อยากเก็บ ก็ เธอไว้ทั้ง ทั้ 2 แปลง ( ย า ง พ า ร า V S ทุเ รี ย น )
คำ นำ นโยบายการบริห ริ ารจัด จั การพื้น พื้ ที่เกษตรกรรม (Zoning) สอดคล้อ ล้ งกับ กั ยุทธศาสตร์ชร์ าติ ด้า ด้ นการสร้า ร้ งความสามารถในการแข่ง ข่ ขัน ขั โดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ดำ ด้ ดำ เนินการ ขับเคลื่อนนโยบายการบริหารจัดการการผลิตสินค้าเกษตรตามแผนที่เกษตร เพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก (Agri-Map) อย่างต่อเนื่อง เพื่อบริหารจัดการพื้นที่ เหมาะสมน้อย (S3) และพื้น พื้ ที่ไ ที่ ม่เ ม่ หมาะสม (N) ให้ไห้ ด้รั ด้ บ รั การปรับ รั เปลี่ย ลี่ นการผลิต ลิ ให้เ ห้ หมาะสมกับ กั สภาพพื้นที่ สังคม และเศรษฐกิจ รวมทั้งให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้นและมีคุณภาพ ชีวิ ชี ต วิ ที่ดี ที่ ขึ้ ดี ขึ้ น ขึ้ หลัง ลั จากการปรับ รั เปลี่ย ลี่ นการผลิต ลิ แต่ปัต่ ปั จจุบั จุ น บั การผลิต ลิสินค้า ค้ เกษตรของประเทศไทย ยังมีปัญหาผลผลิตต่อไร่ต่ำ ต้นทุนการผลิตสูง ในบางช่วงสินค้าเกษตรล้นตลาด ซึ่งเป็นปัญหาที่เกิด กิ ขึ้น ขึ้ อย่า ย่ งต่อ ต่ เนื่องเป็นเวลานาน เกิด กิ ความไม่ส ม่ อดคล้อ ล้ งระหว่า ว่ งผลผลิต ลิ ของสินค้าเกษตรกับความต้องการของตลาด ทำ ให้เกิดปัญหาราคาสินค้าตกต่ำ สำ นักงานเศรษฐกิจ กิ การเกษตรที่ 8 (สศท.8) ในฐานะหน่วยงานดำ เนินการโครงการ บริห ริ ารจัดการการผลิตสินค้าเกษตรตามแผนที่เกษตรเพื่อการบริห ริ ารจัดการเชิงรุก (Zoning by Agri-Map) ในระดับ ดั พื้น พื้ ที่ ได้เ ด้ ล็ง ล็ เห็นว่า ว่ แต่ล ต่ ะจัง จั หวัด วั ยัง ยั มีก มี ารผลิต ลิ สินค้า ค้ เกษตร ที่สำ ที่ สำ คัญ คั อีก อี หลายชนิดที่ยั ที่ ง ยัไม่มี ม่ ปมี ระสิทธิภ ธิ าพเท่า ท่ ที่ค ที่ วร ทำ ให้ปห้ ริม ริ าณของผลผลิต ลิ ไม่ส ม่ มดุล ดุ กับ กั ปริม ริ าณความต้อ ต้ งการของตลาด การเพาะปลูก ลู ในพื้น พื้ ที่ความเหมาะสมน้อย (S3) และพื้น พื้ ที่ ไม่เ ม่ หมาะสม (N) ซึ่งจะส่งผลต่อ ต่ ประสิทธิภาพผลิต ลิ ภาพการผลิต ลิ ดังนั้นจึง จึได้จัด จั ทำ แนวทางพัฒ พั นาสินค้า ค้ เกษตรที่มี ที่ ศัมีศั กยภาพเพื่อ พื่ ทดแทนการผลิต ลิ ในพื้น พื้ ที่ไ ที่ ม่เ ม่ หมาะสม เพื่อ พื่ ประกอบการจัด จั ทำ แผนงาน/โครงการในการเสริม ริ สร้า ร้ งขีด ขี ความสามารถ ในการแข่งขันระดับพื้นที่ และจัดทำ ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย มาตรการ และแนวทางการพัฒ พั นาการผลิต ลิ สินค้า ค้ เกษตรตามความเหมาะสมของพื้น พื้ ที่ รวมทั้ง ทั้ พัฒ พั นาการผลิต ลิสิน สิ ค้า ค้ เกษตรที่มี ที่ ศัมีศั กยภาพเพื่อ พื่ ทดแทนการผลิต ลิในพื้น พื้ ที่ ไม่เ ม่ หมาะสมตามแผนที่เกษตรเพื่อ พื่ การบริห ริ ารจัด จั การเชิงรุก (Agri-Map) ต่อ ต่ ไป
