The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พื้นฐานในงานพัสตราภรณ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by surat boonthrong, 2021-11-08 01:23:23

พื้นฐานในงานพัสตราภรณ์

พื้นฐานในงานพัสตราภรณ์

งานชา งพสั ตราภรณ

การปกพัสตราภรณ มีความประณีตโดดเดนเปนเอกลักษณ พิถีพิถันในการปกเย็บลวดลายตามแบบ
ประเพณีดวยเทคนิคท่ีมีมาแตโบราณโดยเลือกใชวัสดุที่มีคาหลากหลายประเภท และดวยกรรมวิธีท่ีหลากหลาย
ชางพัสตราภรณจึงตอ งมีความรูและความชํานาญในเชิงชางช้นั สูงจงึ จะสามารถปกเย็บลวดลายแบบโบราณไดอยาง
สมบูรณและงดงาม พ้ืนฐานเบ้ืองตนของชางพัสตราภรณที่สําคัญท่ีสุดคือ รูจัก เขาใจในวัสดุท่ีใชปกในงานพัสตรา
ภรณ ซง่ึ มีดงั นี้

1. วัสดอุ ปุ กรณทใ่ี ชใ นการปกงานพสั ตราภรณเบ้ืองตน ประกอบดวย
1.1 ขาสะดึง
1.2 แมสะดงึ
1.3 ผา ขึงสะดึง
1.4 ไมไผ
1.5 ดายเกลียว
1.6 กระดาษลอกลาย ใชในการลอกลายของแบบที่จะปก ลงบนผาใหเ รียบรอ ยกอนนําไป

ขึงกบั สะดงึ กระดาษลอกลายท่นี ยิ มใชในงานปกคือ
(ก) กระดาษคารบอน หรือกระดาษกดรอยชนิดไข ใชสําหรับลอกลายลงบน
ผา มีหลายสี ควรเลือกใชสขี องกระดาษใหใ กลเคียงกบั สผี า
(ข) กระดาษแกวลอกลลาย ใชสําหรับลอกลายท่ีตองการลงบนกระดาษแกว
แลวนํากระดาษแกวไปวางลงบนผา เนากระดาษติดกับผาแลวจึงปกลง

บนลวดลายที่อยูบนกระดาษ และเม่ือปกลวดลายเสร็จเรียบรอยแลวจึง
เลาะกระดาษแกวออกใหหมด
1.7 ผาสําหรับปก ผาที่นํามาใชในงานปกจะเปนพื้นหลังของลวดลายฝเข็ม ดังนั้นจึงไม
ควรใชสีที่บดบังความสวยงามของลายปก การเลือกผาท่ีจะนํามาปกตองเลือกใหเหมาะสม โดยควรคํานึงถึง
หลกั การในการเลือกผา ดังนี้
(ก) ผา นนั้ เหมาะสมกบั การใชงานหรือไม
(ข) งานที่ทําสําเรจ็ แลว เวลานําไปใชจะตอ งใชแ บบสมบกุ สมบันหรอื ไม
(ค) วสั ดุทนี่ ํามาปก เชน ดา ย ดนิ้ ไหม เหมาะสมกบั ชนดิ ของผาหรือไม
ชนิดของผาทน่ี ิยมนํามาตัดเครือ่ งแตง กายละครแบบยนื เครอื่ ง ไดแก
1. ผาตวนใชทําตัวเส้ือ สนับเพลา ผาหม หอยหนา หอยขาง รัดสะเอว
กรองคอ
2. ผา ตาดนํามาตกแตง ชายผา จะใชก บั ชายผา หม หอยขาง หอยหนา
3. ผาไหม จะใชเ ฉพาะตวั เอก เชน พระเอก นางเอก
4. ผาโทเร ใชส าํ หรบั ตดั สนับเพลาและซบั ใน
5. ผา ดบิ ใชส าํ หรับรองผา ปก
1.8 ดา ยเนาหรือดา ยเยบ็ ผา
1.9 ดายหรือไหมปก ควรเปนไหมอยางดีที่สีไมตก ดายที่ใชปกนั้นมีหลายขนาด คือ
ขนาดใหญ กลาง เลก็ และขนาดพิเศษ การปกควรเลอื กดา ยใหเหมาะกบั ลายปก
1.10 เข็มปก การเลือกใชเข็มใหถูกตองและเหมาะสมเปนส่ิงสําคัญ ควรเลือกใหเหมาะ
กับขนาดของเสนดา ย
1.11 ปากคบี ควรเปนปากคีบที่ทาํ ดว ยทองเหลือง หรอื เปน เหล็กท่ชี ุบดวยนิกเกิล เพราะ
จะทําใหคงทนแข็งแรง เน่ืองจากในการปกนั้นปากคีบถือเปน อุปกรณทถ่ี กู ใชงานบอยครั้งมาก ลักษณะของปากคีบ
มี 2 ลกั ษณะ คอื
(ก) ปากคีบปลายตรง เปนปากคีบท่ีเหมาะสําหรับการปกด้ิน ใชสําหรับจับ
ดน้ิ ขอ หกั มมุ และบีบมุมใหแหลม จะมกี ําลงั จบั ไดด ีกวา ปากคีบปลายงอ
(ข) ปากคีบปลายงอ เปนปากคีบท่ีสะดวกในการจับดึงกระดาษลอกลายให
หลุดจากผา หรือดึงเศษดาย เศษไหมที่ไมตองการออกจากผาท่ีขึงอยูบน
สะดึง
1.12 กรรไกรตดั ผา
1.13 กรรไกรตัดไหม (ปลายงอน) ใชสําหรับงานปกดาย ปกไหมที่ติดกับสะดึง สวนโคง
ของปลายกรรไกรจะตัดเสนไหมไดช ดิ กับงานปก ทาํ ใหสะดวกในการตัดเลม็ ไหม
1.14 กรรไกรตดั ดนิ้ (ปลายตรง)
1.15 ด้ิน คือโลหะท่ีดึงเปนเสน แลวนํามาขดเปนรูปวงกลม มีรูปรางเหมือนลวด
สปริง มหี ลายชนดิ เชน ด้ินมนั ด้นิ ดา น ดิน้ โปรง
1.16 ปลอกนวิ้

2. วิธีการรักษาปองกันวัสดุด้นิ ประเภทตาง ๆ เนื่องดวยวัสดุสวนใหญที่ใชในการปกงานพัสตรา
ภรณนน้ั เปนโลหะทไ่ี วตอสมั ผัสจากส่งิ เรา รอบตัว ซ่ึงปจ จัยดังกลาวท่ีอาจกอใหเ กดิ ปญหากับวัสดุปก ไดแก

2.1 อากาศ อาจมีกาํ มะถันหรอื ซลั เฟอรเปนองคประกอบ เมอ่ื สมั ผสั กับวสั ดดุ นิ้ ทาํ ใหเกิด
สารใหม คือ ซิลเวอรซัลไฟด เปนสารท่ีมีสีดําจึงทําใหวัสดุดิ้นดําหมองเร็วได สวนไหนที่ปกเสร็จแลวควรใชผาปด
หรือพลาสตกิ ปดเพอื่ รกั ษาวัสดุดนิ้ ไมใหหมอง

