The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คำแนะนำการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Sumeth Penrang, 2022-01-13 21:20:55

คำแนะนำการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน

คำแนะนำการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน

คาํ แนะนําการใชป ยุ ตามคาวเิ คราะหดิน
สําหรบั พืชไรเศรษฐกิจ

ทป่ี รกึ ษา ผูอํานวยการกองวิจัยพฒั นาปจ จยั การผลิตทางการเกษตร
ขาราชการบํานาญกรมวิชาการเกษตร
นางสาวลมยั ชเู กียรติวัฒนา ขาราชการบาํ นาญกรมวชิ าการเกษตร
นายกอบเกยี รติ ไพศาลเจรญิ ขา ราชการบํานาญกรมวชิ าการเกษตร
นางสาวศรสี ุดา ทพิ ยรกั ษ ขาราชการบาํ นาญกรมวิชาการเกษตร
นางสาวพรพรรณ สทุ ธแิ ยม
นายสมควร คลองชา ง ผูอํานวยการกลมุ วจิ ัยปฐพีวทิ ยา
นกั วิชาการเกษตรชาํ นาญการพเิ ศษ
ผจู ัดทํา นักวิชาการเกษตรชาํ นาญการพเิ ศษ
นกั วชิ าการเกษตรชาํ นาญการพเิ ศษ
นางสาวศภุ กาญจน ลว นมณี นกั วชิ าการเกษตรชํานาญการ
นางสาวสมฤทัย ตนั เจรญิ นกั วชิ าการเกษตรชาํ นาญการ
นางสาวชชั ธนพร เกอ้ื หนนุ นักวิชาการเกษตรปฏบิ ัตกิ าร
นางสาววนดิ า โนบรรเทา นกั วชิ าการเกษตรปฏบิ ัติการ
นางสาวสายนาํ้ อุดพวย นักวิชาการเกษตรชํานาญการ
นางสาวปยะนันท วิวัฒนว ิทยา นกั วิชาการเกษตรชํานาญการ
นางสาวรมดิ า ขันตรกี รม นักวชิ าการเกษตรชํานาญการ
นางสาวนุชนาฏ ตนั วรรณ ผอู าํ นวยการศูนยวจิ ัยและพฒั นาการเกษตรราชบรุ ี
นายบรรณพิชญ สมั ฤทธิ์ นักวิชาการเกษตรชาํ นาญการพเิ ศษ
นายมนตชยั มนัสสลิ า นกั วชิ าการเกษตรชํานาญการ
นางสาวอมรรตั น ใจยะเสน นกั วชิ าการเกษตรชาํ นาญการ
นายดาวรุง คงเทียน นักวิชาการเกษตรชํานาญการพเิ ศษ
นางวัลลีย อมรพล นกั วชิ าการเกษตรปฏบิ ตั กิ าร
นายชยันต ภกั ดไี ทย นกั วชิ าการเกษตรปฏิบตั ิการ
นางสาวสุมาลี โพธิท์ อง
นางสาวจริ าลกั ษณ ภมู ิไธสง
นางสาววิลยั รตั น แปนแกว
นายเนตริ ัฐ ชมุ สุวรรณ

คาํ นาํ

ปยุ เปน ปจ จัยการผลิตทางการเกษตรท่ีมีความสําคัญและเปนตนทุนหลักในการผลิตพืช การใชปุย
เพือ่ เพมิ่ ธาตอุ าหารใหกบั พชื ควรใชใ หเหมาะสมกับสภาพดนิ ชนิดพชื ระยะเวลาที่พชื ตอ งการ รวมท้ังวธิ กี ารใส
ท่ถี กู ตอ ง และควรทาํ การวเิ คราะหด นิ กอนปลูกพืชในแตละป เพอื่ ประเมินระดบั ความอุดมสมบูรณข องดนิ ชวย
ใหส ามารถจดั การดินและปุย ในการผลิตพืชไดอ ยางเหมาะสม และสามารถลดตนทุนการผลิตได การใชป ยุ ตาม
คาวิเคราะหดิน เปนแนวทางในการเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตพืช ลดตนทุน และเพ่ิมรายไดเกษตรกรอยาง
มัน่ คงและยัง่ ยนื

คาํ แนะนําการใชป ุยตามคาวิเคราะหดินของกรมวิชาการเกษตร ไดมีการพัฒนาและทดสอบมาอยาง
ตอเน่ือง เพื่อปรับปรุงคําแนะนําการใชปุยตามคาวิเคราะหดินใหมีความแมนยํามากย่ิงขึ้น ซึ่งกลุมวิจัย
ปฐพีวิทยา กองวิจัยพัฒนาปจจัยการผลิตทางการเกษตร รวมกับสถาบันวิจัยพืชไรและพืชทดแทนพลังงาน
ศนู ยวิจยั และพฒั นาการเกษตรจังหวดั ตางๆ ไดดาํ เนินงานวจิ ัยในการพัฒนาและปรับปรุงคําแนะนําการใชปุย
ตามคา วเิ คราะหด นิ สาํ หรับพชื ไรเศรษฐกิจ โดยศกึ ษาการตอบสนองตอ ธาตอุ าหารของพืชแตละชนดิ และแตละ
พันธุในแหลงปลูกสําคัญซึ่งดินมีสมบัติทางกายภาพ เคมี และความอุดมสมบูรณของดินแตกตางกัน ศึกษา
ปริมาณการดูดใชธ าตอุ าหารของพืชและปริมาณธาตุอาหารท่ีสูญหายไปกับผลผลติ วิเคราะหประสิทธภิ าพการ
ใชธ าตอุ าหารของพชื ในการสรางผลผลิตและชวี มวล และวเิ คราะหผ ลตอบแทนทางเศรษฐศาสตรเพ่ือประเมิน
ความคุมคาในการลงทนุ จากการใชป ุย รวมท้งั รวบรวมผลงานวจิ ยั ท่ีเกย่ี วขอ งเพือ่ จัดทาํ เอกสารคําแนะนําการ
ใชปุยตามคาวิเคราะหดินและการปรับปรุงดินในการผลิตพืชไรเศรษฐกิจ ไดแก ออย มันสําปะหลัง ขาวโพด
เลยี้ งสตั ว ขาวโพดฝกสด และพชื ตระกูลถั่ว

คณะผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวา เอกสารฉบับน้ีจะเปนประโยชนตอนักวิชาการ เกษตรกร และ
ผูเ ก่ยี วของ สามารถนําความรูการใชปุยตามคาวิเคราะหดินกับพืชไรเศรษฐกิจไปปรับใชในการผลิตและการ
จดั การธาตอุ าหารพืชไดอ ยา งถูกตองและเหมาะสม เพอ่ื เพ่ิมประสทิ ธภิ าพการผลิต ลดตนทุน และรักษาความ
อุดมสมบูรณของดินไดอยา งย่ังยืน

(นางสาวลมัย ชเู กยี รตวิ ฒั นา)
ผอู าํ นวยการกองวจิ ยั พฒั นาปจ จยั การผลติ ทางการเกษตร

3

สารบญั หนา
1
บทท่ี 1 การใชป ยุ สาํ หรบั ออย 29
บทที่ 2 การใชป ยุ สาํ หรบั มันสาํ ปะหลงั 51
บทที่ 3 การใชป ยุ สาํ หรบั ขาวโพด 72
บทที่ 4 การใชปยุ สําหรบั พชื ตระกูลถว่ั 93
บทที่ 5 เอกสารอา งอิง

4

บทท่ี 1
การใชปยุ สาํ หรบั ออย

1. ขอ มลู ทัว่ ไป
ออ ย เปน พืชอตุ สาหกรรมที่มคี วามสําคัญทางเศรษฐกิจของประเทศ ในปการผลติ พ.ศ. 2562/2563

มพี ้นื ท่ปี ลูกออย 11,959,140 ไร ผลผลิตทั้งหมด 85,369,690 ตัน ผลผลิตเฉลี่ยทั้งประเทศ 7.09 ตันตอไร
ความหวานของออ ย เฉล่ีย 12.68 CCS โดยพ้ืนท่ีปลูกออยสวนใหญอยูในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รวม
5,229,405 ไร ใหผ ลผลติ เฉลี่ย 7.43 ตันตอไร แหลง ปลูกสาํ คัญอยูในจังหวัดอุดรธานี นครราชสีมา ขอนแกน
ชัยภูมิ และกาฬสินธุ รองลงมาเปนเขตภาคกลางมีพื้นท่ีรวม 3,172,574 ไร ใหผลผลิตเฉลี่ย 6.44 ตันตอไร
แหลงปลูกสําคญั อยใู นจงั หวัดกาญจนบรุ ี ลพบุรี สุพรรณบุรี อุทัยธานี และราชบุรี ตามดวยภาคเหนือมีพื้นที่
รวม 2,878,687 ไร ใหผลผลิตเฉล่ีย 7.16 ตันตอไร แหลงปลูกสําคัญอยูในจังหวัดนครสวรรค กําแพงเพชร
เพชรบรู ณ สุโขทยั และพิษณโุ ลก และภาคตะวันออกมีพืน้ ท่รี วม 678,474 ไร ใหผลผลิตเฉลี่ย 7.53 ตันตอไร
แหลงปลูกสําคัญอยูในจังหวัดสระแกว และชลบุรี (สํานักงานคณะกรรมการออยและนํ้าตาลทราย, 2563)
เนื่องจากพื้นที่ปลูกออยสวนใหญอยูในเขตอาศัยนํ้าฝน ดินมีความอุดมสมบูรณต่ํา และขาดแหลงน้ํา ทําให
ไดผลผลิตต่ําในขณะทต่ี นทุนการผลติ สูง (สาํ นักงานคณะกรรมการออยและน้ําตาลทราย, 2563) แนวทางใน
การลดตนทนุ การผลติ ของเกษตรกรชาวไรออย คอื การเพิม่ ความสามารถในการไวต อเพ่อื ลดตนทุนการเตรียม
ดินและทอนพันธุ หากเกษตรกรชาวไรออยสามารถไวตอไดมากขึ้น โดยที่ออยยังคงใหผลผลิตเฉล่ียสูงกวา
10 ตันตอ ไร จะชว ยสรา งความมัน่ คงและยงั่ ยนื ใหกับอุตสาหกรรมออยและน้ําตาลของไทยใหสามารถแขงขัน
ในตลาดโลกไดด ยี ่ิงขึน้

2. สภาพแวดลอ มทีเ่ หมาะสมตอการผลติ ออ ย
2.1 สภาพพนื้ ทแี่ ละสมบัตขิ องดนิ ท่ีเหมาะสม
พ้นื ทปี่ ลูกออยควรเปนพื้นท่ีราบถึงพ้ืนท่ีลอนลาดท่ีมีความชันไมเกิน 3 เปอรเซ็นต และเปนที่

ดอนหรือทีล่ ุมไมม นี าํ้ ทว มขัง ความสงู ไมเกิน 1,500 เมตรจากระดับทะเลปานกลาง พ้ืนที่ปลูกออยควรอยูใน
รัศมี 50 กิโลเมตรจากโรงงาน ไมอยูในแหลงมลพิษ และเปนพื้นท่ีประกาศเปนเขตเศรษฐกิจสําหรับออย
โรงงาน

ลักษณะดินที่เหมาะสมกับการปลูกออย ตองมีโครงสรางดี ควรมีเนื้อดินรวนปนทรายถึงรวน
เหนียว คาความเปนกรด-ดางของดิน (pH) เปนกรดจัดถึงดางเล็กนอย (5.5 - 7.5) อินทรียวัตถุ 1.5 - 2.5
เปอรเ ซ็นต ฟอสฟอรสั ท่ีเปนประโยชน 10 - 20 มิลลกิ รมั ตอ กิโลกรัม โพแทสเซียมท่ีแลกเปล่ียนได 80 - 150
มิลลิกรมั ตอกโิ ลกรมั เปน ตน (ตารางที่ 1.1)

2.2 สภาพภมู ิอากาศ
สภาพภูมิอากาศที่เหมาะสม ควรมีปริมาณน้ําฝน 1,200 - 1,500 มิลลิเมตรตอป และฝนตก

สม่าํ เสมอในชว ง 1 ถงึ 8 เดอื นแรก อณุ หภูมเิ ฉลีย่ 30 - 35 องศาเซลเซียส มีแสงแดดมากกวา 8 ชัว่ โมง (สมศรี
และรังสมิ นั ต,ุ 2549)

1

ตารางที่ 1.1 คามาตรฐานความเหมาะสมของดินท่ปี ลูกออย ระดับทเ่ี หมาะสม
สมบตั ิตาง ๆ 5.5 - 7.5
1.5 - 2.5
คาความเปนกรด-ดา งของดนิ 10 - 20
อินทรียวัตถุ (เปอรเซน็ ต) 80 - 150
ฟอสฟอรัสทเี่ ปนประโยชน (มลิ ลิกรัมตอกโิ ลกรัม) 110 - 125
โพแทสเซยี มท่แี ลกเปลี่ยนได (มิลลกิ รัมตอกิโลกรัม) 12 - 30
แคลเซยี มทแ่ี ลกเปล่ียนได (มลิ ลิกรมั ตอกิโลกรมั ) มากกวา 0.2
แมกนีเซียมทีแ่ ลกเปลีย่ นได (มิลลิกรัมตอ กิโลกรมั ) มากกวา 0.6
ทองแดงทีส่ ามารถสกัดได (มลิ ลกิ รมั ตอ กโิ ลกรมั ) มากกวา 15
สังกะสีทส่ี ามารถสกัดได (มิลลกิ รมั ตอกโิ ลกรัม) ต่าํ กวา 2.5
ความจใุ นการแลกเปลีย่ นประจุบวก (เซนติโมลตอกิโลกรมั ) มากกวา 75
คา การนําไฟฟา ของดนิ ท่ีอ่ิมตวั ดว ยนา้ํ (เดซซิ เี มนตอเมตร)
รอ ยละความอิ่มตวั ของดาง มากกวา 100
ความลกึ ของดิน (เซนติเมตร) มากกวา 160
ความลึกของระดบั นาํ้ ใตดิน (เซนติเมตร) รว นปนทรายถงึ รวนเหนียว
เน้ือดนิ
ท่ีมา: ปรชี า (2547)

2.3 ฤดูการปลกู
การปลูกออยสามารถแบง ตามฤดปู ลูกไดเปน 2 ประเภท ดังนี้ (สถาบันวจิ ัยพชื ไร, 2547)
2.3.1 ออ ยตน ฝน แบง เปน 2 เขต ไดแก (1) ออยตนฝนในเขตชลประทาน ปลูกในชวงเดือน

กมุ ภาพันธถ ึงเมษายน และ (2) ออยตนฝนในเขตอาศัยน้ําฝน ปลูกในชวงเดือนเมษายนถึงมิถุนายน โดยพื้นที่
ปลูกออ ยตน ฝนในเขตชลประทานสวนใหญอยูในเขตภาคกลางและภาคตะวันออก ซ่ึงเปนพื้นที่ท่ีมีศักยภาพ
ในการใหผลผลิตออยสูง วิธีการใหนํ้าสามารถทําไดโดยใหน้ําตามรองหลังจากวางลําปลูก หรือท่ีเรียกวา

“ออยนํ้าราด” โดยใหน้ําตามรองหลังวางลําแลวใชดินกลบเพื่อรักษาความชื้นในดิน ชวยใหออยงอกและ
เจรญิ เติบโตไดใ นระยะสั้นกอ นเขาสูฤดฝู น หรอื สามารถทําไดโ ดยใชเ ครือ่ งปลูกท่ีมีการหยอดนาํ้ ทําใหออยงอกไดดี
และอยรู อดจนถึงฤดูฝนได เรียกระบบน้ีวา “ออ ยน้ําหยอด” ออยตนฝนในเขตชลประทาน หากมีการจัดการท่ีดี

จะไดผ ลผลติ ออ ยไมต ่าํ กวา 15 ตันตอไร สวนออยตนฝนในเขตอาศัยนํ้าฝนจะครอบคลุมพ้ืนที่ปลูกออยสวน
ใหญของประเทศ ซึง่ เปนพน้ื ทป่ี ลูกออยท่ีมคี วามแปรปรวนในเรอ่ื งผลผลิตสงู เนอ่ื งจากปริมาณและการกระจาย
ตวั ของฝนไมสมํา่ เสมอและดนิ มีความอดุ มสมบูรณตา่ํ จึงทําใหไดผลผลิตเฉลย่ี ตาํ่ กวา 10 ตนั ตอไร

2.3.2 ออยปลายฝนหรือออยขามแลง เปนการปลูกออ ยโดยอาศัยความชืน้ ในดนิ ชวงปลายฤดู
ฝน เพอ่ื ใหอ อ ยงอกและเจริญเตบิ โตอยางชา ๆ ไปจนกวาออยจะไดรบั นํ้าฝนตน ฤดู เปนการปลูกออยทีใ่ ชไ ดผล
ในเขตปลกู ออ ยโดยอาศัยนํ้าฝนทีด่ นิ เปนดินทรายหรือรวนปนทราย ที่สําคัญจะตองมีปริมาณนํ้าฝนไมต่ํากวา

1,200 มิลลเิ มตรตอป และมกี ารกระจายตัวสมํ่าเสมอ โดยเฉพาะในชวงตนฤดู (กมุ ภาพนั ธถ งึ เมษายน) จะตอง
มีปรมิ าณฝนที่พอเพียงกบั การเจรญิ เตบิ โตของออ ยในชวงแรก ออยที่ปลูกในเขตน้ีจะมีอายุไมนอยกวา 12 เดือน
ในขณะตัดออ ยเขา โรงงาน ทําใหไดผ ลผลิตและคุณภาพ (ความหวาน) สูงกวาออยท่ีปลูกตนฝน และมีปญหา

เรื่องวัชพชื รบกวนนอ ย เพราะหนา ดินจะแหงอยูตลอดเวลาในชว งแรกของการเจรญิ เติบโต แตถ า ตนฤดมู ฝี นตก
นอ ยหรือตกลาชา อาจทําใหออยเสยี หายได

2

2.4 ความตอ งการน้ําของออย ข้ึนอยูกับสภาพภูมอิ ากาศ และชว งการเจรญิ เตบิ โต ซ่ึงสามารถแบง
ระยะความตอ งการนํ้าตามชวงการเจรญิ เตบิ โตในออ ยปลูกและออ ยตอ ดงั นี้ (กอบเกยี รติ, 2556)

2.4.1 ออยปลูก แบงระยะการเจรญิ เตบิ โตได เปน 4 ระยะ ไดแก
1) ระยะตงั้ ตัว (0 - 30 วัน) เปนระยะที่ออยเริ่มงอกจนมใี บจริง และเปนตน ออน ระยะนี้

ออยตองการนํ้านอ ย เฉล่ยี 1.1 มิลลิเมตรตอ วัน เพราะรากออ ยยงั สัน้ และการคายนํ้ายังมีนอย แตดินจะตองมี
ความชื้นพอเหมาะกับการงอก ถาความชื้นในดินมากเกินไปจะทําใหตาออยเนา แตหากความช้ืนในดินนอย
เกินไปจะทาํ ใหตาออ ยไมงอก หรอื ถางอกแลว อาจจะเหย่ี วเฉาหรอื ตายไป ในดินทผี่ ิวหนา ฉาบเปนแผนแข็งเมื่อ
อยูในสภาพแหง อาจทําใหหนอออยไมสามารถแทงโผลข้ึนมาได ดังนั้น ในระยะน้ีการใหน้ําออยควรใหใน
ปริมาณที่นอ ยและบอ ยคร้งั เพ่อื ทาํ ใหค วามชืน้ ดินเหมาะสม

2) ระยะการเจริญเตบิ โตทางลําตน (31 - 170 วัน) ระยะน้ีรากออยเริ่มแพรกระจายท้ัง
ในแนวดิ่งและแนวราบ เปนระยะที่ออยกําลังแตกกอและสรางปลองเปนชวงที่ออยตองการนํ้าเฉลี่ย 4.4
มิลลเิ มตรตอวนั ถาออยไดรบั นาํ้ ในปริมาณทเ่ี พียงพอในระยะนี้ จะทําใหอ อ ยมจี ํานวนลําตอกอมาก ปลองยาว
มลี าํ ยาว และผลผลิตสงู การใหน้ําจงึ ตองใหบอยครั้ง

3) ระยะสรางน้ําตาลหรือชวงสรางผลผลิต (171 - 295 วัน) เปนระยะท่ีออยมีการ
เจรญิ เตบิ โตสูงสุด ออยในระยะนี้มีความตอ งการนาํ้ ในปริมาณมาก เฉล่ีย 10.2 มิลลิเมตรตอวัน ชวงน้ีใบออย
บางสว นจะเรมิ่ แหงจงึ ทาํ ใหพื้นทใ่ี บท่ที าํ หนาท่ีสังเคราะหดว ยแสง และคายนํา้ ลดนอ ยลง จึงไมจําเปนตองใหนา้ํ
บอย แตจ ะใหเฉพาะชวงท่อี อ ยเรม่ิ แสดงอาการขาดนา้ํ

4) ระยะสกุ แก (296 – 330 วนั ) เปนชว งที่ออ ยตองการนํ้าลดนอ ยลง เฉล่ีย 6.4 มิลลิเมตร
ตอ วัน ในชวงกอนเกบ็ เกีย่ ว 6 - 8 สัปดาห ควรหยดุ ใหน า้ํ เพื่อลดปริมาณนํ้าในลําตนออยและบังคับใหน้ําตาล
ทงั้ หมดในลําออ ยเปลยี่ นเปนนํา้ ตาลซูโครส