01 สา รบับั บับั ญ หน้า สถานการณ์เนื้อที่ยื ที่ น ยื ต้น ต้ ยางพารา 02 สถานการณ์เนื้อที่ยื ที่ น ยื ต้น ต้ ทุเ ทุ รีย รี น 03 สัดส่วนพื้น พื้ ที่ป ที่ ลูก ลู ยางพารา จำ แนกตามชั้นความเหมาะสมของดิน ดิ ตามแผนที่เกษตรเพื่อ พื่ การบริห ริ ารจัด จั การเชิงรุก (Agri-Map) 04 สัดส่ว ส่ นพื้น พื้ ที่ป ที่ ลูก ลู ทุเ ทุ รีย รี น จำ แนกตามชั้น ชั้ ความเหมาะสมของดิน ดิ ตามแผนที่เกษตรเพื่อ พื่ การบริห ริ ารจัด จั การเชิง ชิ รุก (Agri-Map) 08 แนวทางการพัฒ พั นายางพารา 09 แนวทางการพัฒ พั นาทุเ ทุ รีย รี น 06 เปรีย รี บเทีย ที บต้น ต้ ทุน ทุ ผลตอบแทน 07 ผลตอบแทนความคุ้ม คุ้ ค่า ค่ การลงทุน ทุ ปลูก ลู 05 ต้น ต้ ทุน ทุ ผลตอบแทน
ภาค ปี 2565 ปี 2566 %+- รวมทั้งประเทศ 24,229,386 24,008,208 -0.91 ภาคเหนือ 1,551,890 1,565,605 0.88 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 6,223,867 6,241,417 0.28 ภาคกลาง 2,421,024 2,403,634 -0.72 ภาคใต้ 14,032,605 13,797,552 -1.68 จังหวัดนครศรีธ รี รรมราช 1,892,185 1,868,620 -1.25 ภาคใต้ 57.5% ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 26% ภาคกลาง 10% ภาคเหนือ 6.5% สถานการณ์เนื้อที่ยื ที่ น ยื ต้น ต้ ยางพารา เนื้อที่ยื ที่ น ยื ต้น ต้ ยางพารา ปี 2566 จัง จั หวัด วั นครศรีธ รี รรมราช มีเ มี นื้อที่ยื ที่ น ยื ต้น ต้ 13.54 % ของภาคใต้ และ 7.78 % ของประเทศ 1 หน่วย : ไร่
ภาค ปี 2565 ปี 2566 %+- รวมทั้งประเทศ 1,410,112 1,551,473 10.02 ภาคเหนือ 90,102 96,424 7.02 ภาคตะวันวัออกเฉียงเหนือ 31,600 39,935 26.38 ภาคกลาง 611,281 688,745 12.67 ภาคใต้ 677,129 726,369 7.27 จังหวัดนครศรีธ รี รรมราช 94,811 101,648 7.21 สถานการณ์เนื้อที่ สถานการณ์เนื้อที่ ที่ที่ ยืยื ยืยื นต้ต้ ต้ต้ นทุทุ ทุทุ เรีรีย รีรี น เนื้อที่ยืนต้นทุเรีย รี น ปี 2566 จังหวัดนครศรีธ รี รรมราช มีเนื้อที่ยืนต้น 13.99 % ของภาคใต้ และ 6.55 % ของประเทศ ภาคใต้ 46.8% ภาคกลาง 44.4% ภาคเหนือ 6.2% 2 หน่วย : ไร่
จังหวัดนครศรีธ รี รรมราช ตามแผนที่เกษตรเพื่ ตามแผนที่ พื่ อการบริห ริ ารจัดการเชิงรุก (AGRI-MAP) ที่ เกษตรเพื่อการบริห ริ ารจัดการเชิงรุก (AGRI-MAP) สัดส่วนพื้นที่ปลูกยางพารา จำ แนกตามชั้ สัดส่วนพื้นที่ปลูกยางพารา จำ แนกตามชั้ ชั้ ชั้ นความเหมาะสมของดิดิ ดิดิ น 3
สัดส่วนพื้นที่ปลูกทุเรีย รี น จำ แนกตามชั้นความเหมาะสมของดิน ตามแผนที่เกษตรเพื่อการบริห ริ ารจัดการเชิงรุก (Agri-Map) จังหวัดวั นครศรีธ รี รรมราช 4