2.2 ความเค็มจากเหงื่อ จะมีความเปนเกลือสูง ซ่ึงเหง่ือเค็มจะทําปฏิกิริยาซิลเวอร
ซัลไฟดกับวัสดุดิน้ ถาผูปกมีเหงื่อเค็มเวลาเรม่ิ มีเหง่ือออกควรลางมือบอย ๆ มิฉะนั้นจะทําใหด้ินเกิดความดําหมอง
อยา งรวดเรว็ ในขณะท่เี หง่ือเปรี้ยวจะมีความเปน กรดออน ๆ ทําใหวัสดุดนิ้ ยงั คงสสี ุกแวววาว

2.3 ผูปกควรหลีกเลี่ยงการฉีดนํ้าหอม ทาโลชั่น เพราะสารเคมีในนํ้าหอมหรือโลชั่นบาง
ชนดิ ทาํ ใหเกดิ ปฏิกิริยาทาํ ใหวัสดุดิน้ ดําหมองเรว็ ได

2.4 เม่ือด้นิ เกิดความดาํ หมองขณะปก มวี ิธีแกไขเบอื้ งตน คอื การทาํ ความสะอาดดวยน้ํา
เจือจางเขากับสบูเหลวชนิดออนสําหรับเด็กทารก ใชแปรงขนออนแปรงจนด้ินเงาขึ้น จากนั้นจึงนําไปตากแดดผึง
ลมใหแ หง

วัสดุท่ีใชปกงานพัสตราภรณยอมมีการประดับตกแตงดวยวัสดุมีคา วิจิตรอลังการ เชนปกดวยไหม
ทอง พรอมกับประดับดวยไขมุกและพลอย ในงานพัสตราภรณใชวัสดุท่ีทําจากโลหะมีคารูปทรงตาง ๆ เปนวัสดุ
หลักในการปก โลหะมคี า เหลานีม้ ีหลากหลายรูปแบบและมชี ื่อเรยี ก ดงั น้ี

1. ดิ้น คือโลหะท่ีดึงเปนเสน แลวนํามาขดเปนรูปวงกลม มีรูปรางเหมือนลวดสปริง มีหลาย
ชนดิ เชน ดิน้ มัน ด้ินดา น ดนิ้ โปรง

ดิ้นท่ีใชในงานพัสตราภรณสวนใหญนําเขามาจากประเทศฝร่ังเศส ซึ่งมีสวนผสมของทองคําแท
และเงินแทจึงมีราคาสูง ทั้งนี้ด้ินทองดิ้นเงินท่ีนิยมใชในปจจุบัน นําเขามาจาก 3 ประเทศซ่ึงมีจุดเดนจุดดวย
แตกตางกนั ตามลกั ษณะการใชง านและวัสดุที่นาํ มาทํา ไดแ ก ด้ินอินเดีย ดิ้นฝรง่ั เศส และด้ินอติ าลี

- ด้ินอินเดีย จะมีขนาดใหญ และนํ้าหนักมากกวาด้ินพลาสติกท่ัว ๆ ไป ตองใชเทคนิค
ปกดวยมืออยางเดียว ราคาของดิ้นอินเดียมีตั้งแตหลักรอย ไปจนถึงหลักหม่ืนบาท
แตกตางกันไปตามขนาดและเปอรเซ็นตข องทองท่ีผสมอยู มีขายแบบเปนไจ เปนมัด ๆ
หรือช่ังขายเปนกิโล ขอดอยของดิ้นอินเดีย คือ มีสวนผสมของทองจึงทําใหมีน้ําหนัก
เปนตวั นาํ ไฟฟา และมกี ารหดตัวไดตามสภาวะอากาศ มกี ารทาํ ปฏิกิรยิ ากับอากาศและ
คราบเหงื่ออาจทําใหดําได อีกทั้งยังมีความคมมาก ๆ ถาผูปกไมชํานาญคมดิ้นจะบาด
ผาจนขาด และอาจจะบาดมอื ไดหากรดู แรง ๆ
- ดิ้นอิตาลี มีความคงทนมากกวาด้ินอินเดีย มีสีสมํ่าเสมอเหลืองนวลสวยงาม และมี
คุณภาพดีกวา ด้ินอินเดยี
- ดิ้นฝรัง่ เศส มีลกั ษณะคลา ยกับด้นิ อินเดีย และดน้ิ อิตาลี แตจ ะแตกตา งกันในสว นผสม
และเปอรเ ซน็ ตของทองคํา ด้นิ อินเดียจะออกสเี หลอื งเขม ดิ้นอิตาลจี ะออกสีเหลืองนวล
สวนดิ้นฝรง่ั เศสจะออกสีเหลืองทอง การทอลายด้ินละเอียดประณีต มีความคงทน แวว
วาว และสวยงามมากท่สี ุดในบรรดาดิน้ ทัง้ 3ชนิด
2. แลง คือโลหะทีร่ ีดเปน เสน แบน ลักษณะคลายเสน ตอกสําหรบั สานเครือ่ งจักรสาน

3. เล่ือม เกิดจากการนําเสนโละที่ตัดใหไดความยาวตามตองการ แลวตีใหเปนรูปวงกลมแบน
หรือนูนเหมือนฝาชี หรอื รปู รา งเปนดาวหลาย ๆ แฉก

4. ไหมทอง คือโลหะท่รี ดี เปนเสน ขนาดเลก็ แลว นํามาปนควบกบั เสน ไหมหรือดา ย
วัสดุที่ใชปกงานพัสตราภรณยอมมีการประดับตกแตงดวยวัสดุมีคา วิจิตรอลังการ เชนปกดวยไหม และ
ไหมทอง พรอมกับประดับดวยไขมุกและพลอย การปกผาที่ใชวัสดุท่ีทํามาจากโลหะมีคารูปทรงตาง ๆ เปนวัสดุ
หลักในการปก อาจตกแตงเพิ่มเติมดว ยวัสดุมีคาชนิดอ่นื ดว ย เชน รตั นชาติ แกว กระจก หรือไหมสตี าง ๆ เพอ่ื เพ่ิม
ความงดงามอลังการ ทาํ ใหเปน ของท่ีสูงคา
การปกงานพัสตราภรณ อาจเรียกไดอีกช่ือหน่ึงวา “งานปกสะดึงกรึงไหม” ช่ือดังกลาวท่ีเรียกขานกันน้ี
แสดงถงึ ความสาํ คัญของวัสดุอุปกรณอยูสองประเภทในงานพัสตราภรณ คือ ไหมและสะดึง งานปกสะดึงกรึงไหมมี
ความสําคัญกับเครื่องแตงกายของคนไทยมาตั้งแตอดีต เปนหมือนเครื่องบงบอกถึงชนช้ันและสถานะทางสังคม
สังเกตไดจากเครื่องแตงกายของชนชั้นกษัตริย หรือขุนนางข้ันผูใหญจะสวมใสเครื่องแตงกายท่ีประดับประดาดวย
การปก เย็บดว ยเสนไหม แลงเงนิ แลงทอง หรอื ปกแมลงทับ ตกแตง ดวยเทคนิคการตัดเย็บชัน้ สูงใหผืนผาเกดิ ความ
งดงามตระการตากวา และมีความแตกตางจากเคร่ืองแตงกายของสามัญชนทั่วไปทั้งในเร่ืองของลวดลายและวัสดุ
นาํ มาปก เยบ็ ลว นมคี วามแตกตา งกนั โดยสิน้ เชงิ
งานปกสะดึงกรึงไหม เปนงานที่ถูกสรางสรรคขึ้นเฉพาะกลุมชนชั้นสูงจึงเปนสาเหตุใหองคความรูและชางงาน
ปกสะดึงกรึงไหมถูกถายทอดอยูเพียงในราชสํานัก มีเพียงการสาธิตหรือปฏิบัติใหชมเพ่ือการเรียนรูและจดจําเทคนิค
วิธีการสบื ตอกนั เรื่อยมา ดว ยกระบวนการท่ียากและซับซอนที่ตองใชเวลาในการฝกฝนฝมือเปนระยะเวลานาน ทาํ ใหใน
ปจจุบันเหลือชางทย่ี งั คงทํางานปกสะดึงกรงึ ไหมตามแบบโบราณราชประเพณีคงเหลือไมมากนัก

