The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมใบความรู้_merged

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nannapas1234, 2021-12-27 22:42:18

รวมใบความรู้

รวมใบความรู้_merged

ใบความรู ้
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 2

โดย

คุณครูอมรรตั น์ แจม่ แจง้
และ

คณุ ครูนนั ทน์ ภสั จติกลุ

โรงเรียนเวี ยงสระ

เศรษฐกจิ พอเพียง

"เศรษฐกิจพอเพยี ง" (Sufficiency Economy) เปน็ "ปรชั ญา" ทพี่ ระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ วั ไดพ้ ระราชทาน
เพื่อชี้แนะ แนวทางการดำเนินชีวิต และปฏิบัติตนให้แก่ประชาชนทุกระดับทกุ สาขาวชิ าชีพมาโดยตลอด นับตั้งแต่ปี
พ.ศ.2517 เป็นต้นมา โดยพระองค์ทรงห่วงใยต่อสถานการณ์และปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น และส่งผลกระทบต่อการ
ดำรงชีวิตอยู่ของคนไทย และสังคมไทยในยุคโลกาภิวัตน์ จนกระท่ังเขา้ สู่ห้วงเวลา ที่ประเทศประสบวิกฤตการณ์ทาง
เศรษฐกิจอย่างรุนแรง ในปี พ.ศ. 2540 และภายหลังจากปัญหาวิกฤต พระองค์พระราชทานแนวทางแก้ไขปัญหา
เพอื่ ให้รอดพ้นและสามารถดำรงอยู่ได้ภายใต้ กระแสการเปล่ียนแปลงต่างๆ ทรงเตือนทกุ ฝ่ายให้รู้จักคำว่า "พอเพียง"
อย่าทำอะไรเกินตัว ทำอะไรต้องควรรอบคอบไม่ ประมาท ดำรงชีวิตอย่างสมถะและสามัคคี ซึ่งจะนำพาตนเอง และ
ประเทศชาตใิ หร้ อดพน้ ภาวะวกิ ฤตตา่ งๆและนำไปสู่ความสุขได้

เศรษฐกิจพอเพยี ง เปน็ ปรัชญาช้ถี ึงแนวการดำรงอย่แู ละปฏบิ ตั ติ นของประชาชนในทุกระดับ ตัง้ แต่ระดับครอบครัว
ระดบั ชุมชน จนถึงระดบั รฐั ทัง้ ในการพัฒนาและบรหิ ารประเทศใหด้ ำเนนิ ไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพฒั นา
เศรษฐกจิ เพ่ือใหก้ ้าวทันต่อโลกยคุ โลกาภวิ ฒั น์

ความพอเพียง
หมายถงึ ความพอประมาณ ความมเี หตผุ ล รวมถงึ ความจำเป็นทีจ่ ะตอ้ งมีระบบภมู ิคุ้มกันในตัวทีด่ ี ต่อการ

กระทบใด ๆ ท้ังนี้ จะตอ้ งอาศยั ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมดั ระวังอยา่ งยิง่ มาใช้ในการวางแผนและ
การดำเนินการ จะต้องเสริมสรา้ งพื้นฐานจิตใจให้คนในทุกระดับมีสำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มี
ความรอบรทู้ ่ีเหมาะสม ดำเนินชวี ติ ดว้ ยความอดทน ความเพยี ร มสี ติ ปญั ญา และความรอบคอบ เพือ่ ให้สมดุลและ
พรอ้ มตอ่ การรองรับการเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเรว็ และกวา้ งขวาง

ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง

เศรษฐกิจพอเพียงตงั้ อยบู่ นทางสายกลางและความไม่ประมาท โดยคำนึงถงึ หลัก 3 ประการ (3 หว่ ง) คอื
- ความพอประมาณ
- ความมเี หตุผล
- การสร้างภูมิคุ้มกนั ในตวั ทด่ี ี

และมีเงื่อนไขอีก 2 ประการ คอื
- มีความรู้
- มีคุณธรรม

เศรษฐกจิ พอเพียงกบั ทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดำริ

"ทฤษฎีใหม่" เป็นแนวทางหรือหลกั ในการบริหารจัดการทด่ี ินและนำ้ เพอื่ การเกษตรในที่ดนิ ขนาดเล็กให้
เกดิ ประโยชนส์ ูงสุด

การนำไปใช้

เศรษฐกิจพอเพียง สามารถประยุกต์ใช้ได้ในทุกระดับ ทุกสาขา ทุกภาคของเศรษฐกิจ ไม่จำเป็นจะต้อง
จำกัดเฉพาะแต่ภาคการเกษตร หรือภาคชนบท แม้แต่ภาคการเงิน ภาคอสังหาริมทรัพย์ และการค้าการลงทุน
ระหว่างประเทศ โดยมีหลักการที่คล้ายคลึงกันคือ เน้นการเลือกปฏิบัติอย่างพอประมาณ มีเหตุมีผล และสร้าง
ภูมคิ ้มุ กนั ใหแ้ กต่ นเองและสงั คม

