The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนฟิสิกส์2562-เทอม1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chatreewr chatreewr, 2019-11-14 08:01:49

แผนฟิสิกส์2562-เทอม1

แผนฟิสิกส์2562-เทอม1

3-1-11

สื่อการสอน

เวบ็ ไซตก์ ารสอนฟิสิกส์ ทสี่ รา้ งขนึ้ โดยนายชาตรี ศรมี ว่ งวงค์
ทอี่ ย่ขู องเวบ็ ไซต์ http://gg.gg/ct3110

3-1-12

ใบความรู้ท่ี 1
เรอ่ื ง ปรมิ าณและหน่วยทางฟิสิกส์

1. ความหมายของวิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์ ( Science ) หมายถงึ การศกึ ษาหาความจริงเกย่ี วกับ ปรากฏการณ์ธรรมชาตริ อบๆตัว

เรา ท้ังทม่ี ีชีวติ และไม่มีชวี ติ อยา่ งมีขัน้ ตอนและระเบยี บแบบแผน วิทยาศาสตร์แบ่งออกได้ดงั น้ี

วทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ พฤกษศาสตร์
สตั วศาสตร์

อื่น ๆ

วทิ ยาศาสตร์บริสุทธ์ิ

วทิ ยาศาสตร์กายภาพ ฟิ สิกส์
เคมี
วทิ ยาศาสตร์

วทิ ยาศาสตร์ประยกุ ต์ วศิ วกรรมศาสตร์ อุตุนิยมวทิ ยา
แพทยศาสตร์ ธรณีวทิ ยา
สถาปัตยกรรมศาสตร์ อ่ืน ๆ

อื่น ๆ

1. วิทยาศาสตร์บริสทุ ธิ์ ( pure science ) หรอื วทิ ยาศาสตรธ์ รรมชาติ ( natural science ) เป็น
การศึกษาหาความจริงใหมๆ่ เกย่ี วกับปรากฏการณ์ธรรมชาติ เพอ่ื นาไปสกู่ ฎเกณฑ์และทฤษฎีต่างๆทาง

วิทยาศาสตร์ เช่น กฎการเคล่ือนท่ขี องนิวตัน กฎของโอห์ม ทฤษฎีสัมพทั ธภาพของของไอน์สไตน์ ทฤษฎคี ลน่ื
แม่เหล็กไฟฟา้ ของแมกซเ์ วลล์ เปน็ ตน้ วิทยาศาสตรบ์ รสิ ทุ ธแ์ิ บง่ ออกเปน็ 2 สาขาคอื

ก. วิทยาศาสตร์กายภาพ ( physical science ) ศกึ ษาค้นคว้าเก่ียวกบั สงิ่ ไม่มชี ีวติ เชน่ ฟิสกิ ส์

เคมี ดาราศาสตร์ ธรณวี ทิ ยา เปน็ ต้น
ข. วทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ ( biological science ) ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับสิง่ มีชวี ติ เชน่

พฤกษศาสตร์ สตั วศาสตร์ เป็นตน้

2. วิทยาศาสตร์ประยกุ ต์ ( applied science ) เป็นการนาความรูจ้ ากกฎเกณฑห์ รือทฤษฎขี อง
วทิ ยาศาสตร์บรสิ ทุ ธิ์ มาประยุกตเ์ ปน็ หลกั การทางเทคโนโลยี เพอื่ นาไปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชนแ์ กส่ งั คม เช่น
วศิ วกรรมศาสตร์ แพทยศาสตร์ สถาปตั ยกรรมศาสตร์ เป็นตน้

3-1-13

2. การค้นคว้าหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์
การค้นคว้าหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์เป็นการค้นคว้าหาความจริงจาก

ปรากฎการณ์ธรรมชาติ ซงึ่ สามารถทาได้ 3 แนวทางคือ
1. จากการสงั เกตปรากฏการณธ์ รรมชาติ
2. จากการทดลองในห้องปฏบิ ตั ิการ
3. จากการสรา้ งแบบจาลอง ( model ) ทางความคิด

3. ฟสิ กิ ส์

เป็นวทิ ยาศาสตร์แขนงหน่ึง ศึกษาธรรมชาตขิ องส่งิ ไม่มีชวี ิต ซ่งึ ไดแ้ ก่ การเปล่ียนแปลงทาง
กายภาพและปรากฏการณ์ต่างๆ ที่เกดิ ขน้ึ รอบตัวเรา การคน้ ควา้ หาความรู้ทางฟิสิกส์ทาไดโ้ ดยการ
สังเกต การทดลอง และการเก็บขอ้ มลู มาวิเคราะหเ์ พอ่ื สรุปผลเป็นทฤษฎี หลกั หรอื กฎ ความรเู้ หล่านี้
สามารถนาไปใชอ้ ธบิ ายปรากฎการณ์ธรรมชาติ หรือทานายสิ่งทีอ่ าจเกิดขึ้นในอนาคตและความรนู้ ้ี
สามารถนาไปใชเ้ ป็นพนื้ ฐานในการแสวงหาความรู้ใหม่เพม่ิ เติม และพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ของมนษุ ย์

ความสาคัญของการศึกษาทางด้านฟิสิกส์ คือขอ้ มลู ทม่ี ผี ลตอ่ การเปลยี่ นแปลงกฎและทฤษฎที ่มี ี
อยู่เดมิ ขอ้ มลู ทไี่ ด้น้ีแบง่ ออกเป็น 2 ประเภท คือ

ข้อมูลเชิงคุณภาพ ( qualitative data ) เป็นข้อมูลท่ีไม่เป็นตัวเลข ได้จากการสังเกตตาม
ขอบเขตของการรบั รู้ เชน่ รูปรา่ ง ลักษณะ กล่นิ สี รส เปน็ ตน้

ข้อมลู เชิงปรมิ าณ ( quantitative data ) เปน็ ขอ้ มลู ที่เปน็ ตวั เลข ไดจ้ ากการวัดปรมิ าณต่างๆ
โดยใช้เครือ่ งมือวดั และวิธีการวัดทีถ่ กู ต้อง เชน่ มวล ความยาว เวลา อุณหภมู ิ เปน็ ต้น

4. เทคโนโลยี

เปน็ วิทยาการทเี่ กยี่ วข้องกบั ศลิ ปะ ในการสรา้ ง การผลติ หรือการใช้อุปกรณ์ เพอื่ กอ่ ให้เกดิ
ประโยชนก์ บั มนษุ ย์โดยตรง

5. ปริมาณกายภาพ

ปริมาณกายภาพ ( physical quantity ) เป็นปริมาณทางฟิสิกส์ที่ได้จากข้อมูลเชิงปริมาณ เช่น

มวล แรง ความยาว เวลา อณุ หภูมิ เป็นตน้ ปรมิ าณกายภาพแบง่ ออกเปน็ 2 ชนดิ คือ

1. ปรมิ าณฐาน ( base unit ) เปน็ ปริมาณหลักของระบบหน่วยระหว่างชาติ มี 7 ปรมิ าณ ดงั น้ี

ปริมาณฐาน ชือ่ หน่วย สญั ลกั ษณ์

ความยาว เมตร m

มวล กิโลกรมั kg

เวลา วนิ าที s

กระแสไฟฟ้า แอมแปร์ A

อุณหภูมิอณุ หพลวตั ิ เคลวิน K

ปริมาณสาร โมล mol

ความเขม้ ของการส่องสว่าง แคนเดลา cd

3-1-14

2. ปริมาณอนุพัทธ์ ( derived unit ) เป็นปริมาณที่ไดจ้ ากปริมาณฐานต้ังแต่ 2 ปริมาณข้นึ ไปมา

สัมพันธ์กนั ดังตัวอยา่ งตอ่ ไปนี้

ปรมิ าณอนุพัทธ์ ชอ่ื หน่วย สญั ลักษณ์ เทยี บเป็นหนว่ ยฐาน
ความเร็ว เมตรตอ่ วินาที m/s
เมตรตอ่ วินาที2 m /s2 และอนุพัทธอ์ ่ืน
ความเร่ง 1m
นวิ ตนั N 1m/s = 1s
แรง 1m
1 m / s2 = 1s x 1 s

1 N = 1 kg. m /s2

งาน พลงั งาน จูล J 1 J = 1 N.m

กาลงั วัตต์ W 1 W = 1 J /s
ความดนั พาสคาล Pa 1 Pa = 1 N / m2
ความถ่ี เฮริ ตซ์ Hz 1 Hz = 1 s – 1

6. ระบบหน่วยระหวา่ งชาติ

ในสมัยกอ่ นหน่วยที่ใช้สาหรบั วดั ปริมาณตา่ งๆ มีหลายระบบ เชน่ ระบบองั กฤษ ระบบเมตรกิ และ

ระบบของไทย ทาให้ไม่เปน็ มาตรฐานเดยี วกนั ดังน้นั ปัจจบุ ันหลายๆประเทศ รวมท้งั ประเทศไทยด้วยได้ใช้

หน่วยสากลทเ่ี รียกว่า ระบบหนว่ ยระหวา่ งชาติ ( The Internation System of Unit ) เรยี กยอ่ วา่ ระบบ

เอสไอ ( SI Units ) ซงึ่ ประกอบด้วยหนว่ ยฐาน และหนว่ ยอนุพัทธ์ ดังนี้

1. หนว่ ยฐาน ( base unit ) เปน็ ปริมาณหลักของระบบหนว่ ยระหว่างชาติ มี 7 ปริมาณ ดังนี้

ปริมาณฐาน ช่อื หนว่ ย สัญลกั ษณ์

ความยาว เมตร m

มวล กิโลกรมั kg

เวลา วินาที s

กระแสไฟฟา้ แอมแปร์ A

อณุ หภูมิอณุ หพลวตั ิ เคลวิน K

ปริมาณสาร โมล mol

ความเข้มของการส่องสว่าง แคนเดลา cd

3-1-15

2. หนว่ ยอนุพัทธ์ ( derived unit ) เป็นปริมาณที่ไดจ้ ากปรมิ าณฐานตั้งแต่ 2 ปรมิ าณข้นึ ไปมา

สัมพันธก์ นั ดงั ตวั อยา่ งตอ่ ไปนี้

ปริมาณอนุพทั ธ์ ช่อื หน่วย สัญลกั ษณ์ เทยี บเป็นหนว่ ยฐาน
และอนุพัทธอ์ ื่น
1m
ความเร็ว เมตรตอ่ วินาที m/s 1m/s = 1s
ความเรง่
เมตรต่อวนิ าที2 m /s2 1 m / s2 = 1m
1s x 1 s
แรง นวิ ตนั N 1 N = 1 kg. m /s2

งาน พลงั งาน จูล J 1 J = 1 N.m

กาลงั วตั ต์ W 1 W = 1 J /s
Pa 1 Pa = 1 N / m2
ความดนั พาสคาล
ความถี่ เฮริ ตซ์ Hz 1 Hz = 1 s – 1

7. การบนั ทึกปริมาณทมี่ คี ่ามากหรือน้อย

ผลทไี่ ดจ้ ากการวดั ปริมาณทางวทิ ยาศาสตร์ บางคร้งั มคี ่ามากกวา่ หรือน้อยกวา่ 1 มากๆทาใหเ้ กดิ

ความยุ่งยากในการนาไปใชง้ าน ดังน้นั การบนั ทกึ ปริมาณดงั กล่าว เพื่อใหเ้ กิดความสะดวกในการนาไปใช้

สามารถทาได้ 2 วธิ ี คอื

7.1 เขยี นให้อยใู่ นรูปของจานวนเตม็ หน่งึ ตาแหนง่ ตามดว้ ยเลขทศนิยม แล้วคูณด้วยเลขสบิ ยก

กาลงั บวกหรอื ลบ ดงั นี้ จานวนเตม็ 1 ตาแหนง่ เทา่ กบั จานวนตวั เลขหลังจุด

0.000 x10  n หรอื ตัวเลขระหวา่ งจุด

ตัวอยา่ ง จงเขียนปรมิ าณต่อไปนใ้ี นรปู เลขยกกาลงั

ก. 360,000,000 เมตร ข. 6,539,000 กิโลเมตร

ค. 0.00048 กิโลกรมั ง. 0.00127 วินาที

วิธที า ก. 360,000,000 เมตร = 360,000,000
= 3.6x108 เมตร

ข. 6,539,000 กโิ ลเมตร = 7,539,000
= 6.5x106 กโิ ลเมตร

ค. 0.00038 กิโลกรมั = 0.00038
= 3.8x10 – 4 กโิ ลกรมั

ง. 0.00117 วินาที = 0.00117
= 1.17x10- 5 วนิ าที

3-1-16

7.2 เขียนโดยใช้คา “อปุ สรรค ( prefix)”

