรยี น
ซง่ึ เป็นทรพั ยากรอันมีคา่ ยง่ิ ของประเทศชาติ ถ้ามีปญั หาใด ๆ หรือท่านผิดสังเกตในตวั ของนักเรยี น หรือ
หากท่านเกิดสงสัยใด ๆ ขอโปรดติดต่อกับทางโรงเรียนได้ทุกโอกาส เพื่อร่วมแก้ไขปัญหาและพัฒนา
นกั เรยี นตอ่ ไป โรงเรยี นขอขอบคุณเปน็ อยา่ งยิ่งทที่ ่านไดใ้ หค้ วามรว่ มมือกบั ทางโรงเรียนอยา่ งใกลช้ ิด

คูม่ อื นกั เรยี นและผู้ปกครอง ปี 2565 หนา้ 13

แนวปฏบิ ตั ใิ นกำรรบั - สง่ นักเรียน

แนวปฏิบัติ
เมื่อผู้ปกครองจะรบั - สง่ นักเรียนในการปกครองของทา่ นขอให้ท่านปฏิบตั ดิ ังต่อไปน้ี
ปดิ หอกลำงเดอื นและปลำยเดอื น

การรบั นักเรยี น

1. ผูป้ กครองรบั นักเรยี น ณ สานักงานฝา่ ยบรหิ ารกิจการนักเรียน
2. ผู้ปกครองแสดงบัตรต่อครูประจาหอพัก และลงช่ือในบัญชีนักเรียนและสมุดประจาตัว

นกั เรียน (สมุดสชี มพู) ในชอ่ ง “รับ”
3. ครูประจาหอพักลงชื่อในบญั ชนี กั เรยี นและสมดุ ประจาตัวนกั เรียนในช่องรับ
4. โปรดแสดงสมุดประจาตัวนักเรียน (สมุดสีชมพู) กับเจ้าหน้าท่ีรักษาความปลอดภัย

บริเวณประตทู างออก

การส่งนกั เรยี น

1. ผู้ปกครองนกั เรียนสง่ นักเรยี น ณ สานักงานฝา่ ยบริหารกิจการนกั เรยี น
2. ผู้ปกครองแสดงบตั รต่อครปู ระจาหอพกั และลงชอ่ื ในบญั ชนี ักเรยี นช่อง “ส่ง”
3. นกั เรยี นกลับเข้าหอพกั

***หมำยเหตุ
– ในการรับ - สง่ ใหผ้ ู้ปกครองเขม้ งวดเรื่องเวลา และเครื่องแตง่ กายของนักเรียนดว้ ย
– การเข้า - ออก ของนักเรียนทุกกรณีต้องได้รับอนุญาตในสมุดประจาตัวนักเรียน (สมุด
สีชมพ)ู ทกุ ครั้ง
– ในกรณีผู้ปกครองทั้ง 4 คน ในสมุดประจาตัวนักเรียน (สมุดสีชมพู) ไม่สามารถรับหรือส่ง
นักเรยี นได้ ให้มอบฉนั ทะ พรอ้ มหลักฐานสาเนาบัตรผู้ปกครองนกั เรยี นและผู้รบั มอบฉนั ทะ

คู่มอื นักเรียนและผปู้ กครอง ปี 2565 หนา้ 14

แนวปฏิบตั ิเกีย่ วกบั กำรลำของนกั เรียน

เพ่ือให้การลาของนักเรียนที่เจ็บป่วย หรือมีกิจธุระจาเป็น เป็นไปด้วยความเรียบร้อย และมี
แนวปฏิบัติท่ีตรงกนั โรงเรยี นจงึ กาหนดระเบยี บปฏิบตั ิ ดงั นี้

1. การลาทุกครัง้ ตอ้ งใช้ใบลาทโี่ รงเรียนกาหนดข้ึน หากเขยี นใบลาขนึ้ เองจะต้องมีขอ้ ความ
ตามแบบของโรงเรียนกาหนดให้

2. ในการลาทุกครั้งต้องลงลายมือชื่อของผู้ปกครองรับรองการลา มิฉะนั้นทางโรงเรียน
จะไม่อนุญาตการลา

3. ใบลา แบง่ ออกเปน็ 3 สว่ น กรอกรายละเอียดให้ครบ พรอ้ มทงั้ ลงลายมือช่ือครูที่ปรึกษา
และผอู้ นญุ าต ส่งทฝ่ี า่ ยบริหารวิชาการ

4. ถ้าหากนกั เรยี นไมส่ ง่ ใบลาทกี่ าหนดในข้อ 3 ไม่วา่ กรณีใด ๆ หรอื ทางโรงเรียนไม่อนุญาต
การลาเพราะเหตุผ้ลู าไมป่ ฏิบตั ติ ามระเบยี บการลา จะถือวา่ นกั เรยี นผนู้ ั้นขาดเรียน

5. ในรายวิชาใด ท่ีนักเรียนมีเวลาเรียนไม่ครบ 80% ของเวลาเรียนท้ังหมด เน่ืองจาก
ขาดเรียนรวมอยู่ด้วย โรงเรียนจะไม่อนุญาตให้นักเรียนผู้นั้นเข้าสอบปลายภาค เนื่องจากนักเรียน
ไมเ่ อาใจใส่ต่อการเรียน และมีเจตนาฝา่ ฝนื ระเบียบการลาของโรงเรียน

6. ให้ดาเนนิ การตามแนวปฏิบตั ิในการเขา้ - ออกโรงเรยี นให้ถูกตอ้ ง

คู่มือนกั เรยี นและผ้ปู กครอง ปี 2565 หน้า 15

แนวปฏิบัติกำรขอใบรบั รองควำมประพฤติของนกั เรยี น

1. นักเรียนระดับ ม.3 และ ม.6 ท่ีจะจบการศึกษาในปีการศึกษาน้ัน ๆ ให้ย่ืนคาร้อง
ขอใบรบั รองความประพฤตภิ ายในเดือนมกราคม

2. นักเรียนท่ีต้องการใช้ใบรับรองความประพฤติตามโอกาสต่าง ๆ ให้ย่ืนคาร้องล่วงหน้า
กอ่ นกาหนดวันท่ีตอ้ งการใชอ้ ย่างนอ้ ย 3 วนั

3. นักเรยี นทีต่ อ้ งการใบรบั รองความประพฤติใหป้ ฏบิ ตั ิตามข้นั ตอน ดังนี้
3.1 ขอแบบคารอ้ งทส่ี านกั งานฝ่ายบรหิ ารกิจการนักเรยี น
3.2 เขียน / กรอกข้อความให้ถูกต้องครบถ้วน ชัดเจน ให้ครูท่ีปรึกษา ครูหอพัก

ลงลายมอื ชอ่ื และสง่ ใบคารอ้ งท่สี านักงานฝ่ายบรหิ ารกจิ การนกั เรียน
3.3 หัวหน้างานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ผู้ช่วยผู้อานวยการโรงเรียน

ฝ่ายบริหารกิจการ นักเรียน รองผู้อานวยโรงเรียน ฝ่ายบริหารกิจการนักเรียน ลงความเห็น และ
ลงลายมือชอ่ื

4. เกณฑก์ ารเขยี นใบรบั รองความประพฤติ
4.1 ไม่เคยถูกตดั คะแนนความประพฤติเลย ให้ “เรยี บรอ้ ยดีมาก”
4.2 ถกู ตดั คะแนนความประพฤติ ตง้ั แต่ 1 - 30 คะแนน ให้ “เรยี บร้อยดี”
4.3 ถกู ตัดคะแนนความประพฤติ ต้ังแต่ 31 - 50 คะแนน ให้ “เรยี บรอ้ ย”

5. กรณีนักเรยี นถกู ตดั คะแนนความประพฤติมากกวา่ 50 คะแนนขน้ึ ไป นกั เรยี นจะตอ้ งทา
กิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์เป็นจานวนครั้งเท่ากับจานวนคะแนนความประพฤติที่ถูกตัดคะแนน ตามที่
โรงเรียนกาหนดเม่อื ดาเนินการเรียบร้อยแล้วโรงเรยี นจะออกใบรับรองความประพฤตใิ ห้ “เรยี บรอ้ ย”

คู่มือนกั เรยี นและผูป้ กครอง ปี 2565 หน้า 16

แนวปฏบิ ตั ิในกำรขอมบี ัตรผู้ปกครองนกั เรียน
โรงเรียนวทิ ยำศำสตรจ์ ุฬำภรณรำชวิทยำลัย สตูล

1. ย่นื แบบคารอ้ งขอมีบัตรผู้ปกครองนกั เรยี นได้ที่สานักงานหอพัก
2. ผู้ปกครองนักเรียน คอื บุคคลดังต่อไปนี้

2.1 บดิ า - มารดานกั เรยี น
2.2 ญาตใิ กลช้ ิด หรอื พข่ี องนักเรียนท่บี รรลุนติ ิภาวะแลว้
2.3 บุคคลอื่นทไ่ี ด้รับมอบจาก บดิ า - มารดานักเรยี น โดยความเห็นชอบจากโรงเรยี น
3. นกั เรยี น 1 คน สามารถมผี ปู้ กครองไดเ้ พยี ง 4 คน
4. ผปู้ กครอง 1 คน สามารถเป็นผู้ปกครองของนักเรียนไดไ้ มเ่ กิน 4 คน
5. สิทธิผู้ปกครอง สามารถเป็นผู้ปกครองของนักเรียนจนจบระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น
หรือชน้ั มธั ยมศึกษาตอนปลาย แล้วแตก่ รณเี ทา่ นัน้
6. การยกเลิกการเป็นผู้ปกครองของนักเรียน สามารถทาได้โดยบิดา - มารดานักเรียน
บนั ทึกแจ้งโรงเรยี น
7. ใช้รูปถา่ ยประกอบการมีบัตร ขนาด 1 นิว้ จานวน 3 รปู (ถา่ ยไว้ไมเ่ กิน 6 เดอื น)
8. สาเนาทะเบยี นบ้านผปู้ กครอง
9. สาเนาบตั รประจาตวั ประชาชน หรือบตั รข้าราชการ