2.4.2 ออยตอ แบงระยะการเจรญิ เติบโตได เปน 4 ระยะ ไดแก
1) ระยะตง้ั ตวั (0 - 45 วนั ) ออยตอตองการนํา้ เฉล่ยี 3.4 มลิ ลเิ มตรตอวนั
2) ระยะพักตัว (46 - 120 วัน) ออยตอตองการนํ้าเฉล่ยี 2.6 มลิ ลิเมตรตอ วนั
3) ระยะแตกกอ (121 - 225 วัน) เปนชวงท่ีมีความสําคัญตอการใหผลผลิต ออยตอง

ไดรับน้าํ ในปริมาณทีเ่ พียงพอ ออ ยตอมคี วามตอ งการนาํ้ เฉลยี่ 5.8 มิลลเิ มตรตอ วนั
4) ระยะยืดปลองและสะสมนํ้าตาล (226 - 330 วัน) เปนชวงที่ออยตองการน้ําเฉล่ีย

12.5 มลิ ลเิ มตรตอวนั แมในระยะดงั กลา วน้ีออ ยจะมีความตองการน้ําในปริมาณมาก แตไมจําเปนตองใหนํ้า
บอ ย อาจใหน ้าํ เฉพาะชวงที่ออ ยเริ่มแสดงอาการขาดน้าํ

5) ระยะสกุ แก (331 - 360 วนั ) เปน ชว งทีอ่ อ ยตองการนํ้านอย เฉล่ีย 3.3 มลิ ลิเมตรตอ วนั

2.5 ปจ จัยทใ่ี ชพ ิจารณาปริมาณและความถขี่ องการใหนาํ้ ในออย มีดังนี้ (กอบเกียรต,ิ 2556)
2.5.1 สมบตั ทิ างกายภาพของดนิ ไดแก ความสามารถของดนิ ในการอมุ นาํ้ ดินทีม่ ีเนือ้ ละเอียด

หรือเหนียวสามารถอุมน้ําไวไดมากไมจําเปนตองใหน้ําบอยครั้ง ในขณะท่ีดินที่มีเน้ือหยาบหรือดินทรายที่มี
ความสามารถอมุ นํ้าตา่ํ จาํ เปนตอ งใหน ํ้าบอยคร้ัง ออยจะเจริญเตบิ โตไดด เี ม่ือความช้ืนในดินเหมาะสม ถาดินมี
ความชื้นสูงเกินไป เชน ในสภาพน้ําขังจะทําใหรากพืชขาดออกซิเจน โดยท่ัวไปถาในดินมีอากาศนอยกวา
5 เปอรเ ซ็นต รากออ ยจะชะงกั การดดู ธาตอุ าหาร นาํ้ และออกซเิ จน เปนเหตุใหพืชชะงักการเจริญเติบโต แต
ถาหากอยูในสภาวะขาดนาํ้ ออ ยจะแสดงอาการใบหอในเวลากลางวนั

3

2.5.2 สภาพลมฟาอากาศ ในชว งที่อณุ หภูมสิ ูงออยจะคายนํ้ามาก ดังน้ันความตองการนํ้าจึงมาก
ตามไปดวย จําเปนตองใหน้ําบอยขึ้น แตในชวงที่มีฝนตกควรงดใหนํ้า และหาทางระบายนํ้าแทน เพื่อใหดินมี

ความชนื้ และอากาศในดินเหมาะสม ถาฝนทงิ้ ชว ง ควรใหน้ําชว ย จะทาํ ใหก ารเจริญเตบิ โตของออยดขี ึน้
2.5.3 พันธุออย ออยแตละพันธุมีการตอบสนองตอปริมาณน้ําและใหผลผลิตแตกตางกัน

(ตารางท่ี 1.2)

ตารางท่ี 1.2 ปริมาณการใชน้าํ ของพนั ธุออ ยตาง ๆ ตอการใหผลผลติ

พนั ธุออย ผลผลติ ออย ปริมาณการ ปริมาณน้ํา (มม.) แหลง ขอ มลู
(ตัน/ไร) ใชน ้ํา (มม.) ฝน ใหน ํ้า
ขอนแกน 3 1) ออยปลูก 1,149 379 กอบเกยี รติ และ
อูทอง 3 2) ออยตอ 1 34.8 1,591 1,308 71 คณะ (2555)
21.1 1,703 453 1,233 Prakunhungsit
1) ออยปลูก et al. (2006)
27.2 1,686 Thompson et
al. (1963)
ซีโอ376 1) ออยปลูก 30.7 1,496 - -
2) ออยตอ 1 29.0 1,110
3) ออ ยตอ 2 23.8 1,069

2.5.4 ระยะการเจรญิ เติบโต ปริมาณความตองการน้ําของออยข้ึนอยูกบั ระยะการเจริญเติบโต
และความลกึ ท่ีรากหยงั่ ลงไปถงึ (ตารางที่ 1.3 และ 1.4)

ตารางที่ 1.3 ความตองการน้ําของออยปลูกพนั ธขุ อนแกน 3 ในระยะการเจริญเตบิ โตตา ง ๆ

ระยะการเจรญิ เตบิ โต อายุ (วัน) Kc ปริมาณความตองการน้ํา ปรมิ าณความตองการนํ้า
ของออยปลกู (มม./วัน) (ลบ.ม./ไร/วัน)

ระยะตั้งตวั 0-30 0.21 1.1 1.7
7.1
ระยะเตบิ โตทางลําตน 31-170 0.73 4.4 16.3
10.3
ระยะสรางน้ําตาล 171-295 1.70 10.2

ระยะสุกแก 296-330 1.17 6.4
1/หาคา Kc จากวธิ ีการของ FAO Blaney-Criddle (ดัดแปลงจาก กอบเกยี รติ และคณะ, 2555)

ตารางท่ี 1.4 ความตองการนาํ้ ของออยตอพันธุข อนแกน 3 ในระยะการเจรญิ เติบโตตาง ๆ

ระยะการเจริญเตบิ โต อายุ (วัน) Kc ปริมาณความตองการน้ํา ปริมาณความตองการน้ํา
ของออยตอ (มม./วัน) (ลบ.ม./ไร/วัน)

ระยะตั้งตวั 0-45 0.69 3.4 5.4
4.2
ระยะพกั ตัว 46-120 0.39 2.6 9.4
20.0
ระยะเตบิ โตทางลําตน 121-225 0.84 5.8 5.2

ระยะสรางน้ําตาล 226-330 2.28 12.5

ระยะสกุ แก 331-360 0.75 3.3
1/หาคา Kc จากวธิ กี ารของ FAO Blaney-Criddle (ดัดแปลงจาก กอบเกียรติ และคณะ, 2555)

4

3. ความตอ งการธาตุอาหารของออย
ออ ยตองการธาตอุ าหารที่จําเปน ตอ การเจริญเตบิ โตและใชสะสมนา้ํ ตาล สําหรบั ธาตุอาหารหลัก คือ

ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรสั (P) และโพแทสเซยี ม (K) เปนธาตุอาหารท่ีทําใหออยใหผลผลิตสูง ธาตุอาหารรอง
ไดแก แคลเซียม (Ca) แมกนีเซียม (Mg) กํามะถัน (S) ธาตุอาหารจุลภาค ไดแก เหล็ก (Fe) สังกะสี (Zn)
แมงกานีส (Mn) ทองแดง (Cu) โบรอน (B) คลอรีน (Cl) โมลิบดีนัม (Mo) และธาตุเสริมประโยชน ไดแก

ซิลิคอน (Si) ธาตุอาหารเหลาน้ีมีความสําคัญในการชวยการเจริญเติบโตของออย ถาขาดอาจทําใหออย
เจริญเตบิ โตไมปกติ โดยธาตอุ าหารแตล ะตัว มีระดับความเหมาะสมทีอ่ อยตองการแตกตา งกนั ไป (ตารางท่ี 1.5)

ตารางที่ 1.5 ระดบั วกิ ฤตคิ วามเขม ขนของธาตอุ าหารพชื และระดบั ทเี่ หมาะสมของธาตอุ าหารในใบออ ย

ธาตอุ าหาร ระดบั วิกฤต ระดับทเ่ี หมาะสม

ไนโตรเจน (N, %) 1.80 2.00 - 2.60

ฟอสฟอรสั (P, %) 0.19 0.22 - 0.30

โพแทสเซียม (K, %) 0.90 1.00 - 1.60

แคลเซยี ม (Ca, %) 0.20 0.20 - 0.45

แมกนีเซียม (Mg, %) 0.13 0.15 - 0.32

กาํ มะถัน (S, %) 0.13 0.13 - 0.18

ซลิ ิกอน (Si, %) 0.50 มากกวา 0.60

เหล็ก (Fe, มก./กก.) 50 55 - 105

แมงกานสี (Mn, มก./กก.) 16 20 - 100

สงั กะสี (Zn, มก./กก.) 15 17 - 32

ทองแดง (Cu, มก./กก.) 3 4-8

โบรอน (B, มก./กก.) 4 15 - 20

โมลบิ ดนิ มั (Mo, มก./กก.) 0.05 -

ท่ีมา: Anderson and Bowen (1990) และ McCray and Mylavarapu (2010)

หมายเหตุ: ปริมาณธาตุอาหารที่ระดบั วิกฤต เปนระดบั ทสี่ ามารถทาํ ใหผ ลผลติ ของออยลดลง 5-10% เมอื่ เปรยี บเทยี บกับ

ปรมิ าณธาตุอาหารทรี่ ะดับเหมาะสม

ปริมาณการดดู ใชธ าตอุ าหารของออย
กอบเกยี รติ (2558) ไดรายงานปริมาณการดูดใชธาตุอาหารของออยท่ีปลูกในชุดดินตางๆ พบวา ออย

ปลูกมีการดดู ใชไ นโตรเจนเฉลี่ย 1.64 กโิ ลกรัมตอผลผลิต 1 ตนั ฟอสฟอรัสเฉลี่ย 0.66 กิโลกรัมตอผลผลิต 1 ตัน
โพแทสเซียมเฉลย่ี 2.53 กโิ ลกรัมตอ ผลผลิต 1 ตัน ในขณะที่ออยตอมีการดูดใชไนโตรเจนเฉล่ีย 1.34 กิโลกรัมตอ
ผลผลิต 1 ตนั ฟอสฟอรสั เฉลี่ย 0.60 กโิ ลกรัมตอผลผลิต 1 ตัน โพแทสเซียมเฉลี่ย 2.07 กิโลกรัมตอผลผลิต 1 ตัน

โดยธาตุอาหารในสว นของใบประกอบดว ยไนโตรเจน 0.85 กิโลกรมั ตอผลผลิต 1 ตัน ฟอสฟอรสั 0.24 กิโลกรัมตอ
ผลผลิต 1 ตนั โพแทสเซยี ม 1.20 กิโลกรมั ตอผลผลิต 1 ตัน และในสว นของลํา (ตน) ประกอบดวยไนโตรเจน 0.64
กโิ ลกรัมตอผลผลิต 1 ตัน ฟอสฟอรัส 0.39 กิโลกรัมตอผลผลติ 1 ตนั โพแทสเซยี ม 1.09 กโิ ลกรัมตอผลผลิต 1 ตัน

ซ่ึงหากเกบ็ เกี่ยวนําเฉพาะลําออกไปจากพื้นท่ี ก็จะมีการสูญหายของไนโตรเจน 8.59 กิโลกรัมตอไร ฟอสฟอรัส
5.30 กโิ ลกรมั ตอไร และโพแทสเซียม 14.76 กโิ ลกรมั ตอ ไร แตห ากนําออกไปท้ังตนและใบ จะทําใหมีธาตุอาหาร
สูญหายออกไปจากพื้นท่ีรวมไนโตรเจน 1.49 กิโลกรัมตอผลผลิต 1 ตัน (20.10 กิโลกรัมไนโตรเจนตอไร)

5

ฟอสฟอรสั 0.63 กิโลกรมั ตอผลผลิต 1 ตัน (8.47 กิโลกรัมฟอสฟอรัสตอไร) และโพแทสเซียม 2.30 กิโลกรัมตอ
ผลผลติ 1 ตัน (31 กโิ ลกรมั โพแทสเซยี มตอ ไร) (ตารางที่ 1.6) ซ่ึงมีผลทําใหดินเส่ือมความอุดมสมบูรณได หากมี

การใสป ุย ไมเ พยี งพอที่จะชดเชยกับปริมาณที่สญู หายออกไป

ตารางที่ 1.6 ปรมิ าณธาตุอาหารในสว นตาง ๆ ของออยและปริมาณการดดู ใชธาตอุ าหารทง้ั หมด

เนอื้ ดนิ / ออยปลูก/ พนั ธุ ผลผลิต สว นของ ปรมิ าณธาตอุ าหารในสว นตาง ๆ ของพืช แหลง ท่ีมา
ชดุ ดิน/ ออ ยตอ ขอนแกน 3 (ตัน/ไร) พืช (กก.ธาตอุ าหาร/ผลผลติ 1 ตนั ) ศุภกาญจน และ
จงั หวัด คณะ (2558ก)
ดินทราย ออยปลกู 14.20 ตน N P K Ca Mg
ชุดดนิ บา นไผ ใบ วลั ลยี  และคณะ
จ.ขอนแกน LK92-11 12.59 รวม 0.59 0.20 1.35 0.18 0.27 (2558จ)
ตน 0.49 0.08 0.77 0.18 0.09
ดินทราย ออ ยตอ ขอนแกน 3 15.40 ใบ 1.08 0.29 2.12 0.36 0.36 วัลลีย และคณะ
ชดุ ดินสตั หีบ รวม (2558ค)
จ.ระยอง LK92-11 13.01 ตน 0.61 0.21 1.33 0.16 0.25
ใบ 0.54 0.09 0.83 0.21 0.10
ดนิ ทราย ออยปลกู ขอนแกน 3 14.12 รวม 1.15 0.29 2.15 0.37 0.34
ชุดดินบา นบงึ ตน 0.63 0.17 0.81 0.27 0.18
LK92-11 12.13 ใบ 0.43 0.08 0.77 0.34 0.09
จ.ระยอง รวม 1.06 0.25 1.58 0.60 0.27
ตน
ใบ 0.62 0.16 0.52 0.25 0.15
รวม 0.50 0.08 0.74 0.46 0.09
ตน 1.12 0.25 1.26 0.71 0.24
ใบ
รวม 0.51 0.78 1.0 - -
ตน 0.82 0.41 0.54 - -
ใบ
รวม 1.33 1.19 1.59 - -
ตน 0.52 0.85 1.30 - -
ใบ
ออ ยตอ ขอนแกน 3 8.28 รวม 1.17 0.54 0.80 - -
ตน 1.69 1.39 2.10 - -
LK92-11 10.27 ใบ 0.66 0.68 1.29 - -
รวม 0.64 0.25 1.21 - -
ตน 1.30 0.93 2.50 - -
ใบ 0.62 0.67 1.30 - -
รวม 0.76 0.27 1.22 - -
ตน
ออ ยปลกู ขอนแกน 3 15.71 ใบ 1.38 0.94 2.51 - -
รวม 0.50 0.42 0.55 - -
LK92-11 13.28 ตน 0.37 0.15 0.53 - -
ใบ 0.87 0.57 1.08 - -
ออ ยตอ ขอนแกน 3 13.42 รวม 0.69 0.61 1.11 - -
0.71 0.28 0.96 - -
LK92-11 12.86 1.39 0.89 2.07 - -
0.58 0.60 1.63 - -
0.44 0.20 0.97 - -
1.02 0.80 2.60 - -
0.58 0.57 1.76 - -
0.82 0.35 1.46 - -
1.40 0.92 3.22 - -

6

ตารางที่ 1.6 (ตอ) ปรมิ าณธาตุอาหารในสว นตาง ๆ ของออ ยและปรมิ าณการดดู ใชธ าตุอาหารทั้งหมด

เนอ้ื ดิน/ ออ ยปลูก/ พันธุ ผลผลติ สวนของ ปริมาณธาตุอาหารในสวนตาง ๆ ของพืช แหลง ทมี่ า
ชดุ ดิน/ ออ ยตอ ขอนแกน 3 (ตัน/ไร) พชื (กก.ธาตอุ าหาร/ผลผลิต 1 ตนั ) สมควร และ
จงั หวดั ออยปลกู คณะ (2558ข)
ดินเหนียว 13.9 ตน NP K Ca Mg
ชุดดนิ เพชรบรุ ี ออยปลูก ใบ สมควร และคณะ
จ.นครปฐม รวม 0.56 0.37 - -- (2558ข)
ออ ยตอ 1.22 0.35 - --
ดนิ เหนียว ตน 1.78 0.72 - -- อดุ ม และคณะ
ชดุ ดนิ ทบั กวาง ออยปลูก ใบ (2558)
จ.นครสวรรค LK92-11 12.3 รวม 0.52 0.40 - - -
ออ ยตอ ตน 1.30 0.36 - - - สมฤทัย
ดนิ เหนยี ว ขอนแกน 3 11.01 ใบ 1.82 0.76 - - - และคณะ
ชดุ ดนิ ราชบรุ ี ออ ยปลูก รวม (2558ก)
LK92-11 10.98 0.87 0.30 1.31 - -
จ.ราชบุรี ออ ยตอ ตน 1.01 0.24 1.90 - -
ขอนแกน 3 13.49 ใบ 1.88 0.54 3.21 - -
ดนิ เหนียว รวม
ชุดดนิ ตาคลี LK92-11 13.31 ตน 0.75 0.31 1.28 - -
จ.นครสวรรค ใบ 0.85 0.20 1.45 - -
สพุ รรณบรุ ี 15.59 รวม 1.59 0.51 2.73 - -
80 12.98
ตน 0.79 0.20 0.79 - -
LK92-11 ใบ 0.23 0.05 0.41 - -
รวม 1.02 0.24 1.19 - -
สุพรรณบรุ ี 12.59 ตน
80 ใบ 0.81 0.20 0.67 - -
รวม 0.26 0.05 0.38 - -
LK92-11 11.13 1.07 0.25 1.05 - -
ตน
อทู อง 14 17.1 ใบ 1.04 0.53 1.86 - -
รวม 1.05 0.30 1.10 - -
LK92-11 14.0 2.09 0.82 2.96 - -
ตน
อทู อง 14 11.0 ใบ 1.09 0.50 1.70 - -
รวม 1.06 0.33 1.30 - -
LK92-11 9.3 ตน 2.15 0.83 3.00 - -
ใบ
รวม 0.52 0.56 1.83 - -

ตน 0.81 0.28 1.27 - -
ใบ 1.33 0.83 3.10 - -
รวม
ตน 0.55 0.54 1.67 - -
ใบ 0.82 0.24 1.32 - -
รวม 1.37 0.78 2.99 - -

ตน 0.62 0.18 1.05 - -
ใบ 1.66 0.38 2.91 - -
รวม 2.27 0.56 3.96 - -

ตน 0.76 0.19 0.74 - -
ใบ 2.25 0.49 5.27 - -
รวม 3.02 0.68 6.01 - -

0.62 0.10 0.36 - -
0.50 0.12 0.71 - -
1.12 0.22 1.07 - -

0.98 0.17 0.42 - -
0.68 0.16 1.31 - -
1.66 0.33 1.73 - -

7

ตารางท่ี 1.6 (ตอ) ปรมิ าณธาตุอาหารในสว นตาง ๆ ของออ ยและปริมาณการดูดใชธ าตอุ าหารทั้งหมด

เน้ือดนิ / ออ ยปลูก/ พันธุ ผลผลติ สว นของ ปริมาณธาตุอาหารในสวนตา ง ๆ ของพืช แหลงทีม่ า
ชุดดิน/ ออ ยตอ อทู อง 14 (ตนั /ไร) พืช (กก.ธาตุอาหาร/ผลผลติ 1 ตัน)
จังหวดั 21.0 สมฤทยั และคณะ
ออยปลกู LK92-11 ตน NPK Ca Mg (2558ก)
ดินเหนียว 18.1 ใบ
ชดุ ดินสมอทอด รวม 0.27 0.09 0.40 - -
จ.นครสวรรค 16.2 ตน 0.60 0.11 0.60 - -
ใบ 0.87 0.20 0.99
16.9 รวม
ออยตอ อทู อง 14 ตน 0.35 0.14 0.41 - -
14.31 ใบ 0.86 0.14 1.02 - -
LK92-11 รวม 1.20 0.28 1.43 - -
13.54 ตน
เฉลี่ย ออ ยปลูก ใบ 0.41 0.46 - - -
13.48 รวม 1.39 0.28 - - -
ตน 1.80 0.74 - - -
ใบ
รวม 0.51 0.60 - - -
ตน 1.65 0.28 - - -
ใบ 2.16 0.88 - - -
รวม
ตน 0.64 0.38 1.10 0.17 0.26
ใบ
รวม 1.00 0.28 1.43 0.20 0.10

1.64 0.66 2.53 0.37 0.36

ออยตอ 0.63 0.41 1.09 0.26 0.17
0.71 0.19 0.98 0.40 0.09
รวม 1.34 0.60 2.07 0.66 0.26

0.64 0.39 1.09 0.22 0.21
0.85 0.24 1.20 0.30 0.09
1.49 0.63 2.30 0.51 0.31

ท่มี า: กอบเกยี รติ (2558)

4. อาการขาดธาตอุ าหารของออ ย
4.1 ไนโตรเจน เปนองคประกอบของกรดอะมิโน โปรตีน และสวนที่เปนสีเขียวของพืช (chlorophyll)

มีหนาท่ีชวยทําใหพืชต้ังตัวไดเร็วในระยะแรกของการเจริญเติบโต สงเสริมการแตกยอดออน ใบและกิ่งกาน
ไนโตรเจนจาํ เปน ตอการเจรญิ เติบโตและการสรางผลผลติ ของออ ย ออยมกั ขาดไนโตรเจนในชวงระยะยดื ปลองและ
สรางลํามากกวาระยะอนื่ หากออยขาดไนโตรเจนจะชะงักการเจริญเติบโต ตนเตี้ยแคระแกร็น ใบลางจะเปล่ียน

