The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานวิจัยในชั้นเรียน
เรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านและเขียนคำพื้นฐานภาษาไทย
โดยใช้แบบฝึกทักษะสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
ปีการศึกษา 2563
โดย นางสาวจิราภรณ์ อินทยอด
ครูชำนาญการ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by admin, 2021-03-23 20:35:53

รายงานวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านและเขียนคำพื้นฐานภาษาไทย

รายงานวิจัยในชั้นเรียน
เรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านและเขียนคำพื้นฐานภาษาไทย
โดยใช้แบบฝึกทักษะสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
ปีการศึกษา 2563
โดย นางสาวจิราภรณ์ อินทยอด
ครูชำนาญการ

รายงานวิจัยในชน้ั เรียน
เรอื่ ง การพัฒนาทกั ษะการอ่านและเขยี นคาพน้ื ฐานภาษาไทย

โดยใชแ้ บบฝกึ ทกั ษะสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ของนกั เรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖
ปกี ารศกึ ษา 2563

นางสาวจิราภรณ์ อนิ ทยอด
ครูชานาญการ

โรงเรยี นบา้ นทา่ เรอื
สานักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาประถมศึกษาภเู กต็

สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน

คานา

การจัดทารายงานการพัฒนาทักษะการอ่านและเขียนคาพื้นฐานภาษาไทย โดยใช้แบบฝึกทักษะ
สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2553 ฉบับน้ี จัดทาข้ึน
เพื่อรายงานผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาภาษาไทย เพ่ือพัฒนาทักษะการเรียนการอ่านและเขียนคา
พ้นื ฐานภาษาไทย ซ้ึงผู้รายงานได้ศึกษาค้นคว้าเอกสารงานวจิ ัยต่าง ๆ เพ่ือนาความรูม้ าใช้ในการพฒั นาการ
เรียนการสอนของตนเอง และพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรยี น โดยพัฒนาสื่อนวตั กรรมมาใช้ให้เหมาะสมกับ
นักเรยี น โดยยึดผเู้ รียนเปน็ สาคญั ซ่งึ ได้ดาเนนิ การพฒั นาในภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2553

ขอขอบพระคุณผู้เช่ียวชาญทุกท่านท่ีกรุณาให้ความรู้ คาปรึกษา คาแนะนาใน กระบวนการ
พัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน จนงานสาเร็จลุล่วงด้วยดี ขอบคุณคณะครู นักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 6 ที่เป็นกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาคร้ังนี้ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า รายงานฉบับน้ีจะเป็น
ประโยชน์อยา่ งยง่ิ ต่อผู้ทเ่ี กยี่ วข้องกบั การจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนภาษาไทยไดอ้ ีกทางหนึง่

จิราภรณ์ อินทยอด
ครูชานาญการ

ชอื่ เรอ่ื ง ก
รายงานการพัฒนาทักษะการอ่านและเขยี นคาพ้นื ฐานภาษาไทย โดยใช้แบบฝกึ

ทกั ษะสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ของนกั เรียนชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 6 ปีการศกึ ษา 2563

ผรู้ ายงาน นางจิราภรณ์ อนิ ทยอด
หนว่ ยงาน โรงเรยี นบา้ นทา่ เรือ สานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาภูเกต็

บทคัดย่อ

การทาวจิ ัยในชัน้ เรยี น เร่ือง การพัฒนาทักษะการอ่านและเขียนคาพื้นฐานภาษาไทย โดยใช้แบบฝกึ
ทักษะสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 มีวัตถปุ ระสงคเ์ พื่อ 1) เพื่อพัฒนา
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและความสามารถในการอ่านและเขียนคาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ของนักเรียนช้ัน

ประถมศึกษาปีที่ 6 2) เพื่อพัฒนาแบบฝึกทักษะสาระภาษาไทย ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน
80/80 กลมุ่ ตวั อยา่ งที่ใช้ในการศึกษาคร้งั น้ีเป็นนกั เรยี นชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา
2563 จานวน 5 คน ซ่ึงได้มาโดยการเลือกสุ่มแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือท่ีใช้ใน

การเก็บรวบรวมขอ้ มลู คอื แบบฝึกทักษะเพ่ือพัฒนาทักษะการอา่ นและเขียนคาพน้ื ฐาน จานวน 15 แบบ
ฝกึ และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแบบปรนัย ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 30 ข้อ
แบบแผนการทดลองใชแ้ บบกล่มุ เดียว (One Group Pre-test Post-test Design) สถิตทิ ี่ใชค้ อื ค่าเฉลี่ย ค่า

ร้อยละและค่าสว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน
ผลการศึกษาค้นคว้าพบวา่
1. การพัฒนาทักษะการอ่านและเขียนคาพื้นฐานภาษาไทย โดยใช้แบบฝึกทักษะสาระการเรียนรู้

ภาษาไทย ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 86.40/84.67 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์
มาตรฐานท่ตี ัง้ ไว้ คือ 80/80

2. ผลท่ีเกิดกับนักเรียนหลังการพัฒนาทักษะการอ่านและเขียนคาพื้นฐานภาษาไทย โดยใชแ้ บบฝึก

ทกั ษะสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ของนักเรยี นชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 พบว่านักเรียนมีทกั ษะการอ่านและเขียน
ดขี ้ึน ซง่ึ ส่งผลใหน้ ักเรยี นมีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นดา้ นทักษะการอา่ นและเขยี นคาพน้ื ฐานสูงขึ้น มคี ่าเฉลยี่ รอ้ ย
ละ 84.67



กิตตกิ รรมประกาศ

รายงานการพฒั นาทกั ษะการอา่ นและเขยี นคาพ้นื ฐานภาษาไทย โดยใชแ้ บบฝกึ ทกั ษะสาระการเรียนรู้
ภาษาไทย ของนักเรยี นช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 6 สาเร็จลลุ ่วงได้ด้วยคณะผเู้ ชี่ยวชาญ นางพรศรี คลายสุวรรณ

ครชู านาญการพเิ ศษ นางสาวกฤตยพร สกุลจันทร์ ครูชานาญการพเิ ศษ และนางนชุ นารถ เก้ือกลู
ครูชานาญการพเิ ศษ โรงเรยี นบ้านทา่ เรอื สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาภเู กต็ ท่ีกรุณาให้
คาปรึกษาช่วยเหลอื แนะนาตรวจสอบ แก้ไขขอ้ บกพร่องตา่ งๆ ผูร้ ายงานขอขอบพระคุณเป็นอยา่ งสงู

ขอขอบว่าที่ร้อยตรีวชิรพันธ์ุ บุญณมี ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านท่าเรือ คุณคณะครู นักเรียน
โรงเรียนบา้ นท่าเรอื ท่ใี หค้ วามร่วมมือในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ในการพฒั นาการจัดการเรยี นรู้ในครง้ั นี้

คุณค่าและประโยชน์ของรายงานฉบับน้ี ผู้รายงานขอมอบเป็นเครื่องแสดงความกตัญญูต่อบิดา

มารดา ท่ีให้การศึกษา อบรมส่ังสอน ให้มีสติปัญญาและคุณธรรมทั้งหลาย อันเป็นเคร่ืองมือนาไปสู่
ความสาเร็จในชีวติ ของผู้รายงาน

จริ าภรณ์ อนิ ทยอด
ครชู านาญการ



สารบัญ

เรอื่ ง หนา้

บทคดั ย่อ................................................................................................................................ ก

กิตติกรรมประกาศ................................................................................................................. ข

บทที่ 1 บทนา......................................................................................................................... 1

1.1 ความเปน็ มาและความสาคัญของปญั หา........................................................... 1

1.2 วตั ถุประสงค์..................................................................................................... 3

1.3 ขอบเขตของการศกึ ษา....................................................................................... 3

1.4 ตัวแปรที่ใช้ในการศกึ ษา................................................................................... 4

1.5 นิยามศพั ท์เฉพาะ............................................................................................... 4

ประโยชน์ท่คี าดว่าจะไดร้ ับ..................................................................................... 5

บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ยั ทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง 5

2.1 หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐานพทุ ธศกั ราช 7

2551............................... 8

2.2 การเรยี นการสอนภาษาไทย.............................................................................. 12

2.3 การอา่ น............................................................................................................ 19

2.4 การเขียน........................................................................................................... 22

2.5 แบบฝกึ ทักษะ................................................................................................... 32

2.6 งานวิจัยที่เกย่ี วขอ้ ง...........................................................................................

บทท่ี 3 วิธีดาเนินการวิจยั 36

3.1 ประชาการและกลมุ่ เป้าหมาย........................................................................... 36

3.2 เครื่องมือทใี่ ช้ในการศกึ ษา............................................................................... 36

3.3 แบบแผนการทดลองและขนั้ ตอนการทดลอง.................................................. 37

3.4 การสร้างและหาคณุ ภาพของเครอ่ื งมือ............................................................. 38

3.5 การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ........................................................................................... 40

3.6 สถิตทิ ใ่ี ช้ในการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ....................................................................... 40

บทที่ 4 ผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู 42
4.1 สัญลักษณท์ ใ่ี ช้ในการนาเสนอผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู ....................................... 42
42
4.2 ลาดบั ขั้นตอนในการเสนอผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ............................................. 42
4.3 ผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู .......................................................................................
ตอนที่ 1 การหาประสิทธิภาพของแบบฝึกทกั ษะการอ่านและการเขยี นสะกดคา 42

กลมุ่ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 2 ตามเกณฑ์ 44
80/80................
ตอนท่ี 2 วเิ คราะหห์ าความแตกต่างระหวา่ งคะแนนแบบทดสอบกอ่ นเรยี นและ

หลงั เรยี น................................................................................................................

บทท่ี 5 สรุปผล อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ................................................................... 45
5.1 วตั ถุประสงคข์ องการศึกษา............................................................................... 45

5.2 ประชากรและกล่มุ ตัวอย่าง............................................................................... 45
5.3 เครื่องมอื ท่ใี ช้ในการศึกษา............................................................................... 45
5.4 การดาเนนิ การศกึ ษา......................................................................................... 46

5.5 สรปุ ผลการศึกษา............................................................................................. 46
5.6 อภปิ รายผล....................................................................................................... 46
5.7 ขอ้ เสนอแนะ.................................................................................................... 48

บรรณานุกรม 50
ภาคผนวก 54

สารบญั ตาราง

เรอื่ ง แบบแผนการทดลองแบบ One Group Pre-test Post-test หนา้
ตารางที่ 1 37
ตารางท่ี 2 Design.................
ตารางที่ 3 คะแนนเฉล่ยี และร้อยละ เพอื่ หาประสิทธภิ าพของแบบฝกึ ทกั ษะการอ่านและ 42
ตารางท่ี 4 เขยี นคาพ้นื ฐาน ของนักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 2........................................ 44
ตารางท่ี 5 55
ตารางแสดงคะแนนเฉลยี่ และค่ารอ้ ยละของคะแนนทดสอบก่อนเรียนและหลงั 57
เรยี น..........................................................................................................
คะแนนแบบฝกึ ทักษะเรอื่ งการอา่ นและเขยี นคาพนื้ ฐาน ช้นั ประถมศึกษา

ปที ี่ 2.................................................................................................................
แบบบันทึกคะแนนกอ่ นเรยี นและหลงั เรียน นกั เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 2
ปีการศกึ ษา

2553............................................................................................

บทท่ี 1
บทนา

1. ความเป็นมาและความสาคญั ของปญั หา

ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ของชาติ เป็นสมบัติทางวัฒนธรรม อันก่อให้เกิดความเป็นเอกภาพและ
เสริมสร้างบุคลิกภาพของคนในชาติให้มีความเป็นไทย เปน็ เครื่องมือในการตดิ ต่อส่ือสารเพ่ือสรา้ งความเข้าใจ
และความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ทาให้สามารถประกอบกิจธุระ การงานและดาเนินชีวิตร่วมกันในสังคม
ประชาธิปไตยได้อย่างสันติสุขและเป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ ประสบการณ์จากแหล่งข้อมูล
สารสนเทศต่าง ๆ เพ่ือพัฒนาความรู้ กระบวนการคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ และสร้างสรรค์ ให้ทันต่อการ
เปลย่ี นแปลงทางสังคมและความกา้ วหนา้ ทางวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจนนาไปใช้ในการพัฒนาอาชีพให้
มีความมั่นคงทางเศรษฐกิจ นอกจากน้ียังเป็นสื่อแสดงภูมิปัญญาของบรรพบุรุษด้านวัฒนธรรม ประเพณี
สนุ ทรียภาพเปน็ สมบัตลิ า้ ค่าควรแกก่ ารเรยี นรู้ อนรุ ักษ์และสืบสานให้คงอยู่
คูช่ าติไทยตลอดไป กระทรวงศึกษาธิการ (2551 : 37)

ดว้ ยความสาคัญดงั กล่าว หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 ไดก้ าหนดให้
ภาษาไทยเป็นทักษะท่ีต้องฝึกฝนจนเกิดความชานาญในการใช้ภาษาเพ่ือการส่ือสาร การเรียนรู้อย่างมี
ประสิทธิภาพและเพือ่ นาไปใช้ในชีวิตจรงิ กระทรวงศกึ ษาธิการ (2551 : 37)

หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 ม่งุ พัฒนาผเู้ รยี นทกุ คน ซง่ึ เป็นกาลงั ของ
ชาตใิ ห้เป็นมนุษยท์ ีม่ คี วามสมดลุ ทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มจี ิตสานึกในความเปน็ พลเมอื งไทยและเป็น
พลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และ
ทกั ษะพน้ื ฐาน รวมท้ังเจตคตทิ ่ีจาเป็นตอ่ การศึกษาตอ่ การประกอบอาชพี และการศึกษาตลอดชีวิต โดยมงุ่ เน้น
ผู้เรียนเป็นสาคัญบนพ้ืนฐานความเชื่อว่าทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร (2551 : 4)

การสอนภาษาไทยให้บรรลวุ ตั ถุประสงคแ์ ละมปี ระสทิ ธภิ าพนน้ั จาเปน็ ต้องฝกึ ทกั ษะตา่ ง ๆ ให้สมั พนั ธ์
กนั ทั้งการรับเข้ามา คือ การอ่านและการฟังกับทักษะการถ่ายทอดออกไป คอื การพูดและการเขียน ในดา้ น
การเขียน ถือเป็นทกั ษะทีย่ ุ่งยากซับซอ้ นและเปน็ ทกั ษะถ่ายทอดท่สี าคญั ต่อการสื่อสารอย่างย่ิง

จากข้อมูลสภาพปัญหา ความสาคัญ และหลักการดังกล่าว ควรได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วน
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ตัวครูผู้สอน ควรจะมีการศึกษาหาวิธีปรับปรุงพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้มี
ประสิทธิภาพ ให้ท้ังความรู้ทักษะการคิด ความสนุกสนานเพลิดเพลินไปพร้อม ๆ กัน มีเทคนิคการสอนท่ี
หลากหลาย ทาให้เกดิ การเรียนรู้ เกิดความแมน่ ยา จดจางา่ ย และเข้าใจอยา่ งลกึ ซึง้ จดั ระบบเชื่อมโยงความคดิ
ต่าง ๆ เข้าด้วยกัน

ผู้รายงานได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบในการจัดการเรียนการสอนวิชาภาษาไทยพร้อมท้ังวัดและ
ประเมินผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๖ โรงเรียนบ้านทา่ เรือ สานักงานเขตพื้นที่
การศกึ ษาประถมศึกษาภเู ก็ต พบว่าในปีการศึกษา 2563 นักเรียนมีปัญหาทางด้านการเขียนสะกดคาไม่
ถูกต้องและอ่านไม่ออก เมอื่ นกั เรียนเขียนสะกดคาไมไ่ ดย้ ่อมส่งผลใหอ้ ่านไม่ออกตามมาดว้ ย สิ่งเหล่าน้ีเป็น
สาเหตุให้ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนต่าและการที่นักเรียนอา่ นไม่ออกเขียนสะกดคาไม่ถูกต้องยังมี
ผลกระทบต่อไปในการเรยี นการสอนในกลุ่มสาระการเรยี นรูอ้ ืน่ อีกดว้ ย

ผรู้ ายงานได้คิดหาแนวทางแก้ปัญหาดังกลา่ ว จึงได้ศึกษาหานวัตกรรมทั้งเก่าและใหม่นามาแก้ปัญหา
จงึ พบว่าการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนภาษาไทย โดยใช้แบบฝึกทกั ษะจะทาใหส้ ามารถแก้ปญั หาดังกลา่ วได้

ผ้รู ายงานจึงไดศ้ ึกษาแนวคดิ ทฤษฏที ่ีเก่ยี วขอ้ งกับการพัฒนาแบบฝึกทกั ษะเพือ่ พฒั นาทักษะการอ่านและการ
เขียนสะกดคาของนกั เรยี นและพัฒนาการเรียนการสอนภาษาไทยให้มีประสทิ ธภิ าพมากยิง่ ขึ้น

2. วตั ถุประสงคข์ องการวจิ ยั
2.1 เพ่อื พฒั นาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนและความสามารถในการอา่ นและเขียนคาพ้ืนฐาน ภาษาไทย

ของนกั เรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6

2.2 เพือ่ พัฒนาแบบฝึกทกั ษะสาระภาษาไทย ให้มีประสทิ ธภิ าพตามเกณฑม์ าตรฐาน 80/80
3. ขอบเขตของการศกึ ษา

3.1 ประชากร ท่ใี ชใ้ นการศึกษา ได้แก่ นักเรยี นช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 6 โรงเรียนบ้านทา่ เรอื อาเภอ

ถลาง สานกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาภูเกต็ ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2563 จานวน 1 ห้องเรยี น จานวน
22 คน

3.2 กลมุ่ ตวั อยา่ งท่ใี ช้ในการศึกษา ได้แก่ นักเรยี นชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 6 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา

2563 โรงเรยี นบา้ นท่าเรอื สานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาภเู ก็ต จานวน 5 คน ซึ่งได้มาโดยการเลอื กสมุ่
แบบเจาะจง (Purposive Sampling)

3.3 ระยะเวลาในการศกึ ษา ระยะเวลาที่ใชใ้ นการศกึ ษา คือ ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2563

จานวน 15 ชั่วโมง ทง้ั น้ีไม่รวมเวลาทใี่ ชใ้ นการทดสอบกอ่ นเรยี นและหลงั เรียน
3.4 เนื้อหาท่ใี ช้ในการศกึ ษา เนอ้ื หาที่ใชใ้ นการศกึ ษา ไดแ้ ก่ กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย สาระ

การอา่ นและการเขยี นคาพ้นื ฐาน โดยใช้แบบฝกึ ทกั ษะ จานวน 15 แบบฝึก

4 ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษา
- ตัวแปรตน้ ไดแ้ ก่ แบบฝกึ ทกั ษะการอ่านและการเขยี นพนื้ ฐาน กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย

ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 6

- ตวั แปรตาม ได้แก่ ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนด้านการอา่ นและการเขียนคาพ้ืนฐาน หลงั เรียน
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 6
5 นยิ ามศพั ท์เฉพาะ

5.1 แบบฝึกทักษะการอ่านและการเขยี นคาพ้นื ฐาน หมายถงึ แบบฝึกทักษะการอา่ นและการเขยี น
คาพน้ื ฐาน กล่มุ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 ทผ่ี รู้ ายงานสร้างขน้ึ เพื่อใชใ้ นการฝกึ ปฏบิ ตั ิ
ดา้ นการอา่ นและการเขียน จานวน 15 แบบฝกึ

5.2 ประสทิ ธิภาพของแบบฝึก หมายถงึ แบบฝกึ ทกั ษะการอา่ นและการเขียนสะกดคา กลมุ่ สาระ
การเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 6 ทมี่ ีประสิทธภิ าพตามเกณฑ์ 80/80

80 ตัวแรก หมายถงึ คะแนนเฉลี่ยรอ้ ยละของนกั เรียนท่ีไดจ้ ากการทาแบบทดสอบ ท้าย

บทเรยี นของแบบฝึกทกั ษะการอา่ นและการเขียนสะกดคา กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ชนั้ ประถมศึกษา
ปีท่ี 6 ทุกชุด

80 ตัวหลัง หมายถึง คะแนนเฉลยี่ รอ้ ยละทไ่ี ดจ้ ากการทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น