คมู่ ือนกั เรียนและผู้ปกครอง ปี 2565 หนา้ 17

แนวปฏิบตั ิในกำรขอพบหรอื เยีย่ มนักเรียน
โรงเรยี นวทิ ยำศำสตร์จุฬำภรณรำชวิทยำลัย สตูล

1. ผ้ปู กครองนกั เรียนสามารถแสดงความจานงขอพบนกั เรียนได้ทห่ี น้าหอ้ งประชาสัมพนั ธ์
2. กรอกชอ่ื นักเรียน
3. แสดงบัตรผู้ปกครองนักเรียนหรือหลักฐานอ่ืน ๆ เช่น บัตรประจาตัวประชาชน / บัตร
ข้าราชการ / ใบขับข่ีรถ ตอ่ ครเู วรประจาวัน ซึง่ ปฏบิ ตั ิหน้าที่ ณ ห้องประชาสมั พันธ์
4. ครเู วรตรวจสอบความเรยี บร้อย / ถกู ตอ้ ง
5. ประกาศเรยี กนกั เรียน
6. เวลาในการขอพบนกั เรียน

วันปกติ ควรขอพบระหวา่ งเวลา 16.30 - 18.00 น.
วันหยดุ (วนั เสาร์ - อาทติ ย์ หรือวันหยุดนักขัตฤกษ์) เวลา 08.30 - 18.00 น.
(หากนักเรียนปฏิบัติกิจกรรมอยู่ ผู้ปกครองจะพบได้เม่ือนักเรียนปฏิบัติกิจกรรมเสร็จ
เรยี บรอ้ ย)
7. ขอความกรณุ าผปู้ กครองนักเรียน ไมค่ วรพบนกั เรยี นหลงั เวลา 18.00 น.
8. หากมีความจาเป็นในการขอพบนักเรียนหลังเวลา 18.00 น. ขอให้แจ้งยาม และห้าม
นารถเข้าบริเวณโรงเรยี น (ยกเว้นกรณรี ับนกั เรยี นปว่ ย)
9. โรงเรยี นไม่อนญุ าตใหผ้ ู้ปกครองนารถยนต์ หรือรถจักยานยนต์ เขา้ ไปบรเิ วณหอพัก หรือ
บรเิ วณอื่น ๆ ภายในบรเิ วณโรงเรียน โดยใหจ้ อดไวท้ ่ีลานหนา้ ห้องประชาสมั พนั ธ์
10. หมายเลขโทรศัพท์ท่ีสามารถแจ้งให้นักเรียนโทรกลับ หรือฝากข้อความไว้ในช่วงหลัง
18.00 น. คือ 0 - 7472 - 5983 (โดยยามของโรงเรียนจะเป็นผู้รับสาย) หรือ 0 - 7472 - 5982
(สานักงานหอพกั )

คูม่ อื นักเรียนและผูป้ กครอง ปี 2565 หน้า 18

ระเบียบเคร่อื งแต่งกำยนักเรยี น

1. ทรงผมนกั เรยี นชาย
• นักเรียนชายจะไว้ผมส้ันหรือผมยาวก็ได้ กรณีไว้ผมยาวดา้ นข้าง ด้านหลัง ต้องยาว

ไม่เลยตีนผม ดา้ นหนา้ และกลางศรี ษะใหเ้ ป็นไปตามความเหมาะสมและมคี วามเรยี บร้อย
2. ทรงผมนักเรียนหญงิ
• นักเรียนหญิงจะไว้ผมส้ันหรือผมยาวก็ได้ กรณีไว้ผมยาวให้เป็นไปตาม

ความเหมาะสม โดยรวบและผกู โบใหเ้ รยี บรอ้ ย ดว้ ยโบตามรูปแบบที่โรงเรยี นกาหนด
นกั เรยี นชายและนกั เรยี นหญิงหำ้ มดาเนินการเกยี่ วกับทรงผม ดงั น้ี
• หา้ มดดั ผมห้ามซอยผม
• ห้ามยกสผี มใหผ้ ดิ ไปจากเดมิ
• หา้ มไวห้ นวดหรือเครา
• ห้ามกระทาอ่ืนเลยซึ่งไม่เหมาะสมกับสภาพการเป็นนักเรียน เช่น การตัดแต่ง

ทรงผมเป็นรูปทรงสัญลักษณห์ รอื เปน็ ลวดลาย
(ระเบียบเก่ียวกับทรงผมดังกล่าว แก้ไขตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการไว้

ทรงผมของนักเรียน พ.ศ. 2563 ให้ไว้ ณ วันท่ี 30 มีนาคม พ.ศ. 2563 โดย นายณัฏฐพล ทีปสุวรรณ
รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร)

3. เส้ือ กางเกง กระโปรง เข็มขัด ถุงเท้า และรองเท้า สาหรับเครื่องแบบและชุดพิธีการ
ใหเ้ ป็นไปตามทโ่ี รงเรยี นกาหนด

4. ต่างหู สาหรับนักเรียนหญิง อนุญาตให้ใส่เพ่ือป้องกันรูที่เจาะหูตัน เพียงข้างละ 1 รู
เท่านั้น ให้ใช้ต่างหูท่ีมีสีทองหรือสีเงินเป็นห่วงเล็ก ๆ เส้นผ่าศูนย์กลางไม่เกิน 1 เซนติเมตร โดยไม่
อนญุ าตใหน้ ักเรยี นชายใสต่ า่ งหู

5. สายสร้อย อนุญาตให้ใส่สาหรับผู้ท่ีต้องการมีพระติดตัวไว้ และต้องให้มีความยาว
พอสมควรที่ซอ่ นพระไว้ไม่ใหม้ องเหน็ สายสร้อยทาด้วยเงนิ แสตนเลส หรือเชือก

6. แหวน อนุญาตให้ใส่ได้เฉพาะแหวนพระ แหวนรุ่น ห้ามใส่แหวนที่ทาด้วยทองคา นาค
และเพชร

7. ห้ามสวมแว่นตารูปทรงแปลก ๆ ที่มีกรอบเป็นสีขาวหรือสีต่าง ๆ กรอบแว่นที่จะใช้ได้
คอื กรอบสดี า หรอื เทาแกห่ รอื สีนา้ ตาลไหม้

8. กระเปา๋ หรอื เปน้ ักเรยี น ใหใ้ ช้ตามแบบของโรงเรยี นกาหนดเทา่ น้ัน

คมู่ อื นกั เรียนและผูป้ กครอง ปี 2565 หน้า 19

กำรแต่งกำย
1. เคร่ืองแบบนักเรยี นชำย – หญงิ

1.1 เครอื่ งแบบนกั เรียนชำยท่ีใช้ในวนั ปกติ
1.1.1 เส้ือเป็นเส้ือเชิ้ตแขนส้ันคอต้ัง ใช้ผ้าสีขาวเนื้อเกล้ียง ไม่บาง หรือหนาจนเกินไป

ไม่ใช้ผ้ามัน ผ้าฝ้าย ผ่าอกตลอด มีสาบนอกท่ีอกเส้ือ กระดุมสีขาว มีกระเป๋าติดแนวราวนมซ้าย
1 กระเปา๋ ปักชื่อ - สกลุ ดว้ ยไหมสนี า้ เงนิ ทีห่ นา้ อกด้านขวา สงู กวา่ ระดบั กระเปา๋ เสื้อซ้าย 1 เซนตเิ มตร
ตัวอักษรขนาดสูง 0.8 เซนติเมตร ด้านบนของชื่อติดเข็มโลหะ ตราสัญลักษณ์ของโรงเรียน ช้ัน
มัธยมศึกษาตอนต้นใช้ตราสัญลักษณ์สีเงิน ช้ันมัธยมศึกษาตอนปลายใช้ตราสัญลักษณ์สีทอง
ปกั เครื่องหมายระดบั ช้ันทปี่ กเสอ้ื ด้านขวา

1.1.2 กางเกง ทรงนักเรยี นขาส้ัน ผา้ สกี รมทา่ มจี บี ดา้ นขา้ ง ข้างละ 2 จบี มีลักษณะ
จีบออก ไมม่ ีกระเป๋าลบั และกระเป๋าหลัง ใช้ผา้ เน้ือเกลยี้ ง ผิวไมม่ ันหรอื ด้าน ไมบ่ างหรอื หนาจนเกนิ ไป
ไม่ใชผ้ ้ายีนส์ ผา้ เวสปอยด์ หรอื ผา้ เนอื้ หยาบ เมอื่ ใชแ้ ลว้ สไี มซ่ ีดหรอื ดา่ ง มหี รู อ้ ยเขม็ ขดั 7 หู ขนาด
ความยาวของหกู างเกงสูงขนึ้ จากกลางสะบ้าไมเ่ กนิ 3.5 เซนติเมตร มกี ระเป๋าตามตะเขบ็ ขา้ งละ
1 กระเปา๋ ปักชื่อ - สกลุ ทข่ี อบกระเปา๋ ด้านขวา เป็นภาษาไทย ไหมปกั สีขาว ตวั อักษรสงู 0.8 เซนติเมตร
ขนานตามแนวขอบกระเปา๋ ห่างจากขอบกระเป๋า 1.5 เซนติเมตร โดยปกั ชือ่ ไวด้ า้ นบนตามดว้ ยนามสกลุ

1.1.3 ถงุ เทา้ สีขาว ยาวครึง่ นอ่ ง ไมม่ ีลวดลาย ไม่หนาหรือบางจนเกนิ ไป เวลาสวมไมพ่ บั
ปลายบนหรือมว้ น

1.1.4 รองเท้าหนัง หุม้ สน้ มเี ชอื กผกู ไมม่ ลี วดลาย พ้นื รองเทา้ มสี ้นสูง 2.25 เซนตเิ มตร
หวั รองเทา้ ไมโ่ ต

1.1.5 เข็มขัดหนัง สีดา กว้าง 3 - 4 เซนติเมตร หัวโลหะส่ีเหล่ียมสีเงิน ตรงกลางมีตรา
สัญลักษณ์โรงเรียน นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาตอนต้นตราสัญลักษณ์สีเงิน นักเรียนชั้นมัธยมศึกษา
ตอนปลายตราสญั ลักษณ์สีทอง

