สัจธรรม
เพือ่ ความพ้นทุกขใ์ นปัจจบุ นั
หลวงตาณรงคศ์ กั ด์ิ ขีณาลโย
ไม่มจี ติ ไมม่ ีอวิชชา ไม่มีตวั เรา
หนังสือ
ภาพธรรม คําธรรม นําใหแ้ จง้
“สัจธรรม”
ร้ตู น้ รกู้ ลาง ร้ปู ลาย รู้อรยิ สัจ รู้จักอวิชชา ร้จู ักจติ ดั้งเดมิ รู้แจง้ ในสัจธรรม
๑
สารบญั
ส่งต่อธรรมแทจ้ ากใจ “สัจธรรม”
๓
เรยี งรอ้ ย
ภาพธรรม คาํ ธรรม
ทุกข์ ตัวตน ตวั เรา ผยู้ ึด แอบแฝง หลง ตาย รู้
๑๑ ๑๓ ๑๕ ๑๗ ๑๘ ๒๐
สิ้นยดึ ปลอ่ ยวาง ใจ อวิชชา ธาตรุ ู้ ธรรม นิพพาน
๒๓ ๒๔ ๒๖ ๒๘ ๓๐ ๓๒ ๓๕
ธรรมชาติ พาเพลิน เจรญิ ธรรม ข้าวของ มองใหเ้ ห็น กเ็ ป็นธรรม
๓๗ ๔๒
สัจธรรมแทจ้ ากใจ “พระธรรมคําสอนของพระพทุ ธเจา้ ”
๔๖
บทสวด คําอธิษฐาน คําขอขมา คาํ แผเ่ มตตา
๔๙
บทสรุปจากใจ “ธรรมแท้”
๕๖
ข้ันตอนฝึกลมปราณ
๕๙
๒
ส่งตอ่ ธรรมแท้จากใจ
“สัจธรรม”
หลวงตาณรงค์ศักดิ์ ขีณาลโย
เมษายน ๒๕๖๓
๓
จิตจิตเดิมแท้ เป็ นธาตุรู้ ไม่ใช่สังขาร จงึ ไม่อาจคิด นึก ตรกึ ตรอง หรือ วิญญาณธาตุ กับ วิญญาณขันธ์
(วิญญาณธาตุ) ทีเ่ ป็น ปรุงแต่ง หรือ แสดงอาการ หรอื มีหน้าทีต่ ามธรรมชาตแิ ตกต่างกันอย่างไร?
วสิ ังขาร... อสังขตธาต.ุ .. แสดงอารมณต์ า่ งๆ ซงึ่ เป็น สัญญา สังขาร ‣ ธาตุดิน ทาํ หน้าทีเ่ ป็นโครงสรา้ ง
อสังขตธรรม... สุญญตา ในขนั ธห์ ้า และ ไม่ใช่ วิญญาณขันธ์ ที่
เกดิ ดบั รบั รูต้ ามทวาร ของร่างกาย และอวัยวะที่เป็นของแข็ง
เป็นความว่างเหมือนกับความว่างอันไม่มี ทาํ หน้าที่ตามธรรมชาติแตกต่างกันไป
ขอบเขตในธรรมชาติ หรอื ในจักรวาล เมื่อ วิญญาณธาตุ มารวมกับธาตุ ดิน น้ํา ตามอวัยวะตา่ งๆ
แตค่ วามว่างในธรรมชาติ ไม่มคี วามรู้ ลม ไฟ อากาศ (ความว่าง) เกดิ เป็นขนั ธ์หา้
ไดแ้ ก่ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วญิ ญาณ ไมม่ กี ารยดึ ถือ หรอื ยึดถอื ไม่ได้ ไม่เทยี่ ง ไม่คงที่
ส่วน ธาตุรู้ ซงึ่ เป็นจติ หรอื ใจดัง้ เดิมแท้ ซึง่ เป็นสังขารเกิดดับ ไม่เทยี่ ง เป็นอนิจจัง
เป็นธาตุว่างที่มีความรู้ รู้ออกมาเองจากใจ ทกุ ขงั อนัตตา แต่ วิญญาณธาตุ ‣ ธาตุน้ํา ทําหน้าที่เป็นน้ําเลือด น้ําลาย
โดยไมค่ ดิ ไม่ปรงุ แต่ง จึงปรุงแตง่ ยดึ ถอื เป็นความรู้ทีเ่ ป็นความว่าง จึงไม่เกดิ ดบั ไป
ไม่ได้ พยายามปล่อยวางไม่ได้ ปรุงแต่ง ตามขนั ธห์ ้า น้ําไขมนั น้ําเหงื่อ น้ําปสั สาวะ เป็นตน้
ทําให้เป็นรโู้ ดยไม่คดิ นิ่ง เฉย ไมไ่ ด้ (ไม่ใช่
ความรู้ทีเ่ ป็นสัญญา หรอื ปญั ญา ซงึ่ เป็น ดังน้ัน วิญญาณธาตุ แม้จะรวมกับ ไม่มกี ารยดึ ถือ หรอื ยึดถือไม่ได้ ไม่เทยี่ ง ไม่คงที่
สังขาร ไม่ใช่ความรู้สึกว่าง ซึ่งเป็นเวทนา ธาตอุ ืน่ ๆ เป็นขนั ธห์ ้า แตต่ ่างหากจาก
และ ไมใ่ ชค่ วามว่างทีป่ รงุ แต่ง หรอื มโน ขันธ์ห้า และ ไม่ใช่วิญญาณขนั ธท์ เี่ กิดดบั ‣ ธาตลุ ม ทาํ หน้าทีเ่ ป็นลมหายใจ ลมตด
เอาเอง) รับรตู้ ามทวาร
ลมเรอ ลมในทอ้ ง ลมในไส้ เป็นต้น
ไมม่ ีรูปลกั ษณ์ หรอื กริ ิยา อาการใด จึงไมม่ ี วิญญาณธาตุ ไม่เกิดดับไปตามรูปนาม
ความรู้สึกสุข ทุกข์ ผ่องใส เศร้าหมอง ขันธ์หา้ แลว้ ทาํ งานร่วมกบั ขันธ์ห้า ไม่มีการยดึ ถอื หรอื ยึดถือไม่ได้ ไมเ่ ทยี่ ง ไมค่ งที่
สวา่ ง มืด สงบ เงียบ สงัด นิ่ง เฉย โดยเฉพาะกับ วญิ ญาณขันธ์ อยา่ งไร?
ความรูส้ ึกว่างเปลา่ ซึง่ เป็นเวทนาในขันธห์ า้ ‣ ธาตไุ ฟ ทาํ หน้าทีใ่ หเ้ กิดความร้อน
ความอบอุ่น เผาผลาญอาหารให้เกิด
พลงั งาน เป็นตน้
ไมม่ ีการยดึ ถือ หรือ ยึดถือไมไ่ ด้ ไม่เทยี่ ง ไมค่ งที่
‣ ธาตอุ ากาศ (ความว่าง) เป็นช่องว่าง
เพื่อให้สิ่งต่างๆ มีการเคลอ่ื นไหวได้
ไมม่ ีการยึดถอื หรือ ยึดถือไม่ได้ ไมเ่ ทยี่ ง ไมค่ งที่
๔
เมอ่ื มี วิญญาณธาตุ เขา้ ผสมรา่ งกายน้ัน อายตนะภายใน (ประตตู า หู จมกู ลนิ้ กาย ความไมร่ ู้ (อวชิ ชา) ใน “สัจธรรม”
จึงเกิดเป็นนาม คือ เวทนา (ความรู้สึก) ใจ) เขาทําหน้าที่ตามธรรมชาติของเขา ความจรงิ ดงั กลา่ ว จงึ ไมเ่ ห็นวา่
สัญญา (ความจาํ ) สังขาร (ความคิด เท่านั้น ไม่มกี ารยึด ความเป็นสัตว์ บคุ คล ตัวตน เรา เขา หญงิ
ความปรุงแต่ง อารมณต์ ่างๆ) วญิ ญาณ ชาย เป็นนั่น เป็นนี่ เป็นเพยี งสมมติ
(การรับรตู้ ามทวาร) ดงั น้ัน ขันธห์ า้ ได้แก่ รปู เวทนา สัญญา เป็นสังขารปรุงแต่ง มีอยู่ เป็นอยู่ชั่วคราว
สังขาร วิญญาณ ซงึ่ เกดิ จากธาตุตา่ ง ๆ เกิดขนึ้ แล้ว มีความไม่เทีย่ ง มีความเส่ือม
‣ เวทนา ทาํ หน้าทีเ่ ป็นความรู้สึก มาผสมปรงุ แตง่ ขนึ้ มา จึงไม่ได้เป็น อวิชชา มคี วามดับไปเป็นธรรมดา และ
และ นิพพาน สังขารทงั้ หมด ไม่มีอยู่ในจิตดั้งเดมิ
ตามธรรมชาติไมม่ หี น้าทยี่ ึดถือ หรือ ยดึ ถือไมไ่ ด้ ซงึ่ เป็น วิสังขาร เป็นสุญญตา
ไม่เทยี่ ง ไมค่ งที่ ส่วนทีเ่ ป็น อวชิ ชา คือ ความไม่รู้
หลงยดึ จิต เป็นตวั เรา เป็นของเรา เมื่อมี อวิชชา คอื ความไมร่ สู้ ัจธรรม
‣ สัญญา ทาํ หน้าทีเ่ ป็นความจํา มมี าตง้ั แต่กําเนิดจติ ขนึ้ มาในธรรมชาติ มอี ยใู่ นจิต กต็ ้องเอาธรรมมาอบรมจติ
ใหเ้ กิด วชิ ชา เป็นความรู้แจ้งขนึ้ มา
ตามธรรมชาตไิ มม่ ีหน้าทยี่ ดึ ถอื หรอื ยดึ ถือไมไ่ ด้ แต่แม้จะยงั หลงยึดจติ ด้ังเดิมเป็นตัวเรา
ไมเ่ ทยี่ ง ไม่คงที่ เป็นของเรา ซงึ่ ยงั เป็นอวิชชาอยู่กต็ าม ธรรมทีน่ ํามาอบรมจิต เพอ่ื ใหจ้ ิตไดร้ ู้