ดา้ นการอ่านและการเขยี นสะกดคาหลงั เรียน โดยใช้แบบฝกึ ทกั ษะ กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ชัน้
ประถมศึกษาปที ่ี 6 ครบทกุ ชดุ

5.3 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถงึ ความรู้ ความสามารถในการเรียนภาษาไทยของนักเรยี นท่ี

เรียนโดยใชแ้ บบฝกึ ทกั ษะการอ่านและการเขยี นสะกดคา กลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาไทย ชน้ั ประถมศกึ ษาปี
ท่ี 6 โดยวัดได้จากคะแนนการทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นการอ่านและการเขียนสะกดคา ที่ผรู้ ายงาน
สรา้ งขึ้น

5.4 นักเรียนหมายถึง นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านท่าเรือ สานักงานเขตพ้ืนที่
การศกึ ษาภเู กต็ ปีการศึกษา 2563 จานวน 5 คน

5.5 แบบทดสอบหมายถึง แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เร่ือง การอ่านและการเขียน
สะกดคา ทผ่ี รู้ ายงานสร้างขึน้ เพ่อื ทดสอบนกั เรยี นก่อนเรยี นและหลงั เรียน
6. ประโยชนท์ ่ไี ดร้ บั

6.1 ได้แบบฝึกทักษะการอา่ นและเขียนคาพ้ืนฐานภาษาไทย ท่ีผ่านการพัฒนาและหาประสิทธิภาพ
จากผเู้ ชีย่ วชาญเรียบรอ้ ยแล้ว

บทท่ี 2
เอกสารและงานวิจยั ทเี่ กย่ี วขอ้ ง

การดาเนินการศึกษาคร้ังนี้ เพ่อื พฒั นาทกั ษะการอ่านและการเขียนคาพนื้ ฐานภาษาไทย โดยใช้แบบ
ฝกึ ทกั ษะ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 โรงเรยี นบา้ นท่าเรอื ผูร้ ายงานไดศ้ ึกษา
เอกสารวรรณกรรมและงานวจิ ยั ท่ีเกยี่ วขอ้ ง ดังต่อไปน้ี

1. หลักสูตรสถานศกึ ษา พทุ ธศกั ราช 2563 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน
พุทธศกั ราช 2551 กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 6

2. การเรยี นการสอนภาษาไทย
3. การอา่ น

3.1 ความหมายของการอ่าน
3.2 ความสาคญั ของการอ่าน
3.3 การอ่านแจกลกู สะกดคา
4. การเขยี น
4.1 ปัญหาของการเขียน
4.2 ความสาคญั ของการเขียน
4.3 จดุ มุ่งหมายของการเขียน
5. แบบฝกึ ทักษะ
5.1 ความหมายและความสาคัญของแบบฝึกทักษะ
5.2 ลกั ษณะของแบบฝกึ ทักษะท่ดี ี
5.3 ประโยชนข์ องแบบฝกึ ทกั ษะ
5.4 หลกั การสรา้ งแบบฝึกทักษะ
5.5 สว่ นประกอบของแบบฝึกทักษะ
5.6 รูปแบบการสร้างแบบฝกึ ทักษะ
5.7 ข้ันตอนการสร้างแบบฝกึ ทกั ษะ
5.8 แนวคิดหลกั การทเี่ ก่ียวข้องกับแบบฝกึ ทกั ษะ
6 . งานวจิ ัยทีเ่ กย่ี วข้อง
6.1 งานวิจัยในประเทศ
6.2 งานวิจยั ต่างประเทศ

1. หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย
ทาไมต้องเรยี นภาษาไทย

ภาษาไทยเปน็ เอกลักษณข์ องชาตเิ ปน็ สมบัติทางวฒั นธรรมอันก่อให้เกดิ ความเปน็ เอกภาพและ
เสรมิ สร้างบคุ ลกิ ภาพของคนในชาตใิ หม้ คี วามเปน็ ไทย เปน็ เครอ่ื งมอื ในการตดิ ต่อสอื่ สารเพือ่ สรา้ งความเข้าใจ
และความสมั พันธ์ท่ดี ตี อ่ กัน ทาให้สามารถประกอบกจิ ธรุ ะ การงาน และดารงชีวิตร่วมกนั ในสงั คประชาธปิ ไตย
ไดอ้ ยา่ งสันติสขุ และเป็นเครือ่ งมือในการแสวงหาความรู้ ประสบการณจ์ ากแหลง่ ขอ้ มูลสารสนเทศตา่ งๆ เพือ่
พฒั นาความรู้ พัฒนากระบวนการคดิ วเิ คราะห์ วิจารณ์ และสรา้ งสรรค์ใหท้ ันตอ่ การเปลยี่ นแปลงทางสงั คม และ
ความกา้ วหน้าทางวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจนนาไปใชใ้ นการพัฒนาอาชพี ใหม้ ีความมัน่ คงทางเศรษฐกจิ
นอกจากนย้ี งั เปน็ ส่ือแสดงภมู ปิ ญั ญาของบรรพบรุ ษุ ดา้ นวัฒนธรรม ประเพณี และสนุ ทรยี ภาพ เปน็ สมบตั ิล้า
คา่ ควรแกก่ ารเรยี นรู้ อนรุ ักษ์ และสบื สานให้คงอยคู่ ชู่ าติไทยตลอดไป

เรยี นรู้อะไรในภาษาไทย
ภาษาไทยเปน็ ทกั ษะทตี่ อ้ งฝกึ ฝนจนเกดิ ความชานาญในการใช้ภาษาเพื่อการส่ือสาร
การเรยี นรู้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ และเพ่อื นาไปใช้ในชวี ติ จริง

 การอ่าน การอ่านออกเสียงคา ประโยค การอ่านบทรอ้ ยแก้ว คาประพันธ์ชนิดต่างๆ การ
อ่านในใจเพ่ือสร้างความเข้าใจ และการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้จากสิ่งที่อ่าน เพื่อนาไป ปรับใช้ใน
ชวี ติ ประจาวนั

 การเขียน การเขียนสะกดคาตามอักขรวธิ ี การเขยี นสื่อสารโดยใช้ถ้อยคาและรูปแบบต่างๆ ของ
การเขียน ซ่ึงรวมถึงการเขียนเรียงความ ย่อความ รายงานชนิดต่างๆ การเขียนตามจินตนาการ วิเคราะห์
วจิ ารณ์ และเขยี นเชงิ สร้างสรรค์

 การฟัง การดู และการพูด การฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ การพูดแสดงความคิดเห็น
ความรู้สกึ พูดลาดบั เรอื่ งราวต่างๆ อยา่ งเป็นเหตุเปน็ ผล การพดู ในโอกาสต่างๆ ทง้ั เป็นทางการและไม่เปน็
ทางการ และการพดู เพอ่ื โนม้ น้าวใจ

 หลักการใช้ภาษาไทย ธรรมชาติและกฎเกณฑ์ของภาษาไทย การใชภ้ าษาให้ถูกตอ้ งเหมาะสม
กับโอกาสและบคุ คล การแต่งบทประพันธ์ประเภทต่างๆ และอิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย

 วรรณคดแี ละวรรณกรรม วิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรมเพอื่ ศกึ ษาข้อมลู แนวความคดิ
คณุ ค่าของงานประพันธ์ และความเพลดิ เพลนิ การเรียนรแู้ ละทาความเขา้ ใจบทเห่ บทร้องเล่นของเดก็ เพลง
พื้นบา้ นทเ่ี ป็นภูมปิ ญั ญาทม่ี คี ณุ คา่ ของไทย ซงึ่ ได้ถ่ายทอดความรสู้ กึ นกึ คดิ ค่านยิ ม ขนบธรรมเนยี มประเพณี
เรอ่ื งราวของสงั คมในอดีต และความงดงามของภาษา เพอ่ื ให้เกดิ ความซาบซง้ึ และภูมิใจในบรรพบรุ ุษท่ีไดส้ ง่ั สม
สบื ทอดมาจนถงึ ปจั จบุ นั
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
สาระท่ี 1 การอ่าน
มาตรฐาน ท 1.1 ใช้กระบวนการอา่ นสร้างความรแู้ ละความคดิ เพื่อนาไปใชต้ ัดสินใจ แก้ปญั หา

ในการดาเนนิ ชวี ติ และมนี ิสัยรกั การอา่ น

สาระที่ 2 การเขยี น
มาตรฐาน ท 2.1 ใชก้ ระบวนการเขยี น เขยี นสือ่ สาร เขยี นเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราว

ในรูปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมี
ประสทิ ธิภาพ

สาระที่ 3 การฟงั การดู และการพดู
มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และ

ความรสู้ กึ ในโอกาสต่างๆ อย่างมวี ิจารณญาณและสร้างสรรค์

สาระท่ี 4 หลักการใชภ้ าษาไทย
มาตรฐาน ท 4.1 เขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ยี นแปลงของภาษาและพลังของภาษา

ภูมปิ ัญญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไว้เป็นสมบตั ขิ องชาติ

สาระที่ 5 วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเหน็ วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและ

นามาประยุกตใ์ ช้ในชีวติ จรงิ

2. การเรียนการสอนภาษาไทย
2.1 แนวการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนภาษาไทย

ผศ.ดร.สวุ รรณ์ ยหะกร. (2560) ได้ใหแ้ นวทางการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนภาษาไทย
ไว้ดงั น้ี

การจัดการเรียนการสอนภาษาไทยมเี ป้าหมายสาคัญอยู่ 3 ประการ คือ
1) เพ่อื ใหผ้ ู้เรียนสามารถส่ือสารได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
2) เพื่อใหผ้ ูเ้ รยี นใชภ้ าษาไทยในการเรียนรู้
3) เพ่อื ให้ผู้เรียนใช้ภาษาในการสรา้ งองค์ความรู้
ซึ่งการท่ีผู้สอนจะสอนให้บรรลุเป้าหมายทั้ง 3 ประการนี้ ผู้สอนสามารถใช้กิจกรรมและสื่อ
ประกอบการสอนทีห่ ลากหลาย โดยในเรื่องนีจ้ ะเนน้ รายละเอียดแนวทางการจดั กิจกรรมส่งเสริมการอา่ นซึ่ง
ครอู าจปฏบิ ัติเป็นขัน้ ตอนดังน้ี
1. ศึกษาหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และหลักสูตรสถานศึกษา
เน้นให้ครูสามารถวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระการอ่านได้อย่างถูกต้อง ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในการจัดการเรียนการ
สอน
2. จัดกจิ กรรมเน้นให้นกั เรียนเหน็ ประโยชนแ์ ละคุณคา่ ของการอ่านภาษาไทยได้ซ่ึงเป็นประโยชนใ์ น
การดาเนินชวี ติ ประจาวัน การเรยี น และการแกไ้ ขปัญหาต่างๆของนักเรียนท่ีมคี วามสามารถดา้ นการอา่ น

นอกจากน้ันการจัดกิจกรรมเน้นให้นักเรียนเห็นประโยชน์และคุณค่าของการอ่านยังช่วยให้
นกั เรยี นตงั้ ใจเรยี น ช่วยใหก้ ารสอนการอ่านประสบความสาเร็จในเวลาอันรวดเร็ว

3. จดั บรรยากาศสง่ เสรมิ การอ่านภาษาไทย เนื่องจากบรรยากาศที่ดชี ่วยจงู ใจให้ต้องการอ่าน อา่ นได้
ในปริมาณเวลาและจานวนหนังสือทีอ่ ่านมากขนึ้ และทาใหค้ ุณภาพการอ่านดีกว่าการอ่านในบรรยากาศท่ีไม่
เหมาะสม เชน่ มเี สยี งดัง มคี วันพษิ เป็นต้น

4. จัดกิจกรรมให้นกั เรยี นได้ตระหนักถงึ ความสาคัญของภาษาในแง่ภาษาสร้างความคดิ ภาษาทาให้
เขา้ ใจวิถีชวี ิตและวฒั นธรรมไทย

5. จดั กิจกรรมให้นกั เรียนได้ฝึกทักษะการใชภ้ าษาอย่างตอ่ เน่อื งสม่าเสมอ
6. จัดกิจกรรมบรู ณาการท้งั ทักษะการฟัง การพูด การดู การอา่ นและการเขยี น โดยจดั สัดสว่ นเวลา
ของการทากิจกรรมให้เหมาะสม ไม่ใช้เวลาฝกึ ทักษะใดทักษะหนึ่งนานจนเกินไป ทาให้นักเรียนเบ่ือหน่ายได้
นอกจากในการสอนครั้งนั้นเน้นทักษะใดเป็นพิเศษ สามารถเพิ่มสัดส่วนเวลาฝึกได้ แต่ยังคงต้องบูรณาการ
ทกั ษะทางภาษาทกั ษะอ่ืนๆแทรกในการสอนทกุ คร้งั
7. จัดกิจกรรมส่งเสริมการอา่ นทสี่ ง่ ผลดี นา่ สนใจ ครตู ้องอาศยั สื่อ โดยวิธีการเลอื กส่ือที่เหมาะสมคือ
เลือกสอ่ื ที่ช่วยใหบ้ รรลุวัตถปุ ระสงค์ของการอ่าน เลือกสื่อทีช่ ่วยใหก้ ารเรียนรู้ผา่ นการอ่านรวดเร็วขน้ึ ที่สาคัญ
คอื เป็นสื่อใกล้ตวั หาง่าย ใช้ง่าย ราคาไม่แพง ในกรณีของสื่อท่ีสง่ เสริมการอ่านมักได้แก่ หนังสือ ซ่ึงลักษณะ
หนงั สือต้องเหมาะสมกับวัยของผู้เรียน โดยเป็นไปตามจิตวทิ ยาการอ่าน และที่สาคญั ในการเลือกหนังสือเป็น
สือ่ สง่ เสริมการอ่าน ตอ้ งสามารถนาประเดน็ จากหนังสือมาทากจิ กรรมหลังการอา่ นไดอ้ ยา่ งหลากหลาย และ
ลกั ษณะการเสนอเนื้อหาในหนังสอื ตอ้ งไม่เป็นอนั ตรายต่อความคดิ ศลี ธรรมอันดขี องประชาชน และไม่เปน็ ภัย
ตอ่ ความมัน่ คงของชาติ
8. ประเมินผลการอ่าน มักประเมินใหส้ อดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการอ่าน เช่น วตั ถุประสงคข์ อง
กิจกรรมการอ่านเพ่ือให้นักเรียนสามารถจับใจความได้ การประเมินจะประเมินโดยใช้การทดสอบและการ
สังเกตวา่ นกั เรยี นจบั ใจความจากสิ่งท่อี ่านได้มากนอ้ ยเพียงใด เปน็ ต้น
2.2 หลักในการเลอื กกิจกรรมการเรียนการสอนภาษาไทย

กิจกรรมการเรียนการสอนมมี ากมาย เราสามารถจดั ได้ทกุ ระยะของการเรียนการสอนตั้งแต่
ข้นั นาเข้าสู่บทเรียน ข้นั สอน ขน้ั สรปุ และข้นั ประเมินผล ครเู ปน็ ผ้เู ลือกกจิ กรรมให้เหมาะสมกบั บทเรยี น โดย
ยึดหลักดงั น้ี

1. เลอื กใหเ้ หมาะสมกับจุดประสงค์ของบทเรยี น
2. เลอื กใหเ้ หมาะสมกบั ผเู้ รียน เช่น ความยงุ่ ยาก ระดับความรู้
3. เลือกโดยพจิ ารณาความสามารถของผสู้ อนด้วย เช่น ครทู ่ีร้องเพลงไมเ่ ก่งก็จะใชเ้ ครอ่ื ง
บันทึกเสยี งแทน
4. เลอื กโดยพิจารณาสภาพแวดล้อมในการเรยี นการสอน เชน่ ถ้าหอ้ งเรียนแคบ การจัดให้
เล่นเกมแขง่ ขนั กอ็ าจจะเกิดเสียงดงั ไปรบกวนห้องอนื่ และการเคลอ่ื นไหวกไ็ ม่สะดวก ครูใช้กิจกรรมอน่ื แทน
หรอื พานกั เรยี นไปสนามหญา้ แทน
5. เลอื กกิจกรรมใหค้ วามสนุกสนาน ปฏิบตั งิ า่ ย ไม่ซบั ซ้อน และยดื หยนุ่ ได้
6. เลอื กกจิ กรรมทใ่ี หแ้ นวคิดรเิ ร่มิ สร้างสรรค์และทุกคนมสี ่วนรว่ ม

2.3 ส่ือการเรียนการสอนภาษาไทย
สื่อการเรียนการสอนภาษาไทยมีความสาคัญต่อการเรียนการสอนมาก เพราะสื่อเป็น

ตวั กลางทจี่ ะช่วยให้การสือ่ สารระหว่างครูกบั นักเรยี นให้เข้าใจตรงกนั และนักเรียนก็สามารถทาความเขา้ ใจกบั
บทเรียนไดง้ า่ ยข้นึ ทาให้นักเรียนมีความสนใจบทเรียนมากกวา่ การสอนทมี่ ีแต่ครูอธิบายเพียงอยา่ งเดียว ส่ือ
การเรียนการสอนจะช่วยนาความมีประสทิ ธิภาพมาสู่การเรยี นการสอนและนาความสาเร็จมาสู่วตั ถุประสงค์
ท่ตี ัง้ ไว้

สอื่ การสอน หมายถึง วัสดุ อปุ กรณ์ เครอ่ื งมอื วธิ ีการ และกิจกรรมตา่ งๆ ที่ครูผูส้ อนใช้
ถา่ ยทอดความรแู้ ละประมวลประสบการณ์ไปสผู่ ู้เรยี นอย่างมีประสทิ ธิภาพ เพือ่ ให้บรรลตุ ามจดุ ประสงค์ทีต่ ั้งไว้

พอจาแนกส่ือการสอนออกเป็น 3 ประเภทดังนี้
1. สื่อประเภทวัสดุ (Materials) หรือบางทีเรียกว่าสื่อประเภทเบา (Software)

หมายถงึ สอื่ ท่ีเก็บความรู้อยู่ในตวั เอง ซึง่ จาแนกย่อยออกเป็น 2 ลกั ษณะ คอื

ก. ส่อื ประเภทที่สามารถถ่ายทอดความรู้ได้ด้วยตนเองไม่จาเป็นต้องอาศัย
อปุ กรณอ์ ื่นชว่ ย เชน่ แผนที่ ลูกโลก รปู ภาพ หนุ่ จาลอง ฯลฯ

ข. วัสดทุ ี่ไมส่ ามารถถา่ ยทอดความรู้ได้โดยตัวเองจาเป็นต้องอาศัยอุปกรณ์

อื่นช่วย เช่น แผ่นเสียง ฟิล์มภาพยนตร์ สไลด์ ฯลฯ
2. สื่อประเภทอุปกรณ์หรือเคร่ืองมือ (Equipment) หมายถึง ส่วนที่เป็นตัวกลาง

หรอื ตัวผ่านทาใหข้ ้อมูลหรือความรทู้ บ่ี นั ทกึ ไว้ในวัสดุ สามารถถ่ายทอดออกมาให้เหน็ หรอื ได้ยนิ เชน่ เคร่ืองฉาย

แผน่ ภาพโปรง่ ใส เครื่องฉายสไลด์ เครอื่ งฉายภาพยนตร์ เคร่ืองรบั โทรทศั น์ เครือ่ งเลน่ แผ่นเสียง เป็นต้น
3. ส่ือประเภทเทคนิคหรือวิธีการ (Techniques or methods) หมายถึง ส่ือท่ีมี

ลักษณะเป็นแนวคิดหรอื รปู แบบขนั้ ตอนในการเรียนการสอน โดยสามารถนาสอื่ วัสดแุ ละอปุ กรณ์มาชว่ ยในการ

สอนได้ เช่น เกมและสถานการณ์จาลอง การสอนแบบจุลภาค การสาธติ เป็นต้น
สอ่ื การเรยี นการสอนภาษาไทยมหี ลายชนิด ซ่งึ จะขอกล่าวดงั น้ี
1. เกมต่างๆ การเลน่ เป็นสิ่งที่เด็กๆ ชอบเปน็ ชวี ิตจิตใจอยู่แล้ว ผ้สู อนสามารถพลิก