แผนพฒั นาเศรษฐกิจ

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ.2560-2564 ได้น้อมนำหลัก “ปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง” มาเป็นปรัชญานำทางในการพัฒนาประเทศอย่างต่อเนื่องจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
ฉบับที่ 9-11 เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันและช่วยให้สังคมไทยสามารถยืดหยัดอยูไ่ ดอ้ ยา่ งมั่นคงเกดิ ภูมิคุ้มกัน และมี
การบริหารจัดการความเสี่ยงอย่างเหมาะสม ส่งผลให้การพัฒนาประเทศสู่ ความสมดุลและยั่งยืน

ตัวอยา่ งข้อสอบ

1. หลักการเศรษฐกิจพอเพียงจะใช้ไดเ้ ต็มท่ีตอ่ เม่อื ประชาชนสว่ นใหญใ่ นประเทศปฏบิ ัตติ นตามข้อใด (o-net’59)

ก. ใชเ้ ทคโนโลยที ่ที นั สมยั ท่ีสุด ข. ผลิตตามประเทศอตุ สาหกรรมก้าวหน้าทั้งหลาย

ค. ผลิตพชื ผลทปี่ ระเทศมคี วามชำนาญทสี่ ดุ ง. ผลิตตามท่ีผู้นำประเทศวางแผนให้ทำ

จ. หาความรู้ใสต่ ัว ผลิตพชื ผลหลายชนิด กระจายความเส่ียง

2. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับใด อัญเชิญ “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” มาเป็นปรัชญาในการ

พัฒนาประเทศเปน็ ฉบับแรก (o-net)

ก. แผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 7 ข. แผนพฒั นาฯ ฉบับที่ 8

ค. แผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่ 9 ง. แผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่ 10

3. ผใู้ ดเอาแนวคิดเศรษฐกจิ พอเพยี งมาประยกุ ต์ใช้ (o-net’51)

ก. นายเจียมลดรายจา่ ยได้มาก เพราะงดการดืม่ สรุ าตามการแนะนำของแพทย์ประจำตวั

ข. นายจิตทำตามสัญญาทใี่ หไ้ ว้กบั บตุ ร โดยหาเงนิ มาซอ้ื รถยนตใ์ หเ้ ปน็ รางวลั ทีส่ อบเข้ามหาวิทยาลยั ได้

ค. นายสุขใชเ้ วลาวา่ งวันอาทติ ย์ ทำงานเป็นพนกั งานเสิรฟ์ อาหาร เพื่อหารายได้พเิ ศษมาเลย้ี งครอบครวั

ง. นายแสงลดการปลกู พืชหลายชนดิ หันมาปลกู พืชหลักเพียงชนดิ เดียว เพื่อจะไดเ้ กดิ ความชำนาญในการ

ปลกู พืชชนดิ นนั้

4. ข้อใดไมใ่ ช่การดำรงชวี ติ ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง (สามญั )
ก. พึง่ ตนเองเป็นหลกั โดยไมเ่ บียดเบยี นตนเองและผอู้ ่ืน
ข. ให้ความสำคัญต่อคณุ คา่ ของการบรโิ ภคมากกวา่ มูลคา่
ค. ต้องทำการผลติ ขนาดพอกนิ พอใช้โดยใชเ้ งนิ ออมของตนเอง
ง. ดำเนินทางสายกลางโดยยึดหลักพอประมาณอย่างมเี หตผุ ลและภูมิคมุ้ กัน
จ. เพิม่ ความสำคญั ตอ่ การลดรายจา่ ยทเ่ี กินพอดแี ทนการเพม่ิ รายไดเ้ พยี งอยา่ งเดียว

5. บุคคลในขอ้ ใดนำหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งมาประยกุ ต์ใชใ้ นชีวติ ประจำวนั มากทส่ี ุด (สามญั )
ก. นางสาวกมลวรรณเล้ียงปลาและปลกู ผักเพือ่ การบริโภคและส่งขายตลาดดว้ ยตนเอง
ข. นางสาวสมศรลี ดการบริโภคอาหารวนั ละ 1 มื้อ แทนการซื้อยาลดนำ้ หนกั มาใช้เอง
ค. นางสาวสมหญงิ ทำอาหารตกั บาตรพระทุกเช้า แทนการซื้ออาหารปรุงสำเร็จจากตลาด
ง. นางสาวขวญั กมลกเู้ งนิ นอกระบบมาใหบ้ ุตรเป็นค่าเรยี นกวดวชิ าในตวั เมืองเหมือนเพือ่ นๆ
จ. นางสาวทองดีประหยดั ค่าใช้จา่ ยดว้ ยการซ้ือสนิ คา้ เฉพาะทล่ี ดราคาหรือมขี อง แลก แจก แถม

6. ทฤษฎใี หมข่ นั้ ท่ี 1 มีวตั ถุประสงคเ์ พ่ือการใดเป็นหลกั (สามัญ)
ก. การผลิตและการแลกเปลีย่ นในชมุ ชน
ข. การผลติ เพื่อการบรโิ ภคขน้ั พ้ืนฐานของครอบครวั
ค. การแก้ปัญหาการขาดแคลนเงนิ ออมและเงนิ ลงทนุ
ง. การลดความเสยี่ งจากการขาดแคลนแหลง่ น้ำกนิ น้ำใช้
จ. การลดต้นทนุ ค่าเสียโอกาสในการใช้ทด่ี ินให้เกดิ ประโยชน์