รายการ ยางพารา (บาท/ไร่)ร่ ทุเรีย รี น (บาท/ไร่)ร่ 1. ต้นทุนผันแปร 6,719.12 67,877.64 2. ต้นทุนคงที่ 2,004.49 6,598.83 3. ต้นทุนรวมต่อไร่ 8,723.61 74,476.47 4. ต้นทุนรวมต่อกิโลกรัม รั 43.30 35.26 5. ผลผลิตต่อไร่ (กิโลกรัม รั ) 201.48 2,112.13 6. ราคาที่เกษตรกรขายได้ ณ ไร่น ร่ า (บาท/กิโลกรัม รั ) 46.21 135.69 7. ผลตอบแทนต่อไร่ 9,310.39 286,594.92 8. ผลตอบแทนสุทธิต่อไร่ 586.78 212,118.45 9. ผลตอบแทนสุทธิต่อกิโลกรัม รั 2.91 100.43 ที่ม ที่ า : จากการสำ รวจ 5
รายการ ยางพารา ทุเรีย รี น ผลต่าง 1. ต้นทุนรวมต่อไร่ (บาท/ไร่)ร่ 8,723.61 74,476.47 65,752.86 2. ต้นทุนต่อกิโลกรัม รั (บาท/กิโลกรัม รั ) 43.30 35.26 8.84 3. ผลตอบแทนต่อไร่ (บาท/ไร่)ร่ 9,310.39 286,594.92 277,284.53 4. ผลตอบแทนสุทธิต่อไร่ (บาท/ไร่)ร่ 586.78 212,118.45 211,531.67 5. ผลตอบแทนสุทธิต่อกิโลกรัม รั (บาท/กิโลกรัม รั ) 2.91 100.43 97.52 เปรีย รี บเทีย ที บต้น ต้ ทุน ทุ ผลตอบแทน 6
รายการ ยางพารา ทุเรีย รี น 1. ผลผลิต ณ จุดคุ้มทุน (กก./ไร่)ร่ 155.87 63.73 2. ยอดขาย ณ จุดคุ้มทุน (บาท/ไร่)ร่ 7,202.75 8,647.52 3. มูลค่าปัจจุบันสุทธิ (NPV) (บาท) -784,757.64 3,805,465.09 4. อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุน (ฺB/C) Ratio) 0.50 2.06 5. อัตราผลตอบแทนการลงทุน (IRR) -3.80 8.46 6. ระยะเวลาคืนทุน 30 ปี 13 ปี 8 เดือน รายการ คุ้มค่า(+) ไม่คุ้มค่า (-) 1. NPV 0 0 2. B/C Ratio 1 1 3. IRR อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ ผลตอบแทนความคุ้ม คุ้ ค่า ค่ การลงทุน ทุ ปลูก ลู หลัก ลั เกณฑ์ใฑ์ นการตัด ตั สินใจ 7 > > < > < > <
การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การส่งเสริม ริ วิจัยและพัฒนาสายพันธุ์ยางพาราที่มีคุณภาพให้ผลผลิตสูง ส่งเสริม ริ การใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการจัดการสวนยางพารา สนับสนุนการปลูกยางพาราพันธุ์ดี ส่งเสริม ริ การใช้ปุ๋ยอินทรีย์ รี ย์ ผลิตปุ๋ยใช้เอง และการใช้พลังงานทดแทน การตลาด ส่งเสริม ริ การพัฒนาระบบตลาดกลางยางพาราให้มีประสิทธิภาพ ส่งเสริม ริ การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ยางพาราแปรรูปขั้นสูงที่มีมูลค่า เพิ่มสูง เช่น ผลิตภัณฑ์ยางทางการแพทย์ ยานยนต์ และของใช้ ในชีวิตประจำ วัน สร้า ร้ งแบรนด์ผลิตภัณฑ์ยางพาราไทยให้เป็นที่รู้จั รู้จั กและยอมรับ รั ใน ระดับสากล การวิจัยและพัฒนา สนับสนุนการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตยางพาราในทุกด้าน ส่งเสริมการศึกษาและวิเคราะห์แนวโน้มตลาด