จากสีเขียวเปน เหลืองซดี จนถงึ สีนํ้าตาลและรว งกอนกาํ หนด (ภาพท่ี 1.1) ซ่ึงสงผลใหผลผลิตลดนอยลง จากการ
วิเคราะหปริมาณการดูดใชไนโตรเจนของออย พบวา ออยดูดใชไนโตรเจนไปสะสมในสวนของใบ และลําตน
เฉลี่ย 0.85 และ 0.64 กิโลกรัม N ตอผลผลิต 1 ตัน ตามลําดับ (ตารางที่ 1.6) ดังนั้น หากออยใหผลผลิตเฉล่ีย

13.54 ตนั ตอไร จะมีไนโตรเจนสูญเสียไปกับผลผลิต 8.59 กิโลกรัม N ตอไร เทียบเทาปุยยูเรีย 18.68 กิโลกรัม
ตอไร แตห ากมีการเผาใบจะทาํ ใหม ไี นโตรเจนสูญหายเพม่ิ อกี 11.50 กโิ ลกรมั N ตอ ไร หรอื เทา กับปุยยูเรีย 25.01
กิโลกรัมตอไร การปองกันแกไขการขาดธาตุไนโตรเจนทําไดโดยการใสปุยอินทรียปรับปรุงดิน รวมกับการใช

ปยุ เคมตี ามคาวเิ คราะหดิน สาํ หรับการปลูกออยในดินเน้ือหยาบ เชน ดินทราย หรือดินรวนปนทราย ซึ่งมักเกิด
การชะลางไนโตรเจนไดงาย ควรแบงใสปุยไนโตรเจนอยางนอย 2 ครั้ง และหากปลูกออยในดินท่ีเปนดาง หรือ
มีคาความเปน กรด-ดา งของดนิ มากกวา 7.0 ควรใชป ยุ แอมโมเนียมซัลเฟต (21-0-0) แทนการใชปุยยูเรีย (46-0-0)

เพื่อปรับระดับความเปนกรด-ดางของดินใหลดลง และลดการสูญหายของไนโตรเจนโดยการระเหิดในรูปของ
กา ซแอมโมเนยี (NH3)

8

ก ข

ภาพที่ 1.1 ลกั ษณะการขาดธาตไุ นโตรเจนในออ ย

แหลงท่มี าภาพ : (ก) Dr. Manoj Kumar Sharma (P. Kumar and M.K. Sharma, 2013)
(ข) Dr. Prakash Kumar (P. Kumar and M.K. Sharma, 2013)

4.2 ฟอสฟอรัส มีความสําคัญตอการเจริญเติบโตของราก ทําใหพืชต้ังตัวไดดี ฟอสฟอรัสเปนธาตุที่
สามารถเคลื่อนยา ยได (mobile) ในตนพืช ดงั นน้ั อาการขาดธาตุฟอสฟอรัสจึงแสดงออกเร่ิมตนจากบริเวณท่ี

เปน เน้อื เย่อื แก โดยใบแกจ ะเปล่ียนเปน สีเขียวเขม จนถงึ เขยี วอมน้าํ เงนิ แดงหรือมว ง โดยเฉพาะอยา งย่ิงในสวน
ปลายใบและขอบใบ (ภาพท่ี 1.2) ปลองส้ัน ตนเตีย้ ลํามีขนาดเล็ก การแตกกอและความแข็งแรงของออยจะ
ลดลง จํานวนลําตนตอพ้ืนที่และผลผลติ จงึ ลดลงตามไปดว ย อาการขาดฟอสฟอรัส มักพบในออยที่มีการแตก

กอมากเกนิ ไป หรอื ออ ยที่ขยายพนั ธดุ วยเนือ้ เย่ือ หรอื ในดนิ แนน ทบึ เปนดินดานหรือขาดอากาศ เปนตน ออย
ตอมกั จะขาดฟอสฟอรสั ในชว งระยะแตกกอมากกวาระยะอื่น ๆ นอกจากน้ียังพบอาการขาดฟอสฟอรัส เม่ือ
อณุ หภมู ติ ํา่ กวา 12 องศาเซลเซียส นานติดตอกันเกนิ 3 วนั

ก ข

ภาพที่ 1.2 ลักษณะการขาดธาตุฟอสฟอรสั ในออย

แหลง ท่ีมาภาพ : (ก) Dr. Prakash Kumar (P. Kumar and M.K. Sharma, 2013)
(ข) Dr. Prakash Kumar (P. Kumar and M.K. Sharma, 2013)

9

จากการวิเคราะหป รมิ าณการดูดใชฟ อสฟอรัสของออ ย พบวา ฟอสฟอรัสสะสมอยูในสวนใบ และลําตน
เฉล่ีย 0.24 และ 0.39 กิโลกรัม P ตอผลผลิต 1 ตัน ตามลําดับ (ตารางท่ี 1.6) หากผลผลิตออยเฉล่ีย 13.48
ตันตอไร ฟอสฟอรัสทีส่ ญู หายออกไปจากพน้ื ทโี่ ดยตดิ ไปกบั ลําตน เทา กับ 5.30 กโิ ลกรมั P ตอไร หรอื คดิ เทียบเทา
ปยุ ทรปิ เปลซเู ปอรฟ อสเฟต (0-46-0) 11.51 กิโลกรมั ตอไร ฟอสฟอรัสเปนธาตุที่เคลื่อนยายในดินไดนอยมาก
ดังน้ันการใสปุยฟอสเฟตควรใสใหใกลบริเวณรากออยมากที่สุด โดยใสรองพื้นพรอมปลูกหรือโรยขางแถว
ของออ ยตอ

4.3 โพแทสเซียม มีความจําเปนตอการสังเคราะหดวยแสง การดูดและคายนํ้า การสราง
คารโบไฮเดรตและนํา้ ตาล การลาํ เลียงน้าํ ตาล และการงอกของตาออ ย โพแทสเซียมเปนองคประกอบของผนงั
เซลลพืชโดยทําใหผ นังเซลลห นาและแขง็ แรง พบมากในสว นท่ีกาํ ลงั ขยายตวั และในสวนที่เซลลแบงตัว ชวยให
พืชมคี วามตานทานโรค เพิ่มผลผลิตและคุณภาพ เชน ความหวาน เปนตน ออยท่ีขาดโพแทสเซียมจะมีการ
สงั เคราะหดวยแสงทีต่ ่ํากวาปกติ โดยแสดงอาการขาดภายใน 2 - 5 เดือน ออยจะไมมีการแตกกอ ลําเล็กกวา
ปกติ ยอดและขอบใบมีจุดประสีสม มีแผลแหงตายระหวางเสนใบ ใบแกเริ่มเหลืองจากปลายใบและขอบใบ
จนกระท่งั ใบมีสนี ้าํ ตาลทัง้ ใบคลายไฟลวก เสน กลางใบดา นบนมีสแี ดง ใบออนมีสีเขียวเขม บิดเบี้ยวผิดรูปราง
ใบจะเปน พุมหรอื คลา ยพัด (ภาพที่ 1.3)

ก ข

ภาพท่ี 1.3 ลักษณะการขาดธาตโุ พแทสเซียมในออย

แหลงทมี่ าภาพ : (ก) Dr. Prakash Kumar (P. Kumar and M.K. Sharma, 2013)
(ข) Dr. Prakash Kumar (P. Kumar and M.K. Sharma, 2013)

ออ ยตอบสนองตอการใชปุยโพแทชตาํ่ มาก แมวาในดินมีโพแทสเซียมรูปท่ีแลกเปลีย่ นไดในปริมาณตํ่า

กวาคาวิกฤต 30 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม ก็ตาม ดังน้ันออยจึงมักไมแสดงอาการขาดโพแทสเซียม แตจากการ
วิเคราะหพ ชื กลับพบวา ออยดดู ใชโ พแทสเซยี มมากกวาไนโตรเจนเล็กนอย ดังนั้นคําแนะนําการใชปุยตามคา
วิเคราะหด ินสาํ หรับปยุ โพแทชจะพจิ ารณาถงึ ปรมิ าณปุยโพแทชทจ่ี ําเปนตอ งใช เพอ่ื ชดเชยปริมาณโพแทสเซยี ม

ทม่ี โี อกาสสญู เสียไปกับผลผลิต จากการวิเคราะหปริมาณการดูดใชโพแทสเซียมของออย พบวา มีการสะสม
โพแทสเซยี มในสวนใบและลาํ ตน เฉลี่ย 1.20 และ 1.09 กิโลกรมั K ตอผลผลิต 1 ตนั (ตารางท่ี 1.6) ดังนั้นถาออย
ใหผลผลิตเฉลี่ย 13.48 ตันตอไร เมื่อเก็บเก่ียวผลผลิตออกไปจากพ้ืนท่ีจะสูญเสียโพแทสเซียมที่ติดไปกับลําตน

เทากับ 14.76 กิโลกรัม K ตอไร หรือคิดเปนปุยโพแทสเซียมคลอไรด (0-0-60) เทากับ 24.60 กิโลกรัมตอไร
หากไถกลบเศษซากใบ โพแทสเซียมในเศษซากใบก็จะยังคงอยูในพ้ืนท่ี แตเม่ือมีการนําใบออกไปจากพื้นท่ี

10

โพแทสเซียมในสวนของใบกจ็ ะสูญหายออกไปดวย ดงั นน้ั ถา ตอ งการรกั ษาศกั ยภาพของดนิ ในการผลติ พืชอยาง
ยง่ั ยนื จาํ เปน ตองใสปุยโพแทชชดเชยกลบั ลงไปในพนื้ ท่เี พม่ิ เติมมากขึ้น การปองกันแกไขการขาดโพแทสเซียม
ทาํ ไดโ ดยการใสปุย เคมีตามคา วเิ คราะหดิน กรณดี ินทรายควรปรบั ปรุงดินดวยวัสดุอินทรีย เชน กากตะกอนหมอ
กรองออย หรอื ใชนา้ํ กากสา เปน ตน

4.4 แคลเซียม เปนองคประกอบของผนังเซลล และชวยในการทํางานของเอนไซมบางชนิด ออยที่
ขาดแคลเซียมจะแสดงอาการทง้ั สวนเน้อื เย่ือออ นและแก ใบออ นสวนยอดจะตาย ใบไมเ จรญิ เตบิ โตเตม็ ที่ ปลาย
ใบตดิ กันคลายข้ันบันได (ladder-like) (ภาพที่ 1.4) จากรายงานของ ศุภกาญจน และคณะ (2558ก) พบวา
ออยพนั ธขุ อนแกน 3 และ พันธุแอลเค 92-11 มีการดูดใชแคลเซียมไปสะสมอยูในสวนของตนและใบ เฉลี่ย
0.2 และ 0.3 กิโลกรัม Ca ตอผลผลิต 1 ตัน (ตารางที่ 1.6) การปองกันแกไขการขาดแคลเซียม กรณีดินกรด
ควรปรบั ปรุงดินดวยหนิ ปูนบดหรือปูนโดโลไมต หากเปนดินเค็ม ควรปรับปรงุ ดินดวยยิปซัม

ภาพที่ 1.4 ลักษณะการขาดธาตแุ คลเซียมในออ ย

แหลงทม่ี าภาพ : Dr. Manoj Kumar Sharma. (P. Kumar and M.K. Sharma, 2013)

4.5 แมกนีเซียม เปนองคประกอบของคลอโรฟลลซึ่งมีความสําคัญตอกระบวนการสังเคราะหแสง
สงเสริมการดดู ใชฟ อสฟอรสั การสังเคราะหกรดอะมิโนและวิตามิน และการหายใจของเซลลพืช ออยที่ขาด
แมกนเี ซยี มจะแสดงอาการเร่ิมตน จากปลายใบและขอบใบ ใบแกหรือใบลา งเปล่ียนเปนสีเหลืองแตเสน ใบยงั มสี ี
เขียวอยู มีจดุ ประคลา ยสนมิ บนแผน ใบ จากนน้ั สีใบจะเปล่ียนเปนสีน้ําตาลและแหงตายในที่สุด ใบจะมีขนาด
เลก็ ขอบใบงอเขาหากันและเปราะงาย กงิ่ แขนงของพชื มกั ออ นแองายตอการเขา ทาํ ลายของโรค ดังแสดงภาพ
ท่ี 1.5 ภายในลําออยจะพบเสนสีนํ้าตาลแดง ศุภกาญจน และคณะ (2558ก) รายงานวา ออยพันธุขอนแกน 3
และ พนั ธแุ อลเค 92-11 มกี ารดดู ใชแ มกนีเซยี มไปสะสมอยใู นสวนลําตนและใบ เฉลี่ย 0.2 และ 0.1 กิโลกรัม Mg
ตอ ผลผลติ 1 ตนั ตามลําดับ (ตารางที่ 1.6) การขาดแมกนเี ซียมมกั พบในดินทรายและดินที่มีโพแทสเซียมสูง การ
ปองกันและแกไขการขาดแมกนเี ซียม สาํ หรับดนิ กรดที่มีแมกนีเซียมต่ํา ควรปรับปรุงดินดวยปูนโดโลไมต สวน
ดนิ ที่มคี าความเปนกรด-ดางของดินมากกวา 6 หากพบอาการขาดแมกนีเซียม ควรแกไขโดยการใสแมกนีเซียม
ซัลเฟต

11

ภาพที่ 1.5 ลักษณะการขาดธาตแุ มกนเี ซียมในออย

แหลง ที่มาภาพ : D.L. Anderson (McCray et al., 2019)

4.6 กํามะถัน เปนองคประกอบของกรดอะมิโนและโปรตีน ออยท่ีขาดกํามะถันมีอาการใบเหลืองอยาง
สมํ่าเสมอคลายกบั อาการขาดธาตไุ นโตรเจน แตก ารขาดกาํ มะถันจะแสดงอาการเริ่มตนจากบริเวณใบออน โดยใบ
จะแคบและสั้น ใบมีแถบสีขาวหรือเหลืองขนานไปกับแกนใบ ลําตนเรียวเล็ก สงผลใหผลผลิตลดลงตามไปดวย
(ภาพท่ี 1.6) การขาดกํามะถันมักพบในพื้นท่ีท่ีไมมีน้ําชลประทาน ดินมีอินทรียวัตถุต่ํา และไมมีการใสปุยท่ีมี
กํามะถันเปนองคประกอบ หากดินขาดกํามะถันควรปรับปรุงดินดวยยิปซัม หรือใชปุยท่ีมีกํามะถันเปน
องคป ระกอบ เชน ปุยแอมโมเนยี มซัลเฟต (21-0-0 + 24S) เปน ตน

ก ข

ภาพที่ 1.6 ลักษณะการขาดธาตกุ าํ มะถนั ในออย

แหลงทมี่ าภาพ : (ก) Dr. Manoj Kumar Sharma (P. Kumar and M.K. Sharma, 2013)
(ข) Dr. Manoj Kumar Sharma (P. Kumar and M.K. Sharma, 2013)

4.7 เหลก็ เปน องคป ระกอบของโปรตีนท่ีมคี วามสาํ คัญในกระบวนการสังเคราะหดว ยแสง การหายใจ
และการนาํ กา ซไนโตรเจนจากอากาศและดินมาใชป ระโยชน ออยที่ขาดเหล็กจะเจริญเติบโตผิดปกติและแหง
ตาย แสดงอาการเหลืองระหวา งเสนใบ (interveinal chlorosis) โดยเริ่มจากปลายของฐานใบ หลังจากนนั้ ทง้ั

12

ตนจะเหลืองซดี ออ ยตอมักแสดงอาการขาดธาตุเหล็ก เน่อื งจากรากมีการเจริญเตบิ โตลดลง (ภาพท่ี 1.7) การ
ขาดเหล็กของออ ยมักพบในดินดา ง เน่ืองจากเหล็กจะถูกตรึงใหอยูในรูปไมเปนประโยชน ในดินโซดิกที่มีการ
ระบายนา้ํ เลว รากออยไมพ ฒั นาและถกู ทาํ ลายเปนบางสวน ออยจะแสดงอาการขาดเหล็ก นอกจากนี้ออยท่ี
ขาดเหล็กยงั แสดงอาการออนแอตอเชื้อรา Cercospora sp. ซึ่งเปนเชื้อสาเหตุของโรคใบจุดสีน้ําตาล (ธวัช,
2559) การขาดเหลก็ อาจแกไ ขโดยการทําใหความเปนกรดของดนิ ลดลง หรือฉีดพนสารละลายเฟอรัสซัลเฟต
1 เปอรเซน็ ต อาการขาดเหล็กจะหายไปภายหลังฉดี พน 3 เดอื น และทาํ ใหอ อ ยเตบิ โตอยา งรวดเร็ว สวนออ ยที่
ไมไดร ับการฉีดพน เฟอรัสซลั เฟตจะแสดงอาการแคระแกร็นและใบมสี ขี าว

กข
ภาพที่ 1.7 ลกั ษณะการขาดธาตเุ หลก็ ในออ ย

แหลง ท่มี าภาพ : (ก) Dr. Prakash Kumar and Dr Manoj Kumar Sharma. (P. Kumar and M.K. Sharma, 2013)
(ข) Dr. Prakash Kumar (P. Kumar and M.K. Sharma, 2013)

4.8 สังกะสี เปนองคประกอบของเอนไซมท่ีเกี่ยวของกับการสังเคราะหดวยแสงและสารเรงการ
เจรญิ เตบิ โตของออย ออ ยที่ขาดสงั กะสีจะมีเสนใบเหลอื ง โดยเริ่มแสดงอาการเหลอื งทีฐ่ านของใบกอ น (ภาพท่ี
1.8) ใบจะมีขนาดเลก็ เปนคล่ืนลอน และหากมีการขาดอยา งรุนแรงใบจะแหงตาย ออ ยทข่ี าดสงั กะสจี ะแตกกอ
และไวตอไดลดลง ออยตอ งการสังกะสใี นปริมาณคอนขางมาก จากการวิเคราะหใบออยที่ปกติจะพบปริมาณ
สังกะสี 15 - 50 มิลลิกรัมตอกโิ ลกรมั หากออยมีปริมาณสังกะสีตํ่ากวา 15 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม ถือวาอยูใน
ระดับวิกฤต (ตารางท่ี 1.5) ซึ่งอาจสงผลกระทบตอการใหผลผลิตของออยได การปองกันการขาดสังกะสี
สามารถทาํ ไดโ ดยการใสป ุย อินทรียรวมกับปยุ เคมีในการผลิตออย การแกไ ขปญหาการขาดธาตุสังสะสสี ามารถ
ทาํ ไดโดยใชส ังกะสคี ีเลท สงั กะสคี ลอไรด และสังกะสซี ลั เฟต เปน ตน

13

กข
ภาพที่ 1.8 ลักษณะการขาดธาตสุ ังกะสีในออ ย

แหลง ที่มาภาพ :(ก) Dr. Manoj Kumar Sharma. (P. Kumar and M.K. Sharma, 2013)
(ข) Dr. Manoj Kumar Sharma (P. Kumar and M.K. Sharma, 2013)

4.9 แมงกานีส ชวยกระตุนการทํางานของเอนไซมบางชนิด และมีความสําคัญตอกระบวนการ
สงั เคราะหดว ยแสง ออยท่ีขาดแมงกานีสจะแสดงอาการเหลืองซีดไดหลายระดับ แตจะไมแหงเห่ียว อาการ
เหลืองระหวา งเสน ใบจะเรมิ่ จากปลายใบสกู ลางใบ (ภาพท่ี 1.9) ความไมสมดุลของธาตุอาหารในดินเปนสาเหตุ
หนึ่งท่ีทําใหอ อ ยขาดแมงกานสี ได เชน ดินที่มีแมกนีเซียม แคลเซียม และไนโตรเจนสูง ออยจะแสดงอาการขาด
แมงกานสี สามารถแกไขไดโ ดยการใสป ุย อนิ ทรียป รบั ปรงุ ดินหรอื ใสแ มงกานีสซัลเฟต

กข

ภาพที่ 1.9 ลักษณะการขาดธาตแุ มงกานสี ในออ ย

แหลงที่มาภาพ : (ก) J.Orlando Filho (R. Ridge, 2013) (ข) J.E. Bowen (R. Ridge, 2013)

4.10 ทองแดง เปนองคป ระกอบทจ่ี าํ เปนของเอนไซมบ างชนิดและองคป ระกอบท่ีสาํ คญั ของสารชวย
ลาํ เลยี งอเิ ลก็ ตรอนในกระบวนการสงั เคราะหดวยแสง ออยท่ขี าดทองแดงจะแสดงอาการยอดลูลงดิน ใบออย
จะมอี าการเขยี วเปน จุดๆ หากขาดทองแดงอยา งรนุ แรง ใบออยจะบางและอาจมวนงอ (ภาพที่ 1.10) การแกไ ข
เมือ่ ออยขาดทองแดง อาจใชค อปเปอรคเี ลต หรือคอปเปอรซ ัลเฟต อตั รา 800 - 1,000 กรมั ตอ ไร ละลายนาํ้ ราด
ทีโ่ คน

14

กข
ภาพที่ 1.10 ลักษณะการขาดธาตทุ องแดงในออย

แหลง ท่มี าภาพ : (ก) G.J. Gascho (McCray et al., 2019) (ข) D.L. Anderson (McCray et al., 2019)

4.11 โบรอน มีความจําเปน ตอ การสรางโปรตีนและการขนสงคารโบไฮเดรตในตนพืช ใบออยท่ีขาด
โบรอนจะบิดเบย้ี ว ขอบใบจะมลี กั ษณะหยกั เปน คลนื่ ในกรณีที่ขาดโบรอนอยางรนุ แรงจะแสดงอาการปลายใบ
ไหม หากออ ยขาดโบรอนในขณะที่อายุยังนอ ยจะแตกพุมแจ ใบจะเปราะและขาดงาย (ภาพที่ 1.11) การขาด
โบรอนมกั จะเกดิ ในดนิ ทรายทมี่ กี ารระบายนาํ้ ดหี รอื การใสป ูนขาวมากเกินไป ซ่ึงเปน สาเหตุทีท่ าํ ใหออ ยขาดโบรอน
ไดเ ชนกัน