1.2 เคร่ืองแบบนกั เรียนหญิงทีใ่ ช้ในวันปกติ
1.2.1 เส้ือ เป็นเสื้อคอบัว แขนยาวใช้ผ้าสีขาวเกล้ียง ไม่บางหรือหนาจนเกินไป ไม่ใช้

ผ้าฝ้าย ผ้าฝ้ายดิบ ผ่าอกตลอด มีสาบหน้า มีกระดุม 5 เม็ด ชั้นมัธยมศึกษาตอนตน้ ใช้กระดุมโลหะตรา
สญั ลกั ษณ์โรงเรียนสเี งิน ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายใช้กระดุมโลหะตราสัญลักษณ์โรงเรยี นสที อง หนา้ อก
ด้านขวา ปักชื่อ - สกุล ด้วยไหมปักสีน้าเงิน ตัวอักษรขนาดสูง 0.8 เซนติเมตร ด้านบนของชื่อติดเข็ม
โลหะตราสัญลักษณ์ของโรงเรียน ช้ันมัธยมศึกษาตอนต้นใช้ตราสัญลักษณ์สีเงิน ช้ันมัธยมศึกษา
ตอนปลายใช้ตราสัญลักษณส์ ีทอง ปลายแขนเสื้อรูด ปลายแขนพับหนา 1½ นิ้ว กระดุมปลายแขนเปน็
กระดุมโลหะตราสัญลักษณ์โรงเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นสีเงิน ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายสีทอง
ผูกโบสีกรมท่ายาว 8 น้วิ ปักเคร่อื งหมายระดับช้นั ที่ปกเสื้อดา้ นขวา

คมู่ อื นักเรียนและผูป้ กครอง ปี 2565 หนา้ 20

1.2.2 กระโปรง เปน็ กระโปรงนกั เรียนจบี ข้าง ข้างละ 3 จีบ ผ้าสกี รมทา่ ใช้ผา้ เนอ้ื เกลี้ยง
ผิวไม่มันหรือด้าน ไม่บางหรือหนาจนเกินไป ไม่ใช้ผ้ายีนส์เน้ือหยาบ เมื่อใช้แล้วสีไม่ซีดหรือด่าง
ความยาวของกระโปรงคลุมเขา่ ต่ากว่ากลางสะบ้า 5 - 8 เซนติเมตร มีกระเป๋าข้างขวา 1 กระเป๋า โดย
ปกั ชื่อ - สกลุ ท่ีขอบกระเป๋าดา้ นขวาเปน็ ภาษาไทยด้วยไหมปักสขี าว ตวั อกั ษรสูง 0.8 เซนตเิ มตร ขนาน
ตามแนวขอบกระเป๋า ห่างจากขอบกระเป๋า 1.5 เซนตเิ มตร โดยปกั ช่อื ไว้ด้านบน ตามดว้ ยนามสกุล

1.2.3 ถุงเท้า สีขาว ยาวคร่ึงท่อน ไม่มีลวดลาย ไม่หนาหรือบางจนเกินไป เวลาสวม
พบั ปลายบน

1.2.4 รองเทา้ เป็นรองเท้านกั เรยี นหญิงปกติสีดา
1.2.5 เข็มขัดหนัง สีดา กว้าง 3 - 4 เซนติเมตร หัวโลหะสี่เหลี่ยมสีเงิน ตรงกลางมีตรา
สัญลักษณ์โรงเรียน นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาตอนต้นตราสัญลักษณ์สีเงิน นักเรียนชั้นมัธยมศึกษา
ตอนปลายตราสญั ลักษณ์สที อง
2. ชดุ พิธกี ำร ใชใ้ นงำนรำชพิธี งำนพธิ ีกำรตำ่ ง ๆ และออกนอกบริเวณโรงเรยี น
2.1 ชุดพธิ กี ำรนกั เรยี นชำย
2.1.1 เสือ้ เปน็ เสอ้ื นอกคอตั้งสขี าว 5 ตะเขบ็ กระดุมโลหะตราสัญลกั ษณโ์ รงเรยี น 5 เมด็
ช้นั มัธยมศึกษาตอนต้นใช้สเี งนิ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลายใช้สที อง
2.1.2 แผงคอ สีกรมท่า ประดับแถบดิ้นสีแสด ขนาด 3.6 เซนติเมตร ยาว 8 - 10
เซนติเมตร (ตามความเหมาะสมของขนาดตัวนักเรียน) มีแถบสีทองทาบกลางโดยตลอด ตรงกลาง
ติดเข็มโลหะตราสัญลักษณ์โรงเรียน ปกเส้ือด้านซ้ายติ ดเข็มโลหะตราจังหวัดท่ีตั้งโรงเรียน
ช้ันมธั ยมศกึ ษาตอนต้นใช้สเี งิน ช้ันมธั ยมศกึ ษาตอนปลายใช้สีทอง
2.1.3 กางเกง ใช้กางเกงนกั เรียนปกติ
2.1.4 ถงุ เท้า สขี าว ยาวถงึ ขอ้ พับ ไมม่ ีลวดลาย เวลาสวม ไมพ่ บั ปลายหรือม้วนปลาย
2.1.5 เข็มขัดและรองเท้า เหมือนเครอ่ื งแบบปกติ
2.1.6 หมวก เป็นหมวกหนีบ ผ้าสักหลาดสีกรมท่า เข็มโลหะตราสัญลักษณ์โรงเรียน
ติดทแยง ชั้นมัธยมศกึ ษาตอนตน้ ใช้สีเงิน ชน้ั มธั ยมศึกษาตอนปลายใช้สที อง
2.2 ชุดพิธีกำรนกั เรยี นหญงิ
2.2.1 เส้ือ เปน็ เสือ้ นอก ปกเทเลอร์ ธรรมดาสีขาว ตีเกล็ดหน้า และแยกเกล็ดหลงั กระดมุ
โลหะตราสัญลักษณโ์ รงเรียน 3 เม็ด ช้ันมัธยมศึกษาตอนต้นใช้สีเงิน ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายใชส้ ีทอง
เวลาสวมให้สวมทับชุดนักเรียนปกติ ปกเสื้อด้านขวาติดเข็มตามสัญลักษณ์โรงเรียน ปกเสื้อด้านซ้าย
ติดเขม็ โลหะตราจงั หวัดที่ต้ังโรงเรียน ชั้นมัธยมศกึ ษาตอนตน้ ใชส้ ีเงนิ ช้ันมธั ยมศกึ ษาตอนปลายใช้สที อง
2.2.2 กระโปรง เป็นกระโปรงเข้ารูป ทรง A ใช้ผ้าสีกรมท่า กระเป๋าเฉียงสองข้าง
ปา้ ยหลงั ยาวคลมุ เข่าต่ากว่ากลางสะบา้ 5 เซนติเมตร

คูม่ อื นักเรียนและผปู้ กครอง ปี 2565 หน้า 21

2.2.3 ถงุ เทา้ สขี าว ยาวถงึ ข้อพบั ไม่มีลวดลาย เวลาสวมไมพ่ บั ปลายหรือม้วนปลาย
2.2.4 เข็มขดั และรองเทา้ เหมือนเครื่องแบบปกติ
2.2.5 หมวกเป็นหมวกปีกสีกรมท่า หน้าหมวกติดเข็มโลหะตราสัญลักษณ์โรงเรียน
ช้นั มัธยมศึกษาตอนตน้ ใชส้ ีเงนิ ช้นั มธั ยมศกึ ษาตอนปลายใชส้ ีทอง
2.3 ชุดพละ ใหใ้ ช้ชดุ พละตามแบบของโรงเรียน
2.4 ชดุ ลำลอง ใหใ้ ช้ตามแบบสีของโรงเรียน

คู่มอื นักเรยี นและผปู้ กครอง ปี 2565 หน้า 22

ชดุ เครื่องแบบนกั เรยี นชำย

ค่มู อื นักเรยี นและผู้ปกครอง ปี 2565 หนา้ 23

ชุดเครื่องแบบนักเรยี นหญิง

ค่มู อื นักเรียนและผู้ปกครอง ปี 2565 หนา้ 24

ชดุ พิธกี ำรนักเรียนชำย

คมู่ ือนกั เรียนและผปู้ กครอง ปี 2565 หนา้ 25

ชดุ พิธกี ำรนักเรยี นหญิง

คมู่ อื นักเรยี นและผูป้ กครอง ปี 2565 หนา้ 26

ระเบียบโรงเรยี นจุฬำภรณรำชวทิ ยำลัย สตูล
ว่ำดว้ ยกำรควบคุมควำมประพฤตินกั เรียน พ.ศ. 2550 (แก้ไขเพม่ิ เตมิ พ.ศ. 2554)

อาศัยอานาจตามพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546 และระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ
ว่าด้วย การลงโทษนักเรียนและนักศึกษา พ.ศ. 2548 โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย สตูล จึงวาง
ระเบยี บไวด้ งั ตอ่ ไปนี้

หมวดที่ 1
บททว่ั ไป

ขอ้ 1 ระเบียบนี้ เรียกว่า “ระเบียบโรงเรียนจุฬำภรณรำชวิทยำลัย สตูล ว่ำด้วย
กำรควบคุมควำมประพฤตนิ ักเรียน พ.ศ. 2550 (แกไ้ ขเพมิ่ เตมิ พ.ศ.2554)”

ข้อ 2 ใหใ้ ช้ระเบยี บน้ีต้ังแตว่ นั ท่ี 1 เมษายน พ.ศ. 2554 เปน็ ตน้ ไป
ขอ้ 3 บรรดา ระเบียบ ข้อบังคับ หรือคาส่ังอื่นใดท่ีกาหนดไว้แล้ว ซ่ึงขัดหรือแย้งกับ
ระเบยี บน้ี ใหใ้ ชร้ ะเบียบนแี้ ทน
ข้อ 4 ให้รองผู้อานวยการโรงเรียน ผู้ช่วยผู้อานวยการโรงเรียน ฝ่ายบริหารกิจการนักเรียน
หวั หนา้ งานระบบการดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียน รักษาการให้เปน็ ไปตามระเบียบนี้
ข้อ 5 ในระเบยี บนี้

