การผลติ และการตลาดแพะขนุ
จงั หวัดสรุ าษฎรธ์ านี
Production and Marketing of Fattening Goats in Surat Thani Province
สารบญั หนา้
2
ความสาคญั ของการวจิ ัย 3
ขอ้ มลู สถติ ิประชากรแพะภาคใต้ตอนบน 4
วัตถุประสงคข์ องการวจิ ยั 4
ขอบเขตของการวจิ ัย 5
วิธีการวิจัย
ผลงานวิจยั 6 - 16
วถิ ตี ลาดแพะขนุ 17
สว่ นเหลื่อมการตลาดแพะขนุ 18
ข้อเสนอแนะ 19 - 23
สานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตรท่ี 8
ความสาคัญของการวิจยั
แพะขนุ เปน็ สัตวเ์ ศรษฐกจิ ที่เกษตรกรให้ความสนใจ
และนิยมเล้ียงเพิ่มมากขึ้นเน่ืองจากเลี้ยงง่ายสามารถ
กิ น อ า ห า ร ไ ด้ ห ล า ก ห ล า ย ไ ม่ ว่ า จ ะ เ ป็ น ต้ น ก ร ะ ถิ น
ฟางข้าว วัชพืช วัสดุเศษเหลือจากการเกษตร ทาให้
มีต้นทุนค่าอาหารต่า อีกทั้งเป็นสัตว์ท่ีทนทานต่อทุก
สภาพแวดล้อม และสามารถปรับตัวเข้ากับพื้นท่ีต่าง ๆ
ได้เป็นอย่างดี สามารถเจริญเติบโตและขยายพันธุ์
ได้อยา่ งรวดเรว็
จ า ก ข้ อ มู ล ส ถิ ติ ป ร ะ ช า ก ร แ พ ะ ภ า ค ใ ต้ ต อ น บ น
ของกรมปศุสัตว์ ในปี 2563 มีประชากรแพะท้ังสิ้น
จานวน 104,379 ตัว เพ่ิมข้ึนจาก ปี 2562 ท่ีมีจานวน
92,383 คิดเป็นร้อยละ 12.99 และมีเกษตรกรผู้เล้ียง
แพะจานวน 5,155 ราย เพิ่มข้ึนจากปี 2562
ที่มีจ าน วน 4, 877 ร าย คิด เป็น ร้อ ยละ 5 .7 0
แสดงให้เห็นว่า เกษตรกรนิยมเล้ียงแพะเพ่ิมมากข้ึน
เน่ืองจากเป็นท่ีต้องการของตลาด ในประเทศ
และต่างประเทศ อกี ทั้งจาหน่ายได้ราคาดี การจาหน่าย
มีทั้งการจาหน่ายแพะมีชีวิตและการจาหน่ายแบบ
เ น้ื อ ช า แ ห ล ะ ต ล า ด มี ค วา ม ต้ อ ง ก า ร แ พ ะ ขุ น
เป็นอย่างมาก โดยเฉพาะประเทศเวียดนาม จีน
และมาเลเซยี
สานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตรที่ 8 2
ขอ้ มูลสถิตปิ ระชากรแพะภาคใต้ตอนบน
จากข้อมูลสถิติประชากรแพะภาคใต้ตอนบนของกรมปศุสัตว์ ในปี 2563 มีประชากรแพะทั้งส้ิน
จานวน 104,379 ตัว เพิ่มข้นึ จาก ปี 2562 ท่ีมจี านวน 92,383 คดิ เป็นรอ้ ยละ 12.99
มีเกษตรกรผู้เลี้ยงแพะจานวน 5,155 ราย เพิ่มข้ึน ในประเทศและต่างประเทศ อีกท้ังจาหน่าย
จากปี 2562 ท่ีมีจานวน 4,877 ราย คิดเป็น ได้ราคาดี การจาหน่ายมีท้ังการจาหน่ายแพะ
ร้อยละ 5.70 แสดงให้เห็นวา่ เกษตรกรนิยมเล้ียง มีชีวิต และการจาหน่ายแบบเนื้อชาแหละ
แพะเพ่ิมมากข้ึน เนื่องจากเป็นท่ีต้องการ ตลาดมีความต้องการแพะขุนเป็นอย่างมาก
ของตลาด โดยเฉพาะประเทศเวียดนาม จีน และมาเลเซีย
สานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตรที่ 8 3
วัตถุประสงคข์ องการวิจัย