นอกจากจะสรางสรรคข้ึนเฉพาะกลุมชนช้ันสูงแลวงานปกสะดึงก็ถูกสรางสรรคขึ้นเพ่ือใชเปนเครื่องทรง
เคร่ืองใช และเครื่องแตงกายนาฏศิลปช้ันสูงอีกดวย งานปกสะดึงท่ีถูกนํามาใชเพ่ือเปนการเติมเต็มองคประกอบของ

สง่ิ ของเครื่องใชใหมีความสมบูรณแบบตามหลักจารีตประเพณีโบราณที่ไดรบั การสืบทอดสง ตอกันมา หากกลาวถึงงาน
ปก สะดึงกรงึ ไหมแลว อุปกรณส ว นตัวทีส่ ําคัญของชา งปกสะดึงกรงึ ไหม นน่ั คือ “สะดงึ ”

สะดึง ถือเปนอุปกรณสําคัญลําดับตนท่ีใชในการปกเครื่องพัสตราภรณ การข้ึนสะดึงอยางถูกตองและ
เหมาะสมนับเปนองคประกอบขอหน่ึงที่จะชว ยสรา งงานพสั ตราภรณไดอยางสมบูรณงดงาม เรม่ิ จากความใสใ จและ
หมัน่ ฝก ขงึ สะดงึ กบั ผา หรอื วสั ดทุ ่ีหลากหลาย เพราะจะชว ยทําใหเกิดความเขาใจในธรรมชาตขิ องผา แตล ะชนดิ

สะดึง คือ กรอบไมใ ชสาํ หรับขงึ ผาสาํ หรับปก มี 2 ลกั ษณะ คือ
1. สะดึงกลม เปน สะดึงท่ีทําจากไม จะมีเสนผา ศูนยกลางตัง้ แต 5-13 นิว้ เหมาะสําหรบั ใชใ นงาน

ปกงานท่ีมีขนาดเล็ก เพราะเปนสะดึงที่มีนํ้าหนักเบา สามารถพกพาไดสะดวก และสามารถจับดวยมือขางเดียวได
สะดงึ แบบกลมจะมสี ว นประกอบ 2 สว นคือ หวงดา นนอกทม่ี ตี ัวปรับความตึงของผา หว งดา นในจะเปนวงกลมเรยี บ
มีขนาดเล็กกวาหวงดานนอก เมื่อนําผาขึงเขากับสะดึงกลมเรียบรอยแลวตองเย็บตรึงผากับกรอบสะดึงเวน
ระยะหา งประมาณ 1 เซนติเมตรโดยรอบ

2. สะดึงส่ีเหล่ียม เหมาะสําหรับปกงานช้ินใหญ จําเปนตองมีผาขึงสะดึง เพ่ือบังคับผาท่ีปก ให
แนนและเรียบตึงอยูไดนาน ชวยใหง านปกประณีตเรียบรอ ย ปกไดสะดวกและรวดเร็ว

สะดึงกรอบสี่เหลี่ยม มีไมยื่นออกมาท่ีมุมทั้งส่ีดานเพ่ือเอาไวขึงเชือกเวลาที่จะดึงผาสําหรับปกใหตึง
ชางพัสตราภรณมักลงมึงทํา "แมสะดึง" ใชเอง เริ่มตั้งแตการหาไม ซ่ึงการทําสะดึงน้ันนิยมใชไมสักเพราะเน้ือไมไม
ยุยไมแตกและแมลงไมรบกวน เหลาไม เลื่อยไม ตอกไม และตกแตงไม ขัดเงาไม ดวยวิธีแบบโบราณ คือ การใช
ใบตองแหงขัดใหข้นึ เงา การเขาไมควรใชว ิธีอัดโดยวิธีทําเดือยเขาลิม่ เพราะจะทําใหแขง็ แรงทนทาน แมส ะดึงไม
มีขนาดแนนอนตายตัว สามารถกําหนดขนาดใหญเล็กตามลักษณะของชิ้นงาน เชน การปกหนาหมอน ปกสไบ
ขนาดของสะดึงจะแตกตางกันไป นอกจากไมสะดึงแลวยังมีไมสําหรับยึดผารองปกเขากับสะดึงดวย ไมท่ีจะใช
สําหรับยึดผานี้ทําจากไมไผท่ีนํามาหลาวใหเปนทอนรี ๆ ขนาดเสนผานศูนยกลางประมาณคร่ึงนิ้วและมีความยาว
เทากับสะดึงที่ใช นํามาลบเสี้ยนออกใหหมดโดยใชกระดาษทรายขัดอีกครั้งหน่ึงดวย เม่ือประกอบสะดึงเสร็จสิ้นสิง่
สําคัญถัดมาคือการ "ขาต้ังแมสะดึง" การทําขาต้ังสะดึงก็คลาย ๆ กับการทําไมสะดึงแตมีงานที่ยากกวานั่นคือการ
ประกอบต้ังใหขาตรงรับนํ้าหนักได เมื่อไดแมสะดึงและขาต้ังแมสะดึงครบถวนแลวขั้นตอนตอมาคือการขึงสะดึง
หรอื การขงึ ผา ใหตึง โดยนําผา ไปขงึ ตงึ บนสะดงึ ใหแนน ตอ งทาํ ใหผาตึงทีส่ ดุ แลวเยบ็ ตรึงผาใหเขากบั สะดึงไปเร่ือย ๆ
จนกวาผาจะตึงท้ังผืน ในขั้นตอนน้ีถือเปนเทคนิคสําคัญที่สุดที่จะทําใหงานปกออกมาสวยงามสมบูรณแบบกอน
เตรยี มการปก ขน้ั ถดั ไป

การขึงสะดึงสี่เหลี่ยมนั้นยากกวาการขึงสะดึงแบบกลม การขึงสะดึงส่ีเหล่ียมเริ่มดวยการนําผาขาวมาเย็บ
ขอบเปนชองใหสอดไมกลม(สวนมากเปนไมไผ)ไดท้ัง 4 ดาน จากน้ันจึงนํามาขึงเขากับกรอบสะดึงดวยการรอย
เชือก รัดใหตึง ถาสะดึงไมตึงจะทําใหปกยากขึ้นรวมถึงจะทําใหผาท่ีปกนั้นยับยน จากนั้นจึงกรึงเนาผาที่จะใชปก
ตรงึ บนสะดงึ เพอ่ื เตรียมวางแบบลายปกในขั้นตอนตอไป

ผารองปก ชนิดของผารองปกท่ีถูกขึงกับสะดึงเพ่ือรองรับผาท่ีใชปกน้ัน ตองเปนผารองปกท่ีมีคุณสมบัติ
เปนผาชนิดบาง ตองไมยืด สวนมากชางมักเลือกผารองปกเปนผาโทเร และผาฝาย หรือชางบางรายอาจเลือกเปน
ผาชนดิ อื่นแตต อ งคํานึงคุณสมบตั ดิ งั กลาว

