NSKnowledge Management [1] สรุปผลจากการจัดการความรู้ ประจ าปี 2565 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล มีเป้าหมายในการพัฒนาองค์กรให้เป็นองค์กรแห่งการ เรียนรู้ จึงได้จัดให้มีกระบวนการจัดการความรู้เป็นประจ าทุกปี โดยในปีที่ผ่านมา มีกิจกรรมการจัดการความรู้ ทั้งสิ้น 12 เรื่อง โดยแบ่งเป็นกิจกรรมการจัดการความรู้กับการด าเนินงานตามพันธกิจการศึกษา วิจัย บริการ วิชาการ และอื่นๆ จ านวน 4 เรื่อง กิจกรรมการจัดการรู้จากแต่ละภาควิชา จ านวน 6 เรื่อง และการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ในกลุ่มผู้เกษียณอายุราชการจ านวน 2 เรื่อง โดยสามารถสรุปกิจกรรมการจัดความรู้ ได้ดังนี้ 1. การจัดการความรู้กับการด าเนินงานตามพันธกิจการศึกษา วิจัย บริการวิชาการ และอื่นๆ ในรอบปี ที่ผ่านมาพบว่า มีการด าเนินการครบตามพันธกิจจ านวน 2 เรื่อง ประกอบด้วย 1.1 ถอดบทเรียน เรียนออนไลน์อย่างไรไม่ให้น่าเบื่อ 1.2 ถอดบทเรียน การรับมือกับนักศึกษา Gen Z 1.3 ถอดบทเรียน กิจกรรมบุคลากรต้นแบบ NS core value : IDOL ในหัวข้อเรื่อง “ช านาญ การพิเศษ ไม่ใช่เรื่องยาก” 1.4 ถอดบทเรียน กิจกรรมสัญจรติดตามการพัฒนาโครงการ/กิจกรรมพัฒนาคุณภาพงาน/ นวัตกรรมหลังจากการอบรมเชิงปฏับัติการ ประจ าปี 2565 2. การจัดการความรู้จากแต่ละภาควิชา ในรอบปีที่ผ่านมาพบว่า คณาจารย์ในคณะพยาบาลศาสตร์ มีความสนใจในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ พร้อมทั้งมีผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ดีเป็นไปตามเป้าหมาย รวมทั้งมีการ เผยแพร่องค์ความรู้ต่างๆ ไปสู่บุคลากรของคณะพยาบาลศาสตร์ให้เกิดการใช้งานองค์ความรู้อย่างมี ประสิทธิภาพ โดยมีรายละเอียดของแต่ละกิจกรรมดังนี้ 2.1 ภาควิชาการพยาบาลรากฐาน จ านวน 3 เรื่อง โดยแบ่งเป็นด้านการด าเนินงาน ด้านบริการวิชาการ จ านวน 1 เรื่อง ด้านอื่นๆ จ านวน 2 เรื่อง 2.2 ภาควิชาการพยาบาลสาธารณสุขศาสตร์ จ านวน 1 เรื่อง โดยแบ่งเป็นด้านการศึกษา จ านวน 1 เรื่อง 2.3 ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์ จ านวน 2 เรื่อง โดยแบ่งเป็นด้านการศึกษา จ านวน 1 เรื่อง และด้านอื่นๆ จ านวน 1 เรื่อง 3. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มผู้เกษียณอายุราชการ สายวิชาการจ านวน 1 เรื่อง และสายสนับสนุน จ านวน 1 เรื่อง
NSKnowledge Management [2] การจัดการความรู้กับการด าเนินงานตามพันธกิจการศึกษา วิจัย และบริการวิชาการ เรื่องที่ 1 ถอดบทเรียน เรียนออนไลน์อย่างไรไม่ให้น่าเบื่อ วันพุธที่ 2 มีนาคม 2565 เวลา 13.30-15.00 น. รูปแบบ Online ผ่านระบบ ZOOM วิทยากรร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ รองศาสตราจารย์ ดร.อัจฉริยา พ่วงแก้ว อาจารย์ประจ าภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์ อาจารย์ ดร.เกศศิริ วงษ์คงค า อาจารย์ประจ าภาควิชาการพยาบาลศัลยศาสตร์ อาจารย์ ดร.ภัทรนุช ภูมิพาน อาจารย์ประจ าภาควิชาการพยาบาลกุมารเวชศาสตร์ อาจารย์ ดร.กุลธิดา ทรัพย์สมบูรณ์ อาจารย์ประจ าภาควิชาการพยาบาลสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา ผู้ด าเนินรายการ อาจารย์ ดร.เสาวลักษณ์ สุขพัฒนศรีกุล อาจารย์ประจ าภาควิชาการพยาบาลรากฐาน กลุ่มสอนภาคทฤษฎี รองศาสตราจารย์ ดร.อัจฉริยา พ่วงแก้ว และ อาจารย์ ดร.เกศศิริ วงษ์คงค า มีวิธีการ/เทคนิคการเรียน-การสอนออนไลน์อย่างไร รองศาสตราจารย์ ดร.อัจฉริยา พ่วงแก้ว กล่าวถึง มุมมอง การเรียน-การสอนออนไลน์ที่ท าให้นักศึกษา เข้าใจเนื้อหาและไม่เบื่อ โดยให้นิยาม “น่าเบื่อในการเรียนออนไลน์” คือการเรียนเรื่องยาก ไม่เข้าใจ และไม่ สามารถติดตามเนื้อหาต่อได้ การฟังผู้พูดนานๆ ด้วยน้ าเสียงที่ราบเรียบ ขาดจุดโฟกัส พูดเหมือนสไลค์ที่ท าการ สอนทุกค าพูด เนื้อหาที่สอนไม่มีในสไลด์ สอนยาวนานไม่มีช่วงพัก ก็เป็นสาเหตุที่ท าให้นักศึกษาเบื่อกับการเรียน ออนไลน์ได้ สิ่งที่ควรรู้ก่อนเตรียมสอน คือ 1.วัตถุประสงค์การสอน 2. ระยะเวลาที่สอน 3.ผู้เรียนคือใคร มีการสร้างบรรยากาศในห้องเรียนออนไลนอย่างไรไม่ให้น่าเบื่อ รองศาสตราจารย์ ดร.อัจฉริยา พ่วงแก้ว ได้บอกถึงเทคนิค 6 ข้อท าท าให้บรรยากาศในห้องเรียน ไม่น่าเบื่อดังนี้ 1. Communication สร้างบรรยากาศความอยากเรียน การเรียน และความเข้าใจในเนื้อหา * Verbal Communication : โทนเสียง ความดังของเสียง จังหวะการพูดเร็ว-ช้า การเน้นค า เน้นความส าคัญ การเปลี่ยน Topic ใช้ภาษาที่ง่ายต่อการเข้าใจ จัดล าดับเนื้อหาจากง่ายไปสู่ยาก เป็นต้น * Non-verbal communication : Acting (เป็นเครื่องมือที่ท าให้ผู้ฟังอยู่กับเรา) การแสดงสีหน้า ภาษากาย 2. Hook ตะขอเกี่ยวความสนใจ ก่อนเข้าสู่บทเรียน ขณะเรียน ขายเนื้อหา สร้างความเชื่อมโยง เรา จะท าอย่างไรให้เขาอยู่กับเราตั้งแต่ต้นจจบ คือ ตอนเรียน ขณะที่เรียนจนถึงเรียนจบครบชั่วโมง โดยเน้นว่าสิ่ง นั้นส าคัญส าหรับผู้เรียนอย่างไร เช่น
NSKnowledge Management [3] 3. Illustrte พูดให้เห็นภาพ เปรียบเทียบ อุปมาอุปไมย แปลงจากศัพท์ที่ยากๆ ให้เป็นภาพที่ท าให้ เข้าใจง่าย ให้นักศึกษาคิดตาม จินตนาการเพื่อให้นักศึกษานึกออก สถานการณ์ตัวอย่างดังรูป 4. Media สื่อการสอนเหมาะสมกับเนื้อหาและการเรียนรู้ของผู้เรียน เช่น PPT ตัวหนังสือไม่แน่น มีจุด Focus มีที่ว่างให้นักศึกษาได้จดเพิ่มเติม เนื้อหาตรง/ใกล้เคียงตามที่ บรรยาย เพิ่มความน่าสนใจและสวยงาม อาจใช้โปรแกรมช่วย เช่น canva เป็นต้น VCO สื่อได้ชัดตรงประเด็น + ครูชี้ประเด็นส าคัญ Scenario เริ่มจากสั้นๆไม่ซับซ้อน ประเด็นสั้นๆ จบในคาบและได้ค าตอบ แนวทางไปด้วยกัน Game (ตามความเหมาะสม) 5. Active Participatiion สนับสนุนให้เกิดการมีส่วนร่วมของผู้เรียน ครูต้องมีความไวต่อบรรยากาศ การสอนเพราะบรรยายกาศสอนของเราเป็นเพียงหน้าจอ และปรับเปลี่ยนวิธีการได้ตลอด เช่น ให้นักเรียนมี ส่วนร่วมดังนี้ * พิมพ์ Ok พิมพ์เลข 8 ถ้าคิดว่าใช่ * ไม่เข้าใจพิมพ์เลข 5 อธิบายซ้ า พิมพ์เลข 2 * กดเลิฟ ไลค์ กดหัวใจเวลาเห็นด้วยกับที่เพื่อนตอบ หรือมีใครถามข้อสงสัย หรือชอบที่ครูพูด * ท าแบบฝึกหัด (เป็นทีม รายคน) เช่น ก่อนสอน ระหว่างสอน สิ้นสุดการสอน เป็นต้น * มีกิจกรรมให้เกิดการเคลื่อนไหว เช่นวึกตรวจร่างการตนเอง เป็นต้น
NSKnowledge Management [4] 6. Evaluation & Feedback * ประเมินบรรยากาศการเรียนการสอน * ประเมินความเข้าใจระหว่างการเรียน * ประเมินความเข้าใจเมื่อสิ้นสุดการเรียน * เปิดโอกาสให้ซักถาม * ให้ข้อมูลสะท้อนกลับและให้ก าลังใจ ตัวอย่างจาก feedback ของนักศึกษา การสร้างบรรยากาศในห้องเรียนเพื่อให้การเรียนออนไลน์ไม่เป็นยาขม เริ่มต้นดีมีชัยไปกว่าครั้ง ดังนี้ค่ะ ขั้นเตรียมสอน - รู้จักผู้เรียน (ผู้ฟังของเรา) - สื่อการสอนพร้อม Handout คอมพิวเตอร์ internet - ครูพร้อม (ดูดีในแบบฉบับของเรา background คอมพิวเตอร์โอเค) - ออกแบบการสอนล่วงหน้า ทั้งเนื้อหา วิธีการ และระยะเวลาให้เหมาะสม ขั้นสอน - เริ่มคลาสด้วยรอยยิ้ม (ไม่ว่าจะเกิดอะไรก็ตาม) เป็นกันเองกับนักศึกษา - แจ้งกฎกติกา และกิจกรรมที่ต้องท าในชั้นเรียน - ครูเป็น Sensor ที่ดีต่อการรับสัมผัสบรรยากาศการเรียน ในห้องหาก drop ลงต้องหาวิธีกระตุกกลับ - พักเบรคบ้าง เรียนออนไลน์ ≠ นักศึกษาเบรคไปในตัว - ค่อยๆ level up เนื้อหา - สอน ประเด็นส าคัญที่เป็นรากแก้วของความรู้ และเหมาะกับผู้เรียน - ให้ก าลังใจ ชื่นชม ในทุก responses ของนักศึกษา ทั้ง verbal, non-verbal communication - สอนในเวลาที่ก าหนด
NSKnowledge Management [5] อาจารย์ ดร.เกศศิริร วงษ์คงค า กล่าวถึง องค์ประกอบที่ส าคัญในการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ ไว้ดังนี้ 1. ผู้สอน ความพร้อมของผู้สอน ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบเหล่านี้ 1.1 เสื้อผ้า หน้า ผม : สวย หล่อ เรียบร้อย เหมาะสม 1.2 น้ าเสียง : ปรับโทนเสียงตามเนื้อหา 1.3 จังหวะในการพูด หลีกเลี่ยงการสอนโดยใช้น้ าเสียงแบบ Monotone 1.4 เปิดกล้อง : สีหน้า ท่าทาง 2. ผู้เรียน ไม่สามารถควบคุมได้ตลอดเวลา 2.1 การเข้าห้องเรียน Online ให้ครบชั่วโมงเรียน 2.2 ปิดกล้องตลอดเวลา 2.3 ยืน เดิน นั่ง นอน กิน 2.4 สนใจ application อื่นๆ ที่ไม่ใช่เนื้อหาที่เรียน หรือเล่น Game 2.5 ท่อง Social : เล่น Line, Facebook, Instagram et al. 2.6 ท าการบ้าน/ท างาน วิชาอื่นๆ 3. เนื้อหา 3.1 ครอบคลุมวัตถุประสงค์ 3.2 ไม่มากเกินไป... “อย่าสอนในเนื้อหาที่ไม่ออกสอบ” 3.3 ไม่น้อยเกิน... “เรื่องที่ออกสอบแต่ไม่สอน” 4. สื่อการสอน/สื่อประกอบ 4.1 Powerpoint ชัดเจน อ่านง่าย ไม่เกิน 8 บรรทัด 4.2 ภาพชัดเจน เหมาะสม 4.3 VDO สอดคล้องกับเนื้อหา ไม่สั้นและไม่ยาวเกินไป (เลือกช่วงเวลาในการชม VDO ให้ เหมาะสม) 4.4 เพลง ทันสมัยและเหมาะสมกับวัยของผู้เรียน 5. อุปกรณ์/เทคโนโลยี 5.1 ผู้สอนใช้อุปกรณ์มากกว่า 1 เครื่อง (ถ้ามี) 5.2 โปรแกรมอะไรก็ได้ที่ครูน ามาใช้ : ขอให้ฝึกใช้ให้ช านาญ 6. Wifi/Internet ต้องแรง และเสถียรตลอดระยะเวลาที่สอน 7. เวลา
NSKnowledge Management [6] มีวิธีการ/เทคนิคการเรียน-การสอนออนไลน์อย่างไร 1. ไม่ต้องอ่านทุกค าในสไลค์ ถ้าเตรียมาเยอะ ก็ให้นักศึกษาน าไปอ่านเอง 2. ไม่ต้องใส่ค าถามทุกหน้า นักศึกษาจะเบื่อไม่อยากเรียนออนไลน์ 3. กระตุ้นด้วยของที่ระลึกกับนักศึกษาระหว่างการเรียนการสอนออนไลน์บ้าง 4. อุปมา-อุปไมย เปรียบเทียบ 5. ตลกบ้าง 6. เปลี่ยนอิริยาบถ 7. ท ากิจกรรมย่อย พอประมาณ ไม่เพิ่มโหลดงานนักศึกษา 8. เปิด vdo ตรงประเด็น เร้าใจ ให้สรุปร่วมกัน 9. ช่องทางการตอบค าถาม...ได้หมด...เปิดไมค์ ตอบใน Chat ส่งรูปอิโมจิ มีการสร้างบรรยากาศในห้องเรียนออนไลนอย่างไรไม่ให้น่าเบื่อ 1. แจ้งวัตถุประสงค์และจ านวนข้อสอบที่ชัดเจน เช่น 1 ชั่วโมงมีข้อสอบ 4 ข้อ 2. สอนเนื้อหาหลักๆ สรุปเป็นหมวดหมู่ 3. สรุปให้ด้วย Flowchart 4. Mapping 5. แสงสว่าง เหมาะสม 6. อยู่ในสถานที่ที่เงียบ สงบ ไร้เสียงและสิ่งรบกวน หรือถ้ามีข้อจ ากัด..ขอให้ไม่มีเสียงรบกวนหรือ ขัดจังหวะการสอนน้อยที่สุด 7. อากาศ เหมาะสมะ ไม่ร้อน ไม่เย็นจนเกินไป 8. การติดต่อสื่อสารจากภายนอก เช่น โทรศัพท์ ข้อความไลน์ที่จะขัดจังหวะเวลาสอน 9. เตรียมน้ าไว้ดื่มระหว่างสอน
NSKnowledge Management [7] กลุ่มสอนภาคทฤษฎี อาจารย์ ดร.ภัทรนุช ภูมิพาน และ อาจารย์ ดร.กุลธิดา ทรัพย์สมบูรณ์ มีวิธีการ/เทคนิคการเรียน-การสอนออนไลน์อย่างไร อาจารย์ ดร.ภัทรนุช ภูมิพาน กล่าวว่า พอรับทราบมาว่ามีการแพร่ระบาดจากโรคโควิค-19 ก็ได้รับ มอบหมายให้ปรับเปลี่ยนวิธีการสอนภาคปฏิบัติเป็นรูปแบบออนไลน์ เลยมีแนวคิดว่าจะจัดบรรยายการเรียน การสอนภาคปฏิบัติออนไลน์ : เสมือนขึ้นฝึกในหอผู้ป่วย ของภาควิชาการพยาบาลกุมารเวชศาสตร์ รายละเอียดตามรูปภาพดังนี้ จากรูปภาพเป็นกิจกรรมที่มาจากขอความคิดเห็นจากนักศึกษาร่วมออกความคิดเห็นด้วย อาจารย์ ดร.กุลธิดา ทรัพย์สมบูรณ์กล่าวว่า ในสถานการณ์ออนไลน์ตอนนี้มีอะไรน่าสนใจบ้าง แล้วมีวิธีการอย่างไรเมื่อนักศึกษาไม่ได้อยู่ต่อหน้าเรา แล้วจะท าอย่างไรการสอนออนไลน์ในภาคปฏิบัติให้เขามี ความสนใจเป็นอย่างมาก ของภาควิชาการพยาบาลสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา รายละเอียดดังนี้