1. เพอื่ ศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนการผลิตแพะขุน
2. เพ่ือศึกษาวิถีการตลาด ต้นทุนการตลาด ส่วนเหล่ือมการตลาด และประสิทธิภาพ
การตลาดของแพะขุน
ขอบเขตของการวจิ ัย
ประชากรกลุม่ เปา้ หมาย
- เกษตรกรผูเ้ ลีย้ งแพะขนุ ปี 2563
พน้ื ที่ศึกษา
- จังหวัดสุราษฎรธ์ านี
ระยะเวลาของข้อมลู
- ขอ้ มูลการเล้ียงแพะขุนทเ่ี ลย้ี งระหวา่ ง
1 มกราคม ถึง 31 ธันวาคม 2563
สานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตรท่ี 8 4
วธิ ีการวจิ ัย
การเกบ็ รวบรวมข้อมูล
ข้อมูลปฐมภูมิ ใช้แบบสัมภาษณ์กับเกษตรกรผู้เล้ียง ข้อมูลทุติยภูมิ เก็บรวบรวมข้อมูลจากหน่วยงาน
แพะขุน โดยกาหนดขนาดตัวอย่างท่ีร้อยละ 20 ราชการและภาคเอกชนในพื้นท่ี ตลอดจนค้นคว้าข้อมูล
จะได้จานวนตัวอย่างรวมท้ังสิ้น 72 ราย เก็บรวมรวม จากหนงั สอื วารสาร สง่ิ พิมพ์ เอกสารต่าง ๆ ทเี่ กีย่ วข้อง
ข้อมูลผู้ประกอบการโดยการสัมภาษณ์แบบเชิงลึก และคน้ ควา้ ข้อมูลผ่านระบบอินเตอรเ์ นต็
ใช้วิธีเลือกตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง จานวนท้ังส้ิน
3 ราย
วิธกี ารวเิ คราะหข์ ้อมูล
การวิเคราะหเ์ ชิงปรมิ าณ โดยใชส้ ถติ ิเชิงพรรณนา แบ่งการวเิ คราะหด์ ังนี้
การวิเคราะต้นทุนการผลิตและผลตอบแทน เป็น การวเิ คราะห์วิถกี ารตลาด ต้นทนุ การตลาด ส่วนเหล่ือม
การวเิ คราะห์ตน้ ทุนและผลตอบแทน ทไี่ ด้จากการผลิต การตลาด และประสิทธิภาพการตลาดของแพะขุน
แพ ะ ขุน โ ดย ก า รค า น วณห าผ ล ร วม ค่ าเ ฉ ล่ี ย เป็นการวิเคราะห์ โดยใช้เคร่ืองมือทางสถิติอย่างง่าย
และคา่ ร้อยละ ในการอธิบาย ในรูปแบบของการหาค่าสัดส่วน
ค่าร้อยละ และค่าเฉล่ีย
สานักงานเศรษฐกจิ การเกษตรท่ี 8 5
การผลติ และการตลาดแพะขนุ จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี
สานกั งานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 8 6
ตน้ ทุนและผลตอบแทนการผลติ แพะขุน
ฟารม์ ขนาดยอ่ ย
สานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตรท่ี 8 7
เมือ่ พจิ ารณาตน้ ทุนฟารม์ ขนาดย่อยจะพบวา่
- เกษตรกรมีประสบการณก์ ารเลย้ี งแพะไมเ่ กิน 4 ปี
- ส่วนใหญ่เพิ่งเริ่มเลี้ยงยังไม่ผ่านการอบรม ทาให้ยังขาดความรู้ ขาดการวางแผนเร่ืองปริมาณ
ความต้องการอาหารของแพะตอ่ วนั ทาให้แพะไดร้ บั อาหารเกนิ ความต้องการ ส่งผลให้ต้นทุนค่าอาหาร
หยาบค่อนข้างสูง
- เกษตรกรมีการรวมกลุ่มกันในการซื้ออาหารสาเร็จรูป (อาหารข้น) ซึ่งจะซ้ือได้ในราคาที่ถูกกว่า
ราคาตลาด ทาใหช้ ว่ ยลดต้นทนุ คา่ อาหารข้น
สานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตรที่ 8 8
ตน้ ทุนและผลตอบแทนการผลติ แพะขุน
ฟาร์มขนาดเลก็
สานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตรท่ี 8 9
เมอ่ื พิจารณาต้นทนุ ฟาร์มขนาดเลก็ จะพบวา่
- เกษตรกรสว่ นใหญ่ได้รบั การอบรมเรือ่ ง การเลยี้ งแพะเบ้อื งตน้ การใหอ้ าหาร และการผสมอาหารแพะ
ทาใหเ้ กษตรกรมคี วามรูใ้ นการจัดการเร่อื งอาหารเพื่อให้แพะมกี ารเจริญเติบโตทด่ี ี
- เกษตรกรจะให้หญ้าและกระถิน ควบคู่กับการให้กากถ่ัวเหลืองสดและต้นข้าวโพดท่ีใช้น้อยกว่า
แต่ใหโ้ ปรตีนมากกวา่ และใหอ้ าหารข้นตามความต้องการของแพะในแต่ละวนั
- เกษตรกรมกี ารรวมกลุ่มในการซื้ออาหารสาเร็จรูป ทาใหส้ ามารถช่วยลดต้นทนุ คา่ อาหารได้
สานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตรที่ 8 10
ตน้ ทุนและผลตอบแทนการผลติ แพะขุน
ฟาร์มขนาดกลาง
สานักงานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 8 11
เมอื่ พจิ ารณาตน้ ทนุ ฟาร์มขนาดกลางจะพบว่า
- เกษตรกรเลี้ยงแพะจานวนมาก ทาให้บางช่วงหญ้าไม่เพียงพอ จึงต้องเสริมด้วยฟางข้าว และหยวก
กล้วยบด ซึ่งมรี าคาสงู กว่าหญ้า
- ฟางขา้ วมีราคาเฉลย่ี กิโลกรัม 4.7 บาท
- หยวกกลว้ ยบด มรี าคาเฉลย่ี กิโลกรัมละ 3 บาท
- หญา้ มรี าคาเฉลย่ี กโิ ลกรัมละ 1.5 บาท
- จากจานวนแพะขุนที่เลี้ยงปริมาณมาก ทาให้เกษตรกรมีการจ้างแรงงานในการช่วยดูแล จึงส่งผล
ใหต้ ้นทุนการผลติ ของกลมุ่ นสี้ ูงกวา่ กลุม่ อืน่
สานักงานเศรษฐกจิ การเกษตรที่ 8 12
ต้นทุนและผลตอบแทนการผลิตแพะขุน
ฟาร์มขนาดใหญ่
สานกั งานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 8 13
เมอื่ พจิ ารณาต้นทนุ ฟารม์ ขนาดใหญ่จะพบวา่
ตน้ ทุนคา่ อาหารข้นจะสงู กวา่ กลุ่มอื่น เนื่องจากเกษตรกรจะให้ความสาคัญเร่ืองการเจริญเติบโต
และสุขภาพแพะที่ดี แม้ว่าต้นทุนค่าอาหารข้นจะสูงกว่าการเลี้ยงในกลุ่มอื่น แต่ต้นทุนการผลิตต่อตัว
อยู่ในระดบั ใกล้เคยี งกับการเลี้ยงของฟารม์ ขนาดเล็กและขนาดยอ่ ย เน่ืองจากเป็นการประหยดั ตอ่ ขนาด
สานักงานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 8 14
ตน้ ทุนและผลตอบแทนการผลติ แพะขุน
ฟาร์มขนาดยอ่ ย
สานักงานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 8 15
เมือ่ พจิ ารณาตน้ ทุนแตล่ ะขนาดฟารม์ จะพบว่า
ลักษณะการเลี้ยงที่มีความประณีตพิถีพิถันมากกว่ากัน โดยเฉพาะการให้อาหารที่แตกต่าง ส่งผล
ต่อต้นทุนการเลย้ี ง
ฟาร์มขนาดย่อย ส่วนใหญ่เกษตรกรเพิ่งเริ่มเล้ียงยังขาดความรู้ในการวางแผน เรื่องปริมาณ
