The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนฟิสิกส์2562-เทอม1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chatreewr chatreewr, 2019-11-14 08:01:49

แผนฟิสิกส์2562-เทอม1

แผนฟิสิกส์2562-เทอม1

วิชาฟิสกิ ส์ 1 รหัสวิชา ว30201
ปที ่ี 4 4

ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2562

นายชาตรี ศรมี ว่ งวงค์
ปที ี่ 4

คำนำ

แผนจัดการเรียนรู้ เป็นสิ่งจาเป็นอย่างยิ่งต่อการพัฒนาประสิทธิภาพการเรียนการสอนเพราะเป็น
เอกสารหลักสูตร ที่ใช้ในการบริหารงานของครูผู้สอนให้ตรงตามนโยบายในการปฏิรูปการศึกษา กาหนดไว้ใน
แผนหลักคุณภาพการศึกษา สนองจุดประสงค์และคาอธิบายรายวิชาของหลักสูตร ในการบริหารงานวิชาการ
ถือว่า “แผนจดั การเรียนรู้” เป็นเอกสารทางวิชาการทสี่ าคญั ท่ีสดุ ของครู

ข้าพเจา้ จัดทาแผนการเรยี นรู้ รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 รหสั วิชา ว30201 สาหรบั นักเรยี นชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4
ปรับปรุงตามหลกั สูตรการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พ.ศ.2551 ปรับปรงุ พ.ศ.2560 โดยมีเนื้อหาในแผนการจัดการเรยี นรู้
ดงั นี้

สว่ นที่ 1 ข้อมูลทัว่ ไปของโรงเรยี น
ส่วนท่ี 2 การวเิ คราะห์หลักสูตร
ส่วนท่ี 3 แผนการจดั การเรียนรู้ และภาคผนวก
ส่วนที่ 4 สรุปผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนในรายวิชาท่สี อน
การจดั ทาแผนจดั การเรียนรู้ ถอื ว่าเปน็ การสร้างผลงานทางวชิ าการ เป็นผลงานท่ีแสดงถึงความชานาญ
ในการสอนของครู เพราะครูใชศ้ าสตร์ทุกสาขาอาชีพของครู เชน่ การออกแบบ การสอน การจัดการ และการ
ประเมินผล ในการจดั ทาแผนจดั การเรยี นรู้นัน้ จะทาใหเ้ กิดความมน่ั ใจในการสอน สอนไดต้ รงจุดประสงค์การ
เรียนรู้ เพม่ิ ประสิทธิภาพการเรยี นการสอนในรายวิชาที่ รบั ผิดชอบสงู ข้นึ ท้ังยงั เปน็ ข้อมลู ในการนิเทศตดิ ตาม
ตรวจสอบและปรบั ปรุงการเรียนการสอนได้อยา่ งมรี ะบบและ ครบวงจร ยังผลให้คุณภาพการศกึ ษาโดย
สว่ นรวมพฒั นาพัฒนาไปอยา่ งมที ิศทางบรรลเุ ปา้ หมายของหลกั สูตร

นายชาตรี ศรีมว่ งวงค์

สารบญั หนา้

ส่วนท่ี 1 ข้อมูลทว่ั ไปของโรงเรยี น 1-2
1.1 ปรัชญา วสิ ัยทศั น์ พันธกจิ เป้าประสงค์ 1-3
1.2 คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ 1-3
1.3 สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น
2-1
ส่วนที่ 2 การวิเคราะหห์ ลกั สตู ร 2-2
2.1 มาตรฐาน ตวั ช้ีวดั และสาระแกนกลาง 2-3
2.2 แบบบันทึกการวเิ คราะห์มาตรฐานและตัวชี้วดั 2-4
2.3 คาอธิบายรายวชิ า 2-5
2.4 โครงสรา้ งรายวชิ า/โครงสรา้ งหน่วยการเรยี นรู้ 2-6
2.5 แบบบันทึกการวิเคราะห์กจิ กรรมการจดั การเรยี นรูต้ ามตัวชว้ี ดั 2-7
2.6 การวิเคราะห์ผเู้ รียน 2-8
2.7 แผนการวัดผลและประเมินผลประจารายวชิ า 2-9
2.8 แบบบันทกึ การวิเคราะห์ความสอดคล้องฯ
2.9 แผนการบูรณาการหลกั สูตรทอ้ งถิน่ อาเซียน ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง

สารบญั หนา้

ส่วนท่ี 3 แผนการจดั การเรียนรู้และเอกสารประกอบแผนการจดั การเรยี นรู้ 3-0-1
การออกแบบหน่วยการเรยี นรู้ 3-0-6
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ธรรมชาตแิ ละพฒั นาการทางฟิสิกส์ 3-0-10
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรอ่ื ง การเคลือ่ นทีแ่ นวตรง
การออกแบบหน่วยการเรยี นรู้ท่ี 3 เร่อื ง แรงและกฏการเคล่ือนท่ี 3-1-1
แผนการจดั การเรียนรู้ 3-2-1
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 1 ความร้พู นื้ ฐานเกี่ยวกับฟิสิกส์ 3-3-1
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 2 การวิเคราะหผ์ ลการทดลอง 3-4-1
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 3 ปริมาณเวกเตอร์และปริมาณสเกลาร์ 3-5-1
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 4 การเคล่ือนท่ีดว้ ยความเร็วคงที่ 3-6-1
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 5 การเคลือ่ นที่ดว้ ยความเร่ง 3-7-1
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 6 การเคล่ือนทีแ่ นวด่งิ 3-8-1
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 7 กฎการเคลอ่ื นทขี่ องนิวตัน 3-9-1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 การประยุกตใ์ ช้กฎการเคลื่อนทข่ี องนิวตัน 4-1
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 9 กฎแรงดึงดดู ระหว่างมวล
5-1
สว่ นท่ี 4 งานวจิ ยั เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน

สว่ นที่ 5 ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นของนักเรียน

1-1

ส่วนท่ี 1 ข้อมลู ทวั่ ไปของโรงเรยี น
1.1 ปรชั ญา วสิ ยั ทศั น์ พนั ธกิจ เปา้ ประสงค์ กลยทุ ธ์
1.2 คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์
1.3 สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น

1-2

ระบบเรียนรู้ เลขทเ่ี อกสาร : วร ……../.....
มฐ. ………… บช………..
แผนการจัดการเรยี นรู้

1.1 ปรัชญา วสิ ัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์

ปรัชญา
สจั จงั เว อมตา วาจา “วาจาจริงเป็นสิ่งไมต่ าย”

วิสยั ทศั น์
พัฒนาคณุ ภาพผ้เู รยี น โดยการจัดการเรยี นรู้
การบรหิ ารจดั การด้วยระบบคณุ ภาพและความร่วมมือของภาคเี ครอื ขา่ ย

พนั ธกจิ
1. สง่ เสรมิ และพัฒนาผูเ้ รยี นใหม้ ีคณุ ภาพตามเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียนมาตรฐานสากล
2. ส่งเสรมิ และพัฒนาครใู ห้เป็นไปตามมาตรฐานวิชาชพี ครสู มู่ าตรฐานสากล
3. พัฒนาการบรหิ ารจดั การด้วยระบบคุณภาพเพอ่ื ความเปน็ เลศิ โดยเนน้ หลกั การกระจายอานาจส่กู ารเปน็
โรงเรยี นมาตรฐานสากล
4. ส่งเสรมิ ใหช้ มุ ชนมสี ่วนร่วมในการจัดการศึกษา

เป้าประสงค์
1. นกั เรยี นไดเ้ รยี นรู้อยา่ งมคี ณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของ สพฐ. และเกณฑโ์ รงเรยี น มาตรฐานสากล
2. ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาไดร้ ับการพัฒนาตามมาตรฐานวชิ าชพี ครูสูม่ าตรฐานสากล
3. โรงเรียนบริหารจดั การด้วยระบบคุณภาพ
4. สถานศกึ ษาเปน็ ทย่ี อมรบั ของชุมชน

กลยทุ ธ์
1. พฒั นาผู้เรยี นใหม้ คี ุณภาพตามเกณฑม์ าตรฐานโรงเรยี นมาตรฐานสากล
2. พฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางศึกษา
3. การบริหารจดั การด้วยระบบคณุ ภาพ
4. การส่งเสริมการมสี ว่ นรว่ มของภาคเี ครือข่าย

1-3

1.2 คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์
2. ซือ่ สัตยส์ จุ ริต
3. มวี ินัย
4. ใฝ่เรียนรู้
5. อยู่อยา่ งพอเพยี ง
6. มงุ่ มัน่ ในการทางาน
7. รักความเป็นไทย
8. มจี ติ สาธารณะ

1.3 สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน
1. ความสามารถในการสอ่ื สาร
2. ความสามารถในการคดิ
3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา
4. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ
5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

มีรายละเอียด ดงั นี้
1. ความสามารถในการสอ่ื สาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษาถา่ ยทอด
ความคดิ ความรูค้ วามเขา้ ใจ ความรสู้ กึ และทัศนะของตนเองเพอ่ื แลกเปลยี่ นขอ้ มูลขา่ วสารและประสบการณอ์ นั จะเป็น
ประโยชน์ตอ่ การพัฒนาตนเองและสังคม รวมทงั้ การเจรจาต่อรองเพ่อื ขจัดและลดปญั หาความขดั แยง้ ต่าง ๆ การเลือกรบั
หรอื ไมร่ บั ขอ้ มลู ขา่ วสารด้วยหลกั เหตผุ ลและความถกู ตอ้ ง ตลอดจนการเลอื กใช้วิธีการสอ่ื สาร ทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพโดย
คานึงถึงผลกระทบทีม่ ตี อ่ ตนเองและสังคม

2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคดิ

อย่างสร้างสรรค์ การคิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณ และการคิดเปน็ ระบบ เพ่ือนาไปสกู่ ารสร้างองค์ความร้หู รือสารสนเทศเพอ่ื

การตัดสินใจเกี่ยวกบั ตนเองและสงั คมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแกป้ ญั หาและอุปสรรคตา่ ง ๆ ทเี่ ผชญิ

ไดอ้ ย่างถูกต้องเหมาะสมบนพืน้ ฐานของหลกั เหตผุ ล คณุ ธรรมและขอ้ มลู สารสนเทศ เข้าใจความสัมพนั ธ์และการ