คาอปุ สรรค คือ คาท่ใี ช้เตมิ หน้าหนว่ ย SI เพ่ือทาใหห้ น่วย SI ใหญ่ข้นึ หรือเล็กลง ดังแสดงใน

ตาราง

คาอุปสรรค สัญลกั ษณ์ ตัวพหุคูณ คาอปุ สรรค สญั ลักษณ์ ตวั พหุคูณ
เทอรา T 10 12 พโิ ค P 10 -12
จิกะ G 10 9 นาโน n 10 - 9
เมกะ M 10 6 ไมโคร 10 – 6
10 3  10 – 3
กิโล k 10 2 มลิ ลิ m 10 – 2
เฮกโต h 10 เซนติ c 10 - 1
เดคา da เดซิ d

ตวั อย่าง จงเขยี นปรมิ าณตอ่ ไปนี้ โดยใชค้ าอปุ สรรค

ก. ความยาว 12 กิโลเมตร ให้มหี นว่ ยเปน็ เมตร

ข. มวล 0.00035 เมกะกรัม ให้มหี น่วยเป็น มิลลกิ รมั

วธิ ที า

ก. เปลี่ยน กิโล  เมตร ข. เปล่ยี น เมกะ  กิโล  กรมั 

= 12 x 10 3 มลิ ลิ
= 1.2 x 10 4 เมตร = 0.00035 x 10 3 x 10 3 x 10 3
= 0.00035 x 10 9
= ( 3.5 x 10 – 4 ) x 10 9
= 3.5 x 10 5 มิลลกิ รมั

3-1-17

แบบฝกึ ทักษะท่ี 1
เร่ือง ปริมาณและหน่วยทางฟสิ กิ ส์

ช่อื ..........................................................………………….. ชนั้ ม. 4 /......…. ……….เลขที่............….

1. สังเกตหนว่ ยของปริมาณเหล่าน้ีแลว้ บอกว่าเป็นปริมาณฐาน หรือ ปริมาณอนุพทั ธ์

ชอื่ ปริมาณ หนว่ ยปริมาณ ปรมิ าณฐาน หรือ ปริมาณอนพุ ทั ธ์

1. อุณหภมู ิ เคลวนิ ( K )
นิวตันตอ่ ตารางเมตร ( N/m2 )
2. ความดนั

3. เวลา วินาที ( s )
เมตรต่อวินาทียกกาลังสอง ( m /s2)
4. ความเร่ง กโิ ลกรมั .(เมตร)2ตอ่ (วนิ าที)2 ( kg.m2 /s2 )

5. พลงั งาน

6. ปริมาณของสาร โมล ( mole )

2. จงเตมิ ค่าให้ถูกต้อง

1. ระยะทางจาก A ถึง B 3 Mm = ………………………m
2. ความเร็วแสง 3 x 108 m/s = ……………………… Gm/s

3. หนิ ก้อนหน่ึงมมี วล 80 kg = ………………………. g
4. พน้ื ท่ี 200 ( cm )2 = ………………………. m2
5. ถังนา้ ขนาด 5000 ( cm )3 = ………………………. m3
6. หนว่ ยความจาขนาด 2.56x108 B = ……………………… MB

7. เช้ือแบคทีเรียขนาด 0.002 m = ……………………… m

8. ลกู ฟุตบอลมีพลงั งาน 200 J ( จูล ) = ……………………… kJ

9. เวลา 2 ช่วั โมง ( hr ) = ……………………… s

10. รถยนตว์ ่งิ ด้วยขนาด 90 km/hr = ……………………… m/s

3-1-18

1. ให้นักเรยี นเขยี นแสดงความคิดเหน็ ว่า วชิ า ( วิทยาศาสตร์ , ฟสิ ิกส์ , เคมี , ชวี วิทยา และเทคโนโลยี )
เหมอื นหรอื แตกต่างกันอย่างไร

…………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………….
2. ความคิดเหน็ ของกลุ่มเหน็ ว่า วชิ า ( วทิ ยาศาสตร์ , ฟสิ ิกส์ , เคมี , ชวี วิทยา และเทคโนโลยี ) เหมือนหรือ

แตกตา่ งกันอย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………….

3. ความคิดเหน็ ทน่ี ักเรยี นและครูร่วมกันอภิปรายสรปุ เหน็ ว่า วชิ า ( วิทยาศาสตร์ , ฟิสกิ ส์ , เคมี , ชีววิทยา
และเทคโนโลยี ) เหมือนหรือแตกตา่ งกันอย่างไร
………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………….

3-1-19

1. ใหน้ กั เรียนสรุปสาระสาคัญทไ่ี ดจ้ ากการสืบคน้ ข้อมูล และบันทึกลงในสมุด
1. วชิ าวิทยาศาสตร์ ฟสิ กิ ส์ และเทคโนโลยี
2. ปริมาณ และหนว่ ยในระบบ SI

2. ใหน้ กั เรียนเตมิ คา หรือขอ้ ความลงในช่องวา่ งใหถ้ ูกต้อง

คาถาม

1. วิทยาศาสตร์ คือ………………………………..…..…………………………………………………………

2. วิทยาศาสตร์ แบง่ ออกเปน็ ……ชนดิ คอื ……………………………………………………………………..

3. ฟิสิกส์ คือ…………………………………………………………………………………………………….

4. เทคโนโลยี คอื ………………………………………………………………………………………………..

5. ขอ้ มลู ทางวทิ ยาศาสตรม์ ี…..ชนิด คือ…………………………………………………………….…………..

6. ปรมิ าณฐาน มีท้ังหมด……ปริมาณ ได้แก่……………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………….

7. ยกตัวอยา่ งปริมาณอนพุ ัทธ์ มา 5 ปริมาณ……………………………………………………………………..

………………………………………………………………………………………………………………..

8. ระบบ SI คอื …………………………………………………………………………………………………

9. หนว่ ยในระบบ SI หน่วยคือ …………………………………………………………………………………

10. คาอปุ สรรค คือ ..…………………………………………………………………………………………….

11. จงเขียนปรมิ าณตอ่ ไปนใี้ นรูปเลขยกกาลัง

ก. 154,000,000 เมตร ข. 8,139,000 กโิ ลเมตร

ค. 0.000237 กโิ ลกรมั ง. 0.00007 วนิ าที

วธิ ที า ก. 154,000,000 เมตร = 1.54 x 100,000,000

= 1.54 x ….. เมตร

ข. 8,139,000 กิโลเมตร = 8.39 x 1,000,000 กิโลเมตร

= 8.39 x ….. กิโลเมตร
1
ค. 0.000237 กโิ ลกรัม = 2.37x 10,000 กิโลกรัม

= 2.37x…….. กโิ ลกรัม
1 วนิ าที
ง. 0.00007 วินาที = 7.0x 100,000

= 7.0x……… วินาที

12. จงเขียนปรมิ าณต่อไปนี้ โดยใช้คาอปุ สรรค

ก. ความยาว 824 กิโลเมตร ให้มีหนว่ ยเปน็ ไมโครเมตร

ข. มวล 0.00267 เมกะกรัม ใหม้ หี นว่ ยเปน็ เซนตกิ รัม 824x103

วิธที า ก. เปลีย่ น ความยาว 824 กโิ ลเมตร เท่ากับ

เมตร

3-1-20

เปลย่ี น ความยาว 824x103 เมตร เทา่ กับ
824x103x106x10- 6 เมตร
เปลี่ยน ความยาว 824x103x106x10- 6 เมตร เท่ากบั
ตอบ ………x109 ไมโครเมตร หรอื ………x1011 ไมโครเมตร ………… ไมโครเมตร

1
ข. เปลีย่ น มวล 0.00267 เมกกะกรัม เทา่ กับ 2.67x 1,000 เมกกะกรัม
1
เปลี่ยน มวล 2.67x 1,000 เมกกะกรมั เทา่ กบั 2.67x10- 3 เมกกะกรัม

เปลย่ี น มวล 2.67x10- 3 เมกกะกรมั เทา่ กับ 2.67x10- 3x106กรัม
เปลี่ยน มวล 2.67x10- 3x106 กรัม เท่ากบั 2.67x103x102x10- 2 กรมั
เปลี่ยน มวล 2.67x105x10- 2 กรมั เท่ากบั …………… เซนตกิ รัม

ตอบ ……………. เซนตกิ รัม

3-1-21

จงเติมคา่ ให้ถูกต้อง

1. ระยะทางจาก A ถงึ B 12 Gm = ………………………m
2. ความเร็วแสง 3 x 108 m/s
= ……………………… Mm/s

3. หินก้อนหนึ่งมมี วล 450 kg = ……………………….mg
4. พ้ืนท่ี 150 ( mm )2 = ………………………. m2
5. ถงั นา้ ขนาด 250 ( mm )3 = ………………………. m3
6. หนว่ ยความจาขนาด 2.56x1010 B = ……………………… GB

7. เชือ้ แบคทีเรียขนาด 0.02 nm = ……………………… m

8. ลกู ฟุตบอลมีพลงั งาน 200 J ( จลู ) = ……………………… MJ

9. เวลา 10 ช่ัวโมง ( hr ) = ……………………… s

10. รถยนต์วง่ิ ดว้ ยขนาด 72 km/hr = ……………………… m/s

3-1-22

แผนผงั มโนทัศน์ท่ี 1
องค์ความรู้เรื่อง ปริมาณและหน่วยทางฟิสกิ ส์

เจ้าของผลงาน ช่อื ……………………………………………………ชนั้ ……………..เลขท…ี่ …….

3-1-23

แบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรยี นที่ 1
เรอ่ื ง ปรมิ าณและหนว่ ยทางฟิสกิ ส์

ช่ือ…………………………….……………………นามสกลุ ……………………….…………………………ช้นั ……………..เลขท…ี่ …….
คาช้แี จง จงตอบคาถามใหถ้ ูกตอ้ ง โดยใชเ้ วลาในการทาข้อสอบ 10 นาที

จุดประสงค์ที่ 1 สืบคน้ ข้อมลู วิเคราะห์ และอธิบาย เก่ยี วกบั วชิ าฟิสกิ ส์ และปรมิ าณทางกายภาพ ในหน่วย

ระบบระหว่างชาติ ( SI unit )