NSKnowledge Management [8] การเตรียมความพร้อมก่อนขึ้นหน่วยห้องคลอดของนักเรียนสู่ห้องเรียนภาคปฏิบัติระบบออนไลน์ 1. ก่อนที่จะเรียนจะจ าเป็นต้องสร้างบรรยายกาศให้เสมือนว่าก าลังอยู่ในห้องคลอด เล่าให้เห็นภาพ มากที่สุด 2. การเตรียมตัวขึ้นห้องคลอด มีอุปกรณ์อะไรบ้าง การเตรียมผู้สอนสู่ห้องเรียนภาคปฏิบัติระบบออนไลน์ 1. เตรียมบททบทวนให้นักศึกษา 2. สรุปใจความส าคัญให้นักศึกษา ท าอย่างไรไม่ให้นักศึกษาหลุดจากการเรียนออนไลน์ 1. มีการเตรียมเกมส์ให้นักศึกษา เช่น มีการฝึกทางออนไลน์ มีการแบ่งทีมช่วยกันตอบ เป็นต้น 2. มีอุปกรณ์ที่นักศึกษาสามารถหามาได้เองตามจินตนาการของนักศึกษา เช่น ตุ๊กตาอะไรก็ได้ที่มีหัว มีหน้าตา ที่น ามาฝึกปฏิบัติ แล้วน าขวดน้ า 2 ขวดซึ่งจ าลองเป็นขาซ้าย ขาขวาของแม่ที่ก าลังจะคลอดลูกแล้ว น าตุ๊กตาวางตรงกลางเป็นเด็กที่ก าลังจะคลอดออกมา เป็นต้น
NSKnowledge Management [9] การท าสถานการณ์จ าลองเสมือนจริง โดยให้นักศึกษาฝึกเป็นพยาบาลคนที่ 1 และ 2 มีการถามตอบ แล้วท าการฝึกไปพร้อมๆ กัน ซึ่งท าให้นักศึกษาเห็นภาพ สนุกสนานกับการเรียนวิธีนี้ได้มากขึ้น
NSKnowledge Management [10]
NSKnowledge Management [11] เรื่องที่ 2 ถอดบทเรียน “การรับมือกับนักศึกษา GEN Z” วันพุธที่ 11 พฤษภาคม 2565 เวลา 13.30-15.00 น. รูปแบบ Online ผ่านระบบ ZOOM วิทยากรร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ รองศาสตราจารย์ ดร.ปิยะธิดา นาคะเกษียร อาจารย์ประจ าภาควิชาการพยาบาลสาธารณสุขศาสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฐิติพงษ์ ตันค าปวน อาจารย์ประจ าภาควิชาการพยาบาลศัลยศาสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์สาธกา พิมพ์รุณ อาจารย์ประจ าภาควิชาสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวชศาสตร์ อาจารย์ ดร.นันทกานต์ มณีจักร อาจารย์ประจ าภาควิชาการพยาบาลรากฐาน ผู้ด าเนินรายการ อาจารย์ ดร.กุลธิดา ทรัพย์สมบูรณ์ อาจารย์ประจ าภาควิชาการพยาบาลสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา ค าถาม 1. จากวันที่เริ่มต้นการเป็นครูในวันแรกจนถึงปัจจุบัน มีอะไรที่เปลี่ยนแปลงไปบ้างกับนักศึกษาแต่ละรุ่นที่ได้ท า การสอน รองศาสตราจารย์ ดร.ปิยะธิดา นาคะเกษียร อยากขอเปลี่ยนหัวข้อเป็น ท าอย่างไรถึงจะจับมือกับเด็ก Gen Z ส าหรับการเรียนการสอนมีจุดเปลี่ยนมาก ย้อนไปเมื่อ 20 กว่าปีสมัยก่อนเป็นความสัมพันธ์เชิงอ านาจ เราต้องยอมรับว่าครูมีพลังอ านาจที่นักเรียนต้องฟัง ต้องเชื่อ เราบอกอะไรเขาต้องท าตาม เด็กในยุคก่อนๆ จะเชื่อมั่นในพลังอ านาจของครู พอถึงจุดเปลี่ยนเมื่อ 5 ปีที่แล้ว ได้มีช่องว่างของเรากับนักศึกษา มีบางอย่างห่างกันมากขึ้น สิ่งท าเราต้องท าความเข้าใจระหว่างเรากับนักศึกษา คือ มีระยะห่างกันเกิดขึ้นแต่ท าไม 5 ปีที่ผ่านมารู้สึกว่า นักศึกษามีบางสิ่งบางอย่างที่ไม่เปิดใจให้เรา ไม่รู้สึกสนุก จึงท าให้เราเองต้องระมัดระวังกับนักศึกษาเป็นอย่างมาก ฉะนั้น คน Gen อาจารย์กับนักศึกษามีความคิดที่แตกต่างกัน พอมีความต่างกันมากขึ้น ก็กลับมาพิจารณาว่า เกิดจาก สาเหตุอะไร และมีวิธีการจัดการอย่างไร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฐิติพงษ์ ตันค าปวน เจอการเปลี่ยนแปลงที่ชัดเจน คือ ตอนที่อาจารย์จบปริญญาโทก็ได้สอนนักศึกษาอยู่ระยะนึง จากนั้นได้ กลับไปศึกษาต่อปริญญาเอกเป็นเวลา 4-5 ปี พอกลับมาสอนได้เห็นความเปลี่ยนแปลงมากขึ้น คือก่อนไปศึกษาต่อ รู้สึกเราเป็น Gen เดียวกับนักศึกษาคือ รู้สึกสนุกมาก สอนอะไรนักศึกษาจะฟังหมด feedback กลับมาผลก็เป็นบวก หมด แต่พอกลับจากไปเรียน ปริญญาเอก รู้สึกถึงความเปลี่ยนแปลงที่ชัดเจน ท าไมสไตล์การสอนแบบเดิมมันถึงใช้ไม่ ได้ผลกับเด็กรุ่นนี้แล้ว feedback มีผล Netgative กลับมา การที่เราให้ข้อมูลไปนักศึกษาก็ไม่ปฏิบัติตาม เรามี ความรู้สึกว่ามีการต่อต้านเกิดขึ้น การสื่อสารในช่วงที่กลับมาจากเรียนต่อ รู้สึกว่านักศึกษาคุยกับเราคือ ไม่ให้เกียรติ เรา การสื่อสารไม่สุภาพ เราจึงได้แนวคิดในเรื่องของ Social การน าเทคโนโลยีต่างๆ เข้ามาใช้ เราจ าเป็นต้องปรับรูปแบบการสอนเพิ่ม มากขึ้น เพื่อที่จะดึงดูความสนใจของเด็ก ต้องสอนให้สั้น และพักให้มากขึ้น
NSKnowledge Management [12] ผู้ช่วยศาสตราจารย์สาธกา พิมพ์รุณ ตั้งแต่เกิดสถานการณ์โควิค-19 ที่ผ่านมาเห็นความเปลี่ยนแปลงได้ชัดเจนขึ้น โดยเฉพาะการสอนออนไลน์จะ เห็นจุดเด่นได้ชัดเจน อ านาจที่เรามีหมดไปแล้วจริงๆ ยิ่งสอนออนไลน์เหมือนคุยอยู่คนเดียว จึงจ าเป็นต้องมีวิธีการ ดึงดูดความสนใจ สิ่งที่เห็นคือการสื่อสาร แสดงให้เห็นว่า อ านาจของอาจารย์หมดไปแล้ว สิ่งที่เจอ คือ เรื่องของมารยาท เหตุการณ์เกิดขึ้นที่ศาลายาคือ นักศึกษาเดินมาขึ้นลิฟท์พร้อมกับเรา ในขณะที่ รปภ. ยกมือไหว้ นักศึกษากลับเดินมาเฉยๆ ซึ่งเราก็เป็นครูที่ปรึกษาของเขาด้วยแต่นักศึกษาไม่ให้ความเคารพอาจารย์ เหมือนเมื่อก่อน อาจารย์ ดร.นันทกานต์ มณีจักร ก่อนที่จะไปศึกษาต่อระดับปริญญาเอก เราสอนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศในห้องคอมฯ ซึ่งมึความเป็นกันเอง กับนักศึกษา หลังจากศึกษาจบได้กลับมาสอน ความเป็นกันเองกับนักศึกษาได้หมดไปแล้ว ซึ่งสมัยนี้เด็กมีความรู้ ทางด้านเทคโนโลยีเป็นอย่างมาก ปัญหาที่พบบ่อยๆ คือความเป็นนักศึกษา Gen นี้เขาไม่รู้ถึงมารยาทที่เหมาะสม เช่น การส่งข้อความมาหาครูตอน 5 ทุ่ม หรือ ตี 1 เป็นต้น “ช่วง 4-5 ปีที่เห็นได้ชัดเจนถึงความเปลี่ยนแปลงของนักศึกษา Gen นี้” เราต้องท าความรู้จักกับเด็ก Gen z ก่อนว่าท าไมเขาถึงได้มีลักษณะแบบนี้ เพื่อที่เราจะได้เข้าใจเขา ต้องบอกก่อนเลยว่า เด็ก Gen z เขาเกิดมาท่ามกลาง เทคโนโลยี ในขณะที่พวกเราเติบโตมาพร้อมกับเทคโนโลยี ดังนั้น เด็กรุ่นนี้จะรักความสะดวกสบาย และจะติดอยู่ใน โลกออนไลน์ Social ชอบท าอะไรหลายๆ อย่าง เก่งเทคโนโลยี มั่นใจ กล้าแสดงออก ตัดสินใจเร็ว ดังนั้น เขาอยาก โทรหาครู หรือไลน์หาครู เขาก็ท าทันทีเลย เขามีทัศนคติที่เปิดกว้างมากขึ้น เด็กรุ่นนี้เขาแสดงออกอย่างชัดเจน และที่ ส าคัญเด็ก Gen z จะรับข้อมูลที่สั้นๆ ได้ใจความไม่เยิ่นเย้อ ดังนั้น ถ้าเราพูดยาวๆ กับเด็ก Gen z เขาจะไม่อยากฟัง จุดอ่อน เขาจะมีความอดทนต่ า เบื่อง่าย รักความสะดวกสบาย ค าถาม 2. ถ้าจะจัดการเรียนการสอนให้กับนักศึกษา GEN Z ควรท าอย่างไรดี ตัวอย่างเช่น 1.1 จัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่เหมาะสม 1.2 ควรเน้นวิธีการเรียนรู้และท าความเข้าใจใน Concept ที่จ าเป็น 1.3 ใช้วิธีการสอนด้วยภาพ (Visual-Teaching Methods) 1.4 วิธีการมีส่วนร่วมที่ให้ผลอย่างรวดเร็ว
NSKnowledge Management [13] รองศาสตราจารย์ ดร.ปิยะธิดา นาคะเกษียร 5 ปีที่แล้ว รู้สึกถามตัวเองว่า จะท าอาชีพอาจารย์ต่อไปดีไหม ฉันเป็นอาจารย์มาตั้งแต่อายุ 24 ปี มันเป็น อาจารย์นานเกินไปไหม ซึ่งเมื่อก่อน เราเป็นอาจารย์ที่เป็นนักชุมชน เป็นผู้น าต่างๆ ซึ่ง feedback ของนักศึกษาแค่คนเดียวเท่านั้นที่ท าให้เราหวั่นไหวได้กับค าว่า “อย่าเอาตัวเองเป็นจุด ศูนย์กลางได้ไหม” ท าให้กลับมาคิดว่า ฉันท าอะไรให้นักศึกษาคิดว่าฉันท าตัวเองเป็นจุดศูนย์กลาง จึงมาดูตัวเองจึงได้ พบว่า ตัวเองมีภารกิจที่มากมาย ท าให้มีการสื่อสารที่สั้น และคิดว่าตัวเองเป็นจุดศูนย์กลางที่นักศึกษาต้องยอมรับให้ได้ สิ่งแรกที่เราต้องกลับมาคิดใหม่ว่า ตัวคนสอนความต่างทั้งเรื่อง Gen ความคิด ภูมิหลัง ต้องเปลี่ยนมาเป็นการ สอนนักศึกษาเชิงบวกให้มาก ถ้าคิดติดลบจะท าให้เรามีความคิดที่ไม่ดีกับเขาทันที “เปลี่ยนความคิดจากเชิงลบมาเป็น ความคิดเชิงบวก” ตอนนี้เราไม่ได้มีหน้าที่แค่เป็นอาจารย์อย่างเดียว แต่ตอนนี้เราก าลังเป็นวัยที่เป็นเหมือนคุณแม่ของ เขา เอาน้ าเย็นเข้าลูบ เด็กวัยนี้เขาไม่ต้องการเรา แต่เขาต้องการความเท่าเทียม ความชัดเจน ต้องการการยอมรับใน ศักยภาพของเขา ซึ่งเราจะให้อิสรภาพกับเขาในด้านความคิด และออกแบบกันเอง เพียงแต่เราบอกเป้าหมายว่าเรา ต้องการให้งานออกมารูปแบบไหน CLO รายวิชาเป็นอย่างไร ต้องการให้เกิดอะไร จนมาออกแบบ คิดกันเองว่าจะท า อย่างไร จะจัด focus group วันไหน จะจัดเวทีแลกเปลี่ยนกับชุมชนวันไหน ลองเลือกผู้น ากลุ่ม โดยทุกคนต้องแบ่ง กันให้ได้ พอเรามอบอ านาจการตัดสินใจให้เขา เขารู้สึกว่าท างานได้ดีขึ้นมาก ข้อคิดการที่จะดูเด็ก Gen z คือ 2 c กับ 1 r 1. Communication การสื่อสาร ภาษาที่เข้าใจง่าย ค าฮิต ค าฮอต ภาษาเดียวกันเด็ก Gen z ใช้การติดต่อทุก ช่องทางรับรู้ว่าเขาชอบอะไร เช่น การส่งงานด้วย tiktok เป็นต้น 2. Cooperation ความร่วมมือ (เพราะเขาชอบการท างานเป็นทีม) 3. Respect ยอมรับในความต่างเคารพในความเป็นมนุษย์ของเขา และความคิดของเขา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฐิติพงษ์ ตันค าปวน “การสื่อสารเกิดปัญหาเป็นอย่างมาก” เหตุการณ์ที่เจอคือ คนไข้เรียกอาจารย์ท๊อปและนักศึกษาไปต่อว่า ประเด็น คือ คนไข้แจ้งความประสงค์ว่าไม่ให้นักศึกษาคนนี้มาตรวจอีก เนื่องจาก นักศึกษาไม่ได้มองคนไข้ว่าเป็น มนุษย์เพราะนักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติกับหุ่น นักศึกษาไม่ให้เกียรติมองคนไข้ว่าไม่ใช่มนุษย์คนนึง และจะท าอะไรก็ไม่ได้ แจ้งให้คนไข้ทราบ ซึ่งถือเป็นความล้มเหลวในการสอนเป็นอย่างมาก หลังจากที่ปัญหานี้เกิดขึ้น จึงคิดที่จะปรับสัมพันธภาพกับนักศึกษาว่าจะต้องท าอย่างไรบ้างเมื่อต้องขึ้นวอร์ด พบผู้ป่วย สิ่งที่จะต้องท าทุกครั้งก่อนนักศึกษาจะขึ้นวอร์ดต้องมาคุยกับอาจารย์ก่อนทุกครั้ง ถึงกรณีที่คุณเจอคนไข้ แล้วคุณจะปฏิบัติตัวอย่างไร พร้อมกับมีfeedback ให้นักศึกษาทราบ ซึ่งอาจารย์ท๊อปมองว่า เป็นรายละเอียดเล็กๆ น้อยๆ ทีไม่ต้องสอน แต่เราก็ต้องสอนตรงนี้ก่อน