7. ข้อใดเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำใหก้ ารพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยหันมายึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียงนำทางการพฒั นา (สามญั )
ก. วกิ ฤตการณ์ทางเศรษฐกิจท่ีเกดิ ขึ้นอยา่ งรนุ แรงในปี 2540
ข. ความแตกตา่ งของรายไดร้ ะหวา่ งเมืองและชนบททม่ี มี ากข้ึน
ค. ความไมส่ มดลุ ระหวา่ งการพฒั นาเศรษฐกจิ กับการพัฒนาสังคม
ง. การใชจ้ า่ ยเกินตวั ทั้งในภาคเอกชนและภาครัฐชว่ ง พ.ศ.2540 – 2544
จ. การเสอื่ มโทรมของทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อมอย่างรวดเรว็ และรนุ แรง

8. สังคมไทยไม่ได้ปฏิบัติตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงข้อใดมากที่สุดจึงทำให้เกิดวิกฤตเศรษฐกิจ

พ.ศ.2540 (สามัญ)

ก. การวางแผนลว่ งหนา้ ข. การเอื้อเฟอ้ื เผ่อื แผ่กัน

ค. ความอดทนหมนั่ เพียร ง. การดำเนนิ ทางสายกลาง

จ. การใช้สตแิ กป้ ญั หา

9. หลักปรัชญาท่สี ำคัญที่สุดท่อี ยเู่ บอ้ื งหลงั ของเศรษฐกิจพอเพียงคอื ขอ้ ใด (สามญั )
ก. ผลิตสนิ ค้าชนิดเดยี วให้เกิดความชำนาญเพ่ือลดต้นทนุ การผลติ
ข. ควรมพี ้นื ท่ีเพาะปลกู ขนาดใหญเ่ พือ่ ทีจ่ ะได้ใชเ้ ครื่องจกั รให้ค้มุ ค่า
ค. กระจายความเส่ียงโดยผลติ สินค้าบริการหลายชนดิ
ง. ผลติ สนิ ค้าชนิดเดยี วแต่ใหม้ ปี รมิ าณมากพอ
จ. ผลิตสนิ ค้าทีห่ ายากในท้องถ่ินน้นั

10. การสรา้ งความสมดลุ ตามแนวคดิ เศรษฐกิจพอเพียงนั้น เน้นใหเ้ กิดความสมดุลระหว่างสิง่ ใดมากทส่ี ุด (สามัญ)
ก. มนษุ ย์กับสิ่งแวดล้อม
ข. อตุ สาหกรรมกบั เกษตรกรรม
ค. สินค้าในประเทศกับสินค้าต่างประเทศ
ง. ความเจริญทางเทคโนโลยกี บั ภูมปิ ญั ญาไทย
จ. ความสมดลุ ของเศรษฐกิจระหว่างประเทศ

11. การพัฒนาเศรษฐกจิ ตามแผนฉบับทผ่ี า่ น ๆ มาก่อให้เกิดผลประการใดบ้าง (สามัญ)
ก. ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ มถกู ทำลายมากขน้ึ
ข. ภาคเกษตรกรรมขยายตัวมากกวา่ ภาคอตุ สาหกรรม
ค. การกระจายรายได้เปน็ ธรรมมากขึ้น
ง. ชาวไทยมอี ัตราการออมสงู ขน้ึ
จ. เศรษฐกิจพึ่งพาตนเองได้

12. แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาตฉิ บบั ท8่ี -10 มีจดุ เด่นเหมือนกบั ขอ้ ใด (สามญั )
ก. พฒั นาแบบย่ังยนื โดยมุง่ บูรณาการท้งั ทางดา้ นเศรษฐกจิ สังคม และความมนั่ คง
ข. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเศรษฐกจิ และระบบบริหารความเส่ียงเพอ่ื เป็นภมู คิ มุ้ กนั ที่ดี
ค. พฒั นาโดยมุ่งใหค้ นเป็นศูนยก์ ลางในการพฒั นาแทนมุ่งการเติบโตทางเศรษฐกจิ เป็นหลกั
ง. พัฒนาแนวใหม่โดยเน้นการปรับโครงสรา้ งเศรษฐกิจแบบสมดุลแทนการพัฒนาแบบแยกสว่ น
จ. พัฒนาระบบธรรมาภบิ าลในการบริหารจดั การประเทศและเพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขัน

13. ชมุ ชนใดตอ่ ไปน้ีมีการใชช้ ีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งตามแนวพระราชดำริ (สามญั )
ก. ชุมชน A. เลือกปลกู พชื ไรต่ ามราคาและความตอ้ งการของตลาดโลก เพอ่ื เพ่มิ รายไดข้ องสมาชิกในชมุ ชน
ข. ชมุ ชน B. เนน้ การใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีทางการเกษตรของตา่ งประเทศ เช่น ยาปราบศตั รูพืช หรือเครื่อง
เกบ็ เกี่ยวผลผลิต เพอ่ื เพมิ่ ผลผลติ ตอ่ พน้ื ที่เพาะปลกู
ค. ชมุ ชน C. มีการปลกู พชื ผกั และเล้ียงสัตวห์ ลายชนิดในพน้ื ทโี่ ดยคนในชมุ ชนจะมีการแบ่งปนั ผลผลิตที่ได้ระหว่าง
กนั อย่างสมำ่ เสมอ
ง. ชุมชน D. ทำการเกษตรโดยอาศัยความช่วยเหลือจากรัฐเป็นหลัก เน้นปลูกพืชที่มีการประกันราคาโดยรัฐบาล
โดยไมป่ ลกู พชื ชนดิ อืน่ เลย
จ. ชุมชน E. ส่งเสริมให้สมาชกิ ในชุมชนไปกู้เงนิ จากนายทุนมาขยายการลงทุนใหม้ ีขนาดใหญ่ข้ึนเรื่อย ๆ ตามการ
คาดการณว์ ่าเศรษฐกจิ ของโลกกำลังจะดีขึ้น

