งานชา งพสั ตราภรณ
การปกพัสตราภรณ มีความประณีตโดดเดนเปนเอกลักษณ พิถีพิถันในการปกเย็บลวดลายตามแบบ
ประเพณีดวยเทคนิคท่ีมีมาแตโบราณโดยเลือกใชวัสดุที่มีคาหลากหลายประเภท และดวยกรรมวิธีท่ีหลากหลาย
ชางพัสตราภรณจึงตอ งมีความรูและความชํานาญในเชิงชางช้นั สูงจงึ จะสามารถปกเย็บลวดลายแบบโบราณไดอยาง
สมบูรณและงดงาม พ้ืนฐานเบ้ืองตนของชางพัสตราภรณที่สําคัญท่ีสุดคือ รูจัก เขาใจในวัสดุท่ีใชปกในงานพัสตรา
ภรณ ซง่ึ มีดงั นี้
1. วัสดอุ ปุ กรณทใ่ี ชใ นการปกงานพสั ตราภรณเบ้ืองตน ประกอบดวย
1.1 ขาสะดึง
1.2 แมสะดงึ
1.3 ผา ขึงสะดึง
1.4 ไมไผ
1.5 ดายเกลียว
1.6 กระดาษลอกลาย ใชในการลอกลายของแบบที่จะปก ลงบนผาใหเ รียบรอ ยกอนนําไป
ขึงกบั สะดงึ กระดาษลอกลายท่นี ยิ มใชในงานปกคือ
(ก) กระดาษคารบอน หรือกระดาษกดรอยชนิดไข ใชสําหรับลอกลายลงบน
ผา มีหลายสี ควรเลือกใชสขี องกระดาษใหใ กลเคียงกบั สผี า
(ข) กระดาษแกวลอกลลาย ใชสําหรับลอกลายท่ีตองการลงบนกระดาษแกว
แลวนํากระดาษแกวไปวางลงบนผา เนากระดาษติดกับผาแลวจึงปกลง
บนลวดลายที่อยูบนกระดาษ และเม่ือปกลวดลายเสร็จเรียบรอยแลวจึง
เลาะกระดาษแกวออกใหหมด
1.7 ผาสําหรับปก ผาที่นํามาใชในงานปกจะเปนพื้นหลังของลวดลายฝเข็ม ดังนั้นจึงไม
ควรใชสีที่บดบังความสวยงามของลายปก การเลือกผาท่ีจะนํามาปกตองเลือกใหเหมาะสม โดยควรคํานึงถึง
หลกั การในการเลือกผา ดังนี้
(ก) ผา นนั้ เหมาะสมกบั การใชงานหรือไม
(ข) งานที่ทําสําเรจ็ แลว เวลานําไปใชจะตอ งใชแ บบสมบกุ สมบันหรอื ไม
(ค) วสั ดุทนี่ ํามาปก เชน ดา ย ดนิ้ ไหม เหมาะสมกบั ชนดิ ของผาหรือไม
ชนิดของผาทน่ี ิยมนํามาตัดเครือ่ งแตง กายละครแบบยนื เครอื่ ง ไดแก
1. ผาตวนใชทําตัวเส้ือ สนับเพลา ผาหม หอยหนา หอยขาง รัดสะเอว
กรองคอ
2. ผา ตาดนํามาตกแตง ชายผา จะใชก บั ชายผา หม หอยขาง หอยหนา
3. ผาไหม จะใชเ ฉพาะตวั เอก เชน พระเอก นางเอก
4. ผาโทเร ใชส าํ หรบั ตดั สนับเพลาและซบั ใน
5. ผา ดบิ ใชส าํ หรับรองผา ปก
1.8 ดา ยเนาหรือดา ยเยบ็ ผา
1.9 ดายหรือไหมปก ควรเปนไหมอยางดีที่สีไมตก ดายที่ใชปกนั้นมีหลายขนาด คือ
ขนาดใหญ กลาง เลก็ และขนาดพิเศษ การปกควรเลอื กดา ยใหเหมาะกบั ลายปก
1.10 เข็มปก การเลือกใชเข็มใหถูกตองและเหมาะสมเปนส่ิงสําคัญ ควรเลือกใหเหมาะ
กับขนาดของเสนดา ย
1.11 ปากคบี ควรเปนปากคีบที่ทาํ ดว ยทองเหลือง หรอื เปน เหล็กท่ชี ุบดวยนิกเกิล เพราะ
จะทําใหคงทนแข็งแรง เน่ืองจากในการปกนั้นปากคีบถือเปน อุปกรณทถ่ี กู ใชงานบอยครั้งมาก ลักษณะของปากคีบ
มี 2 ลกั ษณะ คอื
(ก) ปากคีบปลายตรง เปนปากคีบท่ีเหมาะสําหรับการปกด้ิน ใชสําหรับจับ
ดน้ิ ขอ หกั มมุ และบีบมุมใหแหลม จะมกี ําลงั จบั ไดด ีกวา ปากคีบปลายงอ
(ข) ปากคีบปลายงอ เปนปากคีบท่ีสะดวกในการจับดึงกระดาษลอกลายให
หลุดจากผา หรือดึงเศษดาย เศษไหมที่ไมตองการออกจากผาท่ีขึงอยูบน
สะดึง
1.12 กรรไกรตดั ผา
1.13 กรรไกรตัดไหม (ปลายงอน) ใชสําหรับงานปกดาย ปกไหมที่ติดกับสะดึง สวนโคง
ของปลายกรรไกรจะตัดเสนไหมไดช ดิ กับงานปก ทาํ ใหสะดวกในการตัดเลม็ ไหม
1.14 กรรไกรตดั ดนิ้ (ปลายตรง)
1.15 ด้ิน คือโลหะท่ีดึงเปนเสน แลวนํามาขดเปนรูปวงกลม มีรูปรางเหมือนลวด
สปริง มหี ลายชนดิ เชน ด้ินมนั ด้นิ ดา น ดิน้ โปรง
1.16 ปลอกนวิ้
2. วิธีการรักษาปองกันวัสดุด้นิ ประเภทตาง ๆ เนื่องดวยวัสดุสวนใหญที่ใชในการปกงานพัสตรา
ภรณนน้ั เปนโลหะทไ่ี วตอสมั ผัสจากส่งิ เรา รอบตัว ซ่ึงปจ จัยดังกลาวท่ีอาจกอใหเ กดิ ปญหากับวัสดุปก ไดแก
2.1 อากาศ อาจมีกาํ มะถันหรอื ซลั เฟอรเปนองคประกอบ เมอ่ื สมั ผสั กับวสั ดดุ นิ้ ทาํ ใหเกิด
สารใหม คือ ซิลเวอรซัลไฟด เปนสารท่ีมีสีดําจึงทําใหวัสดุดิ้นดําหมองเร็วได สวนไหนที่ปกเสร็จแลวควรใชผาปด
หรือพลาสตกิ ปดเพอื่ รกั ษาวัสดุดนิ้ ไมใหหมอง
2.2 ความเค็มจากเหงื่อ จะมีความเปนเกลือสูง ซ่ึงเหง่ือเค็มจะทําปฏิกิริยาซิลเวอร
ซัลไฟดกับวัสดุดิน้ ถาผูปกมีเหงื่อเค็มเวลาเรม่ิ มีเหง่ือออกควรลางมือบอย ๆ มิฉะนั้นจะทําใหด้ินเกิดความดําหมอง
