Home
About
  • อยากเก็บเธอไว้ทั้ง 2 แปลง (ยางพารา VS ทุเรียน)
    อยากเก็บเธอไว้ทั้ง 2 แปลง (ยางพารา VS ทุเรียน)
    นโยบายการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning) สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน โดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ดำเนินการขับเคลื่อนนโยบายการบริหารจัดการการผลิตสินค้าเกษตรตามแผนที่เกษตรเพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก (Agri-Map) อย่างต่อเนื่อง เพื่อบริหารจัดการพื้นที่เหมาะสมน้อย (S3) และพื้นที่ไม่เหมาะสม (N) ให้ได้รับการปรับเปลี่ยนการผลิตให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ สังคม และเศรษฐกิจ รวมทั้งให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้นและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นหลังจากการปรับเปลี่ยนการผลิต แต่ปัจจุบันการผลิตสินค้าเกษตรของประเทศไทยยังมีปัญหาผลผลิตต่อไร่ต่ำ ต้นทุนการผลิตสูง ในบางช่วงสินค้าเกษตรล้นตลาด ซึ่งเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องเป็นเวลานาน เกิดความไม่สอดคล้องระหว่างผลผลิตของสินค้าเกษตรกับความต้องการของตลาด ทำให้เกิดปัญหาราคาสินค้าตกต่ำ
  • การใช้โดรน เพื่อพัฒนาศักยภาพการจัดทำสารสนเทศระดับพื้นที่
    การใช้โดรน เพื่อพัฒนาศักยภาพการจัดทำสารสนเทศระดับพื้นที่
    สศท.8 ได้กำหนดเป้าหมายนำร่องการพยากรณ์ผลผลิตปาล์มน้ำมันจังหวัดสุราษฎร์ธานี ซึ่งเป็นแหล่งเพาะปลูกที่สำคัญอันดับ 1 ของประเทศ (มีเนื้อที่ยืนต้นเนื้อที่ให้ผลและผลผลิตมากที่สุด) โดยได้ดำเนินการทดสอบบินสำรวจแปลงตัวอย่างนับทะลายปาล์มน้ำมันจังหวัดสุราษฎร์ธานี และนำข้อมูลที่ได้จากการสำรวจด้วยโดรนมาใช้ประกอบการพยากรณ์ผลผลิตปาล์มน้ำมันจังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยข้อมูลสำคัญที่ได้จากการสำรวจด้วยโดรนที่มีกล้อง Multi-Spectral คือ ค่าดัชนีพืชพรรณ หรือค่า Normal Difference Vegetable Index (NDVI)
  • 02_ข่าวเศรษฐกิจการเกษตร สศท.8 ประจำเดือนกุมภาพันธ์2566
    02_ข่าวเศรษฐกิจการเกษตร สศท.8 ประจำเดือนกุมภาพันธ์2566
    เดือนกุมภาพันธ์ เป็นเดือนที่ ปาล์มน้ำมัน ปริมาณผลผลิตในพื้นที่ออกสู่ตลาดเพิ่มขึ้น ยางพารา ปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดลดลง ขณะที่ไม้ผล ทุเรียนเป็นช่วงที่มีผลผลิตออกนอกฤดู
  • 01 ข่าวเศรษฐกิจการเกษตร สศท.8 ประจำเดือนมกราคม2566
    01 ข่าวเศรษฐกิจการเกษตร สศท.8 ประจำเดือนมกราคม2566
    เดือนมกราคม เป็นเดือนที่ ปาล์มน้ำมัน ปริมาณผลผลิตในพื้นที่ออกสู่ตลาดลดลง ยางพารา ปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดเพิ่มขึ้น ขณะที่ไม้ผล ทุเรียนเป็นช่วงที่มีผลผลิตออกนอกฤดู และกาแฟ เป็นช่วงที่มีผลผลิตออกสู่ตลาด
  • การปรับตัวของเกษตรกรผู้ปลูกทุเรียนภาคใต้ตอนบนในยุคเกษตร 4.0
    การปรับตัวของเกษตรกรผู้ปลูกทุเรียนภาคใต้ตอนบนในยุคเกษตร 4.0
    การศึกษาวิจัยการปรับตัวของเกษตรกรผู้ปลูกทุเรียนภาคใต้ตอนบนในยุคเกษตร 4.0 มีวัตถุประสงค์
    เพื่อศึกษาการปรับตัวและปัจจัยที่ส่งผลต่อการปรับตัวของเกษตรกรผู้ปลูกทุเรียนภาคใต้ตอนบนในยุคเกษตร
    4.0 โดยใชแบบจำลองโลจิทในการวิเคราะห์เชิงปริมาณเพื่อตรวจสอบว่าปัจจัยใดที่มีผลต่อการปรับตัวของ
    เกษตรกรด้านการผลิต ด้านการตลาด และด้านการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
  • การผลิตและการตลาดแพะขุน จังหวัดสุราษฎร์ธานี
    การผลิตและการตลาดแพะขุน จังหวัดสุราษฎร์ธานี
    การผลิตและการตลาดแพะขุน จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 8 จังหวัดสุราษฎร์ธานี
ติดต่อ : 131 ถนนธราธิบดี เทศบาลเมืองท่าข้าม พุนพิน สุราษฏร์ธานี 84130 เบอร์โทร :077-311641 อีเมล์ : zone8@oae.go.th
Following Unfollow0