เชือกรัดสะดึง ชนิดของเชือกรัดสะดึงตองมีคุณสมบัติสําคัญคือ มีความเหนียว แข็งแรง ไมลื่น สวนมาก
ชา งมักนิยมใชเ ชือกฝา ย หรืออาจใชเ ศษผา ดิบท่มี คี วามหนาทดแทน

งานปก พสั ตราภรณต ามจารีตในปจ จบุ นั มกั ปรากฏอยูในเสอ้ื ผาเครือ่ งนุงหม ของการแสดงโขน แสดงละคร
รํา ดังนั้นความรูเบ้ืองตนของการจัดเตรียมลวดลายปกน้ันตองทําความเขาใจในรายละเอียดสวนตาง ๆ ของเครื่อง
แตงตัวชุดโขนเสยี กอน เนื่องดวยงานปก ผาชุดเคร่ืองแตงตัวชุดโขนของไทยมีความสัมพันธกับการแสดงท่ีมีรูปแบบ
ซงึ่ เปน แบบแผนเฉพาะ และกําหนดเปนจารตี ในการแสดงทีย่ ึดถือปฏิบตั ิกนั มาจนเปนประเพณี เคร่ืองแตงกายหลัก
ซ่ึงใชในงานแสดงโขน ละครรําของไทยเรียกวา “ยืนเคร่ือง” ซึ่งเปนการบงบอกสถานะของผูแสดงวาเปนใคร ยืน
เครื่องพระ ยืนเครื่องนาง ซึ่งจะมีเครื่องทรงสืบสานตามยุคสมัย การแตงกายยืนเครื่องเปนการแตงกายเลียนแบบ
เคร่อื งตนเครื่องทรงของพระมหากษตั ริยและพระบรมวงศ

องคประกอบของเคร่ืองแตงกายฝายพระ ฝายนาง ยืนเครื่องฝายยักษ และฝายลิง จะมีรูปแบบมาตรฐาน
เพอื่ บงบอกฐานะของตัวละคร นอกจากน้ใี นการใชส สี ําหรับเครื่องแตงกายโขน และละครรํา มีดังน้ี

1. แตงตามจารีต โดยกําหนดตามแมสีเปนหลัก คือ พระเอก นางเอก หรือตัวเอก จะใชสีแดง
เขียว เหลือง สวนพระรองนางรองจะใชสชี ั้นท่ีสอง คือ ชมพู ฟา เหลือง ตัวพอ และตัวแมจะใชสีหนัก คือ น้ํา
เงนิ เขียว มวง

2. แตงตามบท ข้ึนอยูกับบทและตอนที่จัดแสดงในแตละคร้ัง ที่อาจมีการกลาวถึงลักษณะ หรือสี
เครื่องแตง กายของตัวละคร ทก่ี าํ หนดอยูเ ฉพาะบทหรือตอนนนั้ ๆ

3. แตงตามสีกาย ที่กําหนดไวในโขน หรือ ละครแตละเรื่อง เชน พระรามสีเขียว พระลักษณสี
เหลือง หรือพระสังขสที อง เปนตน

4. แตงตามช่ือ โดยเฉพาะช่ือของตัวละครในละครแตละเรื่อง เชน สุวรรณหงส ศรีสุวรรณ ปน
ทอง จะใชสเี หลือง เปน ตน

นอกจากเร่ืองสีแลว ในสวนเครื่องนุงหมของการแตงยืนเครื่องทั้งฝายพระ ฝายนาง ฝายยักษ และฝายลิง
ยงั แบงออกเปน 2 สว น คือ สว นท่ีเปนผาที่ไมมีการปก ซ่ึงไดแ กผานุง และสว นทีเ่ ปน “ผาปก” ซ่งึ มีอยูหลายชนิ้ แต
ละชนิ้ มขี อกําหนดในการวางลายสําหรบั ปก

งานปกแตละชิ้นจะตองวางแผนอยางรอบคอบในการใชว ัสดุเพื่อใชในงานปก ทั้งนี้เพื่อจะไดใชด้ินใหเปนสี
เดียวกันท้ังหมดจึงจะงดงามตามจารีต เน่ืองจากดิ้นท่ีใชบางมวนอาจจะมีสีออนแกกวากัน แมจะแตกตางกันเพียง
เลก็ นอ ยก็จะบดบงั ความงามของงานปก ชุดโขน ละครราํ ได และเนอื่ งดวยดิน้ แตละชนิดนั้นมีราคาสูง ชางปก จึงตอง
คํานวนการตดั ดน้ิ ใชด้ิน ปกเลอื่ มใหเพยี งพอ และระมัดระวังมิใหง านปก ถกู แกแ บบ หรอื มขี อ ตาํ หนิ

หากมีการปกไมถูกตองในลวดลายหรือสี ชางปกจะตองทํางานชิ้นใหม ซ่ึงจะทําใหสูญเสียท้ังเวลา และ
มูลคาของวัสดุ ดังนั้นงานพัสตราภรณจึงตองวางแผนคํานึงถึงรายละเอียดเพราะมีความสําคัญตอเนื่องในทุกสวน
ต้ังแต

1. การจัดเตรียมแบบที่จะนํามาปก โดยตองจัดเตรียมแบบลวดลายปกใหเหมาะสมกับพ้ืนที่
ขนาด และการนําไปใช เลือกลวดลายปกใหเหมาะสมกับชอ งไฟในแตละสวน และควรระบุการใชสีวัสดุที่ใชปกลง
พนื้ ผาในสวนตาง ๆ เพ่ือเปน การวางแผนการทาํ งานขนั้ ตอ ไปไดอยา งชดั เจน

2. การคดั ลอกแบบ สิง่ สําคญั ที่สดุ ในการคัดลอกแบบคือกระดาษทาบลาย ประเภทของกระดาษ
ทาบลาย ชางพัสตราภรณแตละทองถ่ินอาจใชกระดาษทาบลายท่ีแตกตางกัน แตสิ่งสําคัญคือกระดาษทาบลายน้ัน
ตองมีคุณสมบัติที่เหมาะสมกับการปกทับ จากน้ันจึงคัดลอกลวดลายที่จัดเตรียมไวลงกระดาษใหเหมาะสมกับ
ชอ งไฟแตละสว น

3. ทาบลายบนผาบริเวณท่ีกําหนด โดยแบงสัดสวนของลวดลายประกอบตาง ๆ ใหไดจังหวะ
ลาย จากนนั้ จงึ เย็บเนากรงึ ลวดลายท่คี ัดลอกตรึงลงบนผา เพอ่ื เตรียมการปกในข้นั ถดั ไป

งานพสั ตราภรณนั้นเปน ศลิ ปะท่ีตองใชค วามละเอียด ออนในการปก มกี รรมวธิ หี ลายขนั้ ตอน ชา งปกตองมี
ความละเอียดอดทนเปนอยางมาก รูปแบบการปกจะตองเนนในการอนุรักษรูปแบบภูมิปญญาดั้งเดิมที่มีมาตั้งแต
สมัยโบราณไวอ ยา งไมผิดเพ้ียน