อยา งรวดเรว็ ในขณะท่เี หง่ือเปรี้ยวจะมีความเปน กรดออน ๆ ทําใหวัสดุดนิ้ ยงั คงสสี ุกแวววาว
2.3 ผูปกควรหลีกเลี่ยงการฉีดนํ้าหอม ทาโลชั่น เพราะสารเคมีในนํ้าหอมหรือโลชั่นบาง
ชนดิ ทาํ ใหเกดิ ปฏิกิริยาทาํ ใหวัสดุดิน้ ดําหมองเรว็ ได
2.4 เม่ือด้นิ เกิดความดาํ หมองขณะปก มวี ิธีแกไขเบอื้ งตน คอื การทาํ ความสะอาดดวยน้ํา
เจือจางเขากับสบูเหลวชนิดออนสําหรับเด็กทารก ใชแปรงขนออนแปรงจนด้ินเงาขึ้น จากนั้นจึงนําไปตากแดดผึง
ลมใหแ หง
วัสดุท่ีใชปกงานพัสตราภรณยอมมีการประดับตกแตงดวยวัสดุมีคา วิจิตรอลังการ เชนปกดวยไหม
ทอง พรอมกับประดับดวยไขมุกและพลอย ในงานพัสตราภรณใชวัสดุท่ีทําจากโลหะมีคารูปทรงตาง ๆ เปนวัสดุ
หลักในการปก โลหะมคี า เหลานีม้ ีหลากหลายรูปแบบและมชี ื่อเรยี ก ดงั น้ี
1. ดิ้น คือโลหะท่ีดึงเปนเสน แลวนํามาขดเปนรูปวงกลม มีรูปรางเหมือนลวดสปริง มีหลาย
ชนดิ เชน ดิน้ มัน ด้ินดา น ดนิ้ โปรง
ดิ้นท่ีใชในงานพัสตราภรณสวนใหญนําเขามาจากประเทศฝร่ังเศส ซึ่งมีสวนผสมของทองคําแท
และเงินแทจึงมีราคาสูง ทั้งนี้ด้ินทองดิ้นเงินท่ีนิยมใชในปจจุบัน นําเขามาจาก 3 ประเทศซ่ึงมีจุดเดนจุดดวย
แตกตางกนั ตามลกั ษณะการใชง านและวัสดุที่นาํ มาทํา ไดแ ก ด้ินอินเดีย ดิ้นฝรง่ั เศส และด้ินอติ าลี
- ด้ินอินเดีย จะมีขนาดใหญ และนํ้าหนักมากกวาด้ินพลาสติกท่ัว ๆ ไป ตองใชเทคนิค
ปกดวยมืออยางเดียว ราคาของดิ้นอินเดียมีตั้งแตหลักรอย ไปจนถึงหลักหม่ืนบาท
แตกตางกันไปตามขนาดและเปอรเซ็นตข องทองท่ีผสมอยู มีขายแบบเปนไจ เปนมัด ๆ
หรือช่ังขายเปนกิโล ขอดอยของดิ้นอินเดีย คือ มีสวนผสมของทองจึงทําใหมีน้ําหนัก
เปนตวั นาํ ไฟฟา และมกี ารหดตัวไดตามสภาวะอากาศ มกี ารทาํ ปฏิกิรยิ ากับอากาศและ
คราบเหงื่ออาจทําใหดําได อีกทั้งยังมีความคมมาก ๆ ถาผูปกไมชํานาญคมดิ้นจะบาด
ผาจนขาด และอาจจะบาดมอื ไดหากรดู แรง ๆ
- ดิ้นอิตาลี มีความคงทนมากกวาด้ินอินเดีย มีสีสมํ่าเสมอเหลืองนวลสวยงาม และมี
คุณภาพดีกวา ด้ินอินเดยี
- ดิ้นฝรัง่ เศส มีลกั ษณะคลา ยกับด้นิ อินเดีย และดน้ิ อิตาลี แตจ ะแตกตา งกันในสว นผสม
และเปอรเ ซน็ ตของทองคํา ด้นิ อินเดียจะออกสเี หลอื งเขม ดิ้นอิตาลจี ะออกสีเหลืองนวล
สวนดิ้นฝรง่ั เศสจะออกสีเหลืองทอง การทอลายด้ินละเอียดประณีต มีความคงทน แวว
วาว และสวยงามมากท่สี ุดในบรรดาดิน้ ทัง้ 3ชนิด
2. แลง คือโลหะทีร่ ีดเปน เสน แบน ลักษณะคลายเสน ตอกสําหรบั สานเครือ่ งจักรสาน
3. เล่ือม เกิดจากการนําเสนโละที่ตัดใหไดความยาวตามตองการ แลวตีใหเปนรูปวงกลมแบน
หรือนูนเหมือนฝาชี หรอื รปู รา งเปนดาวหลาย ๆ แฉก
4. ไหมทอง คือโลหะท่รี ดี เปนเสน ขนาดเลก็ แลว นํามาปนควบกบั เสน ไหมหรือดา ย
วัสดุที่ใชปกงานพัสตราภรณยอมมีการประดับตกแตงดวยวัสดุมีคา วิจิตรอลังการ เชนปกดวยไหม และ
ไหมทอง พรอมกับประดับดวยไขมุกและพลอย การปกผาที่ใชวัสดุท่ีทํามาจากโลหะมีคารูปทรงตาง ๆ เปนวัสดุ
หลักในการปก อาจตกแตงเพิ่มเติมดว ยวัสดุมีคาชนิดอ่นื ดว ย เชน รตั นชาติ แกว กระจก หรือไหมสตี าง ๆ เพอ่ื เพ่ิม
ความงดงามอลังการ ทาํ ใหเปน ของท่ีสูงคา
การปกงานพัสตราภรณ อาจเรียกไดอีกช่ือหน่ึงวา “งานปกสะดึงกรึงไหม” ช่ือดังกลาวท่ีเรียกขานกันน้ี
แสดงถงึ ความสาํ คัญของวัสดุอุปกรณอยูสองประเภทในงานพัสตราภรณ คือ ไหมและสะดึง งานปกสะดึงกรึงไหมมี
ความสําคัญกับเครื่องแตงกายของคนไทยมาตั้งแตอดีต เปนหมือนเครื่องบงบอกถึงชนช้ันและสถานะทางสังคม
สังเกตไดจากเครื่องแตงกายของชนชั้นกษัตริย หรือขุนนางข้ันผูใหญจะสวมใสเครื่องแตงกายท่ีประดับประดาดวย
การปก เย็บดว ยเสนไหม แลงเงนิ แลงทอง หรอื ปกแมลงทับ ตกแตง ดวยเทคนิคการตัดเย็บชัน้ สูงใหผืนผาเกดิ ความ
งดงามตระการตากวา และมีความแตกตางจากเคร่ืองแตงกายของสามัญชนทั่วไปทั้งในเร่ืองของลวดลายและวัสดุ
นาํ มาปก เยบ็ ลว นมคี วามแตกตา งกนั โดยสิน้ เชงิ
งานปกสะดึงกรึงไหม เปนงานที่ถูกสรางสรรคขึ้นเฉพาะกลุมชนชั้นสูงจึงเปนสาเหตุใหองคความรูและชางงาน
ปกสะดึงกรึงไหมถูกถายทอดอยูเพียงในราชสํานัก มีเพียงการสาธิตหรือปฏิบัติใหชมเพ่ือการเรียนรูและจดจําเทคนิค