5.1 “โรงเรียน” ให้หมายความรวมถึง ครูและนักเรียน โรงเรียนจุฬาภรณ
ราชวทิ ยาลัย สตูล

5.2 “ครู” หมายถึง ข้าราชการครู บุคลากรทางการศึกษา พนักงานราชการ
ครูหอพกั ครูอัตราจ้าง และเจ้าหนา้ ทีโ่ รงเรียนวทิ ยาศาสตรจ์ ฬุ าภรณราชวิทยาลัย สตูล

5.3 “คณะกรรมกำรระบบกำรดูแลช่วยเหลือนักเรียน” หมายถึง ผู้อานวยการ
โรงเรียน รองผู้อานวยการโรงเรียนทุกคน ผู้ช่วยผู้อานวยการโรงเรียน ฝ่ายบริหารกิจการนักเรียน
หัวหน้างานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน หัวหน้างานหอพัก รองหัวหน้างานหอพัก รองหัวหน้า
งานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน หัวหน้าระดับชั้น ครูแนะแนว ครูอนามัยโรงเรียน ผู้แทน
คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน ผู้แทนคณะกรรมการนักเรียน ผู้แทนผู้ปกครองนักเรียน
ทเี่ ก่ยี วข้อง ครูหอพัก และครทู ปี่ รกึ ษาท่ีเกีย่ วขอ้ ง

ค่มู อื นกั เรยี นและผปู้ กครอง ปี 2565 หน้า 27

5.5 “นกั เรยี น” หมายถึง นกั เรยี นปัจจบุ ันของโรงเรยี นจฬุ าภรณราชวิทยาลัย
5.5 “กำรกระทำควำมผิด” หมายความว่า การท่ีนักเรียนประพฤติ ฝ่าฝืนระเบียบ
ข้อบังคับของโรงเรียน หรือของกระทรวงศึกษาธิการ หรือกฎกระทรวงว่าด้วยการส่งเสริม
ความประพฤติ ของนกั เรยี นและนกั ศึกษา
5.6 “กำรลงโทษ” หมายความว่า การลงโทษนักเรียนที่กระทาผิด โดยมี
ความมุง่ หมายเพือ่ การอบรมส่งั สอน
5.7 “ผปู้ กครอง” หมายถึง บิดา มารดา หรือผูท้ ่ีไดร้ บั มอบหมายจากบิดา - มารดา
ให้เปน็ ผปู้ กครอง 1 ใน 4 ของสมดุ ประจาตัวนกั เรยี นท่ที าไว้กบั โรงเรียนจฬุ าภรณราชวิทยาลัย สตูล
5.8 “คะแนน” หมายถึง คะแนนความประพฤติประจาตัวนักเรียน คนละ 100
คะแนน ตลอด 3 ปกี ารศกึ ษา
5.9 “3 ปีกำรศึกษำ” หมายถึง นักเรียนที่กาลังศึกษาในระดับชั้นมัธยมศึกษา
ตอนต้นหรอื ช้นั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

หมวดท่ี 2
ระดับโทษ กำรลงโทษ อำนำจกำรลงโทษ กำรตดั คะแนน และกำรเพิ่มคะแนน

ข้อ 6 โทษสาหรับนักเรยี นทีก่ ระทาความผดิ มี 4 สถาน ดงั นี้
6.1 ว่ากล่าวตกั เตอื น
6.2 ทาทัณฑบ์ น
6.3 ตัดคะแนนความประพฤติและบันทกึ ขอ้ มูล
6.4 ทากิจกรรมเพ่อื ใหป้ รบั เปลีย่ นพฤติกรรม

ข้อ 7 การวา่ กลา่ วตักเตอื น ใช้ในกรณีนกั เรยี นกระทาความผดิ ไมร่ า้ ยแรง
ขอ้ 8 การทาทัณฑ์บน ใช้ในกรณีนักเรียนท่ีประพฤติตนไม่เหมาะสมกับสภาพนักเรียน
ตามกฎกระทรวงว่าด้วย ความประพฤตินักเรียนและนักศึกษา หรือกรณีทาให้เส่ือมเสียช่ือเสียง
และเกียรติศกั ดข์ิ องโรงเรยี น หรอื ฝ่าฝนื ระเบียบของโรงเรียน หรือไดร้ บั โทษวา่ กลา่ วตกั เตือนแล้ว แต่ยัง
ไม่เข็ดหลาบ การทาทัณฑ์บน ให้ทาเป็นหนังสือ และเชิญบิดา - มารดา หรือผู้ปกครองมาบันทึก
รับทราบความผิดและรับรองการทาทัณฑบ์ นไว้ด้วย
ขอ้ 9 การตัดคะแนนความประพฤติให้เป็นไปตามระเบียบปฏิบัติว่าด้วยการตัดคะแนน
ความประพฤตินักเรียนของโรงเรยี นจฬุ าภรณราชวิทยาลัย สตูล ท้ายระเบียบนี้ และให้บันทึกข้อมลู ไว้
เป็นหลักฐาน
ข้อ 10 การทากิจกรรมเพ่ือให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ใช้ในกรณีที่นักเรียนกระทาความผิด
ท่สี มควรตอ้ งปรับเปลย่ี นพฤตกิ รรม

คมู่ อื นักเรียนและผ้ปู กครอง ปี 2565 หน้า 28

ข้อ 11 อานาจในการตัดสินคะแนนความประพฤตแิ ละการลงโทษ
11.1 ผู้อานวยการโรงเรียน และคณะกรรมการระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน

มีอานาจพจิ ารณาได้ตามความเหมาะสม
11.2 รองผู้อานวยการโรงเรียนทุกคน ผู้ช่วยผู้อานวยการโรงเรียน ฝ่ายบริหาร

กิจการนักเรียน และหัวหน้างานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ตัดคะแนนได้คร้ังละไม่เกิน
50 คะแนน

11.3 หัวหน้าระดับชั้น และหัวหน้างานหอพัก ตัดคะแนนได้ครั้งละไม่เกิน
30 คะแนน

11.4 ครูท่ีปรึกษา ครูหอพัก หัวหน้าเวรประจาวัน ตัดคะแนนได้ครั้งละไม่เกิน
20 คะแนน

ขอ้ 12 ในขณะท่ีนักเรียนทาความผิดเกินอานาจของผู้สั่งตัดคะแนน ให้เสนอผู้มีอานาจ
สูงกว่าเป็นผูพ้ ิจารณา ตามท่ีได้รับรายงาน หรือนาเข้าท่ีประชุมคณะกรรมการระบบการดูแลช่วยเหลอื
นักเรยี นพิจารณา

ขอ้ 13 นักเรียนคนใดท่ีถูกตัดคะแนนรวมแล้วต้องได้รับการพิจารณาโทษเพื่อให้ปรับปรุง
แกไ้ ขตามลาดับต่อไปน้ี

13.1 ถูกตัดคะแนนรวมต้ังแต่ 20 คะแนนขึ้นไป ให้ทาหนังสือแจ้งผู้ปกครอง
หรือโทรศัพท์แจง้ ผปู้ กครอง และให้ผ้ปู กครองมาปรกึ ษาเพ่ือช่วยเหลอื ปอ้ งกันและแก้ไขปัญหานกั เรียน
ร่วมกับครูท่ีปรึกษา ครูหอพัก ครูแนะแนว ครูอนามัยโรงเรยี น หัวหน้าระดบั ชั้น และหัวหน้างานระบบ
การดูแลช่วยเหลอื นักเรียน

13.2 ถูกตัดคะแนนต้ังแต่ 30 คะแนนข้ึนไป ให้ผู้ปกครองมาทาทัณฑ์บนไว้
กับโรงเรียนโดยผู้อานวยการโรงเรียนเป็นผู้พิจารณาเห็นชอบ และให้นักเรียนทากิจกรรมเพ่ือให้
ปรบั เปล่ียนพฤตกิ รรม

13.3 ถูกตัดคะแนน 100 คะแนนขึ้นไปหรือกระทาความผิดร้ายแรง ให้นาเรื่อง
เข้าท่ีประชุมคณะกรรมการระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนพิจารณา และนาเสนอมติท่ีประชุม
ต่อผอู้ านวยการโรงเรียนเปน็ ผู้พจิ ารณาเหน็ ชอบ

ขอ้ 14 นักเรียนที่ประพฤติดี มีคุณธรรมจริยธรรม เข้าร่วมกิจกรรม นาชื่อเสียงมาส่โู รงเรียน
ควรแกก่ ารยกย่อง ชมเชย เพื่อเป็นแบบอย่างที่ดแี ก่นกั เรียนซึ่งสมควรไดร้ ับการยกยอ่ งเชดิ ชูเกยี รติ โดย
ถอื เกณฑ์ ดงั น้ี

14.1 ให้เพ่ิมคร้งั ละ 5 คะแนน ในกรณตี อ่ ไปนี้
14.1.1 ช่วยรักษาความสะอาดของโรงเรียน ซึ่งนอกเหนือจากการทาเวร

ของตนหรอื ทที่ างโรงเรียนได้มอบหมาย

ค่มู อื นกั เรียนและผู้ปกครอง ปี 2565 หนา้ 29

14.1.2 เก็บของตก พบของสูญหาย ซึ่งมีราคาไม่เกิน 50 บาท และได้นาไป
มอบใหแ้ ก่ครู

14.1.3 การกระทาความดีอื่น ๆ ท่ีสามารถเทียบได้กับการกระทาในข้อ
14.1.1 และ 14.1.2 ให้เพมิ่ ครั้งละ 10 คะแนน ในกรณีตอ่ ไปนี้