ความจรงิ ได้แก่
‣ สังขาร ทําหน้าทีค่ ดิ นึก ตรกึ ตรอง แต่ธรรมชาตขิ อง จติ ด้ังเดมิ ก็คง
เป็นธรรมชาติทเี่ ป็นวสิ ังขาร อสังขตธาตุ ก า ร สั ม พั น ธ์ กั น ร ะ ห ว่ า ง ธ า ตุ ขั น ธ์ ห้ า
ปรุงแต่ง แสดงอาการ หรือ อารมณ์ สุ ญ ญ ต า ธ า ตุ . . . ซึ่ ง เ ป็ น ธ ร ร ม ห รื อ อายตนะ
ตา่ งๆ ธรรมชาติทีไ่ ม่เปลีย่ นแปลงตลอดกาล
ป ฏิจจสมปุ บาท อริยสัจ ๔
ตามธรรมชาติไม่มีหน้าทยี่ ึดถือ หรือ ยึดถอื ไม่ได้ เป็นความว่าง... ไม่มตี ัว ไม่เป็นสัตว์ บุคคล
ไม่เทยี่ ง ไมค่ งที่ ตัวตน เรา เขา เป็นหญงิ เป็นชาย เป็นน่ัน
เป็นนี่
‣ วญิ ญาณ ทําหน้าทีร่ บั ร้ตู ามทวาร
๕
ตามธรรมชาตไิ ม่มหี น้าทยี่ ดึ ถอื หรือ ยดึ ถอื ไม่ได้
ไมเ่ ทยี่ ง ไม่คงที่
จะเหน็ ไดว้ า่ ธาตุ ขันธ์ (รูป-นาม หรือ รูป
เวทนา สัญญา สังขาร วญิ ญาณ) และ
ส ติปัฏฐาน ๔ คือ มีสติ ปัญญา พ ละ ๕ อนิ ทรยี ์ ๕ ได้แก่ ศรทั ธา วิริยะ ‣ สัมมากัมมันตะ การปฏิบัติที่ถูกต้อง
พิจารณาให้รู้เห็นสัจธรรม ความจริงของ สติ สมาธิ ปญั ญา ซงึ่ เป็นกาํ ลัง ห ม า ย ถึ ง เ จ ต น า ล ะ เ ว้ น จ า ก ก า ร ฆ่ า
กายในกาย เวทนาในเวทนา จิตในจิต โจรกรรม และการประพฤตผิ ดิ ในกาม
ธรรมในธรรม เพ่อื ใหร้ เู้ ห็นสัจธรรม อิ ทธบิ าท ๔ ได้แก่ ฉันทะ (ความสนใจ)
ความจรงิ ด้วยใจว่า ท้ังหมดนั้นเป็นอนิจจงั ‣ สัมมาอาชีวะ การหาเลี้ยงชีพที่ถูกต้อง
ทุกขัง อนัตตา ไม่มีสาระแก่นสารเป็นตัว วิรยิ ะ (ความเพยี ร) จติ ตะ (เอาใจใส่) วิมงั สา
เป็นตนให้ยึดม่ันถือม่ันได้ ซึ่งตัวเราก็ไม่มี (วิเคราะหเ์ หตุผล รูเ้ หตุแห่งความเสื่อม คอื หมายถึง การเว้นจากมจิ ฉาชพี
จิต หรอื ใจด้งั เดิมแท้ก็ไมม่ ีตวั ขาดสติ สมาธิ ปญั ญา ศรทั ธา ความเพียร การละเวน้ จากอาชีพฆา่ สัตว์
เป็นความวา่ ง (ว่างเปลา่ จากสัตว์ บุคคล รู้เหตุแห่งความเจริญ รู้สัจธรรม รู้อริยสัจ อาชีพทีเ่ บียดเบียนผอู้ ่ืน
ตัวตน เรา เขา หญงิ ชาย ความเป็นนั่น หรอื ปฏจิ จสมปุ บาท) อยา่ งต่อเนื่อง
ความเป็นนี่) ไม่ขาดสาย ‣ สั มมาวายามะ ความเพียรที่ถูกต้อง
โ พชฌงค์ ๗ ซึ่งเป็นเครื่องส่งเสริม ม รรค ๘ ได้แก่ หมายถงึ สัมมปั ปธาน ๔
สนับสนุนให้ตรสั รู้ตาม ไดแ้ ก.่ .. ‣ สัมมาทิฏฐิ ความเหน็ ทถี่ ูกต้อง หมายถึง ‣ สัมมาสติ การมีสติที่ถูกต้อง หมายถึง
สติสัมโพชฌงค์, ธัมมวิจยสัมโพชฌงค์
(ธรรมะวจิ ยั ), วริ ิยสัมโพชฌงค์ ความรใู้ นอริยสัจ ๔ สติปฏั ฐาน ๔
(ความเพยี ร), ปตี ิสัมโพชฌงค,์
ปสั สัทธิสัมโพชฌงค์, สมาธิสัมโพชฌงค์, ‣ สัมมาสังกปั ปะ ความคดิ ทีถ่ ูกตอ้ ง ‣ สัมมาสมาธิ การมีสมาธทิ ีถ่ กู ตอ้ ง
อเุ บกขาสัมโพชฌงค์ อยา่ งตอ่ เน่ือง
ไม่ขาดสาย หมายถึง ความคิดในการออกจากกาม มี ขันติ (ความอดทน อดกลั้น) ได้แก่
ความไม่พยาบาท และการไม่เบียดเบียน กินน้อย นอนน้อย พดู น้อย ไมค่ ลุกคลี
หมู่คณะ สํารวมอินทรยี ์ (ตา หู จมกู ลนิ้
‣ สัมมาวาจา วาจาทถี่ ูกต้อง หมายถงึ กาย ใจ) ไม่เอาเรอ่ื งโลกๆ มาสู่ใจ
ทาํ ความเพียรให้มาก ให้มีสติ สมาธิ
การเวน้ จากการพูดเท็จ หยาบคาย ปญั ญา ศรทั ธา ความเพียร อยา่ งต่อเน่ือง
ส่อเสียด และเพอ้ เจ้อ ไมข่ าดสาย
๖
สั มมัปปธาน คือ ความเพียรชอบ ความรูส้ ึกว่า จติ มีตวั หรอื มีตวั จติ กลวั ผี เป็นความทกุ ข์
จะเปรียบเหมือนกับเวลากลางวันเดินไปที่
๔ ประการ ไดแ้ ก่ ตรงนั้นได้ แต่พอเวลากลางคืนไม่กล้าเดิน ถ้าไม่หลงปรุงแต่งมีตัวเรา ก็จะไม่มีตัวเรา
ไปทีต่ รงน้ัน เพราะร้สู ึกว่ามตี ัวผี กลวั ผี ซงึ่ เป็นความทกุ ข์ เชน่ เดียวกนั
๑. สังวรปธาน เพียรระวงั ไมใ่ ห้บาปอกศุ ล แต่ความจริงตรงบริเวณนั้นไม่มตี ัวผีอย่เู ลย จิตดง้ั เดมิ ... ไม่มตี วั เป็นความวา่ ง แตห่ ลง
ทีย่ ังไมเ่ กิดขนึ้ มใิ หเ้ กดิ ขึน้ แตห่ ลงคิดปรงุ แต่งวา่ มตี ัวผจี งึ เกดิ ปรุงแต่งมี ตวั จติ ขนึ้ มาใหย้ ึดถือได้ จงึ หลง
ความกลัว เป็นทกุ ข์ ยดึ ถอื จติ เป็นตวั เรา เป็นของเรา
๒. ปหานปธาน เพยี รละบาปอกศุ ล
ทีเ่ กดิ ขนึ้ แลว้ มิใหเ้ กดิ ขนึ้ อกี ตอ่ ไป ทาํ นองเดียวกนั จติ หรอื ใจ หรอื ธาตรุ ู้ ความปรงุ แตง่ ยดึ ถอื จติ ดั้งเดมิ แท้
เดมิ แท้ ไมม่ ีตัว ผู้ยดึ จติ กไ็ มม่ ตี วั ความรู้ ก็ เป็นตัวเรา เป็นของเรา ซึง่ เป็น อวชิ ชา
๓. ภาวนาปธาน เพียรอบรมเจรญิ ไม่มีตัวและรู้ออกมาจากใจที่เป็นความว่าง เป็นเพียงสังขารปรุงแต่ง เกิดดบั อยใู่ น
กุศลธรรมทยี่ งั ไมเ่ กดิ ขึน้ ให้เกดิ มขี ึน้ ไมม่ ีตัว จติ ดัง้ เดิมแท้ ซึง่ เป็น วิสังขาร
เป็นธรรมชาติวา่ งเปลา่ จากตวั ตน
๔. อนุรกั ขนาปธาน เพยี รรักษากศุ ลธรรม แตเ่ ม่อื มี อวชิ ชา คอื ความไม่รู้ หรอื ว่างเปล่าจากความปรงุ แต่ง ไมเ่ กิดดบั
ที่เกิดขึ้นแล้ว ให้ตั้งมั่นเจริญงอกงาม ความโง่เขลา ก็จะหลงยึดจิตว่าเป็นตัวเรา อยดู่ ว้ ยกัน แตไ่ มไ่ ดเ้ ป็นเน้ือเดยี วกนั
ไพบูลย์ หรือ เป็นของเรา ถ้ารวมเป็นเนื้อเดียวกัน จะแยก อวิชชา
ออกจากจิตเดมิ แท้ไม่ได้
ธรรมทีก่ ลา่ วมาท้งั หมดจะเป็นสิ่งช่วย จิต เป็นความไม่มอี ะไรให้ยดึ ถือได้
ให้รู้แจ้งจากใจในสัจธรรม จาก อวิชชา ผู้ยึดก็ไม่มีตัว แต่หลงปรุงแต่ง ดังนั้น อวิชชา จึงดบั ไปได้ โดยจะเหลอื แต่
เป็นความไมร่ ู้ กลายเป็น วชิ ชา ความรู้แจง้ เป็นตวั เรา เป็นของเรา เหมือนกบั บรเิ วณ จิตเดิมแท้บริสุทธิ์ (นิพพาน) ไม่เกิดดับ