วิธีการสบื ตอกนั เรื่อยมา ดว ยกระบวนการท่ียากและซับซอนที่ตองใชเวลาในการฝกฝนฝมือเปนระยะเวลานาน ทาํ ใหใน
ปจจุบันเหลือชางทย่ี งั คงทํางานปกสะดึงกรงึ ไหมตามแบบโบราณราชประเพณีคงเหลือไมมากนัก
นอกจากจะสรางสรรคข้ึนเฉพาะกลุมชนช้ันสูงแลวงานปกสะดึงก็ถูกสรางสรรคขึ้นเพ่ือใชเปนเครื่องทรง
เคร่ืองใช และเครื่องแตงกายนาฏศิลปช้ันสูงอีกดวย งานปกสะดึงท่ีถูกนํามาใชเพ่ือเปนการเติมเต็มองคประกอบของ
สง่ิ ของเครื่องใชใหมีความสมบูรณแบบตามหลักจารีตประเพณีโบราณที่ไดรบั การสืบทอดสง ตอกันมา หากกลาวถึงงาน
ปก สะดึงกรงึ ไหมแลว อุปกรณส ว นตัวทีส่ ําคัญของชา งปกสะดึงกรงึ ไหม นน่ั คือ “สะดงึ ”
สะดึง ถือเปนอุปกรณสําคัญลําดับตนท่ีใชในการปกเครื่องพัสตราภรณ การข้ึนสะดึงอยางถูกตองและ
เหมาะสมนับเปนองคประกอบขอหน่ึงที่จะชว ยสรา งงานพสั ตราภรณไดอยางสมบูรณงดงาม เรม่ิ จากความใสใ จและ
หมัน่ ฝก ขงึ สะดงึ กบั ผา หรอื วสั ดทุ ่ีหลากหลาย เพราะจะชว ยทําใหเกิดความเขาใจในธรรมชาตขิ องผา แตล ะชนดิ
สะดึง คือ กรอบไมใ ชสาํ หรับขงึ ผาสาํ หรับปก มี 2 ลกั ษณะ คือ
1. สะดึงกลม เปน สะดึงท่ีทําจากไม จะมีเสนผา ศูนยกลางตัง้ แต 5-13 นิว้ เหมาะสําหรบั ใชใ นงาน
ปกงานท่ีมีขนาดเล็ก เพราะเปนสะดึงที่มีนํ้าหนักเบา สามารถพกพาไดสะดวก และสามารถจับดวยมือขางเดียวได
สะดงึ แบบกลมจะมสี ว นประกอบ 2 สว นคือ หวงดา นนอกทม่ี ตี ัวปรับความตึงของผา หว งดา นในจะเปนวงกลมเรยี บ
มีขนาดเล็กกวาหวงดานนอก เมื่อนําผาขึงเขากับสะดึงกลมเรียบรอยแลวตองเย็บตรึงผากับกรอบสะดึงเวน
ระยะหา งประมาณ 1 เซนติเมตรโดยรอบ
2. สะดึงส่ีเหล่ียม เหมาะสําหรับปกงานช้ินใหญ จําเปนตองมีผาขึงสะดึง เพ่ือบังคับผาท่ีปก ให
แนนและเรียบตึงอยูไดนาน ชวยใหง านปกประณีตเรียบรอ ย ปกไดสะดวกและรวดเร็ว
สะดึงกรอบสี่เหลี่ยม มีไมยื่นออกมาท่ีมุมทั้งส่ีดานเพ่ือเอาไวขึงเชือกเวลาที่จะดึงผาสําหรับปกใหตึง
ชางพัสตราภรณมักลงมึงทํา "แมสะดึง" ใชเอง เริ่มตั้งแตการหาไม ซ่ึงการทําสะดึงน้ันนิยมใชไมสักเพราะเน้ือไมไม
ยุยไมแตกและแมลงไมรบกวน เหลาไม เลื่อยไม ตอกไม และตกแตงไม ขัดเงาไม ดวยวิธีแบบโบราณ คือ การใช
ใบตองแหงขัดใหข้นึ เงา การเขาไมควรใชว ิธีอัดโดยวิธีทําเดือยเขาลิม่ เพราะจะทําใหแขง็ แรงทนทาน แมส ะดึงไม
มีขนาดแนนอนตายตัว สามารถกําหนดขนาดใหญเล็กตามลักษณะของชิ้นงาน เชน การปกหนาหมอน ปกสไบ
ขนาดของสะดึงจะแตกตางกันไป นอกจากไมสะดึงแลวยังมีไมสําหรับยึดผารองปกเขากับสะดึงดวย ไมท่ีจะใช
สําหรับยึดผานี้ทําจากไมไผท่ีนํามาหลาวใหเปนทอนรี ๆ ขนาดเสนผานศูนยกลางประมาณคร่ึงนิ้วและมีความยาว
เทากับสะดึงที่ใช นํามาลบเสี้ยนออกใหหมดโดยใชกระดาษทรายขัดอีกครั้งหน่ึงดวย เม่ือประกอบสะดึงเสร็จสิ้นสิง่
สําคัญถัดมาคือการ "ขาต้ังแมสะดึง" การทําขาต้ังสะดึงก็คลาย ๆ กับการทําไมสะดึงแตมีงานที่ยากกวานั่นคือการ
ประกอบต้ังใหขาตรงรับนํ้าหนักได เมื่อไดแมสะดึงและขาต้ังแมสะดึงครบถวนแลวขั้นตอนตอมาคือการขึงสะดึง
หรอื การขงึ ผา ใหตึง โดยนําผา ไปขงึ ตงึ บนสะดงึ ใหแนน ตอ งทาํ ใหผาตึงทีส่ ดุ แลวเยบ็ ตรึงผาใหเขากบั สะดึงไปเร่ือย ๆ
จนกวาผาจะตึงท้ังผืน ในขั้นตอนน้ีถือเปนเทคนิคสําคัญที่สุดที่จะทําใหงานปกออกมาสวยงามสมบูรณแบบกอน
เตรยี มการปก ขน้ั ถดั ไป
การขึงสะดึงสี่เหลี่ยมนั้นยากกวาการขึงสะดึงแบบกลม การขึงสะดึงส่ีเหล่ียมเริ่มดวยการนําผาขาวมาเย็บ
ขอบเปนชองใหสอดไมกลม(สวนมากเปนไมไผ)ไดท้ัง 4 ดาน จากน้ันจึงนํามาขึงเขากับกรอบสะดึงดวยการรอย
เชือก รัดใหตึง ถาสะดึงไมตึงจะทําใหปกยากขึ้นรวมถึงจะทําใหผาท่ีปกนั้นยับยน จากนั้นจึงกรึงเนาผาที่จะใชปก
ตรงึ บนสะดงึ เพอ่ื เตรียมวางแบบลายปกในขั้นตอนตอไป
ผารองปก ชนิดของผารองปกท่ีถูกขึงกับสะดึงเพ่ือรองรับผาท่ีใชปกน้ัน ตองเปนผารองปกท่ีมีคุณสมบัติ
เปนผาชนิดบาง ตองไมยืด สวนมากชางมักเลือกผารองปกเปนผาโทเร และผาฝาย หรือชางบางรายอาจเลือกเปน
ผาชนดิ อื่นแตต อ งคํานึงคุณสมบตั ดิ งั กลาว
เชือกรัดสะดึง ชนิดของเชือกรัดสะดึงตองมีคุณสมบัติสําคัญคือ มีความเหนียว แข็งแรง ไมลื่น สวนมาก