14. ชมุ ชนหนง่ึ รูจ้ ักการนำไมไ้ ผม่ าแปรรูป ทำเปน็ เครือ่ งจกั สานและนำส่งขายจนสินค้ามีชื่อเสียงติดตลาด ลักษณะ

ดงั กลา่ วสอดคลอ้ งตามหลกั การเศรษฐกจิ พอเพียงในข้อใด (o-net)

ก. มคี วามพอประมาณ ข. มีเหตผุ ล

ค. มภี มู ิคุม้ กนั ง. มคี ณุ ธรรม

15. ภาวะเศรษฐกิจชะลอตัวที่เกิดข้ึนในช่วงคร่ึงแรกของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 เกิด
จากสาเหตใุ ด
ก. สถานการณ์ความไมส่ งบใน 3 จงั หวัดภาคใต้ทำให้การลงทนุ ชะลอตวั
ข. วิกฤตเศรษฐกจิ ท่เี กิดขนึ้ ในสหรัฐอเมรกิ าส่งผลกระทบมาถึงประเทศไทย
ค. ความไมม่ เี สถยี รภาพของรัฐบาลทำให้ดำเนนิ นโยบายเศรษฐกจิ ไมต่ ่อเน่ือง
ง. การไม่ดำเนนิ นโยบายตามแนวเศรษฐกจิ พอเพยี งต่อจากแผนพฒั นา ฯ ฉบบั ท่ี 9

ใบความรู้ เรือ่ ง สหกรณ์กบั การพฒั นาเศรษฐกิจไทย

(Cooperatives and Thai Economic Development)

ความหมายของสหกรณ์ (co-operative)

สหกรณ์ หมายถึง การรวมตัวกันของกลุ่มบุคคลที่มีจุดมุ่งหมายอย่างเดียวกันด้วยความสมัครใจ ร่วมกนั
รับผิดชอบและดำเนินงานให้บรรลุจุดมุ่งหมายที่ตั้งไว้ โดยยึดหลักประชาธิปไตย ไม่มุ่งแสวงหากำไร และมีการ
แบง่ ปนั ผลประโยชนอ์ ย่างยตุ ธิ รรม

บทนิยามของคํา "สหกรณ์" (แก้ไขใหม)่

สหกรณเ์ ป็นองค์กรทางเศรษฐกิจและสังคมทส่ี มาชกิ รว่ มกันจดั ต้งั ขึ้นดว้ ยการลงหุน้ ร่วมกนั จดั การร่วมกัน
ในการผลิต การจำหน่ายสินค้า หรือบริการตามความต้องการหรือผลประโยชน์อย่างเดียวกันของบรรดาสมาชิก
สมาชิกแต่ละคนมีสิทธิ์ออกเสียงได้หนึ่งเสียงในการบริหารสหกรณ์โดยไมข่ ึ้นกับจำนวนหุ้นที่ถืออยู่ เช่น สหกรณ์
ออมทรัพย์ สหกรณ์การเกษตร คณะบุคคลซ่ึงร่วมกนั ดำเนินกิจการเพื่อประโยชนท์ างเศรษฐกิจและสังคมโดยช่วย
ตนเองและชว่ ยเหลอื ซึง่ กนั และกัน และได้จดทะเบยี นตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์
หมายเหตุ จากหนงั สอื ราชบณั ฑติ ยสถาน ที่ รถ ๐๐๐๔/๘๐๐ ลงวนั ที่ ๒๑ มนี าคม ๒๕๕๐

ลกั ษณะสำคญั ของสหกรณ์

1. เป็นธุรกิจในรูปแบบหนึ่งที่มีการประกอบธุรกิจเช่นเดียวกับธุรกิจอื่น ๆ โดยใช้ปัจจัยการผลิต
คอื ทด่ี นิ (land) ทุน(capital) แรงงาน(labor) ผู้ประกอบการ(operator)
2. เกดิ ขึ้นจากการรวมคนและรวมทนุ ดว้ ยความสมัครใจ เพ่อื รว่ มกันช่วยแกไ้ ขปญั หาทางเศรษฐกิจและสงั คม
3. มีวตั ถุประสงค์ในการดำเนนิ ธุรกจิ ท่ีแน่นอน เพ่ือชว่ ยเหลอื ตนเองและชว่ ยเหลือซึง่ กนั และกัน
4. มกี ารจดทะเบยี นถกู ต้องตามกฎหมาย โดยมฐี านะเปน็ นติ บิ คุ คล
5. สมาชกิ ทุกคนมีสิทธิเสมอภาคเท่าเทียมกัน
6. มกี ฎหมายสหกรณแ์ ละขอ้ บังคับสหกรณ์เป็นแนวทางในการดำเนนิ ธุรกิจ

หลักการสหกรณ์ (co-operative principles)