เปลี่ยนแปลงของเหตกุ ารณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยกุ ตค์ วามรู้มาใช้ในการปอ้ งกันและแกไ้ ขปญั หา และมี

การตัดสินใจที่มปี ระสทิ ธภิ าพโดยคานงึ ถึงผลกระทบทีเ่ กดิ ข้นึ ต่อตนเอง สังคมและสงิ่ แวดล้อม

1-4

4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ เปน็ ความสามารถในการนากระบวนการตา่ ง ๆ ไปใชใ้ น
การดาเนินชีวติ ประจาวัน การเรยี นรดู้ ้วยตนเอง การเรยี นรูอ้ ย่างตอ่ เนอ่ื ง การทางาน และการอยรู่ ่วมกนั
ในสงั คมด้วยการสรา้ งเสรมิ ความสมั พันธ์อนั ดีระหวา่ งบคุ คล การจัดการปญั หาและความขดั แย้งตา่ งๆ อย่างเหมาะสม การ
ปรับตวั ใหท้ นั กบั การเปลยี่ นแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จกั หลกี เลี่ยงพฤตกิ รรมไม่พงึ ประสงค์ทสี่ ่งผล
กระทบตอ่ ตนเองและผู้อื่น

5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยดี ้านต่าง ๆ
และมที กั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพอ่ื การพฒั นาตนเองและสงั คม ในดา้ นการเรียนรู้ การส่ือสาร
การทางาน การแก้ปญั หาอยา่ งสร้างสรรค์ ถกู ตอ้ ง เหมาะสม และมคี ณุ ธรรม

2-1-1

สว่ นท่ี 2 การวเิ คราะห์หลกั สตู ร
2.1 มาตรฐาน ตวั ชว้ี ดั และสาระแกนกลาง
2.2 แบบบันทกึ การวเิ คราะห์มาตรฐานและตวั ชีว้ ดั
2.3 คาอธบิ ายรายวชิ า
2.4 โครงสรา้ งรายวิชา
2.5 แบบบันทกึ การออกแบบหนว่ ยการเรียนรู้/การออกแบบ

กิจกรรมตามตวั ช้วี ดั /(โครงการสอน)
2.6 แบบบันทกึ แนวทางการวดั ผลประเมนิ ผลรายวิชา
2.7 แบบบนั ทกึ การวิเคราะห์ผูเ้ รยี น
2.8 แบบบันทกึ การวิเคราะหจ์ ุดเนน้ การพัฒนาคุณภาพผูเ้ รียน
2.9 แผนบรู ณาการ

2-1-2

2.1 มาตรฐาน ตัวชว้ี ดั และสาระแกนกลาง

2-1-3

ส่วนท่ี 2 การวเิ คราะหห์ ลกั สตู ร

มาตรฐานและตัวช้ีวดั สาระแกนกลาง

รายวชิ า ฟิสกิ ส์ 1 รหสั วิชา ว30201 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4

สาระฟิสิกส์

1. เขา้ ใจธรรมชาติทางฟสิ ิกส์ ปรมิ าณ และกระบวนการวัด การเคล่ือนทแี่ นวตรง แรงและกฎ

การเคลอ่ื นที่ของนิวตัน กฎความโนม้ ถ่วงสากล แรงเสยี ดทานสมดลุ กลของวตั ถุ งานและกฎการ

อนรุ กั ษ์พลงั งานกล โมเมนตัมและกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม การเคล่ือนท่แี นวโคง้ รวมทัง้ นาความรู้

ไปใช้ประโยชน์

ช้นั ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้

มธั ยมศึกษาปีที่ 4 1.สืบค้น และอธบิ ายการคน้ หาความรูท้ างฟสิ กิ ส์ • ฟสิ กิ ส์เปน็ วทิ ยาศาสตร์แขนงหนึ่งท่ี
ประวัติความเปน็ มา รวมทั้งพัฒนาการของ ศึกษาเก่ียวกับสสาร พลงั งาน อันตร
หลักการและแนวคดิ ทางฟิสิกส์ทม่ี ผี ลตอ่ กิริยาระหว่างสสารกบั
การแสวงหาความรู้ใหมแ่ ละการพฒั นาเทคโนโลยี พลงั งาน และแรงพน้ื ฐานในธรรมชาติ

• การคน้ ควา้ หาความรู้ทางฟสิ ิกสไ์ ด้มา
จากการสังเกตการทดลอง และเกบ็
รวบรวมข้อมลู มาวเิ คราะห์
หรือจากการสร้างแบบจาลองทาง
ความคดิ เพือ่ สรุปเปน็ ทฤษฎี หลักการ
หรือกฎ ความรู้เหล่านี้
สามารถนาไปใช้อธบิ ายปรากฏการณ์
ธรรมชาติ
หรือทานายสิ่งทีอ่ าจจะเกิดขน้ึ ในอนาคต

• ประวตั ิความเปน็ มาและพฒั นาการ
ของหลกั การและแนวคิดทางฟสิ ิกส์เป็น
พื้นฐานในการแสวงหาความรูใ้ หม่
เพม่ิ เตมิ รวมถึงการพฒั นาและความ
ก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยีก็มสี ว่ นในการ
ค้นหาความรใู้ หม่ทางวิทยาศาสตรด์ ้วย

2-1-4

ช้ัน ผลการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้

มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 2.วดั และรายงานผลการวดั ปริมาณทางฟิสกิ สไ์ ด้ • ความรู้ทางฟิสิกสส์ ว่ นหน่ึงไดจ้ ากการ
ถกู ตอ้ งเหมาะสม โดยนาความคลาดเคลือ่ นในการ ทดลองซึ่งเก่ียวข้องกับกระบวนการวดั
วัดมาพจิ ารณาในการนาเสนอผลรวมท้งั แสดงผล ปริมาณทางฟสิ ิกส์
การทดลองในรปู ของกราฟวิเคราะหแ์ ละแปล ซง่ึ ประกอบด้วยตัวเลขและหนว่ ยวัด
ความหมายจากกราฟเสน้ ตรง • ปริมาณทางฟิสกิ ส์สามารถวดั ไดด้ ว้ ย
เคร่ืองมอื ตา่ ง ๆ โดยตรงหรือทางอ้อม
หน่วยที่ใช้ในการวดั ปริมาณทาง
วิทยาศาสตรค์ ือ ระบบหนว่ ย
ระหวา่ งชาติ เรยี กย่อว่า ระบบเอสไอ
• ปรมิ าณทางฟิสิกส์ทมี่ ีคา่ น้อยกวา่ หรือ
มากกว่า 1 มาก ๆ นยิ มเขยี นในรปู
ของสญั กรณ์วทิ ยาศาสตรห์ รือเขยี นโดย
ใชค้ านาหน้าหน่วยของระบบเอสไอ
การเขียนโดยใช้สัญกรณ์วทิ ยาศาสตร์
เป็นการเขยี นเพ่ือแสดงจานวนเลข
นยั สาคญั ทถี่ กู ต้อง
• การทดลองทางฟิสิกสเ์ กยี่ วกบั การวัด
ปริมาณตา่ ง ๆ การบนั ทึกปริมาณทไ่ี ด้
จากการวัดด้วยจานวนเลขนัยสาคญั ท่ี
เหมาะสม และคา่ ความคลาดเคลอ่ื น
การวเิ คราะหแ์ ละการแปลความหมาย
จากกราฟเช่น การหาความชันจากกราฟ
เส้นตรง จุดตดั แกน พน้ื ท่ีใต้กราฟ เปน็
ตน้
• การวดั ปริมาณตา่ ง ๆ จะมีความ
คลาดเคลือ่ นเสมอขึ้นอยกู่ บั เครอ่ื งมอื
วิธีการวัด และประสบการณ์ของผวู้ ดั ซึ่ง
ค่าความคลาดเคลอ่ื นสามารถแสดง
ในการรายงานผลทงั้ ในรูปแบบตัวเลข
และกราฟ
• การวัดควรเลือกใช้เคร่ืองมอื วัดให้
เหมาะสมกับสง่ิ ที่ตอ้ งการวัด เช่นการวดั
ความยาวของวัตถทุ ต่ี ้องการความ
ละเอยี ดสูง อาจใชเ้ วอร์เนยี ร์
แคลลเิ ปริ ส์ หรอื ไมโครมิเตอร์
• ฟิสกิ ส์อาศยั คณิตศาสตรเ์ ปน็ เครอื่ งมอื
ในการศกึ ษาคน้ คว้า และการส่อื สาร

2-1-5

ช้ัน ผลการเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้
มธั ยมศึกษาปที ี่ 4
3.ทดลอง และอธบิ ายความสัมพนั ธ์ระหวา่ ง • ปริมาณทเี่ กย่ี วกบั การเคลือ่ นท่ี ไดแ้ ก่
ตาแหน่ง การกระจัดความเรว็ และความเร่ง ตาแหน่งการกระจดั ความเรว็ และ
ของการเคล่ือนที่ของวตั ถุในแนวตรงท่มี ี ความเร่ง โดยความเรว็ และความเรง่ มที ้งั
ความเร่งคงตัวจากกราฟและสมการ รวมท้งั ค่าเฉลยี่ และคา่ ขณะหนง่ึ ซึ่งคิด
ทดลองหาคา่ ความเร่งโนม้ ถว่ งของโลก ในช่วงเวลาสนั้ ๆ สาหรบั ปรมิ าณตา่ ง ๆ
และคานวณปริมาณตา่ ง ๆ ทเี่ กี่ยวขอ้ ง ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การเคล่อื นทแี่ นวตรงดว้ ย
ความเร่งคงตัวมคี วามสัมพนั ธต์ าม
สมการ
v=u+at
s=(u+v)t/2
s=ut+1/2at^2
v^2=u^2+2as
• การอธิบายการเคลอ่ื นท่ีของวัตถุ
สามารถเขยี นอยู่ในรูปกราฟตาแหนง่ กบั
เวลา กราฟความเร็วกับเวลา หรอื กราฟ
ความเรง่ กบั เวลา ความชันของเส้นกราฟ
ตาแหนง่ กับเวลาเป็นความเร็วความชัน
ของเสน้ กราฟความเรว็ กบั เวลาเปน็
ความเรง่ และพ้ืนที่ใต้เสน้ กราฟความเร็ว
กับเวลาเปน็ การกระจัด ในกรณที ผี่ ู้
สังเกตมคี วามเรว็ ความเรว็ ของวัตถุท่ี
สังเกตไดเ้ ป็นความเร็วทเ่ี ทียบกับผสู้ งั เกต
• การตกแบบเสรีเปน็ ตัวอย่างหนึ่งของ
การเคลอื่ นทีใ่ นหน่ึงมติ ิทมี่ คี วามเรง่
เท่ากบั ความเร่งโนม้ ถว่ งของโลก