คาสง่ั จงเลือกคาตอบทถ่ี ูกตอ้ งลงในกระดาษคาตอบ

1. ความร้ทู างวทิ ยาศาสตรส์ ่วนใหญ่ได้มาจากการกระทาในข้อใด

ก. การสงั เกตปรากฏการณ์ธรรมชาติ ข. การทดลองในห้องปฏบิ ตั ิการ

ค. การสรา้ งแบบจาลองทางความคดิ ง. ถกู ทุกข้อ

2. ตอ่ ไปนี้ข้อใดเป็นขอ้ มูลเชงิ คุณภาพ

1. ลกู ฟตุ บอลมลี ักษณะเป็นรูปทรงกลม

2. โต๊ะเรยี นสูงจากพื้นประมาณ 80 เซนติเมตร

3. นา้ ตาลทรายขาวมีรสหวานกวา่ นา้ ตาลทรายแดง

คาตอบทถ่ี ูก คอื

ก. ขอ้ 1 และ 2 ข. ขอ้ 2 และ 3

ค. ขอ้ 1 และ 3 ง. ข้อ 1 2 และ 3

3. ต่อไปนข้ี ้อใดเปน็ ขอ้ มูลเชิงปริมาณ

1. เสือ้ ผ้าสีเขม้ เหมาะสาหรบั คนอ้วน

2. นกั เรียนเดนิ ทางจากบ้านถงึ โรงเรยี นใช้เวลา 20 นาที

3. วนั นอ้ี ากาศร้อนมาก วดั อุณหภมู ไิ ด้ 38 องศาเซลเซียส

คาตอบที่ถูกคือ

ก. ขอ้ 1 และ 2 ข. ข้อ 2 และ 3

ค. ข้อ 1 และ 3 ง. ขอ้ 1 2 และ 3

4. จงพจิ ารณาข้อความต่อไปน้ี

1. มวล เวลา ความยาว เป็นปริมาณฐานทั้งหมด

2. ความเรง่ ความดนั พลงั งาน เป็นปรมิ าณอนุพัทธ์ท้ังหมด

3. ความเรว็ ความถี่ อณุ หภูมิ เป็นปริมาณฐานทั้งหมด

คาตอบที่ถูกคือ

ก. ข้อ 1 และ 2 ข. ข้อ 2 และ 3

ค. ขอ้ 1 และ 3 ง. ข้อ 1 2 และ 3

3-1-24

5. ต้องการวัดความกวา้ งของกล่องดินสอ ควรใชเ้ ครอื่ งมือวัดชนิดใด

ก. สายวดั ข. ไม้บรรทัด

ค. เวอรเ์ นยี ร์ ง. ไมโครมิเตอร์

6. ระบบหนว่ ยระหว่างชาติ ( หนว่ ยเอสไอ ) ไดก้ าหนดหน่วยของเวลาตามข้อใด

ก. ชว่ั โมง ข. วินาที

ค. นาที ง. ถูกทกุ ข้อ

7. ขอ้ ใดเขยี นเป็นปริมาณ 250,000,000 เมตร ในรูปเลขยกกาลังได้ถูกต้อง
ก. 2.5 x 108 เมตร ข. 2.50 x 108 เมตร
ค. 2.500 x 108 เมตร ง. 2.5000 x 108 เมตร

8. มวล 34 กิโลกรัม มีคา่ เท่าใดในหน่วยไมโครกรมั
ก. 3.4 x 1010 g ข. 3.4 x 109 g
ค. 3.4 x 108 g ง. 3.4 x 107 g

9. ปริมาตร 17 ลูกบาศกเ์ ดซเิ มตร เทา่ กบั กีล่ กู บาศก์เมตร
ก. 1.7 x 10- 6 m3 ข. 1.7 x 10- 4 m3
ค. 1.7 x 10- 3 m3 ง. 1.7 x 10- 1 m3

10. รถยนต์คันหนึ่งวิ่งด้วยอัตราเร็ว 54 กโิ ลเมตรต่อช่ัวโมง เท่ากบั ก่เี มตรต่อวนิ าที

ก. 10 m/s ข. 15 m /s

ค. 20 m /s ง. 25 m /s

3-1-25

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน – หลงั เรยี นท่ี 1
เร่ือง ปริมาณและหน่วยทางฟสิ ิกส์

เฉลยแบบทดสอบ
ก่อนเรียนและหลังเรียน
ข้อ คาตอบ
1ง
2ค
3ข
4ก
5ข
6ข
7ก
8ก
9ง
10 ง

3-2-1

แผนจัดการเรยี นร้ทู ี่ 2

3-2-2

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 2
กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ รหสั วิชา ว30201 วิชา ฟิสิกส์ 1

ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 ภาคเรยี นท่ี 1
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 เรอื่ ง ธรรมชาตแิ ละพัฒนาการทางฟิสิกส์

เร่ืองท่ี 2 การวเิ คราะหผ์ ลการทดลอง เวลา 6 ชว่ั โมง
ผ้สู อน นายชาตรี ศรมี ่วงวงค์ โรงเรยี นวัชรวทิ ยา

1. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด
การทดลองทางวทิ ยาศาสตร์จาเปน็ ตอ้ งมีการตรวจสอบ ทดลอง และอธบิ ายเก่ียวกับการบนั ทกึ ข้อมลู

ทกั ษะการทดลอง การนาเสนอข้อมูล การเขียน และการรายงานกราฟ

2. สาระการเรยี นรู้ฟิสิกส์
สาระฟิสิกส์ ขอ้ 1 เขา้ ใจธรรมชาติทางฟิสิกส์ ปรมิ าณ และกระบวนการวัด การเคล่ือนที่แนวตรง แรงและกฎ

การเคล่ือนท่ีของนิวตัน กฎความโนม้ ถว่ งสากล แรงเสียดทาน สมดลุ กลของวัตถุ งานและกฎการอนุรักษ์พลงั งาน
กล โมเมนตมั และกฎการอนรุ ักษ์โมเมนตัม การเคลอื่ นท่ีแนวโค้ง รวมทัง้ นาความรูไ้ ปใช้ประโยชน์

3. ผลการเรียนรู้
2.วัดและรายงานผลการวัดปริมาณทางฟิสิกสไ์ ดถ้ ูกต้องเหมาะสม โดยนาความคลาดเคลอื่ นในการวดั มา

พจิ ารณาในการนาเสนอผลรวมทง้ั แสดงผลการทดลองในรปู ของกราฟวิเคราะห์และแปลความหมายจากกราฟ
เสน้ ตรง

3-2-3

4.สาระการเรยี นรู้
4.1 สาระฟสิ ิกสเ์ พมิ่ เติม
การเคลอ่ื นทแี่ นวตรงเป็นการเคล่ือนทใี่ นแนวใดแนวหน่ึง เช่น แนวราบหรือแนวด่ิงที่มกี ารกระจัด

ความเร็ว ความเรง่ อยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกนั โดยความเรง่ ของวตั ถุหาไดจ้ ากความเร็วท่เี ปล่ยี นไปใน
หนง่ึ หน่วยเวลา

4.2 สาระการเรยี นรทู้ ้องถนิ่
-

4.3 สาระการเรยี นร้เู ก่ียวกบั อาเซยี น
หน่วยการวดั ของชาติอาเซียน

4.4 สาระการเรียนรเู้ ศรษฐกจิ พอเพียง
-
5. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี นและจดุ เนน้ ที่ต้องการพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี น

5.1 สมรรถนะ ความสามารถในการสอื่ สาร
5.2 สมรรถนะ ความสามารถในการคดิ
5.3 สมรรถนะ ความสามารถในการแก้ปัญหา
5.4 สมรรถนะ ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต
5.5 สมรรถนะ ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
5.6 จดุ เนน้ แสวงหาความร้เู พื่อการแก้ปัญหา
5.7 จดุ เนน้ การคดิ วิเคราะห์ข้ันสงู
5.8 จดุ เน้น การใชเ้ ทคโนโลยีเพือ่ การเรียนรู้
5.9 จุดเน้น ทกั ษะชวี ิต
5.10 จดุ เน้น ทักษะการสื่อสารอยา่ งสรา้ งสรรคต์ ามชว่ งวัย

6. คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์
6.1 ซ่อื สัตยส์ จุ รติ
6.2 มวี ินัย
6.3 ใฝเ่ รยี นรู้
6.4 อยอู่ ย่างพอเพยี ง
6.5 มงุ่ มนั่ ในการทางาน
6.6 มีจติ สาธารณะ

3-2-4

7. ชิน้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด/ระหว่างเรียน)
7.1 แบบฝกึ ทกั ษะ (ระหว่างเรยี น)
7.2 แผนผงั มโนทศั น์ Concept mapping (รวบยอด)
7.3 แบบทดสอบหลงั เรียน (รวบยอด)

8.การวัดและประเมนิ ผล

ส่งิ ท่วี ดั ช่วงการวดั วิธกี ารประเมินผล เครื่องมอื เกณฑ์การประเมนิ
ถกู ต้องสมบรู ณ์
8.1 ความรู้ความเขา้ ใจ ระหวา่ งสอน ความถูกต้องของ Concept
Concept mapping ตอบถูกตอ้ ง
ในเนอ้ื หา mapping
คาถาม
8.2 ความรูค้ วามเข้าใจ ระหวา่ งสอน การตอบคาถาม
ในเนือ้ หา ระหวา่ งสอน
ระหวา่ งสอน การตอบคาถาม คาถาม ตอบถูกต้อง
8.3 ทักษะและ
กระบวนการ การตอบคาถาม คาถาม วเิ คราะหต์ าม
สภาพคาตอบ
8.4 เจตคติ

8.5 ผลการเรยี นรู้ ระหวา่ งสอน การทาแบบฝกึ ทักษะ แบบฝึกทกั ษะ ทาถูกรอ้ ยละ 70 ขึ้นไป
8.6 ผลสัมฤทธิ์ สิ้นสุดการสอน
คะแนนสอบหลงั เรียน แบบทดสอบหลังเรียน ไดค้ ะแนน

ร้อยละ 70 ขึ้นไป

9. กิจกรรมการเรียนรู้
ข้ันสร้างความสนใจ (Engagement)
9.1 ครเู ปดิ เพาเวอรพ์ อยตจ์ ากเว็บไซตส์ อนฟสิ ิกส์ ทีเ่ ว็บไซต์ http://gg.gg/ct3110 เพื่อเปิดวดี ิทัศนใ์ ห้

นักเรยี นศกึ ษา เร่ือง การวิเคราะห์ผลการทดลอง
9.2 ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกันและเปลยี่ นเรยี นรูจ้ ากเน้ือหาในวีดทิ ศั นท์ ่ไี ดด้ รู ่วมกัน
9.3 ครูตัง้ คาถามนักเรยี นเกี่ยวกบั การวิเคราะหผ์ ลการทดลอง
9.4 นกั เรียนตอบคาถามของครูอยา่ งอสิ ระ และร่วมแลกเปล่ียนเรียนรซู้ ่ึงกันและกัน
9.5 นักเรยี นทาแบบทดสอบก่อนเรียนออนไลน์จากเวบ็ ไซต์การสอนฟสิ กิ ส์ จานวน 10 ข้อ
ขน้ั สารวจและค้นหา (Exploration)
9.6 ครแู จง้ ใหน้ กั เรียนทราบถึงเนื้อหาทจี่ ะเรยี น จุดประสงค์ กระบวนการเรียนที่จะดาเนินการโดยยอ่
9.7 ครใู หน้ ักเรียนศึกษาเน้ือหาความรู้จากเพาเวอร์พอยต์จากเว็บไซต์สอนฟสิ ิกส์ โดยให้นักเรียนสบื ค้น

ข้อมูลและศึกษาข้อมลู เบื้องต้น
9.8 ครสู าธิตวิธีการแกป้ ัญหาโจทย์ใหก้ บั นกั เรยี น ตามโจทย์ตวั อย่างในเพาเวอร์พอยต์ จานวน 3 ข้อ
9.9 นักเรยี นฝึกทักษะการทาแบบฝึกหัดจากแบบฝกึ หดั ตามท่ีครรู ะบุใหจ้ านวน 5 ขอ้
9.10 ครเู ฉลยแบบฝึกหดั อย่างละเอียดพร้อมแลกเปลย่ี นเรียนรู้กับนักเรยี นอย่างเป็นกนั เอง โดยกระตุ้น