คอื ข้อกำหนดสำคัญทส่ี หกรณท์ กุ สหกรณ์ต้องยดึ ถือเป็นแนวทางปฏบิ ัตเิ ป็นสากล ปจั จุบนั มดี ้วยกนั 7 ขอ้ ดงั น้ี

การดำเนนิ การของสหกรณ์

กำหนดวัตถปุ ระสงคแ์ ละนโยบาย
วางแผนเพ่ือนำนโยบายไปปฏบิ ตั ิใหเ้ กิดผล

จัดตงั้ และแบง่ ส่วนของงานสหกรณ์
รวมทรพั ยากรมาใช้ประกอบธุรกจิ ตามแผนงานท่วี างไว้

อำนวยความสะดวกแก่ผปู้ ฏบิ ัตงิ าน
ตรวจตราดูแลเพื่อใหท้ ราบถงึ การดำเนนิ งาน

ประสานงานแนวคดิ กับการทำงาน







ปัจจยั ส่งเสรมิ ความสำเร็จของสหกรณ์

1) สมาชิกเป็นผู้มีความรู้ความเข้าใจในระบบสหกรณ์ โดยสมาชิกต้องมีความเชื่อมั่นและศรัทธาว่าสหกรณ์เป็น
สถาบนั ท่ใี ห้ความช่วยเหลือและแกไ้ ข ปัญหาด้านเศรษฐกจิ และสังคมให้กับสมาชิกและชมุ ชนได้ และมคี วามสำนึก
ว่าสหกรณเ์ ป็นของตนเองและเป็นของสมาชิกทุกคน จะทำให้ประชาชนเขา้ รว่ มเป็นสมาชิกและมีสว่ นร่วมในการ
บริหารกำกบั ดแู ล

2) คณะกรรมการดำเนินการจะต้องปฏิบัติงานด้วยความซื่อสัตย์สุจริต จะต้องยึดถือผลประโยชน์ส่วนรวมของ
สหกรณเ์ ป็นสำคัญ นอกจากนี้คณะกรรมการดำเนนิ การจะตอ้ งเปน็ ผ้ทู ม่ี วี สิ ัยทัศนก์ วา้ งไกล มีความรคู้ วามสามารถ
มคี วามซ่ือสัตยส์ จุ ริต ทำใหก้ จิ การของสหกรณเ์ จริญรุ่งเรือง

3) ผู้จัดการและเจ้าหน้าที่ต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถบรหิ าร จัดการสหกรณ์ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต มุ่ง
ใฝ่หาความรู้ ก้าวทนั การเปลีย่ นแปลงของสถานการณบ์ ้านเมืองและสถานการณ์โลก เพ่ือปรบั เปลยี่ นการบริหารให้
ทนั การเปลยี่ นแปลงตา่ ง ๆ อยูเ่ สมอ

4) การสนับสนุนจากภาครัฐโดยกรมส่งเสริมสหกรณ์ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยราชการอื่น ๆ ที่
เก่ียวข้อง ใหก้ ารสนับสนนุ กิจการสหกรณ์ ดงั น้ี

• ให้การสนบั สนุนดา้ นงบประมาณ
• เผยแพรค่ วามรู้เรือ่ งสหกรณ์แกป่ ระชาชน
• ประสานความรว่ มมือกับภาคเอกชนเพือ่ พัฒนากิจการสหกรณ์
• ฝกึ ฝนอบรมด้านอาชีพ จดั หาตลาด และดูแลราคาผลผลิตให้สหกรณ์

บทบาทความสำคัญของสหกรณใ์ นการพัฒนาเศรษฐกิจ

ความมุ่งหมายของการพัฒนาเศรษฐกิจในปัจจุบันไม่เพียงแต่การส่งเสริมขยายตัวของวิสาหกิจเท่าน้ัน
แตม่ ุง่ ให้มีการใช้ทรัพยากรท่ีมอี ยู่อย่างฉลาด การเพิ่มผลิตภาพการกระจายความมัง่ คัง่ ที่เกิดจากการประกอบการ
ทางเศรษฐกจิ อย่างเท่ยี งธรรม การให้ประชาชนส่วนใหญ่ได้มบี ทบาทในการส่งเสรมิ ความเจรญิ เติบโตทางเศรษฐกิจ
รวมทั้งการได้รับผลตอบแทนจากการพัฒนาโดยการมีกรรมสิทธิ์ การควบคุมธุรกิจ การค้า และอุตสาหกรรม
ขบวนการสหกรณ์ทีเ่ ข้มแข็งนอกจากจะส่งเสริมความเจรญิ เติบโตทางเศรษฐกิจการใช้ทรัพยากรให้เปน็ ประโยชน์
เต็มที่เช่นเดียวกับวสิ าหกจิ อนื่ แลว้ บทบาทอนั สำคญั ของสหกรณแ์ ละทคี่ วรกลา่ วไว้ ณ ที่นีม้ อี ย่สู องประการ คอื

ประการแรก สหกรณ์สามารถรักษาเสถียรภาพและตรึงราคาสินค้าและบริการ และช่วยลดระดับราคา
สนิ คา้ บรโิ ภคในตลาด ในขณะเดยี วกนั จะชว่ ยยกระดับราคาผลิตผลทางเกษตร (ซ่งึ โดยปกตมิ กั จะตกต่ำ) ให้สูงขึ้น
เพือ่ คุ้มครองผลประโยชนข์ องเกษตรกร