ชา งมักนิยมใชเ ชือกฝา ย หรืออาจใชเ ศษผา ดิบท่มี คี วามหนาทดแทน
งานปก พสั ตราภรณต ามจารีตในปจ จบุ นั มกั ปรากฏอยูในเสอ้ื ผาเครือ่ งนุงหม ของการแสดงโขน แสดงละคร
รํา ดังนั้นความรูเบ้ืองตนของการจัดเตรียมลวดลายปกน้ันตองทําความเขาใจในรายละเอียดสวนตาง ๆ ของเครื่อง
แตงตัวชุดโขนเสยี กอน เนื่องดวยงานปก ผาชุดเคร่ืองแตงตัวชุดโขนของไทยมีความสัมพันธกับการแสดงท่ีมีรูปแบบ
ซงึ่ เปน แบบแผนเฉพาะ และกําหนดเปนจารตี ในการแสดงทีย่ ึดถือปฏิบตั ิกนั มาจนเปนประเพณี เคร่ืองแตงกายหลัก
ซ่ึงใชในงานแสดงโขน ละครรําของไทยเรียกวา “ยืนเคร่ือง” ซึ่งเปนการบงบอกสถานะของผูแสดงวาเปนใคร ยืน
เครื่องพระ ยืนเครื่องนาง ซึ่งจะมีเครื่องทรงสืบสานตามยุคสมัย การแตงกายยืนเครื่องเปนการแตงกายเลียนแบบ
เคร่อื งตนเครื่องทรงของพระมหากษตั ริยและพระบรมวงศ
องคประกอบของเคร่ืองแตงกายฝายพระ ฝายนาง ยืนเครื่องฝายยักษ และฝายลิง จะมีรูปแบบมาตรฐาน
เพอื่ บงบอกฐานะของตัวละคร นอกจากน้ใี นการใชส สี ําหรับเครื่องแตงกายโขน และละครรํา มีดังน้ี
1. แตงตามจารีต โดยกําหนดตามแมสีเปนหลัก คือ พระเอก นางเอก หรือตัวเอก จะใชสีแดง
เขียว เหลือง สวนพระรองนางรองจะใชสชี ั้นท่ีสอง คือ ชมพู ฟา เหลือง ตัวพอ และตัวแมจะใชสีหนัก คือ น้ํา
เงนิ เขียว มวง
2. แตงตามบท ข้ึนอยูกับบทและตอนที่จัดแสดงในแตละคร้ัง ที่อาจมีการกลาวถึงลักษณะ หรือสี
เครื่องแตง กายของตัวละคร ทก่ี าํ หนดอยูเ ฉพาะบทหรือตอนนนั้ ๆ
3. แตงตามสีกาย ที่กําหนดไวในโขน หรือ ละครแตละเรื่อง เชน พระรามสีเขียว พระลักษณสี
เหลือง หรือพระสังขสที อง เปนตน
4. แตงตามช่ือ โดยเฉพาะช่ือของตัวละครในละครแตละเรื่อง เชน สุวรรณหงส ศรีสุวรรณ ปน
ทอง จะใชสเี หลือง เปน ตน
นอกจากเร่ืองสีแลว ในสวนเครื่องนุงหมของการแตงยืนเครื่องทั้งฝายพระ ฝายนาง ฝายยักษ และฝายลิง
ยงั แบงออกเปน 2 สว น คือ สว นท่ีเปนผาที่ไมมีการปก ซ่ึงไดแ กผานุง และสว นทีเ่ ปน “ผาปก” ซ่งึ มีอยูหลายชนิ้ แต
ละชนิ้ มขี อกําหนดในการวางลายสําหรบั ปก
งานปกแตละชิ้นจะตองวางแผนอยางรอบคอบในการใชว ัสดุเพื่อใชในงานปก ทั้งนี้เพื่อจะไดใชด้ินใหเปนสี
เดียวกันท้ังหมดจึงจะงดงามตามจารีต เน่ืองจากดิ้นท่ีใชบางมวนอาจจะมีสีออนแกกวากัน แมจะแตกตางกันเพียง
เลก็ นอ ยก็จะบดบงั ความงามของงานปก ชุดโขน ละครราํ ได และเนอื่ งดวยดิน้ แตละชนิดนั้นมีราคาสูง ชางปก จึงตอง
คํานวนการตดั ดน้ิ ใชด้ิน ปกเลอื่ มใหเพยี งพอ และระมัดระวังมิใหง านปก ถกู แกแ บบ หรอื มขี อ ตาํ หนิ
หากมีการปกไมถูกตองในลวดลายหรือสี ชางปกจะตองทํางานชิ้นใหม ซ่ึงจะทําใหสูญเสียท้ังเวลา และ
มูลคาของวัสดุ ดังนั้นงานพัสตราภรณจึงตองวางแผนคํานึงถึงรายละเอียดเพราะมีความสําคัญตอเนื่องในทุกสวน
ต้ังแต
1. การจัดเตรียมแบบที่จะนํามาปก โดยตองจัดเตรียมแบบลวดลายปกใหเหมาะสมกับพ้ืนที่
ขนาด และการนําไปใช เลือกลวดลายปกใหเหมาะสมกับชอ งไฟในแตละสวน และควรระบุการใชสีวัสดุที่ใชปกลง
พนื้ ผาในสวนตาง ๆ เพ่ือเปน การวางแผนการทาํ งานขนั้ ตอ ไปไดอยา งชดั เจน
2. การคดั ลอกแบบ สิง่ สําคญั ที่สดุ ในการคัดลอกแบบคือกระดาษทาบลาย ประเภทของกระดาษ
ทาบลาย ชางพัสตราภรณแตละทองถ่ินอาจใชกระดาษทาบลายท่ีแตกตางกัน แตสิ่งสําคัญคือกระดาษทาบลายน้ัน
ตองมีคุณสมบัติที่เหมาะสมกับการปกทับ จากน้ันจึงคัดลอกลวดลายที่จัดเตรียมไวลงกระดาษใหเหมาะสมกับ
ชอ งไฟแตละสว น
3. ทาบลายบนผาบริเวณท่ีกําหนด โดยแบงสัดสวนของลวดลายประกอบตาง ๆ ใหไดจังหวะ
ลาย จากนนั้ จงึ เย็บเนากรงึ ลวดลายท่คี ัดลอกตรึงลงบนผา เพอ่ื เตรียมการปกในข้นั ถดั ไป
งานพสั ตราภรณนั้นเปน ศลิ ปะท่ีตองใชค วามละเอียด ออนในการปก มกี รรมวธิ หี ลายขนั้ ตอน ชา งปกตองมี
ความละเอียดอดทนเปนอยางมาก รูปแบบการปกจะตองเนนในการอนุรักษรูปแบบภูมิปญญาดั้งเดิมที่มีมาตั้งแต
สมัยโบราณไวอ ยา งไมผิดเพ้ียน
ผูท่ีมีทักษะในการปกผาในงานชางพัสตราภรณ จะตองมีความเขาใจในดานตาง ๆ ไดแก ลวดลาย จังหวะ
ชองไฟของลาย การเลือกใชวัสดุ กรรมวิธีในการปก ตลอดจนข้ันตอนการเก็บรักษา เพราะวัสดุที่ใชในงานปกผา