เพื่อนำ ข้อมูลมาใช้ ในการวางแผนการผลิตและการตลาด นโยบายสนับสนุน ส่งเสริม ริ ให้เกษตรกรรวมกลุ่มกันเป็นสหกรณ์หรือ รื กลุ่มเกษตรกร เพื่อเพิ่มอำ นาจในการต่อรองและลดต้นทุนการผลิต สนับสนุนการแก้ไขปัญหาการบุกรุกพื้นที่ป่า เพื่อปลูกยางพารา อย่างยั่งยืน สนับสนุนการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับ ยางพาราอย่างต่อเนื่อง การมีส่วนร่ว ร่ มของทุกภาคส่วน ส่งเสริม ริ การพัฒนาองค์ความรู้แ รู้ ละทักษะการผลิตยางพารา ส่งเสริม ริ การลงทุนและพัฒนาธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับยางพารา ส่งเสริม ริ และสนับสนุนนักวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตยางพารา 8
การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การส่งเสริม ริ วิจั วิจั ยและพัฒ พั นาสายพัน พั ธุ์ทุเ ทุ รีย รี นที่มีคุ มี ณ คุ ภาพให้ผลผลิตสูง ต้า ต้ นทานโรคและแมลง รสชาติเ ติ นื้อสัมผัส ผั ตรงตามความต้อ ต้ งการของตลาด สนับสนุนให้มีการตรวจค่าวิเคราะห์ดิน ส่งเสริม ริ การใส่ปุ๋ยตามความต้องการของทุเรีย รี น ส่งเสริม ริ การใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการจัดการสวนทุเรีย รี น 2. การตลาด ส่งเสริม ริ การขยายตลาดทั้งในและต่างประเทศ สนับสนุนในการสร้างแบรนด์ทุเรียนไทยให้เป็นที่รู้จักและ ยอมรับในระดับสากล ส่งเสริม ริ การแปรรูปเพิ่มมูลค่า การวิจัยและพัฒนา สนับสนุนการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตทุเรีย รี นในทุกด้าน ส่งเสริม ริ การศึกษาและวิเคราะห์แนวโน้มตลาด เพื่อนำ ข้อมูลมาใช้ ในการวางแผนการผลิตและการตลาด นโยบายสนับสนุน ส่งเสริม ริ ให้เกษตรกรรวมกลุ่มกันเป็นสหกรณ์หรือ รื กลุ่มเกษตรกร เพื่อเพิ่มอำ นาจในการต่อรองและลดต้นทุนการผลิต สนับสนุนและส่งเสริม ริ การผลิตทุเรีย รี นอย่างยั่งยืน สนับสนุนด้านเงินทุน เทคโนโลยี และการตลาดแก่เกษตรกร การมีส่วนร่ว ร่ มของทุกภาคส่วน ส่งเสริม ริ การพัฒนาองค์ความรู้แ รู้ ละทักษะการผลิตทุเรีย รี น ส่งเสริม ริ การลงทุนและพัฒนาธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับทุเรีย รี น สนับสนุนและส่งเสริม ริ การพัฒนาทุเรีย รี นในทุกด้าน ส่งเสริม ริ และสนับสนุนนักวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี การผลิตทุเรีย รี น DURIAN FRESH FRU I T 9
สำ นักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ สำ นักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 8 ที่ 8 จัจั จัจั งหวัวั วั ดวั ดสุสุสุสุ ราษฎร์ร์ธ ร์ ธ ร์ านีนี นีนี zone8@oae 077-311-641 www.zone8.oae.go.th .go.th