จากใจขนึ้ มาวา่ ทุกสรรพสิ่งไม่มีอะไรทมี่ ี น้ันไม่มีอะไร (ไม่มีผี) แต่เพราะความไม่รู้ ว่างเปล่าจากตวั จิต ว่างเปลา่ จากสังขาร
ตวั ตน เป็นแก่นสารสาระให้ยดึ ม่นั ถือมนั่ ได้ หรือ ความเขลา ก็หลงปรุงแต่งผเี ป็นตัวตน ทีย่ ึดถอื เป็นตวั เรา เป็นของเรา
ไม่ควรหลงยึดม่ันถอื ม่นั (สัพเพ ธมั มา ขนึ้ มา ในทา่ มกลางความไมม่ ีอะไร หรือ
นาลงั อภินิเวสายะ) ในทา่ มกลางความว่าง จึงหลงมตี วั เรา
๗
ดงั นั้น ขณะจติ ใดเกดิ ปญั ญาวมิ ตุ ติ ดังน้ัน....ถ้ามจี ิต (มสี ิ่งทีย่ ดึ ถอื ได)้ พน้ ทกุ ข์ นิพพาน เป็นธรรมธาตุ เป็นธาตรุ ู้
สว่างขึ้นที่ใจแล้ว ความหลง ความเขลา ก็มีอวิชชา ไมม่ ีจิต ไมม่ อี วิชชา บรสิ ุทธิ์ เป็นอมตธาตุ อมตธรรม ไม่เกดิ ดบั
ความมืดบอด ความไม่รู้ ความโง่ ตลอดกาล
ซงึ่ เป็น อวิชชา กจ็ ะดับไป กลา่ วไดว้ า่ “นิพพาน” เพราะหายโง่
เพียงอย่างเดียวเท่านั้น เพราะรู้แจ้งว่า “สัจธรรม” ความจรงิ คอื ไม่มีจติ
เปรยี บเหมือนความสว่างเกิดขึน้ ทีใ่ จ แท้จริงไมม่ ีตัวจิต ไมม่ ตี ัวเรา ไมม่ ขี องเรา
เพียงขณะจิตเดียว ความมืดบอดก็หายไป ไม่มอี วิชชา ไม่มตี ัวเรา
ฉะน้ัน ดังนั้น จึงไมไ่ ด้มีตวั เราไปถงึ ไปไดน้ ิพพาน
มาเป็นของเราแต่อย่างใด สังโยชน์ทั้งสิบตัว จนถึงตัวที่ ๘, ๙, ๑๐
ความจริงตัวตนของเราก็ไม่มีมาแต่แรกแล้ว คือ มานะ ฟุ้งซ่าน อวิชชา ล้วนเกดิ จาก
ส่วนจติ เดมิ แท้ก็ไม่มอี ะไรให้ยดึ ถอื ได้ มีเพียงจิตหนึ่ง (เอโกธัมโม) เรียกว่า อวชิ ชา ความโงเ่ ขลา ไม่รูส้ ัจธรรมเป็นเหตุ
“พุทธะ”
แต่เพราะความไมร่ ู้ หรอื ความโง่ จงึ หลง ต่อเม่ือรแู้ จ้งสัจธรรม (วชิ ชา) วา่ “ความจรงิ
ยึดถือจิตด้ังเดิมแท้ที่ไม่มีอะไร เป็นตัวเรา ไม่ได้หมายถึงรูปกายของพระพทุ ธเจ้า ไม่มีจิต ไมม่ อี วิชชา ไมม่ ตี ัวเรา
เป็นของเรา จงึ หลงมีตัวเรา มาต้งั แต่ แต่หมายถงึ เป็นผ้รู -ู้ รแู้ จ้ง ร้สู ิ้นยดึ มาตัง้ แต่แรก” จึงหายโง่ (อวิชชาดับ)
ชาตแิ รก รู้สิ้นหลง เพราะรูส้ ัจธรรม
"อวชิ ชา" ดับไปเพราะหายโง่
เมอื่ หายโง่ (อวชิ ชาดบั ) เพราะรูแ้ จ้งขนึ้ ทีใ่ จ รู้อริยสั จ ผู้ตื่น-ตื่นจากความหลับใหล หายโงก่ ็เพราะรูแ้ จง้ “สัจธรรม”
วา่ มเี พยี งจิตเดมิ แท้ ซงึ่ เป็นวิญญาณธาตุ หมายถึง อวิชชา ซึ่งเป็นความหลงมา
(ธาตุรู้) ที่ว่างเปล่าจากสังขาร ไม่มีตัวจิต ยาวนานตงั้ แตช่ าติแรก ผเู้ บิกบาน- จึงต้องใช้ "ธรรม" อบรมจิตให้รู้แจ้ง
และ ไม่มตี วั เรา ไม่มีสิ่งทจี่ ะให้ยดึ มั่น เพราะสิ้นยึด จงึ สิ้นกเิ ลส สิ้นความ สัจธรรม “อวชิ ชา” จงึ จะดบั
ถือมน่ั ได้ ท้งั ตัวตนของผู้ยึดมน่ั ถือมน่ั เศร้าหมอง
ก็ไม่มี จึงไมม่ ผี ูม้ ีกเิ ลสและผ้ทู ุกข์ เรียกวา่ ความจริงของสัจธรรม “จติ ” นั้นเอง
นิพพาน เขาเป็นธรรมอยู่แล้ว เพราะเขาเป็น
อสังขตธรรม สุญญตาธรรมมาตงั้ แตแ่ รก
๘
ซงึ่ ไม่มตี ัวจติ ไมม่ ีตวั เรา ไม่มอี วชิ ชา หรือ พยายามเอาตัวเราไปดับอวชิ ชา ทุกสรรพสิ่งรวมทง้ั สังขาร และ วิสังขาร
ไม่มวี ชิ ชา ไม่มผี ูโ้ ง่ ไม่มผี ู้ฉลาด ไมม่ ีผยู้ ึด กเิ ลส ตัณหา อปุ าทาน แต่ “สังขาร” เป็นอนิจจงั ทุกขงั อนัตตา
ไม่มผี ูป้ ลอ่ ยวาง ไมม่ ผี ู้สุข ไมม่ ีผ้ทู กุ ข์ ส่วน “วสิ ังขาร” เป็น อนัตตา หรอื
ไมม่ ีผูน้ ิพพาน เพราะ อยากได้ อยากถงึ อยากเป็น สุญญตา
อยากบรรลุนิพพาน แล้วตัวเราจะบรรลุ
แต่เพราะความไม่รู้ ความเขลา ความโง่ นิพพาน อย่างนี้ก็จะยงิ่ เป็น อวชิ ชา ตณั หา สิ่งทีถ่ กู ยึดถอื กไ็ ม่ใช่ของจรงิ ผยู้ ดึ ถอื
ความมืดบอด... ซึ่งภาษาสมมติเรียกว่า อุปาทาน และ ความทกุ ขม์ ากยิง่ ขึน้ กไ็ ม่ใช่ของจริง เป็นสิ่งสมมติ
อวิชชา จึงมีความเห็นผิด หลงผิดไปจาก
สัจธรรมความจริง จึงต้องเอาธรรม “อวิชชาดับ กส็ ิ้นยึด สิ้นยึด ก็สิ้นกิเลส “สิ้นยึด กส็ ิ้นทุกข์ใจ (นิพพาน)”
มาอบรมจติ ใหห้ ายโง่ สิ้นทกุ ขใ์ จ”
กล่าวไดว้ า่ “นิพพาน เพราะหายโง่”
ดงั นั้น การปฏบิ ัติธรรม จึงไมใ่ ช่ “สัจธรรม” ความจริงทุกสรรพสิ่งไม่อาจ
การพยายามเอาตัวเรา ไปดับความเป็น ยึดถือได้จริงเพราะทุกสรรพสิ่งเป็นอนิจจัง เนื่องจากรแู้ จ้งในความจรงิ แห่ง “สัจธรรม”
ตัวเรา เพื่อให้สิ้นความเป็นตวั เรา ทกุ ขงั อนัตตา ว่า ไมม่ จี ิต ไม่มีอวชิ ชา ไม่มีตวั เรา
๙
เรยี งร้อย
“ภาพธรรม คําธรรม”
ย้าํ ใหท้ าํ คําซํา้ ๆ พร่าํ สอนไป
ทุกข์ ตัวตน ตัวเรา ผู้ยดึ แอบแฝง หลง ตาย รู้
สิ้นยึด ปล่อยวาง ใจ อวิชชา ธาตรุ ู้ ธรรม นิพพาน
ธรรมชาติ พาเพลิน เจริญธรรม
ข้าวของ มองใหเ้ ห็น ก็เป็นธรรม
๑๐
คอื จุดเริม่ ต้น คือ ความไมม่ ีอะไร
สูงสุด
รอ้ ยรดั ผกู มดั อ ยา่ หนีทุกข์
ยงิ่ ยึด
อยา่ โหยหาความสุข
ยิง่ อยาก
อดีต…เหมือนความฝนั
ยิง่ ทกุ ข์
ปจั จบุ ัน…อยกู่ ับความจรงิ ทวี่ า่
อกิรยิ าจติ คือ ทีส่ ุดแหง่ ทกุ ข์
สิ่งใดสิ่งหนึ่งเกิดขนึ้ เป็นธรรมดา
พ้นจากสังขารทงั้ ปวง
สิ่งน้ันย่อมดับไปเป็นธรรมดา
ไมม่ ีผู้มา ถา้ เจา้ อยากพ้นทุกข์
ไม่มผี ้ไู ป เจา้ ยอ่ มไมพ่ ้นทกุ ข์
ไปต่อก็ไม่ใช่
ถอยกลบั กไ็ มใ่ ช่ หยุดอยู่กไ็ ม่ใช่
ทง้ั ไมใ่ ช่ผู้ไปตอ่ หรอื สิ่งทไี่ ปต่อ
ไมใ่ ช่ผู้ถอยหลังกลับ หรือ สิ่งทถี่ อยกลับ
ไม่ใชผ่ ูห้ ยุดอยู่ หรือ สิ่งทหี่ ยุดอยู่