ผูท่ีมีทักษะในการปกผาในงานชางพัสตราภรณ จะตองมีความเขาใจในดานตาง ๆ ไดแก ลวดลาย จังหวะ
ชองไฟของลาย การเลือกใชวัสดุ กรรมวิธีในการปก ตลอดจนข้ันตอนการเก็บรักษา เพราะวัสดุที่ใชในงานปกผา
ของชางพัสตราภรณน้ันตองใชความระมัดระวังไมใหเกิดการเสียหายข้ึน โดยมากวัสดุที่ใชไดแก ด้ินขอ ดิ้นโปรง
ไหมเงิน ไหมทอง เปนตน ซึ่งกระบวนการตาง ๆ ชางแตละกลุมอาจจะมีเทคนิควิธีการท่ีสรางเอกลักษณเฉพาะขึน้
ความงดงามของงานปกน้ันจึงไมใชเพียงแตสามารถปกไปตามลวดลายท่ีกําหนดเทานั้น หากแตยังมีชั้นเชิงของ
ความประณีตท่เี พิม่ เตมิ มูลคาใหแกผ ลงานไดอีกดวย ขนั้ ตอนกวา ง ๆ ในงานพสั ตราภรณ มดี ังนี้

1. การลอกลายบนผา ปก ใหถ ูกตําแหนงของเคร่ืองแตงกายแตละตัวละคร การใชสีผา การขึงสะดึง
การตัดขนาดของด้ินโปรงใหมีขนาดเหมาะสมกับลวดลายที่ใชในงานปก การจัดเก็บด้ิน การใชเข็มรอยดิ้น การใช
ดิ้นขอและดิน้ โปรง การใชเชอื กดบิ เพื่อหนนุ ลาย

2. ขั้นปก ผูปกจะตองน่ังในตําแหนงท่ีเหมาะสมมีพื้นที่สําหรับทํางาน การนําไมสะดึงขึงดวยผา
ตว นประกบผา ดิบเพอ่ื ปอ งกันไมใหผาขาดขณะปก และใชด า ยเนา การแทงเขม็ เพื่อนาํ ดิ้นลงบรรจงปก

การปกเดินเสนในลักษณะตาง ๆ ถือเปนทักษะขั้นพื้นฐานที่ชางพัสตราภรณตองผานการฝกฝนจน
ชํานาญจึงสามารถเขา สูกระบวนการฝกลวดลายในขัน้ ทสี่ งู ขึ้น โดยพ้ืนฐานการปกเดนิ เสนนน้ั เร่มิ ต้งั แต

1. การใชอุปกรณตัดด้ินขอ ดิ้นโปรง ดิ้นมัน ไหมกิมเจ็ง (ไหมทอง) ตามลายท่ีกําหนด เนื่องดวย
ด้ินตาง ๆ นั้นมีราคาสูง การตดั ด้นิ จงึ ถอื เปน ขน้ั ตอนที่สําคัญในลําดบั ตน

2. การเลอื กสีดายใหเ หมาะสมกับสีของด้ิน ไหมกิมเจง็ แลง ก็นบั วา เปนสวนสาํ คัญสําหรบั ชางฝกหัด
3. การปกดิ้นขอ ปกด้ินโปรง ปกด้ินมัน ปกแบบตีเกลียวในตัว ลักษณะเกลียวเสนตรง วงกลม
อยา งถูกวธิ ี และลกั ษณะเกลยี วเรียงตัวพอดี เกลยี วไมแนน ไมหลวมเกินไป ดนิ้ ไมแ ตกหกั หรือยับ
4. ปกเดนิ เล่อื ม เรียงตัวพอดี ไมบ ดิ เปนคลื่น ลอ กเลื่อมไดอยา งถูกวธิ ีตามลกั ษณะลาย
5. ปก กรงึ ไหม หกั ทองขวาง ตามลักษณะลาย
6. ปกเกลียวหนุนเชือกใหลวดลายนนู ขน้ึ ตามลักษณะลาย
เม่อื ปกเดนิ เสนจนชาํ นาญเรมิ่ ปก ในลวดลายทม่ี ีความยากและซบั ซอนมากขน้ึ ดงั นี้
1. ปกหนุนใหลวดลายนูนขึ้น ดวยเชือก เสนไหม เสนฝาย หรือสําลี ใหลวดลายนูนขึ้น เดนชัด มี
มติ ิ สวยงาม และเลอื กชนดิ ของดิน้ ใหเ หมาะสมกับลวดลายท่ที ําการปก
2. ปกเดินเสนบริเวณขอบ หรือปกลวดลายท่ีมีความชัดเจนมากย่ิงขึ้น ดวยการเดินเสนบริเวณ
ขอบหลังทป่ี ก ลวดลาย ดว ยการใชเสนไหมสีตาง ๆ หรอื เลือกชนิดของดน้ิ ตา ง ๆ ใหเหมาะสมกบั ลวดลาย
3. ปก ทึบ ดว ยเสนไหม ปกในลวดลายทม่ี ขี นาดไมใ หญม าก หรือบางลวดลายตองปกหนุนดานลา ง
กอ นแลว จึงปก ทับลงทีละเสน เพอ่ื เพิ่มมิตคิ วามออ นชอย
4. ปกซอยไหมใหเต็มลวดลาย ใชกับลวดลายท่ีมีขนาดใหญและไลสีสันของไหมจากโทนออนไป
เขม เพอื่ ใหภ าพท่ปี กออกดูมีมติ ริ าวกบั งานจิตรกรรม
5. ปกดิ้นเงิน ด้ินทอง หรือปกถมลวดลายดวยดิ้น แลง ประเภทตาง ๆ กลมกลืนกันตลอดทั้ง
ลวดลาย ทง้ั เสน หรอื ปกรว มกบั วสั ดุอน่ื ๆ เชน เลือ่ ม ลูกปด ไขมกุ ปกแมลงทบั อญั มณสี ี
ชา งพสั ตราภรณ เปนผูท่มี ีความชาํ นาญในการปก ลวดลาย ทง้ั ทเ่ี ปน การปก ดว ยไหม และวัสดุโลหะ งานพสั
ตราภรณมีความสัมพันธกับการแสดงโขนละคร ชางพัสตราภรณจําเปนตองมีความเขาใจในรูปแบบและกรรมวิธี
การสรางสรรค สะทอนความเชื่อและจารตี ประเพณี อนุรักษกระบวนการ รูปแบบ ลวดลายท่ีสืบทอดมาจากแบบ
แผนด้ังเดิม
งานปกพสั ตราภรณต ามจารตี ในปจ จบุ นั มักปรากฏอยใู นเสอื้ ผา เคร่อื งนุงหม ของการแสดงโขน แสดงละคร
รํา ดังนั้นความรูเบื้องตนของการจัดเตรียมลวดลายปกน้ันตองทําความเขาใจในรายละเอียดสวนตาง ๆ ของเครื่อง
แตงตัวชุดโขนเสยี กอ น เนือ่ งดว ยงานปก ผาชุดเครอ่ื งแตง ตัวชุดโขนของไทยมีความสมั พนั ธกับการแสดงที่มรี ูปแบบ
ซ่ึงเปนแบบแผนเฉพาะ และกําหนดเปนจารีตในการแสดงที่ยึดถือปฏิบัติกันมาจนเปนประเพณี การวางลาย
สําหรบั ปก มีชอื่ เรยี กตัวลายและกรรมวธิ ใี นการปก เครอ่ื งโขน ละครโดยเฉพาะ ดงั น้ี
ลายหนุน หรือ ลายดิ้น เปนชื่อท่ีใชเรียกกรรมวิธีในการปกท่ีทําใหลายนูนข้ึน การเขียนลายไทยสําหรับ
การปกเคร่อื งโขนประเภทน้ี คอื การเขียนลายแบงออกเปน สวน ๆ ไมเชื่อมตอ กันตลอดตวั ลายเพื่อใหงายตอการปก