กข

คง

ภาพท่ี 1.11 ลกั ษณะการขาดธาตุโบรอนในออย

แหลงท่มี าภาพ : (ก) D.L. Anderson (McCray et al., 2019) (ข) J.Orlando Filho (McCray et al., 2019)

(ค) J.E. Bowen (McCray et al., 2019) (ง) G.J. Gascho (McCray et al., 2019)

4.12 คลอรนี มคี วามจาํ เปนตอการสงั เคราะหแ สง ออยที่ขาดคลอรีนใบออนของออยจะยืดยาวและ
เห่ียว โดยเฉพาะอยา งย่ิงหากไดรบั อุณหภูมิสงู แตส ามารถกลับคืนสูสภาพปกตไิ ดใ นเวลากลางคืน และเกดิ การ

สรางรากฝอยมากเกินไป (ภาพที่ 1.12) การขาดคลอรนี สามารถแกไขไดโ ดยใสปยุ โพแทสเซยี มคลอไรด สวนดิน
เคม็ และดินโซดิกจะมีคลอรีนในปริมาณมาก พืชอาจแสดงอาการเปนพิษ ซึ่งสามารถทําไดโดยการใชนํ้าชะลาง
คลอรนี ออกจากดิน หรือใสย ิปซัม เพื่อชวยใหดินโปรง รว นซยุ ขึน้ และทาํ ใหนา้ํ ซมึ ลงงาย

15

ภาพท่ี 1.12 ลักษณะการขาดธาตุคลอรีนและคลอรนี เปนพษิ ในออย

แหลง ท่มี าภาพ : J.E. Bowen (McCray et al., 2019)

หมายเหตุ 0 ppm Cl : ขาดธาตุคลอรีน 100 ppm Cl : คลอรนี เปนพิษ

4.13 โมลิบดินัม เปนองคป ระกอบของโปรตนี ทม่ี ีความสําคัญในกระบวนการสังเคราะหดวยแสงและ

การนํากา ซไนโตรเจนจากอากาศและดนิ มาใชป ระโยชน ออ ยทีข่ าดโมลิบดนิ มั จะมีอาการใบแกแหง ตาย บนแผน
ใบเกิดแถบสั้น ๆ สีเหลืองซีดตามแนวยาว (ภาพท่ี 1.13) ลําตนออยจะส้ันและเรียวเล็ก ระดับวิกฤตของ
โมลบิ ดินมั ในดินประมาณ 0.05 มิลลิกรมั ตอกโิ ลกรัม (ตารางที่ 1.5) ซง่ึ อาการขาดโมลิบดนิ มั มักขาดในดนิ ทเี่ ปน

กรด ดังนัน้ ควรปรับปรงุ ดินดวยการใชป นู ขาวหรอื หนิ ปูนบด เปนตน

ภาพท่ี 1.13 ลักษณะการขาดธาตโุ มลบิ ดินมั ในออ ย

แหลงทม่ี าภาพ : J.E. Bowen (McCray et al., 2019)

4.14 ซลิ คิ อน ออยทีข่ าดซิลิคอนจะแสดงอาการใบมจี ุดสขี าว (ภาพที่ 1.14) มักแสดงอาการที่รุนแรงใน
ใบแก นอกจากนั้นยังสงผลใหใบแกกอนเวลาอันควร ออยที่ขาดซิลิคอนนั้น มีการแตกกอและไวตอไดนอย
ถงึ แมวาซลิ คิ อนไมไ ดเปน ธาตอุ าหารพืชที่จําเปน แตมีประโยชนชวยใหทรงกอต้ังตรง แข็งแรง ไมหักลมงาย ลด
ความเปน พษิ ของอะลูมนิ ัม และชว ยเพิม่ ผลผลิต นิยมใสในรปู แคลเซียมซลิ ิเกต

16

ภาพที่ 1.14 ลกั ษณะการขาดธาตซุ ลิ ิคอนในออ ย

แหลงท่ีมาภาพ : J.E. Bowen (McCray et al., 2019)

5. การจัดการดิน
5.1 การไถระเบิดดนิ ดาน
ดินดานเปนชั้นดินท่ีอัดตัวแนนโดยมีความหนาแนนรวมของดินมากกวา 1.6 กรัมตอลูกบาศก

เซนตเิ มตร สวนใหญพบท่ีระดับความลึกลงไปจากผิวดินประมาณ 20 - 50 เซนติเมตร มีความหนา 20 - 30
เซนติเมตร สาเหตทุ ท่ี าํ ใหเกิดชัน้ ดาน เกิดจากการไถพรวนในระดับเดียวกันเปนระยะเวลานานหลายป ทําให
เกิดดินดานใตรอยไถ การเหยียบยํ่าโดยรถไถและรถบรรทกุ การเกิดชนั้ ดานมผี ลทําใหนํ้าซึมผานดินไดชา ราก
ไมสามารถชอนไชลงไปในดินระดับลึกได ดังนั้นเมื่อฝนท้ิงชวง ออยจะแสดงอาการขาดนํ้าไดงาย ทําให
เจรญิ เตบิ โตไดไมด ี และชว งฝนตกชกุ จะเกิดสภาพดินมนี ํา้ ขังไดง า ย เปน สาเหตุใหรากออยเนา นอกจากน้ีการ
ท่ีดินแนนทําใหการดูดใชธาตุอาหารลดลง การไถระเบิดดินดานทําใหออยมีผลผลิตสูงกวาการไมไถดินดาน
เพราะการไถระเบดิ ดินดานจะทาํ ใหป ริมาณนํ้าฝนซึมลงดนิ ไดลึกและถูกเก็บกกั ไวใ นดินเพิ่มมากข้ึน ทําใหออย
สามารถดูดใชน้ําไดดีขึ้น ยืดระยะเวลาการขาดน้ํานานกวาเดิม เมื่อฝนท้ิงชวง ควรไถขณะดินไมแหงมาก
จนเกนิ ไปแตใ หมีความชืน้ เล็กนอยประมาณ 8 - 10 เปอรเซน็ ต การไถในรอบแรกอาจไถไดไมลึกนัก ประมาณ
20 - 40 เซนติเมตร และเม่ือทําการไถรอบสองควรไถขวางตัดกับแนวการไถรอบแรกแบบตารางหมากรุก
จะทําใหไถลงไดลกึ ถึง 50 เซนตเิ มตร

5.2 การไถเตรยี มดนิ
กรณีดนิ เหนยี ว ไถกลบเศษซากพืชดวยผาลสามหรอื ผาลสี่ จากนนั้ ตากดนิ ไว 1 - 2 สัปดาห จงึ ไถ

แปรดว ยผาลเจด็ แลว ไถเปดรองดว ยผาลยกรอ ง
กรณีดินทราย ไถกลบเศษซากพชื หรือพืชบํารุงดนิ ดวยผาลเจด็ ทงิ้ ไว 2 สปั ดาห จงึ ไถบุกเบิกดวย

ผาลสาม ไถแปรดวยผาลเจด็ แลวพรวนดว ยผาลพรวน

5.3 การปรบั ปรงุ ดิน
หากพ้ืนทปี่ ลกู ออยเปนดินทรายหรือรวนปนทรายโดยท่ัวไปจะมีอินทรียวัตถุในปริมาณต่ํา ควร

ปรับปรุงดนิ ดวยวัสดุอนิ ทรีย เชน กากตะกอนหมอกรองออย 1,000 กิโลกรัมตอไร การไถกลบเศษซากพืช หรือ
การปลูกพืชตระกูลถัว่ ที่สามารถตรึงไนโตรเจนจากอากาศ เชน การปลกู ปอเทือง ถ่วั มะแฮะ ถว่ั พรา ถัว่ พมุ และ
ถวั่ ขอ เปนตน โดยหวา นเมล็ดอตั รา 8 - 10 กโิ ลกรมั ตอ ไร แลวไถกลบกอ นปลูกออย 2 - 4 สัปดาห ดินมีคาความ

17

เปน กรด-ดางของดนิ ตาํ่ กวา 5.6 ควรปรับปรงุ ดนิ ดวยปนู ขาวหรอื ปนู โดโลไมต 100 กโิ ลกรัมตอไร จากการวจิ ยั
พบวา ดนิ ทรายถงึ ดนิ รวนปนทรายที่มีอินทรียวตั ถุต่าํ กวา 0.75 เปอรเ ซ็นต และมีคาความเปนกรดดางของดิน
ตาํ่ กวา 5.6 เมื่อปรับปรงุ ดินดว ยปูนโดโลไมต 100 กโิ ลกรัมตอ ไร รวมกับการใชกากตะกอนหมอกรอง 1,000
กิโลกรมั ตอไร ชวยเพิม่ ผลผลติ ออ ยไดถ ึง 30 - 50 เปอรเ ซน็ ต (ศุภกาญจน และคณะ, 2555; วัลลีย และคณะ,
2555ค; ศภุ กาญจน และคณะ, 2558ก)

6. คําแนะนําการใชป ยุ สาํ หรับออ ย
6.1 การใชปยุ ตามคา วเิ คราะหดนิ
การใชปุยตามคาวเิ คราะหด นิ เปนการใชป ุย ใหตรงตามสมบัตขิ องดนิ และความตอ งการของพืชท่ีมี

ความคุมคา แกการลงทุน สมบตั ทิ างกายภาพของดิน เชน เนื้อดิน มีผลตอการกักเก็บหรือการชะลางสูญหาย
ของธาตอุ าหารในดิน ความหนาแนนรวมของดินใชในการคํานวณปริมาณธาตุอาหารท่ีมีอยูในดิน สวนสมบัติ
ทางเคมีของดิน เชน คาความเปน กรด-ดา งของดิน มีผลตอความเปนประโยชนข องธาตุอาหาร ความสามารถใน
การแลกเปลยี่ นแคตไออน มีผลตอ การดูดซบั ธาตุประจบุ วกใหพชื สามารถนําไปใชประโยชนไดและลดการสูญ
หายของธาตอุ าหารโดยการถูกชะละลาย การพิจารณาการใชปยุ ตามคาวเิ คราะหดนิ ใหตรงตามความตองการ
ธาตุอาหารของพืชนน้ั ไดจากการศึกษาการตอบสนองตอธาตุอาหารของพืชโดยทําการทดลองในพื้นท่ีตาง ๆ
ภายใตสภาพแวดลอมที่แตกตา งกนั ทงั้ สมบตั ิของดนิ สภาพพืน้ ท่ี และสภาพภูมอิ ากาศ รวมทัง้ วเิ คราะหปริมาณ
การดูดใชธาตุอาหาร การสูญหายของธาตุอาหารท่ีจะติดออกไปกับผลผลิตท่ีนําออกไปจากพื้นที่ และมีการ
ประเมินความคุม คา แกก ารลงทุน

กอบเกียรติ (2556) ไดแ บง ระดับความอดุ มสมบรู ณข องดินท่ีปลกู ออ ยโดยพิจารณาจากปริมาณ
อินทรียวัตถุ ฟอสฟอรสั และโพแทสเซียม (ตารางท่ี 1.7) ซงึ่ สามารถนําไปพิจารณาอตั ราปุยที่จะตอ งใช (ตาราง
ที่ 1.8) อยางไรก็ตาม หากไมสามารถทําการวิเคราะหดินกอนปลูกได สามารถใชวิธีคํานวณปริมาณปุยที่
เหมาะสมไดโดยพิจารณาจากเนอ้ื ดนิ (ตารางท่ี 1.9)

การใสป ุย สําหรับออ ยน้ัน แนะนาํ ใหแบงใสปุย ไนโตรเจน 2 ครั้ง ครง้ั แรกใสพ รอ มปลกู ครง้ั ทีส่ อง
ใสเมอ่ื ออ ยอายุ 3-4 เดือน หรือหากปลูกออ ยขา มแลงจะใสป ุยคร้ังทีส่ องเมือ่ ออยอายุ 5-6 เดือน การใสปุย ในแต
ละครัง้ ควรใสเมือ่ ดินมีความชน้ื เหมาะสม สว นปุยฟอสเฟตใสค รัง้ เดยี วพรอมปลกู สว นปุยโพแทช กรณีทเ่ี ปน ดิน
เหนยี วถึงดินรว นเหนยี วใสครัง้ เดยี วกอนปลกู หากเปนดินทรายถึงดินรวนปนทรายอาจแบงใส 2 - 3 คร้ัง พรอม
กบั ปุย ไนโตรเจน วิธกี ารใสปุยดวยเคร่อื งฝงปยุ หรือเปดรอ งขางแถวใสและกลบ จะมปี ระสทิ ธภิ าพกวา การหวา น
โดยไมม กี ารกลบฝง นอกจากน้ีการใสปุยในออยทีป่ ลูกขามแลง สามารถปฏิบัติไดตามตารางที่ 1.10 ซึ่งชวยให
การใชป ุยมปี ระสิทธิภาพมากยง่ิ ข้ึน

18

ตารางที่ 1.7 ระดบั ความอุดมสมบูรณของดินปลกู ออยจากคา วเิ คราะหด นิ ในแหลงปลกู ออยของประเทศไทย

ระดับความอุดมสมบูรณ อนิ ทรียวตั ถุ ฟอสฟอรสั ท่ีเปน ประโยชน โพแทสเซียมทแี่ ลกเปล่ียนได
(%) (มก./กก.) (มก./กก.)

ตํ่ามาก นอ ยกวา 0.75 นอยกวา 7 นอยกวา 30

ตา่ํ 0.75 - 1.50 7 - 15 30 - 60

ปานกลาง 1.51 - 2.25 16 - 30 60 - 90

สงู มากกวา 2.25 มากกวา 30 มากกวา 90

ท่มี า: พฒั นาจากกอบเกยี รติ (2556) และโครงการวจิ ยั และพฒั นาดิน น้าํ และปยุ ออย ป 2554-2558

หมายเหตุ การวเิ คราะหดิน อินทรียวัตถุ วิเคราะหโดยวิธี Walkley and Black (1934) ฟอสฟอรัสท่ีเปนประโยชน ถา pH

นอยกวา 7.3 สกัดดินโดยวิธี Bray II ถา pH มากกวา 7.3 สกัดดินโดยวิธีของ Olsen (Olsen et al., 1954) แลววัดโดยใช

เครอื่ งมอื Spectrophotometer (Bray and Kurtz, 1945) โพแทสเซยี มท่ีแลกเปลี่ยนไดในดิน สกัดดินโดยใช 1N NH4OAc,
pH 7.0 แลว วดั ความเขม ขน ดว ย Flame photometer (Pratt, 1965)

ตารางท่ี 1.8 คาํ แนะนาํ การใชปุยตามคา วเิ คราะหด นิ สําหรบั ออยปลกู และออยตอ

รายการวเิ คราะห ผลวเิ คราะห ปริมาณธาตุอาหารแนะนํา

ออยปลูก ออ ยตอ

อนิ ทรียวตั ถุ นอ ยกวา 0.75 27 (21*) กิโลกรัม N/ไร 27 (18*) กโิ ลกรมั N/ไร

(%) 0.75-1.50 15 กิโลกรัม N/ไร 18 กิโลกรมั N/ไร

1.51-2.25 12 กิโลกรัม N/ไร 15 กโิ ลกรัม N/ไร

มากกวา 2.25 6 กิโลกรมั N/ไร 9 กิโลกรมั N/ไร

ฟอสฟอรัสท่เี ปนประโยชน นอ ยกวา 7 9 กิโลกรมั P2O5/ไร 9 กโิ ลกรมั P2O5/ไร

(มลิ ลิกรมั /กโิ ลกรัม) 7-30 6 กโิ ลกรมั P2O5/ไร 6 กิโลกรมั P2O5/ไร

มากกวา 30 3 กโิ ลกรัม P2O5/ไร 3 กิโลกรัม P2O5/ไร

โพแทสเซยี มที่แลกเปล่ียนได นอ ยกวา 60 18 กโิ ลกรมั K2O/ไร 18 กโิ ลกรมั K2O/ไร

(มลิ ลกิ รมั /กโิ ลกรมั ) 60-90 12 กิโลกรมั K2O/ไร 12 กิโลกรัม K2O/ไร

มากกวา 90 6 กิโลกรัม K2O/ไร 6 กิโลกรมั K2O/ไร

หมายเหตุ 1) (*) อตั ราปุย ไนโตรเจนกรณดี นิ มอี ินทรียวตั ถตุ าํ่ กวา 0.75% ควรใชปุยเคมีรวมกับการปรับปรุงดินดวยวัสดุอินทรีย เชน กาก

ตะกอนหมอ กรองออ ย 1,000 กิโลกรมั ตอ ไร

2) ผลผลิตท่คี าดหวงั กรณปี ลูกโดยอาศยั น้ําฝน หรือดินมีความอุดมสมบูรณตํ่า เชน ดินทราย ดินรวนปนทราย 15-20 ตันตอไร

ผลผลติ ทค่ี าดหวังกรณใี หน ํ้าเสรมิ หรอื ดินมีความอดุ มสมบรู ณส งู เชน ดินเหนียว ดินรวนเหนียว 25-30 ตันตอไร ทั้งนี้ขึ้นอยู

กบั ปริมาณนํ้าทีอ่ อยไดรบั สมบตั ขิ องดนิ และศักยภาพของพนั ธุ

3) ถา ความเปนกรด-ดาง (pH) ของดนิ นอ ยกวา 5.6 ควรปรบั ปรงุ ดนิ ดวยปูนโดโลไมต อัตรา 100 กิโลกรัมตอไร และใชปุยยูเรีย

(46-0-0) เปน แหลงของไนโตรเจน

4) ถาความเปนกรด-ดา ง (pH) ของดนิ มากกวา 7.3 ใหเลอื กใชพนั ธทุ ่ีเจริญเตบิ โตไดดีในดินดาง เชน พันธุอูทอง 14 และใชปุย

แอมโมเนยี มซัลเฟต (21-0-0) เปน แหลงของไนโตรเจน เพื่อลดการสูญหายของไนโตรเจนในรปู ของกา ซแอมโมเนยี

5) กรณที มี่ ีการใหน ํ้าชลประทาน แนะนาํ ใหใ สป ยุ ไนโตรเจนเพม่ิ ขน้ึ 1.5 เทาของอัตราแนะนํา

6) วธิ ีการใสปุย แบง ใสปุย 2-3 ครัง้

ออยปลูก คร้ังที่ 1 ใสปยุ รองพื้นพรอ มปลูก ใหมีธาตุอาหารไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม ครบท้ัง 3 ธาตุ

โดยใสป ยุ ฟอสเฟตตามอตั ราแนะนํารวมกับปุยไนโตรเจนและปุยโพแทช อยางนอย 1 ใน 3 ของ

อตั ราแนะนาํ

ครั้งท่ี 2 เม่อื ออ ยอายุ 3-4 เดือน หรอื 5-6 เดอื น (กรณีปลูกออ ยขามแลง) และดินมีความช้ืนเหมาะสม ใส

ปยุ ไนโตรเจนและปยุ โพแทช ท่เี หลอื ท้งั หมด โดยโรยขา งแถวปลูกแลวพรวนกลบ

กรณดี นิ ทรายหรือรวนปนทราย ควรแบงใสป ุย 3 คร้ัง โดยครั้งที่ 1 ใหใ สปุยฟอสเฟตตามอัตราแนะนํา สวนปุย

ไนโตรเจนและปุยโพแทชใหแบงใส 1 ใน 3 ของอัตราแนะนํา จากนั้นใสปุยไนโตรเจนและปุย

โพแทช อีก 2 คร้งั เม่อื ออยอายุ 3-4 เดอื น และ 5-6 เดือนโดยใสค รงั้ ละ 1 ใน 3 ของอตั ราแนะนํา

19

ออ ยตอ คร้งั ที่ 1 หลงั จากเก็บเกี่ยวออยประมาณ 1-2 เดือน และดินมีความชื้นเหมาะสม ใหใสปุยท่ีมีธาตุอาหาร

ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม ครบทั้ง 3 ธาตุ โดยใสปุยฟอสเฟตตามอัตราแนะนํา
รวมกบั ปยุ ไนโตรเจนและปยุ โพแทช อยางนอ ย 1 ใน 3 ของอัตราแนะนาํ

คร้ังที่ 2 เมอ่ื ออยตออายุ 3-4 เดอื น หรอื 5-6 เดือน (กรณีปลูกออยขามแลง) และดินมีความช้ืนเหมาะสม
ใหใ สป ุยไนโตรเจนและปุยโพแทช ที่เหลอื ทง้ั หมด โดยโรยขา งแถวแลวพรวนกลบ

กรณดี ินทรายหรอื รวนปนทราย ควรแบง ใสปยุ 3 ครงั้ โดยคร้ังที่ 1 ใหใ สปุยฟอสเฟตตามอัตราแนะนํา สวนปุย
ไนโตรเจนและปุยโพแทชใหแบงใส 1 ใน 3 ของอัตราแนะนํา จากน้ันใสปุยไนโตรเจนและปุย

โพแทช อกี 2 คร้งั เมือ่ ออ ยอายุ 3-4 เดอื น และ 5-6 เดอื นโดยใสค ร้ังละ 1 ใน 3 ของอตั ราแนะนาํ
7) พัฒนาคาํ แนะนําโดยปรบั ปรงุ จาก กรมวิชาการเกษตร (2553) กอบเกียรติ (2556) และ กอบเกยี รติ (2558)