ประการที่สอง อันเป็นเป้าหมายสุดยอดของการพัฒนาเศรษฐกิจ คือ การแก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำของ
รายได้ หรือการกระจายรายได้ของประชาชาติอย่างเป็นธรรมและถาวร เพราะระบบสหกรณ์จะกระจาย
ผลประโยชน์ไปสู่ประชาชนอย่างเที่ยงธรรม โดยการที่ประชาชนมีส่วนเป็นเจ้าของและควบคุมธุรกิจการค้า
อุตสาหกรรม และบรกิ ารของตนเอง ผลทางเศรษฐกจิ ท่เี กิดขนึ้ จึงตกเปน็ ของประชาชนผเู้ ป็นสมาชกิ

แนวข้อสอบ

1. ชุมชนที่ต้องการพึ่งตนเองและช่วยเหลือกันด้านเงินทุนในการใช้จ่ายเมื่อมีความจำเป็น ควรจัดตั้งสหกรณ์

ประเภทใดข้ึนในชมุ ชน (สามัญ)

ก. สหกรณ์นิคม ข. สหกรณร์ ้านคา้

ค.สหกรณบ์ ริการ ง.สหกรณก์ ารเกษตร

จ.สหกรณอ์ อมทรัพย์

2. ขอ้ ต่อไปนค้ี ือลกั ษณะสำคญั ของสหกรณ์ยกเวน้ ข้อใด (o-net)

ก. มกี ารควบคุมจากผูถ้ ือหุ้นสงู สุด ข. ชื่อสหกรณ์ตอ้ งมคี ำวา่ จำกดั อยู่ทา้ ยชื่อ

ค. มีการจดทะเบียนอยา่ งถูกต้องตามกฎหมาย ง. มวี ัตถปุ ระสงค์ในการดำเนินธุรกิจอย่างแน่นอน

3. ขอ้ ใดไมใ่ ช่หลกั การของระบบสหกรณ์ (o-net)

ก. การเออ้ื อาทรต่อชมุ ชน ข. การปกครองตนเองและความเป็นอสิ ระ

ค. การควบคมุ โดยสมาชิกตามหลักประชาธปิ ไตย ง. การดำเนินงานตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง

4. “สหกรณพ์ งึ รับใช้สมาชกิ อย่างมีประสิทธิผลสงู สุดและทำใหข้ บวนการสหกรณ์เข้มแข็ง โดยการทำงานด้วยกัน”

ข้อความน้ีตรงกับหลักการสหกรณ์ในขอ้ ใด (o-net)

ก. การเอ้อื อาทรต่อชุมชน ข. การร่วมมือระหวา่ งสหกรณ์

ค. การปกครองตนเองและความเป็นอิสระ ง. การมีสว่ นร่วมทางเศรษฐกิจของสมาชิก

5. ขอ้ ใดกล่าวผิด (o-net)
ก. สหกรณ์มกี ารควบคุมตามหลกั ประชาธิปไตย
ข. การเขา้ ร่วมเป็นสมาชกิ สหกรณต์ ้องเกิดจากความสมัครใจ
ค. การดำเนินงานของสหกรณต์ ้องเปน็ ไปเพอื่ การพฒั นาท่ียัง่ ยืนของชมุ ชน
ง. สหกรณ์เปน็ องค์กรช่วยเหลอื ตนเองและปกครองโดยสมาชิกที่ถอื หนุ้ สงู สุด

6. สหกรณ์แบบไรฟ์ไฟเซนท่ีไทยนำมาใชเ้ ป็นของประเทศใด (o-net)

ก. อินเดีย ข. อังกฤษ ค. เยอรมนั ง. สหรฐั อเมริกา

7. ข้อใดคอื สหกรณ์แหง่ แรกของไทย (o-net) ข. สหกรณบ์ ้านวัดจันทรน์ ำ้ น้อย
ก. สหกรณ์การเกษตรบ้านโป่ง ง. สหกรณ์วดั จนั ทรไ์ มจ่ ำกดั สินใช้
ค. สหกรณว์ ดั จนั ทรจ์ ำกัดสินใช้

8. “สหกรณ์ที่มีการดำเนินการจัดสรรที่ดินทำกิน จัดสร้างปัจจัยพื้นฐาน และสิ่งอำนวยความสะดวก”

หมายถึงสหกรณใ์ ด (o-net)

ก. สหกรณน์ คิ ม ข. สหกรณบ์ ริการ ค. สหกรณก์ ารเกษตร ง. สหกรณเ์ ครดิตยเู น่ียน

9. ข้อใดหมายถึงประชาธปิ ไตยตามหลกั การสหกรณ์ (o-net)

ก. หน่งึ ห้นุ หนงึ่ เสียง ข. หน่ึงคนหน่งึ เสยี ง

ค. สมาชิกทุกคนถือหุ้นเท่ากนั ง. สมาชกิ ทุกคนได้รบั เงินปนั ผลเท่ากัน

10. หลกั การทส่ี ำคญั ที่สุดของสหกรณ์คอื ข้อใด (o-net)
ก. มกี ฎระเบยี บขอ้ บงั คับถกู ตอ้ งตามกฎหมาย
ข. มีสิทธิเสมอกัน แตม่ งุ่ ช่วยเหลือผ้มู ีฐานะยากจน
ค. สมาชิกชว่ ยกันแก้ปัญหา ในทรพั ยากรท้องถิ่นอย่างคมุ้ คา่
ง. ยึดหลักประชาธปิ ไตย ไม่แสวงหากำไร แบ่งปนั ประโยชนอ์ ย่างเป็นธรรม
จ. มีปัจจยั การผลติ เช่นเดยี วกบั ธุรกิจทว่ั ไป มีการบริหารจดั การในชมุ ชนเทา่ นน้ั