ซง่ึ เปนการปก แบบ“หนุน” ใหต ัวลายนนู ขนึ้ เลก็ นอยไมแบนราบ วสั ดทุ ่นี ํามาใชในการปก ลายหนนุ ไดแก ดนิ้ ขอ (ตัด
ลอมตัวลาย) ดายฟอก(หนุนตัวลายใหนูน) ด้ินโปรง ด้ินมัน หรือดิ้นดาน แลวแตความเหมาะสมกับลวดลายที่ใช
โดยมกี ารปก ทึบเดนิ เปน เสน เกลยี ว เพ่ือเช่อื มรอยตอ ระหวา งสีพน้ื ผากบั สขี ลบิ ริม และแบง ชองบรรจุตัวลาย สว นตวั
ลายที่นิยมนํามาปกไดแก ลายพุมขาวบิณฑ ลายหนาสิงห ลายกนกเปลว ลายประจํายาม ลายดอก ลายเถา ทั้งน้ี
อาจปกเสริมเพ่อื ความงามดว ยเลอื่ ม ลูกปด เพชร พลอย ตลอดจนไหมสตี า ง ๆ

ลายเลอ่ื ม หรือ ลายปา เปน ชื่อทใี่ ชเ รยี กการปกเดนิ เสน ปกลกู โซ หรือปกทึบ โดยใชล วดลายประเภทลาย
เครือเถาท่ีมีดอกไมใบไมอยูในลวดลาย วัสดุที่นํามาใชในการปกลายเล่ือม ไดแก ด้ิน เล่ือม ไหมสี ปกแมลงทับ
ลกู ปด เพชร พลอย บางครงั้ อาจมีการสอดเสริมลายดว ยผา ตัดแบบเปน ลายดอกไม ใบไม ใบบัว ดอกบวั ผเี ส้ือ การ
ปกลายเลื่อมมีความสําคัญต้ังแตการวางลวดลาย การเลอื กใชว ัสดุในการปก และมฝี มือในการปกใหงามเหมือนงาน
เขยี น

ในการปกเครื่องโขน ละครของชางโบราณอาจใชทั้งลายหนุน และลายเล่ือมผสมผสานกันไปเพ่ือไมให
ลวดลายมีลักษณะบางเบาเกินไปหรือมีลักษณะแข็งกระดางเกินงาม สําหรับการปกเครื่องแตงกายยืนเครื่องใน
ปจจุบันโดยเฉพาะตัวเองของโขนคือ พระราม พระลักษณ ทศกัณฑ นางสีดา นิยมปกลายหนุนมากกวา สําหรับ
สอบแปดมงกฎุ ลงิ พญา เสนายกั ษ นยิ มปกเปนลายเล่อื ม

องคป ระกอบสว นใหญท่เี ปนผาปกของฝายตวั พระ ยักษ และลิง ไดแก
1. สนับเพลา 6. ตวั เส้อื
2. รดั สะเอว 7. อนิ ทรธนู
3. หอ ยขา ง 8. กนกแขน
4. หอ ยหนา 9. รัดอก
5. หอยหลงั 10.กรองคอ

องคประกอบของสว นทีเ่ ปน ผาปก ฝายนาง (นาง นางยักษ) ไดแก
1. ผาหม นางสองชาย
2. ผาหมนางผืนใหญ
3. ผาหมนางยกั ษ
4. นวมนาง

องคประกอบของสวนท่ีเปนผานุงของการแตงกายยนื เคร่ือง ผาท่ีใชเปน “ภูษา” ในการแตงกายยืนเครื่อง
ทัง้ ฝายพระและฝายนาง ปจ จบุ นั นยิ มผา ยกเน้ือหนาจากอินเดยี ขนาดมาตรฐาน มีลายเชิงสองขาง สขี องผานุงมัก
ใชตามสีขลิบรมิ ของเสอื้ ตวั พระ หรอื ขลบิ ริมของตวั ผาหม นาง

องคประกอบเบ็ดเตล็ดของการแตงกายยืนเครื่องสวนใหญมักเปนชิ้นสวนพิเศษท่ีเปนผาปกเพ่ิมเติมเพ่ือ
เนนลักษณะหรือเนนชาติพันธุของตัวโขน ตัวละคร เชน ปกและหางครุฑ ปกและหางกินรี ปกและหางนกยูง หาง
มจั ฉา หางวานร เปนตน

กอนเริ่มปก ตองกําหนดแบบปกตนฉบับ ซึ่งมีความสําคัญมากถือเปนตนแบบแสดงภาพผลงานท่ีเสร็จ
สมบูรณ และเปนแมแบบกําหนดกระบวนการทํางาน รายละเอียดสําคัญตาง ๆ เชน ลายปก ตามสวนตาง ๆ ของ
ลวดลาย การวางสีในงานปก ชนิดและลักษณะผา ควรปรับแกแบบจนเปนท่ีพอใจขั้นสุดทายเสียกอน จึงนําไปใช
งานจริง ลวดลายท่ีเหมือนกัน สามารถนําไปแตกลักษณะปลีกยอย เชน โทนสี ลายปกท่ีจะนํามาใช ใหผิดแผกกัน
ออกไปตามความพอใจ จงึ ทําใหลวดลายเดยี วกันสามารถมีแบบปก ตนฉบับไดห ลายฉบับ

หากชางทม่ี ีความชํานาญในการปกขั้นสูงแลว อาจใชเ พียงแบบปกเปลา หรือ "แบบเปลา" เปนตวั ลวดลาย
ลวน ๆ ไมมีรายละเอียดแตอยางใดใชเปนแบบลอกลงบนผา แบบปกทั้งสองประเภทน้ี เม่ือใชงานเสร็จควรเก็บใส
แฟมพรอมท้ังจัดหมวดหมูใหเรียบรอย เพ่ือปองกันการสูญหาย สะดวกตอการหยิบใชและเปนประโยชนตอการ
ทํางานคร้งั ตอไป

งานพัสตราภรณตามแบบราชสํานัก มีขั้นตอนและวิธีการที่ละเอียดออนตางจากงานปกโดยท่ัวไป
เอกลักษณสําคัญอยูที่วิธีการปกของชางที่จะตองลงฝเข็มทีละคร้ังจนเกิดเปนลวดลาย ขั้นตอนเหลานี้ไดถูก
ถายทอดสืบตอกันมาจากรุนสูรุน การปกชุดโขนละครถือไดวาเปนหนึ่งในงานงานพัสตราภรณ ซ่ึงจะมีความโดด
เดนเปนเอกลักษณดวยการปกตามแบบของตัวละครนั้น ๆ สวนลายที่ใชในการปกจะมีความแตกตางกันไปตามชื่อ
ของตัวละคร เชน ลายกระหนก ใชสําหรับพระลักษณและพระราม ลายหนาสิงห ใชสําหรับทศกัณฑ เปนตน ชาง
ปกตองใชทักษะความชํานาญเปนอยางมากจึงสามารถปกใหไดรายละเอียดที่สวยงามลงตัว ชางปกตองมีความรู
ดานการเขียนลวดลายไทย จึงจะสามารถบังคับฝเข็มใหออนชอยเสมือนกับการวาดลายเสน ชางปกจึงตองมีทั้ง
ทกั ษะฝม อื และความอดทนในการปก ลวดลายใหแลว เสรจ็