14.1.4 สร้างชอ่ื เสียงมาสโู่ รงเรียนโดยการทากิจกรรมต่าง ๆ
14.1.5 เก็บของตก พบของสูญหาย ซึง่ มรี าคาเกินกวา่ 50 บาท และไดน้ าไป
มอบใหแ้ ก่ครู
14.1.6 แจง้ เบาะแสเก่ียวกับอบายมุขหรอื นักเรียนทปี่ ระพฤติตนไมเ่ หมาะสม
กบั สภาพนกั เรียน เพื่อจะไดป้ ้องกันแกไ้ ข
14.1.7 การกระทาความดีอื่น ๆ ที่สามารถเทียบได้กับการกระทาในข้อ
14.1.1 - 14.1.3
ขอ้ 15 นักเรียนที่ได้รับการเพ่ิมคะแนนจากการกระทาความดีตั้งแต่ 100 คะแนนข้ึนไปให้
ครูหอพัก ครูท่ีปรึกษา หรือหัวหน้าระดับชั้น เสนอเพ่ือมอบประกาศเกียรติคุณแต่ทั้งนี้ ถ้านักเรียน
เคยกระทาความผิดจะต้องถูกตดั คะแนนไม่เกิน 10 คะแนน
ข้อ 16 การส่งตอ่
16.1 กรณีนักเรียนกระทาความผิดและมีพฤติกรรมเส่ียง ยากแก่การช่วยเหลือ
และแก้ไขให้ครูท่ีปรึกษาส่งต่อไปยังหัวหน้าระดับช้ัน หัวหน้างานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ผู้ช่วยผู้อานวยการ โรงเรียน ฝ่ายบริหารกิจการนักเรียน และรองผู้อานวยการโรงเรียน ฝ่ายบริหาร
กจิ การนักเรียนตามลาดับ เพื่อดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรียนตอ่ ไป
16.2 กรณผี ไู้ ด้รับมอบหมายตามขอ้ 16.1 ไม่สามารถแก้ไขไดใ้ หส้ ง่ ตอ่ นักเรยี นไปยงั
ผู้อานวยการโรงเรยี น เพ่อื ดูแลช่วยเหลอื นักเรียนต่อไป
ขอ้ 17 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ซ่ึงถูกตัดคะแนนความประพฤติ 60 คะแนนข้ึนไป
จะไม่ได้รับการพิจารณาคัดเลือกให้เข้าเรียนในช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ของโรงเรียน และจะไม่ได้รับ
การพิจารณาออกหนังสือรับรองความประพฤติ เพ่ือสมัครสอบห้องเรียนวิทยาศาสตร์ภูมิภาค โรงเรยี น
จุฬาภรณราชวิทยาลัย สตูล โรงเรียนมหดิ ลวิทยานุสรณ์ โควตาโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา และโควตา
โรงเรยี นต่าง ๆ
ข้อ 18 ความผดิ ไม่ร้ายแรง
18.1 ไม่เขา้ แถวตอนเช้า
18.2 ขาดมารยาทในการรบั ประทานอาหาร
18.3 ไมส่ นใจเรยี น ขาดความรับผดิ ชอบงานที่ไดร้ ับมอบหมาย
18.4 ส่งเสยี งอึกทึกรบกวนผอู้ ื่นทง้ั ในและนอกห้องเรยี น

คู่มือนกั เรียนและผปู้ กครอง ปี 2565 หน้า 30

18.5 ไมใ่ หค้ วามร่วมมือในการรักษาความสะอาดโรงเรียน
18.6 รบั ประทานอาหาร ขนม และเครอื่ งดื่มในห้องเรยี นโดยไมไ่ ด้รับอนุญาต
18.7 กลับเข้าโรงเรียนไม่ตรงตามเวลาที่กาหนด
18.8 ส่งั ซ้ืออาหารจากภายนอกเขา้ มารบั ประทานในโรงเรยี น
18.9 พดู หรือแสดงกิรยิ าไมเ่ หมาะสม
18.10 กระทาการขีดเขียนในทีไ่ ม่เหมาะสม เชน่ เขียนโตะ๊ ฝาผนงั บอรด์ อ่ืน ๆ
18.11 ขาดมารยาทในการใชส้ ถานที่ เชน่ เลน่ กฬี าในหอ้ งเรยี น ใช้ห้องน้าครู
18.12 ใช้เครื่องประดับท่ีไม่เหมาะสมกับสภาพนักเรียน และขัดกับระเบียบท่ี
โรงเรียนกาหนด
18.13 สวมเส้อื ผ้าของผู้อ่นื หรอื เสอ้ื ผ้าที่ทางโรงเรียนไมอ่ นญุ าตให้นามาใช้
18.14 ปล่อยชายเสอ้ื ออกนอกกางเกงหรอื กระโปรง
18.15 ใช้อุปกรณ์เครื่องเสียงเพื่อความบันเทิง (Mp3, Mp4, NoteBook) ไม่ถูก
กาลเทศะ
18.16 หนเี รียนต่อคร้ัง
18.17 เทย่ี วเตร่ในสถานทที่ ไ่ี มเ่ หมาะสม
18.18 เข้าบริเวณบ้านพักครู ห้องพักครูและบุคลากรของโรงเรียนโดยไม่ได้รับ
อนญุ าต
18.19 ปฏบิ ตั ิตนไม่เหมาะสมระหวา่ งนกั เรยี นชาย – หญงิ
18.20 ไม่เขา้ รว่ มกจิ กรรมทีโ่ รงเรยี นจดั ขึ้น
18.21 นาเคร่อื งใชไ้ ฟฟา้ ทกุ ชนิดมาใช้ในโรงเรยี น โดยไม่ได้รบั อนุญาต
18.22 ไม่ใชก้ ระเปา๋ หรือเป้ตามท่ีโรงเรยี นกาหนด
18.23 แตง่ กาย ผิดระเบยี บข้อบังคับของโรงเรยี น
18.24 พูดเทจ็ ส่อเสียด ไมส่ ภุ าพ หยาบคาย
18.25 ทรงผมผดิ ระเบยี บขอ้ บังคับของโรงเรียน
18.26 ทะเลาะววิ าทแตไ่ มไ่ ด้ใชก้ าลังทาร้ายรา่ งกายกนั
18.27 สูบบุหรี่ หรอื มบี ุหรี่ไว้ในครอบครอง
18.28 ทาลายทรพั ย์สินของโรงเรยี นและของบคุ คลอนื่ (ต้องชดใช้ค่าเสยี หายดว้ ย)
18.29 นาหรือใชส้ ือ่ ลามกอนาจารในโรงเรียน
18.30 ยยุ งให้เกดิ ความแตกแยก
18.31 นาโทรศพั ท์มอื ถือมาใช้ในโรงเรียน

คู่มือนกั เรียนและผปู้ กครอง ปี 2565 หน้า 31

ข้อ 19 ความผิดร้ายแรง การพิจารณาลงโทษจะต้องผ่านมติที่ประชุมของคณะกรรมการ
ระบบการดูแลช่วยเหลือนกั เรยี น แม้เพยี งครง้ั เดยี วก็อาจมโี ทษถึงให้ยา้ ยโรงเรียนได้

19.1 เล่นการพนนั
19.2 ข่มขู่ รดี ไถ ลวนลาม อนาจาร กรรโชกทรพั ย์ผอู้ ่ืน
19.3 ปลอมแปลงเอกสารทส่ี าคัญ ลายมือช่อื ครู ผู้ปกครอง
19.4 หลบหนีออกจากหอพักยามวิกาล
19.5 ออกนอกบรเิ วณโรงเรยี นโดยไมไ่ ด้รับอนญุ าต
19.6 ดมื่ เคร่ืองดม่ื แอลกอฮอลห์ รือมไี ว้ในครอบครอง
19.7 ลักขโมย
19.8 แสดงกิริยา วาจาก้าวร้าว หยาบคายต่อครู และบุคลากรในโรงเรียนหรือ
บคุ คลภายนอก
19.9 ชสู้ าว
19.10 ทะเลาะววิ าทข้ันใช้กาลังกนั ในโรงเรียนและนอกโรงเรยี น
19.11 เสพสารเสพติดที่ผิดกฎหมาย มีสารเสพติดที่ผิดกฎหมายไว้ในครอบครอง
หรอื จาหนา่ ย
19.12 กระทาความผดิ ทางอาญา
19.13 พกพาอาวธุ เข้ามาในโรงเรียน
19.14 นาบุคคลภายนอกเข้าหอพกั โดยไมไ่ ด้รบั อนญุ าต
19.15 ก่อความไม่สงบเรยี บร้อยภายในโรงเรียนและภายนอกโรงเรียน
19.16 นาบุคคลภายนอกมาก่อการทะเลาะวิวาทกับนักเรียนในโรงเรียนหรือนอก
โรงเรยี น
19.17 กระทาการใด ๆ ท่ีนาความเสอื่ มเสียมาสูโ่ รงเรียน

หมวดที่ 3
แนวปฏบิ ตั ิในกำรลงโทษ

ข้อ 20 ห้ามลงโทษนักเรียนด้วยวิธีรุนแรง หรือแบบกล่ันแกล้ง หรือลงโทษด้วยความโกรธ
หรือความพยาบาทโดยให้คานึงถึงอายขุ องนักเรยี นและความรา้ ยแรงของพฤตกิ รรมประกอบการลงโทษ
ด้วย การลงโทษนักเรียนให้เป็นไปเพื่อเจตนาท่ีจะแก้นิสัยและความประพฤติที่ไม่ดีของนักเรียนให้รู้
สานึกในความผิด และกลับประพฤติตนในทางท่ีดีต่อไป ให้ผู้อานวยการโรงเรียน หรือผู้ท่ีผู้อานวยการ
โรงเรยี นมอบหมาย เปน็ ผู้มอี านาจในการลงโทษนกั เรียน

คูม่ อื นักเรียนและผูป้ กครอง ปี 2565 หนา้ 32

ข้อ 21 ผู้อานวยการโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย สตูล มีอานาจในการเพิ่มโทษ ลดโทษ
หรืองดโทษได้ ตามควรแกก่ รณี

ขอ้ 22 การผ่อนผันระเบียบน้ีให้อยู่ในดุลพินิจของผู้อานวยการโรงเรียนจุฬาภรณ
ราชวทิ ยาลัย สตลู