น่ันแหละ คอื ทสี่ ุดแหง่ ทุกข์
ความพ้นทกุ ขอ์ ยู่ตรงทพี่ น้ ไป
ไมย่ ึด ก็ไม่ตอ้ งวาง จากตวั เราผอู้ ยากพ้นทกุ ข์
นี่แหละความเป็นกลาง
๑๑
เอาตวั เราไปร้ตู วั เรา มนั ก็หลง ๑๑ความพน้ ทุกข์อยตู่ รงทีพ่ น้ ไป
๑๑จากตัวเราผู้อยากพน้ ทกุ ข์
ความรู้สุดท้ายว่า สิ้นสุดแลว้
พน้ กริ ยิ าจติ ๑๑ ๑๑ การพ้นทุกข์ พ้นทไี่ มม่ ผี พู้ น้ ก ายและจติ
พน้ จากทุกข์ สมทุ ยั นิโรธ มรรค อยากจึงทุกข์ แคห่ ยดุ กส็ งบ มนั เป็นอย่างไร ในปจั จุบนั ขณะ
มนั กต็ ้องเป็นอยา่ งทีม่ ันเป็น
แค่เลกิ ทาํ ถา้ รู้ตัง้ อยู่ก็หลงแลว้ ไม่มตี วั ตนของเรา ไปเป็นอะไรกบั มนั
แตไ่ ม่เลกิ เอา ความทุกข์กไ็ มม่ ี
กห็ ลงมีเราอยู่ ๑๒ ความทุกขม์ ี เพราะตวั ตนของเรา
ไม่อยากใหเ้ ป็นอย่างนี้
แตอ่ ยากใหเ้ ป็นอย่างนั้น
พอเป็นอยา่ งน้ัน
ก็อยากให้เป็นอย่างนี้
ความไมย่ ึดถือ ให้สังเกตความไมม่ ผี ู้ยดึ ถอื หรอื ไมม่ ผี ้ไู ม่ยึดถอื ไปเรือ่ ยๆ
ไม่ยดึ ...เพราะรู้จักกระบวนการทาํ งานของธาตขุ นั ธ์ ทีส่ ําคญั ปล่อยวางความคิด ความรูส้ ึกว่า
แม้แตค่ วามคดิ ความรู้สึก
วา่ เป็นเรา เป็นตวั เรา เป็นตัวตนของเรา เรารู้ เราเห็น เรารู้แจ้ง เราเป็นอะไร ให้หมดตลอดเวลา
ทีส่ ุดก็แตกดับไป ตวั ตนไมม่ ี ไม่มใี คร ไม่มเี รา ตวั เราเป็นอะไร
มแี ต่ธรรมชาติ คอื สิ่งเกดิ ดับเป็นธรรมดา
ไมม่ ีเรา ตวั เรา ของเราในธรรมชาตนิ ี้เลย
สังโยชน์ ไม่มีตวั ตนของผยู้ ึดถอื ทแี่ ทจ้ ริง จึงไม่ตอ้ งมีใครไปหาอบุ ายปล่อยวาง
สิ้น เพราะ
สิ้นตัวตน ไมม่ ีตัวตนผู้ยดึ ถอื ไม่มีตวั ตนผปู้ ลอ่ ยวาง นี่แหละความลบั ของธรรมชาติ
๑๓
แค่รู้ตัวเรา ไม่มเี ราเป็นอะไร ทีส่ ุดแล้วไมม่ อี ะไรหายไป
ไม่ไดเ้ ป็นตัวเราทีถ่ กู รู้ ไม่มอี ะไรเป็นเรา นอกจากความยดึ ถือ
ไม่มีผูห้ ลง มันพ้นจาก สมมติมีอยู่
ไม่มีตัวตน สมมตแิ ละวมิ ุตติ แตไ่ มม่ ีตัวตน
ก็ไม่มผี ทู้ กุ ข์ ของผู้ยดึ ถือสมมติ
⦿
มันไม่จบตวั เรา มีอะไรให้ยึดถอื
แต่มนั จะเอา เหน็ จติ ไม่ใช่ตัวตน เป็นตวั เป็นตน
ตัวเราไปจบ ความดนิ้ รนแสวงหา
ได้บ้างเลา่
ไมม่ ีตัวตนของผูท้ ุกข์ทแี่ ทจ้ รงิ จึงหยดุ ลง
และไม่มีตัวตนของผพู้ ้นทุกข์ ไม่สําคัญผดิ ว่ามีตน มเี รา
ทแี่ ท้จรงิ ⦿ มีตัวตนของเรา กไ็ ม่มีตัวตน
ไม่มเี รา จงึ ไรผ้ ู้ยดึ ถอื ของ “ผู้ยดึ มัน่ ถือมั่น”
ไมใ่ ชต่ ัวเรา เป็นผไู้ ม่ยดึ ถอื อะไรเลย
แตกต่างกันด่ังฟ้ากบั เหว
⦿
กอ่ นมตี วั ตน ก็ไม่มตี ัวตนมากอ่ น
กอ่ นมคี นอื่น สิ่งอน่ื
กไ็ มม่ สี ิ่งเหลา่ น้ันมากอ่ น
จึงตอ้ งกลับคืนสู่ความไม่มดี งั เดมิ
๑๔
โจร คือ อวิชชา “อวชิ ชา คอื ตวั ก”ู อยากได้นิพพาน จับคนร้ายไดม้ ันก็ ต้องจับคาหนังคาเขา
มันจะแสดงลกั ษณะอาการต่างๆ ให้เราเหน็ ลักษณะทีจ่ ะคอยไปเหลือบดจู ิต ลกั ษณะเพ่งจอ้ ง
ลกั ษณะคอยไปสังเกต ลักษณะทจี่ ะไปเอา ลกั ษณะทจี่ ะหาเหตุผลกบั มัน นี่คือ จับคนรา้ ยได้แลว้
มนั มี ตัวเรา แอบแฝงอย่ใู นใจ เชน่ เราไมห่ ว่ งใย เราไม่กงั วล เราปล่อยวางได้ทกุ อย่าง เรา...
แตค่ วามจรงิ แลว้ มนั มคี วามหลงยดึ ถอื ขนั ธ์ห้าวา่ เป็นเรา ตวั เรา หรือของเรา ซงึ่ เป็น อวชิ ชา ตณั หา อปุ าทานอยู่ในใจ
ถา้ ตายตอนนี้มนั จะมตี ัวตนของเราเหลอื ไปเกดิ ตามกรรม ส่วนใหญก่ ็ไปอบาย
เพราะยังปล่อยใจไหลไปตามกเิ ลส หรอื ไปเกาะเกยี่ ว ห่วงใย กงั วล ยึดถอื อะไร
๑๕
ปฏิบัติธรรมตอ้ งเห็น
ตัวแอบทซี่ อ่ นเร้นอย่ใู นใจ
ไม่ได้แอบหมายอะไรไว้
ใจกเ็ ป็นปกตสิ งบไดใ้ นท่ามกลาง
พยายาม ตง้ั ใจ จงใจ เจตนา
ให้เรามสี ่วนได้ส่วนเสีย ไปไดอ้ ะไร
ไปเป็นอะไร เป็นอวชิ ชา ตัณหา อปุ าทาน
เป็นภพชาติเป็นทุกข์
แ จะไปทําอะไร ก็มเี บ้อื งหลงั ความรู้สึก แอบแฝงซอ่ นเรน้
อย่ใู นใจซงึ่ เป็น อวชิ ชา คือ
อบแฝง อยากให้เรา หรือ มันมี "เรา" ทอี่ ยากจะหลุดพ้น
มนั มี "เรา" ทีอ่ ยากจะพ้นทกุ ข์
ตวั เรา ไปได้ ไปเป็น มนั มี "เรา" ทีอ่ ยากจะนิพพาน
ไปบรรลอุ ะไร มนั เป็นกเิ ลส
หรอื อวชิ ชา ตัณหา อุปาทาน
ทําใหเ้ กิดภพชาติ
และความทุกข์ทง้ั มวล
๑๖
ก็เป็นอาการ เป็นสภาวะ... กไ็ มเ่ ทีย่ ง สิ้นอวชิ ชา ตัณหา อุปาทาน
มันจะหยดุ หรอื มนั จะหลง เราก็เพยี รไปเร่ือย คอื สิ้นหลงยดึ มัน่ ถือมัน่ ขนั ธห์ ้า
หลง มนั หลง.. กไ็ มม่ ี ตวั เรา ไปหลงกับมัน ซึง่ เป็นรา่ งกาย และ
มนั หยดุ .. ก็ไม่มี ตวั เราไปพยายามทําหยดุ จติ ใจวา่ เป็นตวั ตนเป็นเรา
และ ไม่มตี วั เราหลง มันเลยเป็น “หยุด”
ฉะน้ัน... เมอ่ื ไม่มีตวั เราไปหลง และ ไมม่ ีตัวเราไปทาํ หยดุ เป็นตัวเรา เป็นของเรา
มันกเ็ ป็นความไม่ปรงุ แตง่ ซึง่ เป็นความเห็นผดิ (มิจฉาทิฏฐิ)
ก็สิ้นกเิ ลส พ้นทุกข์ (นิพพาน)
เราหลงยดึ ถอื ขนั ธห์ ้า ซงึ่ เป็นของไม่เทีย่ ง ต้องแก่ ต้องเจบ็ ตอ้ งตาย เน่าเป่ อื ย ผพุ งั สลายไป
เป็นเรา เป็นตัวเรา เป็นตวั ตนของเรา ท้งั ๆ ทีเ่ ห็นว่ามันไม่เทยี่ ง ตาํ ตาตําใจ
จึงต้องมาฟงั ให้เกิดความเข้าใจ และ พจิ ารณาตาม จนใจมนั จนด้วยใจ ของตัวเองว่า
ความเปน็ ตัวตน มนั ไม่มีอยจู่ รงิ มันมแี ต่ ความหลง เทา่ น้ันเอง
๑๗
ถา้ ไม่เห็น
อนิจจงั ทกุ ขงั อนัตตา
ก็ยึดอยู่น่ันแหละ ยดึ จนตาย
ไมเ่ ขา้ ใจ สัจธรรมความจรงิ
วา่ มัน ยดึ ไม่ได้ มันตอ้ งแก่
ต้องเจบ็ ต้องตาย ผพุ ังสลายไป