“ลวดลายไทย”แสดงถึงเอกลักษณของความเปนไทยบงบอกถึงภูมิปญญาของชางไทย ใชจินตนาการใน
เชิงสรา งสรรคมีแบบอยา งเฉพาะตัว มที ง้ั ลายสัตวในอุดมคติ ลวดลายธรรมชาติ ลวดลายประกอบ ลวดลายไทยถือ
เปนองคประกอบสําคัญท่ปี รากฎในงานพัสตราภรณ โดยลวดลายไทยพนื้ ฐาน มดี ังตอ ไปน้ี

1. ลายกระจัง เปนลวดลายพื้นฐานท่ีสําคัญของลายไทย ตนแบบลายนี้มาจากธรรมชาติ
โครงสรา งของลายอยูในรูปทรงสามเหล่ยี มดา นเทา มีลกั ษณะตาของตน ออ ย ดา นขา งจะแยกปลายแหลมเหมือนถูก
บาก ลายนจ้ี ะใชประดบั ตามขอบลาย ลายกระจงั มีอยหู ลายรูปแบบ ดงั นี้

1.1 กระจังฟนปลา มีรูปทรงเปนสามเหลี่ยมยอดเรียวแหลมเปนที่มาของกระจังตาออ ย
หรอื กระจังใบเทศ ถือเปน กระจังตัวเร่มิ ตน กระจงั ฟน ปลาเปนลายติดตอไดท ้งั ซายและขวา

1.2 กระจังตาออย ทรงตัวอยูในรูปสามเหลี่ยมดานเทา เสนออนเรียวท้ังซาย และขวา
ปลายยอดแหลมมีบากทั้งสองขา ง เมื่ออยเู ฉพาะตัวเด่ยี ว ๆ เรียกวา ตาออย เม่อื เขา ประกอบเปน ลายตดิ ตอซายและ
ขวาเขียนเปน ลายบวั หงายบัวควํา่

1.3 กระจังใบเทศ มีทรงภายนอกออนเรียวเหมือนกระจังตาออย อยูในรูปสามเหล่ียม
ดานเทาเชนเดยี วกัน แตภายในตัวมีสอดไสส ามตัว กระจังใบเทศมีวธิ ีแบง ตวั ไดหรือสอดไสไดห ลายวิธี เมอื่ ตวั ย่ิงโต
ข้ึนก็ยิ่งแบงตัวไดมากข้ึนและใสตัวซอนไดมากขึ้น การแบงจังหวะรอบตัวหรือการบากของกระจังใบเทศน้ีเรียกวา
“แขงสิงห” เมื่อตัวกระจังใบเทศใบย่ิงโตข้ึนเทาใด แขงสิงหก็จําตองแบงตัวมากตามขึ้นไปดว ย การแบงแขงสิงหให
เปน ลาํ ดับตดิ ตอ กนั ไมได ก็เทากับเขยี นกระจงั ใบเทศไมเ ปน

1.4 กระจังหู หรือกระจังปฏิญาณ มีทรงอยูในรูปส่ีเหล่ียมผืนผา กวางสองสวน สูงสาม
สวน ตอนบนมีทรงเหมือนกระจังใบเทศ แลว ตอ กา นลงมาอีกครึ่งสว นซายและขวา แตภายในตอนลา งมีกาบทั้งซาย
และขวา เชนเดยี วกบั กระจังใบเทศ วิธแี บง ตัวมีเปน ลําดบั คลายกระจงั ใบเทศ ตัวโตขนึ้ ก็มกี ารแบงตัวมากยง่ิ ข้ึน

1.5 กระจังรวน มีสวนเหมือนกระจังหูทุกสวน ตลอดจนแบงตัวทุกอยางเหมือนกัน
ทั้งหมดแตยอดสะบดั ปลายใบไปทางซา ยหรือขวากไ็ ด กระจังรวนเปน ลายตดิ ตอ ซายขวา

2. ลายประจํายาม ลวดลายท่ีมีรูปรางส่ีเหล่ียมจัตุรัสทแยงมุม มีลักษณะคลายดอกไม โดย
ดัดแปลงมาจากดอกไมชนิดหน่ึงท่ีเรียกวา“ดอกส่ีทิศ” ลายประจํายามประกอบดวยวงกลมกับกระจังใบเทศรอบ
วงกลมทั้งส่ีดาน ถาเปนตัวยอเล็กอาจใชกระจังตาออยแทน ลายประจํายามอยูในจําพวกดอกลอยและใชเปนแม
ลาย ท่ีออกลาย หรือใชเปนทห่ี า มลาย

3. ลายกระหนก เปนลายพนื้ ฐานหนึ่งท่ีสําคญั ของลายไทย มีพ้ืนฐานจากสามเหลย่ี มชายธง อาจมี
ตัวเดียวหรือหลายตัวก็ได มักมีฐานมุมแหลมหันไปทางเดียวกัน โดยมีขนาดและสัดสวนที่แตกตางกันไป ลาย
กระหนกทสี่ าํ คญั ไดแ ก กระหนกสามตวั กระหนกเปลว

4. ลายพุมขาวบิณฑ ลวดลายท่ีมีรูปทรงพุม เปนรูปทรงคลายดอกบัวตูม รายละเอียดไสหลาย
สามารถเขียนไดหลายลักษณะ มีสวนกวางสองสวน สูงสามสวน รอบตัวของทรงพุมทรงขาวบิณฑมีแบงแขงสิงห
เหมือนกระจังใบเทศ พุมทรงขาวบิณฑเปนลายดอกลอยใชเปนที่ออกลาย และยังใชเขาประกอบกับลายอื่น ๆ ได
อีก

5. ลายกาบ เปน ลายท่กี ําเนิดลายชอ ลาย โครงสรางของลายนม้ี าจากพชื พันธใุ นสวนท่ีเปนกาบหุม
ตรงโคนหรอื ขอ เชน กาบของตน ไผ กาบตน กลวย

6. ลายนกคาบและนาคขบ มีลักษณะเปนหนาของนก หนานาคท่ีเอาปากคาบลายตัวอ่ืนเอาไว
หรือมลี ายชอ อ่นื ๆ ออกทางปาก ตําแหนงของลายนกคาบจะอยูตรงขอ ตอ ที่จะเชือ่ มกานกันและกนั

7. ลายรกั รอ ย ประกอบดวย ลายประจํายามและกระจังใบเทศ หรอื กระจังตาออย ลายรักรอยใช
ลายประจาํ ยามเปนที่ออกลาย ตอดว ยกระจงั ใบเทศหรือกระจังตาออยเรียงตอ กันไปทง้ั ซา ยและขวาจนสุดลาย ถา
เปน ลายรักรอยใหญใชวิธีแบงตวั เหมือนกระจังใบเทศ