NSKnowledge Management [14] ค าถาม 3. กรณีเรียนออนไลน์ที่เป็นทฤษฎีมีเทคนิคการสอนอย่างไร ผู้ช่วยศาสตราจารย์สาธกา พิมพ์รุณ อันดับ 1 จะต้อง update ตัวเอง รู้จักโปรแกรมที่จะใช้เนื่องจากจะเสียเวลาค่อนข้างมากในการ ค้นหาปุ่มต่างๆ ที่จะน าเสนอในการสอน อันดับ 2 มีเทคนิคในการบรรยาย คือ นักศึกษาไม่ชอบการฟังบรรยายส่วนมากจะชอบดูคลิปวีดีโอ หรือการยกตัวอย่างจะท าให้นักศึกษาเห็นภาพค่อยข้างชัดเจน อันดับ 3 เน้น concept ให้ชัดเจน สั้นๆ ได้ใจความ อันดับ 4 มีส่วนร่วมในการเรียนการสอน (มีกิจกรรมให้ท า) อันดับ 5 การสอบที่เป็น Online ต้องท าเป็นมองไม่เห็นบ้างทั้งๆ ที่รู้ว่าเขาทุจริตที่ส าคัญต้องขยัน ออกข้อสอบ และ update ทุกครั้ง อาจารย์ ดร.นันทกานต์ มณีจักร มี 3 เทคนิค ที่จะขอน าเสนอ ดังนี้ 1. Rules กฎ คือ เวลาที่สอนต้องมีกฎให้กับนักศึกษาทราบถึงรูปแบบการเรียนการสอน และ นักศึกษาต้อท าอะไรบ้าง 2. Response การตอบสนอง คือ ก าหนดช่วงเวลาในการติดต่อสื่อสารให้ชัดเจน 3. Respect ความเคารพ คือ การให้เกียรติในการตัดสินใจ ค าถาม 4. การรับมือกับนักศึกษา Gen Z มีวิธีการจัดการอย่างไรกับกรณีที่เกิดขึ้น เช่น หากนักศึกษาที่อยากได้ ความรู้ที่แตกต่างกัน นักศึกษาที่ต่อต้าน นักศึกษาที่มองตัวเองเป็นหลัก และนักศึกษาที่เบื่อง่าย รองศาสตราจารย์ ดร.ปิยะธิดา นาคะเกษียร อาจารย์ได้เจอกับตัวเองด้วยค าพูดที่ว่า “เอาตัวเองเป็นศูนย์กลาง” จึงท าให้ต้องมองตัวเองก่อนว่าเป็น จริงไหม แต่สิ่งที่เราจะท าเราไม่เคยได้ถามเขาก่อน ซึ่งสิ่งที่เราคิดกับสิ่งที่นักศึกษาคิดจะไม่เหมือนกัน เพราะฉะนั้นสิ่งที่จะท าก็คือ “อะไรที่รู้สึกล าบากใจ หรือไม่เห็นด้วย ขอให้กล้าที่จะพูด และสื่อสารกันอย่าง
NSKnowledge Management [15] ตรงไปตรงมา วิธีการแก้ปัญหา การประเมินผลต้องมีความร่วมมือซึ่งกันและกัน และท าให้นักศึกษาเห็นว่าเรา พร้อมที่จะปรับตัว และเรียนรู้ร่วมกันกับนักศึกษา” สิ่งที่ส าคัญคือ “เราต้องมีความมั่นใจในตัวเอง และโน้มเอียงมาทางนักศึกษาบ้าง” ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฐิติพงษ์ ตันค าปวน มีหลักการด้วยกัน 3 ข้อดังนี้ 1. ต้องพยายามและปรับปรุงตัวเอง 2. อย่าไปจบทีเดียวที่ปลายทาง ให้ดูระหว่างทางประกอบด้วย 3. ต้องมีช่องทางการสื่อสารที่เป็นส่วนตัว เนื่องจากนักศึกษาบางคนไม่กล้าที่จะถามต่อหน้าเพื่อน ผู้ช่วยศาสตราจารย์สาธกา พิมพ์รุณ มีหลักการและวิธีคิดดังนี้ 1. อย่าไปต าหนิเขา เพราะจะเกิดการต่อต้าน เนื่องจากเขาต้องการการยอมรับจากเพื่อน 2. ยอมรับในตัวตนของเขา รับฟังเขา เรียกมาพูดคุย ถามเรื่องราวความเป็นไปของนักศึกษา (คุยกันเป็นการส่วนตัว) 3. สามารถขอโทษนักศึกษาได้ในความผิดพลาดของเรา อาจารย์ ดร.นันทกานต์ มณีจักร มีการสอบถามถึงปัญหาในการเรียนอยู่ตลอดเวลา ใช้เหตุผลในการพูดคุยกับนักศึกษา เช่น มีการให้ เวลาในการส่งงาน เป็นต้น 1. ตัวเราเองต้องมีการปรับตัวให้เข้ากับนักศึกษา 2. มีความเป็นตัวเองสูง 3. การประเมินผล ถ้าเราปรับตัวเองได้ เราจะค้นพบสิ่งใหม่เพื่อน ามาปรับปรุงได้ ค าถาม 5. อยากให้เล่าความภูมิใจและความส าเร็จที่ได้สอนนักศึกษา GEN Z รองศาสตราจารย์ ดร.ปิยะธิดา นาคะเกษียร “นักศึกษาปัจจุบัน และนักศึกษาในอดีต เข้ามาขอรับการปรึกษาโดยที่อาจารย์ได้ให้ความช่วยเหลือดูแล นักศึกษา จนสามารถผ่านพ้นวิกฤติไปได้” อาจารย์ ดร.นันทกานต์ มณีจักร “การที่มีช่องทางในการติดต่อนักศึกษา และการให้เกียรตินักศึกษา”
NSKnowledge Management [16] ผู้ช่วยศาสตราจารย์สาธกา พิมพ์รุณ “สังเกตพฤติกรรมนักศึกษา และสอบถามกับนักศึกษาโดยตรงเป็นการส่วนตัว จึงพบว่า นักศึกษามี การตอบสนองที่ดี และนึกถึงเรา” ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฐิติพงษ์ ตันค าปวน “ประทับใจในตัวนักศึกษาที่เราได้พูดคุยถึงปัญหา และนักศึกษาสามารถปรับปรุงตัวเองให้ดีขึ้น” สรุปส่งท้าย ครูมีหน้าที่สอนหนังสือ และตอบสนองความต้องการด้านการศึกษาของแต่ละรุ่นอยู่เสมอ และมีส่วน ช่วยเหลือให้นักศึกษาในแต่ละรุ่น จนถึงรุ่น GEN Z ในปัจจุบันได้จบการศึกษาจากคณะฯ มีศักยภาพในการ ท างานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งมี 3 องค์ประกอบ ดังนี้ 1. เข้าใจความแตกต่างของทุกช่วงวัย 2. รับฟังความเห็นต่าง 3. สื่อสารอย่างสร้างสรรค์ เพื่อช่วยให้คนแต่ละกลุ่มแต่ละวัยลดช่องว่างระหว่างกันได้ดีขึ้น ซึ่งมีส่วนท าให้สังคมอยู่กันอย่างมี ความสุข และมีความเข้าใจกัน
NSKnowledge Management [17]
NSKnowledge Management [18]
NSKnowledge Management [19] เรื่องที่ 3 ถอดบทเรียน “กิจกรรมบุคลากรต้นแบบ NS core value : IDOL ในหัวข้อเรื่อง “ช านาญการพิเศษ ไม่ใช่เรื่องยาก” นางสาวดารานิตย์ กิ่งวัน ผู้ลิขิต คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล โดยงานพัฒนาคุณภาพและ บริหารความเสี่ยง งานทรัพยากรบุคคล และ งานประชาสัมพันธ์และพัฒนาภาพลักษณ์องค์กร จัดกิจกรรม “บุคลากรต้นแบบ NS core value: IDOL” ในหัวข้อเรื่อง “ช านาญการพิเศษ ไม่ใช่เรื่องยาก” วันที่ 10, 12, 17 และ 19 พฤษภาคม 2565 เวลา 12.30-13.00 น. เพื่อให้ความรู้และความเข้าใจแก่บุคลากรสายสนับสนุน ในเรื่อง Innovation (สร้างนวัตกรรม) Direct toward Excellence (มุ่งมั่นสู่ความเป็นเลิศ) Onward Improvement (เรียนรู้ตลอดชีวิต คิด พัฒนาอย่างต่อเนื่อง) และ Leadership (กล้าคิด กล้าท า กล้าน า กล้าเปลี่ยน) ภายใต้ Core Value ของคณะพยาบาลศาสตร์ กิจกรรมในครั้งนี้ได้รับเกียรติจาก นายสุทธิศักดิ์ ศรีสวัสดิ์ นักปฏิบัติการวิจัย (ช านาญการพิเศษ) หัวหน้างานส่งเสริมและพัฒนางานวิจัย คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นวิทยากรแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ให้ความรู้ โดยมีผู้ด าเนินรายการ ดังนี้นายกณพ ค าสุข นักวิชาการพัฒนาคุณภาพ นางสาวปริชาติ แก้วส าราญ เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป นายวัชรินทร์ ควรหาเวช นักวิชาการสารสนเทศ และนางสาวแสงเดือน พรหมจันทร์ เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป โดยกิจกรรมดังกล่าว จัดในรูปแบบออนไลน์ ผ่านระบบ Zoom
NSKnowledge Management [20] ครั้งที่ 1 กิจกรรมวันที่ 10 พฤษภาคม 2565 เรื่อง Innovation (สร้างนวัตกรรม) ครั้งที่ 2 กิจกรรมวันที่ 12 พฤษภาคม 2565 เรื่อง Direct toward Excellence (มุ่งมั่นสู่ความเป็นเลิศ) ครั้งที่ 3 กิจกรรมวันที่ 17 พฤษภาคม 2565 เรื่องOnward Improvement (เรียนรู้ตลอดชีวิต คิด พัฒนาอย่างต่อเนื่อง) ครั้งที่ 4 กิจกรรมวันที่ 19 พฤษภาคม 2565 เรื่องLeadership (กล้าคิด กล้าท า กล้าน า กล้าเปลี่ยน) ผลงานที่ควรใช้ขอต าแหน่งช านาญงานพิเศษ เจ้าหน้าที่สายสนับสนุนต้องใช้ผลงานจ านวน 3 เรื่อง รายละเอียด ดังนี้ 1. พนักงานมหาวิทยาลัยสายงานวิจัย: ต าแหน่งผู้ช านาญการพิเศษ 1.1 คุณสมบัติ 1.1.1 ระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า ต้องด ารงต าแหน่งนั้นๆ มาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี 1.1.2 ระดับปริญญาโทหรือเทียบเท่า ต้องด ารงต าแหน่งนั้นๆ มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี 1.1.3 ระดับปริญญาเอกหรือเทียบเท่า ต้องด ารงต าแหน่งนั้นๆ มาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี 1.2 ผ่านการประเมินประมาณงานในหน้าที่ คุณภาพของงานในหน้าที่และสมรรถนะ
NSKnowledge Management [21] 1.3 ผลงานที่เสนอขอต าแหน่ง ต าแหน่งนักปฏิบัติการวิจัย ต าแหน่งผู้ช่วยวิจัย และเจ้าหน้าที่วิจัย 1. งานวิจัยหรือสิ่งประดิษฐ์อย่างน้อย 3 เรื่อง ที่ผู้ขอแต่งตั้ง เป็น ผู้ด าเนิน ก า รห ลั ก ห รื อเป็น ชื่ อ แ ร ก ห รื อเป็น Corresponding Author และมีคุณภาพในระดับ “ดี” หรือ 2. งานวิจัยหรือสิ่งประดิษฐ์ จ านวน 2 เรื่อง ที่ผู้ขอแต่งตั้ง เป็น ผู้ด าเนิน ก า รห ลั ก ห รื อเป็น ชื่ อ แ ร ก ห รื อเป็น Corresponding Author มีคุณภาพในระดับ “ดี” และ งานวิจัยที่ผู้ขอแต่งตั้งท าร่วมกับผู้อื่นโดยมีส่วนร่วมรวมกัน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 และทุกเรื่องมีคุณภาพในระดับ “ดี” เสนอผลงานอย่างน้อย 3 เรื่อง มีคุณภาพในระดับ “ดี” และมีอย่างน้อย 2 เรื่อง ที่ผู้ขอแต่งตั้งเป็นผู้ด าเนินการหลัก หรือเป็นชื่อแรก หรือเป็น Corresponding Author ทั้งนี้ อาจเสนอผลงานวิจัย จ านวน 3 เรื่อง ซึ่งได้รับการตีพิมพ์ เผยแพร่ในวารสารทางวิชาการในระดับชาติหรือนานาชาติ หรือ อาจเสนอผลงาน จ านวน 3 เรื่อง ที่ประกอบด้วย 1. งานวิจัยอย่างน้อย 1 เรื่องที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ใน วารสารทางวิชาการในระดับชาติหรือนานาชาติ และ 2. งานวิเคราะห์หรืองานสังเคราะห์ หรือ คู่มือปฏิบัติงาน หรือบทความทางวิชาการ หรือต ารา หรือหนังสือ หรืองาน แปล ห รือเอกส า รป ระกอบก า รบ ร รย าย (เอกส า ร ประกอบการบรรยาย จ านวน 3 หัวข้อเทียบได้กับ 1 เรื่อง) หรือผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น 2. พนักงานมหาวิทยาลัย : ต าแหน่งผู้ช านาญการพิเศษ 2.1 คุณสมบัติ 2.1.1 คุณวุฒิระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า ต้องด ารงต าแหน่งนั้นๆ มาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี 2.1.2 คุณวุฒิระดับปริญญาโทรหรือเทียบเท่า ต้องด ารงต าแหน่งนั้นๆ มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี 2.1.3 คุณวุฒิระดับปริญญาเอกหรือเทียบเท้า ต้องด ารงต าแหน่งนั้นๆ มาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี 2.2 ผลงานที่เสนอขอต าแหน่ง เสนอผลงานอย่างน้อย 3 เรื่อง มีคุณภาพในดับ “ดี” และมีผลงานอย่างน้อย 2 เรื่อง ซึ่งผู้ขอแต่งตั้ง เป็นผู้ด าเนินการหลักหรือเป็นชื่อแรก หรือเป็น Corresponding Author โดยไม่ก าหนดจ านวนร้อยละการมี ส่วนร่วมทั้งนี้ผลงานต้องประกอบด้วย กลุ่มวิชาชีพเฉพาะหรือกลุ่มสนับสนุนทางวิชาการ กลุ่มสนับสนุนทั่วไป 1. คู่มือปฏิบัติงาน หรืองานวิเคราะห์หรืองานสังเคราะห์ อย่างน้อย 1 เรื่อง และ 2. งานวิจัย หรือบทความทางวิชาการ หรือต ารา หรือ หนังสือ หรืองานแปล หรือเอกสารประกอบการบรรยาย (เอกสารประกอบการบรรยาย จ านวน 3 หัวข้อเทียบได้กับ 1 เรื่อง) หรือผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น 1. งานวิเคราะห์หรืองานสังเคราะห์ อย่างน้อย 1 เรื่อง และ 2. คู่มือปฏิบัติงาน หรืองานวิจัย หรือบทความทางวิชาการ หรือต ารา หรือหนังสือ หรืองานแปล หรือเอกสาร ประกอบการบรรยาย (เอกสารประกอบการบรรยาย จ านวน 3 หัวข้อเทียบได้กับ 1 เรื่อง) หรือผลงานทาง วิชาการในลักษณะอื่น