ของชางพัสตราภรณน้ันตองใชความระมัดระวังไมใหเกิดการเสียหายข้ึน โดยมากวัสดุที่ใชไดแก ด้ินขอ ดิ้นโปรง
ไหมเงิน ไหมทอง เปนตน ซึ่งกระบวนการตาง ๆ ชางแตละกลุมอาจจะมีเทคนิควิธีการท่ีสรางเอกลักษณเฉพาะขึน้
ความงดงามของงานปกน้ันจึงไมใชเพียงแตสามารถปกไปตามลวดลายท่ีกําหนดเทานั้น หากแตยังมีชั้นเชิงของ
ความประณีตท่เี พิม่ เตมิ มูลคาใหแกผ ลงานไดอีกดวย ขนั้ ตอนกวา ง ๆ ในงานพสั ตราภรณ มดี ังนี้
1. การลอกลายบนผา ปก ใหถ ูกตําแหนงของเคร่ืองแตงกายแตละตัวละคร การใชสีผา การขึงสะดึง
การตัดขนาดของด้ินโปรงใหมีขนาดเหมาะสมกับลวดลายที่ใชในงานปก การจัดเก็บด้ิน การใชเข็มรอยดิ้น การใช
ดิ้นขอและดิน้ โปรง การใชเชอื กดบิ เพื่อหนนุ ลาย
2. ขั้นปก ผูปกจะตองน่ังในตําแหนงท่ีเหมาะสมมีพื้นที่สําหรับทํางาน การนําไมสะดึงขึงดวยผา
ตว นประกบผา ดิบเพอ่ื ปอ งกันไมใหผาขาดขณะปก และใชด า ยเนา การแทงเขม็ เพื่อนาํ ดิ้นลงบรรจงปก
การปกเดินเสนในลักษณะตาง ๆ ถือเปนทักษะขั้นพื้นฐานที่ชางพัสตราภรณตองผานการฝกฝนจน
ชํานาญจึงสามารถเขา สูกระบวนการฝกลวดลายในขัน้ ทสี่ งู ขึ้น โดยพ้ืนฐานการปกเดนิ เสนนน้ั เร่มิ ต้งั แต
1. การใชอุปกรณตัดด้ินขอ ดิ้นโปรง ดิ้นมัน ไหมกิมเจ็ง (ไหมทอง) ตามลายท่ีกําหนด เนื่องดวย
ด้ินตาง ๆ นั้นมีราคาสูง การตดั ด้นิ จงึ ถอื เปน ขน้ั ตอนที่สําคัญในลําดบั ตน
2. การเลอื กสีดายใหเ หมาะสมกับสีของด้ิน ไหมกิมเจง็ แลง ก็นบั วา เปนสวนสาํ คัญสําหรบั ชางฝกหัด
3. การปกดิ้นขอ ปกด้ินโปรง ปกด้ินมัน ปกแบบตีเกลียวในตัว ลักษณะเกลียวเสนตรง วงกลม
อยา งถูกวธิ ี และลกั ษณะเกลยี วเรียงตัวพอดี เกลยี วไมแนน ไมหลวมเกินไป ดนิ้ ไมแ ตกหกั หรือยับ
4. ปกเดนิ เล่อื ม เรียงตัวพอดี ไมบ ดิ เปนคลื่น ลอ กเลื่อมไดอยา งถูกวธิ ีตามลกั ษณะลาย
5. ปก กรงึ ไหม หกั ทองขวาง ตามลักษณะลาย
6. ปกเกลียวหนุนเชือกใหลวดลายนนู ขน้ึ ตามลักษณะลาย
เม่อื ปกเดนิ เสนจนชาํ นาญเรมิ่ ปก ในลวดลายทม่ี ีความยากและซบั ซอนมากขน้ึ ดงั นี้
1. ปกหนุนใหลวดลายนูนขึ้น ดวยเชือก เสนไหม เสนฝาย หรือสําลี ใหลวดลายนูนขึ้น เดนชัด มี
มติ ิ สวยงาม และเลอื กชนดิ ของดิน้ ใหเ หมาะสมกับลวดลายท่ที ําการปก
2. ปกเดินเสนบริเวณขอบ หรือปกลวดลายท่ีมีความชัดเจนมากย่ิงขึ้น ดวยการเดินเสนบริเวณ
ขอบหลังทป่ี ก ลวดลาย ดว ยการใชเสนไหมสีตาง ๆ หรอื เลือกชนิดของดน้ิ ตา ง ๆ ใหเหมาะสมกบั ลวดลาย
3. ปก ทึบ ดว ยเสนไหม ปกในลวดลายทม่ี ขี นาดไมใ หญม าก หรือบางลวดลายตองปกหนุนดานลา ง
กอ นแลว จึงปก ทับลงทีละเสน เพอ่ื เพิ่มมิตคิ วามออ นชอย
4. ปกซอยไหมใหเต็มลวดลาย ใชกับลวดลายท่ีมีขนาดใหญและไลสีสันของไหมจากโทนออนไป
เขม เพอื่ ใหภ าพท่ปี กออกดูมีมติ ริ าวกบั งานจิตรกรรม
5. ปกดิ้นเงิน ด้ินทอง หรือปกถมลวดลายดวยดิ้น แลง ประเภทตาง ๆ กลมกลืนกันตลอดทั้ง
ลวดลาย ทง้ั เสน หรอื ปกรว มกบั วสั ดุอน่ื ๆ เชน เลือ่ ม ลูกปด ไขมกุ ปกแมลงทบั อญั มณสี ี
ชา งพสั ตราภรณ เปนผูท่มี ีความชาํ นาญในการปก ลวดลาย ทง้ั ทเ่ี ปน การปก ดว ยไหม และวัสดุโลหะ งานพสั
ตราภรณมีความสัมพันธกับการแสดงโขนละคร ชางพัสตราภรณจําเปนตองมีความเขาใจในรูปแบบและกรรมวิธี
การสรางสรรค สะทอนความเชื่อและจารตี ประเพณี อนุรักษกระบวนการ รูปแบบ ลวดลายท่ีสืบทอดมาจากแบบ
แผนด้ังเดิม
งานปกพสั ตราภรณต ามจารตี ในปจ จบุ นั มักปรากฏอยใู นเสอื้ ผา เคร่อื งนุงหม ของการแสดงโขน แสดงละคร
รํา ดังนั้นความรูเบื้องตนของการจัดเตรียมลวดลายปกน้ันตองทําความเขาใจในรายละเอียดสวนตาง ๆ ของเครื่อง
แตงตัวชุดโขนเสยี กอ น เนือ่ งดว ยงานปก ผาชุดเครอ่ื งแตง ตัวชุดโขนของไทยมีความสมั พนั ธกับการแสดงที่มรี ูปแบบ
ซ่ึงเปนแบบแผนเฉพาะ และกําหนดเปนจารีตในการแสดงที่ยึดถือปฏิบัติกันมาจนเปนประเพณี การวางลาย
สําหรบั ปก มีชอื่ เรยี กตัวลายและกรรมวธิ ใี นการปก เครอ่ื งโขน ละครโดยเฉพาะ ดงั น้ี
ลายหนุน หรือ ลายดิ้น เปนชื่อท่ีใชเรียกกรรมวิธีในการปกท่ีทําใหลายนูนข้ึน การเขียนลายไทยสําหรับ