สัจธรรมความจริง ตายกอ่ นตาย
เปดิ เผยตวั เองอยตู่ ลอดเวลา นิพพานอยฟู่ ากตาย
เกดิ จากความไม่มี ไม่อยาก ไม่สงสัย
แล้วดับกลับไปสู่ความไม่มี ไม่ถามใคร ไมด่ นิ้ รนคน้ หา
ไมใ่ ชเ่ รา ตวั เรา ของเรา ถา้ กลวั ตาย ตอ้ งเกิด-ตาย
ใหเ้ ป็นทุกขอ์ กี ตอ่ ๆ ไป
๑๘
ยดึ มั่นถอื ม่นั ไมไ่ ด้ “ดับสนิทไมม่ ีส่วนเหลือ” เ ่ทียงหร ือไ ่มเที่ยงก็ไม่ ีมตัว
ตดั ใจขาดจากโลกไมห่ วนคืนโลกอกี
สุดท้ายแล้วไมม่ ใี ครต้องทําอะไรเลย ใช้มนั ครงั้ เดยี วในชาตนิ ี้ เปน็ ชาตสิ ุดท้าย
ทกุ สิ่งลว้ นเกิดจากเหตุ ไมห่ ว่ งขันธอ์ ีกต่อไป ใช้หนี้กรรม เป็นชาติสุดทา้ ย
เมอื่ เหตดุ บั มนั ก็ดับ เวลาตายไมเ่ หลอื ตวั ตน ไม่ตอ้ งใชอ้ กี ต่อไป
ยดึ จนตาย!!! กระเดน็ ออกจากรา่ งนี้ไป เป็นโมฆะกรรมหมดสิ้น
เป็นการดบั ความเป็นตัวตนสนิท การเกิดมา เรียกได้วา่
ไมเ่ ขา้ ใจ สัจธรรมความจรงิ เกดิ เพอื่ สิ้นสุด
วา่ มัน ยดึ ไมไ่ ด้ ไมม่ สี ่วนเหลอื การเวยี นวา่ ยตายเกิด
เพอื่ มาเปน็ ครงั้ สุดทา้ ย
มนั ต้องแก่ ต้องเจบ็ ต้องตาย มาเกิดเปน็ ครัง้ สุดท้าย
ผพุ งั สลายไป
๑๙
มรี ู้ อยู่ในธาตทุ ัง้ ๔ มอี ย่ใู นขันธท์ ั้ง ๕ ความไม่บรสิ ุทธิ์ เกิดจาก มเี ราอยใู่ นรู้
และมรี ้อู ยู่ในความว่างทัว่ อนันตจักรวาล ทุกคร้ังทรี่ อู้ ะไร มีเราอยใู่ นรู้
รไู้ มใ่ ช่ความวา่ ง รู้มีอย่แู ตไ่ รต้ ัวตน รู้ “ความเป็นเรา” ทีป่ นอยู่ในความรู้
เลิกหารู้ เหลอื แตค่ วามรทู้ ไี่ มม่ ี... “เรา”
“ร”ู้ ทเี่ ป็นวญิ ญาณธาตุ เป็น “วสิ ังขาร”
ส่วน “อวชิ ชา” ทีต่ ิดมากับวิญญาณธาตุ เป็น “สังขาร”
มาผสมกับธาตุดนิ น้ํา ลม ไฟ เกดิ เป็นขนั ธ์ห้า แลว้ หลงยึดถอื ขันธ์หา้ เป็นตัวตน เป็นเรา เป็นตัวเรา เป็นของเรา
หรือ หลงยึดถือว่ามี “ตัวเรา” อยู่ในขันธ์หา้ เพราะหลงยึดถือ “วญิ ญาณธาตุ” ว่า เป็นเรา เป็นตัวเรา เป็นของเรา
ความจริง ความเป็นตวั เราไม่มีอยู่จริง
๒๐
ทอี่ อกมาจากอัตตา เรา ไมใ่ ชเ่ รารู้ ปจั จุบนั วางปจั จุบัน
ไมย่ ดึ อดตี ไม่ยดึ อนาคต
รู้ เปน็ อวิชชา รู้ รู้เห็นเรา ไมใ่ ชเ่ ราเห็น วางหมด พน้ เหตุเกิด
เปน็ วสิ ังขาร
คิด เปน็ สังขาร
รู้ อยู่กบั ทกุ ปจั จบุ นั ขณะ
รู้ แล้วติดเปน็ สมมติ รู้ แล้ว เห็นแล้ว
รูแ้ ลว้ ไมต่ ดิ เปน็ วิมตุ ติ เขา้ ใจแลว้ รแู้ จ้งถึงใจแลว้
ให้ปลอ่ ยวางไปท้งั หมดตลอดเวลา
ทกุ อยา่ ง แตไ่ มย่ ึดถือ ไม่ยดึ ถอื อะไรไว้เลย
สักอย่าง พ้นทกุ ข์ แมแ้ ต่ผู้ร้ทู เี่ ปน็ ความรู้
รู้ คนอนื่
ไมร่ ูต้ วั เรา
๒๑
รหู้ นึ่งน้ันคือ รู้ในสิ่งทัง้ ปวง อะไรรแู้ ลว้ เหน็ แลว้ กว็ างไปใหห้ มด พระอริยเจา้ ท้ังหลายอยกู่ ับรู้
คอื รู้ว่าสิ่งทัง้ ปวงไมใ่ ชร่ ู้ อะไรทยี่ ังไม่รู้ ไม่เหน็ อยากจะได้ กใ็ หว้ างไปใหห้ มด หรือ อยูก่ บั ผู้รู้
ไม่ว่าว่างจรงิ หรอื ว่างปลอม กว็ างไป หรือ รู้ดว้ ยความเป็นอเุ บกขา
คอื สิ้นยดึ สิ้นผูเ้ สวย
รหู้ มด ทิง้ หมด เหน็ หมด วางหมด แต่ไม่ใช่วางโดยไมร่ ู้ ไมเ่ ห็น
ผู้ รู้ไมพ่ ดู ผพู้ ูดไม่รู้ จิตบริสุทธิ์ มีสภาพรู้เห็น รู้ สิ้นสงสัย
เพยี รปฏบิ ตั ใิ หร้ ูจ้ ริง ไม่ตอ้ งถามใครอกี ต่อไป
เหน็ จรงิ เป็นจริงทใี่ จ เฉพาะปจั จุบันขณะเทา่ นั้น รู้ตืน่ ต่ืนจากความหลับใหล
แลว้ จะสิ้นสงสัย ทัง้ ไมย่ ึดถอื และ ไม่ปล่อยวาง คอื ตน่ื จากอวิชชา
๒๒
การปฏิบัตไิ มม่ อี ะไรหรอก มแี ต่ สิ้นยึด สิ้นยึด การทเี่ ราไม่เขา้ ไปยดึ ถืออะไรสักอย่าง
เหน็ ว่าทุกอย่างมนั ยดึ ไม่ได้ ยอมปล่อยใหม้ นั ผ่านไปหมด
ตวั เราผู้ไปยึด ตัวเราทีจ่ ะไปได้ ไปเป็นอะไร กส็ ิ้นหลงวา่ มีตวั ตน
สุดท้ายกต็ อ้ งตายแตกดับ สิ้นหลงวา่ มีตัวตน แสดงวา่ เราได้พจิ ารณาแลว้ ว่า ยึดถือไมไ่ ด้
เน่าเป่ อื ยผพุ ัง สลายไป ดบั ไปในทสี่ ุด ก็สิ้นยดึ ไม่มใี ครบังอาจสอนใครได้ ถา้ ใจเราไม่วาง
ถ้าใจเราวางแลว้ ไมต่ ้องมใี ครสอน
เรา ร้แู ก่ใจ เอง
ไมห่ ลงยดึ ถือ กพ็ บใจ วิสังขาร ทั้ง อดีต ไมม่ ีอดีต ไมม่ อี นาคต
หากยึดถือใจ ก็หลงเป็นอวิชชา แมป้ จั จุบันก็ไมร่ กั ษาอะไร
สิ้นยดึ ถอื ท้งั สังขารและวสิ ังขาร สิ้นยดึ ปจั จุบัน
คือ ธรรมชาติของจติ บรสิ ุทธิ์ สิ้ นผเู้ สวย สิ้นผู้ยดึ มน่ั ถอื มั่น
อนาคต กลายเป็นใจทสี่ งบวา่ งเปลา่
นิพพาน สิ้นยดึ ถอื ก็ไม่ตอ้ งวาง พ้นทกุ ข์ มีแตค่ วามสงบรม่ เย็น
๒๓
ใจ กย็ ึดถอื ไมไ่ ด้ ทุกสรรพสิ่ง รวมทั้งรา่ งกาย ารปฏบิ ัติถกู ต้องตามธรรม
จิตใจของเรา คาํ สอนพระพุทธเจา้
ลว้ นเป็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา
ไมอ่ าจยึดมัน่ ถือม่นั กตอ้ งปลอ่ ยวางขนั ธ์ห้า
จะปฏิบตั ิด้วยกรรมวิธีใด กเ็ พื่อปลอ่ ยวาง
ธรรม คอื การปล่อยวางตวั เรา หรอื พยายามปลอ่ ยวาง
สังขารกาย (กายสังขาร) และ เพือ่ ใหไ้ ปถึงความปลอ่ ยวางขันธ์หา้
สังขารจิต (จิตตสังขาร) หรือ
สิ้นหลงยึดมน่ั ถอื มั่น วา่ เป็นตัวตนคงที่ มนั เทา่ กบั ไม่ปล่อยวาง
เหมือนแบกของหนักมา จนหนักอกหนักใจ
เป็นเรา เป็นตวั เรา เป็นของเรา
เมื่อใจรเู้ ห็นตามความเป็นจริงดงั กล่าว จะมาถามหาว่าวางยังไง
ผลของการวางจะเป็นยงั ไง
ก็จะสิ้นหลงยดึ มน่ั ถือมนั่ เอง
เรยี กว่า ปล่อยวาง มนั เท่ากบั ไม่วางหรอก
ไม่ใชว่ า่ ไดอ้ ะไรกลับไป
แต่ที่ “แบก” มาน่ะ... วางหมดรึยัง!