ประกำศ ณ วันที่ 1 เมษำยน พ.ศ. 2554

(นายสรยทุ ธ หนเู กื้อ)
ผู้อานวยการโรงเรยี นจฬุ าภรณราชวทิ ยาลัย สตลู

คู่มือนกั เรียนและผปู้ กครอง ปี 2565 หนา้ 33

รำยละเอยี ดกำรตดั คะแนนควำมประพฤตนิ กั เรียน
แนบท้ำยระเบียบโรงเรยี นจฬุ ำภรณรำชวทิ ยำลยั สตลู
ว่ำดว้ ยกำรควบคมุ ควำมประพฤตนิ กั เรียน พ.ศ. 2550 (แกไ้ ขเพิ่มเติม พ.ศ. 2554)

ควำมผดิ ไม่ร้ำยแรง คะแนน
ที่ถกู ตดั
1. ไม่เข้าแถวตอนเชา้
2. ขาดมารยาทในการรับประทานอาหาร 2
3. ไม่สนใจเรียน ขาดความรับผดิ ชอบงานที่ได้รับมอบหมาย 2
4. ส่งเสียงอกึ ทึกรบกวนผูอ้ ืน่ ท้ังในและนอกหอ้ งเรียน 2
5. ไมใ่ ห้ความร่วมมอื ในการรักษาความสะอาดในโรงเรยี น 2
6. รับประทานอาหาร ขนม และเครอื่ งด่ืมในหอ้ งเรยี นโดยไม่ไดร้ ับอนญุ าต 2
7. กลบั เขา้ โรงเรยี นไมต่ รงตามเวลาท่กี าหนด 2
8. สงั่ ซ้ืออาหารจากภายนอกเข้ามารบั ประทานในโรงเรียน 2
9. พูดหรอื แสดงกริ ยิ าไมเ่ หมาะสม 2
10. กระทาการขดี เขยี นในทีไ่ มเ่ หมาะสม เชน่ เขียนโต๊ะ ฝาผนงั บอร์ด อืน่ ๆ 2
11. ขาดมารยาทในการใชส้ ถานที่ เช่น เล่นกีฬาในหอ้ งเรียน ใช้หอ้ งนา้ ครู 2
12. ใช้เคร่ืองประดบั ท่ีไม่เหมาะสมกบั สภาพนักเรียน และขดั กบั ระเบยี บ 2
2
ทโ่ี รงเรยี นกาหนด
13. สวมเสื้อผ้าของผอู้ ่ืนหรอื เส้อื ผ้าทีท่ างโรงเรียนไมอ่ นุญาตให้นามาใช้ 2
14. ปลอ่ ยชายเสอ้ื ออกนอกกางเกงหรือกระโปรง 2
15. ใช้อปุ กรณ์เครอ่ื งเสยี งเพ่ือความบนั เทิง (Mp3,Mp4,Notebook) ไมถ่ ูก 2

กาลเทศะ 4
16. หนีเรียนต่อครง้ั 4
17. เท่ยี วเตรใ่ นสถานท่ที ่ีไมเ่ หมาะสม 4
18. เข้าบริเวณบ้านพกั ครู ห้องพักครูและบคุ ลากรของโรงเรยี นโดยไม่ไดร้ บั
4
อนุญาต 4
19. ปฏบิ ตั ิตนไมเ่ หมาะสมระหว่างนกั เรียนชาย - หญิง 4
20. ไมเ่ ขา้ รว่ มกิจกรรมที่โรงเรยี นจดั ขนึ้
21. นาเครอื่ งใช้ไฟฟา้ ทกุ ชนิดมาใชใ้ นโรงเรยี น โดยไมไ่ ดร้ ับอนญุ าต

ค่มู ือนกั เรียนและผปู้ กครอง ปี 2565 หนา้ 34

ควำมผิดไม่รำ้ ยแรง คะแนน
ทถ่ี กู ตดั
22. แตง่ กาย ผิดระเบยี บข้อบังคับของโรงเรียน
23. พดู เท็จ ส่อเสียด ไม่สภุ าพ หยาบคาย 4
24. ทรงผมผดิ ระเบียบขอ้ บงั คบั ของโรงเรียน 4
25. ทะเลาะวิวาทแตไ่ มไ่ ดใ้ ชก้ าลงั ทารา้ ยร่างกายกนั 10
26. สบู บุหร่ี หรือมีบุหรไ่ี วใ้ นครอบครอง 10
27. ทาลายทรัพยส์ นิ ของโรงเรยี นและของบุคคลอนื่ (ตอ้ งชดใชค้ ่าเสยี หายดว้ ย) 15
28. นาหรือใชส้ ื่อลามกอนาจารในโรงเรียน 15
29. ยุยงใหเ้ กิดความแตกแยก 15
30. นาโทรศัพทม์ อื ถอื มาใชใ้ นโรงเรยี น 15
15

** ควำมผดิ อ่นื ใดทเี่ ทียบไดก้ ับควำมผิดไม่ร้ำยแรง กำรตัดคะแนนควำมประพฤติใหข้ น้ึ อยกู่ บั ดลุ ย
พนิ จิ ของคณะกรรมกำรบริหำรกิจกำรนักเรยี น

คูม่ ือนกั เรียนและผปู้ กครอง ปี 2565 หนา้ 35

ควำมผดิ ร้ำยแรง คะแนน
ท่ถี ูกตัด
1. เล่นการพนัน
2. ข่มขู่ รดี ไถ ลวนลาม อนาจาร กรรโชกทรพั ยผ์ อู้ ่ืน 20
3. ปลอมแปลงเอกสารทสี่ าคญั ลายมือชอื่ ครู ผู้ปกครอง 20
4. หลบหนอี อกจากหอพกั ยามวิกาล 20
5. ออกนอกบริเวณโรงเรียนโดยไมไ่ ดร้ ับอนญุ าต 30
6. ด่ืมเครอ่ื งด่มื แอลกอฮอลห์ รอื มไี ว้ในครอบครอง 30
7. ลักขโมย 30
8. แสดงกิริยา วาจาก้าวร้าว หยาบคายต่อครู และบคุ ลากรในโรงเรียน 40

หรือบุคคลภายนอก 40
9. ชู้สาว
10. ทะเลาะวิวาทข้ันใชก้ าลงั กนั ในโรงเรยี นและนอกโรงเรยี น 100
11. เสพสารเสพติดทผี่ ิดกฎหมาย มสี ารเสพติดท่ผี ดิ กฎหมายไว้ในครอบครอง 100

หรือจาหนา่ ย 100
12. กระทาความผิดทางอาญา
13. พกพาอาวธุ เขา้ มาในโรงเรยี น 100
14. นาบคุ คลภายนอกเขา้ หอพักโดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าต 100
15. กอ่ ความไมส่ งบเรยี บร้อยภายในโรงเรยี นและภายนอกโรงเรยี น 100
16. นาบคุ คลภายนอกมากอ่ การทะเลาะววิ าทกับนักเรยี นในโรงเรียน 100

หรือนอกโรงเรยี น 100
17. กระทาการใด ๆ ทีน่ าความเสื่อมเสียมาสโู่ รงเรยี น
100

** ควำมผิดอื่นใดท่ีเทียบได้กับควำมผิดร้ำยแรง กำรตัดคะแนนควำมประพฤติให้ข้ึนอยู่กับดุลย
พนิ ิจของ คณะกรรมกำรบริหำรกจิ กำรนกั เรียน

คมู่ ือนกั เรยี นและผู้ปกครอง ปี 2565 หนา้ 36

ประกำศโรงเรียนวทิ ยำศำสตร์จุฬำภรณรำชวิทยำลัย สตลู
เร่ือง กำหนดเขตพื้นท่คี วบคุมหลังเวลำ 19.00 น.
.................................................

ด้วยโรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย สตูล ได้กาหนดพ้ืนที่ควบคุมในการอยู่
ประจาของนักเรียนหอพัก ท้ังนักเรียนชาย และนักเรียนหญิง โดยห้ามมิให้นักเรียนใช้พื้นท่ีต่อไปน้ี
หลังเวลา 19.00 น. ถงึ 06.00 น. ของทกุ วนั ยกเว้นนกั เรียนท่ไี ดร้ บั อนญุ าตจากโรงเรยี น เปน็ กรณี ๆ

1. พื้นที่ลานจอดรถหน้าอาคารที่พักผปู้ กครองหลังห้องประชาสัมพนั ธ์ ป้อมยาม หนา้ อาคาร
สานักงาน อาคารสานักงาน บริเวณลานหน้าอาคารเรียน อาคารเรียน อาคาร เรียนวิทยาศาสตร์
โรงฝึกงาน ถนนหนา้ โรงซัก - รดี โรงซัก - รดี อาคารศนู ย์กีฬา โรงอาหาร สนามกฬี ากลางแจ้ง

2. บา้ นพกั ครู แฟลตครู บ้านพกั นักการทุกหลงั
อนึ่ง หากครูมีความจาเป็นท่ีจะให้นักเรียนไปประกอบกิจกรรมในพ้ืนที่และเวลาดังกลา่ ว

ให้ดาเนินการแจ้งได้ที่สานักงานหอพักในวันน้ัน ๆ ท้ังน้ี ครูท่ีขอนานักเรียนไปจะต้องทาหน้าท่ีกากับ
ควบคมุ ดแู ลนกั เรียนจนกวา่ จะเสรจ็ ส้ินกจิ กรรม และนานกั เรียนส่งเขา้ หอพักด้วยตนเอง

ประกำศ ณ วันที่ 1 เมษำยน พ.ศ. 2564

(นายปญั ญา ขุนฤทธแิ์ กว้ )
ผู้อานวยการโรงเรยี นวิทยาศาสตรจ์ ฬุ าภรณราชวทิ ยาลัย สตูล