2-1-6

ชั้น ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้

มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 4.ทดลอง และอธบิ ายการหาแรงลพั ธ์ของ • แรงเปน็ ปริมาณเวกเตอร์จึงมที ้งั ขนาด
แรงสอง แรงทีท่ ามุมต่อกัน และทศิ ทางกรณที ่ีมีแรงหลาย ๆ แรง
กระทาตอ่ วัตถุ สามารถหาแรงลพั ธท์ ี่
มธั ยมศึกษาปีที่ 4 5.เขยี นแผนภาพของแรงท่ีกระทาต่อวตั ถุ กระทาตอ่ วัตถุ โดยใช้วิธีเขยี นเวกเตอร์
อสิ ระทดลอง และอธบิ ายกฎการเคลอ่ื นที่ ของแรงแบบหางต่อหวั วธิ สี ร้างรปู
ของนิวตันและการใช้กฎการเคลือ่ นท่ีของ สี่เหลีย่ มด้านขนานของแรงและวิธี
นิวตนั กับสภาพการเคลอ่ื นที่ของวัตถุ คานวณ
รวมท้งั คานวณปรมิ าณต่าง ๆทีเ่ ก่ียวข้อง
• สมบัติของวัตถทุ ีต่ ้านการเปลย่ี นสภาพ
การเคล่ือนที่ เรียกว่า ความเฉ่ือย มวล
เป็นปริมาณท่ีบอกใหท้ ราบวา่ วัตถใุ ดมี
ความเฉื่อยมากหรือนอ้ ย
• การหาแรงลพั ธท์ ี่กระทาต่อวัตถุ
สามารถเขยี นเปน็ แผนภาพของแรงท่ี
กระทาตอ่ วัตถอุ สิ ระได้
• กรณที ี่ไมม่ ีแรงภายนอกมากระทา วัตถุ
จะไมเ่ ปลย่ี นสภาพการเคล่อื นทซ่ี งึ่
เป็นไปตามกฎการเคลื่อนท่ีข้อท่ีหนึง่ ของ
นวิ ตัน
• กรณีทมี่ ีแรงภายนอกมากระทาโดยแรง
ลพั ธ์ที่กระทาตอ่ วัตถไุ มเ่ ป็นศนู ย์ วตั ถจุ ะ
มีความเร่งโดยความเร่งมีทิศทางเดียวกับ
แรงลพั ธ์ความสมั พนั ธร์ ะหว่างแรงลพั ธ์
มวลและความเรง่ เขยี นแทนไดด้ ้วย
สมการ F=ma
ตามกฎการเคล่ือนท่ขี ้อท่ีสองของนิวตนั
• เม่อื วตั ถุสองก้อนออกแรงกระทาตอ่ กนั
แรงระหวา่ งวัตถุทัง้ สองจะมขี นาดเท่ากัน
แต่มีทิศทางตรงขา้ มและกระทาตอ่ วตั ถุ
คนละกอ้ น เรยี กวา่ แรงคู่กิริยา-ปฏกิ ิรยิ า
ซึง่ เป็นไปตามกฎการเคลอ่ื นท่ี
ขอ้ ทสี่ ามของนวิ ตนั และเกดิ ขึ้นไดท้ ้ัง
กรณที วี่ ตั ถุทัง้ สองสมั ผสั กันหรือไมส่ ัมผสั
กนั ก็ได้

2-1-7

ช้ัน ผลการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้
มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4
6.อธิบายกฎความโน้มถว่ งสากลและผลของ • แรงดึงดูดระหวา่ งมวลเปน็ แรงท่มี วล
สนามโนม้ ถ่วงทท่ี าให้วัตถุ มนี ้าหนกั รวมทง้ั สองกอ้ นดึงดูดซ่ึงกนั และกัน ด้วยแรง
คานวณปรมิ าณต่าง ๆ ทีเ่ กย่ี วข้อง ขนาดเทา่ กนั แตท่ ิศทางตรงข้าม
และเปน็ ไปตามกฎความโน้มถ่วงสากล
เขียนแทนไดด้ ้วยสมการ
F=Gm1m2/R^2
• รอบโลกมสี นามโนม้ ถ่วงทาใหเ้ กดิ แรง
โน้มถ่วงซ่ึงเป็นแรงดึงดดู ของโลกท่ี
กระทาตอ่ วัตถุ ทาใหว้ ตั ถุมีนา้ หนกั

มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 7.วเิ คราะห์ อธิบาย และคานวณแรงเสยี ด • แรงทีเ่ กดิ ข้ึนท่ผี ิวสมั ผัสระหว่างวตั ถุ
ทาน ระหวา่ งผิวสัมผสั ของวัตถุค่หู นึง่ ๆ ใน สองก้อนในทิศทางตรงขา้ มกบั ทศิ
กรณที วี่ ตั ถุหยุดนิ่งและวัตถุเคลอ่ื นที่ รวมท้ัง ทางการเคลือ่ นที่หรอื แนวโนม้ ที่จะ
ทดลองหาสัมประสทิ ธคิ์ วามเสยี ดทาน เคลื่อนทข่ี องวตั ถุ เรยี กวา่ แรงเสยี ดทาน
ระหว่างผวิ สมั ผัสของวัตถุคู่หน่ึง ๆ และนา แรงเสยี ดทานระหวา่ งผวิ สมั ผสั คู่หนง่ึ ๆ
ความร้เู รอื่ งแรงเสยี ดทานไปใช้ใน ขน้ึ กบั สัมประสทิ ธ์คิ วามเสยี ดทานและ
ชวี ติ ประจาวนั แรงปฏกิ ริ ิยาต้ังฉากระหว่างผิวสมั ผัสคู่
นั้น ๆ
• ขณะออกแรงพยายามแตว่ ัตถยุ งั คงอยู่
น่งิ แรงเสยี ดทานมขี นาดเทา่ กบั แรง
พยายามที่กระทาตอ่ วัตถนุ น้ั และแรง
เสยี ดทานมคี ่ามากที่สุดเมอ่ื วตั ถุ
เริ่มเคล่อื นท่ี เรยี กแรงเสียดทานนวี้ า่
แรงเสยี ดทานสถิต แรงเสียดทานท่ี
กระทาต่อวัตถขุ ณะกาลังเคล่ือนที่
เรียกวา่ แรงเสยี ดทานจลน์
โดยแรงเสยี ดทานท่เี กดิ ระหว่างผวิ สัมผสั
ของวตั ถุค่หู นึ่ง ๆ คานวณไดจ้ ากสมการ

ƒs ≤ μsN

ƒk = μkN

• การเพ่มิ หรอื ลดแรงเสียดทานมีผลต่อ
การเคลื่อนทข่ี องวัตถุ ซึง่ สามารถ
นาไปใชใ้ นชีวิตประจาวัน

2.2 แบบบนั ทึกการวิเครา

2-2-1

าะห์มาตรฐานและตวั ช้วี ัด

แบบวิเคราะหม์ าตรฐานและตัวชวี้ ัดเพื่อจดั ทาค
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ รายวิชาฟสิ กิ
สาระฟสิ กิ ส์
1.เขา้ ใจธรรมชาติทางฟิสิกส์ ปริมาณและกระบวนการวัด การเคลือ่ นทแ่ี นวตร
ของวตั ถุ งาน และกฎการอนุรักษ์พลงั งานกล โมเมนตัมและกฎการอนรุ กั ษโ์ มเมนตัม ก

ตัวช้วี ดั ช้ันปี/ ผลการเรยี นรู้ ความรู้ K ทกั
นกั เรยี นรู้อะไร น
1.สบื ค้น และอธบิ ายการคน้ หาความรูท้ าง
ฟสิ กิ ส์ ประวัตคิ วามเป็นมา รวมทงั้ พัฒนาการ 1. ฟิสกิ สเ์ ป็นวทิ ยาศาสตรแ์ ขนง การ
ของหลกั การและแนวคิดทางฟิสิกส์ที่มผี ลต่อ หน่งึ ซง่ึ เน้นการสบื เสาะหา ขอ้
การแสวงหาความรู้ใหม่และการพฒั นา หลกั การและองคค์ วามร้ตู ่าง ๆ แล
เทคโนโลยี เพ่อื อธบิ ายปรากฏการณ์ ขอ้
ธรรมชาตโิ ดยเฉพาะทเ่ี กย่ี วกบั
ระบบและกลไกทางกายภาพ ทกั ษ
2. ประวัติความเป็นมาของ
พฒั นาการทางฟสิ ิกส์ 1. ก
3. ฟิสกิ ส์กบั การพัฒนา สาร
วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี รู้เท
และการแสวงหาความรู้ใหม่ อา้ ง
การ
ควา
จาก
หล
สม

2-2-2

คาอธบิ ายรายวิชา ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย
กส์ 1 รหสั วชิ า ว30201 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4

รง แรงและกฎการเคลือ่ นที่ของนวิ ตนั กฎความโน้มถว่ งสากล แรงเสียดทานสมดลุ กล
การเคลอื่ นท่ีแนวโคง้ รวมท้ังนาความรไู้ ปใช้ในประโยชน์

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง/ทอ้ งถน่ิ

กษะกระบวนการ P คณุ ลักษณะ A สาระแกนกลาง สาระท้องถน่ิ /อาเซยี น/
พอเพียง
นกั เรียนทาอะไรได้ เกิดคุณลักษณะอยา่ งไร

รลงความเหน็ จาก 1. ความอยากรอู้ ยากเห็น • ฟสิ กิ ส์เป็นวทิ ยาศาสตร์

อมลู (ความน่าเช่อื ถือ 2. ความรอบคอบ แขนงหน่ึงท่ศี ึกษาเก่ยี วกับ

ละความถกู ตอ้ งของ สสาร พลังงาน อันตรกริ ิยา

อมูล) ระหว่างสสารกบั พลงั งาน

ษะแห่งศตวรรษที่ 21 และแรงพื้นฐานใน
ธรรมชาติ
การส่อื สาร

รสนเทศและการ • การค้นควา้ หาความรทู้ าง
ทา่ ทันสื่อ(มกี าร ฟสิ กิ ส์ไดม้ าจากการสงั เกต
งอิงแหล่งทมี่ าและ การทดลอง และเก็บ