ด้วยคาถามเพ่ือให้นักเรียนคดิ อย่างเป็นขนั้ ตอน

3-2-5

ข้ันอธิบายและลงข้อสรปุ (Explanation)
9.11 นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มสรุปหลกั การในการแก้โจทยใ์ นแบบฝึกหัด
9.12 นกั เรียนแลกเปลีย่ นเรียนรู้กนั ภายในกลมุ่ และระหว่างกล่มุ
9.13 นกั เรียนแตล่ ะคนสรปุ หลกั การในการแก้โจทย์ของตนเอง
9.14 ครแู ละนักเรียนร่วมกันอภปิ รายเพอื่ สรปุ การแก้ไขปัญหาโจทย์อย่างเปน็ ข้ันตอน นักเรยี นบนั ทึก
ขอ้ มูลลงในสมดุ บันทึก
9.15 นักเรียนทาแบบฝึกทักษะเพ่ิมเติมตามหลักการท่ีไดจ้ ากการสรปุ ร่วมกนั ระหว่างครแู ละนักเรยี น
ขน้ั ขยายความรู้ (Elaboration)
9.16 ครูใชค้ าถามนาเพือ่ ให้นักเรยี นนาหลักการที่สรุปได้มาประยกุ ตใ์ ชง้ านในสถานการณ์โจทยท์ ม่ี ีความ
ซับซ้อนมากข้ึน และเปิดโอกาสใหน้ กั เรยี นซกั ถามและแลกเปลี่ยนเรียนร้ใู นเรอื่ งที่เรียน
9.17 นักเรียนทดลองทาแบบฝกึ หดั ทีห่ ลากหลาย โดยนาข้อสอบโอเน็ต ข้อสอบ PAT2 ขอ้ สอบคดั เลือก
เข้ามหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ ข้อสอบคัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัยขอนแก่น มาใหน้ ักเรียนฝกึ ทาโดยครูจัดเตรยี มไวใ้ น
เพาเวอร์พอยตป์ ระกอบการสอนในเว็บไซต์การสอนฟสิ ิกส์
9.18 นกั เรยี นทาแบบฝึกทักษะเพ่ิมเติมโดยมีครคู อยให้คาแนะนา
9.19 นักเรยี นตรวจคาตอบและศกึ ษาเพ่ิมเติมจากเวบ็ ไซต์การสอนฟิสกิ ส์
9.20 ครสู ั่งแบบฝึกหดั ใหน้ กั เรียนกลับไปฝกึ ทาเป็นการบ้าน
ข้นั ประเมิน (Evaluation)
9.21 นักเรียนเขยี น Concept mapping ของเร่อื งทเ่ี รียนลงในสมุดแลว้ ถ่ายรปู ส่งใน line หอ้ งเรียน
ฟสิ กิ ส์และครปู ระเมนิ ความเข้าใจเนอ้ื หาของนักเรยี นจาก Concept mapping ที่นกั เรยี นส่งมา
9.22 ครูต้งั คาถามเพ่ือใหน้ กั เรียนตอบเพ่ือตรวจสอบความเข้าใจในเนื้อหาทีเ่ รียนอีกครง้ั
9.23 นกั เรียนทาขอ้ สอบออนไลนผ์ า่ นโทรศพั ท์มือถอื จานวน 10 ขอ้ โดยใช้เวลาในการทาขอ้ สอบ
10 นาที
9.24 ครูแจง้ ผลการสอบทนั ที โดยสง่ คะแนนให้นักเรยี นทาง line หอ้ งเรยี นฟิสกิ ส์
9.25 นักเรียนทีม่ ีคะแนนไมถ่ ึงร้อยละ 50 ครใู ห้นักเรียนกลับไปทบทวนเน้ือหาเพาเวอร์พอยตอ์ ีกครงั้
และนดั หมายใหส้ อบออนไลนใ์ หม่อีกครงั้ ในการเรียนคาบต่อไป ในสว่ นของนกั เรยี นที่มีคะแนนเกนิ ร้อยละ 50
และตอ้ งการศกึ ษาทบทวนเพิ่มขน้ึ ครูแนะนาให้ศึกษาซา้ ในเพาเวอร์พอยต์และแนะนาเว็บไซตเ์ พอ่ื ศึกษาดว้ ย
ตนเองเพิ่มเติม
ขนั้ การบูรณาการ (Integration)
9.26 ครนู าเสนอเกย่ี วกับท้องถ่นิ สอบถามนักเรยี นเกี่ยวกบั การใช้หน่วยการวัดในกลุ่มประเทศอาเซียน
จากฐานขอ้ มลู สงั คม-วฒั นธรรมเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ จากเวบ็ ไซต์ ศนู ย์มานษุ ยวิทยาสิรินธร
http://www.sac.or.th/databases/southeastasia/index.php
9.27 นักเรยี นนาเสนอการใช้หนว่ ยการวดั ในกลุม่ ประเทศอาเซยี นตามข้อมูลที่สืบคน้ ได้ โดยให้นักเรยี น
แลกเปล่ยี นกนั นาเสนอข้อมลู หนา้ หอ้ งเรียน
9.28 ครูและนักเรียนรว่ มกนั สรุปเก่ียวกบั การใช้หนว่ ยการวัดในกลุ่มประเทศอาเซยี นทเี่ กี่ยวข้องกับการ
ใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์และฟสิ ิกสเ์ ข้ามาประยกุ ต์ใช้

3-2-6

10. สอ่ื การเรียนรู้/แหลง่ เรียนรู้ จานวน ลาดับขน้ั ตอนการใช้ส่อื

รายการสือ่ 1 เวบ็ ไซต์ ทุกขัน้ ตอน
10.1 เว็บไซต์การสอนฟิสิกส์
ทผี่ ลิตโดยนายชาตรี ศรมี ว่ งวงค์ 1 ไฟล์ ทกุ ข้นั ตอน
10.2 เพาเวอรพ์ อยต์การสอนฟสิ กิ ส์ 1 กลุ่ม ทุกขั้นตอน
10.3 กลมุ่ line การสอนฟิสกิ ส์ 1 ชดุ ทกุ ข้นั ตอน
10.4 ใบความรทู้ ี่ 2 1 ชุด ขัน้ ขยายความรู้ / ขน้ั ลงข้อสรุป
10.5 แบบฝกึ หดั ท่ี 2 1 ชดุ ข้ันสรา้ งความสนใจ
10.6 แบบทดสอบก่อนเรยี นออนไลน์ 1 ชุด ขนั้ ประเมิน
10.7 แบบทดสอบหลังเรยี นออนไลน์

11. กจิ กรรมเสนอแนะ

รายการ วธิ ีการ
11.1 ปรับปรุง-แก้ไขขอ้ บกพรอ่ งของผ้เู รียน
นักเรยี นทีม่ ีคะแนนไม่ถึงร้อยละ 50 ครใู หน้ ักเรียนกลับไป
11.2 สง่ เสริมความร้คู วามสามารถของผู้เรียน ทบทวนเน้ือหาเพาเวอร์พอยต์อกี คร้ังและนดั หมายให้
สอบออนไลนใ์ หมอ่ ีกครั้งในการเรียนคาบตอ่ ไป

นกั เรียนท่ีมีคะแนนเกินร้อยละ 50 และตอ้ งการศึกษา
ทบทวนเพิ่มขน้ึ ครแู นะนาให้ศึกษาซา้ ในเพาเวอร์พอยต์
และแนะนาเวบ็ ไซต์เพื่อศึกษาด้วยตนเองเพิ่มเติม

3-2-7

12.บนั ทึกผลหลังการสอน
12.1 ความก้าวหน้าในการเรยี นการสอน

จานวน คะแนน คะแนนเฉลยี่ คะแนนเฉลย่ี คะแนนเฉลย่ี E1/E2 ความก้าวหนา้
นักเรยี น เต็ม ก่อนเรียน ระหวา่ งเรยี น ในการเรยี น
หลงั เรียน
145 10 2.12 8.12 63.50
8.47 81.20/84.70

สตู ร ร้อยละความกา้ วหนา้ ในการเรียน = คะแนนหลังเรียน – คะแนนกอ่ นเรยี น x 100
คะแนนเตม็

สตู ร หาประสิทธภิ าพของสื่อ = E1/ E2 (ตามเกณฑ์ 80/80)
E1 = ประสทิ ธิภาพของกระบวนการ (ทาแบบฝึก)
E2 = ประสิทธภิ าพของผลลพั ธ์ (สอบหลงั เรยี น)
ประสิทธภิ าพของกระบวนการ = คะแนนเฉลยี่ ระหวา่ งเรียน x 100
คะแนนเต็ม

ประสทิ ธภิ าพของผลลัพธ์ = คะแนนเฉล่ยี หลังเรยี น x 100
คะแนนเตม็

12.2 กระบวนการจัดการเรียนการสอน
1.ขั้นสรา้ งความสนใจ นักเรียนร้อยละ 90 ให้ความสนใจคลปิ เกีย่ วกับการสาธิตตวั อยา่ งของ

ครูเก่ียวกับสมดุล และใหค้ วามสนใจคลิปทีค่ รเู ปิดใหด้ ู โดยมนี กั เรยี นบางส่วนสนใจซักถามเพิ่มเติม และรว่ มกัน
กาหนดประเด็นของเรือ่ งท่ตี ้องการศึกษาเกี่ยวกบั การวิเคราะหผ์ ลการทดลอง

2.ข้ันสารวจและค้นหา นกั เรียนร้อยละ 90 ร่วมกันศึกษาเกย่ี วกับเน้อื หาของสภาพสมดุล โดย
มกี ารซักถามและรว่ มกนั หาคาตอบ เขา้ ใจในประเดน็ ท่ีสนใจจะศึกษา รว่ มกนั วางแผนกาหนดแนวทางการสารวจ
ตรวจสอบ ต้ังสมมติฐาน กาหนดวิธีการทดลองและทาการศึกษาเน้ือหาจากหนงั สือเรยี นและใบงาน มีการสบื คน้
ข้อมลู จากเวบ็ ไซต์ต่างๆ เพื่อลงข้อสรุปเก่ียวกับการวเิ คราะห์ผลการทดลอง

3.ขั้นอธบิ ายและลงข้อสรุป นักเรียนรอ้ ยละ 50 ร่วมกนั อภปิ รายเกย่ี วกับเรือ่ งท่ีเรียนและ
ร่วมกนั สรปุ เก่ยี วกบั การวเิ คราะหผ์ ลการทดลอง

4.ขน้ั ขยายความรู้ นักเรยี นร้อยละ 50 ร่วมกันอธบิ ายสถานการณใ์ นชีวติ ประจาวันโดยใช้
ข้อสรุปเกย่ี วกับการวเิ คราะห์ผลการทดลอง

5.ขัน้ ประเมิน นักเรียนร้อยละ 75 สามารถนาหลักการและความรูท้ เี่ รียนตอบคาถามและ
สถานการณ์ที่ครูต้ังขึ้นได้

3-2-8

บรรยากาศการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนการวเิ คราะหผ์ ลการทดลอง

12.3 ผลการสอน
( / ) สอนได้ตามแผนการจดั การเรยี นรู้
( ) สอนไม่ไดต้ ามแผนการจัดการเรียนรู้ เนื่องจาก...............................................................

12.4 ปญั หาและอุปสรรค
1. นกั เรยี นร้อยละ 30 วเิ คราะหโ์ จทย์ฟสิ กิ ส์ไมค่ ่อยได้
2. นกั เรียนรอ้ ยละ 50 ยังแกส้ มการคณิตศาสตร์ในโจทยไ์ ม่ได้
3. นักเรียนร้อยละ 20 คดิ เลขไมถ่ ูกต้อง
4. นักเรยี นทาใบงานไมเ่ สร็จตามเวลา

12.5 แนวทางการแก้ไขปัญหา
1. ใหน้ ักเรียนศกึ ษาตวั อยา่ งจากหนังสอื คมู่ ือเพิ่มเติม
2. นกั เรียนฝึกแกส้ มการคณติ ศาสตร์
3. นักเรียนฝกึ คดิ เลขโดยให้ทดลองเล่นเกม 180 ไอควิ
4. ปรับปรงุ ใบงาน

ลงชอื่ ..............................................ผ้สู อน
(นายชาตรี ศรมี ่วงวงค์)

3-2-9

ข้อเสนอแนะของหวั หน้ากลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์
.................................................................... ..........................................................................................
............................................................................................................................. .................................
................................................................................................................................. .............................

ลงชื่อ ........................................................
(นางตวงรัตน์ อ้นอิน)

ตาแหนง่ หวั หน้ากลุม่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
วนั ท.่ี .........เดอื น..........................พ.ศ............

ข้อเสนอแนะของรองผู้อานวยการกลุ่มบรหิ ารงานวิชาการ
..............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................
............................................................................................................................. .................................

ลงช่ือ ........................................................
(นายวิเชียร ยอดนิล)

ตาแหน่ง รองผู้อานวยการกลุ่มบรหิ ารงานวิชาการ
วนั ที่..........เดอื น..........................พ.ศ............

ขอ้ เสนอแนะของผอู้ านวยการโรงเรยี น
......................................................................................... .....................................................................
............................................................................................................................. .................................
........................................................................................................................................................ ......

ลงชอื่ ........................................................
(นายไพชยนต์ ศรีมว่ ง)

ตาแหนง่ ผอู้ านวยการโรงเรียนวัชรวทิ ยา
วนั ท่ี..........เดือน..........................พ.ศ............