๒๔
ปล่อยวางผ้รู ู้ คอื เพราะหยุดจึงสงบ
การกลับคนื สู่ เพราะปล่อยวาง
ความไมม่ ีตวั ตน
จึงว่างเปล่า
สิ่งทมี่ ี ทเี่ หน็ ทีเ่ ป็น ทสี่ ัมผสั
รบั ร้ไู ด้ลว้ นเป็นสังขาร
ให้ปลอ่ ยวาง
เม่ือไม่ยึดถือ
แลว้ ไยตอ้ งปลอ่ ยวาง
เหน็ อะไร ๆ ก็เฉย
เฉยนี่แหละสังขารปรุงแตง่
ปล่อยวางไป
๒๕
ภาพทเี่ หน็ ไมใ่ ชต่ า ใจแทๆ้ เป็นเพียงความวา่ ง
สิ่งทถี่ กู รู้ ไม่ใชใ่ จ ไม่มีตวั ตน
ใจ พน้ ทกุ ข์ได้ จึงไมม่ ี ตัวเราทกุ ข์ ตวั เราสุข
ทา่ มกลางความมี ตวั เราทอี่ อกจากทกุ ข์
ปลอ่ ยวางตวั เรา
ความเงียบดังทส่ี ดุ รู้ทีใ่ จ
ทงั้ หมดรวมลงทใี่ จ ใจ คอื สิ่งทีม่ ีแต่ความรู้
กิเลส สุข ทุกข์ ผอ่ งใส แต่ไม่มอี ะไรปรากฏ
เศรา้ หมอง กอ็ ยู่ทใี่ จ
สิ้นยึด นิพพาน ก็อยู่ทใี่ จ มันเป็นเหมอื นกับความวา่ ง
๒๖
ใจเป็นความว่างเปล่าจากตัวตน ไม่มอี ะไรปรากฏ ตรงไหน
แตม่ นั มี ความรู้ อยูใ่ นตวั มันเอง โดยไมต่ อ้ งพึง่ พาขนั ธห์ ้า
ไม่ตอ้ งพงึ่ พาสิ่งใด มนั รู้วา่ มอี ะไรมาเกิดในมนั แลว้ ดับอยู่ในมนั ... ยดึ ก็ดับตรงน้ัน
รวู้ า่ มอี ะไรมาเกดิ ทมี่ ัน และ ดับอยูท่ มี่ ัน สุดท้าย...เป็น ใจทีไ่ ด้แต่รู้ มันยดึ ทใี่ จ
กด็ บั ทีใ่ จ
ทไี่ หนอย่างไรก็ได้ แตป่ ฏบิ ตั ิดว้ ย ปญั ญา...ไมใ่ ชด่ ว้ ยตัณหา จะใชค้ วามพยายามเพียงใด
กไ็ ม่อาจทําให้สังขาร
ปฏิบัติ ปฏบิ ตั เิ พ่อื ปล่อยวาง ไมใ่ ชเ่ พ่ือยึดถือ กลายเป็นใจได้
ไม่ได้ใชก้ าํ ลังผลักดนั ใหม้ นั เป็นไป เพราะมันธรรมชาตคิ นละอย่างกัน
แตใ่ ห้ใชป้ ญั ญาเข้าใจ ไรก้ ารกระทาํ
๒๗
อวิชชา เกิดจากความหลงคดิ ปรงุ แตง่
ร้ไู ม่ทนั ดบั อวชิ ชา ยึดถอื เป็นตัวเรา เป็นของเรา
ขนั ธบ์ ังธรรม ถา้ ไมห่ ลงคิดถงึ กไ็ มม่ อี ยู่จริง
เพราะหลงยึดขนั ธเ์ ป็นตวั เรา ยอ่ มหมด
เป็นของเรา เป็น อวชิ ชา คําถามเอง สัจธรรมความจริง
ทีต่ ดิ มากับ จติ เดิมแท้
อวิชชา คือ ความไม่รู้
ต้องทาํ ลายขันธ์ (สิ้นยดึ ม่นั ถือมน่ั )
หลงยึดจิตเป็นตัวเรา
ธรรม คือ ใจบริสุทธิ์ หรือ จติ บริสุทธิ์ อวชิ ชา เป็นของเรา
หรอื นิพพาน ก็จะปรากฏขนึ้ มาเอง คือ แค่รู้ ไม่มีอวชิ ชา ไม่มจี ติ
ไมม่ ตี วั เรา
สิ่งเสมอื นจรงิ ไม่มตี ัวตน
ตั้งรู้ รกั ษารู้
แท้จริงไมไ่ ด้มี รมู้ ีตวั มีตน
อยูจ่ ริง
ตัวตนของผทู้ ุกข์ ตวั ตนของ เป็น อวชิ ชา
ผสู้ ุข ตวั เราผ้อู ยากออกจากทุกข์ ตวั เรา มจี ิต มอี วิชชา มีตวั ตน
เป็นตวั ตนของอวิชชา มีผยู้ ึด มีผ้พู น้
อย่าไปหลงยดึ ถือ นั่นแหละคือ ไม่มจี ติ ไมม่ อี วิชชา
ไมม่ ีตัวตน ไมม่ ผี ู้ยดึ
มนั มาเป็นตัวเรา ของเรา อวชิ ชา
ไมม่ ีผ้พู น้
๒๘
วญิ ญาณขนั ธ์ รู้ตามทวาร สิ่ง สิ่งหนึ่งทไี่ มป่ รากฏตวั ตน รูปลกั ษณ์
วิญญาณธาตุ (ใจ) ทไี่ ม่มีอวชิ ชา ความเคล่ือนไหว เกดิ ดับเลย
แตม่ ันเป็นสิ่งทีม่ ีอยจู่ รงิ
คือ หายโง่ สิ้นยดึ ถือ มันมีรู้ ความสงบ ความวา่ งอยา่ งสันติ
เพราะรู้จกั ตวั ของตวั เอง ไม่หวิ กระหาย เพราะอิม่ ในรสแห่งธรรม
วา่ เป็นธรรมชาตทิ ีไ่ มป่ รุงแต่ง อยา่ งสมบรู ณ์ในตัวมนั เอง ไม่ตอ้ งพงึ่ พิงจากสิ่งใด
ย่อมยึดถอื ไมไ่ ด้ จงึ ไม่มีการแสวงหา
จึงสิ้นภพชาติ แต่กลบั ไมม่ ใี คร หรอื สิ่งใดจะไปถึงมันได้
ชาตนิ ี้เป็นชาตสิ ุดท้าย แต่ก็มีคนโง่ (อวิชชา)
ภพชาตหิ น้าใหม.่ ..ไมม่ ี ทพี่ ยายามจะไปเอามันมาเป็นของเราใหไ้ ด้
๒๙
ธาตุรู้ ไมม่ มี ายา สิ่งใด ๆ ก็ตามทถี่ ูกร้ไู ด้
ไมใ่ ชธ่ าตุรู้
ธ รรมชาตแิ ท้ของธาตุรู้ ใจมันเป็น ธาตรุ ู้
ไมม่ ีความเป็นตัวตนของเรา
แม้เพียงน้อยหนึ่ง นิดหนึ่ง ปรมาณูหนึ่ง
เหมือนกับความวา่ งเปลา่ ของจกั รวาล
ถงึ ธาตุรู้ จะสิ้นสงสัยไมถ่ ามใคร แต่ความว่างเปล่าของจกั รวาล
ถา้ ยงั สงสัย ไม่ถงึ ธาตรุ ู้ มนั ไม่มคี วามรู้
เพราะธาตุร้เู ป็น “พุทธะ” มันเป็นธาตอุ ากาศ
คอื รแู้ จ้ง รสู้ ิ้นยดึ ร้สู ิ้นหลง ส่วนใจเป็นธาตุรู้
รู้สิ้นสงสัย ไม่ต้องถามใครอกี ต่อไป มนั เป็นความว่างเหมอื นกบั
รู้ตนื่ ตื่นจากความหลบั คอื อวชิ ชา เป็นอวกาศนี่แหละ
รู้เบิกบาน เพราะสิ้นยึด สิ้นตัวตน แตม่ นั เป็นความวา่ งทมี่ ีความรู้
สิ้นกเิ ลส นิพพาน ธ าตุรู้ รตู้ วั เรา และมนั ก็รวมกับความว่างของจักรวาล
ธาตุรู้
ไม่มีเจ้าของ
๓๐
ขณะจติ ใด เกดิ ปญั ญาวิมตุ ติ รู้แจ้งแกใ่ จ
ในปจั จบุ ันขณะว่า “จติ ดงั้ เดิม” ซึง่ เป็นธาตุรู้
เขาเป็นธรรมชาติทีร่ ู้ขนึ้ มาเอง เป็นของเขาเอง
เป็นธรรมชาติทีไ่ ม่มเี หตปุ จั จัยปรงุ แต่ง จงึ ไม่เกดิ ดับ ไมม่ ตี วั ตนของผู้รู้
“รู้” มนั กเ็ ลย “ไมท่ ุกข์” เป็นรู้ ไมไ่ ดเ้ ป็นสังขาร
ถา้ เป็น “สังขาร” เป็นทกุ ข์ทง้ั สิ้น เพราะสังขารมนั ตกอยู่ใตก้ ฎอนิจจัง ทกุ ขัง อนัตตา
พอไปเป็นสังขาร (สิ่งทถี่ ูกรู้) มนั จึงเป็นทกุ ขท์ นั ทีเลย
“นิพพาน” ไมใ่ ชม่ ตี วั เราไปนิพพาน
นิพพานเป็น “ธาตุรู้ทไี่ ม่มีตวั ตน” จงึ ไมม่ คี วามทุกข์
๓๑
ธรรมใด มีแต่ธรรม
ถ้ามผี ยู้ ดึ ถือ เป็นของปลอม ไมม่ ตี ัวตนผู้รธู้ รรม เหน็ ธรรม
แมอ้ ้างวา่ ธรรมท้งั หมดนั้น
เราสิ้นยึดถอื แลว้ ทางเดินธรรมสิ้นสุด ทีห่ ยดุ ทาํ
หรือ เรานิพพานแล้ว
เราไม่มี
ก็เป็นธรรมปลอม นิพพานปลอม
ทีส่ ุดแห่งธรรม คอื ไม่มอี ะไร
รู้ธรรมปจั จบุ นั เห็นธรรมปจั จุบัน ทีส่ ุดของการปฏิบัติธรรม
ไม่มีตวั ตน ผยู้ ดึ ถอื ธรรมปจั จบุ นั
จึงเป็นธรรมจริง สิ้นสงสัยไม่ตอ้ ง ไมม่ ีผถู้ งึ อะไร ไมม่ ผี ู้ไมถ่ ึงอะไร
ไมม่ ผี ไู้ ด้อะไร ไม่มผี ไู้ มไ่ ดอ้ ะไร
ถามใครอกี ต่อไป
ไม่มที หี่ มาย ไม่มอี ดีต
ไมม่ ีผหู้ ยดุ อยใู่ นปจั จบุ ัน
๓๒
จงเพยี รรเู้ ห็น “หลายคนแสวงหาหนทางไม่มสี ิ้นสุด เมือ่ เหน็ แจ้งแลว้
หรอื
แจง้ จากใจ แตบ่ างคนสิ้นสุด เพราะหยดุ แสวงหา ป ัญญา ก็วางไป
ธรรมใด ๆ ลว้ น อยกู่ บั ความไมม่ อี ะไร
”จบทีใ่ จ
อนัตตา ไมเ่ ป็นอะไร
ทกุ สิ่งลว้ น ของจร เป็นสังขาร เป็นสมมติ อยคู่ ่ขู ันธ์
เหน็ อตั ตาเป็นของไมเ่ ทีย่ ง ของจรงิ เปน็ ธรรมแท้ เป็นวมิ ุตติ อย่คู ู่ใจ