NSKnowledge Management [22] ควรเริ่มต้นอย่างไร ประเด็นข้อที่ 1 มองปัญหาของงานให้ได้ซึ่งอาจจะได้นวัตกรรมใหม่ๆ เกิดขึ้น ประเด็นข้อที่ 2 มองปัญหาให้แตกต่าง ต้องมองให้เป็นวิชาการ คือ ท าเป็นงานวิจัยได้อย่างไร คู่มือ ต้องท าอย่างไร ประเด็นข้อที่ 3 แนะน าให้ท าวิจัยก่อน ซึ่งเป็นสิ่งที่ยากที่สุด เนื่องจาก การท าวิจัยจะมีผู้ประเมินผล งานและที่ส าคัญจะได้ประสบการณ์ ซึ่งการท าวิจัยจะได้วิธีการเขียน เทคนิคการเขียน ซึ่งงานวิเคราะห์มีเทคนิค การเขียนคล้ายงานวิจัย เคล็ดลับเมื่อเจอปัญหาและแนวทางการแก้ไข 1. ให้ก าลังใจตัวเราเอง ไม่ต้องแข่งขันกับใคร อย่าท้อแท้ พร้อมกับตั้งเป้าหมายให้ชัดเจน 2. การจัดการเวลา ถ้าบอกว่าไม่มีเวลา เราก าลังบั่นทอนตัวเอง 3. การแบ่งผลงานร่วมกันให้ท ากับเพื่อนสลับกันไป-มา จะท าให้เราท าเพียง 2 เรื่อง 4. การคิดหัวข้อ อาจจะเจอปัญหา ขอแนะน าให้ศึกษาวิธีการเขียน การแยกประเภท การจัดหมวดหมู่ และวิธีการให้ชัดเจน 5. ผู้บริหารให้ความสนับสนุนโดยการให้ค าปรึกษา ให้ข้อแก้ไขพร้อมข้อเสนอแนะ 6. การเผยแพร่ผลงาน แนะน าให้เสนอผลงานในมหาวิทยาลัย เช่น งานมหกรรมคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล หรือหากอยากท้าทายให้น าเสนอในงานประชุมวิชาการภายนอกมหาวิทยาลัย ควรมีอะไรมาสนับสนุนให้บุคลากรในคณะฯ ท านวัตกรรมส าเร็จบ้าง การมีที่ปรึกษา หรือการเรียนรู้ด้วยตนเอง ศึกษาตัวอย่างจากที่อื่น มีวิธีการอะไรที่ท าให้ได้ผลงานใหม่ในแต่ละปี 1. ศึกษาค้นคว้าข้อมูลอยู่เป็นประจ า ทั้งข้อมูลเก่า และข้อมูลใหม่ เพื่อน ามาวิเคราะห์ 2. หาเรื่องที่น่าสนใจ พร้อมกับสรุปรวบรวมประเด็น ความเป็นผู้น า ส าคัญอย่างไรบ้างส าหรับสายสนับสนุน การท างานมีปัญหาเกิดขึ้นตลอดเวลา ภาวะผู้น าจึงมีความส าคัญเป็นอย่างมากซึ่งเป็นเหมือนการ กระตุ้นให้เกิดพลังการท างาน มีการชี้น า แนะแนวหาทางแก้ปัญหา ส าหรับคนที่ท างานคนเดียว ความเป็นผู้น า มีจ าเป็นเช่น มีความกล้าคิด กล้าท า เป็นเหมือนกับการสร้างภาวะผู้น าของเราเองซึ่งจะน าพาตนเองให้ท างาน บรรลุเป้าหมายประสบความส าเร็จได้ ดังนั้น ภาวะผู้น ามีอยู่ในตัวทุกคนไม่ว่าจะท างานอยู่ในต าแหน่งใดก็ตาม
NSKnowledge Management [23] เชิญชวนสายสนับสนุนให้ท าต าแหน่งช านาญการพิเศษ 1. ทุกคนมีสิทธิ์ท าได้ 2. มีความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน 3. มีรายได้เพิ่มขึ้นนอกเหนือจากเงินเดือนประจ า 4. สามารถสร้างชื่อเสียงให้กับตนเอง และองค์กร
NSKnowledge Management [24] เรื่องที่ 4 ถอดบทเรียน กิจกรรมสัญจรติดตามการพัฒนาโครงการ/กิจกรรมพัฒนาคุณภาพงาน/ นวัตกรรมหลังจากการอบรมเชิงปฏับัติการ ประจ าปี 2565 วันที่ 20 เมษายน 2565 เวลา 09.00-16.00 น. ผ่านระบบออนไลน์Microsoft Teams นางสาวดารานิตย์ กิ่งวัน ผู้ลิขิต กิจกรรมในวันนี้จัดขึ้นเพื่อปลูกฝังให้บุคลากรเกิดกระบวนการปรับปรุงคุณภาพงาน (learning) และผลักดันให้เกิดการบูรณางานนวัตกรรมให้เป็นส่วนหนึ่งของงานประจ า โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.สมสิริ รุ่งอมรรัตน์ รองคณบดีฝ่ายพัฒนาคุณภาพ, รองศาสตราจารย์วีรยา จึงสมเจตไพศาล รองคณบดีฝ่ายทรัพยากร บุคคล, อาจารย์ ดร.นันทกานต์ มณีจักร ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายนวัตกรรมการศึกษาและสารสนเทศ, อาจารย์ ดร. ศศิธารา น่วมภา ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิจัย คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ และรองคณบดี/ผู้ช่วยคณบดี ในก ากับของแต่ละหน่วยงาน ร่วมให้ข้อเสนอแนะ ซึ่งมีผู้สนใจเข้าร่วมส่งผลงานจากหลายหน่วยงานภายใน คณะฯรวมทั้งสิ้น 17 ผลงาน แบ่งกลุ่มเป็น 5 ประเภท คือ 1. กลุ่ม Line 2. กลุ่มนวัตกรรมกระบวนการ 3. กลุ่มออนไลน์ 4. กลุ่ม Websiteและฐานข้อมูล 5. กลุ่ม QR-Code รายละเอียดดังนี้ ผลงาน ข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิละรองคณบดี/ ผู้ช่วยคณบดีในก ากับของแต่ละหน่วยงาน กลุ่ม Line งานประชาสัมพันธ์ฯ เรื่อง Pr-Community 1. มี link เก็บเชื่อมข้อมูลหรือไม่ 2. ให้ท าการสอบถามกับผู้ใช้บริการว่าต้องการรูปแบบไหน 3. อยากให้สามารถประมวลผลได้ 4. ต้องมีการลองใช้งานก่อน และมีการปรับปรุงแก้ไขปัญหา ก่อนที่จะเปิด ให้บริการ งานทรัพยากรบุคคล เรื่อง WeHR are One : One for you 1. ให้ท าการสอบถามกับผู้ใช้บริการว่าต้องการทราบข้อมูลเรื่องใด 2. ระบบการเตือนการลา มาสาย เข้า-ออกงาน ทุกสัปดาห์ 3. สามารถเข้าถึงระบบได้ง่าย สะดวกต่อการใช้งาน 4. ข้อมูลที่ส าคัญควรมีอยู่ในเมนูหลัก กลุ่มนวัตกรรมกระบวนการ ศูนย์ประสานเครือข่ายต่างประเทศ เรื่อง Road to abroad Bootcamp 1. อยากให้ท าเป็น Flow Chart เนื่องจากเป็นกระบวนการที่น่าสนใจ 2. อยากให้ท าการจดลิขสิทธิ์ งานบริหารจัดการ เรื่อง ระบบบริหารพื้นที่และความปลอดภัย 1. มีวิธีการด าเนินการแบบใหม่เกี่ยวกับความปลอดภัยอย่างไร 2. ยังไม่เห็นภาพว่าอาคารแต่ละชั้นมีหน้าตาอย่างไร อุปกรณ์ช่วยเหลืออยู่ ตรงไหนบ้าง 3. ควรให้มีข้อมูลใน Call Tree โดยเพิ่มเนื้อหาในส่วนนี้เข้าไป 3. เพียงพอหรือไม่ถ้าจะมีการ Scan Qr-code เพียงอย่างเดียว 4. ควรเน้นการประชาสัมพันธ์เพื่อดึงดูดความสนใจของผู้ใช้บริการเกี่ยวกับ QR-code มีไว้มีประโยชน์อย่างไร
NSKnowledge Management [25] ผลงาน ข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิละรองคณบดี/ ผู้ช่วยคณบดีในก ากับของแต่ละหน่วยงาน 5. QR-code จะอยู่ตามห้องต่างๆ และมีตามจุดต่างๆ แยกพื้นที่กันไป 6. ทดลองท าออกมาประมาณ 1-2 ชั้น เพื่อทดลองใช้และน ามาพิจารณาว่ามี ปัญหาอะไรที่ควรปรับแก้ไข 7. รองคณบดีฝ่ายพัฒน าคุณภาพ จะมีการปรึกษากับรองคณบดี ฝ่ายบริหาร เพื่อด าเนินการต่อ สิ่งที่งานประชาสัมพันธ์อนุเคราะห์ให้ความช่วยเหลือ ดังนี้ จะด าเนินการท าคลิปวีดีโอสั้นๆ เป็นสื่อน าเสนอให้คนเข้าใจง่าย โดยงาน บริหารต้องเป็นผู้ให้ข้อมูล งานนโยบาย แผน และงบประมาณ เรื่อง การขอกันเงินเหลือมปีอย่างมีประสิทธิภาพ 1. ประชาสัมพันธ์คล้ายๆ ของศูนย์ประสานเครือข่ายต่างประเทศ เรื่อง Road to abroad Bootcamp โดยการใช้ spark/ spin/ sustain 2. ส ารวจความต้องการของกลุ่มเป้าหมายว่าต้องการให้ท าสื่อในลักษณะใด งานบริการวิชาการ เรื่อง E-mail ตอบรับฉับไว 1. สอบถามความพึงพอใจผู้ลงทะเบียนว่าพอใจกับระบบนี้หรือไม่ อย่างไร เพื่อน ามาปรับปรุงระบบ 2. ควรมีdata ให้เห็นว่าปริมาณงานลดลง 3. ระยะเวลาที่ลดลงอยู่ในขั้นตอนใด 4. การประเมินผลควรประเมินทั้งความพึงพอใจ และไม่พึงพอใจ 5. ควรด าเนินการใน google 365 แทน google drive เนื่องจากนโยบาย การปรับเปลี่ยนการใช้งาน และคณะซื้อระบบ google 365 รองรับการ ด าเนินงานของบุคลากรในคณะ กลุ่มออนไลน์ ศูนย์การเรียนรู้ทางการพยาบาล (LRC) เรื่อง Effective Booking a bed for Practice 1. แนะน าให้ท าเป็นคู่มือเพื่อขอต าแหน่งทางวิชาการ 2. แนะน าให้เก็บความพึงพอใจเพื่อน าผลมาปรับปรุงกระบวนการและแก้ไข 3. ให้เพิ่มเติมข้อมูลแผนผังที่ตั้งของเตียงแต่ละห้อง เพื่อให้นักศึกษาเห็นภาพ ก่อนจองเตียง 4. ควรแนะน าและสอนวิธีการท า เพื่อหน่วยงานอื่นๆ สามารถน ามา ประยุกต์ใช้ได้กับหน่วยงานของตนเอง งานห้องสมุด เรื่อง การพัฒนาบริการ Nursing eBooks on Ebrary 1. ให้ท าการสอบถามข้อมูลความต้องการกับหัวหน้าภาควิชาฯ 2. ควรเก็บเป็นสถิตการใช้งานให้เป็นวงรอบการท างานเพื่อจะได้ทราบ ปัญหา, วิธีการปรับปรุงแก้ไขเพื่อน ามาพัฒนาให้เป็นระบบที่สมบูรณ์ 3. จัดท าคู่มือเพื่อให้สามารถเข้าใช้งานได้ง่ายขึ้น บัณฑิตศึกษา เรื่อง Student Tracking System 1. แนะน าให้น ามาใช้กับนักศึกษาหลักสูตรป.โท สาขาอื่น 2. ท าคู่มือการใช้งาน เพื่อเก็บเป็นผลงาน งานพัฒนานักศึกษา เรื่อง พัฒนาระบบการลาศึกษาออนไลน์ ส าหรับ นักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต 1.ควรมีขั้นตอนที่ให้หัวหน้าวิชาทราบว่านักศึกษาลาไปกี่วัน เกินก าหนด หรือไม่ 2. ขอให้งานพัฒนานักศึกษาส่งข้อมูให้อาจารย์ที่ปรึกษา สามารถให้การดูแล นักศึกษาต่อได้
NSKnowledge Management [26] ผลงาน ข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิละรองคณบดี/ ผู้ช่วยคณบดีในก ากับของแต่ละหน่วยงาน กลุ่ม Website และฐานข้อมูล งานบริการการศึกษา เรื่อง การพัฒนาระบบวิเคราะห์ข้อสอบออนไลน์ แนะน าให้ท าเป็นคู่มือเพื่อขอต าแหน่งทางวิชาการ งานทรัพยากรบุคคล เรื่อง Smart Job Smart Me 1. ให้ท าการสอบถามกับผู้ใช้บริการว่าต้องการอะไรเพิ่มเติม 2. ระบบ Smart Job Smart Me สามารถใช้กับสายวิชาการได้หรือไม่ 3. ให้ update การใช้งานให้เป็นรูปธรรม ท าให้เร็วขึ้น งานส่งเสริมและพัฒนางานวิจัย เรื่อง ฐานข้อมูลวารสาร Q1 ทางการพยาบาล ควรมีเทคโนโลยีที่ท าให้อยากดูจนจบ งานเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง NSIT Portal และ IT Corner สังคมของการ เรียนรู้ในรูปแบบ Metaverse 1. ขอให้ด าเนินการให้เสร็จภายในเดือนกรกฎาคม 2565 เนื่องจากมีหลาย หน่วยงานที่รอใช้ เช่น พิพิธภัณฑ์ และหลักสูตรอื่นๆ เป็นต้น 2. กลุ่มนักศึกษาจะได้ใช้ประโยชน์ในการเรียนการสอนได้มากที่สุด งานพัฒนาคุณภาพและบริหารความเสี่ยง เรื่อง ฐานข้อมูล KPI Online NSMU ของคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ไม่มีข้อเสนอแนะ แต่ขอให้ท าออกมาให้ใช้งานได้เร็วๆ กลุ่ม QR-Code งานคลังและพัสดุ (การเงิน) เรื่อง การใช้คิวอาร์โค้ดในการจัดหาเงินทุนการศึกษา (e-Donation) 1. อยากให้เจาะกลุ่มผู้บริจาคที่หลากหลาย 2. ควรมีการประชาสัมพันธ์ในช่องทางที่หลากหลาย เพื่อประชาสัมพันธ์ใน การบริจาคขอรับทุนการศึกษา อาจใช้รูปแบบวีดีโอ/ภาพเคลื่อนไหว/ infographic เป็นต้น 3. ควรมีการแยกประเภทของเงินบริจาคให้ชัดเจน หากท าได้ เช่น เพื่อ ทุนการศึกษา เพื่อสนับสนุนการเรียนการสอน 4. รองคณบดีฝ่ายพัฒนาคุณภาพจะประสานกับงานพัฒนานักศึกษา เรื่อง ข้อมูลศิษย์เก่าเพื่อสนับสนุนเงินบริจาคให้กับรุ่นน้อง งานคลังและพัสดุ (พัสดุ) เรื่อง การประยุกต์ใช้คิวอาร์โค้ดในการจัดเก็บข้อมูล ครุภัณฑ์ 1. หากขอใช้ระบบของ SiPH แล้วน ามาเชื่อมระบบซ่อมของงานบริหาร จัดการได้ สามารถจดลิขสิทธิ์ได้ 2. ทดลองใช้กับหน่วยงานที่มีครุภัณฑ์น้อยๆ ก่อน
NSKnowledge Management [27] ข้อสรุปจากคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ และรองคณบดี/ผู้ช่วยคณบดีในก ากับของแต่ละหน่วยงาน กล่าวว่า ขอชื่นชมความสามารถของบุคลากรสายสนับสนุนและให้ก าลังใจในการท างานที่บุคลากรสาย สนับสนุนสามารถคิดค้นแนวทางกระบวนการท างานจนก้าวข้ามผ่านการท างานประจ าของตัวเอง จนเกิด นวัตกรรมกระบวนการการท างานแนวใหม่ ซึ่งจะท าให้บุคลากรสายสนับสนุนพัฒนา/แก้ไขกระบวนการท างาน เพื่อช่วยลดกระบวนการท างาน ลดระยะเวลาการท างาน ให้รวดเร็วทันต่อความต้องการใช้งาน จากการจัดกิจกรรมนี้ท าให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน และเกิดการพัฒนาร่วมกัน ซึ่งเป็น ผลดีกับหน่วยงาน และองค์กรที่เกิดกระบวนการและนวัตกรรมใหม่ๆ และท าให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่าง ยั่งยืนต่อไป