รเปรยี บเทียบ รวบรวมข้อมลู มาวเิ คราะห์
ามถูกตอ้ งของข้อมูล หรอื จากการสรา้ ง
กแหลง่ ข้อมลู ที่ แบบจาลองทางความคดิ

ลากหลายได้อยา่ ง เพอื่ สรุปเป็นทฤษฎี
มเหตุสมผล การ หลกั การหรอื กฎ ความรู้

อภ
รว่ ม
นาเ
2. ค
ทา
ภา
3. ก
แก
เกม
ละ

ภิปราย 2-2-3
มกันและการ
เสนอผล) เหลา่ นสี้ ามารถนาไปใช้
ความรว่ มมือ การ อธบิ ายปรากฏการณ์
างานเปน็ ทมี และ ธรรมชาติ
าวะผ้นู า หรือทานายส่งิ ทอี่ าจจะ
การคิดและการ เกิดขนึ้ ในอนาคต
ก้ปญั หา (กิจกรรม • ประวตั คิ วามเป็นมาและ
มหรอื พฒั นาการของหลกั การและ
ะครวิทยาศาสตร)์ แนวคดิ ทางฟิสกิ ส์เป็น
พื้นฐานในการแสวงหา
ความรใู้ หมเ่ พม่ิ เตมิ รวมถงึ
การพฒั นาและความ
กา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยกี ม็ ี
ส่วนในการคน้ หาความรู้
ใหมท่ างวิทยาศาสตร์ด้วย

ตวั ช้ีวดั ชน้ั ปี/ ผลการเรยี นรู้ ความรู้ K ทกั
นักเรยี นรูอ้ ะไร น
2.วดั และรายงานผลการวดั ปรมิ าณทางฟสิ กิ สไ์ ด้
ถกู ต้องเหมาะสม โดยนาความคลาดเคลอ่ื นใน 1. ในการวัดปริมาณตา่ ง ๆ ตอ้ ง 1. ก
การวัดมาพจิ ารณาในการนาเสนอผลรวมทั้ง เลอื กใช้เครื่องมอื วดั ไ
แสดงผลการทดลองในรปู ของกราฟวเิ คราะห์ และวธิ ีการวดั ใหเ้ หมาะสมกับส่ิง แล
และแปลความหมายจากกราฟเสน้ ตรง ทตี่ ้องการวดั ควา
2. การนาเสนอผลการวดั ที่ ในก
ถูกต้องเหมาะสมโดยคานึงถึง แล
ความคลาดเคล่อื นในการวัดและ 2. ก
หน่วยของการวัด ชัน
ใตก้
3. ก
สือ่
(กา
4. ก
ข้อ
(กา
ควา
เส้น

ทักษ

1. ก
สาร
รเู้ ท
(กา

2-2-4

สาระการเรียนร้แู กนกลาง/ทอ้ งถนิ่

กษะกระบวนการ P คณุ ลักษณะ A สาระแกนกลาง สาระทอ้ งถนิ่ /
อาเซียน/พอเพียง
นักเรียนทาอะไรได้ เกดิ คุณลกั ษณะอย่างไร

การวัด (ใช้เครื่องมอื 1. ความซื่อสตั ย์ • ความรู้ทางฟิสิกสส์ ว่ นหน่งึ ได้

ไดอ้ ย่างเหมาะสม 2. ความรอบคอบ จากการทดลองซึ่งเก่ยี วขอ้ งกับ
ละถกู ตอ้ ง คานงึ ถงึ 3. ความอยากรอู้ ยากเหน็ กระบวนการวดั ปริมาณทาง
ามคลาดเคลอ่ื น ฟสิ ิกส์ซ่ึงประกอบด้วยตัวเลข
การวัด เลขนยั สาคญั และหนว่ ยวดั
ละหนว่ ยของการวดั ) • ปรมิ าณทางฟสิ ิกสส์ ามารถวัด
การใชจ้ านวน (ความ ได้ด้วยเครอ่ื งมอื ตา่ ง ๆ โดยตรง
นของกราฟ พ้นื ท่ี หรือทางอ้อม หน่วยทีใ่ ช้ในการ
กราฟ) วัดปรมิ าณทางวิทยาศาสตร์คอื
การจดั กระทาและ ระบบหน่วยระหว่างชาติ เรยี ก
อความหมายข้อมูล ย่อว่า ระบบเอสไอ
ารเขียนกราฟ) • ปรมิ าณทางฟสิ กิ ส์ท่มี ีค่าน้อย
กวา่ หรอื มากกว่า 1 มาก ๆ
การตคี วามหมาย
นิยมเขียนในรูปของสญั กรณ์

อมลู และลงขอ้ สรปุ วิทยาศาสตรห์ รือเขยี นโดยใช้คา

ารวเิ คราะหแ์ ละแปล นาหนา้ หน่วยของระบบเอสไอ
ามหมายกราฟ การเขียนโดยใชส้ ญั กรณ์
นตรง) วทิ ยาศาสตร์เป็นการเขียนเพ่ือ
แสดงจานวนเลขนยั สาคัญที่
ษะแห่งศตวรรษที่ 21 ถูกต้อง

การสื่อสาร • การทดลองทางฟิสิกสเ์ กย่ี วกบั
รสนเทศและการ การวดั ปริมาณต่าง ๆ การ
ท่าทันสอื่ บนั ทกึ ปริมาณทไี่ ดจ้ ากการวัด
ารอภิปรายร่วมกัน

แล
การ
2. ค
ทา
ภา

ละ การนาเสนอผล 2-2-5
รวดั )
ความรว่ มมือ การ ด้วยจานวนเลขนัยสาคญั ท่ี
างานเปน็ ทีมและ เหมาะสม และค่าความ
าวะผู้นา คลาดเคล่ือนการวเิ คราะห์และ
การแปลความหมายจากกราฟ
เช่น การหาความชันจากกราฟ
เสน้ ตรง จดุ ตัดแกน พื้นทใ่ี ต้
กราฟ เปน็ ตน้
• การวัดปรมิ าณต่าง ๆ จะมี
ความคลาดเคลอื่ นเสมอขนึ้ อยู่
กับเครือ่ งมอื วธิ กี ารวัด และ
ประสบการณ์ของผู้วัด ซ่ึงค่า
ความคลาดเคล่อื นสามารถ
แสดงในการรายงานผลทั้งใน
รูปแบบตัวเลขและกราฟ
• การวดั ควรเลอื กใชเ้ ครอื่ งมือ
วัดใหเ้ หมาะสมกบั ส่งิ ท่ีต้องการ
วัด เช่นการวดั ความยาวของ
วัตถทุ ่ีตอ้ งการความละเอียดสงู
อาจใช้เวอร์เนียร์
แคลลิเปิร์ส หรือไมโครมเิ ตอร์
• ฟิสิกส์อาศยั คณติ ศาสตร์เป็น
เครือ่ งมือในการศกึ ษาค้นควา้
และการสอื่ สาร

ตวั ช้ีวดั ชน้ั ปี/ ผลการเรยี นรู้ ความรู้ K ทัก
นักเรียนรอู้ ะไร น
3.ทดลอง และอธิบายความสมั พนั ธร์ ะหว่าง
ตาแหนง่ การกระจดั ความเร็ว และความเรง่ 1 ตาแหนง่ การกระจดั 1. ก
ของการเคลือ่ นทีข่ องวัตถุในแนวตรงที่มี ความเร็ว และความเรง่ ระห
ความเรง่ คงตัวจากกราฟและสมการ รวมท้ัง ของการเคล่ือนทข่ี องวตั ถใุ นแนว กระ
ทดลองหาคา่ ความเร่งโนม้ ถ่วงของโลก ตรงท่มี คี วามเรง่ คงตัว รวมท้ัง 2. ก
และคานวณปรมิ าณต่าง ๆ ที่เกย่ี วข้อง ความสัมพนั ธร์ ะหว่างกัน ควา
ในรูปแบบกราฟและสมการ กรา
2. ความเรง่ โนม้ ถ่วงของโลก 3. ก
และผลต่อการเคล่ือนท่ขี องวัตถุ 4. ก
ในแนวด่ิง ควา
(เขยี
เคล
5. ก
และ
(วเิ ค
ควา
ควา
ทักษ
1. ก
และ
(กา
การ
2. ค
เปน็

2-2-6

สาระการเรียนรแู้ กนกลาง/ท้องถนิ่

กษะกระบวนการ P คณุ ลักษณะ A สาระแกนกลาง สาระทอ้ งถิน่ /
อาเซียน/พอเพยี ง
นกั เรยี นทาอะไรได้ เกดิ คณุ ลกั ษณะอยา่ งไร
ความมเี หตผุ ล
การวดั (การวัดระยะห่าง 1. ความซอ่ื สัตย์ • ปริมาณทเ่ี กยี่ วกบั การเคล่ือนที่
หวา่ งจุดบนแถบ 2. ความม่งุ ม่นั อดทน ได้แก่ ตาแหน่งการกระจดั ความเรว็
ะดาษ) 3. ความรอบคอบ
การใชจ้ านวน (ความเร็ว และความเรง่ โดยความเรว็ และ
ามเรง่ จากความชนั ของ ความเรง่ มที ง้ั คา่ เฉลยี่ และคา่ ขณะหนง่ึ
าฟหรอื สมการ) ซงึ่ คิดในชว่ งเวลาสน้ั ๆ สาหรับ
การทดลอง ปริมาณต่าง ๆ ทีเ่ ก่ยี วข้องกับการ
การจดั กระทาและสอ่ื เคล่อื นทีแ่ นวตรงดว้ ยความเร่งคงตวั มี
ามหมายข้อมลู ความสมั พนั ธ์ตามสมการ
ยนกราฟจากข้อมูลการ v=u+at
ลือ่ นทข่ี องวัตถุ) s=(u+v)t/2
s=ut+1/2at^2
v^2=u^2+2as