ความต้องการอาหารแพะต่อวนั
ฟาร์มขนาดกลาง มีการใช้พืชอาหารสัตว์ท่ีมีราคาแพง เช่น ฟางข้าว และหยวกกล้วย ส่งผลให้
ต้นทนุ คา่ อาหารหยาบของสองกลุ่มนี้สงู
ฟาร์มขนาดใหญ่ จะมีค่าอาหารข้นสูงกว่าฟาร์มอื่น เน่ืองจากเกษตรกรให้อาหารข้นทดแทน
อาหารหยาบ เพอ่ื ให้แพะมีการเจรญิ เติบโตท่ีดี
นอกจากนจี้ านวนวันท่เี ลี้ยงต่างกนั ยงั ส่งผลให้ขนาดและน้าหนกั ของแพะขุนของแต่ละฟาร์มต่างกัน
และทาให้ตน้ ทนุ ตอ่ กิโลกรมั ต่างกนั ด้วย
สานักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 8 16
สานักงานเศรษฐกจิ การเกษตรท่ี 8 17
สานักงานเศรษฐกจิ การเกษตรท่ี 8 18
ส่ ง เ ส ริ ม ใ ห้ เ ก ษ ต ร ก ร ผ ลิ ต พื ช อ า ห า ร สั ต ว์
เช่น หญ้าเนเปียร์ และให้มีการฝึกอบรมถ่ายทอด
เทคโนโลยีการนาพชื ผลเหลอื ใชท้ างการเกษตรหรอื พชื ผล
ท่ีมีในท้องถิ่นมาใช้ผลิตอาหารสัตว์ เพื่อลดต้นทุน
การผลติ ของเกษตรกร
ควรส่งเสริมให้เกษตรกรรวมกลุ่มการผลิต
ในระบบแปลงใหญ่ โดยการใช้เคร่ืองจักรกล
การเกษตร และเทคโนโลยีร่วมกัน เพิ่มอานาจต่อรอง
ด้านการจดั หาปจั จยั การผลติ และการจาหนา่ ย
สานกั งานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 8 19
เกษตรกรควรให้ความสาคัญกับการจัดทาบัญชี
ฟาร์ม เพื่อให้ทราบตน้ ทุนการผลติ ทีแ่ ท้จรงิ ช่วยใหส้ ามารถ
บริหารจัดการตน้ ทุนได้อย่างถกู ต้อง
แพะขุนส่วนใหญ่ส่งไปจาหน่ายในจังหวัดท่องเที่ยว
เพ่ือจาหน่ายให้ผู้บริโภคชาวต่างชาติ รวมถึงการส่งออกแพะ
มชี ีวิตไปยงั ประเทศมาเลเซยี ซงึ่ ชใ้ี ห้เห็นว่าเน้ือแพะยังไม่ได้รับ
ความนิยมบริโภคในกลมุ่ ผูบ้ รโิ ภคชาวไทย ดงั น้นั ในการสง่ เสริม
การเลี้ยงแพะขุนของภาครัฐ จะต้องคานึงถึงขนาดตลาด
และการผูกขาดทางตลาด เพอ่ื ลดความเส่ียงใหก้ บั เกษตรกร
ส่งเสริมให้ เกษตรกร เล้ียงเป็น อาชีพเสริ ม
เพ่ือให้ตลาดเนื้อแพะขยายเพิ่มข้ึน ภาครัฐ ภาคเอกชน
และเกษตรกร ควรร่วมกันจัดกิจกรรมส่งเสริมทางการตลาด
โดยเฉพาะการโฆษณาประชาสัมพันธ์ การจัดกิจกรรม Rode
show เพ่อื เป็นการเผยแพร่ขอ้ มลู ขา่ วสารสร้างภาพลักษณ์ที่ดี
ในการบริโภคเน้ือแพะ กระตุ้นให้เกิดความต้องการบริโภค
ภายในประเทศ
จากการศึกษาส่วนเหล่ือมทางการตลาดจะพบว่า
พอ่ ค้าขายปลีกเน้ือแพะชาแหละมีกาไรสูงกว่าพ่อค้ารวบรวม
และเกษตรกรมาก ภาครัฐจึงควรหาแนวทางในการกระจาย
ผลกาไรให้เกษตรกรไดร้ บั เพิม่ มากขน้ึ
สานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตรท่ี 8 20
สานักงานเศรษฐกจิ การเกษตรท่ี 8 21
สานักงานเศรษฐกจิ การเกษตรท่ี 8 22
สานักงานเศรษฐกจิ การเกษตรท่ี 8 23