ตารางที่ 1.9 คาํ แนะนาํ ปยุ ตามลกั ษณะเน้อื ดินสาํ หรบั ออยปลูกและออ ยตอ

เนอ้ื ดิน ออ ยปลูก ออ ยตอ

ดินเหนยี ว ใสปุย ครั้งท่ี 1 ใสป ุย ครงั้ ที่ 2 ใสปุยคร้งั ที่ 1 ใสปยุ ครั้งท่ี 2
ดนิ รว นเหนียว
ดนิ รวนปนทราย รองพ้นื พรอมปลูก เม่ือออยอายุ 3-4 ใสเ ปน แถวขางรอง เมอื่ ออยอายุ 3-4
ดนิ ทราย
เดือน เดือน

ปุย 15-15-15 ปยุ 46-0-0 ปยุ 15-15-15 ปุย 46-0-0

อัตรา 25 กก./ไร อตั รา 15 กก./ไร อตั รา 25 กก./ไร อตั รา 20 กก./ไร

ปยุ 15-15-15 ปยุ 46-0-0 ปุย 15-15-15 ปุย 46-0-0

อัตรา 25 กก./ไร อัตรา 20 กก./ไร อัตรา 25 กก./ไร อตั รา 25 กก./ไร

กรณีปรับปรุงดนิ กรณีปรับปรงุ ดิน

โดโลไมต 100 กก./ไร ปุย 46-0-0 โดโลไมต 100 กก./ไร ปยุ 46-0-0

กากตะกอนหมอกรอง อัตรา 30 กก./ไร กากตะกอนหมอ กรอง อตั รา 25 กก./ไร

ออ ย 1,000 กก./ไร ปุย 0-0-60 ออย 1,000 กก./ไร ปยุ 0-0-60

ปุย 15-15-15 อตั รา 15 กก./ไร ปุย 15-15-15 อัตรา 15 กก./ไร

อตั รา 50 กก./ไร อตั รา 50 กก./ไร

ดินรว นปนทราย กรณีไมป รบั ปรุงดิน กรณีไมป รบั ปรงุ ดนิ

ดนิ ทราย ปุย 15-15-15 ปุย 46-0-0 ปุย 15-15-15 ปุย 46-0-0

อตั รา 60 กก./ไร อัตรา 40 กก./ไร อตั รา 60 กก./ไร อตั รา 40 กก./ไร

ปยุ 0-0-60 ปยุ 0-0-60

อตั รา 15 กก./ไร อัตรา 15 กก./ไร

หมายเหตุ 1) ใสปยุ เมอ่ื ดนิ มคี วามช้ืนพอเหมาะ และใชด ินกลบทุกคร้งั เพื่อลดการสูญหายของธาตุอาหาร

2) หากใสปูนโดโลไมต ใหกลบดวยดินหรือกากตะกอนหมอกรองออ ยกอนแลวจงึ ใสป ยุ เพอ่ื ไมใ หปยุ สัมผสั โดยตรง

กบั ปูนโดโลไมต ซ่ึงจะทาํ ใหไ นโตรเจนสญู หายโดยการระเหดิ และความเปน ประโยชนข องปยุ ฟอสเฟตลดลงได

3) กรณีปลูกออยขามแลง การใสปยุ ครั้งที่ 2 อาจใสเ มื่อออ ยอายุ 5-6 เดอื นหลังปลูก เพือ่ ใหดินมคี วามช้ืน

เหมาะสมกอนใสปุย

20

ตารางท่ี 1.10 วิธกี ารใสปุยสาํ หรบั ออ ยที่ปลกู ขา มแลง

ปยุ เคมี ครงั้ ที่ ชวงเวลาการใส
ปยุ ไนโตรเจน
ออ ยปลูก ออยตอ
ปุยฟอสเฟต
ปุย โพแทช 1 รองพื้นรองปลูก ใสครึ่งอัตราแนะนํา หลังแตงตอ ตัดรากออย ใสคร่ึงอัตรา

(1/2 N) แนะนํา (1/2 N)

2 โรยขางแถวแตงหนาและกลบใส ที่ โรยขางแถวแตง หนาและกลบใสที่เหลือ

เหลืออีกครึ่งอัตราแนะนํา (1/2 N) อีกครึ่งอัตราแนะนํา (1/2N) เมื่ออายุ

เม่อื อายุ 3-4 เดือนหลงั ปลกู 3-4 เดือนหลงั ปลกู

3 กรณีมีการใหน้ําเสริมเพ่ิมอีกคร้ัง ใน กรณีมีการใหน้ําเสริม เพ่ิมอีกคร้ังใน

ปริมาณเทากับคร้ังที่ 2 เม่ืออายุ 5 ปริมาณเทากับคร้ังท่ี 2 เม่ืออายุ 5

เดอื นหรอื หางกัน 1 เดอื น เดือนหรอื หา งกนั 1 เดือน

ใสเ ปน ปุยรองพ้ืนครง้ั เดยี ว

ใสเ ปนปุยรองพ้ืนครั้งเดียว หรอื แบง ใส 2-3 ครงั้ โดยรองพ้นื และแตง หนา เม่อื ออ ยอายุ 3-5 เดอื นหลงั

ปลูก

6.2 การใชปยุ ตามคา วิเคราะหดนิ โดยผสมปุย ใชเ อง

กรณีใหคําแนะนําการใชปุยแกเกษตรกร สามารถแนะนําใหเกษตรกรผสมปุยใชเอง เพ่ือใหได
ปริมาณธาตุอาหารในอัตราแนะนําโดยใชแมปุย ไดแก ยูเรีย (46-0-0) หรือแอมโมเนียมซัลเฟต (21-0-0 +
24%S) ไดแอมโมเนียมฟอสเฟต หรือ DAP (18-46-0) และโพแทสเซียมคลอไรด (0-0-60) ซึ่งจะชวยให

เกษตรกรสามารถลดตน ทุนปยุ ลงได และใชปุยไดใ นอัตราท่ีแนะนําตามคาวเิ คราะหดิน ใสคร้ังแรกเปนปุยรอง
พ้ืนกอนปลูกโดยผสมปุย 46-0-0 18-46-0 และ 0-0-60 ตามอัตราท่ีแนะนํา และครั้งท่ี 2 เม่ือออยอายุ 3-4
เดอื น ใหใ สป ยุ ยูเรยี (46-0-0) กรณีที่ดินมคี า ความเปนกรด-ดาง (pH) มากกวา 7 ควรใสป ุยแอมโมเนียมซัลเฟต

(21-0-0) แทนการใชปยุ ยเู รยี แตควรเพ่มิ ปรมิ าณปุยแอมโมเนียมซัลเฟตอีก 1 เทาของอัตราท่ีแนะนําสําหรับ
การใชปยุ ยเู รยี (ตารางที่ 1.11 และ 1.12)

ตารางที่ 1.11 การใชป ยุ ตามคาวิเคราะหดนิ โดยผสมปยุ ใชเองในออ ยปลูก

อินทรียวตั ถุ ฟอสฟอรสั ทีเ่ ปน โพแทสเซียมท่ี ระดับธาตุอาหารท่แี นะนาํ ใสป ยุ คร้งั ที่ 1 (รองพน้ื ) ใสปุย ครงั้ ที่ 2
(%) ประโยชน แลกเปลีย่ นได (กก./ไร) (กก./ไร)
(กก./ไร)
<0.75 (มก./กก.) (มก./กก.) 46-0-0 18-46-0 0-0-60 46-0-0
<0.75 N P2O5 K2O
<0.75 <7 <60 22 20 30 29
<0.75 <7 60-90 27 9 18 22 20 20 29
<0.75 <7 >90 22 20 10 29
<0.75 27 9 12
<0.75 7-30 <60 24 13 30 29
<0.75 7-30 60-90 27 9 6 24 13 20 29
<0.75 7-30 >90 24 13 10 29
<0.75 27 6 18
<0.75 >30 <60 27 7 30 29
<0.75 >30 60-90 27 6 12 27 7 20 29
>30 >90 27 7 10 29
27 6 6
<7 <60 15 20 30 23
<7 60-90 27 3 18 15 20 20 23
<7 >90 15 20 10 23
27 3 12

27 3 6

21* 9 18

21* 9 12

21* 9 6

21

ตารางที่ 1.11 (ตอ) การใชปยุ ตามคาวิเคราะหดนิ โดยผสมปยุ ใชเองในออ ยปลูก

อนิ ทรียวัตถุ ฟอสฟอรัสท่เี ปน โพแทสเซยี มที่ ระดบั ธาตอุ าหารที่แนะนาํ ใสปยุ ครัง้ ท่ี 1 (รองพื้น) ใสปุยครั้งที่ 2

(%) ประโยชน แลกเปลยี่ นได (กก./ไร) (กก./ไร) (กก./ไร)

(มก./กก.) (มก./กก.) N P2O5 K2O 46-0-0 18-46-0 0-0-60 46-0-0
<0.75 7-30 <60
21* 6 18 18 13 30 23

<0.75 7-30 60-90 21* 6 12 18 13 20 23

<0.75 7-30 >90 21* 6 6 18 13 10 23

<0.75 >30 <60 21* 3 18 20 7 30 23

<0.75 >30 60-90 21* 3 12 20 7 20 23

<0.75 >30 >90 21* 3 6 20 7 10 23

0.75-1.50 <7 <60 15 9 18 9 20 30 16

0.75-1.50 <7 60-90 15 9 12 9 20 20 16

0.75-1.50 <7 >90 15 9 6 9 20 10 16

0.75-1.50 7-30 <60 15 6 18 11 13 30 16

0.75-1.50 7-30 60-90 15 6 12 11 13 20 16

0.75-1.50 7-30 >90 15 6 6 11 13 10 16

0.75-1.50 >30 <60 15 3 18 14 7 30 16

0.75-1.50 >30 60-90 15 3 12 14 7 20 16

0.75-1.50 >30 >90 15 3 6 14 7 10 16

1.50-2.25 <7 <60 12 9 18 5 20 30 13

1.50-2.25 <7 60-90 12 9 12 5 20 20 13

1.50-2.25 <7 >90 12 9 6 5 20 10 13

1.50-2.25 7-30 <60 12 6 18 8 13 30 13

1.50-2.25 7-30 60-90 12 6 12 8 13 20 13

1.50-2.25 7-30 >90 12 6 6 8 13 10 13

1.50-2.25 >30 <60 12 3 18 10 7 30 13

1.50-2.25 >30 60-90 12 3 12 10 7 20 13

1.50-2.25 >30 >90 12 3 6 10 7 10 13

>2.25 <7 <60 6 9 18 0 20 30 7

>2.25 <7 60-90 6 9 12 0 20 20 7

>2.25 <7 >90 6 9 6 0 20 10 7

>2.25 7-30 <60 6 6 18 1 13 30 7

>2.25 7-30 60-90 6 6 12 1 13 20 7

>2.25 7-30 >90 6 6 6 1 13 10 7

>2.25 >30 <60 6 3 18 4 7 30 7

>2.25 >30 60-90 6 3 12 4 7 20 7

>2.25 >30 >90 636 4 7 10 7

หมายเหตุ: คร้งั ที่ 1 ใสป ุยรองพ้ืนกอนปลูกโดยผสมปุย 46-0-0 18-46-0 และ 0-0-60 ตามสัดสวนที่กําหนด แลวใชให

หมดในคร้งั เดียว

ครงั้ ท่ี 2 ใสปุย 46-0-0 เมอ่ื ออ ยอายุ 3 - 4 เดือน หลงั ปลูก โดยวิธีโรยขา งแถวแลว กลบ

ปรบั ปรงุ จาก กรมวิชาการเกษตร (2553) กอบเกยี รติ (2556) และโครงการวิจัยและพัฒนาดิน นํ้า และปุยออย

(กอบเกยี รติ, 2558)

กรณที ด่ี นิ มอี ินทรยี วตั ถตุ ํา่ กวา 0.75% ถาใสปุยไนโตรเจนอัตรา 21 กิโลกรัม N ตอไร จะตองใชปุยอินทรียรวม

ดว ย ในอตั รา 1 ตันตอไร

22

ตารางที่ 1.12 การใชป ุยตามคา วเิ คราะหดนิ โดยผสมปยุ ใชเองในออ ยตอ

อนิ ทรียวตั ถุ ฟอสฟอรสั ท่ีเปน โพแทสเซียมที่ ระดับธาตุอาหารท่แี นะนาํ ใสปยุ ครั้งท่ี 1 (รองพืน้ ) ใสปยุ ครัง้ ท่ี 2
(%) ประโยชน แลกเปล่ียนได (กก./ไร) (กก./ไร)
(กก./ไร)
<0.75 (มก./กก.) (มก./กก.) 46-0-0 18-46-0 0-0-60 46-0-0
<0.75 N P2O5 K2O
<0.75 <7 <60 22 20 30 29
<0.75 <7 60-90 27 9 18 22 20 20 29
<0.75 <7 >90 22 20 10 29
<0.75 27 9 12
<0.75 7-30 <60 24 13 30 29
<0.75 7-30 60-90 27 9 6 24 13 20 29
<0.75 7-30 >90 24 13 10 29
<0.75 27 6 18
<0.75 >30 <60 27 7 30 29
<0.75 >30 60-90 27 6 12 27 7 20 29
<0.75 >30 >90 27 7 10 29
<0.75 27 6 6
<0.75 <7 <60 12 20 30 20
<0.75 <7 60-90 27 3 18 12 20 20 20
<0.75 <7 >90 12 20 10 20
<0.75 27 3 12
0.75-1.50 7-30 <60 14 13 30 20
0.75-1.50 7-30 60-90 27 3 6 14 13 20 20
0.75-1.50 7-30 >90 14 13 10 20
0.75-1.50 18 9 18
0.75-1.50 >30 <60 17 7 30 20
0.75-1.50 >30 60-90 18 9 12 17 7 20 20
0.75-1.50 >30 >90 17 7 10 20
0.75-1.50 18 9 6
0.75-1.50 <7 <60 12 20 30 20
1.50-2.25 <7 60-90 18 6 18 12 20 20 20
1.50-2.25 <7 >90 12 20 10 20
1.50-2.25 18 6 12
1.50-2.25 7-30 <60 14 13 30 20
1.50-2.25 7-30 60-90 18 6 6 14 13 20 20
1.50-2.25 7-30 >90 14 13 10 20
1.50-2.25 18 3 18
1.50-2.25 >30 <60 17 7 30 20
1.50-2.25 >30 60-90 18 3 12 17 7 20 20
>2.25 >30 >90 17 7 10 20
>2.25 18 3 6
>2.25 <7 <60 9 20 30 16
>2.25 <7 60-90 18 9 18 9 20 20 16
>2.25 <7 >90 9 20 10 16
>2.25 18 9 12
>2.25 7-30 <60 11 13 30 16
>2.25 7-30 60-90 18 9 6 11 13 20 16
>2.25 7-30 >90 11 13 10 16
18 6 18
>30 <60 14 7 30 16
>30 60-90 18 6 12 14 7 20 16
>30 >90 14 7 10 16
18 6 6
<7 <60 2 20 30 10
<7 60-90 18 3 18 2 20 20 10
<7 >90 2 20 10 10
18 3 12
7-30 <60 5 13 30 10
7-30 60-90 18 3 6 5 13 20 10
7-30 >90 5 13 10 10
15 9 18
>30 <60 7 7 30 10
>30 60-90 15 9 12 7 7 20 10
>30 >90 7 7 10 10
15 9 6

15 6 18

15 6 12

15 6 6

15 3 18

15 3 12

15 3 6

9 9 18

9 9 12

996

9 6 18

9 6 12

966

9 3 18

9 3 12

936

23

หมายเหตุ: คร้ังท่ี 1 ใสปุยหลังตัดแตงตอออย 1-2 เดือน โดยผสมปุย 46-0-0 18-46-0 และ 0-0-60 ตามสัดสวนที่
ครัง้ ที่ 2 กําหนด แลวใชใหห มดในคร้งั เดยี ว
ใสปุย 46-0-0 เมื่อออยตออายุ 3-4 เดือน หรือ 5-6 เดือน (กรณีปลูกออยขามแลง) โดยวิธีโรยขาง
แถวแลว กลบ

6.3 การใชปุย ตามคา วิเคราะหดนิ โดยใชปุยเชิงประกอบรวมกบั ปยุ เชงิ เด่ยี ว
กรณีเกษตรกรไมสะดวกในการหาซอื้ แมป ุย ไดแอมโมเนยี มฟอสเฟต (18-46-0) สามารถแนะนาํ ให

เกษตรกรใชปุยเชิงประกอบท่ีหาซ้ือไดในทองถิ่นรวมกับปุยยูเรีย (46-0-0) หรือแอมโมเนียมซัลเฟต (21-0-0
+24%S) และโพแทสเซยี มคลอไรด (0-0-60) หรอื โพแทสเซียมซลั เฟต (0-0-50) ในการใสปุยครั้งท่ี 1 เปนปุย
รองพื้น ควรใชปุยเชิงประกอบที่มีครบท้งั 3 ธาตุ ไดแ ก ไนโตรเจน ฟอสฟอรสั และโพแทสเซียม เชน ปุย 16-16-8

ซ่งึ การคาํ นวณปรมิ าณปุยท่ีตองใชในการใสปุยคร้ังท่ี 1 จะใชธาตุฟอสฟอรัสเปนหลักในการคํานวณ ตามผล
วิเคราะหปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนในดิน เชน หากดินมีปริมาณฟอสฟอรัสท่ีเปนประโยชน 20
มลิ ลกิ รัมตอ กิโลกรมั เมอ่ื พจิ ารณาจากคําแนะนาํ การใชป ุย ตามคาวิเคราะหด ินในตารางที่ 1.8 พบวา จะตองใช

ปุยที่ใหธ าตุฟอสฟอรัส 6 กโิ ลกรัม P2O5 ตอ ไร นนั่ คือ หากใชป ุย 16-16-8 เปนปุยรองพ้นื ในครงั้ ที่ 1 จะตองใช
ปุย 16-16-8 เทากับ 6 x 100/16 = 37.5 หรือ 38 กโิ ลกรัม ซงึ่ จากการใชปยุ 16-16-8 อตั รา 38 กิโลกรมั ตอไร
จะใหธาตุอาหารไนโตรเจน เทากับ 16/100 x 38 = 6 กิโลกรัม N ตอไร และใหธาตุโพแทสเซียม เทากับ

8/100 x 38 = 3 กิโลกรัม K2O ตอไร จากนั้น ในการใสปุยครั้งที่ 2 จะเปนการเพิ่มเติมปริมาณไนโตรเจน
และโพแทสเซียมสว นทีย่ งั ขาดจากอัตราแนะนาํ ซึง่ อตั ราปุยท่ีคํานวณไดในการใสป ุย ครง้ั ที่ 2 เกษตรกรสามารถ
แบง ใส 2 ครั้งกไ็ ดข น้ึ อยกู ับความสะดวกของเกษตรกรและคาใชจ า ยในการใสปยุ (ตารางที่ 1.13 และ 1.14)

24

ตารางที่ 1.13 การใชป ยุ ตามคา วิเคราะหดนิ โดยเลือกใชป ยุ เชิงประกอบรว มกบั ปยุ เชงิ เดยี่ วในออยปลูก

อินทรียวตั ถุ ฟอสฟอรัสทเี่ ปน โพแทสเซียมที่ ระดบั ธาตอุ าหารทแี่ นะนาํ ใสปยุ ครัง้ ท่ี 1 ใสป ยุ ครัง้ ที่ 2
(%) ประโยชน แลกเปล่ียนได (กก./ไร) (กก./ไร)
(กก./ไร)
<0.75 (มก./กก.) (มก./กก.) 16-16-8 46-0-0 0-0-60
<0.75 N P2O5 K2O
<0.75 <7 <60 56 39 23
<0.75 <7 60-90 27 9 18 56 39 13
<0.75 <7 >90 56 39 3
<0.75 27 9 12
<0.75 7-30 <60 38 46 25
<0.75 7-30 60-90 27 9 6 38 46 15
<0.75 7-30 >90 38 46 5
<0.75 27 6 18
<0.75 >30 <60 19 52 28
<0.75 >30 60-90 27 6 12 19 52 18
<0.75 >30 >90 19 52 8
<0.75 27 6 6
<0.75 <7 <60 56 26 23
<0.75 <7 60-90 27 3 18 56 26 13
<0.75 <7 >90 56 26 3
<0.75 27 3 12
0.75-1.50 7-30 <60 38 33 25
0.75-1.50 7-30 60-90 27 3 6 38 33 15
0.75-1.50 7-30 >90 38 33 5
0.75-1.50 21* 9 18
0.75-1.50 >30 <60 19 39 28
0.75-1.50 >30 60-90 21* 9 12 19 39 18
0.75-1.50 >30 >90 19 39 8
0.75-1.50 21* 9 6
0.75-1.50 <7 <60 56 13 23
1.50-2.25 <7 60-90 21* 6 18 56 13 13
1.50-2.25 <7 >90 56 13 3
1.50-2.25 21* 6 12
1.50-2.25 7-30 <60 38 20 25
1.50-2.25 7-30 60-90 21* 6 6 38 20 15
1.50-2.25 7-30 >90 38 20 5
1.50-2.25 21* 3 18
1.50-2.25 >30 <60 19 26 28
1.50-2.25 >30 60-90 21* 3 12 19 26 18
>2.25 >30 >90 19 26 8
>2.25 21* 3 6
>2.25 <7 <60 56 7 23
>2.25 <7 60-90 15 9 18 56 7 13
>2.25 <7 >90 56 73
>2.25 15 9 12
>2.25 7-30 <60 38 13 25
>2.25 7-30 60-90 15 9 6 38 13 15
>2.25 7-30 >90 38 13 5
15 6 18
>30 <60 19 20 28
>30 60-90 15 6 12 19 20 18
>30 >90 19 20 8
15 6 6
<7 <60 56 0 23
<7 60-90 15 3 18 56 0 13
<7 >90 56 03
15 3 12
7-30 <60 38 0 25
7-30 60-90 15 3 6 38 0 15
7-30 >90 38 05
12 9 18
>30 <60 19 7 28
>30 60-90 12 9 12 19 7 18
>30 >90 19 78
12 9 6