การปกเคร่อื งโขนประเภทน้ี คอื การเขียนลายแบงออกเปน สวน ๆ ไมเชื่อมตอ กันตลอดตวั ลายเพื่อใหงายตอการปก
ซง่ึ เปนการปก แบบ“หนุน” ใหต ัวลายนนู ขนึ้ เลก็ นอยไมแบนราบ วสั ดทุ ่นี ํามาใชในการปก ลายหนนุ ไดแก ดนิ้ ขอ (ตัด
ลอมตัวลาย) ดายฟอก(หนุนตัวลายใหนูน) ด้ินโปรง ด้ินมัน หรือดิ้นดาน แลวแตความเหมาะสมกับลวดลายที่ใช
โดยมกี ารปก ทึบเดนิ เปน เสน เกลยี ว เพ่ือเช่อื มรอยตอ ระหวา งสีพน้ื ผากบั สขี ลบิ ริม และแบง ชองบรรจุตัวลาย สว นตวั
ลายที่นิยมนํามาปกไดแก ลายพุมขาวบิณฑ ลายหนาสิงห ลายกนกเปลว ลายประจํายาม ลายดอก ลายเถา ทั้งน้ี
อาจปกเสริมเพ่อื ความงามดว ยเลอื่ ม ลูกปด เพชร พลอย ตลอดจนไหมสตี า ง ๆ
ลายเลอ่ื ม หรือ ลายปา เปน ชื่อทใี่ ชเ รยี กการปกเดนิ เสน ปกลกู โซ หรือปกทึบ โดยใชล วดลายประเภทลาย
เครือเถาท่ีมีดอกไมใบไมอยูในลวดลาย วัสดุที่นํามาใชในการปกลายเล่ือม ไดแก ด้ิน เล่ือม ไหมสี ปกแมลงทับ
ลกู ปด เพชร พลอย บางครงั้ อาจมีการสอดเสริมลายดว ยผา ตัดแบบเปน ลายดอกไม ใบไม ใบบัว ดอกบวั ผเี ส้ือ การ
ปกลายเลื่อมมีความสําคัญต้ังแตการวางลวดลาย การเลอื กใชว ัสดุในการปก และมฝี มือในการปกใหงามเหมือนงาน
เขยี น
ในการปกเครื่องโขน ละครของชางโบราณอาจใชทั้งลายหนุน และลายเล่ือมผสมผสานกันไปเพ่ือไมให
ลวดลายมีลักษณะบางเบาเกินไปหรือมีลักษณะแข็งกระดางเกินงาม สําหรับการปกเครื่องแตงกายยืนเครื่องใน
ปจจุบันโดยเฉพาะตัวเองของโขนคือ พระราม พระลักษณ ทศกัณฑ นางสีดา นิยมปกลายหนุนมากกวา สําหรับ
สอบแปดมงกฎุ ลงิ พญา เสนายกั ษ นยิ มปกเปนลายเล่อื ม
องคป ระกอบสว นใหญท่เี ปนผาปกของฝายตวั พระ ยักษ และลิง ไดแก
1. สนับเพลา 6. ตวั เส้อื
2. รดั สะเอว 7. อนิ ทรธนู
3. หอ ยขา ง 8. กนกแขน
4. หอ ยหนา 9. รัดอก
5. หอยหลงั 10.กรองคอ
องคประกอบของสว นทีเ่ ปน ผาปก ฝายนาง (นาง นางยักษ) ไดแก
1. ผาหม นางสองชาย
2. ผาหมนางผืนใหญ
3. ผาหมนางยกั ษ
4. นวมนาง
องคประกอบของสวนท่ีเปนผานุงของการแตงกายยนื เคร่ือง ผาท่ีใชเปน “ภูษา” ในการแตงกายยืนเครื่อง
ทัง้ ฝายพระและฝายนาง ปจ จบุ นั นยิ มผา ยกเน้ือหนาจากอินเดยี ขนาดมาตรฐาน มีลายเชิงสองขาง สขี องผานุงมัก
ใชตามสีขลิบรมิ ของเสอื้ ตวั พระ หรอื ขลบิ ริมของตวั ผาหม นาง
องคประกอบเบ็ดเตล็ดของการแตงกายยืนเครื่องสวนใหญมักเปนชิ้นสวนพิเศษท่ีเปนผาปกเพ่ิมเติมเพ่ือ
เนนลักษณะหรือเนนชาติพันธุของตัวโขน ตัวละคร เชน ปกและหางครุฑ ปกและหางกินรี ปกและหางนกยูง หาง
มจั ฉา หางวานร เปนตน
กอนเริ่มปก ตองกําหนดแบบปกตนฉบับ ซึ่งมีความสําคัญมากถือเปนตนแบบแสดงภาพผลงานท่ีเสร็จ
สมบูรณ และเปนแมแบบกําหนดกระบวนการทํางาน รายละเอียดสําคัญตาง ๆ เชน ลายปก ตามสวนตาง ๆ ของ
ลวดลาย การวางสีในงานปก ชนิดและลักษณะผา ควรปรับแกแบบจนเปนท่ีพอใจขั้นสุดทายเสียกอน จึงนําไปใช
งานจริง ลวดลายท่ีเหมือนกัน สามารถนําไปแตกลักษณะปลีกยอย เชน โทนสี ลายปกท่ีจะนํามาใช ใหผิดแผกกัน
ออกไปตามความพอใจ จงึ ทําใหลวดลายเดยี วกันสามารถมีแบบปก ตนฉบับไดห ลายฉบับ
หากชางทม่ี ีความชํานาญในการปกขั้นสูงแลว อาจใชเ พียงแบบปกเปลา หรือ "แบบเปลา" เปนตวั ลวดลาย
ลวน ๆ ไมมีรายละเอียดแตอยางใดใชเปนแบบลอกลงบนผา แบบปกทั้งสองประเภทน้ี เม่ือใชงานเสร็จควรเก็บใส
แฟมพรอมท้ังจัดหมวดหมูใหเรียบรอย เพ่ือปองกันการสูญหาย สะดวกตอการหยิบใชและเปนประโยชนตอการ
ทํางานคร้งั ตอไป
งานพัสตราภรณตามแบบราชสํานัก มีขั้นตอนและวิธีการที่ละเอียดออนตางจากงานปกโดยท่ัวไป
เอกลักษณสําคัญอยูที่วิธีการปกของชางที่จะตองลงฝเข็มทีละคร้ังจนเกิดเปนลวดลาย ขั้นตอนเหลานี้ไดถูก
ถายทอดสืบตอกันมาจากรุนสูรุน การปกชุดโขนละครถือไดวาเปนหนึ่งในงานงานพัสตราภรณ ซ่ึงจะมีความโดด
เดนเปนเอกลักษณดวยการปกตามแบบของตัวละครนั้น ๆ สวนลายที่ใชในการปกจะมีความแตกตางกันไปตามชื่อ
ของตัวละคร เชน ลายกระหนก ใชสําหรับพระลักษณและพระราม ลายหนาสิงห ใชสําหรับทศกัณฑ เปนตน ชาง
ปกตองใชทักษะความชํานาญเปนอยางมากจึงสามารถปกใหไดรายละเอียดที่สวยงามลงตัว ชางปกตองมีความรู