แพลงการเล่นแบบต่างๆ ของเด็กมาใช้เสริมทักษะทางภาษาของเด็กได้มากมาย เช่นการเล่นเกมกระซิบฝึก
ทักษะการฟัง การเล่นทกั ทายฝกึ ทกั ษะการพดู นอกจากนี้ยังมเี กมอีกมากมายท่ีผสู้ อนจะประยกุ ต์ใหเ้ หมาะสม
กบั เน้ือหาท่จี ะสอน เกมต่างๆ สามารถใช้ได้ทกุ ขั้นตอนของการสอน ไม่วา่ จะเป็นขั้นนาเขา้ สู่บทเรียน ขน้ั สอน

ข้ันสรุปบทเรียน การเล่นเกมในแต่ละคร้ังผู้สอนควรบอกจุดมุ่งหมายให้ผู้เรียนทราบแน่ชัดว่าฝึกทักษะใด
กาหนดกติกา และเวลาในการเล่นให้แน่นอน การเล่นเกมท้ังที่ไม่ต้องใช้วสั ดุอุปกรณ์และต้องใช้ เกมท่ีต้องใช้
วัสดอุ ุปกรณ์ ผู้สอนตอ้ งเตรียมไว้ล่วงหน้า หรือใหผ้ ู้เรยี นเตรียม และเก็บใหอ้ ยใู่ นสภาพเรยี บร้อยเมอ่ื เล่นเสร็จ

ตวั อยา่ งเกมตา่ งๆ เช่น เกมบงิ โก แข่งเครื่องบนิ ตกปลา ตอ่ บตั รคา จ่ายตลาด เกมกระซิบ เรียงคา ย่ีสบิ คาถาม
ฯลฯ

2. บัตรคา เป็นสื่อการเรียนการสอนที่ใช้ฝึกทักษะด้านการอ่านและการเขียนได้ดี

เป็นสื่อท่ีผู้สอนนิยมใช้กันมาก เพราะใช้ประกอบการเรียนการสอนได้หลายลักษณะ เช่น สอนคัดลายมือ
สอนคาใหม่ สอนคายาก สอนอ่านออกเสียง สอนอา่ นในใจ เลน่ เกมเสริมทักษะต่างๆ

3. ปรศิ นาคาทาย เปน็ การเลน่ ของคนไทยมาแตโ่ บราณนิยมเล่นกนั ใน

หมูเ่ ดก็ และผู้ใหญ่ การทายปญั หาน้ันฝึกทกั ษะหลายด้าน ทั้งการฟัง การพดู การคิด ไหวพริบในการแก้ปญั หา
จินตนาการ การแสดงออกทางภาษา ปริศนาคาทาย มีการจัดหมวดหมู่ไวห้ ลายหมวดหมู่ เช่น ประเภทสัตว์
ของใช้ พืช เป็นต้น

4. เทปบันทึกเสียง เป็นสื่อการเรียนการสอนท่ีโรงเรียนจัดหามาไว้ให้ครูผู้สอน
เพราะใช้งา่ ย เคล่อื นยา้ ยไดส้ ะดวก ราคาไม่แพง ครูใชเ้ ทปบันทึกเสียงประกอบการสอนภาษาไทย โดยใชส้ อน
อ่านทานองเสนาะ สมั ภาษณ์ บันทึกขา่ ว นทิ าน เปน็ ต้น

5. แผ่นป้ายสาลี เหมาะสาหรับใช้เป็นสื่อการสอนในระดับชั้นเด็กเล็ก ช้ัน
ประถมศึกษา แต่ก็อาจนาไปใชใ้ นระดับช้ันมัธยมหรืออุดมศึกษากไ็ ด้ แผน่ ปา้ ยสาลีสามารถใช้ตดิ บตั รคา บัตร

ภาพหรือรูปภาพได้ แต่เราต้องยอมรับว่าบัตรคา หรือบตั รภาพท่ีติดบนปา้ ยสาลนี ้ัน อาจจะไม่มั่นคง อาจร่วง
หล่นได้

6. สไลด์ประกอบเสียง นามาใช้ง่ายและสามารถนามาเรียนแบบเอกัตบุคคลหรือ
ประกอบการเรียนการสอนเป็นกลุ่ม สไลด์ประกอบเสียงชุดใดที่จัดทาอย่างดีก็จะให้คุณค่าต่อกระบวนการ
เรยี นรอู้ ย่างมาก

7. กระเป๋าผนงั เป็นแผ่นไมบ้ างๆ ท่เี ป็นรปู สเี่ หลย่ี มผนื ผ้า ขนาดเทา่ กับ
แผ่นป้ายผา้ สาลใี ช้กระดาษแข็งทาเปน็ รอ่ งหรอื กระเปา๋ ขนาดใหญพ่ อทจี่ ะเสียบบตั รคาได้ วิธีใชก้ ระเปา๋ ผนงั ก็จะ
ใชค้ ลา้ ยกบั แผ่นปา้ ยผนังสาลี คอื ใช้กับบัตรคา บัตรข้อความ บตั รภาพ

8. สถานการณ์จาลอง เปรียบเหมือนนามธรรมของชีวิตจริง หรือการทาให้
สภาพแวดลอ้ มหรือกระบวนการของชีวติ จริงใหง้ า่ ยขน้ึ โดยท่วั ไปสถานการณ์จาลองจะเปน็ การแสดงบทบาทท่ี
เกยี่ วขอ้ งกับบุคคลหรอื สงิ่ แวดล้อมที่สมมุติข้นึ เช่น อาชพี ต่างๆ ความเป็นอยู่ ฯลฯ

3. การอ่าน
การอ่านเปน็ ทกั ษะทางภาษาท่สี าคญั และจาเป็นมากในการดารงชีวติ ของมนุษย์

ในชีวิตประจาวนั ต้องอาศยั การอา่ นจึงจะสามารถเข้าใจและส่อื ความหมายได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ

3.1 ความหมายของการอ่าน
สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา (2551 : 1-46) อ่านออกเสียงบทรอ้ ยแก้วและบท

รอ้ ยกรองเป็นทานองเสนาะไดถ้ ูกต้อง อธบิ ายความหมายโดยนยั ของคา ประโยค ข้อความ สานวนโวหาร
จากเร่ืองท่ีอ่าน เข้าใจคาแนะนา คาอธิบายในคู่มือต่าง ๆ แยกแยะข้อคิดเห็นและข้อเท็จจริง รวมท้ังจับ
ใจความสาคัญของเรือ่ งทอ่ี ่านและนาความร้คู วามคิดจากเรื่องทีอ่ า่ นไปตัดสินใจแก้ปญั หาในการดาเนินชีวิตได้
มมี ารยาทในการอ่าน มีนสิ ัยรกั การอ่าน และเห็นคุณคา่ ส่งิ ทีอ่ ่าน

สรุปความหมายของการอ่าน หมายถึง การเข้าใจความหมายของคา ประโยค
ขอ้ ความ และเร่อื งที่อ่าน และเร่อื งทีอ่ ่านมีความสาคญั ต่อประเทศชาติและพัฒนาตนเองใหก้ า้ วหนา้
ผูท้ ่อี ่านมากนอกจากได้รบั ความรอู้ ย่างกวางขวา้ งแล้ว ยงั ทาให้ผ่อนคลายความเครียด ซึง่ เป็นประโยชน์ทไี่ ด้รับ
จากการอา่ นนั่นเอง

สรุปไดว้ ่า การอา่ นเปน็ กระบวนการทางสมองทต่ี ้องใช้สายตาสัมผัสตัวหนังสือหรือ
สิง่ พิมพ์อ่นื ๆ รบั รู้และเขา้ ใจความหมายของคา ทใ่ี ช้ส่อื ความคิด ความรู้ ความเข้าใจ ระหวา่ งผู้เขียนกับผู้อา่ น
ให้เขา้ ใจตรงกนั และผู้อ่านสามารถนาเอาความหมายนน้ั ๆ ไปใชป้ ระโยชน์ได้

3.2 ความสาคญั ของการอ่าน
ฉวีวรรณ คูหาภินันท์ (2545 : 2) ได้อธิบายความสาคัญของการอ่านว่า การอ่านมี

ความสาคัญต่อชีวิตมนุษย์ ช่วยให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิตและช่วยสนองความอยากรู้อยากเห็นอันเป็น
ธรรมชาตขิ องมนุษย์ได้ทกุ เรอื่ ง ซึ่งมอี ยู่ในทรพั ยากรสารนิเทศทุกประการโดยเฉพาะความอยากร้ขู อ้ มลู ขา่ วสาร
ต่างๆ

3.3 การอา่ นแจกลูกสะกดคา
วิมลรัตน์ สนุ ทรโรจน์ (2549 : 97-99) ได้อธบิ ายความหมายของการแจกลูก

มีความหมาย 2 นยั คือ

นัยแรก หมายถึง การแจกลูกในมาตราตัวสะกดแม่ ก กา กง กน กม เกย เกอว กก
กด และกบ การแจกลูกจะเร่มิ ต้นการสอนใหจ้ า และออกเสยี งพยัญชนะและสระใหไ้ ด้ก่อน จากนัน้ จะเรมิ่ แจก
ลูกในมาตราแม่ ก กา จะใช้การสะกดคาไปทีละคาไล่ไปตามลาดับของสระ แล้วจึงอ่านโดยไม่สะกดคา จึง
เรยี กว่าแจกลกู สะกดคา แลว้ อา่ นคาในมาตราตัวสะกดทกุ มาตราจนคลอ่ ง จากนนั้ จะอ่านเปน็ เรอื่ งเพือ่ ประยกุ ต์
หลักการอา่ นนาไปส่กู ารอ่านคาที่เป็นเรอ่ื งอยา่ งหลากหลาย

นยั สอง หมายถึง การเทียบเสียง เป็นการแจกลกู วิธหี นึ่ง เมอ่ื นักเรียนอา่ นคาไดแ้ ล้ว
ให้นารูปคามาแจกลูกโดยการเปลี่ยนพยัญชนะต้นหรือพยัญชนะท้าย เช่น บ้าน สูตรของคา คือ ให้เปลี่ยน
พยญั ชนะตน้ เช่น กา้ น ปา้ น ร้าน ล้าน ค้าน เปน็ ต้น หลักการเทยี บเสยี ง มีดังนี้

1. อ่านสระเสยี งยาวก่อนสระเสยี งสัน้
2. นาคาที่มีความหมายมาสอนก่อน
3. เปลี่ยนพยัญชนะท่เี ป็นพยญั ชนะตน้ และพยัญชนะเสียงท้าย
4. นาคาที่อ่านมาจดั ทาแผนภมู กิ ารอา่ น เชน่

กา มา พา ลา ยา คา้ มา้ ชา้
ลา้ น้า บา้ น ก้าน ปา้ น รา้ น คา้ น
วิธีอ่านจะไมส่ ะกดคาใหอ้ ่านเปน็ คาตามสูตรของคา เชน่ อา่ น กา
สูตรของคา คือ -า นาพยัญชนะมาเตมิ และอา่ นเป็นคา เช่น ยา ทา หา นา ตา อา

การสอนแบบการแจกลูกสาหรับนกั เรยี นแรกอ่าน (ช้นั ป.1 และ ป. 2)
มีหลกั การสอนดังนี้

1. เริม่ จากสระท่งี ่ายทสี่ ดุ คือ สระ -า
2. ใชแ้ ผนผงั ความคดิ แจกลูก โดยเลือกคาท่ีมีความหมายกอ่ น
3. ผเู้ รียนอ่านออกเสยี งคาและทาความเข้าใจความหมาย
4. นาคาจากแผนผงั ความคดิ มาแต่งประโยค
5. อา่ นประโยคทแ่ี ตง่
6. เขยี นประโยคทีแ่ ต่ง
สรุป การแจกลูก ในรูปแบบเช่นน้ี สามารถท่ีจะแจกต่อไปได้อีก เช่น แจกสระ เ-
แ- โ- ไ- ใ- เ-า ฯลฯ และนามาแต่งประโยคโดยการบูรณาการกับคาท่ีประสมกับสระอื่น ซึ่งจะช่วยให้
นกั เรียนเกิดการเรียนรู้ และสามารถนาไปแตง่ ประโยคท่ยี ากและซับซ้อนข้ึนได้ เพราะเป็นการเรียนจากเรื่องที่
งา่ ยไปส่เู รอ่ื งท่ียาก
และยงั ไดใ้ ห้ความหมายของการสะกดคา ดังน้ี การสะกดคา หมายถึง การอ่านโดย
นาเสียงพยัญชนะตน้ สระ วรรณยกุ ต์ และตวั สะกดมาประสมเปน็ คาอา่ น การอา่ นสะกดมาประสมเป็นคาอ่าน
การอ่านสะกดคาจะตอ้ งให้นกั เรยี นสังเกตรปู คาพรอ้ มกบั การอา่ น การสอนอา่ นสะกดคาพร้อมกบั การเขยี น ครู
ตอ้ งให้อ่านสะกดคาแลว้ เขยี นคาไปพร้อมกัน การสอนสะกดคาโดยการนาคาท่ีมคี วามหมายมาสอนกอ่ น เมื่อ
สะกดคาจนจาได้แล้วจึงแจกคา เพราะการสะกดคาจะเป็นเคร่ืองมือการอา่ นคาใหม่โดยเริม่ จากคาง่ายๆ แล้ว
บอกทศิ ทางการออกเสียงแลว้ แจกคาโดยเปลี่ยนพยัญชนะต้น
สมควร นอ้ ยเสนา (2549 : 21 - 22) ได้สรุปความสาคัญของการอ่าน ดังนี้ ความสาคัญของการ
อ่านจะเปน็ ส่ิงท่ชี ่วยมนุษยด์ ารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อยา่ งมีความสขุ น้ัน มี 4 ประการ คือ
1. ช่วยในการเรียนรู้

2. เสรมิ สร้างประสบการณ์ใหม่ๆ
3. ช่วยให้เกดิ ความเพลิดเพลิน
4. องค์ประกอบพ้ืนฐาน
ผู้อา่ นจะประสบความสาเรจ็ ทางการอา่ นมากหรอื น้อยขึ้นอยกู่ บั สง่ิ ต่อไปนี้ วฒุ ิภาวะ อายุ เพศ ประสบการณ์
สมรรถวิสยั ความบกพรอ่ งทางร่างกาย และการจงู ใจ

4. การเขยี น
การสอนเขยี นในระดบั ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1-6 มจี ดุ มุ่งหมายเพ่ือใหม้ ที ักษะในการเขียน เขียนได้

ถูกต้องสวยงาม สอ่ื ความหมายได้ สามารถคิดลาดบั เหตกุ ารณเ์ กยี่ วกับเร่ืองท่ีเขียน มนี สิ ัยทีด่ ใี นการเขียน รัก
การเขยี นและนาการเขยี นไปใชป้ ระโยชนใ์ นชีวติ ประจาวัน

สานกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา (2550 : ภาคผนวก 2/8) ได้ใหค้ วามหมายการ
เขียนวา่ หมายถึง การสื่อสารดว้ ยตัวอักษรเพอื่ ถ่ายทอดความรู้ ความคดิ อารมณ์ ความรูส้ กึ ประสบการณ์
ขา่ วสารและจติ นาการ โดยการใชภ้ าษาทถี่ กู ตอ้ งเหมาะสมตามหลกั การใชภ้ าษาและ
ตรงตามเจตนาของผู้เขียน

นงเยาว์ เลย่ี มขนุ ทด (2547 : 22) ได้ให้ความหมายของการเขยี น คอื กระบวนการคดิ ที่
ถ่ายทอดออกมาเป็นลายลกั ษณอ์ กั ษรและถูกต้องตามหลกั เกณฑ์ทางภาษาสามารถส่ือสารกนั ได้

การเขยี นสะกดคามีความสาคญั ตอ่ การดารงชวี ติ ประจาวัน และความเปน็ อยูข่ องบุคคลใน
ปัจจบุ นั เพราะการเขียนสะกดคาทถี่ ูกจะชว่ ยใหผ้ เู้ ขยี น อา่ นและเขียนหนงั สือไดถ้ ูกต้อง
สอื่ ความหมายได้แจม่ ชดั และมีความมน่ั ใจในการเขียนทาใหผ้ ลงานท่ีเขยี นมคี ณุ ค่าเพ่มิ ข้ึน นอกจากนยี้ งั อาจจะ
เปน็ ตวั บง่ ช้ีถึงคุณภาพการศกึ ษาของบคุ คลนน้ั อีกด้วย

4.1 ปัญหาของการเขยี น
การเขียนสะกดคา เปน็ ปัญหาทส่ี าคัญของนกั เรยี นและครสู อนภาษาไทย

เป็นอย่างมากและจากการศกึ ษาพบวา่ สาเหตขุ องการเขียนสะกดคาผดิ มี ดังนี้
พทิ ซ์เจรลั ด์ (Fitzgerald. 1964 : 245) กล่าวถึงสาเหตุที่ทาใหน้ ักเรียนมีปัญหาในการ

เขียนสะกดคาผดิ วา่ มีสาเหตมุ าจากนกั เรียนไมส่ นใจต่อการสะกดคาและวิธีสอนของครไู มม่ ปี ระสิทธภิ าพ เช่น
ครูไม่เตรยี มการสอน นักเรยี นไมไ่ ด้รับการสอนสะกดคาทถ่ี ูกตอ้ ง ไม่รู้วิธีการสะกดคา

จากการศึกษาเอกสารและงานวจิ ยั เก่ยี วกบั การเขียนสะกดคาผิดเกดิ จากหลายสาเหตุ สรปุ ได้
ดังน้ี

1. ความบกพรอ่ งจากสภาพร่างกายของนกั เรยี น เชน่ สุขภาพไมส่ มบูรณ์ มคี วามบกพรอ่ ง
ดา้ นการไดย้ ิน การพดู และสายตา

2. นกั เรยี นขาดการสงั เกต ไมพ่ จิ ารณาถงึ หลกั เกณฑก์ ารเขยี นให้รอบคอบ
3. นักเรียนพบเหน็ คาท่ีเขียนผดิ บอ่ ยจากสือ่ มวลชนต่าง ๆ
4. วุฒิภาวะและสมองของนักเรียน
5. นักเรยี นเขียนสะกดคาโดยเทียบเสียงกบั ภาษาถน่ิ ทาให้เขยี นสะกดผดิ
6. นกั เรียนไมร่ ู้หลกั ภาษาไทย ไมท่ ราบความหมายของคา
7. ครขู าดความเอาใจใสใ่ นการตรวจงานเขยี นของนักเรียน เม่ือพบคาผดิ ไม่แกไ้ ขให้
8. ครไู ม่ตระหนกั ถงึ ความสาคญั ในการสอนให้นักเรยี นเขียนสะกดคา จึงทาให้นักเรียนไมไ่ ด้
รับแรงจงู ใจในการฝึกเขียนสะกดคา

4.2 ความสาคญั ของการสอนเขยี น
การเขียนนับว่าเป็นส่ิงจาเป็นอย่างยิ่งในการสื่อความหมาย อย่างหนึ่งของมนุษย์สามารถ

ตรวจสอบได้และคงทนถาวร ซึง่ มีนักการศกึ ษาได้ใหค้ วามสาคญั ของการเขียนไวด้ ังนี้
เรวดี อาษานาม (2537 : 151) ได้สรุปความสาคัญของการเขียนไว้ ดังนี้ คือเด็กท่ีมี

ความสามารถในการอ่านและประสบความสาเร็จในการเขยี นมาก จะมจี นิ ตนาการในการใชภ้ าษาไดด้ เี พราะได้

มีโอกาสเรียนรู้แนวทางการใช้คาต่างๆ จากสานวนภาษาในหนังสือตา่ งๆที่อ่านพบ โดยปกตคิ รูมักสอนให้เด็ก
อ่านได้ก่อนจึงให้เขียนคาท่ีตนอ่านได้แต่ทักษะในการเขียนเป็นทักษะที่สลับซับซ้อนกว่าทักษะอื่น เด็กจึง
จาเป็นต้องมีความพร้อมโดยฝึกทักษะการฟัง การพูด และการอ่านได้ก่อนแล้วจึงเริ่มทักษะการเขียน ใน

ระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1-2 ม่งุ เน้นทกั ษะพื้นฐานในการเขียนและยั่วยุใหเ้ ขียนดว้ ยความสนุกสนาน ไมเ่ บื่อ
โดยจัดกิจกรรมต่างๆ ใหฝ้ กึ จากง่ายไปหายากและใหส้ ัมพันธ์กับการพดู และอ่าน

4.3 จดุ มุง่ หมายของการเขยี น

วรรณี โสมประยรู (วมิ ลรตั น์ สนุ ทรโรจน์. 2549 : 103 ) ได้อธิบาย จุดม่งุ หมาย
การสอนภาษาไทย ดงั น้ี