การตีความหมายขอ้ มูล • การอธิบายการเคลอื่ นท่ขี องวตั ถุ
ะลงขอ้ สรุป สามารถเขยี นอยใู่ นรูปกราฟตาแหนง่
คราะหก์ ราฟ กับเวลา กราฟความเร็วกบั เวลา หรือ
ามสมั พนั ธ์ระหวา่ ง กราฟความเร่งกบั เวลา ความชันของ
ามเรว็ และเวลา) เสน้ กราฟตาแหนง่ กบั เวลาเปน็
ษะแห่งศตวรรษที่ 21 ความเรว็ ความชันของเสน้ กราฟ
การสื่อสารสารสนเทศ ความเรว็ กับเวลาเปน็ ความเร่ง และ
ะการร้เู ท่าทันสือ่ พน้ื ทใี่ ต้เส้นกราฟความเรว็ กบั เวลา
ารอภปิ รายรว่ มกันและ เป็นการกระจดั ในกรณที ผี่ สู้ ังเกตมี
รนาเสนอผล) ความเรว็ ความเรว็ ของวตั ถทุ ่ีสังเกตได้
ความร่วมมอื การทางาน เปน็ ความเรว็ ท่เี ทียบกบั ผู้สังเกต

• การตกแบบเสรเี ป็นตัวอยา่ งหนงึ่ ของ

นทีมและภาวะผนู้ า การเคลือ่ นท่ใี นหนง่ึ มิตทิ ี่มีความเรง่
เทา่ กับความเร่งโน้มถว่ งของโลก

ตัวชี้วดั ชัน้ ปี/ ผลการเรยี นรู้ ความรู้ K ทกั
นักเรยี นรอู้ ะไร น
4.ทดลอง และอธิบายการหาแรงลพั ธข์ องแรง
สอง แรงท่ีทามมุ ต่อกัน 1. แรงเปน็ ปรมิ าณเวกเตอร์ เม่อื 1. ก
มีแรงกระทาตอ่ วัตถหุ ลายแรง จาก
หาแรงลัพธ์ที่กระทาตอ่ 2. ก
วตั ถโุ ดยการรวมเวกเตอร์ ขนา
2. เม่ือแรงลพั ธ์ทก่ี ระทาตอ่ วตั ถุ 3. ก
มคี า่ ไมเ่ ปน็ ศูนยว์ ตั ถจุ ะมีการ 4. ก
เปลย่ี นสภาพการเคลอ่ื นท่ี ควา
(กา
แรง
เวก
5. ก
ขอ้ ม
(กา
ทกั
1. ก
และ
เขยี
และ
ร่วม
ผล)
2. ค
ทาง
ผ้นู า

2-2-7

สาระการเรียนรแู้ กนกลาง/ทอ้ งถนิ่

กษะกระบวนการ P คณุ ลักษณะ A สาระแกนกลาง สาระท้องถนิ่ /
อาเซียน/พอเพียง
นักเรยี นทาอะไรได้ เกิดคุณลกั ษณะอย่างไร

การวดั (ขนาดของแรง 1. ความซ่อื สตั ย์ • แรงเป็นปริมาณเวกเตอรจ์ ึง
กเครอื่ งช่งั สปรงิ )
การใช้จานวน (การหา 2. ความมงุ่ มนั่ อดทน มที ั้งขนาดและทิศทางกรณีท่ี
าดของแรงลัพธ์) 3. ความรอบคอบ มีแรงหลาย ๆ แรง กระทาต่อ
การทดลอง วตั ถุ สามารถหาแรงลัพธ์ที่
การจัดกระทาและสื่อ กระทาต่อวัตถุ โดยใช้วิธเี ขียน
ามหมายขอ้ มูล เวกเตอรข์ องแรงแบบหางต่อ
ารเขียนเวกเตอรแ์ ทน หัว วธิ สี ร้างรูปสีเ่ หล่ยี มดา้ น
งและการรวม ขนานของแรงและวธิ ีคานวณ

กเตอร์)

การตคี วามหมาย

มลู และลงขอ้ สรุป

ารสรุปผลการทดลอง)

กษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21

การสอื่ สารสารสนเทศ

ะการรเู้ ทา่ ทันสอ่ื (การ

ยนเวกเตอร์แทนขนาด

ะทศิ ทาง การอภิปราย

มกันและการนาเสนอ

)

ความร่วมมือการ

งานเปน็ ทีมและภาวะ

นา

ผลการเรยี นรู้ ความรู้ K ทัก

5.เขียนแผนภาพของแรงทกี่ ระทาตอ่ วตั ถอุ สิ ระ นกั เรยี นรอู้ ะไร น
ทดลอง และอธิบายกฎการเคลอ่ื นท่ขี องนิวตนั
และการใชก้ ฎการเคลือ่ นที่ของนิวตนั กับสภาพ 1. ความเฉ่อื ยเปน็ สมบตั ิของวตั ถุ 1. ก
การเคลอ่ื นท่ีของวตั ถุ รวมทงั้ คานวณปริมาณ
ตา่ ง ๆที่เก่ยี วขอ้ ง ที่ตา้ นการเปลย่ี นสภาพการ ถกู

เคลื่อนที่ หน

2. สภาพการเคล่อื นทีข่ องวัตถุ 2. ก

อธบิ ายได้ด้วยกฎการเคลอ่ื นที่ (ปร

ของนิวตนั เก่ีย

3. เมือ่ มีแรงกระทาตอ่ วัตถทุ ่จี ุด เคล

เดียวกนั หรอื แนวเดียวกัน โดย กฎ

แรงลัพธท์ ก่ี ระทาตอ่ วตั ถุเปน็ ตนั

ศูนยว์ ตั ถุจะไมเ่ ปลีย่ นสภาพการ 3. ก

เคลอื่ นทซี่ งึ่ เป็นไปตามกฎการ 4. ก

เคล่อื นทข่ี ้อทห่ี น่ึงของนวิ ตนั ส่ือ

4. เมื่อแรงลพั ธท์ ่กี ระทาต่อวตั ถุ (เข

ไมเ่ ปน็ ศูนยว์ ัตถจุ ะเปลยี่ นสภาพ ควา

การเคลอ่ื นที่ ซ่งึ เป็นไปตาม แรง

กฎการเคล่อื นท่ขี ้อท่ีสองของนิว 5. ก

ตัน ข้อ

5. เมื่อมแี รงกริ ยิ ากระทาตอ่ วตั ถุ (กา

วตั ถุจะมแี รงปฏิกริ ยิ ากระทา สรุป

โต้ตอบด้วยแรงขนาดเทา่ กนั ทักษ
แต่ทิศทางตรงกันข้าม ซงึ่ เป็นไป 1. ก
สาร
ตามกฎการ

2-2-8

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง/ท้องถนิ่

กษะกระบวนการ P คณุ ลักษณะ A สาระแกนกลาง สาระท้องถน่ิ /
อาเซียน/พอเพียง
นกั เรยี นทาอะไรได้ เกดิ คุณลักษณะอย่างไร

การวดั (ความ 1. ความซ่ือสตั ย์ • สมบตั ขิ องวตั ถทุ ่ีตา้ นการ

กตอ้ งของการวดั และ 2. ความมุ่งมัน่ อดทน เปลย่ี นสภาพการเคลอื่ นท่ี

น่วย) 3. ความรอบคอบ เรียกว่า ความเฉอ่ื ย มวลเปน็

การใช้จานวน ปริมาณท่บี อกใหท้ ราบว่าวัตถุ

ริมาณตา่ ง ๆ ที่ ใดมคี วามเฉ่ือยมากหรอื น้อย

ยวข้องกับการ • การหาแรงลพั ธ์ท่ีกระทาตอ่

ลอ่ื นท่ขี องวัตถุโดยใช้ วตั ถุสามารถเขยี นเปน็ แผนภาพ

ฎการเคลือ่ นทข่ี องนิว ของแรงทีก่ ระทาตอ่ วัตถอุ สิ ระ

น) ได้

การทดลอง • กรณที ่ไี มม่ แี รงภายนอกมา

การจัดกระทาและ กระทา วัตถุจะไมเ่ ปลี่ยนสภาพ

อความหมายข้อมลู การเคลอ่ื นท่ซี ึ่งเป็นไปตามกฎ

ขียนกราฟ การเคลอ่ื นท่ขี ้อทห่ี นงึ่ ของนวิ

ามสัมพนั ธร์ ะหวา่ ง ตนั

งกับความเรง่ ) • กรณที ่มี แี รงภายนอกมา

การตีความหมาย กระทาโดยแรงลพั ธท์ ่ีกระทาต่อ

อมลู และลงข้อสรปุ วัตถุไมเ่ ปน็ ศูนย์ วตั ถุจะมี

ารวเิ คราะหแ์ ละ ความเร่งโดยความเร่งมีทิศทาง

ปผลการทดลอง) เดยี วกบั แรงลัพธ์ความสมั พนั ธ์

ษะแห่งศตวรรษที่ 21 ระหว่างแรงลพั ธ์ มวลและ
ความเร่งเขยี นแทนไดด้ ว้ ย
การสอ่ื สาร

รสนเทศและการ สมการ F=ma ตามกฎการ

เคลื่อนทข่ี ้อท่สี ามของนวิ ตัน ร้เู ท
6. การแสดงแรงที่กระทาต่อวตั ถุ (กา
ทาได้โดยการเขียนแผนภาพของ แล
แรงทีก่ ระทาตอ่ วัตถอุ ิสระและใช้ 2. ค
หาแรงลัพธท์ ก่ี ระทาต่อวัตถุได้ ทา
7. คานวณหาปรมิ าณตา่ ง ๆ ภา
ของการเคลือ่ นทีเ่ มอื่ แรงลัพธท์ ี่
กระทาตอ่ วตั ถไุ มเ่ ป็นศนู ย์ตาม
กฎการเคลือ่ นทขี่ องนิวตนั

ทา่ ทนั สอื่ 2-2-9
ารอภปิ รายรว่ มกนั
ละการนาเสนอผล) เคลอ่ื นทข่ี อ้ ที่สองของนวิ ตัน
ความรว่ มมอื การ • เมือ่ วตั ถสุ องก้อนออกแรง
างานเป็นทีมและ กระทาตอ่ กนั แรงระหวา่ งวัตถุ
าวะผ้นู า ทั้งสองจะมีขนาดเทา่ กัน แต่มี
ทศิ ทางตรงขา้ มและกระทาต่อ
วตั ถคุ นละก้อน เรียกว่า แรงคู่
กิริยา-ปฏกิ ิรยิ า ซงึ่ เป็นไปตาม
กฎการเคล่ือนท่ี ข้อทสี่ ามของ
นวิ ตนั และเกดิ ขนึ้ ไดท้ งั้ กรณีที่
วัตถุท้งั สองสัมผสั กันหรอื ไม่
สมั ผสั กันกไ็ ด้