11. อดุ มการณส์ หกรณ์คอื แนวคิดท่ีจะให้สงั คมอยูด่ กี นิ ดีด้วยวิธใี ด (o-net)
ก. วางแผนการผลติ ให้สมาชกิ อยา่ งชัดเจน
ข. ช่วยตนเอง และชว่ ยเหลือซึ่งกนั และกนั
ค. ปสมปสานระหว่างลทั ธนิ ายทุนและสงั คมนิยม
ง. ให้คนมารวมกนั เพ่อื ให้รฐั ชว่ ยเหลอื ได้เต็มท่ี
จ. ให้คนขยัน ประหยดั พัฒนาตนหนพี ้นอบายมุข

ปญั หาทางเศรษฐกจิ ในชมุ ชนและเสนอแนวทางแกไ้ ข

ลักษณะของชมุ ชนในสังคมไทย

1. สังคมชนบท หมายถงึ เขตนอกเมือหลวงหรือเมอื งใหญๆ่ ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชพี เกษตรกรรม สภาพ
ความเปน็ อยคู่ ล้ายคลึงกัน ชาวชนบททอ่ี ยู่ในท้องถน่ิ เดียวกนั ฉนั ท์มีความผูกพันฉันทพ์ นี่ ้อง สังคมชนบทมีลักษณะ
เป็นครอบครัวขนาดใหญ่ ( ครอบครัวขยาย )

2. สังคมเมือง หมายถึง บริเวณที่มปี ระชากรอาศยั อยู่รวมกันเป็นจำนวนมาก เป็นศูนย์กลางของความเจริญตา่ งๆ
การคมนาคมสะดวก ประชาชนประกอบอาชีพหลากหลาย ความสัมพันธ์ของคนในสังคมเมืองเป็นไปอย่างมี
ระเบยี บแบบแผน

ปัญหาทางเศรษฐกิจที่ชุมชนในประเทศไทยสั่งสมมาอย่างยาวนานและต่อเนื่อง ประกอบด้วย
ปัญหาความยากจนและหนี้สิน ปัญหาการว่างงานและขาดแคลนงานทำในชุมชน ปัญหาการพึ่งพาเศรษฐกิจ
ภายนอกชุมชน ปัญหาการขาดแคลนทรัพยากรที่จะนำมาใช้ในการผลิต เมื่อแต่ละชุมชนประสบปัญหาทาง
เศรษฐกจิ แลว้ จึงมคี วามจำเป็นทีต่ อ้ งร่วมมอื กันในการแกไ้ ขปญั หาทางเศรษฐกจิ ต่าง ๆ ที่เกดิ ขึ้นในชุมชน

แนวทางในการแก้ปญั หาเศรษฐกจิ ในชุมชน มีดังนี้

- การจัดตั้งสหกรณ์เพื่อร่วมแก้ปัญหาเศรษฐกิจในชุมชน เป็นการสร้างความร่วมมือทางเศรษฐกิจให้
เกิดขึ้นภายในชุมชน ในรูปแบบของสหกรณ์ท่ีเปิดรับสมาชิก คือ คนในชุมชนเข้ามสี ่วนร่วมในการดำเนนิ การทาง
เศรษฐกิจ

- การเสริมสรา้ งความเขม้ แขง็ ทางเศรษฐกิจในชมุ ชน โดยเน้นการพึง่ พงิ องิ อาศยั กันมากกว่าการแข่งขันกัน
ส่งเสรมิ ให้มรี ะบบการรว่ มมอื กนั อยา่ งเชน่ สหกรณ์

- การเสริมสร้างกิจกรรมทางเศรษฐกิจต่างๆ ในชุมชน เป็นการสร้างความสัมพันธ์ในเชิงเศรษฐกิจใหเ้ กิด
การร่วมมอื กันอยา่ งแนน่ แฟ้นในชุมชน

- การเสรมิ สรา้ งโอกาสในการแข่งขันกนั ทางตลาด นอกจากชุมชนจะรว่ มมือกนั ในการสร้างผลติ ภัณฑต์ าม
ความชำนาญในแต่ละทอ้ งถิน่ แล้ว การการเสริมสรา้ งโอกาสในการแข่งขนั กันทางตลาดกเ็ ปน็ เรอื่ งสำคญั ชุมชนควร
ใหค้ วามสำคัญกบั การเรียนร้เู รื่องการการตลาด เพอ่ื เสรมิ สรา้ งใหผ้ ลิตภัณฑส์ ามารถขายไดเ้ ป็นอยา่ งดี

- การรวมกลุ่มของเกษตรกรในรูปแบบของขบวนการวิสาหกิจชมุ ชน อันเปน็ กจิ การของชมุ ชนในการผลิต
สินค้าให้บริการ ฯลฯ ที่ดำเนินการโดยคณะบุคคลที่มีความผูกพันกัน มีวิถีชีวิตร่วมกันและรวมตัวกันประกอบ
กจิ การ เพ่อื สรา้ งรายไดแ้ ละเพอ่ื การพ่ึงพาตนเองของครอบครวั ชุมชนและระหว่างชุมชน

แนวขอ้ สอบ

1. เพราะเหตุใดเศรษฐกิจไทยในปัจจุบันจึงเกดิ ปญั หาความยากจนและการเหล่อื มล้ำทางรายได้ (o-net)

ก. มคี ่านิยมเลียนแบบตะวนั ตกมากขน้ึ ข. ประชาชนไม่สนใจรบั รู้ความร้ใู หม่ ๆ

ค. การประกอบอาชพี มีการแข่งขันมากขน้ึ ง. การเออื้ เฟื้อเผ่ือแผ่ชว่ ยเหลอื กนั ในชุมชนนอ้ ยลง

2. ขอ้ ใดไมใ่ ช่สาเหตุสำคัญทท่ี ำให้เกิดปญั หาเศรษฐกิจในชุมชนของประเทศไทย (สามญั )

ก. การกระจายรายไดเ้ หล่ือมล้ำ ข. การขาดแคลนปัจจัยการผลิต

ค. การพฒั นาเศรษฐกจิ อย่างไมส่ มดลุ ง. การขาดแคลนบรกิ ารสาธารณูปโภค

จ. การเพ่ิมขน้ึ ของประชากรในอัตราสูง

3. ข้อใด ไมใ่ ช่ สาเหตุที่ทำให้คนในชมุ ชนตกอยู่ในสภาวะปัญหาของความยากจน
ก. ปัญหาการกยู้ ืมสนิ จากนายทนุ นอกระบบ ข. ปัญหาความแตกตา่ งของการลงทุนขนาดใหญ่
ค. ปญั หาพชื ผลทางการเกษตรมรี าคาตกต่ำ ง. ปญั หาการถกู ยึดทดี่ ินทำกนิ จากนายทนุ

4. ขอ้ ใด คอื นโยบายการมงุ่ เนน้ ใหเ้ กิดการพฒั นาอย่างยง่ั ยืนในชมุ ชน
ก. ปัญหาการกยู้ มื สินจากนายทนุ นอกระบบ ข. ปญั หาความแตกต่างของการลงทุนขนาดใหญ่
ค. ปญั หาพชื ผลทางการเกษตรมีราคาตกตำ่ ง. ปัญหาการถกู ยดึ ที่ดนิ ทำกนิ จากนายทุน

5. ขอ้ ใด ทจ่ี ะเปน็ แนวทางในการช่วยให้คนในชุมชนไม่ใหป้ ระสบกับปัญหาทางเศรษฐกจิ
ก. นำหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใชใ้ นการดำรงชวี ิต
ข. นำเทคโนโลยีสมยั ใหม่ท่ีไมค่ ้นุ เคยมาใช้กบั การเกษตร
ค. นำหลกั การลงทุนของเอกชนมาใชล้ งทุนทมี่ ีขนาดใหญ่
ง. นำความเป็นอยแู่ บบชาตติ ะวันตกมาใช้

6. ปัญหาทางเศรษฐกจิ ในชุมชน คือขอ้ ใด
ก. ปญั หาที่เกยี่ วข้องกบั ชวี ิตความเป็นอยขู่ องคนในประเทศ
ข. ปญั หาระบบการผลิตการแลกเปล่ียนการวิภาคของชมุ ชน
ค. ปัญหาการจดั สรรทรัพยากรทีเ่ พียงพอกับชมุ ชน
ง. ปัญหานกั ท่องเท่ยี วทม่ี าเทีย่ วในชุมชนจำนวนมาก

7. ขอ้ ใด ไม่ใช่ ยทุ ธศาสตร์การปรบั โครงสรา้ งเศรษฐกิจสูก่ ารเติบโตอยา่ งมีคุณภาพและยงั่ ยืน
ก. การพฒั นาวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี วจิ ัย และนวตั กรรม
ข. การส่งเสริมการเรยี นรตู้ ลอดชีวติ และสรา้ งความเขม้ แข็งของสถาบนั ทางสังคม
ค. การบริหารจัดการเศรษฐกจิ สว่ นรวมอยา่ งมเี สถียรภาพ
ง. การพัฒนาขดี ความสามารถในการแข่งขนั ที่มปี ระสิทธิภาพ เท่าเทียม และเป็นธรรม

8. ข้อใด คือ แนวปฏิบตั ใิ นการพัฒนาเศรษฐกจิ ในชุมชน
ก. สร้างศูนยก์ ารเรยี นรู้ทสี่ นบั สนนุ ใหธ้ รุ กิจฝา่ ยเอกชนมรี ายได้เพิ่มข้นึ การพฒั นาวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจยั และ
นวัตกรรม
ข. พฒั นาระบบตลาดของประเทศให้กวา้ งขวางมายง่ิ ข้นึ
ค. ลดการสร้างกลุ่มในชมุ ชน เช่น กลุ่มอาชพี กลมุ่ ออมทรัพย์
ง. พัฒนากิจกรรมเก่ยี วกับการศึกษา วฒั นธรรม สาธารณสุข และสงิ่ แวดล้อม


Click to View FlipBook Version