1. เพื่อคัดลายมือหรือเขียนให้ถูกต้องตามลักษณะตัวอักษรให้เป็นระเบียบชัดเจน

หรอื เข้าใจง่าย
2. เพือ่ เปน็ การฝกึ ทกั ษะการเขยี นให้พัฒนางอกงามขึน้ ตามควรแก่วัย
3. เพ่ือใหก้ ารเขยี นสะกดคาถูกต้องตามอกั ขรวิธี เขียนวรรคตอนถูกตอ้ ง

4. เพอื่ ให้รู้จกั ภาษาเขยี นที่ดี มคี ุณภาพเหมาะสมกบั บคุ คลและโอกาส
5. เพื่อให้สามารถรวบรวมและลาดับความคิด แล้วจดบันทึก สรุปและย่อใจความ
เรอ่ื งที่อ่านหรอื ฟังได้

6. เพอื่ ให้สามารถสังเกตจดจาและเลือกเฟ้นถอ้ ยคาหรอื สานวนโวหาร
ใหถ้ กู ต้อง

7. เพอ่ื ให้มที ักษะการเขยี นประเภทต่างๆ

8. เพื่อเป็นการใช้เวลาวา่ งใหเ้ กดิ ประโยชน์
9. เพือ่ ใหเ้ ห็นความสาคญั และคุณคา่ ของการเขียนว่ามปี ระโยชน์
ตอ่ การประกอบอาชพี การศึกษาหาความรแู้ ละอื่นๆ

5. แบบฝกึ ทักษะ
5.1 ความหมายและความสาคญั ของแบบฝกึ ทักษะ
สวุ ิทย์ มูลคา และสนุ ันทา สนุ ทรประเสรฐิ (2550 : 53) ไดส้ รุปความสาคัญ

ของแบบฝกึ ทกั ษะวา่ แบบฝึกทกั ษะมคี วามสาคัญต่อผู้เรียนไม่น้อย ในการท่ีจะช่วยส่งเสรมิ สร้างทกั ษะให้กับ
ผูเ้ รยี นได้เกดิ การเรียนรู้และเข้าใจได้เร็วขน้ึ ชัดเจนข้ึน กวา้ งขวางข้นึ ทาให้การสอน
ของครแู ละการเรียนของนักเรยี นประสบผลสาเร็จอย่างมปี ระสิทธิภาพ

อกนิษฐ์ กรไกร (2549 : 18) ได้สรุปความหมายของแบบฝึกทักษะไว้ว่า แบบฝึก-ทักษะ
หมายถึง ส่อื ที่สร้างข้ึนเพ่อื เสริมสร้างทกั ษะให้แก่นักเรียน มีลักษณะเปน็ แบบฝึกหัดที่มีกิจกรรมใหน้ กั เรยี นทา
โดยมีการทบทวนส่ิงท่ีเรียนผ่านมาแล้วจากบทเรียน ให้เกิดความเข้าใจและเป็นการฝึกทักษะ และแก้ไขใน

จดุ บกพรอ่ งเพอื่ ให้นกั เรียนได้มีความสามารถและศกั ยภาพยิ่งขึน้ เขา้ ใจบทเรยี นดขี ้นึ
ผู้รายงานได้ศึกษาความหมายและความสาคญั ของแบบฝกึ ทักษะแล้วพอสรุปได้ว่า แบบฝึก

ทักษะ หมายถึง ชุดฝึกทักษะท่ีครูสร้างขึ้นให้นักเรียนได้ทบทวนเน้ือหาท่ีเรยี นรู้มาแล้วเพ่ือสร้างความเข้าใจ

และช่วยเพิ่มทักษะความชานาญและฝกึ กระบวนการคิดให้มากข้ึน ทาใหค้ รูทราบความเข้าใจของนักเรียนท่ีมี
ตอ่ บทเรียน ฝึกให้เด็กมีความเชือ่ ม่ันและสามารถประเมินผลของตนเองได้ ท้งั ยังมีประโยชน์ช่วยลดภาระการ

สอนของครู และยงั ช่วยพฒั นาตามความแตกตา่ ง
5.2 ลกั ษณะของแบบฝกึ ทด่ี ี
แบบฝกึ เป็นเครอื่ งมอื ทสี่ าคัญทจี่ ะช่วยเสรมิ สร้างทกั ษะให้แก่ผูเ้ รียน การสรา้ งแบบฝกึ ใหม้ ี

ประสิทธภิ าพจงึ จาเป็นจะต้องศึกษาองคป์ ระกอบและลกั ษณะของแบบฝกึ เพอื่ ใชใ้ หเ้ หมาะสมกบั ระดบั
ความสามารถของนกั เรยี น

สุวิทย์ มูลคา และสนุ นั ทา สนุ ทรประเสรฐิ (2550 : 60 -61) ไดส้ รุปลกั ษณะของแบบ

ฝึกที่ดีควรคานึงถึงหลักจิตวิทยาการเรียนรู้ผู้เรียนได้ศึกษาด้วยตนเอง ความครอบคลุม ความสอดคล้องกับ
เนอื้ หา รปู แบบน่าสนใจ และคาส่ังชดั เจน และไดส้ รปุ ลกั ษณะของแบบฝึกไวด้ ังน้ี

1. ใช้หลกั จติ วิทยา

2. สานวนภาษาไทย
3. ให้ความหมายต่อชวี ิต
4. คดิ ไดเ้ รว็ และสนุก

5. ปลุกความน่าสนใจ
6. เหมาะสมกับวัยและความสามารถ
7. อาจศึกษาไดด้ ว้ ยตนเอง

และไดแ้ นะนาให้ผสู้ รา้ งแบบฝกึ ใหย้ ดึ ลักษณะของแบบฝกึ ไวด้ ังน้ี
1. แบบฝึกหัดทด่ี ีควรมีความชัดเจนทั้งคาสั่งและวิธีทาคาสั่งหรือตัวอย่างวิธที าที่ใช้

ไมค่ วรยาวเกนิ ไป เพราะจะทาใหเ้ ข้าใจยาก ควรปรับให้งา่ ยเหมาะสมกบั ผู้ใชท้ ้งั นี้เพ่อื ให้นกั เรียนสามารถศึกษา

ดว้ ยตนเองได้ถา้ ตอ้ งการ
2. แบบฝึกหัดที่ดีควรมีความหมายต่อผู้เรียนและตรงตามจุดมุ่งหมายของการฝึก

ลงทุนนอ้ ยใช้ไดน้ านๆ และทันสมยั อยู่เสมอ

3. ภาษาและภาพที่ใช้ในแบบฝึกหัดควรเหมาะสมกับวัยและพื้นฐานความรู้ของ
ผเู้ รียน

4. แบบฝึกหัดท่ีดีควรแยกฝึกเป็นเรื่องๆ แต่ละเรื่องไม่ควรยาวเกินไปแต่ควรมี

กิจกรรมหลายรูปแบบ เพื่อเร้าให้นักเรียนเกดิ ความสนใจและไม่น่าเบื่อหน่ายในการทา และเพ่ือฝึกทักษะใด
ทักษะหน่งึ จนเกดิ ความชานาญ

5. แบบฝึกหัดที่ดีควรมีทั้งแบบกาหนดให้โดยเสรี การเลือกใช้คา ข้อความหรือ

รปู ภาพในแบบฝึกหดั ควรเป็นสิ่งทนี่ ักเรียนคุ้นเคยและตรงกบั ความในใจของนักเรยี นเพ่ือว่าแบบฝึกหัดที่สร้าง
ข้ึนจะได้ก่อให้เกดิ ความเพลดิ เพลินและพอใจแกผ่ ู้ใช้ ซ่ึงตรงกับหลกั การเรียนรู้ได้เรว็ ในการกระทาทีก่ ่อให้เกิด
ความพงึ พอใจ

6. แบบฝึกหัดท่ีดีควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียน ได้ศึกษาด้วยตนเองให้รู้จักค้นคว้า
รวบรวมสง่ิ ที่พบเห็นบอ่ ยๆ หรือท่ีตนเองเคยใชจ้ ะทาใหน้ ักเรยี นสนใจเรือ่ งน้นั ๆ มากย่งิ ขนึ้ และจะรู้จักความร้ใู น
ชีวิตประจาวนั อย่างถูกตอ้ ง มีหลกั เกณฑแ์ ละมองเห็นว่าสิง่ ท่ีเขาไดฝ้ ึกฝนนน้ั

มคี วามหมายตอ่ เขาตลอดไป
7. แบบฝึกหัดท่ีดีควรจะสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล ผู้เรียนแต่ละคนจะมี

ความแตกตา่ งกนั หลายๆด้าน เช่น ความต้องการ ความสนใจ ความพร้อม ระดับสตปิ ัญญาและประสบการณ์

ฯลฯ ฉะน้ันการทาแบบฝึกหัดแต่ละเร่ือง ควรจัดทาให้มากพอและมีทุกระดับ ต้ังแต่ง่าย ปานกลาง จนถึง
ระดับคอ่ นข้างยาก เพอื่ วา่ ทัง้ เด็กเก่ง กลาง และอ่อนจะไดเ้ ลือกทาได้ตามความสามารถ ทั้งน้เี พอ่ื ใหเ้ ดก็ ทุกคน
ประสบความสาเร็จ ในการทาแบบฝกึ หัด

8. แบบฝกึ หัดที่ดีควรสามารถเร้าความสนใจของนักเรียนได้ตั้งแต่หน้าปกไปจนถึง
หนา้ สดุ ท้าย

9. แบบฝึกหัดที่ดคี วรได้รับการปรับปรุงไปคู่กับหนังสือแบบเรยี นอยู่เสมอและควร
ใชไ้ ด้ดีท้ังในและนอกบทเรียน

10. แบบฝึกหัดที่ดีควรเป็นแบบที่สามารถประเมิน และจาแนกความเจริญงอกงาม
ของเด็กไดด้ ว้ ย

ถวลั ย์ มาศจรัส และคณะ (2550 : 20) ไดอ้ ธบิ ายถงึ ลกั ษณะของแบบฝกึ หดั และแบบฝกึ
ทักษะท่ีดไี วว้ ่า ดงั นี้

1. จดุ ประสงค์
1.1 จดุ ประสงค์ชดั เจน
1.2 สอดคลอ้ งกับการพัฒนาทักษะตามสาระการเรียนรู้ และกระบวนการ

เรียนรู้ของกล่มุ สาระการเรยี นรู้
2. เนอื้ หา
2.1 ถูกต้องตามหลกั วิชา
2.2 ใชภ้ าษาเหมาะสม
2.3 มคี าอธิบายและคาสัง่ ทช่ี ดั เจน ง่ายต่อการปฏบิ ัตติ าม
2.4 สามารถพัฒนาทกั ษะการเรยี นรู้ นาผูเ้ รยี นสกู่ ารสรุปความคดิ รวบยอด

และหลกั การสาคัญของกลมุ่ สาระการเรยี นรู้
2.5 เป็นไปตามลาดับขั้นตอนการเรียนร้สู อดคล้องกับวิธีการเรียนรู้ และ

ความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล
2.6 มีคาถามและกิจกรรมที่ท้าทายส่งเสริมทักษะกระบวนการเรียนรู้ของ

ธรรมชาตวิ ชิ า
2.7 มีกลยุทธ์การนาเสนอและการตั้งคาถามท่ีชัดเจน น่าสนใจปฏิบัติได้

สามารถให้ขอ้ มูลย้อนกลบั เพ่ือปรบั ปรงุ การเรยี นไดอ้ ย่างต่อเนือ่ ง
ผู้รายงานพอสรุปลักษณะของแบบฝึกท่ีดีได้ว่า แบบฝึกที่ดีและมีประสิทธิภาพ ช่วยทาให้นักเรียน

ประสบความสาเร็จในการฝึกทกั ษะไดเ้ ปน็ อย่างดี และแบบฝึกที่ดีเปรยี บเสมอื นผู้ช่วยทีส่ าคัญของครู ทาให้ครู
ลดภาระการสอนลงได้ ทาใหผ้ ู้เรยี นพฒั นาความสามารถของตนเพอื่ ความม่ันใจ
ในการเรียนได้เป็นอย่างดี ดังน้ันครูยังจาเป็นต้องศึกษาเทคนิควิธีการ ข้ันตอนในการฝึกทักษะต่างๆ มี
ประสิทธภิ าพที่สดุ อันสง่ ผลใหผ้ ู้เรยี นมกี ารพัฒนาทักษะตา่ งๆ ไดอ้ ย่างเต็มทแ่ี ละแบบฝึกท่ดี นี ้ันจะตอ้ งคานงึ ถึง
องค์ประกอบหลายๆด้าน ตรงตามเนอื้ หา เหมาะสมกับวัย เวลา ความสามารถ ความสนใจ และสภาพปญั หา
ของผเู้ รียน

5.3 ประโยชน์ของแบบฝึกทักษะ

วรรณภา ไชยวรรณ (2549 : 41) ได้อธิบายถึงประโยชน์ของแบบฝึกทักษะไว้ว่า
แบบฝกึ ช่วยในการฝึกหรอื เสรมิ ทกั ษะทางภาษา การใช้ภาษาของนกั เรยี นสามารถนามาฝกึ ซา้ ทบทวนบทเรียน
และผูเ้ รียนสามารถนาไปทบทวนด้วยตนเอง จดจาเน้ือหาได้คงทน มเี จตคตทิ ด่ี ตี ่อการเรยี นภาษาไทย แบบฝึก
ถือเปน็ อปุ กรณก์ ารสอนอยา่ งหนง่ึ ซ่ึงสามารถทดสอบความรู้ วดั ผลการเรยี นหรือประเมนิ ผลการเรยี นกอ่ นและ
หลังเรียนได้เป็นอยา่ งดี ทาให้ครูทราบปญั หาขอ้ บกพร่องของผู้เรยี นเฉพาะจดุ ได้ นกั เรยี นทราบความก้าวหน้า
ของตนเอง ครูประหยัดเวลา ค่าใช้จ่ายและลดภาระได้มาก

ถวลั ย์ มาศจรัส และคณะ (2550 : 21) ไดอ้ ธิบายถึงประโยชน์ของแบบฝกึ หดั และแบบ
ฝกึ ทักษะเป็นสอ่ื การเรยี นรู้ ทม่ี ุ่งเนน้ ในเรอื่ งของการแก้ปญั หา และการพัฒนาในการจัดการเรยี นรใู้ นหนว่ ยการ
เรยี นร้แู ละสามารถเรียนรู้ได้ โดยสรปุ ได้ดังน้ี

1. เปน็ สอื่ การเรยี นรู้ เพอ่ื พัฒนาการเรียนรใู้ หแ้ กผ่ ูเ้ รยี น
2. ผเู้ รยี นมสี อื่ สาหรับฝึกทักษะดา้ นการอ่าน การคดิ การคดิ วเิ คราะห์
และการเขียน
3. เป็นสื่อการเรยี นรู้สาหรบั การแก้ปัญหาในการเรียนรูข้ องผู้เรยี น
4. พัฒนาความรู้ ทักษะ และเจตคตดิ ้านต่างๆ ของผ้เู รยี น
จากประโยชน์ของแบบฝึกที่กล่าวมา สรุปได้ว่า แบบฝึกที่ดีและมีประสิทธิภาพช่วยทาให้นักเรียน
ประสบผลสาเร็จ ในการฝกึ ทักษะได้เปน็ อย่างดี
สุวิทย์ มูลคา และสนุ ันทา สนุ ทรประเสรฐิ (2550 : 53 - 54) ไดส้ รปุ ประโยชน์
ของแบบฝกึ ทักษะได้ดงั น้ี
1. ทาใหเ้ ขา้ ใจบทเรยี นดขี ้นึ เพราะเป็นเครื่องอานวยประโยชน์ในการเรียนรู้
2. ทาให้ครทู ราบความเขา้ ใจของนักเรียนที่มตี อ่ บทเรียน
3. ฝึกให้เด็กมคี วามเชือ่ ม่ันและสามารถประเมนิ ผลของตนเองได้
4. ฝึกให้เดก็ ทางานตามลาพัง โดยมีความรับผดิ ชอบในงานทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย
5. ช่วยลดภาระครู
6. ชว่ ยให้เด็กฝกึ ฝนได้อยา่ งเตม็ ที่
7. ช่วยพฒั นาตามความแตกต่างระหว่างบคุ คล
8. ช่วยเสรมิ ใหท้ กั ษะคงทน ซึง่ ลักษณะการฝึกเพอื่ ช่วยให้เกดิ ผลดงั กลา่ วนัน้ ไดแ้ ก่

8.1 ฝกึ ทนั ทหี ลงั จากทีเ่ ดก็ ไดเ้ รียนรใู้ นเร่ืองนัน้ ๆ
8.2 ฝึกซา้ หลายๆคร้งั
8.3 เนน้ เฉพาะในเร่อื งที่ผิด
9. เป็นเครื่องมือวดั ผลการเรยี นหลังจากจบบทเรียนในแต่ละคร้ัง
10. ใช้เปน็ แนวทางเพือ่ ทบทวนดว้ ยตนเอง
11. ชว่ ยให้ครมู องเหน็ จดุ เดน่ หรือปัญหาต่างๆของเด็กได้ชดั เจน
12. ประหยดั ค่าใชจ้ ่ายแรงงานและเวลาของครู
ผู้รายงาน ได้ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับประโยชน์ของแบบฝึกทักษะแล้ว พอสรุปได้ว่าแบบฝึกมี
ความสาคญั และจาเปน็ ต่อการเรียนทกั ษะทางภาษามาก เพราะจะชว่ ยให้ผเู้ รียนเขา้ ใจบทเรยี นไดด้ ขี นึ้ สามารถ
จดจาเนือ้ หาในบทเรยี นและคาศัพทต์ ่างๆ ไดค้ งทน ทาให้เกิดความสนุกสนาน ในขณะเรียนทราความกา้ วหน้า

ของตนเอง และครมู องเห็นจุดเด่นหรือปัญหาต่างๆ ของเด็กได้ชัดเจน สามารถนาแบบฝึกทักษะมาทบทวน
เน้ือหาเดิมดว้ ยตนเอง ตลอดจนสามารถทราบขอ้ บกพร่องของนักเรียนและนาไปปรับปรุงได้ทันทว่ งที ซึ่งจะมี

ผลทาให้ครปู ระหยดั เวลา ประหยัดค่าใชจ้ ่าย
5.4 หลักการสรา้ งแบบฝึก
วรรณภา ไชยวรรณ (2549 : 45) ได้สรุปหลักการสร้างแบบฝกึ ทักษะดงั นี้

1. ความใกล้ชิด คือ ถ้าใช้ส่ิงเร้าและการตอบสนองเกิดข้ึนในเวลาใกล้เคียงกันจะ
สรา้ งความพอใจใหก้ บั ผเู้ รยี น

2. การฝกึ คือ การให้นกั เรยี นไดท้ าซ้า ๆ เพ่ือช่วยสรา้ งความรู้ ความเข้าใจ

ท่แี ม่นยา
3. กฎแห่งผล คือ การที่ผ้เู รียนได้ทราบผลการทางานของตนด้วยการเฉลยคาตอบ

จะชว่ ยใหผ้ เู้ รยี นทราบข้อบกพรอ่ งเพื่อปรับปรุงแก้ไขและเป็นการสร้างความพอใจแก่ผู้เรยี น

4. การจูงใจ คือ การสร้างแบบฝึกเรียงลาดับ จากแบบฝึกง่ายและสั้นไปสู่แบบฝึก
เร่ืองที่ยากและยาวข้นึ ควรมีภาพประกอบและมหี ลายรส หลายรูปแบบ

สุวิทย์ มูลคา และสนุ นั ทา สุนทรประเสรฐิ (2550 : 54 - 55) ไดส้ รุปหลักในการสร้าง

แบบฝึกวา่ ตอ้ งมกี ารกาหนดเงอ่ื นไขท่จี ะช่วยให้ผู้เรยี นทุกคนสามารถผา่ นลาดบั ขนั้ ตอนของ
ทกุ หนว่ ยการเรียนได้ ถ้านกั เรียนได้เรียนตามอัตราการเรียนของตนก็จะทาให้นักเรยี นประสบความสาเร็จมาก
ข้ึน