ตวั ชว้ี ดั ช้ันปี/ ผลการเรียนรู้ ความรู้ K ทกั
นกั เรยี นร้อู ะไร น
6.อธิบายกฎความโนม้ ถ่วงสากลและผลของ
สนามโนม้ ถ่วงทท่ี าใหว้ ัตถุ มีน้าหนกั รวมท้ัง 1. กฎความโนม้ ถ่วงสากล การ
คานวณปรมิ าณต่าง ๆ ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง กลา่ วถงึ แรงดึงดูดระหวา่ งวตั ถุ ต่าง
สองชิน้ มคี ่าขึ้นอยู่กบั มวลและ กฎ
ระยะหา่ งระหวา่ งวัตถทุ ้ังสอง สน
2. รอบ ๆ วตั ถจุ ะมสี นามโนม้ นา้ ห
ถว่ ง ซง่ึ ทาใหว้ ัตถุอื่น
ท่อี ยใู่ นสนามโน้มถว่ งน้ันมี ทักษ
น้าหนัก
1. ก
สาร
รเู้ ท
อา้ ง
การ
ควา
จาก
ทหี่
สม
อภ
การ
2. ค
ทา
ภา

2-2-10

สาระการเรียนร้แู กนกลาง/ท้องถน่ิ

กษะกระบวนการ P คณุ ลกั ษณะ A สาระแกนกลาง สาระท้องถ่ิน/
อาเซยี น/พอเพียง
นักเรียนทาอะไรได้ เกดิ คณุ ลกั ษณะอยา่ งไร

รใช้จานวน (ปรมิ าณ การใชว้ ิจารณญาณ • แรงดงึ ดดู ระหวา่ งมวลเป็นแรง

ง ๆ ที่เกี่ยวขอ้ งกบั ท่มี วลสองก้อนดงึ ดดู ซ่งึ กนั และ

ฎความโนม้ ถ่วงสากล กัน ด้วยแรงขนาดเท่ากันแต่ทิศ

นามโนม้ ถว่ ง และ ทางตรงข้าม

หนกั ) และเป็นไปตามกฎความโนม้

ษะแห่งศตวรรษที่ 21 ถว่ งสากล เขยี นแทนได้ดว้ ย
สมการ F=Gm1m2/R^2
การส่ือสาร

รสนเทศและการ • รอบโลกมสี นามโนม้ ถ่วงทาให้
ทา่ ทันสอื่ (มกี าร เกดิ แรงโนม้ ถ่วงซง่ึ เป็นแรง

งอิงแหล่งทีม่ าและ ดงึ ดูดของโลกท่ีกระทาตอ่ วัตถุ
รเปรยี บเทียบ ทาให้วัตถมุ ีน้าหนัก
ามถกู ต้องของขอ้ มูล

กแหล่งขอ้ มูล

หลากหลายไดอ้ ยา่ ง

มเหตสุ มผล การ

ภิปรายรว่ มกนั และ

รนาเสนอผล)

ความร่วมมือ การ

างานเปน็ ทีมและ

าวะผ้นู า

ตัวช้วี ัดชนั้ ปี/ ผลการเรยี นรู้

ความรู้ K ทัก

นกั เรยี นรู้อะไร น

7.วเิ คราะห์ อธิบาย และคานวณแรงเสยี ดทาน 1. เมอ่ื วตั ถุมแี นวโน้มที่จะ 1. ก

ระหว่างผวิ สัมผสั ของวตั ถคุ หู่ น่ึง ๆ ในกรณที ี่ เคลื่อนที่หรือกาลงั สูงส

วัตถหุ ยดุ น่ิงและวตั ถเุ คลือ่ นท่ี รวมท้งั ทดลองหา เคล่ือนท่ีบนพืน้ ผวิ ใด ๆ จะมีแรง เคล

สมั ประสิทธค์ิ วามเสยี ดทานระหวา่ งผิวสมั ผสั เสียดทานระหว่างผิวสมั ผสั ต้าน เมอื่

ของวตั ถคุ หู่ นง่ึ ๆ และนาความรูเ้ รอ่ื งแรงเสยี ด การเคลือ่ นที่ของวัตถุ 2. ก

ทานไปใช้ในชีวติ ประจาวัน 2. แรงเสยี ดทานระหว่าง ค่าแ

ผวิ สัมผสั ของวัตถคุ ่หู นึ่ง ๆ ขณะ สป

วัตถจุ ะเคล่ือนทหี่ รือกาลงั 3. ก

เคลื่อนที่ ข้ึนกับสมั ประสิทธ์ิ (ปร

ความเสยี ดทานและแรงปฏิกริ ิยา เกี่ย

ตั้งฉากระหวา่ งพ้นื ผวิ คู่น้นั แรง

3. การเพ่มิ และลดแรงเสียดทาน 4. ก

สามารถนามาใช้ประโยชน์ใน 5. ก

ชวี ิตประจาวนั สื่อ

(เข

ควา

แรง

6. ก

ข้อ

(สัม

ทา

สมั

2-2-11

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง/ท้องถนิ่

กษะกระบวนการ P คุณลักษณะ A สาระแกนกลาง สาระท้องถนิ่ /
อาเซยี น/พอเพียง
นักเรียนทาอะไรได้ เกดิ คุณลกั ษณะอย่างไร

การสงั เกต (แรงดึง 1. ความอยากร้อู ยากเห็น • แรงทเ่ี กิดข้ึนท่ีผวิ สัมผัส

สุดกอ่ นทีว่ ัตถเุ ริ่ม 2. ความซื่อสตั ย์ ระหว่างวตั ถุสองก้อนในทศิ

ลื่อนท่ี และแรงดึง 3. ความมงุ่ มน่ั อดทน ทางตรงขา้ มกบั ทศิ ทางการ

อวัตถเุ คลื่อนท)่ี 4. ความรอบคอบ เคล่ือนที่หรอื แนวโนม้ ที่จะ

การวดั (การอ่าน เคลอื่ นที่ของวัตถุ เรียกวา่ แรง

แรงจากเคร่ืองชัง่ เสยี ดทาน แรงเสยี ดทาน

ปรงิ ) ระหว่างผวิ สัมผัสคูห่ นึง่ ๆ

การใชจ้ านวน ขึ้นกับสมั ประสิทธคิ์ วามเสยี ด

ริมาณต่าง ๆ ที่ ทานและแรงปฏิกริ ิยาต้ังฉาก

ยวข้องกับ ระหว่างผวิ สมั ผสั คนู่ น้ั ๆ

งเสียดทาน) • ขณะออกแรงพยายามแตว่ ัตถุ

การทดลอง ยงั คงอยูน่ ิ่งแรงเสียดทานมี

การจดั กระทาและ ขนาดเทา่ กับแรงพยายามที่

อความหมายข้อมูล กระทาต่อวัตถุน้ัน และแรง

ขียนกราฟ เสียดทานมคี า่ มากทส่ี ดุ เมอ่ื วัตถุ

ามสมั พนั ธร์ ะหว่าง เริ่มเคล่อื นท่ี เรยี กแรงเสยี ด

งดงึ กับนา้ หนกั ) ทานนีว้ า่ แรงเสยี ดทานสถิต แรง

การตีความหมาย เสยี ดทานทกี่ ระทาตอ่ วตั ถุขณะ

อมูลและลงข้อสรปุ กาลงั เคล่อื นที่ เรยี กวา่ แรงเสยี ด

มประสิทธ์คิ วามเสียด ทานจลนโ์ ดยแรงเสียดทานท่ี

านสถติ มีคา่ มากกว่า เกิดระหวา่ งผวิ สมั ผสั ของวตั ถคุ ู่

มประสิทธ์คิ วามเสยี ด หนง่ึ ๆ คานวณได้จากสมการ

ทา

ทกั ษ

1. ก
สาร
รู้เท
อภ
การ
2. ค
ทา
ภา

านจลน)์ 2-2-12

ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 ƒs ≤ μsN
ƒk = μkN
การส่ือสาร • การเพิม่ หรอื ลดแรงเสยี ดทาน
รสนเทศและการ มีผลตอ่ การเคลื่อนท่ขี องวัตถุ
ท่าทันส่ือ(การ ซึ่งสามารถนาไปใชใ้ น
ภปิ รายรว่ มกนั และ ชีวติ ประจาวัน
รนาเสนอผล)
ความร่วมมือ การ
างานเปน็ ทมี และ
าวะผูน้ า

2-3-1

2.3 คำอธบิ ำยรำยวิชำ

2-3-2

คำอธิบำยรำยวชิ ำเพ่มิ เติม

รำยวิชำ ฟสิ ิกส์ 1 รหสั วิชำ ว30201 กลมุ่ สำระกำรเรยี นร้วู ิทยำศำสตร์
ชน้ั มัธยมศึกษำปีที่ 4 ภำคเรียนที่ 1 เวลำ 60 ชว่ั โมง จำนวน 1.5 หน่วยกิต

ศึกษา วิเคราะห์ ทดลอง อธิบาย สารวจตรวจสอบ อธบิ าย และคานวณเกย่ี วกบั ความรู้ทาง
ฟสิ ิกสป์ ระวัติความเป็นมา รวมท้ังพฒั นาการของหลักการและแนวคิดทางฟิสิกส์ท่ีมผี ลต่อการแสวงหา
ความรู้ใหมแ่ ละการพัฒนาเทคโนโลยี วดั และรายงานผลการวดั ปริมาณทางฟสิ ิกส์ได้ถูกต้องเหมาะสม
โดยนาความคลาดเคลื่อนในการวัดมาพิจารณาในการนาเสนอผลรวมทงั้ แสดงผลการทดลองในรปู ของ
กราฟวเิ คราะหแ์ ละแปลความหมายจากกราฟเสน้ ตรง ตาแหนง่ การกระจัดความเรว็ และความเร่ง
ของการเคลื่อนท่ีของวตั ถุในแนวตรงท่มี ีความเรง่ คงตวั จากกราฟและสมการ รวมทั้งทดลองหาคา่
ความเรง่ โน้มถ่วงของโลกและคานวณปริมาณต่าง ๆ ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง แรงลพั ธข์ องแรงสอง แรงที่ทามุมตอ่
กัน แรงทีก่ ระทาต่อวัตถุอิสระทดลอง และอธบิ ายกฎการเคล่อื นทีข่ องนวิ ตันและการใช้กฎการ
เคลือ่ นท่ีของนิวตันกบั สภาพการเคล่ือนที่ของวัตถุ กฎความโนม้ ถว่ งสากลและผลของสนามโนม้ ถว่ งท่ี
ทาให้วัตถุ มีน้าหนัก แรงเสียดทาน ระหว่างผิวสัมผัสของวัตถคุ ู่หนง่ึ ๆ ในกรณที ่ีวัตถุหยุดนงิ่ และวัตถุ
เคลื่อนที่ รวมทั้งทดลองหาสัมประสิทธคิ์ วามเสยี ดทานระหว่างผวิ สัมผสั ของวตั ถคุ ่หู น่ึง ๆ และนา
ความรู้เรอ่ื งแรงเสยี ดทานไปใช้ในชวี ิตประจาวัน

โดยใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสบื เสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ ข้อมลู
และการอธิบาย ความสามารถในการใชท้ ักษะการคิดขั้นสงู ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ
ความสามารถในการใช้ทักษะการสอื่ สารอย่างสร้างสรรคต์ ามช่วงวัย ความสามารถในการแสวงหา
ความรู้ ความสามารถในการแกป้ ัญหา และความสามารถในการใช้เทคโนโลยเี ทยี บเคยี ง
มาตรฐานสากล

เพอ่ื ให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสือ่ สารส่ิงท่เี รียนรู้ มีความสามารถใน
การตดั สินใจ นาความรู้ไปใช้ในชีวติ ประจาวนั อยา่ งเหน็ คุณค่าตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ
พอเพียง มจี ติ วิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสมตามคณุ ลักษณะของโรงเรียน
สุจริต

2-3-3

ผลกำรเรียนรู้ วชิ ำ ฟิสกิ ส์ 1รหสั วชิ ำ ว30201 ชนั้ มธั ยมศึกษำปีที่ 4 ภำคเรียนที่ 1

1. สบื ค้น และอธิบายการค้นหาความรู้ทางฟิสกิ ส์ประวตั ิความเปน็ มา รวมทัง้ พัฒนาการของ
หลกั การและแนวคดิ ทางฟสิ กิ ส์ทมี่ ผี ลต่อการแสวงหาความรู้ใหม่และการพฒั นาเทคโนโลยี

2. วดั และรายงานผลการวดั ปรมิ าณทางฟิสกิ ส์ไดถ้ ูกตอ้ งเหมาะสม โดยนาความคลาดเคลอื่ น
ในการวัดมาพจิ ารณาในการนาเสนอผลรวมทั้งแสดงผลการทดลองในรปู ของกราฟวเิ คราะห์และแปล
ความหมายจากกราฟเสน้ ตรง

3. ทดลอง และอธิบายความสัมพันธร์ ะหว่าง ตาแหน่ง การกระจัดความเรว็ และความเร่ง
ของการเคล่ือนทข่ี องวตั ถุในแนวตรงที่มคี วามเรง่ คงตัวจากกราฟและสมการ รวมทัง้ ทดลองหาค่า
ความเร่งโนม้ ถ่วงของโลกและคานวณปรมิ าณตา่ ง ๆ ท่เี ก่ยี วข้อง

4. ทดลอง และอธบิ ายการหาแรงลัพธข์ องแรงสอง แรงท่ีทามุมต่อกัน
5. เขยี นแผนภาพของแรงทกี่ ระทาต่อวตั ถุอสิ ระทดลอง และอธบิ ายกฎการเคล่อื นท่ีของนิว
ตนั และการใช้กฎการเคล่ือนที่ของนวิ ตันกับสภาพการเคล่อื นทขี่ องวตั ถุ รวมทัง้ คานวณปริมาณตา่ ง ๆ
ทเ่ี ก่ยี วข้อง
6. อธบิ ายกฎความโน้มถ่วงสากลและผลของสนามโน้มถว่ งที่ทาใหว้ ตั ถุ มนี ้าหนัก รวมท้งั
คานวณปริมาณต่าง ๆ ทเี่ กย่ี วข้อง
7. วิเคราะห์ อธิบาย และคานวณแรงเสียดทาน ระหวา่ งผวิ สมั ผสั ของวัตถุคู่หนง่ึ ๆ ในกรณีท่ี
วตั ถุหยุดนิง่ และวัตถเุ คลอ่ื นที่ รวมทงั้ ทดลองหาสมั ประสิทธิ์ความเสยี ดทานระหว่างผวิ สมั ผสั ของวตั ถุคู่
หนึ่ง ๆ และนาความรู้เรื่องแรงเสียดทานไปใช้ในชีวิตประจาวนั

รวมท้ังหมด 7 ผลกำรเรียนรู้

2-4-1

2.4 โครงสรา้ งรายวิชา

2-4-2

โครงสรา้ งหน่วยรายวิชาฟสิ ิกส์ 1 รหัสวิชา ว 30201

กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 จานวน 1.5 หน่วยกิต เวลารวม 60 ชัว่ โมง

หนว่ ยที่ ชือ่ หน่วย ผลการเรียนรู้ สาระสาคญั / เวลา น้าหนกั

การเรียนรู้ ความคิดรวบยอด (ช.ม.) คะแนน

หน่วยที่ 1 การศกึ ษา 1.สบื ค้น และ 1.ฟิสกิ สเ์ ป็นวทิ ยาศาสตรแ์ ขนงหนึ่งทศ่ี ึกษาเกย่ี วกบั สสาร 18 30
วชิ าฟสิ ิกส์ อธบิ ายการค้นหา พลงั งาน อนั ตรกิริยาระหวา่ งสสารกับพลังงาน และแรง
ความรูท้ างฟิสิกส์ พน้ื ฐานในธรรมชาติ การค้นควา้ หาความรทู้ างฟสิ ิกส์ได้มา
ประวตั ิความ จาก การสงั เกตการทดลอง และเก็บรวบรวม ขอ้ มูลมา
เป็นมา รวมทั้ง วเิ คราะห์หรอื จากการสร้างแบบจาลองทางความคิด เพอื่
พัฒนาการของ สรุปเปน็ ทฤษฏี หลกั การหรือกฎ ความร้เู หล่าน้ีสามารถ
หลักการและ นาไปใชอ้ ธบิ ายปรากฎการณธ์ รรมชาติ หรอื ทานายส่งิ ที่
แนวคดิ ทางฟสิ ิกสท์ ี่ อาจจะเกดิ ข้นึ ในอนาคต ประวตั คิ วามเปน็ มาและ
มีผลต่อการ พฒั นาการของ หลกั การและแนวคดิ ทางฟสิ ิกสเ์ ป็นพื้นฐาน
แสวงหาความรูใ้ หม่ ในการแสวงหาความรใู้ หมเ่ พิ่มเตมิ รวมถงึ การพฒั นาและ
และการพฒั นา ความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยีกม็ ีสว่ นในการคน้ หาความรู้
เทคโนโลยี ใหม่ทางวิทยาศาสตรด์ ว้ ย
2.วดั และรายงาน 2.ความรู้ทางฟสิ ิกส์ส่วนหน่งึ ไดจ้ ากการทดลองซ่ึงเกีย่ วขอ้ ง
ผลการวัดปริมาณ กบั กระบวนการวัดปริมาณทางฟิสิกส์ซ่งึ ประกอบดว้ ย
ทางฟิสกิ สไ์ ด้ ตวั เลขและหนว่ ยวัด ปรมิ าณทางฟสิ กิ ส์สามารถวัดได้ดว้ ย
ถูกต้องเหมาะสม เคร่อื งมอื ตา่ ง ๆ โดยตรงหรอื ทางอ้อม หน่วยทีใ่ ช้ในการวัด
โดยนาความ ปริมาณทาง
คลาดเคลอ่ื นในการ วิทยาศาสตรค์ ือ ระบบหนว่ ยระหวา่ งชาตเิ รยี กยอ่ ว่า ระบบ
วดั มาพิจารณาใน เอสไอ ปริมาณทางฟิสิกสท์ มี่ คี า่ นอ้ ยกวา่ หรือมากกว่า 1
การนาเสนอผลรวม มาก ๆ นยิ มเขยี นในรูปของสัญกรณว์ ิทยาศาสตร์หรือเขยี น
ทัง้ แสดงผลการ โดยใชค้ านาหนา้ หนว่ ยของระบบเอสไอ การเขียนโดย
ทดลองในรปู ของ ใชส้ ญั กรณว์ ทิ ยาศาสตร์เป็นการเขยี นเพอื่ แสดงจานวณ
กราฟวิเคราะห์และ
แปลความหมาย
จากกราฟเส้นตรง