12 6 18

12 6 12

12 6 6

12 3 18

12 3 12

12 3 6

6 9 18

6 9 12

69 6

6 6 18

6 6 12

66 6

6 3 18

6 3 12

63 6

25

หมายเหตุ * กรณีดินมอี ินทรียวัตถตุ ่ํากวา 0.75 เปอรเซ็นต ควรปรับปรุงดนิ ดวยวสั ดุอินทรีย เชน กากตะกอนหมอกรอง
ออย อตั รา 1 ตันตอ ไร
ถา ความเปนกรด-ดา ง (pH) ของดินนอยกวา 5.6 1) ใสป นู โดโลไมต อตั รา 100 กโิ ลกรมั ตอ ไร

2) ควรใชปุยยูเรีย (46-0-0) เปนแหลงของไนโตรเจน
ถา ความเปนกรด-ดา ง (pH) ของดินมากกวา 7.3 1) เลือกใชพ ันธทุ ี่เจริญเตบิ โตไดด ีในดนิ ดาง เชน พนั ธุ

อทู อง 14
2) ใชปยุ แอมโมเนียมซัลเฟต (21-0-0 + 24%S) เปน

แหลง ของไนโตรเจน
วิธีการใสปุย ออ ยปลูก แบง ใสป ุย 2 - 3 ครง้ั

คร้ังที่ 1 ใสป ุยรองพืน้ พรอมปลูก ใหม ีธาตุอาหารไนโตรเจน ฟอสฟอรสั และโพแทสเซยี ม ครบทั้ง 3 ธาตุ
โดยใสป ุยฟอสเฟตตามอัตราแนะนํารวมกบั ปุยไนโตรเจนและปยุ โพแทช อยา งนอย 1 ใน 3 ของ
อัตราแนะนํา

คร้ังที่ 2 เม่อื ออยอายุ 3 - 4 เดอื น หรอื 5 - 6 เดือน (กรณีปลูกออยขา มแลง) และดนิ มีความชื้นเหมาะสม
ใสป ยุ ไนโตรเจนและปุย โพแทชทเี่ หลือท้ังหมด โดยโรยขา งแถวปลูกแลว พรวนกลบ

กรณดี ินทรายหรือรวนปนทราย ควรแบงใสป ุย 3 ครั้ง โดยครั้งท่ี 1 ใหใสปยุ ฟอสเฟตตามอัตราแนะนาํ สว น
ปุยไนโตรเจนและปยุ โพแทชใหแ บงใส 1 ใน 3 ของอตั ราแนะนาํ จากน้นั ใสปยุ ไนโตรเจนและปยุ
โพแทช อกี 2 คร้ัง เมือ่ ออยอายุ 3 - 4 เดือน และ 5 - 6 เดอื นโดยใสค ร้งั ละ 1 ใน 3 ของอัตรา
แนะนาํ

26

ตารางที่ 1.14 การใชปยุ ตามคา วิเคราะหด ินโดยเลอื กใชป ยุ เชงิ ประกอบรวมกับปุย เชงิ เดี่ยวในออยตอ

อินทรยี วตั ถุ ฟอสฟอรัสท่เี ปน โพแทสเซียมท่ี ระดับธาตุอาหารท่แี นะนาํ ใสปยุ ครง้ั ท่ี 1 ใสป ุยคร้งั ท่ี 2
(%) ประโยชน แลกเปลยี่ นได (กก./ไร) (กก./ไร)
(กก./ไร)
<0.75 (มก./กก.) (มก./กก.) 16-16-8 46-0-0 0-0-60
<0.75 N P2O5 K2O
<0.75 <7 <60 56 39 23
<0.75 <7 60-90 27 9 18 56 39 13
<0.75 <7 >90 56 39 3
<0.75 27 9 12
<0.75 7-30 <60 38 46 25
<0.75 7-30 60-90 27 9 6 38 46 15
<0.75 7-30 >90 38 46 5
<0.75 27 6 18
<0.75 >30 <60 19 52 28
<0.75 >30 60-90 27 6 12 19 52 18
<0.75 >30 >90 19 52 8
<0.75 27 6 6
<0.75 <7 <60 56 20 23
<0.75 <7 60-90 27 3 18 56 20 13
<0.75 <7 >90 56 20 3
<0.75 27 3 12
0.75-1.50 7-30 <60 38 26 25
0.75-1.50 7-30 60-90 27 3 6 38 26 15
0.75-1.50 7-30 >90 38 26 5
0.75-1.50 18 9 18
0.75-1.50 >30 <60 19 33 28
0.75-1.50 >30 60-90 18 9 12 19 33 18
0.75-1.50 >30 >90 19 33 8
0.75-1.50 18 9 6
0.75-1.50 <7 <60 56 20 23
1.50-2.25 <7 60-90 18 6 18 56 20 13
1.50-2.25 <7 >90 56 20 3
1.50-2.25 18 6 12
1.50-2.25 7-30 <60 38 26 25
1.50-2.25 7-30 60-90 18 6 6 38 26 15
1.50-2.25 7-30 >90 38 26 5
1.50-2.25 18 3 18
1.50-2.25 >30 <60 19 33 28
1.50-2.25 >30 60-90 18 3 12 19 33 18
>2.25 >30 >90 19 33 8
>2.25 18 3 6
>2.25 <7 <60 56 13 23
>2.25 <7 60-90 18 9 18 56 13 13
>2.25 <7 >90 56 13 3
>2.25 18 9 12
>2.25 7-30 <60 38 20 25
>2.25 7-30 60-90 18 9 6 38 20 15
>2.25 7-30 >90 38 20 5
18 6 18
>30 <60 19 26 28
>30 60-90 18 6 12 19 26 18
>30 >90 19 26 8
18 6 6
<7 <60 56 0 23
<7 60-90 18 3 18 56 0 13
<7 >90 56 03
18 3 12
7-30 <60 38 7 25
7-30 60-90 18 3 6 38 7 15
7-30 >90 38 75
15 9 18
>30 <60 19 13 28
>30 60-90 15 9 12 19 13 18
>30 >90 19 13 8
15 9 6

15 6 18

15 6 12

15 6 6

15 3 18

15 3 12

15 3 6

9 9 18

9 9 12

99 6

9 6 18

9 6 12

96 6

9 3 18

9 3 12

93 6

27

หมายเหตุ * กรณีดนิ มีอินทรียวัตถุต่ํากวา 0.75 เปอรเซ็นต ควรปรับปรุงดินดวยวัสดุอินทรีย เชน กากตะกอนหมอกรอง
ออย อตั รา 1 ตันตอ ไร
ถา ความเปน กรด-ดาง (pH) ของดินนอยกวา 5.6 1) ใสปูนโดโลไมต อตั รา 100 กิโลกรัมตอ ไร

2) ควรใชป ุย ยเู รยี (46-0-0) เปน แหลง ของไนโตรเจน
ถาความเปนกรด-ดาง (pH) ของดินมากกวา 7.3 1) เลือกใชพันธุท่ีเจริญเติบโตไดดีในดินดาง เชน พันธุ

อทู อง 14
2) ใชปุยแอมโมเนียมซัลเฟต (21-0-0 + 24%S) เปน

แหลงของไนโตรเจน
วิธีการใสปยุ ออยตอ แบง ใสป ุย 2-3 ครั้ง

ครงั้ ที่ 1 หลงั จากเกบ็ เกยี่ วออ ยประมาณ 1 - 2 เดอื น และดินมีความชนื้ เหมาะสม ใหใสปุยที่มีธาตุอาหาร
ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม ครบทั้ง 3 ธาตุ โดยใสปุยฟอสเฟตตามอัตราแนะนํา
รว มกับปยุ ไนโตรเจนและปยุ โพแทช อยา งนอ ย 1 ใน 3 ของอัตราแนะนาํ

ครง้ั ที่ 2 เม่ือออยตออายุ 3 - 4 เดือน หรือ 5 - 6 เดือน (กรณีปลูกออยขามแลง) และดินมีความชื้น
เหมาะสม ใหใสปุยไนโตรเจนและปุยโพแทชทเ่ี หลือทัง้ หมด โดยโรยขา งแถวแลว พรวนกลบ

กรณดี นิ ทรายหรอื รว นปนทราย ควรแบงใสปยุ 3 คร้งั โดยครั้งท่ี 1 ใหใสปุยฟอสเฟตตามอัตราแนะนํา สวน
ปุยไนโตรเจนและปุยโพแทชใหแบงใส 1 ใน 3 ของอัตราแนะนํา จากน้ันใสปุยไนโตรเจนและ
ปุยโพแทช อีก 2 คร้ัง เม่ือออยอายุ 3 - 4 เดือน และ 5 - 6 เดือนโดยใสคร้ังละ 1 ใน 3 ของ
อัตราแนะนาํ

6.4 การใชป ยุ ชีวภาพสาํ หรบั ออ ย
การใชปุยชีวภาพสําหรับออย แนะนําใหใชปุยชีวภาพพีจีพีอาร-ทรี ซ่ึงประกอบดวยแบคทีเรีย

2 ชนิด ไดแก Azospirillium brasilense และ Gluconacetobacter diazotrophicus ไมนอยกวา 1 x 106
โคโลนีตอ กรมั โดยใชป ยุ ชวี ภาพอตั รา 1 กิโลกรัม ละลายน้ํา 100 ลติ ร สาํ หรับพนื้ ท่ีปลูกออย 1 ไร ฉีดพนเปน
ฝอยละเอยี ดลงบนทอ นพนั ธุ แลว กลบทบั ดว ยดินทันที หรือใชปุยชวี ภาพพีจีพีอาร-ทรี ผสมกับปุยอินทรียแลว

โรยในรองปลูก โดยควรใชค วบคกู ับปยุ เคมตี ามอตั ราแนะนาํ หรือลดการใชปุยเคมไี นโตรเจนลงประมาณ 10-20 %
ของอัตราแนะนํา

28

บทท่ี 2
การใชปุยสาํ หรับมนั สําปะหลงั

1. ขอ มลู ท่วั ไปของมันสาํ ปะหลงั
มันสําปะหลังเปนพืชเศรษฐกิจสําคัญและใชในอุตสาหกรรมตอเนื่องตางๆ เชน อุตสาหกรรม

แอลกอฮอล เอทานอล อาหารสตั ว สารความหวาน ผงชูรส กระดาษ และสิง่ ทอ เปน ตน ผลผลติ ของมนั สาํ ปะหลงั ใชใ น
กระบวนการแปรรูปเปนมนั เสน มนั อัดเม็ด แปงมันสําปะหลงั และเอทานอล ในป พ.ศ. 2562 ประเทศไทยมี
พนื้ ท่ีปลกู มันสําปะหลัง 8.82 ลานไร สวนใหญปลูกในจังหวดั นครราชสมี า 1.43 ลา นไร กําแพงเพชร 684,681 ไร
ชัยภมู ิ 629,570 ไร กาญจนบุรี 480,879 ไร อบุ ลราชธานี 470,839 ไร สระแกว 385,906 ไร และนครสวรรค
378,924 ไร ผลผลิตรวมทั้งประเทศ 31.08 ลานตนั ผลผลติ เฉลีย่ 3.59 ตันตอไร (สาํ นักงานเศรษฐกิจการเกษตร,
2563ข)

2. สภาพแวดลอ มทีเ่ หมาะสมตอการผลติ มนั สําปะหลัง
2.1 สภาพพื้นที่ และสมบัติของดินที่เหมาะสม มันสําปะหลังสามารถปลูกไดในดินท่ีมีความอุดม

สมบูรณตํ่าถึงสูง เปนท่ีดอน ดินเนื้อหยาบ ไดแก ดินทราย ดินรวน หรือดินรวนปนทราย มีการระบายน้ําดี
ปรมิ าณอนิ ทรียวตั ถุ 0.65-2.00 เปอรเซน็ ต คาความเปนกรด-ดา งท่เี หมาะสม 5.0-6.5 คาการนําไฟฟาไมเกิน
0.5 เดซิซีเมนตอเมตร (กอบเกียรติ, 2554) พน้ื ท่ที ่มี ีการปลกู มนั สาํ ปะหลังตอ เนือ่ งเปนเวลานาน ควรปรับปรุง
ดินโดยใชปยุ อนิ ทรยี  เศษซากพืชหรือไถกลบเศษซากพชื เพ่อื เพมิ่ อินทรียวัตถุ

2.2 สภาพภมู อิ ากาศ มนั สาํ ปะหลังสามารถเจรญิ เติบโตไดดีในพ้ืนท่ีท่ีมีอุณหภูมิเฉลี่ย 25-29 องศา
เซลเซียส ปรมิ าณนํ้าฝน 1,000-1,500 มลิ ลเิ มตรตอ ป

2.3 ฤดูปลูก มันสําปะหลงั สามารถปลูกไดตลอดทัง้ ป แตเ กษตรกรสวนใหญประมาณ 65 เปอรเซ็นต
จะปลกู ชวงตนฤดฝู น (เดือนมนี าคมถงึ เดอื นพฤษภาคม) และประมาณ 20 เปอรเซ็นต ปลูกในชวงปลายฤดูฝน
หรือในฤดแู ลง (เดือนพฤศจิกายนถึงเดือนกมุ ภาพนั ธ) สวนที่เหลอื จะปลกู ในชวงเดือนมิถนุ ายนถึงเดือนตุลาคม
การปลกู ในชว งตน ฤดูฝนใหผ ลผลิตหัวสดสูงกวา การปลกู ในชว งอื่นๆ เนือ่ งจากปรมิ าณนาํ้ ฝนยังไมมากนักจึงมี
เวลาเตรียมดินไดดี ลดปญหาวัชพืชรบกวน และมันสําปะหลังจะไดรับนํ้าฝนตลอดระยะเวลาของการ
เจริญเติบโต ถาปลูกชว งปลายฤดูหรือในฤดแู ลง หลังจากมนั สําปะหลังงอกจะไดรับผลกระทบจากฝนทิ้งชวง
2-3 เดือน ทาํ ใหมันสาํ ปะหลังชะงักการเจรญิ เติบโต แตขอ ดีคอื มีวชั พืชขน้ึ รบกวนนอ ย ถาเปนดนิ ทรายสามารถ
ปลูกไดต ลอดป แตเ กษตรกรมักนิยมปลูกปลายฤดฝู น เชน ในพน้ื ที่จังหวัดระยองและชลบุรี ถาเปนดินเหนียว
จะนยิ มปลูกตนฤดูฝน เพราะสามารถเตรียมดนิ ไดงาย

2.4 ความตองการนา้ํ ของพชื มันสาํ ปะหลังมีความตอ งการนาํ้ ตลอดฤดปู ลกู 12 เดือนประมาณ 853
มิลลิเมตร หรือ 1,365 ลูกบาศกเมตรตอไร โดยแบงเปนสี่ชวงอายุดังน้ี ท่ีอายุ 0-60 วัน ตองการนํ้า 1.2
มิลลิเมตรตอวัน (1.9 ลูกบาศกเมตรตอไรตอวัน) ท่ีอายุ 61-150 วัน ตองการนํ้า 1.9 มิลลิเมตรตอวัน (3.1
ลูกบาศกเ มตรตอ ไรต อวนั ) ทีอ่ ายุ 151-300 วนั ตอ งการนา้ํ 3.6 มิลลิเมตรตอวัน (5.8 ลูกบาศกเมตรตอไรตอวัน)
ทีอ่ ายุ 301-330 วัน ตอ งการน้าํ 1.8 มลิ ลิเมตรตอวนั (2.9 ลูกบาศกเมตรตอ ไรต อวนั ) (กรมวชิ าการเกษตร, 2559)

29

3. ความตอ งการและอาการขาดธาตุอาหารของมนั สําปะหลงั
มันสาํ ปะหลงั มีความตองการไนโตรเจน 10-20 กิโลกรมั N ตอ ไร ฟอสฟอรัส 6-10 กโิ ลกรัม P2O5 ตอ

ไร และโพแทสเซยี ม 8-12 กิโลกรมั K2O ตอไร ท้งั นข้ี นึ้ อยกู บั ปรมิ าณธาตุอาหารในดินกอนปลูก ธาตุฟอสฟอรัส
ถึงแมจะมีปริมาณความตองการนอยกวาธาตุไนโตรเจนและโพแทสเซียม แตก็มีบทบาทเกี่ยวของกับการ
เจริญเตบิ โตและปรมิ าณผลผลติ ของมนั สาํ ปะหลัง

ไนโตรเจน (Nitrogen: N) เปน องคป ระกอบของกรดอะมโิ น โปรตีน และสวนที่เปน สีเขยี วของพืช มี
หนาที่ชวยใหพืชตั้งตัวไดเร็วในระยะแรกของการเจริญเติบโต สงเสริมการแตกยอดออน ใบ และก่ิงกาน
ไนโตรเจนเปนธาตอุ าหารทส่ี ามารถเคล่ือนยา ยไดใ นพืช ดังนัน้ เม่อื มนั สําปะหลงั ขาดไนโตรเจน ใบลางจะเปลยี่ น
จากสีเขยี วเปน เหลอื งซดี และสีน้าํ ตาล และรว งกอนกําหนด ชะงักการเจริญเติบโต ตน เต้ยี แคระแกรน็ ทาํ ใหผล
ผลติ ลดลง (ภาพท่ี 2.1) การใสปุยไนโตรเจนจะใหผ ลตอบสนองอยางเดนชดั ท้ังในดานการเจรญิ เตบิ โตและการ
ใหผลผลิต มนั สําปะหลงั ตอบสนองตอไนโตรเจนมากหรอื นอ ย ขน้ึ อยกู ับความสามารถในการอุมนํ้าของดินและ
ปรมิ าณฝนท่ตี กกระจายอยา งสม่ําเสมอ หากไดร บั ไนโตรเจนมากเกนิ ไป จะทําใหเ ปอรเ ซ็นตแปงในหัวมันลดลง
(โชติ และคณะ, 2522)

การแกไขการขาดไนโตรเจนในมันสาํ ปะหลงั สามารถทําไดโดย
1) ปรบั ปรงุ สภาพดนิ ใหเ หมาะสม เพอ่ื ใหธ าตุอาหารพชื ในดนิ ละลายออกมาเปนประโยชนต อพืชมากข้นึ
2) ใสปุยไนโตรเจนตามความตองการของพืช ดวยการใหท างดนิ หรือใหเสรมิ โดยการฉดี พนทางใบ
3) ใสป ยุ อนิ ทรยี และปุย ชวี ภาพใหแกพ ชื

ภาพท่ี 2.1 ลกั ษณะอาการขาดไนโตรเจนของมนั สาํ ปะหลงั

แหลง ท่ีมาภาพ : วัลลีย (2551)

ฟอสฟอรัส (Phosphorus: P) ฟอสฟอรัสมีบทบาทตอการสงเสริมการเจริญเติบโตของราก
โดยเฉพาะในระยะแรกของการเจริญเตบิ โต ทั้งยังชวยเพ่ิมความตานทานตอโรคบางชนิดและลดอิทธิพลของ
ไนโตรเจน ซ่ึงมีผลทําใหพืชออนแอได แตหากพืชไดรับฟอสฟอรัสในปริมาณที่มากเกินไปจะทําใหพืชแกเร็ว
(สรสทิ ธ์ิ 2518; Bandel et al., 2000) ฟอสฟอรสั เปนธาตุที่เคลอื่ นยายในดนิ ไดนอ ย แตส ามารถเคลือ่ นยา ยได
ในตน พชื ดังนั้นการใชปุยฟอสเฟตจึงจําเปนตองใสเปนปุยรองพ้ืน เพ่ือใหปุยอยูใกลบริเวณรากพืชมากท่ีสุด
มันสําปะหลังมกี ารดดู ใชฟ อสฟอรสั ในปรมิ าณที่นอยกวาไนโตรเจน และโพแทสเซยี ม (วัลลยี  และคณะ, 2555
ก ; 2555ข) ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนในดินขึ้นอยูกับระดับความเปนกรด-ดางของดิน ถาดินมีคา
ความเปนกรด-ดางตํ่ากวา 5.5 ฟอสเฟตจะถูกตรึงโดยเหล็ก (Fe-P) และอะลูมินัม (Al-P) ทําใหปริมาณ

30

ฟอสฟอรสั ที่เปน ประโยชนในดนิ ลดลง ขณะเดยี วกันหากคาความเปนกรด-ดางของดินมากกวา 7.0 ฟอสเฟต
จะตกตะกอนกับแคลเซยี ม (Ca-P) ทาํ ใหความเปนประโยชนของฟอสเฟตลดลงไดเ ชน กัน

เม่อื ขาดฟอสฟอรัส มนั สาํ ปะหลงั ลาํ ตนบิดเบย้ี ว แคระแกร็น ใบลา งเปล่ยี นเปน สีมว ง ตอมาเปลีย่ นเปน
สนี ้าํ ตาล รากชะงักการเจริญเติบโต ใบจะมสี ีเขียวเขม กานใบอาจมีสีมวง หากขาดรุนแรงใบจะเปลี่ยนเปนสี
เหลอื ง และมีเซลลตายในบางใบ ลาํ ตนเตีย้ เติบโตชา (ภาพท่ี 2.2) (กองปฐพวี ิทยา, 2543)

การแกไขการขาดฟอสฟอรัส สามารถทาํ ไดโ ดย
1) ปรับคา ความเปน กรด-ดางของดินใหอยูในชว ง 6.0-7.0 เพื่อใหธาตุอาหารพืชในดินละลายออกมา
เปน ประโยชนตอพชื มากขึน้
2) ใสป ยุ ฟอสเฟตตามคาํ แนะนาํ ดวยการใหป ุยทางดนิ โดยใสรองพนื้ กอนปลกู เพือ่ ใหปุยฟอสเฟต ใกล
บรเิ วณรากพืชมากที่สดุ