จงึ เป็นอนัตตา
ธ รรมทง้ั ปวงรวมลงตรงความสิ้นยดึ
รรมไม่มภี าษา หากถ่ายทอดผ่านภาษาใจ
รรมท้งั หมดจบทใี่ จ
๓๓
อะไร ๆ ล้วน ปญั ญาไมม่ ที ีส่ ิ้นสุด
สาระนั่นแหละ
แต่สิ้นสุด ด้วยปญั ญา
ไม่มี
สัจธรรม
ธรรมะ การปฏิบัติ
หรอื นิพพาน อัตตาไมไ่ ด้ไปทาํ
ได้แตร่ ู้ปจั จบุ ันขณะ อนัตตาใหเ้ ป็น
รทู้ ุกอย่าง แต่ให้เหน็ ว่า
ไม่ติดยดึ แมแ้ ต่อยา่ งเดียว ความรู้สึก
ไมต่ ิดยดึ ทงั้ สิ่งทถี่ ูกรู้ และ ผู้รู้
เป็นอัตตา
เป็นอนัตตา
ธรรมแท้ ไมม่ ี เมือ่ ปล่อยวาง
ผู้เป็น
จนหมดใจ
ยอ่ มไมม่ ีธรรมใด
ต้องพูดถงึ อีก
๓๔
พพาน คอื สิ้นหลงคดิ ปรุงแตง่ แค่รู้ ไมต่ ดิ ไมย่ ดึ ถือ นี่แหละทสี่ ุดแหง่ ทุกข์
ยดึ ถือขันธ์ ๕ หรือ รปู นาม นิพพาน
วา่ เป็นตวั ตนคงที่
มุ่งแต่จะเอาผล นิพพาน
นิ เป็นเรา เป็นตวั เรา เป็นของเรา
จึงเป็นเหตุทําใหท้ ุกข์
ละเหตุ ตณั หา อยากไดน้ ิพพาน
จงึ นิพพาน
นิพพาน คือ ความรู้ นิ พพาน คือ ความไม่ทกุ ข์
ไม่มตี ัวตน ของ ผูร้ ู้ รู้ มนั กเ็ ลยไมท่ กุ ข์
จงึ ไมม่ ีตวั ตน ของ ผูย้ ึด เป็นรู้ ไมไ่ ด้เป็นสังขาร
ถา้ เป็นสังขารเป็นทกุ ขท์ ง้ั สิ้น
เรยี นรู้ได้ทกุ อยา่ ง เพราะสังขารมนั ตกอยู่ในกฎ
อนิจจัง ทกุ ขงั อนัตตา
เป็นไดท้ ุกอย่าง พอไปเป็นสังขาร (สิ่งทีถ่ กู รู้)
มนั จงึ เป็นทกุ ข์ทันที
แตไ่ มย่ ึดตดิ ซกั อยา่ ง นิพพาน ไมใ่ ช่มตี ัวเราไปนิพพาน
นิพพานเป็นธาตุรู้ ทีไ่ ม่มตี ัวตน
รู้ ทกุ อยา่ ง นิพพาน จึงไมม่ คี วามทุกข์
แตไ่ ม่ยึดถือซกั อยา่ ง
พ้นทุกข์
๓๕
เจตนาทจี่ ะไมเ่ จตนา
ก็เป็นสังขาร
พระนิพพาน
พน้ จากเจตนา
ถงึ ด้วยการหยุด ความคิดนึกปรุงแต่ง
ไมใ่ ชก่ ารไป ของเราเองน่ันแหละ
ถ้ายังมที ไี่ ป
บดบงั
กย็ งั ไม่ใชน่ ิพพาน ความจริงสูงสุดไว้
ไมม่ ีวนั นี้ ไมม่ พี รงุ่ นี้ “นัตถิ สันติ ปะรงั สุขัง” ความเป็นอิสระของใจ
ไมม่ ีข้างหน้า สุขใดเลา่ ทีจ่ ะเหนือกวา่ ใจ เป็นสุขอยา่ งยิง่
เพราะทางไมม่ ี นี่แหละคอื
ทไี่ ม่ปรุงแตง่ พระนิพพาน
ปลายทางก็ไม่มี
๓๖
พุทธะ รู้ ตืน่ เบิกบาน สิ่ง สิ่งนั้นมอี ยู่ สั งขาร กบั ใจ
อยดู่ ว้ ยกนั แต่ไม่ยึดกัน
สงบ วา่ งเปลา่ ไรต้ ัวตน สิ้นยึดถอื คือ วาง พน้ ทกุ ข์
ด่งั ดอกบัวบาน เปน็ พทุ ธะ
บวั สี่เหลา่ เขาเปรย เลยฉะนี้ เหล่าทีส่ าม งามพริม้ ปริม่ ๆ นํ้า ผรู้ ู้ ผูต้ นื่ ผเู้ บกิ บาน
เหลา่ หนึ่งมี โคลนตม ถมทบั อยู่ เข้าถงึ ธรรม ไดแ้ ท้ แน่สหาย
วา่ สอนยาก นักหนา เปน็ น่าดู
แค่เพยี งเอย่ เปรยบอก อธบิ าย
มิได้ชู กา้ นดอก ออกโลกยี ์ ความเขลาคลาย ได้ธรรม นําชีวา
เหลา่ ทีส่ อง ล่องลอย คอยกระแส เหล่าทสี่ ี่ นี้ผดุ วิมตุ ตแิ ท้
ใต้นํ้าแล แช่ชมุ่ กลมุ่ เหล่านี้ พน้ กระแส แปรผวน ไม่หวนหา
รออบรม บม่ ปลูก ถูกวธิ ี เห็นขอ้ ธรรม ก็แจ้ง แหง่ วิชชา
จึงได้มี โลกุตร หยุดอบาย ตาปญั ญา พาวมิ ตุ ติ หยุดเกิดตาย
ผปู้ ระพนั ธ์: ปาระ นักกลอนรอบรูก้ วี
๓๗
ใ นธรรมชาตินี้ ไม่มีตวั ตน
0
หลงชนื่ ชม ชีวิต
ดอกผลของคนอื่น
เป็นเพยี ง
ไมย่ อมตื่นฝึกตนตามธรรมสอน ปรากฏการณธ์ รรมชาติ
รม่ ไมใ้ หญ่ต้องตายอยา่ งแน่นอน เกิดขึน้ ตั้งอยดู่ บั ไป
หมภู่ มรบินวอ่ นเรร่ ่อนเอย ไรต้ ัวตนทแี่ ทจ้ รงิ
ผปู้ ระพันธ์: กงั สดาล กวไี รธ้ รรม
๓๘
ไมม่ ี ใบไม้ใดไมร่ ่วงหลน่
กรวดทรายป่นเส่ือมสลายจากหินผา
ฟองน้ําผุดตอ้ งแตกลงตรงทมี่ า
สังขารา มาแล้วไป ไมใ่ ช่ตน
ผู้ประพันธ์: กงั สดาล กวไี รธ้ รรม
ชีวติ “สั้นนัก” ชวี ิตนี้น้อยนัก
ดจุ “หยดนํ้า” ในรอยเท้าโค
พอแดดออกมาก็ “ระเหย” ไปหมด
อวชิ ชา คอื กาฝากของใจ
๓๙
อการปฏิบัติธรรมใน
ริยมรรค อริยผล เหมือนกบั
การขนึ้ ต้นตาล ตน้ มะพร้าว
ไมม่ กี งิ่ ใหห้ ยดุ พัก
จนกวา่ จะถึงยอด คือ
นิพพาน
ให้เป็น รปู ูลม แตอ่ ยา่ ไปเป็น ปูลม
รปู ูลม เปรียบเหมือนเป็น ใจ
ปูลม เป็น สังขาร
จิตตสังขาร เกิดดบั ที่ ใจ
ใจไมเ่ กิด-ดบั เป็นใจทีไ่ มเ่ กิดดบั
พน้ จากทุกข์
๔๐
ภูเขา ยอ่ มหนักแกผ่ ู้แบกฉันใด ไฟ ย่อมรอ้ นแกผ่ ยู้ ึดถอื ฉันนั้น
ความเงียบ ของธรรมชาติ เป็น ผู้สอนธรรม ทีด่ ี
๔๑
“สังขาร”ก็เหมือนน้ําในขวด
ยงิ่ เราไปพยายามถือ
ใหม้ ันนิ่ง
มันจะไม่มีทาง
หยุดนิ่งได้เลย
ว วางแต่เม่ือ ขวด
า
ง น้ําจึงหยุดนิ่งไมก่ ระเพ่ือม
แล้ว เช่นเดยี วกับ ความทุกข์ใจ
ฟรี ทีว่ ่างให้ วางขวด ยงิ่ ยดึ ยิง่ อยาก ยิง่ ทกุ ข์
วางกอ่ น ว่างก่อน วางยงั
ปล่อยวาง ความทกุ ขจ์ ึงดบั
๔๒
ไ ฟเทียน ยอ่ มละลายแท่งเทียน
กาลเวลา ย่อมละลายชีวติ ของทุกคนไป
แตกต่างกันทขี่ ณะมชี วี ิต
ไดท้ ําประโยชนต์ นและประโยชนท์ ่าน
หรอื วา่ ละลายไปเปล่า
สั งขาร ไม่เทยี่ ง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา
เกิดขึน้ ดบั ไปเป็นธรรมดา กลา่ วไวว้ ่า
มีแต่ “ทุกข”์ เทา่ น้ันทีเ่ กิดขึน้
มแี ต่ “ทกุ ข”์ เทา่ นั้นทีต่ ง้ั อยู่
มีแต่ “ทุกข”์ เท่าน้ันทีด่ บั ไป
พ้นสังขาร พน้ ทกุ ข์
๔๓
ทองคํา เป็นทองคําแทต้ ามธรรมชาติ ตมุ้ หูเพชร ใส่หไู ว้
โดยทไี่ มต่ อ้ งไปทาํ มัน ถ้าไม่เป็นทุกข์
กบั เพชรทีห่ ู (ไมย่ ึดในสิ่งทีม่ อี ย)ู่
ไมใ่ ช่ว่า ไปทําทองคาํ ให้มันแท้
มนั ก็อยทู่ หี่ ู
อวิชชา แตไ่ มไ่ ด้อย่ทู ีใ่ จ
ใจก็ไม่เป็นทุกข์
คอื ความปลอมปนทอี่ ย่กู ับทองคําแท้ ทุกข์ เพราะยึด
ถลุงมันออกไปดว้ ย “สติปญั ญา”
ทองคาํ แท้มันก็กลายเป็น สิ้นยึด พ้นทกุ ข์
ทองคําแทบ้ รสิ ุทธิ์
จิตทีบ่ รสิ ุทธิ์ เหมือน ทองคาํ
ไม่ใช่ไปทาํ ใหม้ นั บรสิ ุทธิ์
คอื เอาความเป็นเรา
ทีจ่ ะไปเป็นเจ้าของมันออกไป
แคน่ ้ันแหละ
มันก็กลายเป็นทองทีเ่ ป็นจติ แท้
เหมอื นทองคาํ แท้ เรยี กว่า นิพพาน
๔๔
กระบี่ เม่ือไหร่ทเี่ รารูส้ ึกวา่
เราได้ตุ๊กตาสวย หล่อมาตัวหนึ่ง
อยทู่ ีใ่ จ ถ้าเรารู้แก่ใจ หรือ รูส้ ึกจากใจจริง ๆ ว่า
ไร้ตวั ใจ ข้างในบรรจุอุจจาระ ปสั สาวะไว้เตม็
ไร้ตัวตน เราจะปลอ่ ยมนั ไปเองเลย
ไร้ตวั ตน
ไรต้ วั ใจ ไมม่ ใี ครต้องบอกว่า
การปลอ่ ยวางทาํ ยงั ไง
ทงิ้ โครมเลย!!!