ลวดลายท่ีกลาวมาเปนเพียงลายไทยพื้นฐานสวนหนึ่งที่สามารถตอยอดสรางสรรคผูกลายได โครงลายที่
สําคัญยังประกอบดวย ลายชอ ลายหนากระดาน ลายกานตอ ลายเถา ฯลฯ ซ่ึงเกิดจากมีความเชี่ยวชาญในการ
เขียนลายยอยแลวมาผูกรวมกันไดอยางสวยงาม และนําไปประดับในสวนตาง ๆ ทั้งงานพัสตราภรณ งาน
สถาปตยกรรม งานประตมิ ากรรม งานจติ รกรรม และงานหัตถศิลปอ น่ื ๆ

ในการวาดเสนลายไทย การผูกลาย หรือการนําลายไทยในหลายสว นมาเขียนรวมกันเปนแนวทางท่ีทํากนั
มาตลอด ดังน้ันผูเขียนเสนในการผูกลายจะตองรอบรูในการเขียนลายหรือชอลายตาง ๆ อยางเช่ียวชาญจึงจะ
เขยี นลวดลายไทยไดจงั หวะทสี่ วยงามตามกรอบของภาพทีก่ าํ หนด

งานพัสตราภรณเปนงานท่ีตองใชความเขาใจ และทักษะในการเขียนลวดลายไทยในระดับหน่ึง เนื่องดวย
เปนงานท่ีแสดงออกถึงทักษะความชํานาญและความประณีตของชาง ชางบรรจงใชสองมือในการปกโดยใชมือขาง
หน่งึ อยดู านบนและอกี ขางหน่ึงอยูด านลา งและใชทง้ั สองมือคอยรบั สง เข็มใหส มั พันธกัน การปก ลวดลายไทยใหเกิด
ความสวยงามลงบนผืนผามีดวยกันหลากหลายเทคนิคข้ึนอยูกับประสบการณของชางท่ีสั่งสมมา โดยมีเทคนิคและ
วธิ ีการปก ที่มีการเรยี นรูสืบทอดกนั มาตามขัน้ ตอนตาง ๆ ดังน้ี

1. การปกหนุน ใชในการปกลวดลายบนพ้ืนที่เล็ก ๆ ดวยวิธีการปกหนุนดวย เชือก เสนไหม เสน
ฝาย หรือสําลีใหลวดลายนูนข้ึน เดนชัด ชวยใหลวดลายดูมีมิติสวยงาม โดยชางปกตองเลือกชนิดของดิ้นให
เหมาะสมกบั ลวดลายท่ที ําการปก โดยใชว ธิ ีการปกทบึ เดินเปนเสน เกลียวเพ่ือเช่ือมรอยตอ ระหวา งสพี ้ืนผากบั สีขลิบ
ริม และแบงชองบรรจุตัวลายจะไมเช่ือมตอตลอดลาย จะแบงลายเปนตัวใหงายตอการปกและสวยงาม โดยลายท่ี
นิยมนาํ มาปก ไดแก ลายพมุ ขาวบณิ ฑ ลายหนา สงิ ห ลายประจํายาม ลายดอก ลายเถา ลายกนกเปลว ขางเขียนลาย
จะตองผูกลายใหเขากบั แบบของเคร่ืองละคร เชน เสื้อ สนับเพลา หอยหนา หอยขา ง อนิ ทรธนู กรองคอ รัดสะเอว
สุวรรณกระถอบ ผาหมนาง ซึ่งมีรูปแบบแตกตางกัน ผูเขียนลายตองใชความสามารถในการผูกลายใหดูสวยงาม
และสะดวกในการปก วิธีที่นิยมใชในการปกลายหนุน คือ การปกทึบ เดินเกลียว ซึ่งอาจจะใชเล่ือม เพชร ลูกปด
ปกประดบั เพม่ิ เพ่ือเสรมิ ความงาม ตวั อยา งขัน้ ตอนในการปกหนนุ มดี ังน้ี

1.1 ขงึ สะดึง ดว ยผา ท่ีตอ งการปก ลอกลายลงบนผาหรือกระดาษลอกลายเนาลายกับ
ผา ท่ตี องการปก
1.2 ลอ มลายดวยดน้ิ ขอ ดัดดน้ิ ขอ ตามลายท่ีลอกไวบนผา
1.3 หนุนลายภายในลายที่ลอมดิ้นขอไวใหนูนสูงเปนหลังเตา ดวยดายที่ทํามาจาก
ฝา ย
1.4 ปกดิ้นโปรง หรอื ดิน้ มัน ดนิ้ ดาน ใหเ หมาะสมกับลาย
1.5 แตงลายใหดูสวยงามยงิ่ ขึน้ ดวยเล่อื ม ลกู ปก เพชร พลอย เปน ตน
2. การปกเดินเสน เปนการปกเดินเสนบริเวณขอบ หรือปกลวดลายท่ีตองการมีความชัดเจนมาก
ย่ิงข้ึน ชางปกจะปกเดินเสนในบริเวณขอบหลังจากที่ปกลวดลายเสร็จเรียบรอยแลว ดวยการใชเสนไหมสีตาง ๆ
หรอื ด้ินเงนิ ดิ้นทอง
3. การปกทึบ เปนการนําเสนไหมปกลงบนผืนผาใหเกิดเปนลวดลายตามท่ีไดรางแบบไว นิยมใช
ปกบนลวดลายท่ีขนาดไมใหญมาก หากตอ งการใหลวดลายนนู ขนึ้ มามากกวาปกตจิ ะตองปกหนุนดานลา งกอนแลว
จึงจะปกทึบลงไป เริ่มปกจากดานหน่ึงไปอีกดานหน่ึงตามรูปรางของลวดลาย ถาในพ้ืนที่ที่กวางจะปกข้ึนลงดวยฝ
เข็มทีละส้ัน ๆ แลวปกลงไปทีละเสนตอกันเพื่อเพิ่มความออนชอย เมื่อปกไหมแตละเสนตอ ๆ กัน เสนไหมจะมี
ความละเอียดมากข้ึน ชางปกจะไมนิยมปกเสนไหมในแนวขวางเพราะทําใหลวดลายดูไมพล้ิวไหวขาดความเปน
ธรรมชาติ
4. การปกซอย วิธีการคลายคลึงกับการปกทึบดวยวิธีการปกไหมลงไปใหเต็มลวดลาย จะมีความ
แตกตางกันตรงท่ีการปกซอยนั้นจะใชกับลวดลายที่มีขนาดใหญและตองการไลสีสันของเสนไหม โดยใชระยะการ
เดินเข็มสั้น ๆ จากจุดหนึ่งไปอีกจุดหน่ึง ปกแบบส้ันยาวสลับกันไป นิยมปกไลสีเสนไหมจากโทนออนไปโทนเขมทํา
ใหภ าพทป่ี กออกมาดมู ีมิติราวกับงานจิตรกรรม
5. การปกดนิ้ เงนิ ด้นิ ทอง เปน เทคนิคการปก เชิงชางชนั้ สงู ทต่ี องใชความสามารถและใชเวลานาน
ในการปก ลวดลายที่ปกดวยดิ้นเงินดนิ้ ทองจะตองใชค วามประณีตมากเพ่ือใหลวดลายมีความละเอียดกลมกลืนกนั
ตลอดทั้งลวดลาย ซึ่งเปนข้ันตอนที่ยากและตองใชความอดทนในการปก นิยมปกประดับรวมกับวัสดุอื่น ๆ เพ่ือให
เกิดความสวยงามยิง่ ข้ึน เชน เลอ่ื ม ลูกปด ไขม กุ ปกแมลงทบั อัญมณสี ตี าง ๆ เปน ตน


Click to View FlipBook Version