ภาพที่ 2.2 ลักษณะอาการขาดฟอสฟอรสั ของมันสําปะหลงั

แหลงท่ีมาภาพ : CIAT (1985)

โพแทสเซยี ม (Potassium: K) มคี วามสําคญั ตอ การเคลื่อนยา ยคารโ บไฮเดรตจากสวนใบและตนไป
ยังสวนหัวมันสําปะหลัง เพ่ิมปริมาณแปงและลดปริมาณไฮโดรไซยานิคในหัวมัน เม่ือมันสําปะหลังขาด
โพแทสเซียม จะเรมิ่ ตน แสดงอาการท่ีใบลาง เนือ่ งจากโพแทสเซียมเปนธาตุที่เคล่ือนยายไดในพืช โดยขอบใบ
ลา งจะมีสีซดี จาง มจี ดุ สนี ้าํ ตาลแหง ระหวางเสน ใบ และลุกลามเขาหาเสนกลางใบ ใบเล็กแคบ ตนแคระแกร็น
และหกั ลมงา ย จะทาํ ใหผ ลผลติ หวั มนั ลดลงอยา งชัดเจน (ภาพที่ 2.3) ประมาณ 60 เปอรเ ซ็นตของโพแทสเซียม
ท่ีดดู ใชจ ะไปสะสมในสวนของหวั เมอื่ นาํ ผลผลิตออกจากแปลงจึงทําใหเกิดการสญู เสยี โพแทสเซยี ม (วลั ลยี  และ
คณะ, 2558ข) ดงั น้นั เม่ือปลูกมนั สําปะหลงั ติดตอ กนั ยาวนาน โพแทสเซยี มในดนิ จงึ ไมเ พียงพอตอ ความตอ งการ
การทดลองปุยระยะยาว 35 ป ในดินรวนปนทรายชุดดินหวยโปงท่ีมีความอุดมสมบูรณต่ํา พบวา เม่ือใสปุย
ไนโตรเจน-ฟอสเฟต-โพแทช อยางครบถวนตามคําแนะนํา ไดผลผลิตเฉล่ีย 3.82 ตันตอไร และเมื่อใสเฉพาะ
ปุยไนโตรเจน-ฟอสเฟต แตไมใสปุยโพแทช จะใหผลผลิตเฉล่ีย 2.86 ตันตอไร หรือทําใหผลผลิตลดลงถึง
25 เปอรเ ซน็ ต ซง่ึ ชใ้ี หเห็นความรุนแรงของการขาดโพแทสเซยี ม ทส่ี งผลใหผลผลิตลดตํ่าลงอยางชัดเจนในชุด
ดินหว ยโปงท่ีจงั หวัดระยอง (วลั ลีย และคณะ, 2558ข)

การแกไ ขการขาดโพแทสเซยี ม สามารถทาํ ไดโ ดย
1) ปรบั ปรงุ สภาพดนิ ใหเหมาะสม เพอื่ ใหธ าตอุ าหารพชื ในดินละลายออกมาเปน ประโยชนต อ พชื มากขน้ึ
2) ใสปุยโพแทชตามความตองการของพืชท่ีแสดงอาการใหเห็น ดวยการใหทางดิน หรือละลายนํ้า
แลว ฉดี พนทางใบ

31

ภาพท่ี 2.3 ลกั ษณะอาการขาดโพแทสเซียมของมันสําปะหลัง

แหลงทีม่ าภาพ : วัลลยี  (2551)

แคลเซียม (Ca) เปนองคประกอบของผนังเซลล ชวยในการแบง เซลลพ ืช โดยเฉพาะในสวนยอด หรอื
ปลายรากจะพบวา มีแคลเซียมอยูในรูปของแคลเซียมเพคเทต (Calcium pectate) ชวยเสริมสรางการ
เจริญเติบโตของรากพืช แคลเซียมมีบทบาทเกีย่ วของกับการใชน ้ําและการแตกยอดของพืช

หากมันสําปะหลังขาดแคลเซียมจะแสดงอาการใบออนบิดเบี้ยว ขอบใบมวนลงขางลาง ใบขาดเปน
รวิ้ ๆ มีจดุ ดําทเ่ี สน ใบ รากสน้ั ถา เกดิ รุนแรง ตาและยอดออ นจะแหง ตาย นอกจากนโ้ี ครงสรางของลําตน ออ นแอ
ทําใหเ ซลลแตกและโรคเขาทาํ ลายไดงา ย (ภาพที่ 2.4)

การแกไ ขการขาดแคลเซียมในดิน ถาเปนดินท่ีมีคาความเปนกรด-ดาง ต่ํากวา 5.0 ควรปรับปรุงดิน
โดยการหวานหนิ ปนู ปนู ขาว หรือปูนโดโลไมตอัตรา 100 กิโลกรัมตอไร กรณีดินทรายที่ดินมี pH เปนกลาง
แตม แี คลเซียมตา่ํ ควรปรบั ปรงุ ดินโดยใชยปิ ซมั อตั รา 100 กิโลกรัมตอ ไร

ภาพที่ 2.4 ลักษณะอาการขาดแคลเซียมของมันสาํ ปะหลงั

แหลงที่มาภาพ : http://www.cropnutrition.com/crop-nutrients-calcium

แมกนีเซียม (Mg) เปน องคป ระกอบของสวนทเี่ ปน สีเขยี วของพืช หรือคลอโรฟล ลซ ่งึ ทําหนาท่ใี นการ
สงั เคราะหแ สง สงเสริมการดดู ใชแ ละนําพาฟอสฟอรสั ขนึ้ สลู าํ ตน

32

เม่อื มนั สําปะหลังขาดแมกนเี ซียม ใบลางเปลย่ี นเปน สเี หลืองแตเสน ใบยังมีสีเขียว ตอมาเปล่ียนเปนสี
นา้ํ ตาลและแหงตายในท่สี ดุ ใบจะมขี นาดเล็ก ขอบใบงอเขาหากัน กิ่งแขนงของพืชมักออนแองายตอการเขา
ทาํ ลายของโรค (ภาพท่ี 2.5)

การแกไ ขการขาดแมกนีเซยี ม โดยใสแ มกนเี ซยี มซัลเฟตหรอื ปูนโดโลไมต อัตรา 30-50 กิโลกรัมตอไร
ทางดิน

ภาพท่ี 2.5 ลกั ษณะอาการขาดแมกนีเซยี มของมนั สาํ ปะหลงั

แหลงท่มี าภาพ : วลั ลีย (2551)

กํามะถนั (S) เปน องคประกอบของโปรตีน กรดอะมิโน วิตามินบี และโคเอนไซม เอ ในพืช ชวยใน
การสังเคราะหค ลอโรฟล ลมีผลทางออมตอการแบงเซลลแ ละการเจรญิ เตบิ โตสวนยอดของพืช

เมอ่ื ขาดกํามะถนั ใบออ นจะมีสีเหลืองซดี คลา ยการขาดธาตไุ นโตรเจน แตการขาดไนโตรเจนจะแสดง
อาการทใี่ บแก ยอดพชื ชะงักการเจรญิ เติบโต ใบ ลาํ ตนมีขนาดเลก็ และลบี (ภาพที่ 2.6)

การแกไ ขการขาดกาํ มะถัน สามารถทาํ ไดโดยการหวานกํามะถนั ผงหรอื ใสยปิ ซัม อัตรา 100 กิโลกรัม
ตอ ไร หรอื ใสป ุย เคมีทม่ี กี ํามะถนั เปนองคป ระกอบ เชน แอมโมเนียมซลั เฟต (24%S)

ภาพที่ 2.6 ลกั ษณะอาการขาดกํามะถนั ของมันสาํ ปะหลงั

แหลงทีม่ าภาพ : CIAT (1985)

33

เหลก็ (Fe) เปนองคป ระกอบของเอนไซมห ลายชนิด มคี วามสาํ คญั ในการสรางคลอโรฟลล ชว ยในการ
สรางแปงในหัวมนั สาํ ปะหลัง เปน ตวั เรงปฏกิ ริ ยิ าออกซิเดชัน (oxidation) และรีดักชัน (reduction) ซึ่งชว ยใน

การหายใจและดดู ธาตุอาหารอนื่ ๆ นอกจากน้ียังชวยสังเคราะหโปรตนี ทีม่ อี ยใู นเซลลพ ืช
การขาดเหล็ก มกั พบในดินเปนดาง ใบออนจะมีสีเหลืองซีดโดยเฉพาะระหวางเสนใบ ขณะที่ใบลาง

ยงั คงมีสีเขียวอยู มันสําปะหลงั จะชะงกั การเจรญิ เตบิ โต หากเปน รุนแรงจะแหง ตายตั้งแตสวนยอดลงมาขา งลา ง

เนือ่ งจากธาตุเหล็กไมส ามารถเคลอ่ื นทีไ่ ด (ภาพที่ 2.7)
การแกไ ขการขาดเหลก็ สามารถทําไดโดยใชเหล็กคีเลต อัตรา 80 - 180 กรัมตอนํ้า 20 ลิตร ฉีดพน

ทางใบ ที่อายุ 1 2 และ 3 เดือน หลงั ปลูก

(ก) อาการขาดโดยทว่ั ไป (ข) อาการขาดรนุ แรง

ภาพที่ 2.7 ลักษณะอาการขาดเหล็กของมนั สําปะหลงั

ภาพโดย : สมฤทัย ตันเจริญ

แมงกานสี (Mn) มสี วนเกี่ยวขอ งกับระบบหายใจของพชื และเมแทบอลิซึมของเหล็กและไนโตรเจน
ชวยกระตนุ การทํางานของเอนไซมห ลายชนิด และกระบวนการสรา งแปง

เมอ่ื พชื ขาดแมงกานสี ใบออนเปล่ียนเปนสเี หลืองซดี แตเ สนใบยังมีสีเขียว หรือเปนจุดสีขาวหรือจุด

เหลืองระหวางเสน ใบ ตอ มาเปลยี่ นเปนสีนํ้าตาลและแหง ตายในทีส่ ดุ การเจรญิ เตบิ โตชา และมีพุมใบนอยกวา
ปกติ (ภาพท่ี 2.8)

การแกไ ขการขาดแมงกานสี สามารถทําไดโ ดยใชแ มงกานสี ซัลเฟต อตั รา 40-100 กรัมตอนํา้ 20 ลิตร

ฉดี พน ทางใบ 2-3 ครั้ง

ภาพท่ี 2.8 ลักษณะอาการขาดแมงกานสี ของมันสําปะหลัง

แหลงทม่ี าภาพ : CIAT (1985)

34

ทองแดง (Cu) เปนองคประกอบของเอนไซมหลายชนิดและโปรตีนในพืช ชวยสังเคราะหคลอโรฟลล
วิตามินเอ ชวยในกระบวนการหายใจของพืช นอกจากน้ียังทําหนาท่ีเปนตัวนําอิเล็คตรอน (Electron carrier)
ในเอนไซม

เมื่อพชื ขาดทองแดง ตายอดชะงกั การเจริญเตบิ โตและเปล่ียนเปนสีดํา ใบออนจะมีเหลืองซีด (ภาพท่ี
2.9)

การแกไขการขาดทองแดง สามารถทําไดโดยการหวานคอปเปอรซัลเฟต อัตรา 0.4 กิโลกรัมตอไร
แลว ไถกลบ หรอื ฉีดพนคอปเปอรซัลเฟต (CuSO4.5H2O) อัตรา 10 กรัมตอ น้าํ 20 ลติ ร

ภาพที่ 2.9 ลักษณะอาการขาดทองแดงของมนั สําปะหลัง

แหลงที่มาภาพ : CIAT (1985)

สงั กะสี (Zn) เปน องคประกอบของเอนไซมหลายชนิดในพืช ชวยสังเคราะหฮอรโมนออกซิน (Auxins)
เพอ่ื การเจรญิ เติบโตของพชื ชว ยสรา งโปรตีนและคลอโรฟล ลใ นพชื กระตนุ ใหม ีการสรา งแปง ชว ยในการยืดตวั ของ
เซลลพ ชื นอกจากนีย้ งั ชวยในการเปน ประโยชนของฟอสฟอรสั และไนโตรเจนในพชื เพิม่ มากขึ้น

เมอ่ื พชื ขาดสังกะสี ใบคอนขา งแกจ ะมีสีเหลืองซีดและขาวเปนจุดๆ โดยเสนใบยังมีสีเขียวอยู พบจุด
หรอื แถบสขี าวหรือเหลืองบนใบออน ใบอาจยน หรอื เปลี่ยนรูปรา ง อาจพบจุดแผลเซลลตายในใบลาง (ภาพที่
2.10) มักเกิดในดนิ ดางท่ีเกษตรกรใสปุย เคมีธาตอุ าหารหลักอยา งเดยี ว

การแกไขการขาดสังกะสี สามารถทําไดโดยการชุบทอนพันธุดวยปุยสังกะสีซัลเฟต (ZnSO4.7H2O)
อัตรา 0.4-0.8 กิโลกรัมตอน้ํา 20 ลิตร เปนเวลา 15 นาทีกอนปลูก หรือใชปุยสังกะสีซัลเฟต อัตรา 0.2-0.4
กโิ ลกรัมตอนา้ํ 20 ลติ ร ฉีดพน ทางใบที่อายุ 1 2 และ 3 เดือนหลังปลกู

35

ภาพที่ 2.10 ลักษณะอาการขาดสงั กะสขี องมนั สําปะหลัง

แหลง ทม่ี าภาพ : วัลลีย (2551)

โบรอน (B) เปน ธาตทุ ี่จําเปน ตอ การแบง เซลลแ ละออกดอก ชวยในการสรางแปง นํ้าตาล โปรตีน การ
คายนาํ้ และการดูดใชไนโตรเจนและแคลเซียม ปรบั สดั สว นระหวางโพแทสเซียมและแคลเซียมอยา งเหมาะสม
นอกจากนย้ี งั ชวยในกระบวนการเมแทบอลซิ มึ ของคารบ อน ไนโตรเจน ฟอสฟอรสั และฮอรโ มน

เมือ่ มันสาํ ปะหลงั ขาดโบรอน ยอดใหมจะแหงตาย ตอ มาตาขางเรมิ่ แตกยอดออ นและตาย เกิดเปนจุด
ดําหรอื นาํ้ ตาลทวั่ สว นตา งๆ ลาํ ตน สนั้ ไมยืดตัว กิ่งและใบชิดกัน ใบมีขนาดเล็ก หนา โคงและเปราะ พืชชะงัก
การเจรญิ เตบิ โต (ภาพท่ี 2.11)

การแกไ ขการขาดโบรอน สามารถทาํ ไดโดยใชบอแรกซอตั รา 1-2 กิโลกรมั ตอไร (0.16-0.32 กิโลกรัม
โบรอนตอไร) หวา นรอบตน หรอื แชทอนพันธดุ วยบอแรกซอ ตั รา 100-200 กรมั ตอ น้าํ 20 ลติ ร นาน 15 นาที

ภาพที่ 2.11 ลกั ษณะอาการขาดโบรอนของมันสาํ ปะหลัง

แหลงทมี่ าภาพ : CIAT (1985)

36

ตารางที่ 2.1 ระดบั วกิ ฤติความเขม ขน ของธาตอุ าหารพืชในสว นตา งๆ ของมันสําปะหลัง

ธาตอุ าหาร สวนตา งๆ ของพืช วธิ ีการ ความเขม ขนของธาตุอาหาร แหลง ขอ มูล

N (%) YFEL, blade Solution ไมเพียงพอ เปนพิษ Fox et al. (1975)
P (%) YFEL, blade Solution Howeler (1978)
K (%) YFEL, blade Solution 5.10 CIAT (1977)
Whole, blade Field 5.70 กอบเกียรติ และคณะ (2547)
Ca (%) Shoots Solution 4.65 Forno (1977)
Mg (%) Stems Field 4.20 4.9-5.1 กอบเกยี รติ และคณะ (2547)
YFEL, blade Field 4.20 Reuter (1986)
YFEL, blade Solution 1.00 CIAT (1978)
Shoots Solution 0.20 Jintakanon et al. (1979)
YFEL, blade Field 0.44 Reuter (1986)
YFEL, blade, Field 0.47-0.66 Reuter (1986)
580 DAP 1.00
YFEL, blade Solution 0.43
YFEL, blade Solution
YFEL, petiole Solution 1.10 Spear et al. (1978)
YFEL, petiole Solution 1.2 Howeler (1978)
Whole, blade Field 2.5 Howeler (1978)
Stem Solution 0.80 Spear et al. (1978)
Shoots & Roots Solution 1.45 กอบเกียรติ และคณะ (2547)
Stems Field 0.60 Spear et al. (1978)
Shoots Solution 0.80 Spear et al. (1978)
YFEL, blade Field 1.02 กอบเกียรติ และคณะ (2547)
Shoots Solution 0.40 Forno (1977)
YFEL, blade Solution 0.50 Reuter (1986)
0.26 Edwards และ Asher (1979)
0.29 Edwards และ Asher (1979)

37

ตารางที่ 2.1 (ตอ) ระดบั วกิ ฤติความเขมขน ของธาตอุ าหารพชื ในสว นตา งๆ ของมันสําปะหลงั

ธาตุอาหาร สวนตา งๆ ของพืช วิธีการ ความเขม ขนของธาตุ แหลงขอมลู

ไมเพียงพอ เปนพษิ

S (%) YFEL, blade Field 0.32 Howeler (1978)

YFEL, blade Solution 0.30 Reuter (1986)

Cu (mg/kg) YFEL, blade Field <7 CIAT (1977)

YFEL, blade, Solution < 6 > 15 Reuter (1986)

63 DAP

Zn (mg/kg) YFEL, blade Solution < 60 CIAT (1977)

YFEL, blade Solution 37-51 CIAT (1978)

YFEL, balde Solution 43-60 Edwards & Asher (1979)

YFEL, blade, Solutaion < 30 > 120 Reuter (1986)

63 DAP

B (mg/kg) Shoots Solution < 17 > 140 Forno (1977)

Whole Shoots Solution 5-13 > 140 Reuter (1986)

40 DAP

YFEL, blade Field < 15 > 140 Reuter (1986)

Mn (mg/kg) Shoots Solution 100-120 250-1450 Edwards & Asher (1979)

Whole Shoots, Solution 67-81 230-520 Reuter (1986)

30 DAP

Fe (mg/kg) YFEL, blade Field < 50 > 250 Reuter (1986)

YFEL, blade Solution < 60 Reuter (1986)

Al (mg/kg) Shoots Solution 70-97 Gunatilaka (1977)

หมายเหตุ YFEL (Youngest Fully Expanded Leaves) : ใบออนทแ่ี ผก างเตม็ ท่ี ตาํ แหนง ท่ี 4-5 จากยอด

DAP (Days After Planting) : จาํ นวนวันหลงั จากปลกู

38

ระยะการเจริญเตบิ โตของมันสําปะหลงั และการดูดใชธาตอุ าหารพชื
มันสําปะหลังมกี ารดูดใชไนโตรเจน และโพแทสเซียม ในสัดสวนท่ีมากกวาฟอสฟอรัส โดยระยะ 2-3

เดือนหลังปลูกมันสําปะหลังมีการดูดใชธาตุอาหารในปริมาณคอนขางนอย และมีการดูดใชเพิ่มข้ึนเม่ือมัน
สําปะหลังอายุ 6-8 เดือน ถึงแมวามันสําปะหลังมีการดูดใชธาตุอาหารในอัตราสูงที่อายุ 6-8 เดือน แตการ
แนะนาํ การใสปุยแกมนั สาํ ปะหลงั จะแนะนําใหใสท อ่ี ายุ 1-3 เดอื น ทงั้ นี้เน่ืองจากมันสําปะหลงั เริม่ มกี ารสรา งหวั
เพ่ือสะสมแปงตั้งแตอายุ 3 เดือน ดังนั้นจึงแนะนําใหหลีกเลี่ยงการใสปุยหลังจากชวงอายุดังกลาว เพื่อมิให
เครื่องมือหรือเคร่อื งจักรกลที่ใชใ นการใสปยุ ไปกระทบตอ รากหรอื หัว ซึ่งจะมีผลตอ การสรา งผลผลติ ได

มันสําปะหลังมีการดดู ใช และสะสมธาตอุ าหารในสวนของ ใบ ตน เหงา และหัวมันสําปะหลัง โดยใน
สว นของใบ ตน เหงา และหัวมันสําปะหลังมีไนโตรเจนสะสมเฉลีย่ 1.75 0.87 0.54 และ 0.91 กิโลกรัมตอ
ตันผลผลติ ตามลําดับ มีฟอสฟอรสั สะสมเฉลีย่ 0.20 0.26 0.17 และ 0.64 กิโลกรัมตอตันผลผลิต ตามลาํ ดับ
และมีโพแทสเซยี มสะสมเฉลย่ี 0.55 0.89 0.54 และ 2.89 กโิ ลกรมั ตอตนั ผลผลิต ตามลําดับ (ตารางที่ 2.2)