NSKnowledge Management [28] 2. การจัดการความรู้จากภาควิชา 2.1 ภาควิชาการพยาบาลรากฐาน ถอดบทเรียน “ความท้าท้ายต่อการให้บริการวิชาการแก่ผู้สูงอายุ ณ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุคณะ พยาบาลศาสตร์” ครั้งที่ 1/2565 รองศาสตราจารย์ ดร.วิราพรรณ วิโรจน์รัตน์ ผู้น ากิจกรรม อาจารย์ดร.เสาวลักษณ์ สุขพัฒนศรีกุล ผู้ลิขิต ภาควิชาการพยาบาลรากฐาน จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่อง “ความท้าท้ายต่อการให้บริการ วิชาการแก่ผู้สูงอายุ ณ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์” โดยรองศาสตราจารย์ดร. วิราพรรณ วิโรจน์รัตน์ ในวันที่ 19 มกราคม 2565 เวลา 12.00 – 13.00 น. ณ ห้องประชุมออนไลน์ ผ่านระบบ Microsoft team มีรายละเอียดสรุปได้ดังนี้ ภาควิชาการพยาบาลรากฐานได้มุ่งเน้นด้านการดูแลผู้สูงอายุ มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2525 ซึ่งทางภาควิชาฯ ได้จัดตั้งโครงการ ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและด าเนินงานต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2531 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้สมาชิกของโครงการฯ มีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรค การส่งเสริมสุขภาพ สามารถดูแลตนเองได้ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณภาพชีวิตที่ ดีทั้งด้านร่างกายและจิตสังคมให้สมกับที่ท่านเป็นทรัพยากรที่ มีคุณค่าของสังคม ตลอดระยะเวลา 34 ปี โครงการฯ มีจ านวนผู้สูงอายุเข้ามาร่วมกิจกรรมต่างๆ อย่างต่อเนื่องใน ทุกวันที่เปิดให้บริการ (วันจันทร์ พุธ ศุกร์ เวลา 8.00 – 12.00 น.) ซึ่งกิจกรรมประกอบด้วย การให้ความรู้โดย วิทยากรทั้งภายในและภายนอกคณะพยาบาลศาสตร์ การสวดมนต์ การออกก าลังกาย และการจัดกิจกรรม นันทนาการ เป็นต้น จากการวิเคราะห์สถานการณ์ (SWOT Analysis) ของการ ให้บริการวิชาการแก่ผู้สูงอายุ ณ โครงการฯ พบว่า จุดแข็ง (Strengths) คือ คณาจารย์ที่เป็นวิทยากรให้ความรู้มาจาก ทั้งภายในและภายนอกคณะพยาบาลศาสตร์มีความเชี่ยวชาญ หลากหลายสาขา นอกจากนี้ ยังมีการบูรณาการด้านการเรียน การสอนกับการบริการวิชาการในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง ภาควิชาการพยาบาลรากฐานมีแผนงานในการจัดกิจกรรมชัดเจน และคณะพยาบาลศาสตร์มีงบประมาณสนับสนุนให้แก่โครงการฯ ขณะที่จุดอ่อน (Weaknesses) คือ ภาระงานสอนที่ซ้อนทับในวันเปิดให้บริการวิชาการ ท าให้คณาจารย์ไม่
NSKnowledge Management [29] สามารถให้บริการวิชาการแก่ผู้สูงอายุในวันดังกล่าวได้ ส าหรับโอกาสพัฒนา (Opportunities) คือ ความก้าวหน้าของเทคโนโลยี ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ใช้สมาร์ทโฟน ใช้อินเตอร์เน็ตมากขึ้น ท าให้ผู้สูงอายุสามารถ เข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้ง่ายขึ้น และยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านการส่งเสริมและพัฒนาผู้สูงอายุของแผนปฏิบัติการ ด้านผู้สูงอายุ ระยะที่ 2 ปีพ.ศ. 2545-2565 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2563) เน้นการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันการ เจ็บป่วย และดูแลตนเองเบื้องต้น โดยจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพในรูปแบบที่หลากหลาย ประกอบกับ คณะ พยาบาลศาสตร์มีพันธกิจเกี่ยวกับการบริการวิชาการที่สะท้อนความเป็นเลิศทางวิชาการของคณะพยาบาล ศาสตร์เพื่อพัฒนาสุขภาวะของสังคมอย่างยั่งยืน อย่างไรก็ตาม ภายคุกคาม (Threats) ที่ส่งผลต่อการให้บริการ วิชาการแก่ผู้สูงอายุ ณ โครงการฯ คือ สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 19 ท าให้วิถีการด าเนิน ชีวิตของผู้สูงอายุเปลี่ยนไป ไม่สามารถเข้ามาร่วมกิจกรรม ณ โครงการฯ ได้ตามปกติ นอกจากนี้ ยังมีการ ขยายตัวของจ านวนชมรมผู้สูงอายุในบริเวณใกล้เคียง ดังนั้น การให้บริการวิชาการแก่ผู้สูงอายุ ณ โครงการฯ ภายใต้สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจึงเป็นสิ่งท้าทาย ประโยชน์ที่ได้จากการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง “ความท้าท้ายต่อการให้บริการวิชาการแก่ ผู้สูงอายุ ณ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์” ด้านบริการวิชาการนั้น คือ น าองค์ความรู้ที่ได้มาประยุกต์ใช้เพื่อก าหนดทิศทางการให้บริการวิชาการแก่ผู้สูงอายุ ณ โครงการส่งเสริม สุขภาพผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์ ที่สอดคล้องกับพันธกิจที่ 3 บริการวิชาการที่สะท้อนความเป็นเลิศทาง วิชาการของคณะพยาบาลศาสตร์ เพื่อพัฒนาสุขภาวะของสังคมอย่างยั่งยืน โดยมีแนวทางการด าเนินงาน ดังนี้ 1. ศึกษาบริบทของโครงการฯ 2. วิเคราะห์สถานการณ์ (SWOT Analysis) เกี่ยวกับการให้บริการวิชาการแก่ผู้สูงอายุ ณ โครงการฯ 3. ประเมินความต้องการ (need assessment) ของผู้สูงอายุเพื่อวางแผนก าหนดกิจกรรมให้ สอดคล้องกับความต้องการ ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 1. รองศาสตราจารย์ ดร.วิราพรรณ วิโรจน์รัตน์ 2. รองศาสตราจารย์ณัฐสุรางค์ บุญจันทร์ 3. รองศาสตราจารย์พัสมณฑ์ คุ้มทวีพร 4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ทีปภา แจ่มกระจ่าง 5. อาจารย์ ดร.นันทกานต์ มณีจักร 6. อาจารย์ ดร.เสาวลักษณ์ สุขพัฒนศรีกุล 7. อาจารย์ธัญยรัชต์ องค์มีเกียรติ 8. อาจารย์บุษรา หิรัญสาโรจน์ 9. อาจารย์ประภัสสร พิมพาสาร 10. อาจารย์รัตติกาล พรหมพาหกุล 11. อาจารย์อารียา ประเสริฐสังข์ 12. ผู้ช่วยอาจารย์วรรณฤดี เชาว์อยชัย 13. นางรุ่งนภา จีนประชา 14. นางสาวสุภาพร เนตรสว่าง
NSKnowledge Management [30] ถอดบทเรียน “การพัฒนารูปแบบการให้บริการวิชาการแก่ผู้สูงอายุผ่านระบบออนไลน์” ครั้งที่ 2/2565 รองศาสตราจารย์ ดร.วิราพรรณ วิโรจน์รัตน์ ผู้น ากิจกรรม อาจารย์ ดร.เสาวลักษณ์สุขพัฒนศรีกุล คุณอ านวย ผู้ช่วยอาจารย์วรรณฤดี เชาว์อยชัย ผู้ลิขิต ภาควิชาการพยาบาลรากฐาน จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่อง “การพัฒนารูปแบบการ ให้บริการวิชาการแก่ผู้สูงอายุผ่านระบบออนไลน์” โดยรองศาสตราจารย์ดร. วิราพรรณ วิโรจน์รัตน์ ในวันที่ 23 มีน าคม 2565 เ วล า 12.00 – 13.00 น . ณ ห้องป ร ะชุมออนไลน์ผ่ าน ร ะบบ Microsoft team มีรายละเอียดสรุปได้ดังนี้ การจัดกิจกรรมบริการวิชาการแก่ผู้สูงอายุผ่านระบบออนไลน์มีความหลากหลาย ขึ้นอยู่กับ ลักษณะของผู้สูงอายุตามบริบทของพื้นที่ กิจกรรมส่วนใหญ่มุ่งเน้นการให้ความรู้เกี่ยวกับด้านสุขภาพเรื่อง อาหาร ออกก าลังกาย เป็นต้น นอกจากนี้ ยังมีการจัดกิจกรรมนันทนาการผ่านระบบออนไลน์ต่างๆ เช่น การจัดการออกก าลังกาย เกมส์บิงโก บุ๊คคลับ ศิลปะ การท าอาหาร ร้องเพลง ท่องเที่ยวออนไลน์เป็นต้น รองศาสตราจารย์ ดร. วิราพรรณ วิโรจน์รัตน์ ถ่ายทอดประสบการณ์ การจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ ส าหรับผู้สูงอายุผ่านระบบออนไลน์ ชองนักศึกษาหลักสูตรพยาบาล ศ าสต รมหาบัณฑิต ส าขาก า ร พยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุว่า ก า รจัดกิจก ร รมออนไลน์ผ่ าน แอพพลิเคชั่นไลน์ (วิดิโอคอล) ท าให้ผู้สูงอายุให้ความร่วมมือและสนใจในการท ากิจกรรมเป็นอย่างดีเนื่องจาก เป็นแพลตฟอร์มที่ผู้สูงอายุคุ้นเคยและใช้ได้ง่าย แต่มีข้อจ ากัด คือเกิดเสียงแทรกระหว่างท ากิจกรรม นอกจากนี้ คณาจารย์ในภาควิชาการพยาบาล รากฐานได้น าเสนอแพลตฟอร์มออนไลน์ที่เคยมีผู้ น ามาใช้งานกับผู้สูงอายุ ประกอบด้วย Line official ในการให้ความรู้และสื่อสารกับผู้สูงอายุ การใช้ Facebook ส าหรับแชร์ความรู้ที่น่าสนใจ และการ ใช้ Zoom ส าหรับจัดกิจกรรมนันทนาการ เป็นต้น การให้บริการวิชาการแก่ผู้สูงอายุผ่านระบบ ออนไลน์ควรมีก าหนดแพลตฟอร์มที่ชัดเจนและควรมีการจัดอบรมวิธีการใช้งานแพลตฟอร์มแก่ผู้สูงอายุ
NSKnowledge Management [31] ล่วงหน้าเพื่อให้สามารถใช้งานได้จริง อีกทั้งควรมีรูปแบบการจัดกิจกรรมทั้งแบบ Synchronous และ Asynchronous ผสมผสานกัน เพื่อเป็นช่องทางเลือกส าหรับผู้สูงอายุ และควรแจ้งตารางกิจกรรมให้ผู้สูงอายุ ทราบล่วงหน้าด้วย นอกจากนี้ เนื้อหาส าหรับน ามาให้บริการวิชาการอาจท าเป็นคลิปวิดีโอสั้นๆ ใส่ใน Youtube เพื่อให้ผู้สูงอายุได้ทบทวนและเข้ามาเรียนรู้ได้ตลอดเวลา ประโยชน์ที่ได้จากการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง “การพัฒนารูปแบบการให้บริการวิชาการ แก่ผู้สูงอายุผ่านระบบออนไลน์” ด้านอื่นๆ คือ น าองค์ความรู้ที่ได้มาประยุกต์ใช้เพื่อจัดท ารูปแบบการให้บริการ วิชาการแก่ผู้สูงอายุ ณ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์ ในช่วงสถานการณ์การแพร่ ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โดยสอดคล้องกับพันธกิจที่ 3 บริการวิชาการที่สะท้อนความเป็นเลิศทาง วิชาการของคณะพยาบาลศาสตร์ เพื่อพัฒนาสุขภาวะของสังคมอย่างยั่งยืน ซึ่งมีแนวทางการด าเนินงาน ดังนี้ 1. จัดอบรมการใช้งาน Zoom ให้แก่ผู้สูงอายุล่วงหน้า 1 เดือนเพื่อเตรียมความพร้อมของผู้สูงอายุ 2. ก าหนดเนื้อหาและรูปแบบการจัดกิจกรรมบริการวิชาการให้แก่ผู้สูงอายุ 3. น ารูปแบบกิจกรรมไปใช้จริงพร้อมทั้งประเมินผลและถอดบทเรียนของการท า ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 1. รองศาสตราจารย์ ดร.วิราพรรณ วิโรจน์รัตน์ 2. รองศาสตราจารย์ณัฐสุรางค์ บุญจันทร์ 3. รองศาสตราจารย์พัสมณฑ์ คุ้มทวีพร 4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ทีปภา แจ่มกระจ่าง 5. อาจารย์ ดร.นันทกานต์ มณีจักร 6. อาจารย์ ดร.เสาวลักษณ์ สุขพัฒนศรีกุล 7. อาจารย์ธัญยรัชต์ องค์มีเกียรติ 8. อาจารย์บุษรา หิรัญสาโรจน์ 9. อาจารย์ประภัสสร พิมพาสาร 10. อาจารย์รัตติกาล พรหมพาหกุล 11. อาจารย์อารียา ประเสริฐสังข์ 12. ผู้ช่วยอาจารย์วรรณฤดี เชาว์อยชัย 13. นางรุ่งนภา จีนประชา 14. นางสาวสุภาพร เนตรสว่าง
NSKnowledge Management [32] ถอดบทเรียน “ถอดบทเรียนรูปแบบการให้บริการวิชาการผ่านระบบออนไลน์” ครั้งที่ 3/2565 นางสาวสุภาพร เนตรสว่าง ผู้น ากิจกรรม รองศาสตราจารย์ ดร.วิราพรรณ วิโรจน์รัตน์ คุณอ านวย อาจารย์ ดร.เสาวลักษณ์สุขพัฒนศรีกุล ผู้ลิขิต ภาควิชาการพยาบาลรากฐาน จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่อง “ถอดบทเรียนรูปแบบการ ให้บริการวิชาการผ่านระบบออนไลน์” โดยนางสาวสุภาพร เนตรสว่าง ในวันที่ 28 กันยายน 2565 เวลา 12.00 – 13.00 น. ณ ห้องประชุมออนไลน์ผ่านระบบ Microsoft team มีรายละเอียดสรุปได้ดังนี้ 1. การจัดอบรมการใช้งาน Zoom (22 มิถุนายน 2565) การจัดอบรมการใช้งาน Zoom โดยนายบุลากร บัวหลวง มีผู้สูงอายุเข้าร่วมอบรมการใช้งาน Zoom จ านวน 7 คน ทั้งนี้อาจเกิดขึ้นจากการประชาสัมพันธ์กระชั้นชิดร่วมกับ Zoom เป็นแพลตฟอร์ม ที่ไม่คุ้นเคย ใช้งานยาก ไม่สามารถเข้าระบบได้ด้วยตนเอง จึงท าให้ผู้สูงอายุไม่อยากเข้าร่วมอบรม นอกจากนี้ การจัดอบรมการใช้ Zoom ผ่านระบบออนไลน์แอพพลิเคชั่นไลน์ (วิดิโอคอล) ท าให้ไม่มีโอกาสได้ปฏิบัติจริง เนื่องจากข้อจ ากัดของการใช้อุปกรณ์ที่มีเพียงอุปกรณ์เดียวท าให้ไม่สะดวกต่อการใช้งาน โดยแนวทางส าหรับ การพัฒนาในครั้งต่อไป คือ ควรเลือกแพลตฟอร์มที่ผู้สูงอายุคุ้นเคย เข้าถึงได้ง่าย และควรจัดการอบรมเกี่ยวกับ การใช้แพลตฟอร์มเป็นการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อให้ผู้สูงอายุเข้าใจขั้นตอนการใช้งาน ตลอดจนควรมีคลิป วิดิโอสั้นๆ และอินโฟกราฟฟิกเกี่ยวกับการใช้งานแพลตฟอร์มด้วย 2. การให้บริการวิชาการ “โภชนาการในผู้สูงอายุ” (25 กรกฎาคม 2565) การให้บริการวิชาการ “โภชนาการในผู้สูงอายุ” โดย วิทยากรภายนอกจ านวน 2 ท่าน คือ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชนิดา ปโชติการ และพันโทหญิง ดร. กรกต วีรเธียร (สมาคม นักก าหนดอาหารแห่งประเทศไทย) ผ่านระบบออนไลน์โดย ใช้แอพพลิเคชั่นไลน์ (Line meeting) มีผู้สูงอายุเข้าร่วม กิจกรรมจ านวน 25 คน กระบวนการการให้บริการวิชาการ “โภชนาการใน ผู้สูงอายุ” เป็นการบรรยายและอภิปรายกลุ่มเพื่อให้ผู้สูงอายุมี ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ส าหรับผู้สูงอายุ