3-2-10

ภาคผนวก
ประกอบแผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ 2

3-2-11

สื่อการสอน

เวบ็ ไซตก์ ารสอนฟิสิกส์ ทสี่ รา้ งขนึ้ โดยนายชาตรี ศรมี ว่ งวงค์
ทอี่ ย่ขู องเวบ็ ไซต์ http://gg.gg/ct3110

3-2-12

ใบความรูท้ ี่ 2
เร่ือง การวเิ คราะห์ผลการทดลอง

การทดลองในวิชาฟิสกิ ส์
สงิ่ ทส่ี าคัญประการหนึ่งในการทดลองคือการบันทึกข้อมูลตามความเป็นจริง การบันทึกข้อมูลนั้นมีได้ 2

ลกั ษณะ คอื การบนั ทึกขอ้ มลู เชิงคุณภาพ ( บอกถึงลักษณะ และคณุ สมบัติต่างๆที่สังเกตได้จาการทดลอง ) และ
การบันทึกข้อมูลเชงิ ปริมาณ ( บอกถึง จานวนมากน้อยในลักษณะเป็นตัวเลข )

ในการทีน่ ี้จะกลา่ วถึงการบนั ทึกตวั เลขท่ีไดจ้ ากเคร่อื งมอื ตา่ งๆในการทดลอง ดงั น้ี

1. เลขนัยสาคญั
คือ ตัวเลขที่ได้จากการวัดโดยใช้เคร่ืองมือท่ีเป็นสเกล โดยเลขทุกตัวที่บันทึกจะมีความหมายส่วน

ความสาคัญของตวั เลขจะไมเ่ ท่ากนั ดังนัน้ เลขทุกตวั จงึ มี นยั สาคัญ ตามความเหมาะสม
เชน่ วัดความยาวของไมท้ ่อนหนึ่งได้ยาว 121.54 เซนตเิ มตร เลข 121.5 เปน็ ตัวเลขที่วัดได้จริง ส่วน

0.04 เปน็ ตัวเลขทป่ี ระมาณขน้ึ มา เราเรยี กตวั เลข 121.54 นีว้ า่ เลขนัยสาคญั และมีจานวนเลขนัยสาคญั 5 ตวั

หลักการพิจารณาจานวนเลขนยั สาคญั
1. เลขทกุ ตวั ถอื เป็นเลขทมี่ นี ัยสาคญั
ยกเวน้ 1. เลข 0 ( ศนู ย์ ) ทีต่ ่อท้ายเลขจานวนเต็ม เช่น 120 ( มีเลขนัยสาคัญ 2 ตัว ) , 200
( มเี ลขนยั สาคัญ 1 ตวั )
2. เลข 0 ( ศูนย์ ) ทีห่ น้าตวั เลข เช่น 0.02 ( มีเลขนัยสาคญั 1 ตัว )
2. เลข 0 ( ศนู ย์ ) ที่อยู่ระหวา่ งตัวเลขถอื เป็นเลขนัยสาคัญ เช่น 1.02 ( 3 ตวั ) , 10006 ( 5 ตัว )
3. เลข 0 ( ศูนย์ ) ทอี่ ยูท่ ้ายแตอ่ ยู่ในรูปเลขทศนิยม ถอื ว่าเป็นเลขนัยสาคญั เชน่ 1.200 ( 4 ตัว )
4. เลข 10 ที่อยูใ่ นรปู ยกกาลงั ไมเ่ ปน็ เลขนยั สาคัญ เชน่ 1.20 x105 ( 3 ตวั )

การบนั ทกึ ตวั เลขจากการคานวณ
1. การบวกลบเลขนัยสาคัญ โดยบวกลบเลขนัยสาคัญก่อน เม่ือได้ผลลัพธ์ ให้มีจานวน ทศนิยม

เท่ากับจานวนทที่ ศนยิ มนอ้ ยท่สี ุด เชน่ 12.03 + 152.246 + 2.7 = 166.976 ผลลพั ธ์ คือ 167.0
2. การคูณหารเลขนัยสาคัญ โดยคูณหารเลขนัยสาคัญก่อน แล้วพิจารณา ผลลัพธ์ให้มี จานวนเลข

นยั สาคญั เทา่ กบั ตวั เลขทน่ี ัยสาคัญน้อยท่สี ุดที่คูณหารกัน เช่น 54.62 x2.5 = 136.550 = 1.36x102 ผลลัพธ์
คอื 1.4 x 102

2. ความไม่แน่นอนในการวัด
ในการวัดปริมาณต่างๆ ด้วยเคร่ืองย่อมมี ความผิดพลาด ( error ) หรือ ความคลาดเคลื่อน อยู่เสมอ

เช่นวัดความหนาของท่อนไม้ ได้ 2.5 เซนติเมตรกว่า ๆ แต่ไม่ถึง 2.6 เซนติเมตร ดังนั้นจึงควรบันทึก 2.54 หรือ
2.55 หรอื 2.56 โดยตวั สดุ ท้าย ( 4 , 5 , 6 ) เป็นการคาดคะเน การบันทึกเราควรบันทึกให้มีความคลาดเคล่ือน

3-2-13

น้อยท่ีสุด เราควรบันทึกดังนี้ 2.55  0.01 โดย 2.55 คือปริมาณท่ีวัดได้ ( A ) และ  0.01 คือ ค่า

ความคลาดเคล่ือน หรือ ความไม่แน่นอนของการวัด ( A )

สรุปได้ว่า การบันทึกตัวเลขที่ได้จากการวัด ย่อมมีความผิดพลาด จึงควรแสดงผลการวัดเป็น ( A 

A )

การบันทึกผลการคานวณตัวเลขท่ีมคี วามไม่แนน่ อนในการวัด

1. การบวก หรือ ลบกัน ความคลาดเคลื่อนของผลลัพธ์ต้องคิดจากปริมาณความคลาดเคลื่อนจริง มา

บวกกนั เสมอ เช่น

1.1 ( A  A ) + ( B  B ) = ( A + B )  ( A + B )

1.2 ( A  A ) - (2B  2 B ) = ( A - 2B ) ( A + 2 B )

2. การคูณ หรือ หารกัน หาเปอร์เซนต์ ( % ) ความคลาดเคล่ือนของผลลัพธ์จากการคูณหรือหาร โดย

นาเปอรเ์ ซนต์ ( % ) ของความคลาดเคล่ือนของแตล่ ะปรมิ าณมาบวกกัน เช่น

หาเปอร์เซนตข์ องความคลาดเคลอ่ื นพจิ ารณาดังน้ี A
A
1. ( A  A ) หา เปอรเ์ ซน็ ต์ ( %) ของความคลาดเคล่ือน = x 100 %

2. ( B  B ) หา เปอรเ์ ซ็นต์ ( %) ของความคลาดเคลือ่ น = B x 100 %
B
C
3. ( C  C ) หา เปอร์เซ็นต์ ( %) ของความคลาดเคลื่อน = C x 100 %

2.1 ( A  A )  ( B  B ) = (AB)( A x 100 % + B x 100 % )
A B
A B
2.2 ( A  A ) / ( B  B ) = ( A / B )  ( A x 100 % + B x 100 % )

2.3 ( A  A )  ( B2  2BB ) = ( A  B2 )  ( A x 100 % + 2 B x 100 % )
A B
1 C
2.4 ( A  A )  ( B  B ) / ( C  2 C )

= (AB/ C) ( A x 100 % + B x 100 % + 1 C x 100 % )
A B 2 C

3-2-14

ตัวอย่าง เชือกสองเส้นยาว 16.32  0.02 เซนติเมตร และ ยาว 20.68  0.01 เซนติเมตร อยากทราบว่า ถ้า

นามาวางต่อกนั จะยาวเท่าใด และ เชือกสองเส้นน้มี ีความยาวตา่ งกนั เทา่ ใด

วิธีทา วางต่อกนั จะยาว

จาก ( A  A ) + ( B  B ) = ( A + B )  ( A + B )

( 16.32  0.02 ) +( 20.68  0.01 ) = ( 16.32 + 20.68 )  ( 0.02 +

0.01 )

= 37.00  0.03 เซนตเิ มตร

เชือกสองเสน้ นีม้ คี วามยาวต่างกนั

จาก ( B  B ) - ( A  A ) = ( A - B )  ( A + B )

( 20.68  0.01 ) - ( 16.32  0.02 ) = (20.68 - 16.32 )  ( 0.02 + 0.01 )

= 4.36  0.03 เซนตเิ มตร

ตัวอย่าง แผ่นพลาสติกรูปสี่เหล่ียมผืนผ้า มีด้านกว้าง 36.20  0.05 เซนติเมตร และมีด้านยาว 96.45 0.05

เซนติเมตร แผ่นพลาสติกนี้จะมพี ื้นท่เี ปน็ เท่าไร

วธิ ีทา แผน่ พลาสติกนีจ้ ะมีพ้ืนทเี่ ปน็ A B
A B
( A  A )  ( B  B ) = (AB)( x 100 % + x 100 % )

( 36.20  0.05 )  ( 96.45 0.05 ) = ( 36.20  96.45 ) ( 0.05 x 100 % + 0.05 x 100 % )
36.20 96.45

= 3491.49  ( 0.19 % )
พ้นื ท่แี ผ่นพลาสติก = 3.49.49  6.63 cm2

3-2-15

กราฟในวชิ าฟสิ กิ ส์
กราฟที่มักพบในวิชาฟิสิกส์ส่วนใหญ่ได้แก่ กราฟเส้นตรง และกราฟเส้นโค้ง ( กราฟพาราโบลา ,

กราฟไฮเปอร์โบลา )
กราฟเส้นตรง เป็นกราฟที่แสดงความสัมพันธ์เชิงเส้นของค่า ในแกน X และ แกน Y คือ X และ Y มี

กาลงั หน่ึงท้งั คู่ เช่น

( X2 , Y2 )

 ( X1 , Y1 )
ความสัมพันธข์ องแกน X และ Y จะมีความหมายในการแปลข้อมูล โดยส่วนท่ีสาคัญของกราฟอย่างหน่ึง

คอื ความชัน และพืน้ ที่ใตก้ ราฟ

จากสมการ กราฟเสน้ ตรง y = mx + c y2 - y1
x2 -x1
เมอ่ื m คือ ความชัน ( m = tan , m= )

c เป็นค่าคงตวั ตัดที่แกน y

ตวั อย่าง วัตถุหนึ่งเคลอ่ื นท่ีด้วยความเรง่ คงท่ี โดยมีความสัมพันธร์ ะวา่ งความเรว็ และเวลา ดงั นี้

v = 2t + 6 ความสัมพันธ์นี้ เม่ือนาไปเขียนกราฟจะได้กราฟลักษณะใด ขณะเริ่มสังเกตนัตถุน้ีมีความเร็ว

หรือไม่ อยา่ งไร และความเรง่ ของวัตถนุ ้มี ีค่าเทา่ ไร

วธิ ีทา จากสมการความสัมพนั ธ์ v = 2t + 6 จะไดว้ ่า v และ t จะยกกาลงั หน่ึง จึงเป็นกราฟเสน้ ตรง

และมสี มการ รูปเดยี วกบั กราฟเส้นตรง คอื y = mx + c จะไดก้ ราฟเสน้ ตรงลักษณะดังน้ี

v ขณะเรม่ิ สังเกต คือ เวลา 0 วินาที วตั ถุมีความเรว็ = 6 เมตร/วินาที
ความเร่งคือการเปลีย่ นแปลงความเร็วในหน่ึงหน่วยเวลา

พิจารณาจากกราฟเป็นกราฟเสน้ ตรงความชันคงทแี่ สดงวา่ มกี าร
( 0 , 6 ) เปลี่ยนแปลงความเรว็ อย่างสม่าเสมอ ดังนั้น ความเร่ง = 2 เมตร/(วนิ าที)2

กราฟพาราโบลา เปt็นกราฟท่ีแสดงความสัมพันธ์ของปริมาณหน่ึงเป็นสัดส่วนโดยตรงกับอีกปริมาณ

หนึง่ ยกกาลงั สอง เช่น
สมการกราฟพาราโบลา y = mx2
y = mx2
สมการในวิชาฟสิ กิ สท์ ่เี กย่ี วข้อง
1
1. Ek = 2 mv2

2. S = ut + 1 at2
2

3-2-16

กราฟไฮเปอรโ์ บลา เป็นกราฟทแี่ สดงความสมั พันธใ์ นลกั ษระท่ปี รมิ าณหนงึ่ แปรผกผนั กับ

อีกค่าหน่งึ โดยปริมาณทัง้ สองมีกาลงั หน่งึ ท้งั คู่ เช่น k
x
สมการกราฟไฮเปอรโ์ บลา xy = k หรอื y =

สมการในวิชาฟสิ ิกสท์ เ่ี ก่ียวข้อง

F = ma ถา้ พิจารณา ที่ F และ a โดย m คงที่ จะได้กราฟ เสน้ ตรง
1
ถ้า พจิ ารณา m และ a โดย F คงท่ี จะได้ a  m

และไดก้ ราฟในลักษระเปน็ กราฟไฮเปอรโบลา

3-2-17

แบบฝกึ ทักษะที่ 2
เร่อื ง การวเิ คราะหผ์ ลการทดลอง

ช่อื ..........................................................………………….. ช้นั ม. 4 /......…. ……….เลขท่ี............….

1. นักเรยี นคนหน่ึงบนั ทึกตัวเลขจากการทดลองเป็น 0.0825 กโิ ลกรมั , 650 x10- 2 เมตร , 20.5 เซนติเมตร

, 8.00 วนิ าที และ 200 ลูกบาศก์เซนติเมตร จานวนตวั เลขเหล่านี้มีเลขนัยสาคญั กตี่ วั

ตอบ 0.0825 กิโลกรมั มเี ลขนัยสาคัญ…………….ตวั
650 x10- 2 เมตร
มีเลขนยั สาคญั …………….ตวั

20.5 เซนตเิ มตร มเี ลขนยั สาคญั …………….ตวั

8.00 วนิ าที มเี ลขนัยสาคญั …………….ตวั

200 ลกู บาศก์เซนติเมตร มีเลขนัยสาคญั …………….ตวั

2. จงหาผลลัพธ์ของ 3.50 + 4.95 – 2.52 ตามหลกั เลขนยั สาคัญ
7.0
วธิ ที า
3.50
7.0 + 4.95 – 2.52 = ( ………… ) + 4.95 – 2.52

= ……………………………

ผลลัพธ์ตามหลกั เลขนัยสาคัญ = …………………………… ตอบ

3. จงหาผลบวกและผลต่างของจานวน ( 3.45  0.02 ) กบั ( 2.13  0.03 )

( 3.45  0.02 ) + ( 2.13  0.03 ) = ( …………………….. )  ( ………………………. )
= ….. ……………………….

( 3.45  0.02 ) - ( 2.13  0.03 ) = ( …………………….. )  ( ………………………. )
= ….. ……………………….

4. กราฟความสมั พันธร์ ะหว่าง v กับ t ทไี่ ดจ้ าก สมการ v = 5t – 6 จะเป็นกราฟลกั ษณะใด …………………

3-2-18

1. นกั เรียนคนหน่ึงบันทกึ ตัวเลขจากการทดลองเปน็ 0.0825 กิโลกรัม , 650 x10- 2 เมตร , 20.5 เซนตเิ มตร

, 8.00 วินาที และ 200 ลูกบาศกเ์ ซนติเมตร จานวนตัวเลขเหลา่ นม้ี เี ลขนยั สาคญั ก่ตี ัว

ตอบ 0.0825 กโิ ลกรมั มีเลขนยั สาคญั …3….ตวั
650 x10- 2 เมตร
มเี ลขนัยสาคญั …3….ตวั

20.5 เซนตเิ มตร มเี ลขนัยสาคญั …3…….ตวั

8.00 วนิ าที มเี ลขนยั สาคญั …3…….ตวั

200 ลูกบาศกเ์ ซนติเมตร มีเลขนัยสาคัญ…1….ตวั

2. จงหาผลลพั ธ์ของ 3.50 + 4.95 – 2.52 ตามหลักเลขนยั สาคญั
7.0
วิธที า
3.50
7.0 + 4.95 – 2.52 = ( …0.5… ) + 4.95 – 2.52

= ……2.93……

ผลลพั ธต์ ามหลกั เลขนัยสาคญั = ……2.9…………… ตอบ

3. จงหาผลบวกและผลต่างของจานวน ( 3.45  0.02 ) กับ ( 2.13  0.03 )
( 3.45  0.02 ) + ( 2.13  0.03 ) = ( …3.45 + 2.13.. )  ( …0.02 + 0.03. )
= ….5.58  0.05

( 3.45  0.02 ) - ( 2.13  0.03 ) = ( …3.45 – 2.13.. )  ( …0.02 + 0.03.)

= ….. 1.32  0.05….
4. กราฟความสมั พนั ธร์ ะหว่าง v กบั t ทไ่ี ดจ้ าก สมการ v = 5t – 6 จะเป็นกราฟลกั ษณะใด ..กราฟ
เส้นตรง…

3-2-19

1.ใหน้ กั เรียนเลือกเขียนแสดงความคดิ เห็นว่า การบันทึกข้อมูล ทไี่ ดจ้ ากการทดลอง โดยเฉพาะจากเครอ่ื งมือ
แบบสเกล จะเป็นข้อมูลเชงิ ปรมิ าณ ตวั เลขทกุ ตวั มีความสาคัญ เท่ากัน หรือต่างกนั อย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………….
2. ความคิดเหน็ ของกลุ่มเห็นวา่ การบนั ทกึ ขอ้ มูล ที่ไดจ้ ากการทดลอง โดยเฉพาะจากเคร่ืองมือแบบสเกล จะเป็น
ขอ้ มูลเชิงปรมิ าณ ตวั เลขทุกตัวมีความสาคัญ เทา่ กนั หรอื ต่างกนั อย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………….

3.ความคิดเห็นท่ีนักเรียนและครูรว่ มกนั อภปิ รายสรุป เห็นวา่ การบันทกึ ข้อมูล ท่ีไดจ้ ากการทดลอง โดยเฉพาะ
จากเครื่องมือแบบสเกล จะเป็นข้อมูลเชงิ ปริมาณ ตวั เลขทุกตัวมคี วามสาคญั เท่ากนั หรือตา่ งกันอย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………….

3-2-20

1. ให้นักเรยี นสรปุ สาระสาคัญท่ไี ดจ้ ากการสืบคน้ ขอ้ มูล และบันทึกลงในสมดุ
1. ตวั เลขนัยสาคญั
2. คา่ ความไมแ่ น่นอนในการวัด
3. การเขยี นกราฟ และการรายงานกราฟ

2. ใหน้ ักเรียนเติมคา หรอื ขอ้ ความลงในช่องวา่ งให้ถกู ต้อง

1. การบันทึกข้อมูลเป็นตวั เลข จากการทดลองในวชิ าฟิสกิ ส์ เชน่ การทดลอง เร่อื งลูกตุ้มอยา่ งง่าย ความยาว

ของสายลกู ตุม้ เปน็ 40.0  0.2 เซนตเิ มตร อยากทราบวา่ เลข 40.0 เซนตเิ มตร มเี ลขนัยสาคัญกต่ี วั ………..

จากข้อ 1. ตวั เลขที่บอกคา่ ความไม่แน่นอนของการวดั คือ …………………………………………………

1. จาก ขอ้ 1. ตัวเลขทีไ่ ด้จากการวัดโดยตรง คือ .……………………………………………………………..

2. จากข้อ 1. ความยาวของสายลูกตุ้มจะยาวที่สดุ เท่ากับ…………………………………………เซนตเิ มตร

3. เหลก็ เสน้ หน่ึงยาว 0.80  0.02 เมตร อีกเส้นหนง่ึ ยาว 2.00  0.01 เมตร เม่อื นามาตอ่ กันลวดทั้ง

สองน้ยี าว ……………………………… เมตร

4. 1.03 + 2.25+ 3.4 = ………………….…….………………………………………………………….

5. 2.54 x 2.5 = ……………………………………………………..………………………………………….

6. ในวงจรไฟฟ้ากระแสตรง และตัวนานนั้ เปน็ โลหะ ความต่างศักย์ ( V ) ระหว่างตัวตา้ นทานนั้น จะเป็นไปตาม

สมการ V = IR , เมือ่ นาความสมั พันธร์ ะหว่างความตา้ นทาน ( R ) และ กระแสไฟฟ้า ( I ) ไปเขยี นกราฟจะ

ได้กราฟลักษณะใด ………………………………………………………………………………..

7. สมการ การเคล่ือนท่ีของวตั ถุหนึ่งเปน็ S = v t เมอ่ื นาความสมั พนั ธ์ระหว่าง S กบั t ไปเขียนกราฟจะได้

กราฟลกั ษณะใด ………………………………………………………………………………………. 1
2
8. ลูกปนื มวล m ถกู ยงิ ออกจากกระบอกปืนดว้ ยความเรว็ v ทาให้ลูกปนื มีพลงั งานจลน์ตามสมการ Ek =

mv2 เม่อื นาความสัมพนั ธร์ ะหวา่ ง Ek กับ v ไปเขียนกราฟจะได้กราฟลักษณะใด ……………………………

3-2-21

1. จงหาผลลัพธข์ องคาตอบต่อไปน้ีตามหลักเลขนัยสาคัญ

ก. 1.27 + 2.4 – 0.004
8.5
ข. 4.0 + 2.86 - 0.7

2. แผ่นไม้อดั หน่ึงรูปส่ีเหลยี่ มผืนผา้ กว้าง 85.200.05 เซนติเมตร และยาว 196.450.05 เซนตเิ มตร แผน่
ไม้อัดน้จี ะมีพ้ืนท่ีเป็นเท่าใด

3-2-22

แผนผังมโนทศั น์ท่ี 2
องคค์ วามร้เู ร่อื ง การวเิ คราะหผ์ ลการทดลอง

เจา้ ของผลงาน ช่อื ……………………………………………………ช้นั ……………..เลขท…ี่ …….

3-2-23

แบบทดสอบก่อนเรยี น – หลังเรยี นที่ 2
เร่อื ง การวเิ คราะห์ผลการทดลอง

ชอ่ื …………………………….……………………นามสกลุ ……………………….…………………………ชน้ั ……………..เลขท…่ี …….
คาช้แี จง จงตอบคาถามให้ถูกตอ้ ง โดยใชเ้ วลาในการทาข้อสอบ 10 นาที

1. จงเรียงลาดบั เลขนัยสาคัญตอ่ ไปนจี้ ากมากไปน้อย 0.05 , 0.70 , 0.145 , 0.1025
ก. 0.05 , 0.70 , 0.145 , 0.1025
ข. 0.70 , 0.145 , 0.1025 , 0.05
ค. 0.1025 , 0.145 , 0.70 , 0.05
ง. 0.145 , 0.1025 , 0.05 , 0.70

2. ผลลัพธต์ ามหลักเลขนัยสาคญั ของ 3.25 + 2.1 – 1.13 คือ
ก. 4
ข. 4.2
ค. 4.22
ง. 4.27

3. ผลลพั ธ์ตามหลักเลขนยั สาคัญของ ( 4.5 x 1.12 ) – 1.34 คือ
ก. 2.7
ข. 2.66
ค. 3.0
ง. 3.00

4. ผลลพั ธ์ตามหลกั เลขนยั สาคญั ของ ( 2.25  1.5 ) + 1.25 คอื
ก. 3.0
ข. 3.00
ค. 2.75
ง. 2.8

5. ผลลัพธต์ ามหลักเลขนยั สาคัญของ 360 3.00 คือ
ก. 12.00x101
ข. 1.20x102
ค. 1.2x102
ง. 12.0x101

3-2-24

6. ในการวัดความยาวของเหล็กเส้น ได้ความยาว 8.25 เมตร ถ้าผู้วัดเห็นว่าเลขตัวสุดท้ายอาจเป็น 3 หรือ 7 ก็
ได้ เขาควรบนั ทึกผลการวดั เป็นเท่าไร

ก. 8.23  0.03 เมตร
ข. 8.25  0.02 เมตร

ค. 8.27  0.01 เมตร
ง. 8.28  0.05 เมตร

7. เหลก็ เส้นหน่งึ ยาว 12.24  0.02 เมตร ตัดออกเปน็ 2 สว่ น โดยเส้นหนึง่ ยาว 7.14  0.01 เมตร เหล็กอีก
เส้นจะยาวเท่าใด
ก. 5.10  0.01 เมตร

ข. 5.10  0.02 เมตร
ค. 5.10  0.03 เมตร
ง. 19.38  0.01 เมตร

8. การศึกษาการแกวง่ ของลูกตมุ้ อยา่ งง่ายได้สมการเป็น T = 2 L เม่ือนาความสัมพันธ์ระหว่างคาบ ( T )
g
และความยาวของเส้นเชอื ก ( L ) ทีผ่ ูกลูกตุ้ม ไปเขยี นกราฟจะไดก้ ราฟในลักษณะใด ( g = 10 m / s2 )

ก. กราฟเสน้ ตรง

ข. กราฟพาราโบลา

ค. กราฟไฮเปอรโ์ บลา

ง. กราฟวงกลม

9. รถคันหน่งึ เคลื่อนทีด่ ว้ ยความเรง่ คงท่ี ได้สมการเป็น v = 10 – 2t กราฟในข้อใดท่ีเป็นจริงตามสมการนี้มาก
ท่สี ดุ

ก. ข. ค. ง.

3-2-25

10. ในการทดลองกฎของโอหม์ ตามสมการ V = IR ในลวดโลหะชนดิ ตา่ งๆ ความสมั พนั ธ์ระหว่าความต่างศักย์ (
V ) กบั กระแสไฟฟ้า ( I ) ในวงจรไฟฟา้ กรกะแสตขรง กราฟเสน้ ใดมคี วามต้านทานมากทีส่ ุด

Vค

I

ก. กราฟ ง.
ข. กราฟ ค.
ค. กราฟ ข.
ง. กราฟ ก.

3-2-26

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น – หลังเรียนท่ี 2
เร่ือง การวิเคราะหผ์ ลการทดลอง

เฉลยแบบทดสอบ
กอ่ นเรยี นและหลังเรยี น
ขอ้ คาตอบ
1ค
2ข
3ก
4ง
5ค
6ข
7ค
8ข
9ค
10 ง

3-3-1

แผนจัดการเรยี นร้ทู ี่ 3

3-3-2

แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี 3
กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ รหสั วิชา ว30201 วชิ า ฟสิ ิกส์ 1

ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 4 ภาคเรยี นท่ี 1
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 เรอ่ื ง ธรรมชาตแิ ละพัฒนาการทางฟิสิกส์
เร่อื งท่ี 3 ปรมิ าณเวกเตอร์และปรมิ าณสเกลาร์ เวลา 6 ชั่วโมง

ผสู้ อน นายชาตรี ศรีม่วงวงค์ โรงเรียนวัชรวทิ ยา

1. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด
ปรมิ าณกายภาพแบ่งออกได้ 2 ประเภท คือ (1) ปริมาณสเกลา่ ร์ คอื ปรมิ าณทบ่ี อกแต่ขนาดอย่างเดยี วก็

ได้ความหมายสมบูรณ์ ไม่ต้องบอกทิศทาง เชน่ ระยะทาง มวล เวลา ปริมาตร ความหนาแนน่ งาน พลงั งาน ฯลฯ
การหาผลลัพธข์ องปริมาณสเกลา่ ร์ กอ็ าศยั หลงั การทางพชี คณติ คือ วิธกี าร บวก ลบ คณู หาร (2) ปรมิ าณ
เวกเตอร์ คือ ปรมิ าณทตี่ ้องบอกทั้งขนาดและทิศทาง จงึ จะได้ความหมายสมบรู ณ์ เชน่ การกระจดั ความเร่ง
ความเรว็ แรง โมเมนตัม ฯลฯ การหาผลลัพธข์ องปริมาณเวกเตอร์ ต้องอาศยั วธิ ีการทางเวคเตอร์ โดยตอ้ งหา
ผลลัพธท์ ั้งขนาดและทศิ ทาง

2. สาระการเรียนรู้ฟสิ ิกส์
สาระฟิสกิ ส์ ข้อ 1เขา้ ใจธรรมชาตทิ างฟิสิกส์ ปริมาณ และกระบวนการวัด การเคล่ือนทีแ่ นวตรง แรงและกฎ

การเคลอ่ื นท่ขี องนวิ ตนั กฎความโน้มถว่ งสากล แรงเสียดทาน สมดลุ กลของวัตถุ งานและกฎการอนุรักษ์พลงั งาน
กล โมเมนตัมและกฎการอนรุ ักษโ์ มเมนตัม การเคลอ่ื นท่ีแนวโค้ง รวมท้ังนาความรไู้ ปใช้ประโยชน์

3. ผลการเรยี นรู้
2. วดั และรายงานผลการวัดปริมาณทางฟสิ ิกสไ์ ดถ้ ูกต้องเหมาะสม โดยนาความคลาดเคลื่อนในการวดั มา

พิจารณาในการนาเสนอผลรวมทั้งแสดงผลการทดลองในรูปของกราฟวเิ คราะหแ์ ละแปลความหมายจากกราฟ
เสน้ ตรง

3-3-3

4.สาระการเรยี นรู้
4.1 สาระฟสิ ิกสเ์ พิม่ เติม
การเคลอ่ื นทีแ่ นวตรงเป็นการเคล่ือนที่ในแนวใดแนวหน่งึ เชน่ แนวราบหรอื แนวดง่ิ ที่มีการกระจัด

ความเร็ว ความเร่งอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน โดยความเร่งของวตั ถุหาได้จากความเร็วทีเ่ ปลี่ยนไปใน
หนง่ึ หน่วยเวลา

4.2 สาระการเรยี นรู้ท้องถ่นิ
-

4.3 สาระการเรยี นรู้เกย่ี วกับอาเซยี น
-

4.4 สาระการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพยี ง
ความพอประมาณ ความมเี หตุผลและการมภี มู คิ ้มุ กัน

5. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี นและจดุ เนน้ ที่ต้องการพัฒนาคุณภาพผ้เู รยี น
5.1 สมรรถนะ ความสามารถในการสื่อสาร
5.2 สมรรถนะ ความสามารถในการคดิ
5.3 สมรรถนะ ความสามารถในการแกป้ ญั หา
5.4 สมรรถนะ ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ
5.5 สมรรถนะ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
5.6 จุดเนน้ แสวงหาความรู้เพอ่ื การแก้ปัญหา
5.7 จุดเนน้ การใชภ้ าษาตา่ งประเทศ
5.8 จดุ เนน้ การคิดวเิ คราะห์ขั้นสูง
5.9 จุดเน้น การใชเ้ ทคโนโลยีเพอ่ื การเรยี นรู้
5.10 จดุ เนน้ ทกั ษะชีวิต
5.11 จุดเนน้ ทกั ษะการส่ือสารอย่างสร้างสรรคต์ ามชว่ งวัย

6. คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์
6.1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
6.2. ซอื่ สตั ยส์ จุ รติ
6.3. มีวนิ ัย
6.4 ใฝเ่ รยี นรู้
6.5อยูอ่ ยา่ งพอเพยี ง
6.6 ม่งุ มั่นในการทางาน
6.7 รักความเปน็ ไทย
6.8 มจี ิตสาธารณะ

3-3-4

7. ชน้ิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด/ระหวา่ งเรยี น)
7.1 แบบฝึกทกั ษะ (ระหวา่ งเรียน)
7.2 แผนผังมโนทศั น์ Concept mapping (รวบยอด)
7.3 แบบทดสอบหลงั เรยี น (รวบยอด)

8.การวัดและประเมินผล

สง่ิ ทว่ี ดั ช่วงการวัด วธิ กี ารประเมินผล เครอื่ งมอื เกณฑก์ ารประเมนิ
ถกู ต้องสมบรู ณ์
8.1 ความรคู้ วามเข้าใจ ระหว่างสอน ความถูกต้องของ Concept
Concept mapping ตอบถูกต้อง
ในเนอ้ื หา mapping
คาถาม
8.2 ความร้คู วามเข้าใจ ระหว่างสอน การตอบคาถาม
ในเนอ้ื หา ระหว่างสอน
ระหว่างสอน การตอบคาถาม คาถาม ตอบถกู ตอ้ ง
8.3 ทักษะและ
กระบวนการ การตอบคาถาม คาถาม วเิ คราะหต์ าม
สภาพคาตอบ
8.4 เจตคติ

8.5 ผลการเรยี นรู้ ระหวา่ งสอน การทาแบบฝึกทกั ษะ แบบฝึกทกั ษะ ทาถูกร้อยละ 70 ข้นึ ไป
8.6 ผลสัมฤทธิ์ สน้ิ สุดการสอน
คะแนนสอบหลังเรียน แบบทดสอบหลงั เรยี น ได้คะแนน

รอ้ ยละ 70 ขนึ้ ไป

9. กิจกรรมการเรยี นรู้
ขัน้ สรา้ งความสนใจ (Engagement)
9.1 ครเู ปิดเพาเวอร์พอยต์จากเว็บไซต์สอนฟสิ ิกส์ ทเ่ี ว็บไซต์ http://gg.gg/ct3110 เพอื่ เปดิ วีดิทัศนใ์ ห้

นกั เรียนศกึ ษา เรือ่ ง ปริมาณเวกเตอร์และปรมิ าณสเกลาร์
9.2 ครูและนักเรียนรว่ มกนั และเปลย่ี นเรยี นรู้จากเน้ือหาในวดี ทิ ศั นท์ ไ่ี ดด้ รู ว่ มกัน
9.3 ครูตัง้ คาถามนักเรียนเกยี่ วกบั ปริมาณเวกเตอรแ์ ละปรมิ าณสเกลาร์
9.4 นกั เรียนตอบคาถามของครูอยา่ งอสิ ระ และรว่ มแลกเปลย่ี นเรยี นรูซ้ ึ่งกนั และกนั
9.5 นกั เรยี นทาแบบทดสอบก่อนเรียนออนไลน์จากเว็บไซต์การสอนฟสิ กิ ส์ จานวน 10 ข้อ
ข้ันสารวจและคน้ หา (Exploration)
9.6 ครแู จ้งใหน้ ักเรยี นทราบถึงเนอ้ื หาที่จะเรยี น จดุ ประสงค์ กระบวนการเรยี นทจ่ี ะดาเนินการโดยยอ่
9.7 ครใู หน้ ักเรียนศึกษาเนื้อหาความรจู้ ากเพาเวอร์พอยตจ์ ากเว็บไซต์สอนฟิสกิ ส์ โดยให้นักเรยี นสบื ค้น

ขอ้ มลู และศึกษาข้อมูลเบ้ืองต้น
9.8 ครูสาธติ วิธีการแกป้ ญั หาโจทย์ใหก้ บั นักเรยี น ตามโจทย์ตัวอยา่ งในเพาเวอร์พอยต์ จานวน 3 ข้อ
9.9 นักเรยี นฝึกทักษะการทาแบบฝกึ หัดจากแบบฝกึ หัดตามทค่ี รรู ะบใุ หจ้ านวน 5 ข้อ
9.10 ครเู ฉลยแบบฝกึ หดั อยา่ งละเอียดพร้อมแลกเปล่ยี นเรยี นรูก้ ับนกั เรยี นอยา่ งเป็นกนั เอง โดยกระตนุ้

ดว้ ยคาถามเพื่อให้นกั เรียนคิดอยา่ งเปน็ ขนั้ ตอน

3-3-5

ขัน้ อธิบายและลงข้อสรปุ (Explanation)
9.11 นักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ สรปุ หลักการในการแกโ้ จทย์ในแบบฝึกหัด
9.12 นกั เรียนแลกเปลีย่ นเรียนรกู้ นั ภายในกลุ่มและระหว่างกลุ่ม
9.13 นกั เรยี นแต่ละคนสรปุ หลักการในการแก้โจทย์ของตนเอง
9.14 ครูและนักเรยี นรว่ มกนั อภปิ รายเพ่อื สรปุ การแก้ไขปัญหาโจทย์อย่างเปน็ ขั้นตอน นกั เรียนบนั ทึก
ข้อมลู ลงในสมดุ บนั ทึก
9.15 นักเรียนทาแบบฝึกทักษะเพิ่มเติมตามหลักการทไี่ ด้จากการสรุปร่วมกนั ระหวา่ งครูและนกั เรยี น
ขั้นขยายความรู้ (Elaboration)
9.16 ครูใชค้ าถามนาเพือ่ ให้นักเรยี นนาหลักการท่สี รุปได้มาประยุกต์ใช้งานในสถานการณ์โจทย์ทีม่ ีความ
ซับซอ้ นมากขน้ึ และเปิดโอกาสให้นกั เรยี นซักถามและแลกเปล่ยี นเรียนรู้ในเรื่องท่เี รียน
9.17 นักเรยี นทดลองทาแบบฝึกหดั ที่หลากหลาย โดยนาข้อสอบโอเน็ต ข้อสอบ PAT2 ข้อสอบคัดเลือก
เขา้ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ ขอ้ สอบคัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัยขอนแก่น มาใหน้ ักเรียนฝกึ ทาโดยครจู ัดเตรยี มไว้ใน
เพาเวอร์พอยต์ประกอบการสอนในเว็บไซต์การสอนฟสิ ิกส์
9.18 นกั เรียนทาแบบฝึกทักษะเพิ่มเตมิ โดยมีครูคอยให้คาแนะนา
9.19 นักเรยี นตรวจคาตอบและศึกษาเพ่ิมเตมิ จากเวบ็ ไซต์การสอนฟสิ กิ ส์
9.20 ครสู ั่งแบบฝึกหดั ใหน้ กั เรียนกลบั ไปฝกึ ทาเปน็ การบ้าน
ขนั้ ประเมนิ (Evaluation)
9.21 นกั เรยี นเขียน Concept mapping ของเรื่องท่เี รยี นลงในสมดุ แล้วถ่ายรูปสง่ ใน line หอ้ งเรียน
ฟสิ กิ ส์และครูประเมนิ ความเข้าใจเนือ้ หาของนักเรยี นจาก Concept mapping ทนี่ ักเรยี นสง่ มา
9.22 ครูต้งั คาถามเพื่อใหน้ ักเรียนตอบเพ่ือตรวจสอบความเขา้ ใจในเนื้อหาที่เรยี นอกี ครัง้
9.23 นกั เรยี นทาข้อสอบออนไลน์ผ่านโทรศพั ทม์ ือถือ จานวน 10 ขอ้ โดยใชเ้ วลาในการทาขอ้ สอบ
10 นาที
9.24 ครูแจง้ ผลการสอบทนั ที โดยสง่ คะแนนใหน้ ักเรียนทาง line ห้องเรยี นฟิสิกส์
9.25 นักเรียนทีม่ ีคะแนนไมถ่ ึงร้อยละ 50 ครใู ห้นกั เรียนกลับไปทบทวนเน้ือหาเพาเวอร์พอยต์อีกครัง้
และนดั หมายให้สอบออนไลน์ใหม่อีกครงั้ ในการเรยี นคาบต่อไป ในสว่ นของนกั เรียนทมี่ ีคะแนนเกนิ ร้อยละ 50
และตอ้ งการศึกษาทบทวนเพ่ิมข้นึ ครแู นะนาให้ศึกษาซ้าในเพาเวอร์พอยต์และแนะนาเว็บไซตเ์ พื่อศึกษาดว้ ย
ตนเองเพม่ิ เติม
ขน้ั การบูรณาการ (Integration)
9.26 ครูนาเสนอเกย่ี วกบั หลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู วั รชั กาลท่ี 9
โดยอ้างอิงขอ้ มูลจากเวบ็ ไซต์ของมูลนธิ ิชยั พัฒนา http://www.chaipat.or.th/site_content/item/3579-
2010-10-08-05-24-39.html
9.27 ครสู อบถามนักเรียนว่าในครอบควั ของนักเรียนมีการประยุกต์ใชห้ ลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง
อยา่ งไรบ้าง นกั เรียนแลกเปล่ียนเรียนรูร้ ว่ มกนั หนา้ ชน้ั เรียน
9.28 ครูและนักเรยี นร่วมกันสรุปเก่ยี วกบั หลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโดยเน้นความเก่ียวเนอ่ื งกบั การ
ใชว้ ทิ ยาสาสตร์และเทคโนโลยใี นชีวติ ประจาวัน

3-3-6

10. สอ่ื การเรียนรู้/แหลง่ เรียนรู้ จานวน ลาดับขน้ั ตอนการใช้ส่อื

รายการสือ่ 1 เวบ็ ไซต์ ทุกขัน้ ตอน
10.1 เว็บไซต์การสอนฟิสิกส์
ทผี่ ลิตโดยนายชาตรี ศรมี ว่ งวงค์ 1 ไฟล์ ทกุ ข้นั ตอน
10.2 เพาเวอรพ์ อยต์การสอนฟสิ กิ ส์ 1 กลุ่ม ทุกขั้นตอน
10.3 กลมุ่ line การสอนฟิสกิ ส์ 1 ชดุ ทกุ ข้นั ตอน
10.4 ใบความรทู้ ี่ 3 1 ชุด ขัน้ ขยายความรู้ / ขน้ั ลงข้อสรุป
10.5 แบบฝกึ หดั ท่ี 3 1 ชดุ ข้ันสรา้ งความสนใจ
10.6 แบบทดสอบก่อนเรยี นออนไลน์ 1 ชุด ขนั้ ประเมิน
10.7 แบบทดสอบหลังเรยี นออนไลน์

11. กจิ กรรมเสนอแนะ

รายการ วธิ ีการ
11.1 ปรับปรุง-แก้ไขขอ้ บกพรอ่ งของผ้เู รียน
นักเรยี นทีม่ ีคะแนนไม่ถึงร้อยละ 50 ครใู หน้ ักเรียนกลับไป
11.2 สง่ เสริมความร้คู วามสามารถของผู้เรียน ทบทวนเน้ือหาเพาเวอร์พอยต์อกี คร้ังและนดั หมายให้
สอบออนไลนใ์ หมอ่ ีกครั้งในการเรียนคาบตอ่ ไป

นกั เรียนท่ีมีคะแนนเกินร้อยละ 50 และตอ้ งการศึกษา
ทบทวนเพิ่มขน้ึ ครแู นะนาให้ศึกษาซา้ ในเพาเวอร์พอยต์
และแนะนาเวบ็ ไซต์เพื่อศึกษาด้วยตนเองเพิ่มเติม

3-3-7

12.บนั ทึกผลหลังการสอน
12.1 ความกา้ วหนา้ ในการเรยี นการสอน

จานวน คะแนน คะแนนเฉลย่ี คะแนนเฉลย่ี คะแนนเฉลยี่ E1/E2 ความกา้ วหนา้
นักเรียน เต็ม ก่อนเรียน ระหวา่ งเรยี น ในการเรยี น
หลงั เรียน
145 10 2.12 8.12 63.50
8.47 81.20/84.70

สูตร รอ้ ยละความก้าวหนา้ ในการเรยี น = คะแนนหลงั เรยี น – คะแนนก่อนเรียน x 100
คะแนนเตม็

สูตร หาประสทิ ธิภาพของส่อื = E1/ E2 (ตามเกณฑ์ 80/80)
E1 = ประสิทธภิ าพของกระบวนการ (ทาแบบฝึก)
E2 = ประสทิ ธิภาพของผลลัพธ์ (สอบหลงั เรียน)
ประสิทธภิ าพของกระบวนการ = คะแนนเฉลย่ี ระหวา่ งเรียน x 100
คะแนนเตม็

ประสิทธภิ าพของผลลัพธ์ = คะแนนเฉล่ียหลงั เรยี น x 100
คะแนนเต็ม

12.2 กระบวนการจดั การเรียนการสอน
1.ข้ันสรา้ งความสนใจ นกั เรียนร้อยละ 90 ให้ความสนใจคลิปเก่ยี วกบั การสาธติ ตวั อย่างของ

ครูเกยี่ วกับสมดุล และใหค้ วามสนใจคลิปท่คี รเู ปิดให้ดู โดยมีนักเรยี นบางสว่ นสนใจซกั ถามเพ่ิมเติม และรว่ มกัน
กาหนดประเด็นของเรื่องทีต่ ้องการศึกษาเกย่ี วกับปรมิ าณเวกเตอร์และปรมิ าณสเกลาร์

2.ขั้นสารวจและค้นหา นักเรียนรอ้ ยละ 90 ร่วมกนั ศกึ ษาเกี่ยวกับเนอ้ื หาของปรมิ าณเวกเตอร์
และสเกลาร์โดยมีการซกั ถามและรว่ มกนั หาคาตอบ เข้าใจในประเดน็ ท่ีสนใจจะศึกษา ร่วมกันวางแผนกาหนด
แนวทางการสารวจตรวจสอบ ต้งั สมมตฐิ าน กาหนดวิธกี ารทดลองและทาการศึกษาเนื้อหาจากหนงั สอื เรยี นและ
ใบงาน มีการสบื ค้นข้อมูลจากเว็บไซต์ตา่ งๆ เพ่อื ลงขอ้ สรุปเกี่ยวกับปริมาณเวกเตอร์และปริมาณสเกลาร์

3.ขน้ั อธิบายและลงข้อสรปุ นกั เรยี นรอ้ ยละ 50 ร่วมกันอภปิ รายเกีย่ วกบั เรื่องท่ีเรียนและ
รว่ มกนั สรุปเก่ยี วกบั ปริมาณเวกเตอร์และปริมาณสเกลาร์

4.ขั้นขยายความรู้ นักเรยี นร้อยละ 50 ร่วมกนั อธิบายสถานการณ์ในชวี ติ ประจาวันโดยใช้
ข้อสรปุ เกี่ยวกับปริมาณเวกเตอร์และปริมาณสเกลาร์

5.ขัน้ ประเมนิ นักเรียนรอ้ ยละ 75 สามารถนาหลกั การและความรทู้ ่เี รียนตอบคาถามและ
สถานการณ์ท่คี รตู ้ังขึ้นได้

3-3-8

บรรยากาศการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนปริมาณเวกเตอรแ์ ละปริมาณสเกลาร์

12.3 ผลการสอน
( / ) สอนไดต้ ามแผนการจัดการเรียนรู้
( ) สอนไม่ไดต้ ามแผนการจัดการเรียนรู้ เนือ่ งจาก...............................................................

12.4 ปัญหาและอุปสรรค
1. นักเรยี นรอ้ ยละ 30 วเิ คราะห์โจทย์ฟิสิกส์ไม่ค่อยได้
2. นกั เรียนร้อยละ 50 ยงั แก้สมการคณติ ศาสตร์ในโจทย์ไม่ได้
3. นักเรยี นรอ้ ยละ 20 คดิ เลขไม่ถูกตอ้ ง
4. นกั เรยี นทาใบงานไม่เสร็จตามเวลา

12.5 แนวทางการแก้ไขปญั หา
1. ให้นกั เรยี นศึกษาตวั อยา่ งจากหนงั สอื คู่มอื เพิ่มเติม
2. นักเรยี นฝึกแกส้ มการคณติ ศาสตร์
3. นักเรียนฝึกคิดเลขโดยให้ทดลองเล่นเกม 180 ไอคิว
4. ปรบั ปรุงใบงาน

ลงชอ่ื ..............................................ผ้สู อน
(นายชาตรี ศรมี ่วงวงค์)

3-3-9

ขอ้ เสนอแนะของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
.................................................................... ..........................................................................................
..............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................

ลงชื่อ ........................................................
(นางตวงรัตน์ อน้ อนิ )

ตาแหนง่ หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
วันท.ี่ .........เดือน..........................พ.ศ............

ข้อเสนอแนะของรองผู้อานวยการกลุ่มบรหิ ารงานวชิ าการ
............................................................................................................................. .................................
............................................................................................................................. .................................
................................................................................................. .............................................................

ลงชือ่ ........................................................
(นายวิเชียร ยอดนลิ )

ตาแหนง่ รองผ้อู านวยการกลุ่มบริหารงานวิชาการ
วนั ท่ี..........เดอื น..........................พ.ศ............

ขอ้ เสนอแนะของผู้อานวยการโรงเรยี น
............................................................................................................................. .................................
............................................................................................................................................................. .
............................................................................................................................. .................................

ลงช่ือ ........................................................
(นายไพชยนต์ ศรีมว่ ง)

ตาแหน่ง ผอู้ านวยการโรงเรียนวชั รวิทยา
วนั ท่ี..........เดอื น..........................พ.ศ............


Click to View FlipBook Version