5.5 ส่วนประกอบของแบบฝึก
สวุ ิทย์ มลู คา และสุนันทา สุนทรประเสรฐิ (2550 : 61 - 62) ไดก้ าหนดส่วนประกอบ

ของแบบฝึกทกั ษะได้ดังนี้

1. คมู่ อื การใช้แบบฝึก เป็นเอกสารสาคัญประกอบการใช้แบบฝึก วา่ ใช้
เพื่ออะไรและมีวิธีใช้อย่างไร เช่น ใช้เป็นงานฝึกท้ายบทเรียน ใช้เป็นการบ้าน หรือใช้สอนซ่อมเสริม
ประกอบด้วย

- สว่ นประกอบของแบบฝึก จะระบุว่าในแบบฝกึ ชุดนี้ มแี บบฝกึ ทง้ั หมดกช่ี ดุ
อะไรบา้ ง และมสี ่วนประกอบอื่นๆ หรอื ไม่ เชน่ แบบทดสอบ หรือแบบบนั ทกึ ผล
การประเมิน

- สิ่งทคี่ รหู รือนักเรียนต้องเตรียม (ถา้ มี) จะเป็นการบอกให้ครูหรอื นักเรียน
เตรียมตัวใหพ้ รอ้ มล่วงหนา้ กอ่ นเรยี น

- จดุ ประสงค์ในการใชแ้ บบฝกึ

- ขัน้ ตอนในการใช้ บอกขอ้ ตามลาดบั การใช้ และอาจเขียน
ในรูปแบบของแนวการสอนหรอื แผนการสอนจะชดั เจนยงิ่ ขนึ้

- เฉลยแบบฝกึ ในแตล่ ะชดุ

2. แบบฝกึ เป็นสอ่ื ทส่ี ร้างข้นึ เพ่ือให้ผเู้ รียนฝึกทกั ษะ เพื่อให้เกิดการเรยี นรู้
ที่ถาวรควรมีองคป์ ระกอบ ดงั น้ี

- ช่ือชุดฝกึ ในแต่ละชุดยอ่ ย

- จดุ ประสงค์
- คาส่ัง
- ตัวอย่าง

- ชุดฝกึ
- ภาพประกอบ

- ขอ้ ทดสอบกอ่ นและหลังเรียน
- แบบประเมนิ บันทึกผลการใช้
5.6 รูปแบบการสร้างแบบฝกึ

สวุ ทิ ย์ มลู คา และสนุ ันทา สุนทรประเสรฐิ (2550 : 62 - 64) ไดเ้ สนอแนะรูปแบบการ
สรา้ งแบบฝึก โดยอธิบายว่าการสร้างแบบฝกึ รปู แบบกเ็ ป็นสง่ิ สาคัญในการที่จะจูงใจใหผ้ เู้ รียน
ไดท้ ดลองปฏิบัติแบบฝึกจึงควรมีรูปแบบที่หลากหลาย มใิ ชใ่ ช้แบบเดียวจะเกิดความจาเจน่าเบ่ือหน่าย ไม่ท้า

ทายใหอ้ ยากรอู้ ยากลองจงึ ขอเสนอรปู แบบที่เป็นหลกั ใหญ่ไวก้ ่อน ส่วนผสู้ ร้างจะนาไปประยกุ ต์ใช้ ปรบั เปล่ยี น
รูปแบบอืน่ ๆ กแ็ ลว้ แตเ่ ทคนิคของแต่ละคน ซ่ึงจะเรยี งลาดบั จากงา่ ยไปหายาก ดังนี้

1. แบบถกู ผดิ เป็นแบบฝึกทเ่ี ป็นประโยคบอกเล่า ให้ผ้เู รียนอ่านแล้วใสเ่ คร่ืองหมาย

ถกู หรือผิดตามดลุ ยพนิ จิ ของผ้เู รียน
2. แบบจบั คู่ เป็นแบบฝกึ ทีป่ ระกอบดว้ ยตวั คาถามหรือตวั ปัญหา ซ่ึงเป็น

ตวั ยนื ไวใ้ นสดมภซ์ ้ายมือ โดยมที ่วี า่ งไว้หนา้ ข้อเพื่อใหผ้ ู้เรียนเลือกหาคาตอบท่ีกาหนดไว้ในสดมภข์ วามอื มาจบั คู่

กับคาถามให้สอดคลอ้ งกัน โดยใช้หมายเลขหรือรหัสคาตอบไปวางไว้ทวี่ ่างหน้าข้อความหรอื จะใชก้ ารโยงเสน้ ก็
ได้

3. แบบเติมคาหรอื เติมข้อความ เป็นแบบฝึกทีม่ ีข้อความไวใ้ ห้ แต่จะเวน้ ช่องว่างไว้

ให้ผู้เรียนเติมคาหรือข้อความท่ีขาดหายไป ซึ่งคาหรือข้อความที่นามาเติมอาจให้เติมอย่างอิสระหรอื กาหนด
ตัวเลอื กให้เติมกไ็ ด้

4. แบบหมายตวั เลือก เป็นแบบฝกึ เชิงแบบทดสอบ โดยจะมี 2 ส่วน คือส่วนทเี่ ป็น

คาถาม ซึ่งจะต้องเป็นประโยคคาถามที่สมบูรณ์ ชัดเจนไม่คลุมเครือ ส่วนท่ี 2 เป็นตัวเลือก คือคาตอบซ่ึง
อาจจะมี 3-5 ตวั เลอื กก็ได้ ตัวเลอื กทง้ั หมดจะมีตวั เลือกท่ีถูกทีส่ ุดเพียงตัวเลอื กเดียวส่วนท่ีเหลอื เปน็ ตัวลวง

5. แบบอัตนยั คอื ความเรียงเปน็ แบบฝึกที่ตัวคาถาม ผู้เรียนต้องเขยี นบรรยายตอบ

อย่างเสรีตามความรคู้ วามสามารถ โดยไม่จากัดคาตอบ แต่กาจัดคาตอบ แตจ่ ากัดในเรื่องเวลา อาจใช้คาถาม
ในรปู ทัว่ ๆ ไป หรอื เปน็ คาสง่ั ใหเ้ ขียนเรอ่ื งราวต่างๆ กไ็ ด้

5.7 ขน้ั ตอนการสร้างแบบฝึก

สวุ ทิ ย์ มลู คา และสุนนั ทา สุนทรประเสรฐิ (2550 : 65) ไดเ้ สนอแนะ
การสร้างแบบฝึกว่า ข้นั ตอนการสรา้ งแบบฝึก จะคลา้ ยคลงึ กับการสร้างนวตั กรรมทางการศึกษาประเภทอื่นๆ
ซึง่ มรี ายละเอยี ดดงั นี้

1. วเิ คราะหป์ ญั หาและสาเหตจุ ากการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน เช่น
- ปญั หาทเี่ กิดข้ึนในขณะทาการสอน
- ปญั หาการผ่านจุดประสงคข์ องนกั เรียน

- ผลจากการสงั เกตพฤติกรรมทไ่ี มพ่ งึ ประสงค์
- ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน
2. ศึกษารายละเอยี ดในหลกั สตู ร เพ่อื วเิ คราะห์เน้อื หา จุดประสงค์และกจิ กรรม

3. พิจารณาแนวทางแกป้ ัญหาที่เกดิ ขึ้นจากข้อ 1 โดยการสรา้ งแบบฝกึ
และเลอื กเน้ือหาในส่วนทจ่ี ะสร้างแบบฝึกน้ัน วา่ จะทาเรอื่ งใดบา้ ง กาหนดเป็นโครงเร่อื งไว้

4. ศกึ ษารปู แบบของการสร้างแบบฝกึ จากเอกสารตวั อย่าง

5. ออกแบบชุดฝกึ แตล่ ะชดุ ใหม้ รี ปู แบบทห่ี ลากหลายน่าสนใจ
6. ลงมอื สรา้ งแบบฝกึ ในแต่ละชดุ พรอ้ มทงั้ ขอ้ ทดสอบกอ่ นและหลังเรยี นให้

สอดคลอ้ งกบั เนือ้ หาและจุดประสงค์การเรียนรู้
7. สง่ ใหผ้ ้เู ช่ียวชาญตรวจสอบ
8. นาไปทดลองใช้ แล้วบันทกึ ผลเพ่ือนามาปรบั ปรงุ แก้ไขสว่ นทบ่ี กพรอ่ ง

9. ปรับปรงุ จนมีประสทิ ธิภาพตามเกณฑท์ ่ตี ้ังไว้
10. นาไปใชจ้ รงิ และเผยแพร่ตอ่ ไป
ถวลั ย์ มาศจรัส และคณะ (2550 : 21) ไดอ้ ธบิ ายขนั้ ตอนการสร้างแบบฝึกทกั ษะ ดงั น้ี

1. ศึกษาเน้อื หาสาระสาหรบั การจัดทาแบบฝึกหดั แบบฝกึ ทกั ษะ
2. วเิ คราะหเ์ น้ือหาสาระโดยละเอยี ดเพื่อกาหนดจุดประสงคใ์ นการจัดทา
3. ออกแบบการจดั ทาแบบฝกึ หัด แบบฝึกทกั ษะตามจดุ ประสงค์

4. สรา้ งแบบฝกึ หดั และแบบฝึกทกั ษะและสว่ นประกอบอนื่ ๆ เชน่
4.1 แบบทดสอบกอ่ นฝกึ
4.2 บัตรคาสงั่

4.3 ขนั้ ตอนกจิ กรรมท่ผี เู้ รียนต้องปฏบิ ตั ิ
4.4 แบบทดสอบหลงั ฝกึ
5. นาแบบฝกึ หดั แบบฝกึ ทักษะไปใชใ้ นการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้

6. ปรบั ปรงุ พฒั นาให้สมบรู ณ์
5.8 แนวคดิ หลักการท่ีเก่ยี วข้องกบั แบบฝึกทักษะ

สวุ ิทย์ มลู คา และสุนนั ทา สนุ ทรประเสริฐ (2550 : 54 - 55) ไดอ้ ธบิ ายแนวคิด

และหลักการสรา้ งแบบฝกึ วา่ การศึกษาในเรื่องจิตวทิ ยาการเรียนรู้ เป็นสิง่ ทผ่ี สู้ ร้างแบบฝกึ มิควรละเลยเพราะ
การเรยี นรจู้ ะเกดิ ข้นึ ไดต้ อ้ งขึน้ อยกู่ บั ปรากฏการณ์ของจติ และพฤติกรรมทีต่ อบสนองนานาประการ โดยอาศัย
กระบวนการทเ่ี หมาะสมและเปน็ วิธีทด่ี ที สี่ ุด การศึกษาทฤษฎีการเรยี นรู้

จากข้อมลู ท่ีนักจติ วทิ ยาไดท้ าการค้นพบ และทดลองไว้แล้ว สาหรับการสร้างแบบฝึกในสว่ นทมี่ ีความสมั พนั ธ์
กนั ดังน้ี

1. ทฤษฎีการลองถกู ลองผดิ ของธอรน์ ไดค์ ซ่ึงไดส้ รุปเป็นกฎเกณฑ์

การเรียนรู้ 3 ประการ คือ
1.1 กฎความพรอ้ ม หมายถงึ การเรียนรจู้ ะเกดิ ขึ้นเมอ่ื บคุ คลพรอ้ ม

ทจ่ี ะกระทา

1.2 กฎผลท่ไี ดร้ บั หมายถงึ การเรยี นรทู้ เี่ กิดข้ึนเพราะบุคคลกระทาซ้าง่าย
1.3 กฎการฝกึ หัด หมายถงึ การฝกึ หดั ให้บคุ คลทากจิ กรรมตา่ งๆ น้นั ผฝู้ ึก
จะตอ้ งควบคมุ และจัดสภาพการใหส้ อดคล้องกบั วตั ถปุ ระสงค์ของตนเอง บคุ คลจะถูกกาหนดลกั ษณะ

พฤตกิ รรมที่แสดงออก
ดงั น้นั ผูส้ ร้างแบบฝกึ จงึ จะตอ้ งกาหนดกิจกรรมตลอดจนคาส่ังต่างๆ ใบแบบฝกึ

ใหผ้ ฝู้ กึ ไดแ้ สดงพฤติกรรมสอดคล้องกบั จุดประสงคท์ ผ่ี สู้ รา้ งต้องการ

2. ทฤษฎพี ฤติกรรมนิยมของสกนิ เนอร์ ซึง่ มีความเชอื่ วา่ สามารถควบคมุ บุคคลให้
ทาตามความประสงคห์ รอื แนวทางที่กาหนดโดยไม่ต้องคานึงถึงความรสู้ ึกทางดา้ นจิตใจของบคุ คลผนู้ ้ันว่าจะ
รู้สึกนกึ คิดอยา่ งไร เขาจึงไดท้ ดลองและสรุปว่าบุคคลสามารถเรียนรู้ด้วยการกระทาโดยมกี ารเสรมิ แรงเป็น

ตวั การ เปน็ บคุ คลตอบสนองการเรา้ ของสง่ิ เร้าควบคู่กนั ในชว่ งเวลาทเ่ี หมาะสม สง่ิ เร้านน้ั จะรกั ษาระดบั หรือ
เพ่มิ การตอบสนองให้เขม้ ขึ้น

3. วธิ ีการสอนของกาเย่ ซงึ่ มคี วามเห็นว่าการเรียนรมู้ ลี าดบั ขั้น และผู้เรยี นจะตอ้ ง
เรียนรเู้ นือ้ หาท่งี า่ ยไปหายาก การสร้างแบบฝกึ จงึ ควรคานงึ ถึงการฝกึ ตามลาดบั จากง่ายไปหายาก

4. แนวคดิ ของบลมู ซ่ึงกล่าวถึงธรรมชาตขิ องผเู้ รยี นแตล่ ะคนวา่ มคี วามแตกตา่ งกัน
ผเู้ รยี นสามารถเรยี นรเู้ น้อื หาในหนว่ ยยอ่ ยต่างๆ ไดโ้ ดยใชเ้ วลาเรียนท่ีแตกต่างกัน

6. งานวจิ ัยท่เี กยี่ วขอ้ ง
6 .1 งานวิจยั ในประเทศ
ลุนา ศรกี ุตา (2553 : บทคดั ยอ่ ) ไดพ้ ัฒนาทกั ษะการอ่านและเขียนคาพื้นฐานภาษาไทย

โดยใช้แบบฝึกทักษะสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย ของนักเรยี นชั้นประถมศึกษาปที ่ี 2/1 โรงเรยี นชุมชนบา้ นหวั
ขัว สานักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาขอนแก่นเขต 2 พบวา่ นักเรียนมที กั ษะการอา่ นและเขียนดขี ้นึ
ซึง่ สง่ ผลใหน้ กั เรยี นมผี ลสัมฤทธิท์ างการเรยี นด้านทกั ษะการอ่านและเขียนคาพน้ื ฐานสงู ขน้ึ มคี า่ เฉลย่ี รอ้ ยละ
86.47

สมใจ นาคศรสี ังข์ (2549 : บทคดั ย่อ) ได้ศกึ ษาค้นคว้า เรอ่ื ง การสร้างแบบฝกึ การอ่านและ
เขยี นสะกดคาจากแหลง่ เรยี นรู้ในท้องถน่ิ ชัน้ ประถมศึกษาทปี่ ี 4 โรงเรยี นตลาดเกาะแรต สานกั งานเขตพนื้ ที่
การศึกษานครปฐมเขต 2 ในปกี ารศึกษา 2549 จานวน 21 คน พบวา่ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสงู ข้ึนกว่า
เป้าหมายทีก่ าหนดไว้ แบบฝกึ ทักษะมปี ระสิทธิภาพ 83.98/84.46 และผลการประเมินความพงึ พอใจของ
นกั เรยี นท่มี ตี ่อแบบฝึกทกั ษะโดยภาพรวมอยใู่ นระดับ มากทสี่ ุด

ผลการศึกษางานวิจัยในประเทศแสดงใหเ้ ห็นความสาคญั ของการจัดกิจกรรมการพฒั นาการอ่าน
และการเขียนสะกดคา เพราะแบบฝกึ ทกั ษะเป็นสง่ิ สาคัญในการพัฒนาการเรยี นรู้
ทาใหก้ ารจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนประสบความสาเรจ็ ตามจุดมุ่งหมายของหลกั สตู รอย่างมปี ระสิทธิภาพ

6 .2 งานวิจยั ตา่ งประเทศ
การเ์ ซยี (Garcia. 1998 : 3459-A) ไดศ้ กึ ษาเปรียบเทยี บผลสมั ฤทธใิ์ นการอา่ นเขยี นสะกด

คาจากรูปแบบการสอนสะกดคา 2 รปู แบบ คอื การสอนสะกดคาแบบใหน้ ักเรยี นฝกึ เองกบั การสะกดคาตาม
หนังสือ โดยครแู ตล่ ะกลมุ่ จะสอนโดยใช้โปรแกรมการสอนอา่ นเหมือนกัน และการสอนเขยี นทุกวนั ตามเวลาท่ี
กาหนดไว้ การสอบใชก้ ารสอบก่อนเรยี นและหลงั เรียน ผลการศกึ ษาพบวา่ การสอนสะกดคาแบบให้นกั เรียน
ฝึกเองมผี ลดกี วา่ การสอนสะกดคาตามตาราในดา้ นการอา่ นคาศัพท์และการวิเคราะห์คาศัพท์ นกั เรียนทงั้ สอง
กลุม่ มีความแตกต่างกันในเรื่องจานวนคาศัพท์ทใี่ ชใ้ นระดบั ทสี่ งู กวา่ ประถมหนึง่ ความยาวของประโยคและ
จานวนหนว่ ยคานอกจากนีน้ กั เรยี นสะกดคาโดยนักเรียนคิดเอง มีการอ่านทบทวน การเขยี นคา วิเคราะห์คาที่
ใช้ ตลอดจนมกี ารช่วยเหลือหรือซกั ถามเพอ่ื น เพ่อื ชว่ ยในการสะกดคาบ่อยครัง้ มากกวา่ นักเรยี นอีกกลมุ่ หนง่ึ
และนักเรยี นทเี่ รียนสะกดคาจากตาราใช้พจนานกุ รมบ่อยครง้ั มากกวา่ นกั เรยี นอกี กลมุ่

จากการศกึ ษาคน้ ควา้ งานวิจยั ที่เก่ยี วขอ้ งท่ีกล่าวมาข้างต้น ทาใหท้ ราบว่าความสามารถในการอ่าน
และการเขียนของนักเรียน เกดิ จากวธิ สี อนของครแู ละสอ่ื การเรียนการสอนทช่ี ว่ ยให้นกั เรยี นเกดิ การเรยี นร้ไู ด้ดี
ย่งิ ขนึ้ ผูร้ ายงานได้ศึกษาค้นควา้ เพ่ือพฒั นาแบบฝกึ ทกั ษะการอา่ นและการเขยี นสะกดคา ให้นักเรยี นไดฝ้ ึก
ทกั ษะการอา่ นและการเขียนให้มปี ระสิทธภิ าพย่ิงข้ึน

บทที่ 3
วิธีดาเนินการ

การศึกษาในคร้ังน้ี ผรู้ ายงานได้ดาเนนิ การรายงานการพฒั นาทักษะการอา่ นและ
เขยี นคาพืน้ ฐานภาษาไทย โดยใช้แบบฝกึ ทักษะสาระภาษาไทย ของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 6 ปี

การศึกษา 2563 ซึ่งสรปุ ได้ดังน้ี
1. ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง
2. เคร่อื งมอื ทีใ่ ช้ในการศกึ ษา

3. แบบแผนการทดลอง และขน้ั ตอนการทดลอง
4. การสร้างและการหาคณุ ภาพเครอื่ งมอื ท่ีใช้ในการศกึ ษา
5. การวิเคราะหข์ ้อมลู

6. สถิติทใ่ี ชใ้ นการวเิ คราะห์ขอ้ มลู
1. ประชากรและกล่มุ ตัวอย่าง

1.1 ประชากรที่ใช้ในการวิจยั ในครั้งน้ี ได้แก่ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 ภาคเรียนที่ 1 ปี

การศึกษา 2563 โรงเรียนบ้านท่าเรอื อาเภอถลาง สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภเู กต็ จานวน
1 ห้องเรียน มนี กั เรียนทั้งหมด 22 คน

1.2 กลุ่มตัวอย่างท่ีใชใ้ นการวิจัยในครั้งน้ี ไดแ้ ก่ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 ภาคเรียนท่ี 1 ปี