ดานการเขียนลวดลายไทย จึงจะสามารถบังคับฝเข็มใหออนชอยเสมือนกับการวาดลายเสน ชางปกจึงตองมีทั้ง
ทกั ษะฝม อื และความอดทนในการปก ลวดลายใหแลว เสรจ็
“ลวดลายไทย”แสดงถึงเอกลักษณของความเปนไทยบงบอกถึงภูมิปญญาของชางไทย ใชจินตนาการใน
เชิงสรา งสรรคมีแบบอยา งเฉพาะตัว มที ง้ั ลายสัตวในอุดมคติ ลวดลายธรรมชาติ ลวดลายประกอบ ลวดลายไทยถือ
เปนองคประกอบสําคัญท่ปี รากฎในงานพัสตราภรณ โดยลวดลายไทยพนื้ ฐาน มดี ังตอ ไปน้ี
1. ลายกระจัง เปนลวดลายพื้นฐานท่ีสําคัญของลายไทย ตนแบบลายนี้มาจากธรรมชาติ
โครงสรา งของลายอยูในรูปทรงสามเหล่ยี มดา นเทา มีลกั ษณะตาของตน ออ ย ดา นขา งจะแยกปลายแหลมเหมือนถูก
บาก ลายนจ้ี ะใชประดบั ตามขอบลาย ลายกระจงั มีอยหู ลายรูปแบบ ดงั นี้
1.1 กระจังฟนปลา มีรูปทรงเปนสามเหลี่ยมยอดเรียวแหลมเปนที่มาของกระจังตาออ ย
หรอื กระจังใบเทศ ถือเปน กระจังตัวเร่มิ ตน กระจงั ฟน ปลาเปนลายติดตอไดท ้งั ซายและขวา
1.2 กระจังตาออย ทรงตัวอยูในรูปสามเหลี่ยมดานเทา เสนออนเรียวท้ังซาย และขวา
ปลายยอดแหลมมีบากทั้งสองขา ง เมื่ออยเู ฉพาะตัวเด่ยี ว ๆ เรียกวา ตาออย เม่อื เขา ประกอบเปน ลายตดิ ตอซายและ
ขวาเขียนเปน ลายบวั หงายบัวควํา่
1.3 กระจังใบเทศ มีทรงภายนอกออนเรียวเหมือนกระจังตาออย อยูในรูปสามเหล่ียม
ดานเทาเชนเดยี วกัน แตภายในตัวมีสอดไสส ามตัว กระจังใบเทศมีวธิ ีแบง ตวั ไดหรือสอดไสไดห ลายวิธี เมอื่ ตวั ย่ิงโต
ข้ึนก็ยิ่งแบงตัวไดมากข้ึนและใสตัวซอนไดมากขึ้น การแบงจังหวะรอบตัวหรือการบากของกระจังใบเทศน้ีเรียกวา
“แขงสิงห” เมื่อตัวกระจังใบเทศใบย่ิงโตข้ึนเทาใด แขงสิงหก็จําตองแบงตัวมากตามขึ้นไปดว ย การแบงแขงสิงหให
เปน ลาํ ดับตดิ ตอ กนั ไมได ก็เทากับเขยี นกระจงั ใบเทศไมเ ปน
1.4 กระจังหู หรือกระจังปฏิญาณ มีทรงอยูในรูปส่ีเหล่ียมผืนผา กวางสองสวน สูงสาม
สวน ตอนบนมีทรงเหมือนกระจังใบเทศ แลว ตอ กา นลงมาอีกครึ่งสว นซายและขวา แตภายในตอนลา งมีกาบทั้งซาย
และขวา เชนเดยี วกบั กระจังใบเทศ วิธแี บง ตัวมีเปน ลําดบั คลายกระจงั ใบเทศ ตัวโตขนึ้ ก็มกี ารแบงตัวมากยง่ิ ข้ึน
1.5 กระจังรวน มีสวนเหมือนกระจังหูทุกสวน ตลอดจนแบงตัวทุกอยางเหมือนกัน
ทั้งหมดแตยอดสะบดั ปลายใบไปทางซา ยหรือขวากไ็ ด กระจังรวนเปน ลายตดิ ตอ ซายขวา
2. ลายประจํายาม ลวดลายท่ีมีรูปรางส่ีเหล่ียมจัตุรัสทแยงมุม มีลักษณะคลายดอกไม โดย
ดัดแปลงมาจากดอกไมชนิดหน่ึงท่ีเรียกวา“ดอกส่ีทิศ” ลายประจํายามประกอบดวยวงกลมกับกระจังใบเทศรอบ
วงกลมทั้งส่ีดาน ถาเปนตัวยอเล็กอาจใชกระจังตาออยแทน ลายประจํายามอยูในจําพวกดอกลอยและใชเปนแม
ลาย ท่ีออกลาย หรือใชเปนทห่ี า มลาย
3. ลายกระหนก เปนลายพนื้ ฐานหนึ่งท่ีสําคญั ของลายไทย มีพ้ืนฐานจากสามเหลย่ี มชายธง อาจมี
ตัวเดียวหรือหลายตัวก็ได มักมีฐานมุมแหลมหันไปทางเดียวกัน โดยมีขนาดและสัดสวนที่แตกตางกันไป ลาย
กระหนกทสี่ าํ คญั ไดแ ก กระหนกสามตวั กระหนกเปลว
4. ลายพุมขาวบิณฑ ลวดลายท่ีมีรูปทรงพุม เปนรูปทรงคลายดอกบัวตูม รายละเอียดไสหลาย
สามารถเขียนไดหลายลักษณะ มีสวนกวางสองสวน สูงสามสวน รอบตัวของทรงพุมทรงขาวบิณฑมีแบงแขงสิงห
เหมือนกระจังใบเทศ พุมทรงขาวบิณฑเปนลายดอกลอยใชเปนที่ออกลาย และยังใชเขาประกอบกับลายอื่น ๆ ได
อีก
5. ลายกาบ เปน ลายท่กี ําเนิดลายชอ ลาย โครงสรางของลายนม้ี าจากพชื พันธใุ นสวนท่ีเปนกาบหุม
ตรงโคนหรอื ขอ เชน กาบของตน ไผ กาบตน กลวย
6. ลายนกคาบและนาคขบ มีลักษณะเปนหนาของนก หนานาคท่ีเอาปากคาบลายตัวอ่ืนเอาไว
หรือมลี ายชอ อ่นื ๆ ออกทางปาก ตําแหนงของลายนกคาบจะอยูตรงขอ ตอ ที่จะเชือ่ มกานกันและกนั
7. ลายรกั รอ ย ประกอบดวย ลายประจํายามและกระจังใบเทศ หรอื กระจังตาออย ลายรักรอยใช
ลายประจาํ ยามเปนที่ออกลาย ตอดว ยกระจงั ใบเทศหรือกระจังตาออยเรียงตอ กันไปทง้ั ซา ยและขวาจนสุดลาย ถา
เปน ลายรักรอยใหญใชวิธีแบงตวั เหมือนกระจังใบเทศ
ลวดลายท่ีกลาวมาเปนเพียงลายไทยพื้นฐานสวนหนึ่งที่สามารถตอยอดสรางสรรคผูกลายได โครงลายที่
สําคัญยังประกอบดวย ลายชอ ลายหนากระดาน ลายกานตอ ลายเถา ฯลฯ ซ่ึงเกิดจากมีความเชี่ยวชาญในการ