คู่มือนักเรยี นและผ้ปู กครอง ปี 2565 หนา้ 37

แนวปฏบิ ตั กิ ำรรับนกั เรียน และกำรสง่ เขำ้ หอพัก

1. การรับนักเรยี นกลบั บา้ น เวลา 16.30 - 17.30 น.
2. การส่งนกั เรียนเขา้ หอพัก เวลา 09.00 - 17.00 น.
3. ผ้ปู กครองสามารถมารับกลบั บ้านและมาสง่ เขา้ หอพกั ได้เดอื นละ 1 หรือ 2 ครงั้
4. เวลาปดิ หอพกั เป็นไปตามปฏทิ ินการปดิ หอพัก
5. ผู้ปกครองต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มการรับและการส่งนักเรียนเข้าหอพักตามที่
โรงเรยี นกาหนด
6. ผู้ปกครองที่มารับ - มาส่งนักเรียน ต้องนาบัตรผู้ปกครองมาแสดงทุกคร้ัง ถ้าผู้ปกครอง
ไมม่ ีบัตรมาแสดง ครเู วรจะไมอ่ นญุ าตอย่างเด็ดขาด
7. กรณีผู้ปกครองไม่สามารถมารับนักเรียนกลับบ้านได้ ให้ตัวแทนผู้ปกครองที่ทาหนังสือ
มอบฉันทะไว้กับทางโรงเรียนเท่าน้ัน จึงสามารถรับนักเรียนกลับบ้าน และมาส่งนักเรียนเข้าหอพักได้
ตอ้ งนาบัตรผู้ปกครองมาแสดงด้วยทุกครง้ั
8. ผ้ปู กครองขออนุญาตพานกั เรียนกลบั บ้าน และสง่ เข้าหอพกั ทกุ ครง้ั นกั เรยี นจะต้อง
แตง่ กายชดุ นกั เรยี นใหเ้ รียบร้อย มิฉะนัน้ ครเู วรจะไมร่ บั รายงานตวั ยกเว้นกรณีวนั ปดิ หอ นักเรยี นตอ้ ง
แต่งกายดว้ ยชดุ พธิ ีการของโรงเรียน
9. ให้ผู้ปกครองมารบั - สง่ นกั เรียนบริเวณท่ีโรงเรียนกาหนด
10. ครูเวรจะต้องรายงานจานวนนักเรียนกลับบ้าน และจานวนนักเรียนที่อยู่หอพักทุกครั้ง
ตอ่ รองผ้อู านวยการโรงเรียน ฝ่ายบริหารกิจการนกั เรยี น

แนวปฏิบัติเกีย่ วกบั กำรแตง่ กำยนกั เรยี นหอพกั

1. ในเวลากลางวนั นกั เรยี นแต่งกายชุดลาลอง/เสื้อกิจกรรมวิชาการตามรูปแบบทโ่ี รงเรียน
กาหนด

2. ในเวลากลางคนื นักเรียนตอ้ งแต่งกายชดุ นอน
3. นอกบริเวณหอพัก นักเรียนต้องแต่งกายชุดลาลอง / เสื้อกิจกรรมวิชาการตามรูปแบบ
ทโ่ี รงเรยี นกาหนด
**หมำยเหตุ ชดุ กีฬำ สวมใส่ขณะออกกำลังกำยเท่ำนนั้ (เวลำช่วงเช้ำ และเวลำหลังเลกิ เรียน)

คู่มือนกั เรียนและผูป้ กครอง ปี 2565 หนา้ 38

แนวปฏิบตั เิ กย่ี วกับกำรจัดนกั เรียนเขำ้ หอพกั

1. แยกนกั เรียนชาย - หญงิ
2. แบง่ นักเรียนเป็นกลุม่ ตามความเหมาะสมกบั สภาพ
3. ตรวจสัมภาระของนกั เรยี นที่นาเข้าหอพัก
4. เขา้ แถวเป็นกลุ่มเดินเขา้ หอพกั (ประกอบด้วยหัวหน้ากลุม่ นานกั เรียนเขา้ หอพัก)
5. ครูประจาหอพักจัดสถานท่ีนอนตามผังนอนให้นักเรียนพร้อมตรวจรายช่ือและจานวน
นักเรียน

แนวปฏิบัตเิ ก่ียวกับกำรจัดกิจกรรมส่งเสรมิ กำรปกครอง
ในระบอบประชำธปิ ไตย อนั มีพระมหำกษตั ริยเ์ ปน็ ประมุข

1. สง่ เสริมใหม้ กี ารเลือกต้ังคณะกรรมการของหอพกั โดยจาลองการปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน
2. จดั ตู้ กลอ่ ง บัตรเลือกตง้ั รับฟังความคิดเหน็
3. ส่งเสรมิ การเปน็ ผู้นาในโอกาสที่เหมาะสม
4. ใหม้ คี ณะกรรมการสภานกั เรียนและมีการประชมุ โดยมคี รูหอพักทุกคนเปน็ ที่ปรกึ ษา

คมู่ อื นักเรียนและผ้ปู กครอง ปี 2565 หนา้ 39

แนวกำรปฏิบัติตนในกำรอยู่หอพัก

1. นักเรยี นตอ้ งไมน่ าของใชท้ ี่ไม่จาเป็น เช่น ของมีค่าไว้ในหอพกั
2. ห้ามนักเรียนนาของผิดกฎหมาย เช่น อาวุธ สิ่งเสพติด เชื้อเพลิง เข้ามาไว้ในหอพัก
โดยเด็ดขาด
3. หา้ มนกั เรยี นนาบคุ คลอนื่ ท่ีไม่ไดร้ บั อนุญาตเขา้ ไปในหอพักโดยเด็ดขาด
4. นักเรียนเกบ็ เงินไว้กบั ตัวได้ตามความจาเปน็
5. หา้ มนกั เรียนพักในหอพกั ในระหวา่ งปิดภาคเรยี น ยกเวน้ จะไดร้ ับอนญุ าตเปน็ กรณพี ิเศษ
จากผบู้ ริหารโรงเรยี น
6. หา้ มนกั เรียนนาอาหารและเคร่ืองดืม่ ทุกชนดิ มารับประทาน หรือเก็บไว้ในหอพกั
7. นักเรียนต้องรักษาความสะอาด และความเป็นระเบียบเรียบร้อยของหอพัก
ตามกฎระเบียบอยา่ งเครง่ ครัด
8. นักเรียนจะต้องเคารพ และเช่ือฟังครูประจาหอพัก และหัวหน้ากลุ่มนักเรียนประจา
หอพกั
9. นักเรยี นหอพักทุกคนจะต้องไมป่ ระพฤตติ นในสง่ิ ทไ่ี ม่เหมาะสม เชน่ ลักขโมย เล่น
การพนนั กอ่ การวิวาท เปน็ ตน้
10. นักเรยี นเข้า - ออก หอพักตาม วัน เวลา ทีก่ าหนดอยา่ งเครง่ ครัด
11. นักเรียนหอพักทกุ คน ชว่ ยกนั ประหยดั นา้ ไฟฟา้ และช่วยกนั ดูแลรักษาทรพั ย์สมบตั ิ ห
ของหอพัก

กจิ กรรมหอพกั

1. เลือกประธานหอพักชาย ประธานหอพกั หญิง และคณะกรรมการหอพกั
2. แบง่ พ้ืนทีใ่ หน้ ักเรยี นหอพกั ปฏบิ ตั ิหน้าท่เี วรทาความสะอาดหอพกั
3. แบง่ พน้ื ที่ให้นกั เรยี นปลูกต้นไม้บรเิ วณหอพกั
4. จัดให้มีวันพัฒนาหอพกั ทุกเดือน
5. จดั ใหม้ ีการประชมุ ประจาเดือน เดือนละ 2 คร้งั
6. จัดใหม้ ีกจิ กรรมนนั ทนาการทกุ เดอื น

คู่มอื นักเรยี นและผปู้ กครอง ปี 2565 หน้า 40

แนวปฏบิ ตั ิกำรส่งเสื้อผำ้ ซกั - รดี

การรับ – ส่งเส้อื ผ้า นักเรยี นทุกคนส่งผา้ ซัก - รดี เวลา 16.30 - 18.00 น.

จำนวนเสอื้ ผำ้ นกั เรยี นสำมำรถสง่ ซกั - รีด

– ชุดนักเรียน 3 ชุด
ชดุ
– ชุดพละ 3 ชดุ
ชุด
– ชดุ ลาลอง/เส้ือกิจกรรมวิชาการ 5 ชดุ
ผนื (ส่งไม่เกิน 2 ครัง้ ต่อสปั ดาห์)
– เสื้อสี 1 ชดุ (สง่ 2 สปั ดาห์ ตอ่ ครั้ง)
ชดุ
– ชุดเลน่ กีฬา 3

– ผา้ เช็ดตวั 1

– ผา้ ปทู น่ี อน 2

– ชุดลกู เสือ – เนตรนารี 1

ข้อปฏิบตั ิในกำรรับ - สง่ เสือ้ ผ้ำซกั รีด
1. ตรวจเช็คจานวนท่รี ับ - ส่ง ให้ถูกตอ้ งและลงรายการ พรอ้ มลงลายมือชอ่ื ไวท้ กุ ครั้ง
2. ใสไ่ ม้แขวนเสอ้ื เทา่ กบั จานวนเสื้อเชต้ิ
3. ตรวจเชค็ สิ่งของท่ีอาจจะตดิ ไปกับเสื้อผ้าใหเ้ รยี บรอ้ ยกอ่ นส่งซัก
4. การส่ง - รับ นักเรยี นต้องสง่ และรบั ผ้าตามวัน เวลาท่กี าหนด
5. การส่ง - รับ นักเรยี นตอ้ งส่งและรับผา้ ดว้ ยตนเองทุกคร้ัง

ขอ้ ปฏบิ ตั ขิ องนกั เรียนโรงเรยี นวิทยำศำสตร์จฬุ ำภรณรำชวทิ ยำลัย สตลู
เรือ่ ง กำรนำของใช้ส่วนตัวของนกั เรียนมำใช้ในหอพัก

1. เสือ้ ผ้ำ
1.1 ชดุ นักเรยี น ตามระเบยี บของโรงเรียน 3 ชดุ
1.2 ชดุ พิธีการ ตามระเบียบของโรงเรียน 1 ชุด
1.3 ชุดพละ ตามระเบยี บของโรงเรียน 2 ชดุ
1.4 ชุดลาลอง/เส้ือกจิ กรรมวิชาการ ตามระเบียบของโรงเรียน ประมาณ 5 ชดุ
1.5 ชุดกฬี า มไี ดไ้ ม่เกินคนละ 4 ชุด (นอกเหนือจากชดุ พละตามระเบยี บของโรงเรยี น)
1.6 ชุดนอน 3 ชดุ ตามแบบทโ่ี รงเรียนกาหนด