เลขนสั าคัญท่ีถูกตอ้ ง การทดลองทางฟสิ ิกส์เก่ียวกับการวัด

ปรมิ าณ

ต่าง ๆ การบันทึกปริมาณทีไ่ ด้จากการวดั ด้วยจานวนเลข

นัยสาคญั ทเี่ หมาะสม และค่าความคลาดเคล่ือนการ

วเิ คราะหแ์ ละการแปลความหมายจากกราฟ เช่น การหา

ความชันจากกราฟเสน้ ตรง จุดตัดแกนพน้ื ทใ่ี ต้กราฟ เป็น

ต้น การวดั ปริมาณตา่ งๆ จะมีความคลาดเคลือ่ นเสมอ

ขน้ึ อยกู่ บั เคร่ืองมือ การวดั และประสบการณข์ องผวู้ ดั ซึง่

คา่ ความคลาดเคลื่อนสามารถแสดงในการรายงานผลทั้งใน

รูปแบบตวั เลขและกราฟ การวดั ควรเลอื กใชเ้ ครือ่ งมือวัดให้

เหมาะสมกับสิ่งท่ีต้องการวดั เช่นการวดั ความยาวของวัตถุ

ทตี่ อ้ งการความละเอยี ดสูง อาจใชเ้ วอร์เนีย์แคลลเิ ปริ ส์

หรือไมโครมิเตอร์ ฟิสกิ สอ์ าศยั คณิตศาสตรเ์ ปน็ เครือ่ งมือใน

2-4-3

การศึกษาคน้ ควา้ และการส่อื สาร

2-4-4

หน่วยที่ ชือ่ หน่วย ผลการเรยี นรู้ สาระสาคัญ/ เวลา นา้ หนกั
หนว่ ยท่ี 2 การเรียนรู้ ความคิดรวบยอด (ช.ม.) คะแนน
3.ทดลอง และอธบิ าย
การเคลอ่ื นที่ ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ ง 3.ปรมิ าณทเ่ี ก่ยี วข้องกบั การเคล่ือนที่ ไดแ้ ก่ ตาแหนง่ 18 30
ในแนวตรง ตาแหนง่ การกระจัด การกระจดั ความเรว็ และ ความเร่ง โดยความเร็วและ
ความเร็ว และความเร่ง ความเร่ง
ของการเคลื่อนทขี่ อง มีทงั้ คา่ เฉลยี่ และคา่ ขณะหน่งึ ซงึ่ คดิ ในช่วง เวลาสนั้ ๆ
วตั ถใุ นแนวตรงท่มี ี สาหรับปริมาณต่าง ๆ ท่เี ก่ียว ข้องกับการเคลื่อนที่แนว
ความเรง่ คงตัวจาก ตรงด้วย ความเรง่ คงตัว มีความสัมพนั ธ์ดังสมการ
กราฟและสมการ
รวมทัง้ ทดลองหาคา่ การอธบิ ายการเคล่อื นทขี่ องวตั ถสุ ามารถเขียนอยู่ใน
ความเรง่ โน้มถว่ งของ รปู กราฟตาแหน่งกับเวลา กราฟความเรว็ กับเวลา หรอื
โลกและคานวณปรมิ าณ กราฟความเร่งกับเวลา ความชนั ของกราฟตาแหน่งกบั
ตา่ ง ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง เวลาเปน็ ความเรว็ ความชนั ของเสน้ กราฟความเร็วกับ
เวลาเป็นความเร่ง และพน้ื ท่ีใต้เส้นกราฟความเรว็ กับ
เวลาเปน็ การกระจัด ในกรณที ่ผี ู้สงั เกตมคี วามเร็ว
ความเร็วของวัตถทุ ี่สงั เกตได้เป็นความเร็วที่เทียบกบั ผู้
สังเกตการตกแบบเสรีเป็นตวั อยา่ งหนึ่งของการเคลือ่ นท่ี
ในหน่ึงมติ ิที่มคี วามเร่งเทา่ กับความเร่งโนม้ ถว่ งของโลก

2-4-5

หนว่ ยท่ี ช่อื หน่วย ผลการเรียนรู้ สาระสาคัญ/ เวลา นา้ หนกั
หนว่ ยที่ 3 การเรียนรู้ ความคิดรวบยอด (ช.ม.) คะแนน
4.ทดลอง และอธบิ าย
แรงและกฎ การหาแรงลพั ธ์ของแรง 4.แรงเป็นปริมาณเวกเตอร์จึงมที ง้ั ขนาดและทิศทาง กรณที ี่ 18 40
การเคล่อื นที่ สอง แรงท่ีทามมุ ตอ่ กัน มแี รงหลาย ๆ แรง กระทาตอ่ วตั ถุ สามารถ หาแรงลพั ธ์ที่
5.เขียนแผนภาพของ กระทาต่อวัตถุ โดยใช้วธิ ีเขียน เวกเตอรข์ องแรงแบบหาง
แรงท่ีกระทาตอ่ วตั ถุ ต่อหัว วธิ ีสร้างรูปส่เี หลย่ี มดา้ นขนานของแรงและวธิ ี
อิสระทดลอง และ คานวณ
อธิบายกฎการเคลอ่ื นที่ 5.สมบัติของวตั ถทุ ตี่ า้ นการเปลี่ยนสภาพการ เคลือ่ นที่
ของนิวตนั และการใช้ เรยี กวา่ ความเฉอื่ ย มวลเปน็ ปริมาณ ทบ่ี อกให้ทราบว่า
กฎการเคล่ือนที่ของนวิ วตั ถุใดมีความเฉื่อยมากหรอื น้อย การหาแรงลัพธ์ท่ีกระทา
ตันกบั สภาพการ ตอ่ วตั ถุสามารถเขยี นเปน็ แผนภาพของแรงทก่ี ระทาต่อ
เคล่อื นที่ของวัตถุ วตั ถุอิสระได้
รวมทงั้ คานวณปริมาณ กรณที ีไ่ มม่ ีแรงภายนอกมากระทา วัตถจุ ะ ไมเ่ ปลย่ี นสภาพ
ต่าง ๆทเ่ี ก่ยี วข้อง การเคล่ือนที่ซึง่ เปน็ ไปตามกฎการเคลื่อนที่ข้อท่ีหน่งึ ของนวิ
6.อธบิ ายกฎความโน้ม ตัน กรณีทมี่ ีแรงภายนอกมากระทาโดยแรงลัพธ์ท่กี ระทา
ถ่วงสากลและผลของ ตอ่ วัตถุไม่เป็นศูนย์ วตั ถจุ ะมีความเรง่ โดยความเรง่ มี
สนามโน้มถ่วงที่ทาให้ ทิศทางเดยี วกับแรงลพั ธ์ ความสัมพนั ธร์ ะหว่างแรงลัพธ์
วัตถุ มนี ้าหนกั รวมทงั้ มวลและความเร่ง เขียนแทนได้ดว้ ยสมการ F=ma ตามกฎ
คานวณปริมาณตา่ ง ๆ การเคลอ่ื นทข่ี ้อท่ีสองของนิวตนั เมือ่ วัตถสุ องก้อนออก
ทีเ่ กย่ี วขอ้ ง แรงกระทาตอ่ กนั แรงระหวา่ งวัตถทุ ั้งสองจะมขี นาดเท่ากนั
7.วเิ คราะห์ อธบิ าย แต่มที ศิ ทางตรงขา้ ม และกระทาต่อวตั ถคุ นละก้อน
และคานวณแรงเสยี ด เรยี กวา่ แรงคู่ กิริยา-ปฏกิ ริ ิยา ซง่ึ เปน็ ไปตามกฎการ
ทาน ระหว่างผวิ สัมผสั เคลื่อนท่ี ข้อทสี่ ามของนวิ ตนั และเกิดขน้ึ ได้ท้งั กรณที ว่ี ัตถุ
ของวัตถุคูห่ นึ่ง ๆ ใน ทัง้ สองสัมผัสกันหรอื ไมส่ มั ผัสกนั กไ็ ด้
กรณีทว่ี ัตถุหยุดนงิ่ และ 6.แรงดึงดดู ระหวา่ งมวลเป็นแรงทีม่ วลสองก้อนดึงดูด ซงึ่
วตั ถุเคลอื่ นท่ี รวมทัง้ กนั และกนั ด้วยแรงขนาดเท่ากันแต่ทศิ ทางตรงข้าม และ
ทดลองหาสัมประสิทธิ์ เปน็ ไปตามกฎความโน้มถ่วงสากล รอบโลกมสี นามโนม้ ถว่ ง
ความเสียดทานระหวา่ ง ทาใหเ้ กิดแรงโน้มถว่ งซงึ่ เปน็ แรงดึงดดู ของโลกท่ีกระทาตอ่
ผวิ สัมผัสของวตั ถุคูห่ นงึ่ วัตถุ ทาใหว้ ัตถมุ นี ้าหนัก
ๆ และนาความร้เู รือ่ ง 7. แรงท่เี กิดขึ้นทีผ่ ิวสัมผสั ระหวา่ งวตั ถสุ องก้อน ในทศิ
แรงเสียดทานไปใชใ้ น ทางตรงข้ามกบั ทิศทางการเคลือ่ นท่ีหรอื แนวโน้มทจ่ี ะ
ชีวิตประจาวนั เคลื่อนที่ของวตั ถุ เรยี กว่า แรงเสยี ดทาน แรงเสยี ดทาน
ระหวา่ งผิวสมั ผสั คหู่ น่งึ ๆ ขึ้นกับสมั ประสทิ ธค์ิ วามเสียด
ทานและแรงปฏกิ ริ ยิ าตง้ั ฉากระหวา่ งผวิ สัมผัสคู่น้นั ๆ
ขณะออกแรงพยายามแตว่ ตั ถุยงั คงอยู่นง่ิ แรงเสียดทานมี
ขนาดเทา่ กบั แรงพยายามท่ีกระทาตอ่ วตั ถุนั้น และแรง
เสียดทานมคี า่ มากทีส่ ุดเม่ือวัตถุ เริ่มเคลื่อนท่ี เรียกแรง
เสียดทานนวี้ ่า แรงเสยี ดทานสถติ แรงเสียดทานทีก่ ระทา
ตอ่ วตั ถุ ขณะกาลังเคลือ่ นที่ เรยี กว่าแรงเสยี ดทานจลน์ โดย
แรงเสยี ดทานทเ่ี กดิ ระหว่างผิวสมั ผสั ของวตั ถุ คู่หน่งึ ๆ การ

2-4-6

เพิ่มหรือลดแรงเสียดทานมีผลต่อการเคล่อื นท่ขี องวตั ถุ ซ่งึ
สามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน

2-4-7

หน่วยท่ี ชือ่ หน่วย ผลการเรียนรู้ สาระสาคญั / เวลา น้าหนกั
การเรียนรู้ ความคดิ รวบยอด (ช.ม.) คะแนน

รวมระหว่างภาค 80
ปลายภาค 20
รวม 100

2-4-8

การวิเคราะห์ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งหน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรยี นร้แู ละกาหนดเวลาเรยี น
รายวิชาฟิสกิ ส์ 1 รหสั วิชา ว 30201 ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 4

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 จานวน 1.5 หนว่ ยกติ เวลารวม 60 ชว่ั โมง

วนั เดอื น ปี สปั ดาห์ที่ คาบท่ี จานวนชว่ั โมง หน่วยที่ แผนท่ี

1 1-3 31 1

2 4-6 31 1

3 5-9 31 2

4 10-12 3 1 2

5 13-15 3 1 3

6 16-18 3 1 3

7 19-21 3 2 4

8 22-24 3 2 4

9 25-27 3 2 5

10 28-30 3 สอบระหว่าง

ภาคเรยี น

11 31-33 3 2 5

12 34-36 3 2 6

13 37-39 3 2 6

14 40-42 3 3 7

15 43-45 3 3 7

16 46-48 3 3 8

17 49-51 3 3 8

18 52-54 3 3 9

19 55-57 3 3 9

20 58-60 สอบปลาย

ภาคเรียน


Click to View FlipBook Version