เขียนลายยอยแลวมาผูกรวมกันไดอยางสวยงาม และนําไปประดับในสวนตาง ๆ ทั้งงานพัสตราภรณ งาน
สถาปตยกรรม งานประตมิ ากรรม งานจติ รกรรม และงานหัตถศิลปอ น่ื ๆ
ในการวาดเสนลายไทย การผูกลาย หรือการนําลายไทยในหลายสว นมาเขียนรวมกันเปนแนวทางท่ีทํากนั
มาตลอด ดังน้ันผูเขียนเสนในการผูกลายจะตองรอบรูในการเขียนลายหรือชอลายตาง ๆ อยางเช่ียวชาญจึงจะ
เขยี นลวดลายไทยไดจงั หวะทสี่ วยงามตามกรอบของภาพทีก่ าํ หนด
งานพัสตราภรณเปนงานท่ีตองใชความเขาใจ และทักษะในการเขียนลวดลายไทยในระดับหน่ึง เนื่องดวย
เปนงานท่ีแสดงออกถึงทักษะความชํานาญและความประณีตของชาง ชางบรรจงใชสองมือในการปกโดยใชมือขาง
หน่งึ อยดู านบนและอกี ขางหน่ึงอยูด านลา งและใชทง้ั สองมือคอยรบั สง เข็มใหส มั พันธกัน การปก ลวดลายไทยใหเกิด
ความสวยงามลงบนผืนผามีดวยกันหลากหลายเทคนิคข้ึนอยูกับประสบการณของชางท่ีสั่งสมมา โดยมีเทคนิคและ
วธิ ีการปก ที่มีการเรยี นรูสืบทอดกนั มาตามขัน้ ตอนตาง ๆ ดังน้ี
1. การปกหนุน ใชในการปกลวดลายบนพ้ืนที่เล็ก ๆ ดวยวิธีการปกหนุนดวย เชือก เสนไหม เสน
ฝาย หรือสําลีใหลวดลายนูนข้ึน เดนชัด ชวยใหลวดลายดูมีมิติสวยงาม โดยชางปกตองเลือกชนิดของดิ้นให
เหมาะสมกบั ลวดลายท่ที ําการปก โดยใชว ธิ ีการปกทบึ เดินเปนเสน เกลียวเพ่ือเช่ือมรอยตอ ระหวา งสพี ้ืนผากบั สีขลิบ
ริม และแบงชองบรรจุตัวลายจะไมเช่ือมตอตลอดลาย จะแบงลายเปนตัวใหงายตอการปกและสวยงาม โดยลายท่ี
นิยมนาํ มาปก ไดแก ลายพมุ ขาวบณิ ฑ ลายหนา สงิ ห ลายประจํายาม ลายดอก ลายเถา ลายกนกเปลว ขางเขียนลาย
จะตองผูกลายใหเขากบั แบบของเคร่ืองละคร เชน เสื้อ สนับเพลา หอยหนา หอยขา ง อนิ ทรธนู กรองคอ รัดสะเอว
สุวรรณกระถอบ ผาหมนาง ซึ่งมีรูปแบบแตกตางกัน ผูเขียนลายตองใชความสามารถในการผูกลายใหดูสวยงาม
และสะดวกในการปก วิธีที่นิยมใชในการปกลายหนุน คือ การปกทึบ เดินเกลียว ซึ่งอาจจะใชเล่ือม เพชร ลูกปด
ปกประดบั เพม่ิ เพ่ือเสรมิ ความงาม ตวั อยา งขัน้ ตอนในการปกหนนุ มดี ังน้ี
1.1 ขงึ สะดึง ดว ยผา ท่ีตอ งการปก ลอกลายลงบนผาหรือกระดาษลอกลายเนาลายกับ
ผา ท่ตี องการปก
1.2 ลอ มลายดวยดน้ิ ขอ ดัดดน้ิ ขอ ตามลายท่ีลอกไวบนผา
1.3 หนุนลายภายในลายที่ลอมดิ้นขอไวใหนูนสูงเปนหลังเตา ดวยดายที่ทํามาจาก
ฝา ย
1.4 ปกดิ้นโปรง หรอื ดิน้ มัน ดนิ้ ดาน ใหเ หมาะสมกับลาย
1.5 แตงลายใหดูสวยงามยงิ่ ขึน้ ดวยเล่อื ม ลกู ปก เพชร พลอย เปน ตน
2. การปกเดินเสน เปนการปกเดินเสนบริเวณขอบ หรือปกลวดลายท่ีตองการมีความชัดเจนมาก
ย่ิงข้ึน ชางปกจะปกเดินเสนในบริเวณขอบหลังจากที่ปกลวดลายเสร็จเรียบรอยแลว ดวยการใชเสนไหมสีตาง ๆ
หรอื ด้ินเงนิ ดิ้นทอง
3. การปกทึบ เปนการนําเสนไหมปกลงบนผืนผาใหเกิดเปนลวดลายตามท่ีไดรางแบบไว นิยมใช
ปกบนลวดลายท่ีขนาดไมใหญมาก หากตอ งการใหลวดลายนนู ขนึ้ มามากกวาปกตจิ ะตองปกหนุนดานลา งกอนแลว
จึงจะปกทึบลงไป เริ่มปกจากดานหน่ึงไปอีกดานหน่ึงตามรูปรางของลวดลาย ถาในพ้ืนที่ที่กวางจะปกข้ึนลงดวยฝ
เข็มทีละส้ัน ๆ แลวปกลงไปทีละเสนตอกันเพื่อเพิ่มความออนชอย เมื่อปกไหมแตละเสนตอ ๆ กัน เสนไหมจะมี
ความละเอียดมากข้ึน ชางปกจะไมนิยมปกเสนไหมในแนวขวางเพราะทําใหลวดลายดูไมพล้ิวไหวขาดความเปน
ธรรมชาติ
4. การปกซอย วิธีการคลายคลึงกับการปกทึบดวยวิธีการปกไหมลงไปใหเต็มลวดลาย จะมีความ
แตกตางกันตรงท่ีการปกซอยนั้นจะใชกับลวดลายที่มีขนาดใหญและตองการไลสีสันของเสนไหม โดยใชระยะการ
เดินเข็มสั้น ๆ จากจุดหนึ่งไปอีกจุดหน่ึง ปกแบบส้ันยาวสลับกันไป นิยมปกไลสีเสนไหมจากโทนออนไปโทนเขมทํา
ใหภ าพทป่ี กออกมาดมู ีมิติราวกับงานจิตรกรรม
5. การปกดนิ้ เงนิ ด้นิ ทอง เปน เทคนิคการปก เชิงชางชนั้ สงู ทต่ี องใชความสามารถและใชเวลานาน
ในการปก ลวดลายที่ปกดวยดิ้นเงินดนิ้ ทองจะตองใชค วามประณีตมากเพ่ือใหลวดลายมีความละเอียดกลมกลืนกนั
ตลอดทั้งลวดลาย ซึ่งเปนข้ันตอนที่ยากและตองใชความอดทนในการปก นิยมปกประดับรวมกับวัสดุอื่น ๆ เพ่ือให
เกิดความสวยงามยิง่ ข้ึน เชน เลอ่ื ม ลูกปด ไขม กุ ปกแมลงทบั อัญมณสี ตี าง ๆ เปน ตน