คู่มอื นกั เรยี นและผปู้ กครอง ปี 2565 หน้า 41

1.7 ผ้าถุงอาบน้า 2 ผืน (สาหรบั นักเรียนหญิง)
1.8 ผา้ เชด็ ตัว 2 ผนื
1.9 ผ้าปทู ี่นอนพรอ้ มปลอกหมอน 2 ชุด
1.10 ผ้าห่ม 1 ผนื
**หมำยเหตุ

– เส้อื / กางเกงทุกชุดต้องปักชือ่ - สกุล ด้วยดา้ ยหรอื ไหมสนี ้าเงิน หรอื ขาว ขนาด
ตัวอักษร สูง 0.8 เซนติเมตร เส้ือปักบริเวณข้อศอกด้านขวาด้านหน้า กางเกงปักท่ีขอบกระเป๋าขวา
ด้านหนา้

– ผ้าปูท่ีนอน และปลอกหมอน 2 ชุด ขนาด 3 x 6 ฟุต (ปักชื่อ - สกุล
เป็นภาษาไทยใหเ้ หน็ ชัดเจน)

– ผ้าหม่ 1 ผืน (ปกั ชอื่ - สกุล เปน็ ภาษาไทยให้เหน็ ชัดเจน)
– ผ้าเช็ดตวั 2 ผืน (ปกั ช่ือ - สกุล เป็นภาษาไทยให้เห็นชดั เจน)
– ผ้าถงุ อาบน้า 2 ผนื (ปกั ชือ่ - สกลุ เป็นภาษาไทยใหเ้ ห็นชัดเจน)
2. รองเท้ำใหใ้ ช้ 3 คู่
2.1 รองเทา้ แตะชนิดฟองน้า (ราคาประหยดั ) 1 คู่
2.2 รองเท้าผา้ ใบสีขาว ใช้เรยี นวิชาพละ และเลน่ กฬี า 1 คู่
2.3 รองเทา้ หนงั สดี าสาหรับเคร่ืองแบบ 1 คู่
**หมำยเหตุ รองเท้าทกุ คใู่ ห้เขียนชอ่ื ด้วยหมึก หรือสที ่ีลบไมอ่ อกดา้ นในรองเท้า
3. ขันอำบน้ำ ชนิดพลาสตกิ (เขียนชื่อ – สกุล) 1 ใบ
4. แกว้ นำ้ ใช้ดืม่ (ชนิดโลหะ หรือ พลาสตกิ ) 1 ใบ
5. เงนิ นกั เรียนสามารถเก็บเงนิ สดไวใ้ ชก้ บั ตวั ไดต้ ามสมควร

ค่มู อื นักเรียนและผปู้ กครอง ปี 2565 หนา้ 42

แนวปฏบิ ัตภิ ำรกิจของนักเรยี นประจำ
โรงเรียนวิทยำศำสตรจ์ ุฬำภรณรำชวิทยำลยั สตลู

เวลำ กิจกรรม
05.30 น. ต่ืนนอน และปฏิบตั กิ ิจสว่ นตัว
06.30 น. เวรหอพักดแู ลความสะอาด ตรวจหอพกั
07.00 น. ลงจากหอพัก รับประทานอาหารเช้า
07.20 น. ปิดประตูหอพัก
07.50 น. เคารพธงชาติ และพิธีหนา้ เสาธง
08.00 น. กิจกรรมโฮมรูม
08.30 - 16.00 น. เรยี นคาบที่ 1 - 9 (คาบละ 50 นาท)ี
16.20 น. เปดิ หอพัก
16.30 - 18.00 น. ออกกาลังกาย/กีฬา
18.00 – 19.30 น. ปฏบิ ัตกิ จิ สว่ นตวั และรับประทานอาหารเย็น
20.00 น. ประชมุ อบรม เชค็ ช่ือ สวดมนต์
20.30 - 22.00 น. อ่านหนังสอื พักผอ่ น
22.00 น. เขา้ นอน
22.00 น. ปดิ ไฟหอพกั

คมู่ อื นกั เรยี นและผูป้ กครอง ปี 2565 หน้า 43

ระเบยี บกระทรวงศึกษำธิกำร
ว่ำด้วยกำรลงโทษนักเรยี นและนกั ศกึ ษำ พ.ศ. 2548

...........................

อาศัยอานาจตามความในมาตรา 6 และมาตรา 65 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ.
2546 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ จึงวางระเบียบว่าด้วยการลงโทษนักเรียนและนักศึกษา ไว้
ดงั น้ี

ข้อ 1 ระเบียบน้ีเรียกว่า “ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการลงโทษนักเรียน และ
นักศึกษา พ.ศ. 2548”

ขอ้ 2 ระเบยี บน้ีใหใ้ ช้บงั คบั ตั้งแต่วนั ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา
ข้อ 3 ให้ยกเลิกระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการลงโทษนักเรียน และนักศึกษา
พ.ศ. 2543
ข้อ 4 ในระเบยี บน้ี

“ผู้บริหำรสถำนศึกษำ” หมายความว่า ผู้บริหารสถานศึกษาของโรงเรียน หรือ
สถานศึกษาของโรงเรียน หรือสถานศกึ ษานัน้

“กระทำควำมผิด” หมายความว่า การท่ีนักเรียน หรือนักศึกษาของโรงเรียนหรือ
สถานศกึ ษา หรอื กระทรวงศึกษาธิการ หรือกฎกระทรวงว่าดว้ ยการสง่ เสรมิ ประพฤติ

“กำรลงโทษ” หมายความว่า การลงโทษนักเรยี นหรือนักศึกษาทที่ าความผิด โดยมี
ความมุง่ หมาย เพอ่ื การอบรมส่งั สอน

ขอ้ 5 โทษสาหรบั นักเรียนหรอื นกั ศึกษา ท่กี ระทาความผดิ มี 4 สถาน ดงั น้ี
(1) ว่ากล่าวตักเตอื น
(2) ทาทณั ฑ์บน
(3) ตัดคะแนนความประพฤติ และบนั ทกึ ขอ้ มลู
(4) ทากิจกรรมเพือ่ ให้ปรบั เปล่ยี นพฤตกิ รรม

ข้อ 6 ห้ามลงโทษนักเรียนหรอื นกั ศกึ ษาด้วยวิธรี ุนแรง หรือแบบกลั่นแกล้ง หรือลงโทษด้วย
ความโกรธ หรือด้วยความพยาบาท โดยให้คานึงถึงอายุนักเรียนหรือนักศึกษา และความร้ายแรงของ
พฤติกรรม ประกอบการลงโทษดว้ ย

การลงโทษนักเรียนหรอื นักศึกษาให้เป็นไปตามเจตนาท่ีแก้นิสัยและความประพฤติ
ไม่ดขี องนกั เรียนหรือนกั ศกึ ษา ใหร้ ้สู านึกในความผิด และกลับประพฤตใิ นทางที่ดตี ่อไป

ให้ผู้บริหารโรงเรียนหรือสถานศึกษา หรือผู้ท่ีผู้บริหารโรงเรียนหรือสถานศึกษา
มอบหมาย เป็นผู้มอี านาจในการลงโทษนกั เรยี น นักศกึ ษา

คู่มือนกั เรยี นและผปู้ กครอง ปี 2565 หนา้ 44

ข้อ 7 การวา่ กลา่ วตักเตือน ใช้ในกรณีนักเรียน หรอื นักศกึ ษากระทาความผดิ ไม่ร้ายแรง
ข้อ 8 การทาทณั ฑบ์ น ใช้ในกรณนี กั เรียน หรือนกั ศกึ ษาที่ประพฤติตนไม่เหมาะสมกับสภาพ
นักเรียน หรือนักศึกษา ตามกฎกระทรวงว่าด้วยความประพฤตินักเรียนและนักศึกษาหรือกรณีทาให้
เส่ือมเสียชื่อเสียง และเกียรติศักด์ิของสถานศึกษา หรือฝ่าฝืนระเบียบของสถานศึกษาหรือได้รับโทษ
ว่ากลา่ วตักเตือน และยังไมเ่ ขด็ หลาบ

การทาทัณฑ์บนให้ทาเป็นหนังสือ และเชิญบิดามารดา หรือผู้ปกครองมาบันทึก
รบั ทราบความผดิ และรับรองการทาทัณฑ์บนไว้ด้วย

ข้อ 9 การตัดคะแนนความประพฤติให้เป็นไปตามระเบียบปฏิบัติว่าด้วยการตัดคะแนน
ความประพฤตินักเรียน และนักศึกษาของแต่ละสถานศึกษากาหนด และให้ทาบันทึกข้อมูลไว้
เปน็ หลกั ฐาน

ข้อ 10 ทากิจกรรมเพื่อให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ใช้ในกรณีท่ีนักเรียนและนักศึกษากระทา
ความผิดทสี่ มควรตอ้ งปรบั เปลีย่ นพฤตกิ รรม

การจัดกจิ กรรมใหเ้ ปน็ ไปตามแนวทางท่ีกระทรวงศึกษาธกิ ารกาหนด
ข้อ 11 ให้ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ รักษาการให้เป็นไปตามระเบียบน้ี และให้มีอานาจ
ตีความและวนิ ิจฉยั ปัญหาเก่ียวกับการปฏิบตั ติ ามระเบียบน้ี

ประกำศ ณ วนั ท่ี 18 มกรำคม พ.ศ. 2548

อดศิ ยั โพธารามิก
(นายอดิศยั โพธารามิก)
รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศกึ ษาธิการ

คู่มือนกั เรียนและผู้ปกครอง ปี 2565 หนา้ 45

โครงสร้ำงหลักสตู รโรงเรยี นวิทยำศำสตร์จุฬำภรณรำชวิทยำลยั
ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษำตอนต้น พ.ศ. 2554 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2561)

คมู่ ือนักเรียนและผปู้ กครอง ปี 2565 หนา้ 46


Click to View FlipBook Version