การศึกษา 2563 โรงเรยี นบา้ นท่าเรอื อาเภอถลาง สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาภเู ก็ต จานวน
5 คน ซ่งึ ได้มาโดยการเลือกสุ่มแบบเจาะจง (Purposive Sampling)

2. เครือ่ งมือท่ใี ชใ้ นการวจิ ยั
2.1 แบบฝกึ ทกั ษะการอ่านและการเขียนคาพน้ื ฐานภาษาไทย ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 ที่ผรู้ ายงาน

สร้างข้นึ เพ่ือใชฝ้ กึ ปฏบิ ตั ดิ า้ นการอา่ นและการเขียน จานวน 15 ชดุ

2.2 แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธท์ิ างด้านการอ่านและการเขยี นคาพนื้ ฐาน กลมุ่ สาระการเรียนรู้
ภาษาไทย ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6 เปน็ แบบทดสอบแบบปรนยั ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลอื ก จานวน 30 ข้อ

3. แบบแผนการทดลองและขั้นตอนการทดลอง
3.1 แบบแผนการวิจยั
การวิจัยครง้ั น้ี ไดใ้ ชแ้ บบแผนการวจิ ยั แบบ One Group Pre-test Post-test Design

เสริมพงศ์ วงศก์ มลาไสย (2548 : 57) โดยมีลักษณะการวิจัย ดงั ตารางท่ี 1
ตารางที่ 1 แบบแผนการวิจยั แบบ One Group Pre-test Post-test Design

กลุม่ Pre-test Treatment Post-test

ทดลอง T1 X T2

T1 หมายถงึ การทดสอบกอ่ นเรียน (Pre-test )
X หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ดว้ ยแผนการจัดการเรียนรู้

การอา่ นและการเขียนสะกดคา โดยใช้แบบฝกึ ทักษะ

T2 หมายถึง การทดสอบหลงั เรยี น (Post-test)
3.2 ข้ันตอนการดาเนนิ การ

การดาเนินการวจิ ัยในครง้ั นี้ ผรู้ ายงานได้ดาเนนิ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ เรอ่ื งรายงานการ
พฒั นาทักษะการอา่ นและเขียนคาพ้นื ฐานภาษาไทย โดยใชแ้ บบฝกึ ทักษะสาระโรงเรียนบ้านทา่ เรอื อาเภอ
ถลาง สานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาภูเก็ต จานวน 5 คน ใช้เวลาในการดาเนนิ การ 15

ชั่วโมง ไม่รวมเวลาทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรยี น โดยมลี าดับขน้ั ตอนการดาเนนิ การ ดงั น้ี
3.2.1 ทดสอบกอ่ นเรียน (Pre-test ) ดว้ ยแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น เรือ่ ง

การอา่ นและเขยี นคาพ้ืนฐานภาษาไทย ทีผ่ รู้ ายงานสร้างข้นึ จานวน 30 ขอ้ กับนักเรียนกลมุ่ ตวั อยา่ ง

3.2.2 ดาเนนิ การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ตามแผนการจัดการเรียนรู้ ระหว่างการจัดกจิ กรรม
การเรียนการสอนไดบ้ ันทึกคะแนนการทากจิ กรรมกลมุ่ และการทาแบบฝกึ ทกั ษะไว้ทุกคร้ัง

3.2.3 เมอื่ ดาเนนิ การสอนครบทกุ แผนแลว้ ทาการทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลงั

เรยี น (Post-test) กบั นกั เรยี นกลุ่มตวั อย่าง โดยใชแ้ บบทดสอบชดุ เดมิ กับก่อนเรยี น

4. การสรา้ งและการหาคณุ ภาพเครอ่ื งมอื

ผรู้ ายงาน ได้ดาเนินการสรา้ งเครื่องมือในการศกึ ษาตามลาดบั ดงั น้ี

1. การสรา้ งแบบฝึกเสรมิ ทักษะการอ่านและเขยี นคาพนื้ ฐานภาษาไทย ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 6

ผูร้ ายงานไดด้ าเนินการสรา้ งเครอื่ งมอื ในการวจิ ยั ดงั น้ี

1.1 ศึกษาสภาพปญั หาการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ กล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย โรงเรียน

บ้านท่าเรอื อาเภอถลาง สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาภูเก็ต

1.2 ศึกษาหลกั สูตร คน้ คว้าขอ้ มูล คู่มือการจัดการเรยี นรู้ หลักสตู รโรงเรยี นบา้ นทา่ เรอื

พุทธศกั ราช 2563 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 เกี่ยวกับการจดั ทาหนว่ ย

การเรียนรู้

1.3 ศกึ ษาการสรา้ งแบบฝกึ ทกั ษะการอ่านและเขยี นคาพน้ื ฐานภาษาไทย กล่มุ สาระการ

เรยี นรู้ภาษาไทย ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6 จากเอกสารต่าง ๆ

1.4 ดาเนนิ การสร้างแบบฝึกทักษะการอา่ นและเขยี นคาพ้ืนฐานภาษาไทย สาระการเรียนรู้

ภาษาไทย ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6 จานวน 15 ชดุ

1.5 สรา้ งแบบประเมนิ แบบฝกึ ทกั ษะการอ่านและการเขยี นสะกดคา

กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 โดยถามครอบคลุมองคป์ ระกอบของแบบฝกึ ทักษะ 5

ด้านคอื

1) จดุ ประสงค์

2) เน้ือหา

3) รูปแบบ

4) การใชภ้ าษา

5) การวดั และประเมนิ ผล

1.6 นาแบบฝกึ ทกั ษะพร้อมแบบประเมนิ ที่สรา้ งขึ้น เสนอตอ่ ผ้เู ช่ยี วชาญ 3 ท่าน

เพอื่ ตรวจสอบความเหมาะสมของแบบฝกึ ทกั ษะ ความถูกต้องของภาษา ซง่ึ ผู้เชีย่ วชาญประกอบดว้ ย

1. นางพรศรี คลายสวุ รรณ ครูชานาญการพเิ ศษ

โรงเรียนบา้ นท่าเรอื อาเภอถลาง สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาภเู ก็ต

2. นางสาวกฤตยพร สกลุ จันทร์ ครู ชานาญการพิเศษ

โรงเรยี นบ้านท่าเรือ อาเภอถลาง สานักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาภูเก็ต

3. นางนุชนารถ เกือ้ กลู ครู ชานาญการพิเศษ

โรงเรียนบ้านทา่ เรือ อาเภอถลาง สานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาภูเก็ต

1.7 นาแบบฝกึ ทักษะไปทดลองใช้กับนกั เรียนที่ไม่ใชก่ ลมุ่ ตัวอย่าง คอื นกั เรยี นชป้ั ระถม

ศกึ ษาปที ี่ 6 ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2563 โรงเรียนบ้านท่าเรอื จานวน 5 คน เพอื่ ดเู วลาทใ่ี ช้ ความ

เหมาะสมของแบบฝกึ ทกั ษะ เร้าความสนใจของนักเรียน สอดคล้องกบั เนื้อหา

1.8 นาแบบฝกึ ทกั ษะการอา่ นและการเขยี นคาพื้นฐานภาษาไทยท่ีปรบั ปรงุ แก้ไขแลว้ นาไป

ทดลองกบั กลมุ่ ตัวอย่าง คือ นกั เรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 โรงเรียน

บา้ นท่าเรือ อาเภอถลาง สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาภูเกต็ จานวน 5 คน

2. การสร้างแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน เรอ่ื ง การอ่านและการเขียนคาพ้นื ฐานภาษาไทย

ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 โดยใช้แบบฝกึ ทกั ษะ ผรู้ ายงานได้ดาเนินการสร้างตามลาดับ ดงั น้ี

2.1 ศกึ ษาแนวคิด ทฤษฎี หลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการสร้างแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ทิ างการ

เรยี นแบบอิงเกณฑข์ องบญุ ชม ศรีสะอาด (2545 : 89-90)

2.2 ศกึ ษาหลกั สตู ร คู่มอื การวดั ผลและประเมนิ ผลตามหลกั สูตรโรงเรยี นบา้ นท่าเรือ

พทุ ธศักราช 2563 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551

2.3 กาหนดเนอื้ หาและกาหนดจุดประสงคก์ ารเรียนรู้ใหส้ อดคลอ้ งกบั เนอ้ื หาสาระ

2.4 สร้างแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน แบบปรนัย ชนดิ เลอื กตอบ 4 ตัวเลือก

จานวน 30 ขอ้

2.5 นาแบบทดสอบทสี่ รา้ งขนึ้ เสนอผเู้ ชยี่ วชาญชุดเดมิ กบั ข้อ (1.6) เพอ่ื พิจารณาความ

เทย่ี งตรงของเน้อื หา ความเหมาะสมของภาษาท่ใี ช้ และประเมนิ ความสอดคลอ้ งระหว่างแบบทดสอบกบั

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ โดยมีเกณฑ์การให้คะแนน ดังน้ี

ให้คะแนน +1 เมื่อแนใ่ จว่า ข้อสอบนั้นวัดตรงตามจุดประสงค์

ใหค้ ะแนน 0 เม่อื ไม่แน่ใจว่า ข้อสอบนั้นวดั ตรงตามจดุ ประสงค์

ใหค้ ะแนน -1 เมือ่ แน่ใจว่า ข้อสอบนั้นวัดไมต่ รงตามจดุ ประสงค์

2.6 นาคะแนนผลการพิจารณาของผู้เชย่ี วชาญ มาหาค่าดชั นีความสอดคล้องระหว่างคาถาม

กบั จุดประสงค์โดยใชส้ ูตรของโรวเิ นลลีและแฮมแบลตัน (Rowinelli and Hambleton 1977, อา้ งใน บุญชม

ศรีสะอาด 2545 : 64-65)

IOC =  R
N

IOC = ค่าดชั นีความสอดคล้องระหวา่ งข้อคาถามกบั จุดประสงค์

 R = ผลรวมของคะแนนความคดิ เหน็ ของผูเ้ ชี่ยวชาญ

N = จานวนผู้เช่ียวชาญ
หลกั เกณฑก์ ารคดั เลอื กขอ้ คาถามมีดงั นี้

1. ขอ้ คาถามท่มี ีคา่ IOC ต้ังแต่ 0.5-1.00 คดั เลอื กไว้ใช้ได้
2. ข้อคาถามทีม่ คี า่ IOC ต่ากวา่ 0.5 ควรพิจารณาปรับปรงุ หรอื ตัดทง้ิ

2.7 นาแบบทดสอบไปทดลองใช้ (Try-Out) กับนักเรียนที่ไมใ่ ชก่ ลุม่ ตัวอย่าง คือ นักเรียนชน้ั
ประถมศึกษาปที ่ี 6 ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2563 โรงเรยี นบ้านทา่ เรือ อาเภอถลาง สานักงานเขตพน้ื ท่ี

การศกึ ษาประถมศึกษาภูเกต็ จานวน 5 คน

5. การวิเคราะห์ขอ้ มลู

การศกึ ษาคร้ังน้ี ผู้ศกึ ษาทาการวิเคราะห์ข้อมลู โดยวิเคราะห์ข้อมูลดงั นี้
1. วเิ คราะหห์ าค่าเฉล่ยี และรอ้ ยละของคะแนนเฉลี่ยทีไ่ ด้จากการทาแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิท์ างการ
เรียนกอ่ นเรียนและหลงั เรยี น

2. วเิ คราะหห์ าประสทิ ธภิ าพของแบบฝึกทกั ษะ
3. วเิ คราะหห์ าคะแนนเฉล่ยี และรอ้ ยละของคะแนนเฉลี่ยทีไ่ ดจ้ ากการประเมนิ การทาแบบฝกึ ทกั ษะ
ระหวา่ งเรยี น

6. สถิติที่ใชใ้ นการวิเคราะห์ขอ้ มูล
6.1 การวเิ คราะหแ์ บบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน สถิติที่ใช้ ได้แก่
6.1.1 รอ้ ยละ (Percentage ) ใช้สูตร P ของบุญชม ศรีสะอาด ( 2545 : 104 )

สตู ร P  f 100

N

เมื่อ P แทน ร้อยละ
f แทน ความถีท่ ่ีต้องการแปลงให้เปน็ รอ้ ยละ
N แทน จานวนความถี่ทง้ั หมด

6.1.2 คา่ เฉล่ีย (Arithmetic Mean) ของคะแนน โดยใช้สตู รของ บุญชม ศรสี ะอาด

( 2545 : 105 )

สูตร X   X
N

เม่ือ X แทน คา่ เฉล่ยี

 X แทน ผลรวมของคะแนนท้ังหมดในกล่มุ

N แทน จานวนนักเรยี น
6.1.3 ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน ( Standard Deviation) โดยใชส้ ูตร S.D. ของ

บญุ ชม ศรสี ะอาด ( 2545 : 106 )

 สูตร
S.D.  N X 2  X 2

NN 1

เมอื่ S.D. แทน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

x2 แทน คะแนนแตล่ ะตัว

N แทน จานวนคะแนนในกลุม่

 แทน ผลรวม

บทท่ี 4
ผลการวิเคราะหข์ อ้ มูล

รายงานการพฒั นาทกั ษะการอ่านและเขยี นคาพื้นฐานภาษาไทย โดยใชแ้ บบฝึกทกั ษะ
สาระภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 6 ในครัง้ นี้ ผู้รายงานไดเ้ สนอผลการวิเคราะห์ข้อมลู ตามลาดบั ข้นั ดงั น้ี

1. สัญลกั ษณท์ ีใ่ ชใ้ นการนาเสนอผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู
2. ลาดับขั้นในการเสนอผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู
3. ผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู

1. สญั ลักษณ์ทีใ่ ช้ในการนาเสนอผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล
ผู้รายงานได้กาหนดสญั ลกั ษณท์ ีใ่ ชใ้ นการแปลความหมายผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ดงั นี้
N แทน จานวนกลุ่มเป้าหมาย
X แทน คะแนนเฉลย่ี

 X แทน ผลรวมของคะแนนทงั้ หมด

2. ลาดบั ขนั้ ในการเสนอผลการวิเคราะหข์ ้อมูล
ในการวเิ คราะห์ข้อมลู ผู้รายงานได้ดาเนินการตามลาดบั ขน้ั ตอน ดงั นี้
ตอนท่ี 1 วเิ คราะห์หาประสทิ ธภิ าพของแบบฝกึ ทกั ษะการอา่ นและการเขียนคาพื้นฐาน กลมุ่

สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 ตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80
ตอนที่ 2 การเปรียบเทียบผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนด้านการอา่ นและการเขียนสะกดคา กอ่ น

เรียนและหลังเรียน โดยใช้แบบฝกึ ทักษะ

3. ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล
ตอนที่ 1 การหาประสทิ ธิภาพของแบบฝกึ ทกั ษะการอา่ นและการเขียนคาพืน้ ฐาน กลมุ่ สาระการเรียนรู้

ภาษาไทย ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 6 ตามเกณฑ์ 80/80 ปรากฏผลดังตารางที่ 6
ตารางที่ 2 คะแนนเฉลย่ี และรอ้ ยละ เพื่อหาประสทิ ธภิ าพของแบบฝกึ ทกั ษะการอ่านและเขียนคาพ้นื ฐาน
ของนักเรียนชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 6

แบบฝึกทกั ษะ คะแนนเตม็ X รอ้ ยละ
แบบฝกึ ทกั ษะที่ 1 10 96.00
แบบฝกึ ทกั ษะท่ี 2 10 9.6 88.00
แบบฝกึ ทกั ษะที่ 3 10 8.8 88.00
แบบฝกึ ทักษะท่ี 4 10 89.00
แบบฝกึ ทกั ษะที่ 5 10 8.8 84.00
แบบฝกึ ทกั ษะที่ 6 10 8.9 84.00
แบบฝกึ ทักษะท่ี 7 10 8.4 84.00
แบบฝกึ ทักษะที่ 8 10 88.00
8.4
8.4

8.8

แบบฝกึ ทกั ษะ คะแนนเตม็ X ร้อยละ
แบบฝกึ ทักษะที่ 9 10 90.00
แบบฝกึ ทกั ษะที่ 10 10 9.0 82.00
แบบฝกึ ทักษะที่ 11 10 8.2 84.00
แบบฝกึ ทักษะท่ี 12 10 8.4 84.00
แบบฝกึ ทักษะที่ 13 10 86.00
แบบฝกึ ทักษะที่ 14 10 8.4 86.00
แบบฝกึ ทกั ษะท่ี 15 10 8.6 86.00
150 86.40
รวม 8.6
8.6
129.60

จากตารางที่ 2 แบบฝกึ ทกั ษะการอ่านและเขียนคาพ้ืนฐานภาษาไทย ของนักเรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6
จานวน 15 แบบฝึก มคี ะแนนเฉลย่ี 8.64 คิดเป็นรอ้ ยละ 86.40 ดังน้ัน แบบฝึกทักษะทสี่ รา้ งข้นึ มี
ประสิทธภิ าพเปน็ ไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 ทตี่ ง้ั ไว้

ตอนท่ี 2 วิเคราะห์หาความแตกต่างระหวา่ งคะแนนแบบทดสอบกอ่ นเรยี นและหลงั เรียน

ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู ปรากฎดังในตารางที่ 3 ดงั นี้

ตารางที่ 3 ตารางแสดงคะแนนเฉลี่ยและค่ารอ้ ยละของคะแนนทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรียน

คะแนน จานวน คะแนนเต็ม คะแนนรวม คะแนนเฉลี่ย รอ้ ยละ
นักเรยี น

ก่อนเรยี น 5 30 52 10.40 34.67

หลงั เรยี น 5 30 127 25.40 84.67

จากตารางที่ 3 พบวา่ คะแนนเฉล่ียความสามารถในการอ่านและเขียนคาพ้นื ฐานภาษาไทยจากการ
ทดสอบกอ่ นเรียน เทา่ กับ 10.40 คิดเปน็ รอ้ ยละ 34.67 ทดสอบหลงั เรยี น เทา่ กบั 25.40 คิดเป็น
รอ้ ยละ 84.67 แสดงให้เห็นว่านักเรียนมีความกา้ วหน้าในการอ่านการเขียนคาในภาษาไทยสูงขึน้

บทที่ 5
สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
การศึกษาในครัง้ นี้ ผรู้ ายงานได้พัฒนาทักษะการอ่านและเขยี นคาพ้ืนฐานภาษาไทย โดยใชแ้ บบฝึก
ทกั ษะสาระภาษาไทย ของนกั เรียนชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 6 ซึ่งสรุปได้ดงั น้ี
1. วัตถปุ ระสงคข์ องการศึกษา
2. ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง
3. เครื่องมอื ทีใ่ ช้ในการศกึ ษา
4. การดาเนินการศึกษา
5. สรปุ ผลการศกึ ษา
6. อภปิ รายผล
7. ข้อเสนอแนะ

1. วัตถุประสงค์ของการศกึ ษา
1.1 เพ่อื พฒั นาผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นและความสามารถในการอา่ นและเขยี นคาพ้นื ฐาน ภาษาไทย

ของนักเรียนชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 6
1.2 เพ่ือพฒั นาแบบฝกึ ทักษะสาระภาษาไทย ให้มีประสิทธภิ าพตามเกณฑม์ าตรฐาน 80/80

2. ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง
2.1 ประชากร ทีใ่ ช้ในการศึกษา ได้แก่ นกั เรียนชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 6 โรงเรียนบ้านท่าเรอื อาเภอ

ถลาง สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาภเู ก็ต ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2563 จานวน 1
หอ้ งเรียน จานวน 22 คน

2.2 กลมุ่ ตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ นักเรยี นชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา
2563 โรงเรียนบา้ นท่าเรือ อาเภอถลาง สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาภูเก็ตจานวน 5 คน
ซ่งึ ได้มาโดยการเลอื กส่มุ แบบเจาะจง (Purposive Sampling)

3. เครื่องมอื ที่ใชใ้ นการศกึ ษา
เครอื่ งมอื ทีใ่ ชใ้ นการศึกษาคร้งั น้ี ประกอบด้วย
3.1 แบบฝึกทกั ษะสาระภาษาไทย ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 จานวน 15 แบบฝกึ
3.2 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนด้านการอา่ นและเขยี นคาพื้นฐานภาษาไทย

ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 6 เป็นแบบปรนัย ชนดิ เลือกตอบ 4 ตวั เลอื ก จานวน 30 ขอ้
3.3 แผนการจดั การเรยี นรู้ จานวน 15 แผน ๆ ละ 1 ช่วั โมง ใชเ้ วลา 15 ชัว่ โมง

4. การดาเนนิ การศกึ ษา การดาเนินการในคร้งั นี้ กลมุ่ ตวั อย่างท่ใี ช้ในการศกึ ษาได้มาจากการเลือกสมุ่ แบบ
เจาะจง (Purposive Sampling) ผู้รายงานได้เป็นผูด้ าเนินการเองโดยมีขัน้ ตอนในการดาเนินการดังน้ี

4.1 นาแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนดา้ นการอ่านและเขียนคาพนื้ ฐาน ไปทดสอบกอ่ นเรียน
(Pretest) กนั นักเรยี น จานวน 5 คน

4.2 จดั กจิ กรรมการเรียนการสอนโดยใชแ้ บบฝึกทกั ษะภาษาไทย ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6 จานวน
15 แบบฝกึ

4.3 ทดสอบวัดผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนด้านการอา่ นและเขยี นคาพืน้ ฐาน(Posttest) ด้วยแบบทดสอบ
วัดผลสมั ฤทธิ์ชดุ เดียวกับแบบทดสอบก่อนเรยี น

5. สรปุ ผลการศกึ ษา
การพัฒนาผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนและความสามารถในการอ่านและเขียนคาพืน้ ฐาน ภาษาไทย ของ

นกั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 มีประสิทธภิ าพ 86.40/84.67 ซงึ่ กว่าเกณฑ์ 80/80
ท่ีต้ังไว้

6. อภปิ รายผล
จากการรายงาน ผลการพฒั นาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นและความสามารถในการอา่ นและเขียนคา

พืน้ ฐาน ภาษาไทย ของนกั เรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 พบประเด็นสาคญั ทค่ี วรนามาอภปิ รายผล ดังน้ี
6.1 แบบฝกึ ทักษะการอ่านและการเขียนสะกดคา กลมุ่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี

ที่ 6 ท่ผี ู้รายงานสรา้ งขนึ้ จานวน 15 แบบฝึก มปี ระสทิ ธภิ าพ 86.40/84.67 หมายถึงนักเรียนได้คะแนน
เฉลยี่ จากการทาแบบฝึกทกั ษะการอ่านและการเขยี นคาพนื้ ฐานทัง้ 15 แบบฝกึ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 86.40 และ

ได้คะแนนเฉลย่ี จากการทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนดา้ นการอ่านและการเขยี นคาพื้นฐาน คิด
เปน็ รอ้ ยละ 84.67 แสดงว่าการจัดกจิ กรรมพฒั นาทกั ษะการอ่านและการเขียนคาพ้ืนฐาน กลมุ่ สาระการ
เรียนร้ภู าษาไทย ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6

โดยใช้แบบฝกึ ทักษะ ทผ่ี ูร้ ายงานสร้างขึ้นมีประสทิ ธภิ าพสงู กว่าเกณฑม์ าตรฐาน 80/80 ทตี่ ้ังไว้
อาจเนื่องมาจากการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนโดยใชแ้ บบฝึกทักษะทผ่ี ู้รายงานไดศ้ ึกษาวธิ กี ารและขัน้ ตอน
การสรา้ งแบบฝกึ ทกั ษะ ไดผ้ า่ นการตรวจ แนะนา แก้ไขขอ้ บกพรอ่ งและประเมินความถูกต้องเหมาะสมจาก

ผู้เชยี่ วชาญ ผา่ นการทดลองใชเ้ พ่อื ปรบั ปรุงแกไ้ ขใหส้ มบรู ณก์ ่อนนาไปใช้จรงิ กบั กลมุ่ ตัวอย่าง ซง่ึ การทาแบบ
ฝึกทกั ษะช่วยใหน้ กั เรียนเข้าใจเนอ้ื หาได้ดีขึ้น จดจาความรไู้ ดน้ านและคงทน รวมท้ังพฒั นาความรทู้ กั ษะและ
เจตคติดา้ นต่าง ๆ ของนักเรยี นใหด้ ียิง่ ขน้ึ ผ้รู ายงานได้สร้างแบบฝกึ ทกั ษะการอ่านและการเขียนสะกดคา กลมุ่

สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 6 ตามแนวทางการสรา้ งแบบฝกึ ทักษะทจี่ ัดไวอ้ ย่างเปน็ ระบบ
โดยเริม่ ศกึ ษาตง้ั แตป่ ัญหาและความตอ้ งการ วิเคราะหเ์ นอื้ หาและทกั ษะทเี่ ป็นปัญหาออกเปน็ เนือ้ หายอ่ ยแล้ว
ดาเนนิ การสร้างตามหลกั การสร้างแบบฝึกทกั ษะท่ดี ี ของสุวทิ ย์ มูลคา และสนุ นั ทา สุนทรประเสริฐ (2550 :

60-61) กล่าววา่ แบบฝกึ ทักษะที่ดีควรคานงึ ถึงหลักจติ วทิ ยา การเรียนรู้ ผเู้ รียนได้ศกึ ษาดว้ ยตนเอง ความ
ครอบคลมุ ความสอดคลอ้ งกบั เนือ้ หา รูปแบบน่าสนใจ และคาสัง่ ชดั เจน และ ฐานยิ า อมรพลงั (2548:
78) ได้เสนอลกั ษณะทดี่ ขี องแบบฝกึ คอื แบบฝกึ ทเี่ รยี งลาดับจากง่ายไปหายาก มรี ปู ภาพประกอบ มรี ปู แบบ

น่าสนใจ หลากหลายรปู แบบ โดยอาศัยหลกั จติ วทิ ยาในการจัดกจิ กรรมหรอื จดั แบบฝกึ ให้สนุก ใช้ภาษา
เหมาะสมกับวัย มกี ารจดั กิจกรรมการฝกึ ที่เรา้ ความสนใจ และแบบฝึกน้ันควรทนั สมยั อยูเ่ สมอ แบบฝึกทักษะ
การอ่านและการเขียนสะกดคา กลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 6 ที่ผรู้ ายงานสรา้ งขึน้

เปน็ แบบฝกึ ทักษะท่ีใช้รว่ มกบั แผนการจดั การเรยี นรทู้ ไ่ี ด้นาเอากิจกรรมต่าง ๆ มาจดั ใหส้ อดคลอ้ งกันในแต่ละ
แผน ซงึ่ ประกอบดว้ ยเกม ภาพ เพื่อถ่ายทอดเนือ้ หาสาระในลกั ษณะทจ่ี ะสง่ เสรมิ สนบั สนุนซ่ึงกนั และกัน โดย
ถอื วา่ ส่ือแตล่ ะอยา่ งให้คณุ คา่ แตกต่างกัน จากเหตผุ ลดงั กล่าวแบบฝึกทกั ษะการอ่านและการเขียนสะกดคา

กล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6 จึงเปน็ แบบฝึกทกั ษะการอา่ นและการเขียนสะกดคาทม่ี ี
ประสทิ ธิภาพซ่ึงสอดคล้องกบั งานวจิ ัยของ ลนุ า ศรีกุตา (2553 : บทคัดยอ่ ) ไดพ้ ฒั นาทกั ษะการอ่านและ
เขียนคาพืน้ ฐานภาษาไทย โดยใชแ้ บบฝึกทักษะสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ของนกั เรียนชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี

2/1 โรงเรียนชมุ ชนบา้ นหวั ขวั สานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาขอนแกน่ เขต 2 พบว่านักเรียนมี
ทักษะการอา่ นและเขยี นดขี ้นึ ซ่ึงส่งผลใหน้ กั เรยี นมผี ลสมั ฤทธิท์ างการเรียนดา้ นทักษะการอา่ นและเขยี นคา
พื้นฐานสงู ข้นึ มคี ่าเฉล่ยี รอ้ ยละ 86.47 เช่นเดียวกบั สมใจ นาคศรีสงั ข์ (2549 : บทคดั ย่อ) ได้ศึกษา

ค้นควา้ เร่ือง การสร้างแบบฝกึ ทกั ษะการอ่านและเขยี นสะกดคาจากแหลง่ เรียนรู้ในท้องถ่ิน ชั้นประถมศกึ ษาปี
ท่ี 4 โรงเรยี นตลาดเกาะแรต สานกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษานครปฐม เขต 2 ในปีการศึกษา 2549 จานวน
21 คน พบวา่ ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนสงู ขน้ึ กว่าเปา้ หมายทกี่ าหนดไว้ แบบฝกึ ทกั ษะมปี ระสทิ ธภิ าพ

83.98/84.46 ผลการประเมินความ
พึงพอใจของนักเรยี นทม่ี ีต่อแบบฝกึ ทักษะโดยภาพรวมอย่ใู นระดับมากทส่ี ดุ

6.2 คะแนนแบบทดสอบหลงั เรียนสงู กวา่ คะแนนทดสอบกอ่ นเรียนอยา่ งมนี ยั สาคัญทางสถติ ทิ ่ีระดบั

.05 ซ่ึงเปน็ ตามสมมตฐิ านทตี่ ้ังไว้ แสดงใหเ้ ห็นวา่ การจดั การเรียนรูโ้ ดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านและการเขียน
สะกดคา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 ทาใหผ้ ลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน ดา้ นการอ่าน
และการเขียนสะกดคาสูงขึน้ อาจเน่อื งมาจาก

6.2.1 แบบฝกึ ทกั ษะการอา่ นและการเขยี นคาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย ชัน้
ประถมศกึ ษาปที ่ี 2 ทสี่ รา้ งขน้ึ มปี ระสทิ ธิภาพสงู กว่าเกณฑ์ 80/80 เป็นสาเหตหุ นึ่งทท่ี าใหน้ ักเรียนมี
ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นหลงั เรยี นสูงข้นึ
ได้เรียนรทู้ ลี ะนอ้ ยตามข้ันตอนทคี่ รเู ตรยี มการสอนมาแล้ว ทาใหน้ กั เรียนมกี าลังใจทีจ่ ะเรยี นรเู้ น้อื หาใหมต่ ่อไป

6.2.2 การใชแ้ บบฝกึ ทักษะการอ่านและการเขยี นคาพื้นฐษนในการจดั กจิ กรรม
การเรียนรู้ ไดย้ ดึ หลักการสอนตามความต้องการของผู้เรยี น ใหผ้ เู้ รียนมสี ว่ นร่วมในกิจกรรมการเรียนต้งั แตเ่ ร่ิม
ฟงั อ่าน พูด และเขียน ตลอดถงึ ขนั้ ตรวจผลงานด้วยตนเอง นกั เรยี นเรยี นรู้ด้วยความเขา้ ใจ ใชส้ อ่ื ทเ่ี ปน็
รูปธรรมมากกวา่ สง่ิ ที่เป็นนามธรรมและประกอบกจิ กรรมดว้ ยตนเอง ทางานรว่ มกบั เพ่อื นเปน็ กลุ่มเพือ่ ใชใ้ ห้
นกั เรียนเข้าใจการเรียนรแู้ บบประสบการณ์ เนื้อหาเหมาะสมกบั ความสามารถในการรับร้ขู องนกั เรยี นระดบั
ประถมศึกษา ทาใหน้ กั เรียนเกิดความเพลดิ เพลนิ สนุกสนาน มคี วามกระตือรือร้นทีจ่ ะเรียน เพราะการเรยี น
การสอนทนี่ ่าสนใจ ชว่ ยใหผ้ ลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นการสอนสงู ขึน้

7. ข้อเสนอแนะ
7.1 ข้อเสนอแนะในการนาไปใช้
7.1.1 การเลอื กเนือ้ หาทีน่ ามาจดั กจิ กรรมการเรยี นรูเ้ ปน็ สิ่งสาคัญควรคานึงถงึ ความ

เหมาะสมของ เพศ วัย และระดบั ความสามารถในการเรยี นของนกั เรยี นดว้ ย หากเนอ้ื หาใดท่ีนกั เรยี นสนใจ
นักเรยี นจะเกดิ ความกระตอื รอื ร้นการเรียนรเู้ พ่ิมมากขน้ึ

7.1.2 ครผู สู้ อนภาษาไทยควรนาแบบฝึกทกั ษะการอ่านและการเขียนสะกดคา
กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 6 ที่ผรู้ ายงานสรา้ งขึน้ ไปใช้ประกอบการสอน เนอ่ื งจาก
แบบฝกึ ทกั ษะน้ี มปี ระสทิ ธิภาพสงู กวา่ เกณฑ์ 80/80 ท่ีกาหนดไว้

7.1.3 ในระหว่างการดาเนนิ การจดั กิจกรรม ครูควรสงั เกตพฤตกิ รรมนกั เรียนทมี่ ี
ความสามารถในการเรยี นตา่ อาจจะไมเ่ ข้าใจหรือเกดิ การเรยี นร้ชู ้า หรือตอ้ งการความช่วยเหลอื ครูควรใช้
เทคนิคเสรมิ แรงกระตุน้ ใหน้ กั เรียนสนใจ หรืออธิบายใหเ้ ขา้ ใจชัดเจนอกี คร้งั

7.2 ข้อเสนอแนะในการวิจยั ครง้ั ตอ่ ไป
7.2.1 ควรมกี ารนาแบบฝกึ ทกั ษะทผี่ รู้ ายงานสร้างขนึ้ ชุดนี้ ไปทดลองใช้กับนกั เรยี นโรงเรยี น

อืน่ เพอ่ื จะได้ขอ้ สรุปผลการวจิ ัยทีก่ ว้างขวางมากขนึ้
7.2.2 ควรมกี ารสร้างแบบฝึกทักษะในกลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย เนื้อหาทเ่ี ขา้ ใจยาก

หรือเนือ้ หาที่เปน็ ปญั หาต่อการเรียนการสอนในกลมุ่ ทกั ษะภาษาไทยในแต่ละระดับชัน้ เพอื่ นาไปทดลองหา
ประสทิ ธิภาพ

7.2.3 ควรมกี ารสร้างแบบฝึกภาษาไทย ในหน่วยการเรียนรอู้ น่ื หรอื ในระดบั ชนั้ อื่น ๆ

บรรณานกุ รม

กรมวิชาการ. คู่มือการจัดการเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย. กรงุ เทพฯ : องคก์ ารรบั สง่ สนิ คา้
และพสั ดุภัณฑ์. 2544.

ผศ.ดร.สุวรรณ์ ยหะกร. (2560).การจัดการเรยี นการสอนภาษาไทยระดบั การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน (เน้นการจัด
กิจกรรมการเรยี นการสอนสาระการอ่าน)สบื ค้นเมื่อ 7 กนั ยายน , 2563 ,จาเวป็ ไซต์:
https://adacstou.wixsite.com/adacstou/single-post

กระทรวงศึกษาธิการ. กรมวิชาการ. หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551.
กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ชมุ นมุ สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, 2551.

คมขา แสนกล้า. การพัฒนาแผนการจดั การเรียนรโู้ ดยใชแ้ บบฝึกทกั ษะการอ่านและการเขยี น
ถวลั ย์ มาศจรสั และคณะ. แบบฝึกหัด แบบฝึกทักษะเพ่อื พัฒนาการเรียนรูผ้ เู้ รยี นและการจดั ทา

ผลงานวชิ าการของขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา. พมิ พค์ รัง้ ท่ี 2. กรงุ เทพฯ :
ธารอักษร, 2550.
ทองคณู หนองพรา้ ว. การพฒั นาแผนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรแู้ ละบทเรียนสาเร็จรปู เรอื่ ง จงั หวดั
ของเรา (บรุ ีรมั ย์) กลุม่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษา
ปีท่ี 4. การศึกษาคน้ ควา้ อสิ ระ กศ.ม. มหาสารคาม : มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม, 2547.
นงเยาว์ เลย่ี มขนุ ทด. การพฒั นาแผนการเรยี นรูภ้ าษาไทย เรื่องการอ่านและการเขยี นสะกดคาโดยใช้
แผนผงั ความคดิ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1. การศึกษาคน้ ควา้ อสิ ระ กศ.ม. มหาสารคาม :
มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม, 2547.
วรรณภา ไชยวรรณ. การพัฒนาแผนการอ่านภาษาไทย เรอื่ ง อกั ษรควบและอักษรนา
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. การศกึ ษาค้นควา้ อิสระ กศ.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัย
มหาสารคาม, 2549.
วิมลรตั น์ สุนทรโรจน์. นวตั กรรมตามแนวคดิ Backward Design. ภาควิชาหลักสูตรและการสอน
คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม, 2549.
สมควร น้อยเสนา. การพัฒนาการอ่านและการเขยี นภาษาไทยสาหรับนักเรียนทม่ี ีปัญหาการเรยี นรู้
โดยใช้แผนผังความคดิ และแบบฝึกทกั ษะ. การศกึ ษาคน้ ควา้ อิสระ กศ.ม. มหาสารคาม :
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2549.
สมใจ นาคศรีสงั ข.์ การสรา้ งแบบฝกึ การอา่ นและเขยี นสะกดคาจากแหลง่ เรยี นรใู้ นทอ้ งถ่ิน
ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 4. การศึกษาค้นควา้ อสิ ระ กศ.ม. มหาสารคาม : มหาวทิ ยาลยั
มหาสารคาม, 2549.
สมนกึ ภทั ทยิ ธนี. การวดั ผลการศกึ ษา. คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาสารคาม : มหาวิทยาลยั มหาสารคาม,
2549.
สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา. สรุปผลการประชมุ สัมมนาประสานแผนและแลกเปลี่ยน

องค์ความรกู้ ารดาเนินงานพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา. กรงุ เทพฯ : สานกั งาน
คณะกรรมการการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน, 2550.
สุวทิ ย์ มูลคา และ สนุ ันทา สุนทรประเสรฐิ . ผลงานทางวชิ าการสู่...การเลือ่ นวิทยฐานะ. กรุงเทพฯ :
อี เค บคุ ส,์ 2550.
เสริมพงศ์ วงศก์ มลาไสย. การพัฒนาแผนการจดั การเรียนรภู้ าษาไทย เรื่อง หลวงตาพลวง โดยใช้
กจิ กรรมกลุม่ แบบจิกซอวแ์ ละแผนผงั ความคิด ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 5. การศกึ ษาคน้ คว้า

อิสระ กศม. มหาสารคาม : มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม, 2548.
อกนษิ ฐ์ กรไกร. การพฒั นาแผนการจดั การเรียนรู้ กาพยย์ านี 11 ด้วยแบบฝึกทักษะ ชัน้ ประถมศึกษา

ปที ี่ 5 ที่เรยี นด้วยกลมุ่ ร่วมมือแบบ Co-op Co – op และแบบเดย่ี ว. วิทยานิพนธ์ กศ.ม.
มหาสารคาม : มหาวิทยาลยั มหาสารคาม, 2549.

Bouchard, Margarct Pray. “An Imvestigation of Students’ Word Knowledge as
Demonstrated

by Their Reading and Spelling Error, ” Dissertation Abstracts International. 63
(2) :

541-4; August, 2002. http // wwwlib. Umi.com/dissertations/fullcit/3010800
March 3,

2004.
Fitzgerald, James A. “Children’s Experiences in Spelling” in Children and the
Language.

New Jersey : Prentices – Hall, 1964.
Garcia, Carol Ann. “The Effect of Two Types of Spilling Instruction on First –
grade

Reading, Writing, and Spelling Achievemint,” Dissertation Abstracts
nternational.