๔๕
สัจธรรมแทจ้ ากใจ
“พระธรรมคาํ สอนของพระพุทธเจา้ ”
หลวงตาณรงค์ศักดิ์ ขีณาลโย
เมษายน ๒๕๖๓
๔๖
จิต หรอื ใจเดิมแท้ หรือ ธาตรุ ู้แท้ทบี่ รสิ ุทธิ์
เพราะสิ้นอวชิ ชา เป็นวมิ ุตติ เป็นความวา่ ง ไม่ปรากฏอะไร จึงไม่เกิดดบั
ส่วนทดี่ บั สนิท เป็นรูปนามขนั ธ์ห้าหยาบ ดบั
รปู นามทีเ่ ป็นทิพย์จะต้องไปรับกรรม ดบั
ดวงจติ ปรงุ แตง่ ดับ
แตจ่ ติ บริสุทธิ์ ซงึ่ เป็นวมิ ตุ ติ เป็นอมตะ ไมเ่ กดิ ดับ
ส่วนบารมีทีส่ ร้างมาทงั้ หมด ไมไ่ ดห้ ายไป แตไ่ มป่ รากฏ
โดยไปรวมอยใู่ นวมิ ุตติ
เป็น พทุ ธบารมี ธรรมบารมี สังฆบารมี
รวมกับบารมที เี่ ราไดท้ าํ มาแล้วทัง้ หมด
ซึง่ ในบารมีจะมี พทุ ธานุภาเวนะ ธัมมานุภาเวนะ สังฆานุภาเวนะ อย่ดู ้วยแลว้
ดงั นั้น จงึ สามารถปรากฏเป็นพระพทุ ธเจา้ พระอรยิ ะ ซงึ่ เป็นสมมติขึน้ มาจากวมิ ตุ ติ
มาสอนธรรม แสดงธรรมแกผ่ ้มู ีความศรัทธา และ สมควรแกธ่ รรมในขณะน้ันได้
แต่ไม่ไดเ้ ป็นพระพทุ ธเจา้ พระอริยะ ซงึ่ เป็นองคจ์ ริง
เป็นแตเ่ พียงสมมติ เพราะในขณะทีส่ มมตปิ รากฏขนึ้ มากไ็ มส่ ามารถจบั ต้อง หรือ สัมผัสได้
ซงึ่ ในสมมติทปี่ รากฏขึน้ มาน้ันจะมี
พทุ ธบารมี ธรรมบารมี สังฆบารมี
พทุ ธานุภาเวนะ ธัมมานุภาเวนะ สังฆานุภาเวนะ
อยูด่ ว้ ย เสรจ็ แลว้ ก็ดับไปเป็นวมิ ตุ ติ เป็นความไม่ปรากฏอะไรเลย
๔๗
ดงั นั้น ผใู้ ดมศี รทั ธา ความเพยี ร มสี ติ สมาธิ ปญั ญา
ซึง่ เป็นพละหา้ อนิ ทรยี ห์ ้า ประพฤตปิ ฏบิ ตั ิตาม
พระธรรมคําสอนของพระพทุ ธเจ้า
ซึง่ เป็นพระธรรมแท้อันบริสุทธิ์
ดว้ ยความอดทน อดกลัน้ ไมต่ ามใจกิเลสอยา่ งตอ่ เน่ือง
มีหริ ิโอตตปั ปะ ความละอายต่อพระพุทธเจา้ เกรงกลวั ตอ่ บาป ผู้นั้น ย่อมพบธรรม
ดังคาํ ตรัสทีว่ า่ ผ้ใู ดเห็นธรรม ผ้นู ั้นเห็นพระพทุ ธเจา้
เพราะ “ธรรม” เหนือโลก ทีไ่ ม่สามารถเอาโลก (ขันธ์หา้ ) ไปแสวงหาธรรมได้
จึงตอ้ งอาศัยศรทั ธา ปญั ญา ใน พละห้า อินทรียห์ ้านําหน้า
จึงจะพบ “สัจธรรม” ได้
จึงตอ้ งมบี ทอธิษฐานน้อมถงึ คณุ พระพุทธเจ้าเสียก่อน
เพราะพระองคน์ ําพระสัทธรรม ซงึ่ พบ และ รูใ้ นสัจธรรมแล้วมาสอน เป็นผู้มีพระคุณสูงสุด
เม่ือศรทั ธาในพระพุทธเจา้ กจ็ ะเช่ือมตอ่ ไปศรัทธาในพระสัทธรรม จงึ ไดพ้ บพระสัจธรรม
ส่วนพระอรยิ สงฆเ์ ป็นผตู้ รัสรูต้ าม และ นําพระสัทธรรมมาสอนอกี ตอ่ หนึ่ง
จนทาํ ให้เราเข้าถึงพระสัจธรรม กม็ าจาก
พระพทุ ธคณุ พระธรรมคณุ พระสังฆคุณ
๔๘
คําอธษิ ฐานก่อนฟงั และอ่านธรรม
ขณะจิตทตี่ ้ังใจฟงั ธรรม อา่ นธรรม ปฏิบัติดว้ ยใจนอบน้อม
ในพระธรรม ในพระพทุ ธ ในพระอริยสงฆ์ และ ผู้แสดงธรรม
อนั เป็นธรรมแท้ ทีอ่ อกมาจากใจ หรอื จติ ดัง้ เดิมบริสุทธิ์ หรือ
ธาตุบรสิ ุทธิ์ จะมอี านุภาพใหพ้ บธรรมแท้ จิต หรือ ใจแท้ หรือ
ธาตรุ ้แู ท้ จนสิ้นอวิชชา กลายเป็นจติ บริสุทธิ์ ใจบรสิ ุทธิ์ หรือ
ธาตรุ บู้ ริสุทธิ์ (นิพพาน)
ต่างกบั ขณะจิตทฟี่ งั ผา่ นๆ อ่านผา่ นๆ หรือ ปฏบิ ัติผ่านๆ ราวฟ้ากับดนิ
น้อมจิตระลกึ ถงึ พทุ ธานุภาเวนะ ธัมมานุภาเวนะ สังฆานุภาเวนะ
พระพทุ ธคุณ พระธรรมคุณ พระสังฆคุณ
พทุ ธบารมี ธรรมบารมี สังฆบารมี
รวมกบั บญุ บารมที ีข่ ้าพเจา้ ไดท้ าํ มาแลว้ ท้งั หมด
ข้าพเจา้ ขอตัง้ สัจจะอธิษฐานขอถอนมจิ ฉาทิฏฐิ (ความเหน็ ผดิ ) อวิชชา
(ความโง่ ความเขลา ความไมร่ ู้อรยิ สัจ)
ทงิ้ เสียทัง้ หมดโดยถาวรสิ้นเชิงต้ังแต่บัดนี้เป็นตน้ ไป
แลว้ ขอนอบน้อมใจรบั เอา “พระธรรมแท้บรสิ ุทธ”ิ์ ทีอ่ อกจากพระทยั
อันบรสิ ุทธิข์ องพระพทุ ธเจา้ จากพระอรยิ สงฆ์
เข้าสู่ “ใจ หรือ จติ ดงั้ เดมิ หรอื ธาตุรู้” โดยตรง
ให้รแู้ จ้งธรรมแทท้ ใี่ จ เป็นใจแท้ทสี่ ิ้นกิเลส
อวชิ ชา ตณั หา อุปาทาน เป็นธรรมแทบ้ ริสุทธิ์
โดยอัตโนมัติตลอดเวลา ตง้ั แตบ่ ดั นี้เป็นต้นไป ดว้ ยเทอญ
๔๙