NSKnowledge Management [33] ปัจจัยสู่ความส าเร็จในการให้บริการวิชาการผ่านระบบออนไลน์แก่สมาชิกโครงการส่งเสริม สุขภาพผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์ ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid 19) ประกอบด้วย ปัจจัยส่วนบุคคล คือ ตัวผู้สูงอายุเองที่ให้ความสนใจเกี่ยวกับข้อมูลการดูแลสุขภาพของตนเอง และพร้อมที่จะแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับวิทยากรทั้งภายในและภายนอกคณะพยาบาลศาสตร์ และสิ่งเอื้ออ านวยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ คือ ต้องใช้แพลตฟอร์มที่ผู้สูงอายุคุ้นเคย เข้าถึงได้ง่ายด้วยตนเอง ประโยชน์ที่ได้จากการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง “ถอดบทเรียนรูปแบบการให้บริการ วิชาการผ่านระบบออนไลน์” ด้านอื่นๆ คือ รูปแบบการให้บริการวิชาการผ่านระบบออนไลน์ส าหรับผู้สูงอายุ ควรมีกระบวนการดังนี้ 1. เลือกแพลตฟอร์มที่ผู้สูงอายุคุ้นเคย เข้าถึงง่าย 2. จัดการอบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการใช้แพลตฟอร์ม 3. จัดกิจกรรมผ่านระบบออนไลน์ให้มีความหลากหลาย 4. ประเมินผลลัพธ์ของการเข้าร่วมกิจกรรมแต่ละครั้ง ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 1. รองศาสตราจารย์ ดร.วิราพรรณ วิโรจน์รัตน์ 2. รองศาสตราจารย์ณัฐสุรางค์ บุญจันทร์ 3. รองศาสตราจารย์พัสมณฑ์ คุ้มทวีพร 4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ทีปภา แจ่มกระจ่าง 5. อาจารย์ ดร.เสาวลักษณ์ สุขพัฒนศรีกุล 6. อาจารย์ประภัสสร พิมพาสาร 7. อาจารย์รัตติกาล พรหมพาหกุล 8. อาจารย์อารียา ประเสริฐสังข์ 9. ผู้ช่วยอาจารย์จิรวรรณ มาลา 10. ผู้ช่วยอาจารย์จิราวรรณ วิทยานุกรณ์ 11. ผู้ช่วยอาจารย์วรรณฤดี เชาว์อยชัย 12. นางรุ่งนภา จีนประชา 13. นางสาวสุภาพร เนตรสว่าง
NSKnowledge Management [34] 2.2 ภาควิชาการพยาบาลสาธารณสุขศาสตร์ ถอดบทเรียน “การเขียนโครงการแก้ไขปัญหาสุขภาพในชุมชน (การเขียนวัตถุประสงค์หลัก วัตถุประสงค์ เฉพาะหรือเป้าหมาย)” ครั้งที่ 1/2565 วิทยากร : รองศาสตราจารย์ ดร.รักชนก คชไกร ผู้บันทึก : ผู้ช่วยอาจารย์ สุรัสวดี ไวว่อง ภาควิชาการพยาบาลสาธารณสุขศาสตร์ จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่อง “การเขียนโครงการแก้ไข ปัญห าสุขภ าพในชุมชน (ก า รเขียน วัตถุป ร ะสงค์หลัก วัตถุป ร ะสงค์ เฉพ าะห รือเป้ าหม าย)” โดยรองศาสตราจารย์ ดร.รักชนก คชไกร ในวันพุธที่ 21 กันยายน 2565 เวลา 12.30 – 13.30 น. ณ ห้องประชุม 4209 หอพักนักศึกษาคณะพยาบาลศาสตร์ บางขุนนนท์ มีรายละเอียดสรุปได้ดังนี้ หัวข้อการเขียนโครงการ 1. ชื่อโครงการ ระบุถึงชื่อโครงการให้แตะตา แตะใจ สั้น กระชับ มีความหมายสอดคล้องกับวัตถุประสงค์และ กิจกรรมหลักของโครงการ 2. หลักการและเหตุผล บรรยายถึงสถานการณ์ในระดับโลก ประเทศหรือจังหวัดถึงอุบัติการณ์สถิติของโรคหรือปัญหาที่ เกิดขึ้นมีสาเหตุ/ปัจจัยที่ท าให้เกิดปัญหาความรุนแรงภาวะแทรกซ้อนและผลกระทบต่างๆที่เกิดขึ้นหรืออาจ เกิดขึ้นตามมาชัดเจน (ระบุการอ้างอิงตามหลักการเขียนเอกสารอ้างอิงให้ชัดเจน ใช้แบบ APA) ถ้าหากไม่ ด าเนินการแก้ไข อาจเกิดผลกระทบตามมาจึงเป็นเหตุผลของการจัดโครงการนี้การบรรยายให้ชัดเจนและเห็น ภาพพจน์เพื่อการได้รับอนุมัติโครงการ 3. วัตถุประสงค์หลัก (Objective)วัตถุประสงค์เฉพาะหรือเป้าหมาย (Target) ของโครงการ วัตถุประสงค์หลัก (Objective)เป็นการระบุความต้องการให้ปัญหาลดลงหรือหมดไปซึ่งการเขียน ต้องสามารถวัดผลเป็นรูปธรรมให้ปัญหาลดลง มีปริมาณอาจระบุเป็นร้อยละหรือจ านวนมากน้อยเพียงใดหรือ เพิ่มพฤติกรรมที่เหมาะสมขึ้นปริมาณมากน้อยเพียงใดในระยะเวลาและทรัพยากรที่มีอยู่ตามหลัก SMART วัตถุประสงค์เฉพาะหรือเป้าหมาย (Target) เป็นการระบุความต้องการให้ข้อมูลสนับสนุน/สาเหตุ หรือปัจจัยให้เกิดปัญหาลดลงหรือหมดไปโดยระบุให้สามารถวัดผลอย่างเป็นรูปธรรมได้ว่ามีปริมาณปัจจัยที่เป็น สาเหตุลดลงหรือพฤติกรรมที่ดีขึ้นและกิจกรรมที่จะเกิดขึ้นปริมาณเท่าใด ระบุเป็นร้อยละหรือจ านวนคน/ จ านวนครั้งที่จะเกิดขึ้น (ตามระยะเวลาและทรัพยากรที่มีอยู่) 4. ผู้รับผิดชอบ ระบุบุคคลที่ด าเนินโครงการ พร้อมที่จะรับฟังข้อผิดพลาดเพื่อการแก้ไขและรับผิดชอบเพื่อการพัฒนา สิ่งที่ดีให้ดียิ่งขึ้นต่อไป
NSKnowledge Management [35] 5. วันเดือนปีและสถานที่ ระยะเวลาของโครงการและสถานที่ด าเนินงานระบุวันเดือนปีที่โครงการเริ่มต้นและวันเดือนปีสิ้นสุด โครงการระบุสถานที่จะด าเนินกิจกรรมต่างๆในโครงการ 6. วิธีด าเนินงาน ระบุวิธีด าเนินงานโดยละเอียดจะท าอะไรกับใครอย่างไรที่ไหนเมื่อไรโดยพิจารณาจากสาเหตุหรือ ปัจจัยที่ท าให้เกิดปัญหาแต่ละสาเหตุและวัตถุประสงค์เฉพาะหรือเป้าหมายว่าจะมีแนวทางแก้ไขอย่างไรและ แนวทางแก้ไขนั้นจะด าเนินการโดยละเอียดอะไรบ้างกับใครอย่างไรเมื่อไรด าเนินการในสถานที่ใดโดยพิจารณา ถึงอะไรต้องท าก่อนอะไรต้องท าตามมาอะไรสามารถกระท าพร้อมกันได้และกิจกรรมใดต้องท าสุดท้ายซึ่งเป็น การบริการจัดการอย่างเป็นระบบและได้ผลลัพธ์ที่เชื่อถือได้ 7. ผังก ากับงาน ระบุเป็นการพิจารณากิจกรรมวิธีด าเนินงานโดยละเอียดทั้งหมดมาระบุเป็นงานหรือกิจกรรมหลักๆใน โครงการแบ่งเป็นขั้นเตรียมงานขั้นด าเนินงานและขั้นประเมินผลแล้วแจกแจงให้แต่ละขั้นว่างานใดท าก่อนงาน ใดท าตามมา งานใดท าพร้อมกันได้และงานใดต้องท าสุดท้ายโดยระบุถึงวันเวลาในสัปดาห์หรือเดือนปีที่ด าเนิน โครงการและระบุผู้รับผิดชอบที่ชัดเจนเพื่อประโยชน์ในการสื่อสารมอบหมายงานระหว่างทีมคณะกรรมการ โครงการในชุมชนผังก ากับงานจึงเปรียบเสมือนการย่อกิจกรรมด าเนินงานทั้งหมดโดยที่ต้องเป็นตารางกิจกรรม ด าเนินงานช่วงวันสัปดาห์เดือนที่ด าเนินกิจกรรมและช่องผู้รับผิดชอบงานนั้นๆ 8. งบประมาณและทรัพยากร จากกิจกรรมที่ท าโดยละเอียดทั้งหมดพิจารณาว่าแต่ละกิจกรรมใช้ทรัพยากรคนเงินวัสดุอุปกรณ์ อะไรบ้างมีคุณภาพและคุณสมบัติอย่างไรจ านวนเท่าใดจะหาได้จากที่ใดแล้วสรุปรวมว่าจะใช้เงินเท่าใดจะใช้ ทรัพยากรมนุษย์ใดบ้างจ านวนเท่าใดวัสดุอุปกรณ์รวมทั้งกระดาษเครื่องเขียนเวชภัณฑ์อุปโภคสาธารณูปโภค จ านวนเท่าใดจะหาได้จากที่ใดดังนั้นจึงต้องแบ่งเป็นหัวข้อว่าทรัพยากรที่มีอยู่แล้วทรัพยากรที่เบิกขอยืมจาก หน่วยงานสังกัดทรัพยากรที่ต้องของยืมจากหน่วยงานอื่นทรัพยากรที่ต้องหาซื้อใหม่ซึ่งน าไปสู่การค านวณเงินที่ จะใช้เป็นงบประมาณต่อไปการจัดสรรทรัพยากรต้องค านึงถึงระยะเวลาของโครงการการบริหารจัดการ ทรัพยากรให้ได้อย่างประหยัดและเกิดประโยชน์สูงสุด 9. การประเมินผล เป็นการระบุเครื่องมือที่ใช้วัดผลก่อนและหลังด าเนินงานหรือแบบฟอร์มเอกสารหลักฐานที่ใช้ เปรียบเทียบผลก่อนและหลังด าเนินงานเช่นแบบวัดความรู้แบบวัดพฤติกรรมแบบสังเกตบันทึกรายงานบันทึก ผลการตรวจบันทึกผลกิจกรรมที่ท าพร้อมระบุวิธีการประเมินผลจากการใช้เครื่องมือและแบบฟอร์มนั้นๆให้ ชัดเจน
NSKnowledge Management [36] 10. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ เป็นความคาดหมายของผู้รับชอบโครงการว่าจากการด าเนินโครงการนี้จะเกิดผลดีอะไรขึ้น นอกเหนือจากวัตถุประสงค์และเป้าหมายของโครงการการระบุจะต้องให้มีความเป็นไปได้ไม่ควรคาดหมายเกิด ความเป็นจริงและจะต้องไม่ซ้ าซ้อนกับวัตถุประสงค์และเป้าหมายของโครงการ ประโยชน์ที่ได้จากการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง “การเขียนโครงการแก้ไขปัญหาสุขภาพใน ชุมชน (การเขียนวัตถุประสงค์หลัก วัตถุประสงค์ เฉพาะหรือเป้าหมาย)” ด้านการศึกษา คือ ได้น าความรู้ที่ได้ จากการฟังบรรยายเรื่อง การเขียนโครงการแก้ไขปัญหาสุขภาพในชุมชน (การเขียนวัตถุประสงค์หลัก วัตถุประสงค์เฉพาะหรือเป้าหมาย) มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน รวมทั้งร่วมแชร์ประสบการณ์ และเพื่อสรุป ค าแนะน าแก่อาจารย์ที่ร่วมสอนรายวิชาปฏิบัติการพยาบาลอนามัยชุมชน พยสธ.482 ให้มีแนวทางการสอนใน รูปแบบทิศทางเดียวกัน และน าไปสู่การสร้างองค์ความรู้ใหม่ในเรื่องใดเรื่องหนี่ง และแสดงถึงการน าไปใช้ ประโยชน์ในแนวทางหรือรูปแบบใหม่ๆ ที่มีผลกระบทบ (Impact) อย่างชัดเจนในชุมชนที่เป็นแหล่งฝึกของ รายวิชานี้ต่อไป ผู้เข้าร่วมแลกเปลี่ยนความรู้ 1. รองศาสตราจารย์นงนุช เพ็ชรร่วง 2. รองศาสตราจารย์ ดร.รักชนก คชไกร 3. รองศาสตราจารย์ ดร.ยุพา จิ๋วพัฒนกุล 4. รองศาสตราจารย์ ดร.ปิยะธิดา นาคะเกษียณ 5. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เสาวรส มีกุศล 6. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เพ็ญจันทร์สิทธิปรีชาชาญ 7. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เวหา เกษมสุข 8. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธนิษฐา สมัย 9. ผู้ช่วยอาจารย์เชนจ์ ปรีเปรม 10. ผู้ช่วยอาจารย์วรรณวิไล อุตรวิเชียร 11. ผู้ช่วยอาจารย์สุรัสวดี ไวว่อง