58 (9) : 3459 – A; March, 1998.
Luneburg, James. Essentials of Good English. Newyork : Holt, Rinehart and Winston,

1959.
Shane, Harold G. And Others. Beginning Arts Instruction with Children. Ohio :
Charies

E. Merrill, 1961.

ภาคผนวก

ตารางท่ี 4 คะแนนแบบฝกึ ทกั ษะเรือ่ งการอ่านและเขยี นคาพ้นื ฐาน ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6

เลขท่ี 1 2 3 แบบฝกึ ทกั ษะท่ี 8 9 10
4567

19887888898

2 10 9 8 9 9 8 8 9 9 8

3 10 10 10 9 9 9 10 9 10 9

49889888988

5 10 9 10 9 8 9 8 9 9 8

รวม 48 44 44 43 42 42 42 44 45 41

เฉลย่ี 9.6 8.8 8.8 8.6 8.4 8.4 8.4 8.8 9 8.2

ร้อยละ 96.00 88.00 88.00 86.00 84.00 84.00 84.00 88.00 90.00 82.00

(ต่อ)

เลขที่ 11 แบบฝึกทักษะที่ 15 รวม เฉลย่ี ร้อยละ
12 13 14 150

1 8 8 8 8 8 121 8.07 80.67

2 7 8 9 9 8 128 8.53 85.33

3 9 10 9 9 10 142 9.47 94.67

4 8 7 8 8 8 122 8.13 81.33

5 10 9 9 9 9 135 9.00 90.00

รวม 42 42 43 43 43 648

เฉลยี่ 8.4 8.4 8.6 8.6 8.6 129.60

ร้อยละ 84.00 84.00 86.00 86.00 86.00 86.40

9 8 8 8 8 8 120 8.00 80.00

10 9 9 9 9 9 136 9.06 90.66

11 8 8 8 8 8 120 8.00 80.00

12 9 9 9 10 9 135 9.00 90.00

13 9 9 10 9 9 133 8.86 88.66

14 10 10 9 10 10 149 9.93 99.33

15 9 9 9 9 9 134 8.93 89.33

16 9 9 10 10 10 144 9.60 96.00

รวม 140 139 142 144 142 2122

เฉลย่ี 8.75 8.68 8.87 9.00 8.87 132.6

ร้อยละ 87.5 86.8 88.7 90.0 88.7 85.83

07505

ตารางที่ 5 แบบบันทกึ คะแนนกอ่ นเรยี นและหลังเรียน นกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปที ่ี 2/1
ปกี ารศึกษา 2553

เลขท่ี คะแนนก่อนเรียน คะแนนหลงั เรียน เฉลยี่
30
30 16
18 24 15.5
28 23 19
3 11 27 17
49 25 22
5 16 28
รวม 52 127
เฉล่ยี 10.4 25.4
รอ้ ยละ 34.67 84.67

ภาคผนวก ก
ตวั อย่างแผนการจดั การเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 1

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย รหัสวชิ า ท 16101 ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 6

หน่วยท่ี 1 เร่ือง ละครย้อนคดิ เวลาเรยี น 20 ชั่วโมง

แผนการเรยี นรูเ้ รื่อง เรยี นรู้คา คคู่ วามหมาย เวลาเรียน 1 ชั่วโมง

ครูผู้สอน นางสาวจิราภรณ์ อนิ ทยอด ภาคเรียนท่ี 1

วันที่ เดือน ปี พ.ศ.

1.มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชีว้ ดั
สาระที่ ๑ การอ่าน
มาตรฐานการเรียนรู้ ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอา่ นสรา้ งความรู้และความคดิ เพอื่ นาไปตดั สนิ ใจ

แกป้ ัญหาในการดาเนิน ชีวิตและมนี สิ ยั รกั การอา่ น
ตวั ชีว้ ดั ท ๑.๑ ป.๖/๒ อธบิ ายความหมายของคา ประโยคและขอ้ ความทเ่ี ป็นโวหาร
สาระที่ ๒ การเขยี น

มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขยี นสอ่ื สาร เขียนเรยี งความ ย่อความ และเขียนเรอ่ื งราวในรูปแบบ
ตา่ งๆ เขียนรายงานข้อมลู สารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นควา้ อย่าง มีประสทิ ธิภาพ

ตวั ช้ีวดั ท2.1 ป6/2 เขยี นส่ือสารโดยใช้คาได้ถกู ตอ้ งชดั เจน และเหมาะสม

3. สาระสาคัญ
มาตราตัวสะกดเปน็ ความรู้พนื้ ฐานในการเรียนรภู้ าษาไทยใหถ้ ูกต้องตามอกั ขรวิธี ทาให้เกิดการสร้าง

คาใหมใ่ นภาษา เพอ่ื พฒั นาทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขยี นใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพย่ิงข้นึ มาตราแม่กก

คือ คาทปี่ ระสมกับสระตา่ ง ๆ มี ก เปน็ ตัวสะกดตรงมาตราและมี ข ค ฆ เป็นตัวสะกดไม่ตรงมาตรา แต่
ออกเสียงเหมอื น ก สะกด เช่น รุก สขุ เลข โชค เมฆ โรค หรืออาจเรยี กอกี อย่างหนงึ่ ว่า ตัวสะกดแมก่ ก

4. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
เมื่อเรยี นเรื่อง การอา่ นและการเขยี นสะกดคาในมาตราแมก่ ก แลว้ นกั เรยี นสามารถ
1) อ่านและเขยี นสะกดคาในมาตราแมก่ กไดถ้ กู ต้อง

2) จาแนกคาทสี่ ะกดดว้ ยมาตราแม่กก ตรงมาตราและไม่ตรงมาตราไดถ้ กู ตอ้ ง
3) มคี วามรับผดิ ชอบและทางานรว่ มกบั ผู้อน่ื ได้

5. สาระการเรยี นรู้
- การอ่านและการเขยี นสะกดคาในมาตราแมก่ ก ได้แก่ เมฆ วิหค ประโยค บคุ คล โชค

ประมุข สนุ ัข ปากกา ความสขุ เลขหก ลูกนก

6. สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น
1) ความสามารถในการสื่อสาร

2) ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คิดสงั เคราะห์

7. คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
1) ใฝ่รู้ใฝเ่ รียน
2) มุมานะในการทางาน

8. ภาระงาน / ชน้ิ งาน
1) ภาระงาน ได้แก่ การอา่ นและเขียนสะกดคามาตราแมก่ ก การทางานกลมุ่
2) ชิ้นงาน ได้แก่ แบบฝกึ ทกั ษะ

9. สอื่ / แหล่งการเรยี นรู้
1) แบบทดสอบกอ่ นเรียน
2) แผนภูมิบทร้อยกรองมาตราแมก่ ก
3) ใบความรเู้ รือ่ งมาตราแมก่ ก
4) บตั รคา
5) แบบฝกึ ทกั ษะการอา่ นและเขยี นสะกดคาในมาตราแมก่ ก

10. การวดั ผลและประเมนิ ผล
1) วิธวี ัด
- ทดสอบก่อนเรียน
- สังเกตพฤติกรรมการทางาน
- ตรวจผลงานแบบฝึกทกั ษะการอ่านและเขียนสะกดคาในมาตราแม่กก

2) เครื่องมือวดั
- แบบทดสอบกอ่ นเรยี น
- แบบสังเกตพฤตกิ รรมการเรยี น
- แบบฝกึ ทกั ษะการอา่ นและเขยี นสะกดคาในมาตราแมก่ ก
- แบบบันทกึ คะแนนทดสอบ

3) เกณฑก์ ารวดั
- ทาแบบฝกึ ทักษะเล่มที่ 1 กิจกรรมท่ี 1-2 ไดค้ ะแนนต้ังแต่ร้อยละ 80

ขนึ้ ไป
- ผลการประเมินพฤตกิ รรมการเรยี นได้คะแนน ตง้ั แตร่ อ้ ยละ 80 ขน้ึ ไป

11. กิจกรรมการเรยี นรู้
1. ขัน้ นาเข้าสู่บทเรยี น
1) สนทนา ซักถามเกย่ี วกับความสาคญั ของภาษาไทย
2) นกั เรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน
3) นักเรยี นอ่านแผนภมู ิ บทร้อยกรองทต่ี ิดไว้บนกระดาน (ภาคผนวก)

4) นกั เรียนและครรู ว่ มกนั สนทนาเกยี่ วกับคาในมาตราแม่กก จากบทรอ้ ยกรอง
2. ข้นั สอน

1) แบ่งกลมุ่ นกั เรียนออกเปน็ 4 กลุ่ม กลุม่ ละ 4 คน โดยคละความสามารถ
แตล่ ะกลมุ่ คัดเลือกประธานและเลขานุการ

2) แต่ละกลมุ่ รบั ใบความรทู้ ่ี 1 เรื่อง มาตราแม่กก จากครแู ลว้ นามาใหส้ มาชิกในกลมุ่ รวมกัน
ศกึ ษาใบความรู้ (ภาคผนวก) โดยครอู ธบิ ายความรเู้ พ่มิ เตมิ และแนะนาหลกั ในการทางานกลมุ่ รว่ มกบั ผอู้ ่นื
สมาชิกแต่ละคนต้องมคี วามรบั ผดิ ชอบในบทบาทหน้าท่ขี องตน

3) นาบตั รคา คาในมาตราแม่กก ใหน้ กั เรียนฝึกอา่ นรว่ มกนั ในแตล่ ะกลมุ่ ได้แก่ เมฆ วิหค
ประโยค บุคคล โชค ประมขุ สุนขั ปากกา ความสุข เลขหก ลูกนก

4) นักเรียนแตล่ ะกลุม่ รว่ มกนั อา่ นบตั รคาจนคล่อง ตวั แทนของกลมุ่ ออกมาอา่ นทห่ี น้าชนั้ ให้
เพอื่ น ๆ ฟัง

5) ครูและนกั เรียนร่วมกนั สนทนาเก่ยี วกบั ความหมายของคาในบตั รคา
6) นักเรียนเขยี นคาในมาตราแมก่ กในสมดุ

3. ขนั้ สรปุ
1) นกั เรยี นร่วมกนั อา่ นบทรอ้ ยกรอง มาตราแม่กก เพ่ือใหเ้ กดิ ความรู้
2) นักเรยี นรว่ มกนั สรปุ เน้ือหาเกี่ยวกับหลักเกณฑท์ างภาษาของคาทสี่ ะกดด้วยมาตราแมก่ ก

ครูอธิบายเพม่ิ เติม
3) นกั เรียนปฏิบตั ิกจิ กรรมจากแบบฝึกทักษะ เลม่ ที่ 1 แบบฝึกทักษะท่ี 1-2

(ถ้าทาไม่เสรจ็ ให้ทาตอ่ เป็นการบ้าน)

(ลงชอื่ ) .............................. ผู้สอน
(นางสาวจริ าภรณ์ อินทยอด)

.........../........................./...............
12. ความคิดเหน็ ของผู้บรหิ ารสถานศึกษา
.................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ....................................
............................................................................................................................. ....................................

(ลงชอื่ )วา่ ทร่ี อ้ ยตรี .......................................... ผบู้ รหิ าร
(วชริ พนั ธ์ุ บญุ ณมี)

.............../......................./...........

14. บันทกึ ผลหลงั การจัดการเรียนรู้
1) ผลการจดั การเรยี นรู้
- ด้านความรู้ (K)

............................................................................................................................. ....................................
............................................................................................................................................... ..................
................................................................................................................ .................................................
............................................................................................................................. ....................................

- ดา้ นกระบวนการ (P)
................................................................................................................................................... ..............
.................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ....................................
.................................................................................................................................................................

- ดา้ นคุณลักษณะ (A)
.......................................................................................................................... .......................................
............................................................................................................................. ....................................

2) ปัญหา / อุปสรรค
............................................................................................................................................................... ..
............................................................................................................................. ....................................

3) ข้อเสนอแนะ / แนวทางการแกไ้ ข
............................................................................................................................. ....................................
......................................................................................................................................................... ........

(ลงชื่อ) .............................. ผสู้ อน
(นางสาวจริ าภรณ์ อินทยอด)
.............../......................./...........

ความสุข ภาคผนวก ภาคอสี าน
วหิ ค บตั รคา ก้อนเมฆ
ประมุข ลกู นก
เลขหก

บุคคล

สุนัข

บทรอ้ ยกรองคาในมาตราแม่ กก

ประมขุ มสี ขุ มาก
บริจาคสนุ ขั ให้
ประโยคภาษาไทย
ในยุคใดสนใจจา

อปุ สรรคนนั้ ยอ่ มมี
ความสขุ ท่ไี ด้กระทา
โรคภยั เรอื่ งใหญ่ลา้
เลขคิดทาจาให้ดี

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเรียนวชิ าภาษาไทย
ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 6 โรงเรยี นบา้ นท่าเรอื สานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาภูเก็ต
คาชีแ้ จง ให้ทาเครอ่ื งหมาย / ลงในช่องรายการสังเกตพฤติกรรมทก่ี าหนด

รายการสงั เกต

เลขที่ 1. สนใจและต้ังใจ
เรียน
2. มีมารยาทในการ
่อานและเ ีขยน
3. ทางานร่วมกับ
ผู้ ่ือนไ ้ด
4. ทางานเสร็จ
ตามเวลาที่กาหนด
5. ผลงานมี
ุคณภาพ
รวมคะแนน
สรุปผล
การประเมิน

0 1 2 0 1 2 0 1 2 0 1 2 0 1 2 10 ผ / มผ
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน 2 = ดี , 1 = ปานกลาง , 0=ปรบั ปรงุ แก้ไข
เกณฑ์การประเมิน ต้องได้คะแนนรวมร้อยละ 80 ข้นึ ไป

(ลงชอ่ื ) .............................. ผ้สู อน

(นางสาวจริ าภรณ์ อนิ ทยอด)
............/..................../.............

ภาคผนวก

แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน
เรื่อง การพฒั นาผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนและความสามารถในการอ่านและเขยี นคาพ้นื ฐานภาษาไทย

โดยใชแ้ บบฝึกเสรมิ ทกั ษะสาระภาษาไทย ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน
เร่ือง การพฒั นาผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนและความสามารถในการอา่ นและเขยี นคาพน้ื ฐานภาษาไทย

โดยใชแ้ บบฝึกเสริมทกั ษะสาระภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 6
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
คาช้ีแจง ให้นกั เรยี นเลอื กคาตอบทถ่ี ูกท่สี ดุ เพยี งขอ้ เดียว แล้วทาเครอ่ื งหมาย X ทับ ข้อ ก ข หรอื ค

1. ขอ้ ใดมตี ัวสะกด แม่ กก มากทีส่ ดุ 6. คาใดมตี วั สะกดอย่ใู นมาตราแม่ กน
ก. น้องทาเลขถูกมากที่สดุ ในห้อง ก. พรรค
ข. นักกีฬายกนา้ หนกั แขง็ แรงมาก ข. เปลือกหอย

ค. กิก๊ ชอบเล่นมา้ กระ ค. ภารโรง
ง. ถา้ อยากมสี ขุ ภาพดีต้องออกกาลังกาย ง. แทงหยอก

2. คาในข้อใดเขยี นผิด 7. คาใด ไม่ได้ สะกดด้วยมาตราแม่ กน
ก. โจงกระเบน ก. กามะหยี่
ข. ความสขุ ข. บริเวณ

ค. มะมว่ งสุข ค. รางวลั
ง. น้ามนต์ ง. สมานฉนั ท์

3. คาวา่ “โรค” มตี ัวสะกดอยใู่ นมาตราแมใ่ ด 8. คาใดอา่ นถกู ตอ้ ง
ก. แมก่ ก ก. อาคเนย์ อ่านวา่ อา-คะ – เนย์
ข. แม่กด ข. ฉ้อฉล อา่ นวา่ ฉ้อ – ฉน

ค. แมก่ บ ค. เกสร อา่ นว่า กะ - เสน
ง. แม่กน ง. ศิลาจารกึ อา่ นวา่ ศิ-ลา-จา-รึก

4. คาวา่ “โกฏิ” มีตวั สะกดในมาตราใด 9. ขอ้ ใดไม่ได้สะกดดว้ ยมาตราแม่กด
ก. แม่กน ก. ปโกฏิ
ข. แมก่ ก ข. สาธารณสขุ

ค. แม่กด ค. พุธ
ง. แมก่ บ ง. พิสจู น์

5. คาวา่ “โบราณ” อ่านออกเสียงตัวสะกดอยู่ใน 10. คาในขอ้ ใด ออกเสยี งตวั สะกดเหมือน
มาตราใด คาว่า “พศิ ”
ก. แมก่ น ก. นมิ ติ

ข. แมเ่ กย ข. ทากฟิ ต์
ค. แมเ่ กอว ค. อาญา
ง. แมงกด ง. แคปซลู

11. ทองอนิ พสิ จู นห์ ลักฐานที่ปรากฎเพอื่ หาแมน่ าค 17. ขอ้ ใด เปน็ คาควบกล้า
ขอ้ ความนม้ี คี าทีส่ ะกดดว้ ยแม่ กด กค่ี า ก. หลวง
ก. 1 คา ข. ฉลาม
ข. 2 คา ค. กราฟ
ค. 3 คา ง. ขนม
ง. 4 คา
18. คาควบกลา้ ใด เขียนผิด
12. ข้อใดไมเ่ ข้าพวก ก. พร้อมหน้า
ก. พิสจู น์ ข. ปรอดโปรง่
ข. ปฏพิ ากย์ ค. โพรงไม้
ค. มะโหด ง. บณิ ฑบาต
ง. บาตร
19. คาควบกลา้ ใด ไม่ถูกตอ้ ง
13. ข้อใดเปน็ ตัวสะกดในมาตราแม่ กบ ก. ไมจ้ รงิ
ก. ป พ ฟ ภ ข. ผปู้ กครอง
ข. จ ต ช ส ค. ลาคลอง
ค. ข ค ล ร ง. แมลง
ง. ผ ฬ ม ถ
20. “น้าแหมม่ สรา้ งเรอื นหอเสรจ็ แลว้ กเ็ ลีย้ ง
14. ข้อใดสะกดไดถ้ ูกต้องตามมาตรา แม่กบ กนั อยา่ งครกึ ครน้ื ” ขอ้ ความนม้ี ีคา
ก. พายบั
ข. โชคลาบ ควบกลา้ กี่คา
ค. ทับพี ก. 2 คา
ง. แคบซลู ข. 3 คา
ค. 4 คา
15. ขอ้ ใดเขียนได้ถกู ต้อง ง. 5 คา
ก. วกั – ซนี เขียนว่า วักซีน
ข. ความ – สุก เขียนวา่ ความสกุ 21. อักษรควบไมแ่ ท้ คอื ข้อใด
ค. รบู – พาบ เขียนวา่ รปู ภาพ ก. ขวากหนาม
ง. เคา – รบ เขียนว่า เคารบ ข. เครอื่ งสแกน
ค. ทรามวัย
16. ข้อใดเขยี นคาอ่านไดถ้ กู ต้อง ง. โจงกระเบน
ก. มโหฬาร อ่านว่า มะ-โห-ราน
ข. ทรพั ย์สนิ อา่ นวา่ ซบั - สิน
ค. สรุป อ่านว่า สะ - รบุ
ง. หรดี อ่านว่า หอน-ดี

22. เคร่อื งหมาย ์ เรียกวา่ อะไร 27. คาใดไมใ่ ชอ่ ักษรนา
ก. กล่อม
ก. ลากขา้ ง ข. สนกุ
ข. ไม้หนั อากาศ ค. อยาก
ค. ไม้ทัณฑฆาต ง. ถนอม
ง. ไมย้ มก
28. คาในขอ้ ใดมี ห นา
23. คาวา่ “คณิตศาสตร”์ ตัวการันต์คอื ข้อใด ก. ห่วงแหน
ก. ร์ ข. โหดรา้ ย
ข. ตร์ ค. หนา้ ท่ี
ค. สตร์ ง. หาญกลา้
ง. ต์
29. ไม้ทณั ฑฆาตใช้เขยี นกากับพยัญชนะ
24. คาในข้อใดมตี ัวการนั ต์ 2 ตัว เพือ่ อะไร
ก. วันจนั ทร์
ข. โทรทัศน์ ก. เพอื่ การออกเสียงตามปกติ
ค. สมบรู ณ์ ข. เพ่อื ให้ออกเสียงพยญั ชนะน้ัน
ง. น้ามนต์
ชัดเจนย่งิ ข้นึ
25. ชื่อผลไม้ในข้อใดทอ่ี ่านแบบอกั ษรนา ค. เพอ่ื ไม่ให้ออกเสยี งพยญั ชนะ
ก. ขนุน
ข. มะม่วง ตวั น้ัน
ค. มะพร้าว ง. เพอื่ ไม่ตอ้ งการใช้ตวั พยัญนะตวั น้ัน
ง. สมโอ
30. คาอักษรนาในขอ้ ใด เขียนไมถ่ ูกตอ้ ง
26. ช่ือสัตวใ์ นข้อใดท่อี ่านแบบอกั ษรนา ก. อย่างน้ีดแี ล้ว
ก. สนุ ัข ข. หยู่ทบี่ า้ น
ค. อย่าทาไมด่ ี
ข. ฉลาม ง. งานนอี้ ยาก
ค. กวาง
ง. ปลาวาฬ

********************************************************


Click to View FlipBook Version