ธาตุอาหารในพ้ืนท่ีปลูกมันสําปะหลังสามารถสูญหายโดยการชะลางหรือชะละลายไปกับนํ้า
โดยเฉพาะในดนิ ทราย ดินรวนปนทราย ดังนนั้ จงึ แนะนาํ ใหใสปุยอินทรียรวมกับปุยเคมี เพ่ือลดการสูญหายของ
ธาตุอาหารโดยเฉพาะอยางยิง่ ไนโตรเจน และโพแทสเซยี ม นอกจากน้ธี าตุอาหารยังสญู หายโดยตดิ ไปกับผลผลิต
มันสําปะหลัง ไดแก สวนของหัว และ ตนมันสําปะหลัง ซ่ึงธาตุอาหารในหัวมันสําปะหลังประกอบดวย
ไนโตรเจน ฟอสฟอรสั และโพแทสเซียม 0.91 0.64 และ 2.89 กโิ ลกรัมตอ ตันผลผลิต และในตนมีธาตุอาหาร
ไนโตรเจน ฟอสฟอรสั และโพแทสเซียม 0.91 0.64 และ 2.89 กิโลกรมั ตอตันผลผลติ (ตารางท่ี 2.2) ดังนั้นถา
มันสําปะหลังใหผลผลิต 3.6 ตนั ตอไร จะมีธาตุอาหารไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม สูญหายไปกับ
หัวมันสาํ ปะหลงั เทากับ 3.27 2.30 และ 10.40 กโิ ลกรัมตอ ไร และสูญหายไปกบั ตนมันสําปะหลัง เทากบั 3.15
0.94 และ 3.21 กิโลกรัมตอไร ดังนนั้ หากนําทงั้ หวั และตนมันสําปะหลังออกไปจากพนื้ ท่ีท้ังหมดจะมีไนโตรเจน
ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมสูญหายออกไปจากพ้ืนทปี่ ลกู รวมทง้ั หมด 6.41 3.24 และ 13.61 กิโลกรัมตอไร
หรือเทียบเทา ปุยยเู รยี (46-0-0) 13.9 กิโลกรมั ตอไร ปุยทรปิ เปลซูเปอรฟ อสเฟต (0-46-0) 7.0 กิโลกรัมตอไร
และปุยโพแทสเซียมคลอไรด (0-0-60) 22.7 กโิ ลกรมั ตอไร จงึ จําเปน อยา งย่งิ ทตี่ องปรบั ปรงุ บาํ รงุ ดนิ และใสปุย
ชดเชยกับปรมิ าณธาตุอาหารทสี่ ูญหายออกไป เพือ่ รักษาศักยภาพดินในการผลติ อยา งยัง่ ยนื ตอไป

ภาพที่ 2.12 ระยะการเจรญิ เตบิ โตของมันสาํ ปะหลงั และการดดู ใชธาตุอาหารพืช

39

ตารางที่ 2.2 ปรมิ าณการดดู ใชธ าตอุ าหารในสว นตา งๆ ของมนั สําปะหลงั ตอ ตันผลผลติ

ชดุ ดนิ พนั ธุ ผลผลติ สวนของ ปริมาณธาตุอาหารในสวนของพชื แหลงขอ มลู
(เนือ้ ดนิ ) (กก./ไร) มนั สําปะหลัง (กก./ตนั ผลผลติ )
สมฤทัย และ
ตาคลี ระยอง 5 3,058 ใบ NPK คณะ
(ดินเหนียว) ตน (2555)
เหงา 2.12 0.37 0.73
ระยอง 11 หวั 0.63 0.37 0.73 สมฤทยั และ
0.36 0.20 0.80 คณะ
โชคชัย หวยบง 60 3,832 ใบ (2557)
(ดนิ เหนยี ว) ตน - 0.69 2.98
เหงา สมฤทัย และ
ระยอง 11 หัว 1.77 0.37 0.64 คณะ
0.59 0.44 0.70 (2558ค)
ปากชอง ระยอง 86-13 3,623 ใบ 0.31 0.20 0.81
(ดนิ เหนียว) ตน สมควร และ
เหงา - 0.64 2.68 คณะ
เกษตรศาสตร 50 หวั (2558ก)
3.64 0.36 0.76
วังไฮ ระยอง 86-13 3,175 ใบ 1.06 0.26 0.52
(ดินเหนยี ว) ตน 0.63 0.13 0.33
เหงา 1.73 0.61 2.35
เกษตรศาสตร 50 หวั
3.52 0.38 1.05
7,053 ใบ 0.89 0.21 0.54
ตน 0.70 0.16 0.45
เหงา 1.61 0.66 2.43
หัว
0.87 0.08 0.40
5,532 ใบ 0.43 0.11 0.66
ตน 0.18 0.05 0.23
เหงา 0.49 0.23 1.30
หวั
1.15 0.12 0.53
3,631 ใบ 0.59 0.16 0.83
ตน 0.22 0.06 0.25
เหงา 0.65 0.29 1.64
หัว
1.63 0.18 0.47
3,907 ใบ 0.93 0.32 0.86
ตน 0.55 0.19 0.44
เหงา 1.21 0.77 2.69
หัว
1.21 0.14 0.41
1.37 0.58 1.56
0.69 0.25 0.63
1.45 0.89 3.21

40

ตารางท่ี 2.2 (ตอ) ปริมาณการดดู ใชธ าตุอาหารในสว นตางๆ ของมนั สาํ ปะหลังตอ ตนั ผลผลติ

ชุดดิน พนั ธุ ผลผลิต สว นของ ปรมิ าณธาตุอาหารในสวนของพชื แหลงขอมลู
(เน้ือดิน) (กก./ไร) มนั สําปะหลัง (กก./ตันผลผลิต) สมควร และ
คณะ
ลาดหญา ระยอง 11 4,221 ใบ NPK (2555)
(ดนิ ทราย) ตน
เหงา 2.10 0.19 0.50 สมควร และ
CMR42-44-98 หัว 3.20 0.48 2.65 คณะ
0.91 0.19 0.93 (2557)
ลาดหญา ระยอง 11 4,120 ใบ
(ดนิ ทราย) ตน - 0.42 3.50 วลั ลยี  และคณะ
เหงา (2555ข)
ระยอง 5 หัว 1.64 0.15 0.28
2.42 0.43 1.75 วลั ลีย และคณะ
สตั หีบ ระยอง 9 7,844 ใบ 0.80 0.16 0.53 (2558จ)
(ดินทราย) ตน
เหงา - 0.47 3.90
ระยอง 11 หวั
0.30 0.03 0.09
ระยอง 86-13 4,639 ใบ 1.20 0.22 1.43
ตน 0.42 0.08 0.40
พงั งา เกษตรศาสตร 50 เหงา
(ดนิ ทราย) หัว - 0.34 2.52

ระยอง 86-13 7,554 ใบ 0.26 0.02 0.08
ตน 1.74 0.30 2.29
เหงา 0.64 0.12 0.58
หัว
- 0.63 5.01
7,537 ใบ
ตน 1.24 0.17 0.36
เหงา 0.50 0.19 0.32
หัว 0.47 0.20 0.28
0.60 0.76 2.18
7,396 ใบ
ตน 0.89 0.17 0.22
เหงา 0.39 0.18 0.20
หัว 0.30 0.17 0.45
1.22 0.96 3.15
7,281 ใบ
ตน 1.00 0.19 0.35
เหงา 0.27 0.17 0.29
หวั 0.46 0.20 0.37

6,970 ใบ - 0.81 2.62
ตน
เหงา 0.79 0.09 0.18
หัว 0.75 0.30 0.42
0.60 0.14 0.24
1.73 0.80 2.27

1.23 0.09 0.29
0.53 0.12 0.25
0.67 0.15 0.27
1.61 0.68 2.31

41

ตารางท่ี 2.2 (ตอ ) ปริมาณการดดู ใชธ าตุอาหารในสว นตา งๆ ของมนั สาํ ปะหลังตอตนั ผลผลติ

ชดุ ดนิ พันธุ ผลผลติ สวนของ ปริมาณธาตุอาหารในสวนของพืช แหลง ขอ มูล
(เนอ้ื ดนิ ) (กก./ไร) มันสาํ ปะหลัง (กก./ตันผลผลติ ) วลั ลยี  และคณะ
(2558ข)
หว ยโปง ระยอง 9 7,877 ใบ NPK
(ดินรวน) 8,125 ตน วลั ลยี  และคณะ
7,679 เหงา 1.52 0.24 0.34 (2555ก)
ระยอง 11 5,206 หัว 0.74 0.21 0.57
3,953 0.53 0.19 0.68 วลั ลยี  และคณะ
CMR46-47-137 3,450 ใบ 0.57 0.86 2.82 (2558ก)
6,425 ตน
ชลบุรี ระยอง 9 6,585 เหงา 1.19 0.22 0.26
(ดินรวน) หัว 0.54 0.19 0.31
0.47 0.17 0.66
ระยอง 11 ใบ 0.81 0.97 3.22
ตน
ระยอง86-13 เหงา 0.96 0.15 0.22
หัว 0.73 0.26 0.28
มาบบอน เกษตรศาสตร 50 0.55 0.28 0.59
(ดินรว น) ใบ 0.13 1.11 3.03
ตน
ระยอง 86-13 เหงา 4.13 0.44 1.10
หวั 0.89 0.31 1.15
0.87 0.28 0.82
ใบ 0.04 0.66 2.41
ตน
เหงา 3.21 0.39 1.06
หวั 0.94 0.37 1.55
0.81 0.28 1.20
ใบ 0.07 0.77 3.57
ตน
เหงา 3.86 0.44 1.27
หวั 0.57 0.34 1.19
0.79 0.25 0.92
ใบ 0.07 0.60 2.72
ตน
เหงา 1.59 0.12 0.78
หัว 0.25 0.07 0.51
0.29 0.08 0.43
ใบ 0.51 0.26 1.99
ตน
เหงา 2.80 0.19 1.14
หัว 0.30 0.08 0.58
0.36 0.09 0.55
0.66 0.24 2.03

42

ตารางที่ 2.2 (ตอ) ปริมาณการดดู ใชธาตอุ าหารในสว นตา งๆ ของมันสําปะหลงั ตอตนั ผลผลติ

ชดุ ดิน พันธุ ผลผลติ สวนของ ปรมิ าณธาตุอาหารในสวนของพืช แหลงขอ มูล
(เนอื้ ดนิ ) (กก./ไร) มนั สําปะหลัง (กก./ตันผลผลิต) วัลลีย และคณะ
(2558ง)
หนองบอน เกษตรศาสตร 50 7,368 ใบ NPK
(ดินรวน) ตน วลั ลยี  และคณะ
เหงา 1.41 0.12 0.68 (2558ง)
ระยอง 86-13 หวั 0.72 0.25 1.29
0.38 0.11 0.50
บานบงึ เกษตรศาสตร 50 7,822 ใบ 0.88 0.66 4.34
(ดนิ ทราย) ตน
เหงา 1.76 0.16 0.91
ระยอง 86-13 หัว 0.52 0.23 0.90
0.38 0.11 0.47
เฉลี่ย 5,809 ใบ 0.95 0.63 4.23
ตน
เหงา 1.64 0.13 0.61
หวั 1.05 0.28 1.03
0.60 0.17 0.57
5,874 ใบ 1.72 0.69 3.76
ตน
เหงา 1.29 0.10 0.30
หัว 0.63 0.12 0.50
0.76 0.13 0.33
5,777 ใบ 1.29 0.45 2.89
ตน
เหงา 1.75 0.20 0.55
หวั 0.87 0.26 0.89
0.54 0.17 0.54
0.91 0.64 2.89

4. การจดั การดนิ

การเตรยี มดนิ
การเตรยี มดินสําหรบั ปลกู มันสําปะหลัง ควรไถพรวนใหลึก 20-30 เซนติเมตร โดยไถกลบเศษซากที่
เหลือจากการเกบ็ เกย่ี ว ไมควรเผาหรือนาํ ออกจากพ้นื ท่ีปลกู เพราะทาํ ใหธ าตุอาหารสูญเสยี ไปเปนจํานวนมาก

(กรมวชิ าการเกษตร, 2547) การเตรยี มดินควรไถ 2 คร้ัง ดวยผาลสามและผาลเจ็ด และยกรองปลูก ในพ้ืนที่
ลาดเอยี ง ควรไถขวางทิศทางของความลาดเอยี ง เพอ่ื ลดการสูญเสียหนาดิน และพ้ืนท่ีลุมที่เส่ียงตอการขังนํ้า
ควรทํารองระบายน้าํ

ในพื้นท่ีที่มีการปลูกมันสําปะหลังติดตอกันหลายป หากมีการจัดการดินท่ีไมเหมาะสม เชน การไถ
ขณะท่ดี นิ มีความช้ืนสงู เกินไป หรอื การไถพรวนทร่ี ะดบั ความลึกเทา เดิมติดตอกันทุกป และใชเคร่ืองยนตหรือ
รถขนาดใหญล งไปในพ้ืนที่ ดินลางที่ความลึกประมาณ 30-50 เซนติเมตรถูกบดอัดจนแนนทึบ ทําใหเกิดช้ัน

ดานใตชนั้ ไถพรวน ซง่ึ พิจารณาไดจ ากคาความหนาแนนรวมของดนิ ถาดินทราย มีคาความหนาแนน รวมมากกวา
1.76 กรมั ตอ ลูกบาศกเซนติเมตร ดนิ รวน มีคาความหนาแนนรวมมากกวา 1.66 กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร
ดินเหนียว มีคาความหนาแนนรวมมากกวา 1.46 กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร ซึ่งมีผลตอการลงหัวของมัน

สาํ ปะหลัง ดังนน้ั จงึ ตองมกี ารไถระเบิดดินดาน โดยไถเมอ่ื ดินแหง ไถ 2 แนวตัดกันเปนตารางหมากรุก การไถ

43

ระเบิดดินดานเปนวิธีหน่ึงที่ไดผลดีในการทําลายช้ันดานใตผิวดิน ทําใหดินสามารถกักเก็บน้ําไดมากขึ้น
หลังจากน้ันก็ทาํ การไถพรวนตามปกติ การไถระเบดิ ดนิ ดาน ควรทําทุก 3-5 ป

แนวทางการปรบั ปรงุ ดนิ เพอ่ื การผลติ มันสาํ ปะหลังอยา งยั่งยืน สามารถทําไดด ังนี้คอื
1) รกั ษาระดบั ความอุดมสมบรู ณข องดนิ โดยการใสป ยุ เคมีตามคาวิเคราะหดนิ
2) เพมิ่ อินทรยี วตั ถใุ นดิน โดยการไถกลบเศษซากพืช ปลูกพชื หมุนเวยี น และปยุ อนิ ทรียปรับปรงุ ดนิ
3) อนุรักษดนิ ไวไ มใหเกดิ การชะลางพงั ทลาย โดยการยกรองปลูกขวางแนวลาดเอียง ใชระยะปลูก
และเลือกเวลาปลกู ใหเ หมาะสม

5. คําแนะนําการใชปุยสาํ หรบั มนั สาํ ปะหลัง
ระดับคาวิกฤติของธาตุอาหารในดินปลูกมันสําปะหลัง (ตารางท่ี 2.3) โดยระดับของคาวิกฤติอาจ

แตกตางกนั ไปตามวธิ วี ิเคราะห จึงไดม กี ารทํามาตรฐานคาวิเคราะหกลางเปนการเปรียบเทียบ เพ่ือใหสามารถ
ใชป ระโยชนจากคา วเิ คราะหไดก วา งขวางและเปนสากลมากยิง่ ขน้ึ

ป พ.ศ. 2532-2537 กองปฐพีวิทยา ไดทําแปลงทดสอบปุย ณ ไรเกษตรกรในพ้ืนท่ีปลูก
มันสําปะหลงั 10 จังหวัดของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จํานวน 72 แปลง โดยใชวิธีของ Cate and Nelson
(1971) (2-Mean Discontinuous Model) วิเคราะหหาความสัมพันธระหวางคาวิเคราะหดิน (ปริมาณ
อินทรียวัตถุ ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนโดยวิธี Bray II และปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนไดโดยวิธี
แอมโมเนียมอะซิเตท) ไดคา R2 (Coefficient of determination) สูงสุดเพื่อใชเปนจุดแบงแยกขอมูลท่ี
เหมาะสมหรือตอบสนองตอปุยในเชิงสถิติ จึงไดสามารถกําหนดคาวิกฤติของ N (%OM), P (P2O5) K (K2O)
จากคาวิเคราะหดังกลาวไดดังนี้ ปริมาณอินทรียวัตถุต่ํากวา 0.80 เปอรเซ็นต ฟอสฟอรัสท่ีเปนประโยชน
(Bray II) และปริมาณโพแทสเซียมท่ีแลกเปล่ียนได (NH4OAc) ต่ํากวา 7 และ 30 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม
ตามลําดบั

ประโยชนจากการใชคาวิกฤติ คือ 1) เปนขอมูลการตัดสินใจของเกษตรกรวา จะใสปุยเคมี N P K
หรือไม เพราะมันสําปะหลงั จะมีการตอบสนองตอการใชป ุย ไดด ีและเดนชัด เมอื่ มคี า วเิ คราะหดินกอนปลูกต่ํา
กวา คาวิกฤติ หากดินมีคาวิเคราะหสูงกวานี้ การตอบสนองตอการใชปุยจะมีนอยมากหรือไมตอบสนองเลย
2) นาํ คา ตน ทนุ ราคาผลผลิตและผลตอบแทนตา งๆ มาประเมินเพอ่ื หาจดุ คมุ ทุนในเชงิ เศรษฐกิจ ณ เวลา หรือ
ราคาคาดคะเนนั้นๆ และ 3) กําหนดสูตรปุย อัตราแนะนําใหเหมาะสมตอสภาพพ้ืนที่ เชน ชนิดดิน สภาพ
ภูมอิ ากาศ เปน ตน ใหแกเกษตรกรตอ ไป

5.1 การใชปยุ ตามคา วเิ คราะหดนิ
ในป พ.ศ. 2554-2558 กรมวิชาการเกษตร ไดดําเนินโครงการวิจัยและพัฒนาวิธีการเขตกรรม
มันสําปะหลงั ซึ่งไดท ําการทดลองการตอบสนองตอการใชปุยสําหรับมันสําปะหลัง พันธุระยอง 5 ระยอง 9
ระยอง 11 ระยอง 86-13 CMR42-44-98 CMR46-47-137 เกษตรศาสตร 50 และหวยบง 60 ในดิน 4 กลุม
ประกอบดว ย
1. กลุม ดนิ ทราย 10 ชุดดิน ไดแ ก ชุดดินนาํ้ พอง ชดุ ดนิ สัตหบี ชุดดนิ อุบล ชดุ ดนิ พงั งา ชุดดินวาริน ชุดดิน
จอมพระ ชดุ ดนิ จกั ราช ชุดดนิ ขอนแกน ชดุ ดินยางตลาด และชดุ ดนิ ลาดหญา
2. กลุมดนิ รวน 7 ชดุ ดิน ไดแ ก ชดุ ดินสตกึ ชดุ ดินบานบึง ชุดดินชมุ พวง ชดุ ดินหนองบอน ชุดดินหวยโปง ชุด
ดนิ ชลบรุ ี และชดุ ดินมาบบอน

44

3. กลมุ ดินตื้น 5 ชุดดนิ ไดแ ก ชุดดินคลองซาก ชุดดนิ กบนิ ทรบุรี ชุดดินโพนพิสัย ชุดดินวังสะพุง และ
ชุดดนิ มวกเหล็ก

4. กลุมดินเหนียว 5 ชุดดิน ไดแก ชุดดินตาคลี ชุดดินปากชอง ชุดดินโชคชัย ชุดดินวังไฮ และชุดดิน
ราชบุรี

ทดลองในแหลงปลกู มนั สําปะหลังทส่ี ําคญั ไดแก จงั หวดั ขอนแกน นครราชสมี า อบุ ลราชธานี กาฬสนิ ธุ

เลย นครสวรรค ระยอง ชลบรุ ี ปราจีนบรุ ี กาญจนบรุ ี และราชบุรี
จากผลการศึกษาสามารถพัฒนาเปนคาํ แนะนาํ การใชปุยของมันสําปะหลังที่มีความแมนยํามากย่ิงขึ้น

(ตารางที่ 2.4 - 2.6)

ตารางท่ี 2.3 ระดับวกิ ฤตขิ องคา วิเคราะหด นิ สาํ หรบั มันสําปะหลงั

คา วเิ คราะห ระดบั วกิ ฤติ วธิ ีวเิ คราะห*/ แหลง ขอมลู

คาความเปน กรด-ดา ง (pH) < 4.6 และ > 7.8 1:1 = ดิน:นาํ้ CIAT (1977, 1979)
CIAT (1977)
คา การนาํ ไฟฟา (ECe; เดซิซีเมน/เมตร) > 0.5-0.7 Saturation extract สุทิน (2543)
ปริมาณอนิ ทรียวตั ถุ (%) < 0.65 Walkley & Black โชติ (2539)
โชติ (2539)
ฟอสฟอรัสทเ่ี ปน ประโยชน (มก./กก.) < 7 Bray II-FAO โปรแกรม CIAT (1979)
Howeler (1978)
โพแทสเซยี มทแ่ี ลกเปลย่ี นได (มก./กก.) 30 NH4-acetate, FAO Howeler (1978)
แคลเซยี มทีแ่ ลกเปลีย่ นได (มก./กก.) 50 NH4-acetate Ngoni (1976)
Howeler (1978)
สงั กะสที เี่ ปน ประโยชน (มก./กก.) < 1.0 North Carolina extract CIAT (1977)
CIAT (1979)
แมงกานสี ทเ่ี ปน ประโยชน (มก./กก.) < 5-9 North Carolina extract

กาํ มะถันทีเ่ ปน ประโยชน (มก./กก.) 8 -

อะลูมินัมท่แี ลกเปลีย่ นได (เซนติโมล/กก.) > 2.5 1 N KCl

รอยละความอิ่มตัวของโซเดยี ม > 2.5 NH4-acetate
รอยละความอมิ่ ตัวของอะลูมินัม > 80 Al/(Al+Ca+Mg+K)
*/ Bray II = 0.1 N HCl + 0.03 N NH4F
NH4-acetate = 1 N NH4OAc, pH 7
North Carolina = 0.05 N HCl + 0.025 N H2SO4

45


Click to View FlipBook Version