NSKnowledge Management [37] 2.3 ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์ ถอดบทเรียน “Machine Learning” ครั้งที่ 1/2565 ผู้ช่วยอาจารย์ชิดชนก เบ็ญจสิริสรรค์ วิทยากร ผู้ช่วยอาจารย์ปวิตรา จริยสกุลวงศ์ ผู้ลิขิต ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์ จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง “Machine Learning” ครั้งที่ 1/2565 โดยผู้ช่วยอาจารย์ชิดชนก เบ็ญจสิริสรรค์ ในวันที่ 8 มิถุนายน 2565 เวลา 13.00-13.30 น. ณ ห้อง ประชุม 901 และออนไลน์ผ่านระบบ Microsoft Teams Machine Learning (ML) คือศาสตร์การเรียนรู้ของ Artificial Intelligence (AI) หรือกระบวนการ เรียนรู้ของ AI ในทางสายสุขภาพมีการน ามาใช้ในการท านายการเกิดโรค หรือพยากรณ์การเกิดโรค ซึ่งหากแบ่ง ตามรายละเอียดจะมีหลากหลายประเภท แต่สามารถแบ่งเป็นกลุ่มใหญ่ๆ ได้ 3 ประเภท ได้แก่ 1) Supervised Learning เป็นการเรียนรู้หรือท านายผลโดยมีผู้ควบคุมระบบ ตัวอย่างของการน ามาใช้ได้แก่ การจ าแนก ประเภทของโรคหลอดเลือดสมอง หรือการท านายการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง เป็นต้น 2) Unsupervised Learning เป็นการเรียนรู้โดยที่ไม่มีผู้ควบคุมระบบ แต่เครื่องจะเรียนรู้และท านายผลต่างๆ จากการจ าแนก คุณลักษณะต่างๆ ของข้อมูลที่ถูกใส่เข้าไป (input) จะมีประโยชน์ในการช่วยท านายผลลัพธ์ในอนาคตได้ แต่จะ ไม่ชัดเจน และ 3) Reinforcement Learning เป็นการเรียนรู้ที่มีความคล้ายคลึงกับการเรียนรู้ของมนุษย์มาก ที่สุดกล่าวคือ เมื่อมีการใส่ข้อมูลเข้าไปจะเกิดการประมวลผล ซึ่งหากได้ผลลัพธ์ที่ดีจะมีการท าซ้ า เหมือนการ ลองผิดลองถูกของมนุษย์ มีก า รทบท วน ว ร รณก ร รมอย่ างเป็น ร ะบบในหั ว ข้อ “Machine Learning-Based Patient Classification System for Adults with Stroke: A systematic review” โดย Suebsarn Ruksakulpiwat, Witchuda Thongking, Wendie Zhou, Chitchanok Benjasirisan, Lalipat Phianhasin, Nicholas K Schiltz, and Smit Brahmbhatt โดยมีการรวบรวม 12 งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการน า Machine Learning มาใช้ในกลุ่มผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง พบว่าส่วนใหญ่น ามาใช้ในการจ าแนกประเภทของโรคหลอดเลือด สมองและ Supervised Learning เป็นประเภทนี้จะมีรายละเอียดย่อยอีกหลายรูปแบบเช่น Support Vector Machine (SVM), Random Forest (RF) ส่วนปัจจับที่มักน ามาใช้เป็นข้อมูลน าเข้า (input) ได้แก่ อายุ เพศ โรคประจ าตัว ผลภาพวินิจฉัน และจากการทบทวนวรรณกรรม พบว่าการได้มาซึ่งผลลัพธ์ที่ดีต้องอาศัยรูปแบบ ของ ML ที่แตกต่างกันขึ้นกับความแตกต่างของ Input ที่ใช้ ประโยชน์ที่ได้จากการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง “Machine Learning” การด าเนินงาน ด้านอื่นๆ ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่สามารถน ามาประยุกต์ในการดูแลผู้ป่วยได้ทุกกลุ่มโรค ทั้งในแง่ของการพยากรณ์ โรค การท านายการเกิดโรค ตลอดจนการเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ซึ่งอาจเป็นประโยชน์ในหน่วยบริการ
NSKnowledge Management [38] สุขภาพที่ขาดแคลนบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญ เทคโนโลยีนี้จะช่วยให้ผู้ป่วยเข้าถึงการวินิจฉัย หรือการดูแลที่ เหมาะสมต่อภาวะโรคได้รวดเร็วมากขึ้น ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 1. รองศาสตราจารย์ ดร.วิมลรัตน์ ภู่วราวุฒิพานิช 2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์วันดี โตสุขศรี 3. รองศาสตราจารย์ ดร.อัจฉริยา พ่วงแก้ว 4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศรินรัตน์ ศรีประสงค์ 5. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิจิตรา เล็กด ารงกุล 6. อาจารย์ ดร.นาตยา รัตนอัมภา 7. อาจารย์ ดร.ชลธิรา เรียงค า 8. ผู้ช่วยอาจารย์ปวิตรา จริยสกุลวงศ์ 9. ผู้ช่วยอาจารย์ประพัฒน์สินี ประไพวงษ์ 10. ผู้ช่วยอาจารย์สิริกาญจน์ หาญรบ 11. ผู้ช่วยอาจารย์ปิโยรส เกษตรกาลาม์ 12. ผู้ช่วยอาจารย์ณัฏยา ประหา 13. ผู้ช่วยอาจารย์จิณห์สุตา ทัดสวน
NSKnowledge Management [39] ผลการประเมินกิจกรรมการจัดการความรู้ ในหัวข้อ “Machine learning” วันที่ ๘ มิถุนายน ๒๕๖๕ เวลา ๑๓.๐๐ - ๑๓.๓๐ น ณ ห้องประชุม ๙๐๑ คณะพยาบาลศาสตร์ บางกอกน้อย และออนไลน์ผ่านระบบ Microsoft team ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ๑๓ ราย ตอบแบบประเมิน ๑๐ ราย คิดเป็นร้อยละ ๗๖.๙๒ ๑) ความคิดเห็นเกี่ยวกับการเสวนา หัวข้อในการประเมิน จ านวนค าตอบ (ราย/ ร้อยละ) มาก ปานกลาง น้อย ไม่ตอบ ผู้น าสามารถน าประเด็นเสวนาได้ชัดเจน ๑๐ (๑๐๐) - - - ผู้น าเสวนาใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย ๑๐ (๑๐๐) - - - รูปแบบ และวิธีการน าเสวนาท าให้มีการ วิเคราะห์ปัญหาได้ทั่วถึง ๑๐ (๑๐๐) - - - มีประโยชน์สามารถน าไปใช้ได้ ๙ (๙๐) ๑ (๑๐) - - มีโอกาสแสดงความคิดเห็นและซักถามได้ ๑๐ (๑๐๐) - - - หัวข้อเสวนาน่าสนใจ ๑๐ (๑๐๐) - - - ๒) โดยสรุป ท่านเห็นว่าการเสวนาครั้งนี้อยู่ในระดับใด ดีมาก ๑๐ ราย (ร้อยละ ๑๐๐) ดี - ปานกลาง - ควรปรับปรุง - ๓) ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม - ทันสมัยและแหวกแนวค่า - อยากให้มีเวลามากกว่านี้ค่า
NSKnowledge Management [40] ถอดบทเรียน “Nurse Practitioner (NP) program” ครั้งที่ 2/2565 ผู้ช่วยอาจารย์ชิดชนก เบ็ญจสิริสรรค์/ ผู้ช่วยอาจารย์ลลิต์ภัทร เพียรหาสิน วิทยากร ผู้ช่วยอาจารย์ปวิตรา จริยสกุลวงศ์ ผู้ลิขิต ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์ จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง “Nurse Practitioner (NP) program” ครั้งที่ 2/2565 โดยผู้ช่วยอาจารย์ชิดชนก เบ็ญจสิริสรรค์และผู้ช่วยอาจารย์ลลิต์ภัทร เพียรหาสิน ในวันที่ 18 สิงหาคม 2565 เวลา 11.30-12.00 น. ณ ห้องประชุม 901 และออนไลน์ผ่านระบบ Microsoft Teams Nurse Practitioner (NP) คือ พยาบาลที่มีความรู้และสามารถตัดสินใจในเรื่องที่ซับซ้อนและ สามารถขยายบทบาททางคลินิกได้โดยขึ้นอยู่กับบริบทในแต่ละพื้นที่ ซึ่งในแต่ละประเทศจะมีความคล้ายคลึง กันในบทบาทหน้าที่หลัก แต่อาจมีความแตกต่างกันในเชิงบริบทและกฎหมายที่แต่ละประเทศรองรับ ในประเทศสหรัฐอเมริกา NP จะต้องจบปริญญาโทในสาขา NP ซึ่งขอบเขตหน้าที่ NP มีอยู่ 9 ข้อ (Wiesen,2022) 1) Regulatory structure ปฏิบัติงานภายใต้โครงสร้างระเบียบของ NP ซึ่งมี 3 รูปแบบประกอบด้วย full practice, reduced practice, หรือ restricted practice ขึ้นอยู่กับระเบียบของแต่ละรัฐโดยที่ New York State นี้เมื่อเรียนจบ ป.โทและสอบ license ผ่านจะสามารถปฏิบัติแบบ full practice ได้ 2) Medical staff membership บทบาทเทียบเท่าแพทย์ 3) Autonomous practice สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้แบบอิสระ ไม่อยู่ภายใต้การก ากับดูแลของแพทย์ 4) Primary care provider สามารถเป็น provider หลักของผู้ป่วยได้ ในสหรัฐอเมริกาประชาชนจะ มีแพทย์ประจ าที่คอยดูแลในการเจ็บป่วยเบื้องต้น ซึ่ง NP สามารถท าหน้าที่นี้ได้เทียบเท่าแพทย์ 5) Independently prescribe schedule II drugs สามารถจ่ายยาในกลุ่ม 2 (กลุ่มที่มีการควบคุม เช่น โอปิออยด์) 6) Order physical therapy 7) Sign death certificates 8) Sign disabled form 9) Sign advance directive forms สามารถลงนามในเอกสารเกี่ยวกับการวางแผน และการตัดสินใจ ในการรักษาต่างๆ ของผู้ป่วยได้ NP มีหลายสาขา ได้แก่ Family, Adult, Adult-Gerontology Primary Care, Psychiatric/Mental Health, Acute Care, Pediatrics-Primary Care, Adult-Gerontology Acute Care, Woman’s Health, Gerontology, Neonatal, Pediatrics-Acute Care ในแต่ละสาขาจะมีข้อก าหนดในการรับผู้เข้าเรียน แตกต่างกัน
NSKnowledge Management [41] หลักสูตร Adult-Gerontology Primary Care Nurse Practitioner ในระดับปริญญาโทที่ Russell Sage College ประเทศสหรัฐอเมริกา มีข้อก าหนดส าหรับผู้เข้าเรียน คือ เป็นผู้ที่จบระดับปริญญาตรีสาขา พยาบาล มีใบประกอบวิชาชีพพยาบาลของประเทศสหรัฐอเมริกา และมีชั่วโมงปฏิบัติงาน 2,000 ชั่วโมง (ประมาณ 1 ปี) ในหลักสูตรมีจ านวน 45 หน่วยกิต แบ่งเป็นส่วนทฤษฎี และปฏิบัติโดยก าหนดชั่วโมงปฏิบัติไว้ ที่ 590 ชั่วโมง หลักสูตรมีจุดเด่นในเรื่องความยืดหยุ่นด้านเวลา ผู้เรียนสามารถเลือกเรียนแบบ full time หรือ part time ท าให้พยาบาลที่ยังคงต้องท างานสามารถมาเรียนได้ โดยมีกรอบระยะเวลาคือ 7 ปี และผู้เรียน สามารถเลือกฝึกงานที่สถานพยาบาลใดก็ได้ที่มี NP หรือแพทย์และสามารถเป็น preceptor ให้ได้ หาก สถานพยาบาลนั้นยังไม่เคยท าข้อตกลงกับทางมหาวิทยาลัยก็สามารถยื่นท าข้อตกลงได้ ส าหรับการติดตามการ ฝึกจะมีโปรแกรมชื่อ Typhon ซึ่งนักศึกษาจะเข้าไปลงบันทึกและอาจารย์สามารถเข้าไปติดตามได้ ในการขึ้นฝึกปฏิบัติจะมีการฝึกที่ primary care setting คือ wellness center ของมหาวิทยาลัย ซึ่ง NP จะเป็นผู้บริหารจัดการหลักในการให้บริการสุขภาพแก่นักศึกษาและบุคลากรในมหาวิทยาลัย นอกจากนี้จะมีการฝึกในโรงพยาบาล คลินิกเฉพาะทางต่างๆ เช่น เฉพาะทาง orthopedic โรคหัวใจ เฉพาะ ทางไตเทียม และการฝึกที่ศูนย์ดูแลผู้สูงอายุ
NSKnowledge Management [42] ประโยชน์ที่ได้จากการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง “Nurse Practitioner (NP) Program” การด าเนินงานด้านการศึกษา เป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้รูปแบบของการจัดการศึกษาจากสถาบันอื่นใน ต่างประเทศ ซึ่งรูปแบบการเรียนที่ค่อนข้างยืดหยุ่นท าให้เอื้อต่อการเรียนส าหรับผู้ที่มีข้อจ ากัดด้านเวลา ซึ่งหาก การจัดการศึกษาพยาบาลในหลักสูตต่างๆ สามารถน ามาปรับใช้จะเป็นการเพิ่มกลุ่มเป้าหมายได้มากขึ้น เป็น ประโยชน์ต่อองค์กร เป็นประโยชน์ต่อผู้เรียนในการเพิ่มพูนความรู้และทักษะ รวมถึงเป็นการพัฒนาศักยภาพ บุคลากรทางการแพทย์ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อประชาชนและสังคมโดยรวม
NSKnowledge Management [43] ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 1. รองศาสตราจารย์ ดร.วิมลรัตน์ ภู่วราวุฒิพานิช 2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์วันดี โตสุขศรี 3. รองศาสตราจารย์ ดร.ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ 4. รองศาสตราจารย์ ดร.อรวมน ศรียุกตศุทธ 5. รองศาสตราจารย์ ดร.อัจฉริยา พ่วงแก้ว 6. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศรินรัตน์ ศรีประสงค์ 7. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วารุณี พลิกบัว 8. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิจิตรา เล็กด ารงกุล 9. อาจารย์ ดร.นาตยา รัตนอัมภา 10. อาจารย์ ดร.ชลธิรา เรียงค า 11. ผู้ช่วยอาจารย์ประพัฒน์สินี ประไพวงษ์ 12. ผู้ช่วยอาจารย์สิริกาญจน์ หาญรบ 13. ผู้ช่วยอาจารย์ปิโยรส เกษตรกาลาม์ 14. ผู้ช่วยอาจารย์ณัฏยา ประหา 15. ผู้ช่วยอาจารย์จิณห์สุตา ทัดสวน
NSKnowledge Management [44] ผลการประเมินกิจกรรมการจัดการความรู้ ในหัวข้อ “Nurse Practitioner (NP) Program” วันพฤหัสบดีที่ 18 สิงหาคม 2565 เวลา 11.30 – 12.00 น ณ ห้องประชุม 901 คณะพยาบาลศาสตร์ บางกอกน้อย และออนไลน์ผ่านระบบ Microsoft team ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 15 ราย ตอบแบบประเมิน 10 ราย คิดเป็นร้อยละ 66.67 1) ความคิดเห็นเกี่ยวกับการเสวนา หัวข้อในการประเมิน จ านวนค าตอบ (ราย/ ร้อยละ) มาก ปานกลาง น้อย ไม่ตอบ ผู้น าสามารถน าประเด็นเสวนาได้ชัดเจน 9 (90) 1 (10) - - ผู้น าเสวนาใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย 10 (100) - - - รูปแบบ และวิธีการน าเสวนาท าให้มีการ วิเคราะห์ปัญหาได้ทั่วถึง 8 (80) 2 (20) - - มีประโยชน์สามารถน าไปใช้ได้ 8 (80) 2 (20) - - มีโอกาสแสดงความคิดเห็นและซักถามได้ 9 (90) 1 (10) - - หัวข้อเสวนาน่าสนใจ 9 (90) 1 (10) - - 2) โดยสรุป ท่านเห็นว่าการเสวนาครั้งนี้อยู่ในระดับใด ดีมาก 7 ราย (ร้อยละ 70) ดี 2 ราย (ร้อยละ 20) ปานกลาง 1 ราย (ร้อยละ 10) ควรปรับปรุง - 3) ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม - เวลาน้อยไปค่ะ - อยากเป็น NP แต่อายุเกิน 50
NSKnowledge Management [45] ถอดบทเรียน “ถ่ายทอดความรู้ผู้เกษียณอายุราชการ สายวิชาการ ปี 2565” รองศาสตราจารย์ ดร.วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์วันดี โตสุขศรี ผู้ช่วยศาสตราจารย์วาสนา จิติมา และ อาจารย์ ดร.สุชาดา ภัทรมงคลฤทธิ์ วิทยากร นางสาวดารานิตย์ กิ่งวัน ผู้ลิขิต คณะกรรมการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้และการจัดการความรู้ จัดกิจกรรมถ่ายทอดความรู้ ผู้เกษียณอายุราชการ สายวิชาการ ซึ่งเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในหัวข้อ Share & Learn คุยเพลินๆ กับ ครูผู้มากประสบการณ์ ปี 2565 เมื่อวันพุธที่ 7 กันยายน 2565 เวลา 13.30-15.30 น. ณ ห้อง 301 ชั้น 3 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล บางกอกน้อย โดยมีรองศาสตราจารย์ ดร.วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์ อาจารย์ประจ าภาควิชาการพยาบาลศัลยศาสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์วันดี โตสุขศรี อาจารย์ประจ าภาควิชาการ พยาบาลอายุรศาสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์วาสนา จิติมา อาจารย์ประจ าภาควิชาการพยาบาลสูติศาสตร์-นรีเวช วิทยา และอาจารย์ ดร.สุชาดา ภัทรมงคลฤทธิ์ อาจารยืประจ าภาควิชาการพยาบาลศัลยศาสตร์เป็นวิทยากร และมีอาจารย์ ดร.เสาวลักษณ์ สุขพัฒนศรีกุล อาจารย์ประจ าภาควิชาการพยาบาลรากฐาน และอาจารย์นลิน ทิพย์ นิรันตร์ทวีชัย อาจารย์ประจ าภาควิชาการพยาบาลศัลยศาสตร์เป็นผู้ด าเนินรายการ ซึ่งสรุปประเด็น ต่างๆ ที่น่าสนใจได้ดังนี้
NSKnowledge Management [46] ผลงานที่เป็นความภาคภูมิใจ รองศาสตราจารย์ ดร.วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์ สิ่งที่ภาคภูมิใจตลอดเวลาที่ได้เป็นอาจารย์สอนนักศึกษาพยาบาล ก็คือ อาจารย์เป็นผู้สอนทั้ง ภาคทฤษฎีและภาคปฎิบัติแล้วท าให้ลูกศิษย์เข้าใจในสิ่งที่เราสื่อและสอนเขา สามารถน าสิ่งที่สอนไปประยุกต์ใช้ กับชีวิตการท างาน และประสบความส าเร็จในชีวิต และสิ่งที่ภาคภูมิใจอีกเรื่องนึงของการสอนวิชามรณะวิถีบน หอผู้ป่วย วิธีการสอนของอาจารย์คือ สอนให้นักศึกษาฝึกสังเกตอาการของผู้ป่วย สามารถคาดการณ์สถานที่จะ เกิดขึ้น พร้อมกับแก้ปัญหาได้ทันท่วงที ขอฝากทิ้งท้ายไว้ว่า “พลังความสามารถของตัวเราจะท าให้เราเป็นครูที่สมบูรณ์แบบได้” ผู้ช่วยศาสตราจารย์วาสนา จิติมา สิ่งที่ภาคภูมิใจและสิ่งที่ได้รับจากการเป็นอาจารย์พยาบาลที่คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลแห่งนี้ คือ “การผลิตนักศึกษาที่มีคุณภาพ” และการที่อาจารย์ได้ท ากิจกรรมที่ส าคัญต่างๆ ให้กับคณะพยาบาลศาสตร์ เช่น 1. บริการวิชาการ การให้บริการคุณแม่ตั้งครรภ์เพื่อให้ตั้งครรภ์มีคุณภาพ เป็นสิ่งที่ชื่นชอบ เพราะได้ท าในสิ่งที่มีประโยชน์ให้กับประชาชน 2. ท าโครงการกับ สปป.ลาว มีบทบาทในการให้บริการวิชาการที่ สปป.ลาว ซึ่งด าเนินการมาอย่างต่อเนื่องเป็น เวลา 5 ปีแล้ว จนเกิดเป็น MOU ต่ออีก 5 ปี ผู้ช่วยศาสตราจารย์วันดี โตสุขศรี ขอบคุณที่จัดกิจกรรมนี้ เพราะเป็นการถ่ายทอดจากรุ่นต่อรุ่น สืบสานปณิธานของคณะฯ สืบต่อไป ส าหรับสิ่งที่อาจารย์ภูมิใจมากที่สุดคือ การได้สอนหนังสือและสร้างนักศึกษาพยาบาลให้ได้ดี และเป็น อาจารย์พยาบาลที่จะสอนรุ่นน้องให้ได้ดีต่อไป และตัวเองภาคภูมิใจที่ได้เป็นผู้ริเริ่มโครงการต ารา ของภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ อาจารย์ ดร.สุชาดา ภัทรมงคลฤทธิ์ สิ่งที่ภาคภูมิใจมีด้วยกัน 2 เรื่อง ดังนี้ เรื่องที่ 1 การที่ได้มาท างานที่คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และได้รับเกียรติยศที่ได้เป็น อาจารย์สอนหนังสือที่คณะฯ แห่งนี้ และได้ท าการสอนหนังสือให้นักศึกษาได้ส าเร็จการศึกษาด้วยดี เรื่องที่ 2 ได้รับการถ่ายทอดความรู้ และเทคนิคการสอนที่ได้รับมาจากอาจารย์อารีย์ และอาจารย์ ศรีสุรางค์ ผู้ทีมีความรู้ด้าน ตา หู คอ จมูก ท าให้ตนเองมีความเชี่ยวชาญเพิ่มขึ้น ประกอบกับการน าความรู้มา พัฒนาตัวเอง และฝึกฝนวิชาชีพการเป็นครูอยู่เสมอ จึงท าให้มีความเชี่ยวชาญด้าน ตา หู คอ จมูก และสามารถ ถ่ายทอดให้กับนักศึกษาทุกคนในคณะฯ ได้เป็นอย่างดี
NSKnowledge Management [47] แนวทางการท างานอย่างมีความสุข รองศาสตราจารย์ ดร.วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์ แนวทางการท างานอย่างมีความสุขของอาจารย์ มีทั้งหมด 5 ข้อดังนี้ 1. สร้างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมที่ดี 2. เป็นมิตรกับผู้คนรอบตัว 3. ต้องเรียงล าดับชิ้นงานของตัวเอง 4. ต้องชื่นชมคนท างานร่วมกับเราทั้งต่อหน้าและลับหลัง 5. การกตัญญูรู้คุณ และที่ส าคัญที่สุด คือ “การชื่นชมตัวเอง เราเก่งจัง ท างานได้หลายอย่าง และได้ช่วยบุคคลรอบข้าง และผู้ร่วมงาน” ผู้ช่วยศาสตราจารย์วาสนา จิติมา จงภูมิใจกับสิ่งที่ท า และมีความสุขกับทุกๆ วัน ขอยกตัวอย่างกับประสบการณ์ที่ท าการสอนนักศึกษา แล้วท าให้เรามีความสุข ดังนี้ นักศึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์วาสนา จิติมา ถ้านักศึกษาตอบค าถามเราได้ นักศึกษาก็ยิ้มได้ เราก็ยิ้มได้ มีความสุข ถ้านักศึกษาตอบค าถามเราไม่ได้ นักศึกษาก็จะ เครียด เราต้องพยายามท าให้นักศึกษามีความเข้าใจ และยิ้มได้ อย่างมีความสุข ผู้ช่วยศาสตราจารย์วันดี โตสุขศรี ความสุขเกิดจากตัวเราเอง ถ้าเราคิดบวก อาจารย์ ดร.สุชาดา ภัทรมงคลฤทธิ์ “มองวันต่อวันเป็นสิ่งใหม่อยู่เรื่อยๆ เพราะแต่ละวันจะเจอเรื่องราวต่างๆ มากมาย” ในด้านการเป็นพยาบาลและอาจารย์พยาบาล เป็นงานที่ท าแล้วมีความสุข เห็นคนไข้หาย ก็รู้สึกดีใจ สอนหนังสือนักศึกษาท าได้เรียนเข้าใจ ก็มีความสุข วิธีการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์โควิค-19 ให้สนุกเหมือนกับเรียน Onsite มีวิธีการอย่างไร รองศาสตราจารย์ ดร.วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์ เริ่มต้นตั้งค าถามให้นักศึกษาคิด แต่คอยสังเกตนักศึกษาร่วมด้วย ถ้านักศึกษาเริ่มรู้สึกว่าเครียดไป ต้อง คิดหาวิธีที่ท าอย่างไรให้นักศึกษาไม่เครียด มาปรับปรุง
NSKnowledge Management [48] ผู้ช่วยศาสตราจารย์วาสนา จิติมา รับผิดชอบการสอนในห้องคลอด ในช่วงที่เรียนออนไลน์ ใช้วิธีการสอนผ่านมือถือด้วยโปรแกรม MS Teams เป็นสื่อการสอนด้วยวิธี live สด ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มท ากิจกรรม และมีเสียงเอฟเฟค (ประกอบการท า คลอด) เพื่อให้นักศึกษาตื่นตัว และตื่นเต้นอยู่ตลอดเวลา และมีการพลิกแพลงการสอนเพื่อไม่ให้นักศึกษาเกิด อาการเบื่อ เช่น ใช้เสียงของอาจารย์เพื่อให้เกิดความเร้าใจสนุก ผู้ช่วยศาสตราจารย์วันดี โตสุขศรี เน้นเนื้อหาให้นักศึกษาเข้าใจมากขึ้น และท าให้นักศึกษาตื่นเต้น ตื่นตัวอยู่ตลอดเวลา ในส่วนวิชา ปฏิบัติ สร้างห้อง SDL ที่บางขุนนนท์และสร้างสถานการณ์ให้กับนักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติซึ่งนักศึกษาเกิดความ สนุกกับห้องเรียนที่อาจารย์ได้เตรียมไว้ อาจารย์ ดร.สุชาดา ภัทรมงคลฤทธิ์ การเรียนออนไลน์ “ทฤษฎี” ต้องสร้างบรรยากาศในห้องเรียน เรียนออนไลน์ “ปฏิบัติ” เป็นสิ่งที่ ท้าทาย และยากมาก ต้องค านึงถึงสื่อที่จะใช้สอน และต้องท าให้นักศึกษาสามารถเข้าใจได้ง่าย สิ่งส าคัญ คือ ครูต้องเตรียมข้อมูลให้มาก และสร้างสิ่งใหม่ๆ ที่น่าสนใจและสนุกสนาน ไม่ท าให้นักศึกษารู้สึกเบื่อ สิ่งที่อยากฝากไว้กับคณะฯ และรุ่นน้อง รองศาสตราจารย์ ดร.วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์ เรื่องของการท างานหนัก การเห็นคุณค่าของมนุษย์และสังคม การมีเมตตาต่อกัน เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ช่วยเหลือกันให้ได้มีความสุขด้วยกันโดยขอแบ่งเป็น 4 ข้อ ดังนี้ 1. การท างานหนัก ยิ่งท ายิ่งเก่ง 2. ระลึกไว้เสมอว่าทุกคนมีศักดิ์ศรีและมีคุณค่าจงท าหน้าที่ของตัวเองให้ดีที่สุด 3. ให้เกียรติซึ่งกันและกัน เห็นคุณค่าของคนรอบตัว 4. มีความเมตตาเท่าเทียมกันแต่ไม่ใช่ปฏิบัติต่อทุกคนเหมือนกัน เช่น เราต้องสังเกตุอุปนิสัยใจคอของ แต่ละคนว่าเป็นอย่างไรเสียก่อนเราถึงจะปฏิบัติต่อเขาได้อย่างถูกต้อง ผู้ช่วยศาสตราจารย์วาสนา จิติมา คนที่อยู่มาได้จนถึงเกษียณอายุราชการต้องมีความประทับใจ ต้องมีสิ่งที่อยู่ในใจที่จะท าให้เรายืนหยัด และท างานในคณะพยาบาลศาสตร์ของเราได้ สิ่งนั้นก็คือ “ก าลังใจ”จากพี่สู่น้อง และรุ่นต่อๆไป และช่วยกัน ส่งเสริมน้องๆ ความส าเร็จที่ได้มานั้นมาด้วย อาจารย์ เพื่อน พี่ๆ น้องๆ ทุกคน “ท าอะไรขอให้ดีอย่างพี่ว่า คนเรานั้นไม่เหมือนกันไม่ต้องห่วง แต่ที่แน่ๆ ต้องการคือ “ก าลังใจ”” ผู้ช่วยศาสตราจารย์วันดี โตสุขศรี ขอฝาก 3 ข้อถึงคณะฯ และรุ่นน้อง ดังนี้ 1. ขอให้มีความรักต่อกัน 2. มีรอยยิ้มให้กันทุกวัน 3. มีความสามัคคีกัน
NSKnowledge Management [49] อาจารย์ ดร.สุชาดา ภัทรมงคลฤทธิ์ ขอฝากไว้ 2 ข้อดังนี้ 1. ทุกอย่างเกิดด้วยน้ ามือของมนุษย์ 2. อาจารย์ต้องมีความเชื่อมั่นว่านักศึกษามีการเรียนรู้ได้ แต่ระยะทางของนักศึกษาจะแตกต่างกัน อาจารย์อย่าพึ่งท้อ ขอให้พยายามและท าความเข้าใจกับนักศึกษา
NSKnowledge Management [50] ถอดบทเรียน “ถ่ายทอดความรู้ผู้เกษียณอายุราชการ สายสนับสนุน และสายลูกจ้าง ปี2565” นางสาวยุพิน ยังสวัสดิ์ และนางศรปภัชร สมอทองวิทยากร นางสาวดารานิตย์ กิ่งวัน ผู้ลิขิต คณะกรรมการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้และการจัดการความรู้ จัดกิจกรรมถ่ายทอดความรู้ ผู้เกษียณอายุราชการ สายวิชาการ ซึ่งเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในหัวข้อ การให้บริการ เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 8 กันยายน 2565 เวลา 13.30-15.30 น. ณ ห้อง 301 ชั้น 3 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล บางกอกน้อย โดยมีนางสาวยุพิน ยังสวัสดิ์ เจ้าหน้าที่ห้องสมุด และนางศรปภัชร สมอทอง เป็นวิทยากร และมี นางสาวปริชาติ แก้วส าราญ เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์และพัฒนาภาพลักษณ์องค์กร เป็นผู้ด าเนินรายการ ซึ่งสรุปประเด็นต่างๆ ที่น่าสนใจได้ดังนี้ ผลงานที่เป็นความภาคภูมิใจ นางสาวยุพิน ยังสวัสดิ์ รักในองค์กรและภูมิใจที่ได้ท างาน ณ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ที่มีความพึ่งพาอาศัย ซึ่งกันและกัน พร้อมให้ค าปรึกษา และช่วยเหลือกัน อยู่ร่วมกันเป็นพี่ เป็นน้อง ดิฉันไม่เคยลืมบุญคุณของ องค์กรแห่งนี้ที่ท าให้มีอยู่ มีกิน เลี้ยงบิดา มารดา ตลอดจนทั้งครอบครัวอันเป็นที่รักของเรา สิ่งที่ดิฉันภูมิใจที่ท างานอยู่ในองค์กรแห่งนี้ คือ ได้มีโอกาสช่วยงานในด้านบริการ ช่วยเหลือบุคลากร นักศึกษา รวมถึงมีส่วนที่ได้ช่วยงานในการผลิตนักศึกษาตั้งแต่ ปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก