The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ระบบประกันคุณภาพภายในใหม่ 3 มาตรฐาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by minepantip, 2019-06-14 04:41:31

ระบบประกันคุณภาพภายในใหม่ 3 มาตรฐาน

ระบบประกันคุณภาพภายในใหม่ 3 มาตรฐาน

แนวทาง

การประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
ระดับปฐมวัย

ระดบั การศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน
และระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐาน

ศูนยการศึกษาพิเศษ

สาํ นักทดสอบทางการศกึ ษา
สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน

แนวทางการประเมินคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษา
ระดบั ปฐมวัย ระดับการศึกษาขนั้ พื้นฐาน
และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานศูนยการศึกษาพิเศษ

ปทีพ่ มิ พ พ.ศ. ๒๕๖๑
จาํ นวนพิมพ ๑๐,๐๐๐ เลม
พิมพท ี่ โรงพมิ พช มุ นมุ สหกรณก ารเกษตรแหง ประเทศไทย จาํ กดั

๗๙ ถนนงามวงศวาน แขวงลาดยาว เขตจตจุ กั ร
กรุงเทพมหานคร ๑๐๙๐๐
โทร. ๐-๒๕๖๑-๔๕๖๗ โทรสาร ๐-๒๕๗๙-๕๑๐๑
นายโชคดี ออสุวรรณ ผูพมิ พผโู ฆษณา

คาํ นํา

การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาถูกพัฒนาข้ึน
เพ่ือใหเกิดความมั่นใจแกทุกฝายวาการจัดการศึกษาทุกระดับมีคุณภาพ
และจะคงรักษาไวซ่ึงมาตรฐาน กระทรวงศึกษาธิการจึงใหมีการปฏิรูป
ระบบการประเมินและการประกันคุณภาพการศึกษา โดยมีนโยบาย
ปรับปรุงมาตรฐานและตัวชี้วัดใหมีจํานวนนอยลง กระชับและสะทอนถึง
คณุ ภาพอยา งแทจ รงิ เนน การประเมนิ ตามสภาพจรงิ ไมย งุ ยาก สรา งมาตรฐาน
ระบบการประเมิน เพื่อลดภาระการจัดเก็บขอมูล ลดการจัดทําเอกสาร
ท่ีใชในการประเมิน รวมท้ังพัฒนาผูประเมินภายในใหมีมาตรฐาน
มีความนาเช่ือถือ สามารถใหคําช้ีแนะและใหคําปรึกษาแกสถานศึกษาได

มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานท่ีปรับใหมจึงมีจํานวนไมมาก
แนวทางการประเมินคุณภาพของสถานศึกษาจะเนนการเก็บขอมูล
ในเชิงคุณภาพตามบริบทของสถานศึกษา ไมเพ่ิมภาระการจัดทําเอกสาร
ใหส ถานศกึ ษา รวมทง้ั พฒั นาผปู ระเมนิ ภายในใหม มี าตรฐาน มคี วามนา เชอ่ื ถอื
สามารถใหค าํ ชแ้ี นะและใหค าํ ปรกึ ษาแกส ถานศกึ ษาได ปรบั กระบวนทศั น
ในการประเมนิ ทมี่ เี ปา หมายเพอ่ื พฒั นา (evaluation and development)
บนพื้นฐานบริบทของสถานศึกษา มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
จึงเปนจุดเร่ิมตนของการพัฒนาทุนมนุษยและเปนเปาหมายสําคัญท่ีสุด
ท่ีผูมีสวนเก่ียวของทุกฝายทุกคนในสถานศึกษาตองรับรู และปฏิบัติงาน
ในหนาท่ีท่ีรับผิดชอบใหบรรลุถึงเปาหมายคือมาตรฐานท่ีสถานศึกษา
กํ า ห น ด แ ล ะ ร ว ม รั บ ผิ ด ช อ บ ต อ ผ ล ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ที่ เ กิ ด ขึ้ น
(accountability)

เอกสารเลมน้ี จัดทําข้ึนตามกรอบกฎกระทรวงการ
ประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ นโยบายปฏิรูประบบ
การประเมนิ และประกนั คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา และประกาศ
มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน และ
ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานศูนยการศึกษาพิเศษ พ.ศ. ๒๕๖๑ สําหรับ
ใหสถานศึกษาใชเปนแนวทางดําเนินงาน เพ่ือการประกันคุณภาพภายใน
ของสถานศึกษา และเตรียมการสําหรับการประเมินคุณภาพภายนอก
ซึ่งจะทําใหเกิดความม่ันใจแกผูมีสวนเกี่ยวของทุกฝายวาการจัดการศึกษา
ของสถานศึกษามีคุณภาพ ไดมาตรฐาน และคงรักษาไวซึ่งมาตรฐาน
จากการดําเนนิ งานประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน หวังวา
สถานศึกษาทุกสังกัดที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน จะไดรับประโยชนจาก
การศึกษาเอกสารเลมน้ี ใชเปนแนวทางในการดําเนินการกําหนดกรอบ
และแนวทางในการตรวจสอบและประเมนิ คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา
ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา
สเู ปาหมายตามมาตรฐานทีส่ ถานศกึ ษากําหนด ทงั้ นี้ ขอขอบคุณผบู รหิ าร
ครูอาจารย ศึกษานิเทศก และผูทรงคุณวุฒิทุกทานที่มีสวนรวมในการ
จัดทําเอกสารเลมนี้ใหสมบูรณ สามารถนําไปปฏิบัติงานไดอยางมี
ประสิทธิภาพและประสทิ ธิผลตอ ไป

(นายบญุ รักษ ยอดเพชร)
เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน

สารบญั

สวนที่ ๑ บทนํา หนา
สวนที่ ๒ มาตรฐานการศึกษา คําอธบิ าย และระดับคุณภาพ ๑
๑๑
... มาตรฐานการศกึ ษาระดบั ปฐมวัย ๑๒
... มาตรฐานการศกึ ษาระดับการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน ๒๕
... มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน ๔๒
๖๐
ศนู ยการศกึ ษาพเิ ศษ ๖๗
สวนที่ ๓ แนวทางการประเมนิ คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา ๗๑

… บทบาทหนาทข่ี องหนวยงานทีเ่ กี่ยวขอ ง ๗๒
ภาคผนวก ๘๓
๙๒
…ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร
เร่ือง ใหใ ชมาตรฐานการศกึ ษาระดับปฐมวัย
ระดับการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน
และระดับการศึกษาข้นั พ้นื ฐานศนู ยก ารศึกษาพิเศษ

… ประกาศกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศกึ ษา
พ.ศ. ๒๕๖๑

คณะทํางาน



สว นที่ ๑

บทนาํ

การศึกษาเปนกระบวนการท่ีทําใหคนมีความรูและคุณสมบัติ
ตา ง ๆ ทช่ี ว ยใหค นนนั้ อยรู อดในโลกได เปน ประโยชนต อ ตนเอง ครอบครวั
และสังคมสวนรวม (สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี,
๒๕๔๕) คณุ ภาพการศกึ ษาจึงสะทอ นถึงคณุ ภาพคนทีเ่ ปนผลผลิตของการ
จดั การศกึ ษา ในบริบทของสังคมไทยปจจบุ นั รูปแบบการศกึ ษาสวนใหญ
จะเปนการศึกษาในระบบ ดังนั้น สถานศึกษาจึงเปนหนวยงานหลัก
ทีม่ ีหนา ที่ในการจัดการศกึ ษา โดยเฉพาะในระดับการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน

ในสถานการณปจจุบันสถานศึกษาสวนใหญ ยังมีความ
เหลื่อมล้ําแตกตางกัน ท้ังในดานงบประมาณ คุณภาพ บุคลากร หรือ
แมแตปจจัยดานผูเรียน รวมท้ังปจจัยเอื้ออ่ืน ๆ เชน ความรวมมือของ
คณะกรรมการสถานศกึ ษา การสนบั สนนุ จากชมุ ชน หนว ยงานหรอื องคก ร
ที่อยูใกลเคียงสถานศึกษา และการติดตามชวยเหลืออยางใกลชิดจาก
สาํ นักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาหรอื หนว ยงานตนสังกดั สิง่ เหลานีล้ ว นสง ผล
กระทบตอคุณภาพการจัดการศึกษา อีกทั้ง ปจจุบันสถานศึกษามีอิสระ
ในการบริหารจัดการศึกษาดวยตนเอง มีการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
ตามบริบทและความตองการของตนเอง คุณภาพผูเรียนและคุณภาพ
ในการบริหารจัดการจึงมีความแตกตางกัน พระราชบัญญัติการศึกษา
แหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕
จึงกําหนดใหหนวยงานตนสังกัดและสถานศึกษาจัดใหมีระบบการประกัน
คุณภาพภายในของสถานศึกษา อันนําไปสูการกําหนดใหมีมาตรฐาน

1

การศึกษาขั้นพื้นฐานข้ึน ประกอบกับไดมีการประกาศใชกฎกระทรวง
การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ และกระทรวงศึกษาธิการ
มีการประกาศใหใชมาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย ระดับการศึกษา
ข้ันพื้นฐาน และระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานศูนยการศึกษาพิเศษ
พ.ศ. ๒๕๖๑ ลงวันที่ ๖ สิงหาคม ๒๕๖๑ สําหรับใหสถานศึกษา
ใชเปน แนวทางดาํ เนินงานเพ่อื การประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษา
และเตรียมการสําหรับการประเมินคุณภาพภายนอก ซ่ึงจะทําใหเกิด
ความมนั่ ใจแกผ มู สี ว นเกยี่ วขอ งทกุ ฝา ยวา การจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา
มีคุณภาพ ไดมาตรฐาน และคงรักษาไวซึ่งมาตรฐานจากการดําเนินงาน
ประกันคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา

ความสําคัญและความจําเปนในการกําหนดมาตรฐาน
การศึกษา

มาตรฐานการศึกษาเปนขอกําหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ
และคุณภาพท่ีพึงประสงคท่ีตองการใหเกิดข้ึนในสถานศึกษาทุกแหง
มาตรฐานถูกกําหนดขึ้นเพื่อใชเปนหลักเทียบเคียงสําหรับการสงเสริม
และกํากับดูแล การตรวจสอบ การประเมินผลและการประกันคุณภาพ
การศึกษา (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน, ๒๕๔๘)
มาตรฐานในบรบิ ทนจ้ี งึ เปน มาตรฐานทมี่ งุ เนน การพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา
โดยองคร วมการกาํ หนดใหม มี าตรฐานการศกึ ษาทาํ ใหเ กดิ โอกาสทเ่ี ทา เทยี มกนั
ในการพัฒนาคุณภาพเพราะสถานศึกษาทุกแหงรูวาเปาหมายการพัฒนา
ท่ีแทจริงอยูท่ีใด การกําหนดใหมีมาตรฐานการศึกษาจึงเปนการใหความ
สาํ คญั กบั การจดั การศกึ ษา ๒ ประการ ไดแ ก ๑) สถานศกึ ษาทกุ แหง มเี กณฑ
เปรียบเทียบกับมาตรฐานซ่ึงเปนมาตรฐานเดียวกัน ๒) มาตรฐานทําให

2

สถานศึกษาเขาใจชัดเจนวาจะพัฒนาคุณภาพการศึกษาไปในทิศทางใด
นอกจากนี้ การกาํ หนดมาตรฐานยงั เปน การกาํ หนดความคาดหวงั ทชี่ ดั เจน
ใหกับครู ผูบริหาร พอแม ผูปกครอง ชุมชนและหนวยงานตาง ๆ ที่มี
สวนเก่ียวของในการจัดการศึกษา ซ่ึงเปนแนวทางหน่ึงในการรวมมือ
รวมพลัง เพ่ือใหเกดิ คณุ ภาพการศกึ ษาตามเปา หมายท่กี ําหนด มาตรฐาน
การศึกษาจึงเปนจุดเร่ิมตนของการพัฒนาทุนมนุษยและเปนเปาหมาย
สําคัญท่ีสุดท่ีผูมีสวนเก่ียวของทุกฝาย ทุกคนตองรับรูและปฏิบัติงาน
ในหนาท่ีที่รับผิดชอบใหบรรลุถึงเปาหมายตามมาตรฐานการศึกษา
ทก่ี าํ หนดและรว มรบั ผดิ ชอบตอ ผลการจดั การศกึ ษาทเ่ี กดิ ขน้ึ (accountability)

มาตรฐานการศกึ ษามีประโยชนตอ บคุ คลท่เี ก่ยี วของ ดงั นี้
๑. ผูเรียน ทําใหเกิดการปรับปรุงและพัฒนาตนเองตาม
ความคาดหวังของสังคมและประเทศชาติวาตองการคนท่ีมีคุณลักษณะ
ท่พี ึงประสงคอ ยางไร จะทําอยา งไรจึงจะเปนผูมีคุณสมบัตติ ามทมี่ าตรฐาน
การศกึ ษากําหนด
๒. ครู ใชมาตรฐานเปนกรอบแนวทางในการออกแบบ
การเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ และเปนแนวทางในการพัฒนา
ตนเองตามคณุ ลกั ษณะและคณุ สมบตั ติ ามมาตรฐานทกี่ าํ หนด เพอ่ื ใหผ เู รยี น
มคี ุณภาพตามท่มี าตรฐานกําหนดไว
๓. ทองถ่ินและสถานศึกษา ใชมาตรฐานเปนแนวทาง
รวมมือกันในการจัดการศกึ ษาใหบรรลุเปาหมายตามท่ีตง้ั ไว
๔. พอ แมผ ปู กครอง ประชาชนและผนู าํ ชมุ ชน ใชม าตรฐาน
เปนเครื่องมือส่ือสารใหประชาชนไดรับทราบกระบวนการจัดการศึกษา
การจัดการเรียนการสอนที่จะทําใหคนไทยในทองถ่ินเขาใจและเขามา
มีสวนรวม เพื่อใหการจัดการศึกษาชวยยกระดับคุณภาพผูเรียนใหได
ตามมาตรฐานทก่ี ําหนด

3

๕. ประเทศชาติ ใชม าตรฐานเปน เครอื่ งมอื ทท่ี าํ ใหท กุ องคก ร
ประกอบของระบบการศกึ ษาขบั เคลอื่ นไปพรอ ม ๆ กนั สเู ปา หมายเดยี วกนั
และทําใหเ กิดภาพการจดั การศกึ ษาท่มี คี วามหมาย

แนวคิดในการกําหนดมาตรฐานการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน

จากการศึกษางานวิจัย บทความ บทสัมภาษณผูนําทาง
การศกึ ษา ผบู รหิ ารดเี ดน ตลอดจนการแสดงความคดิ เหน็ ของกลมุ บุคคล
ทั่วไป สรุปไดวา สถานศึกษาท่ีจัดการศึกษาไดอยางมีประสิทธิภาพ
มีสิ่งสําคัญท่ีบงบอกไดอยางชัดเจนหลายประการ ไดแก มีการกําหนด
ภารกิจของสถานศึกษาที่ชัดเจน มีการกํากับติดตามงานสมํ่าเสมอ
ความสัมพันธระหวางสถานศึกษาบานและชุมชนมีความใกลชิดและ
ไววางใจกัน มีการต้ังความคาดหวังของผลสําเร็จไวสูง มีความเปนผูนํา
ดา นการจดั การเรยี นรอู ยา งมอื อาชพี ทง้ั ครแู ละผบู รหิ าร มกี ารสรา งโอกาส
ในการเรยี นรแู ละใหเ วลาผเู รยี นในการทํางานกลมุ มากขึ้น จดั สิ่งแวดลอม
ทจ่ี าํ เปน อยา งมีระเบยี บ สะอาด และปลอดภัย มีการจัดหลกั สูตรทช่ี ดั เจน
สอดคลอ งกบั เปา หมาย ใชกลวิธใี นการประเมินทีห่ ลากหลาย จัดการเรยี น
การสอนท่ีกระตุนใหผูเรียนมีความสนใจ กระตือรือรนในการที่จะเรียนรู
จัดบรรยากาศที่สงเสริมความเปนเลิศทางวิชาการ ขจัดส่ิงท่ีเปนอุปสรรค
สําหรับความสัมพันธกับผูปกครองและชุมชน พัฒนางานอยูบนพ้ืนฐาน
ของการวิจัย ใชแหลงเรียนรูท่ีมีอยูอยางเต็มท่ีและวางแผนงานอยางมี
ประสทิ ธภิ าพ จากแนวคดิ ในการจดั การศกึ ษาและพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา
ดังกลาว ประกอบกบั แนวคดิ ในการพฒั นามาตรฐานการศึกษาขัน้ พื้นฐาน
วาตองเปนมาตรฐานทปี่ ฏบิ ัติงา ย ประเมินไดจรงิ กระชบั และจํานวนนอย
แตสามารถสะทอนคุณภาพการศึกษาไดจริง ขอมูลที่ไดเกิดประโยชน
ในการพัฒนาการศกึ ษาทกุ ระดบั ตัง้ แตร ะดบั สถานศึกษา ระดับเขตพ้นื ท่ี

4

การศึกษา ระดับหนวยงานตนสังกัดและระดับชาติ ดังนั้นการกําหนด
มาตรฐานจึงเนนท่ีคุณภาพของผูเรียน คุณภาพของกระบวนการบริหาร
และการจัดการและคุณภาพของกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เนน
ผเู รียนเปนสําคญั โดยมีแนวคดิ ในการกาํ หนดมาตรฐานในดานตาง ๆ ดังน้ี

๑. แนวคดิ ในการกาํ หนดมาตรฐานดา นคณุ ภาพของผเู รยี น
คุณภาพผูเรียนท่ีสังคมตองการ ไดระบุไวอยางชัดเจน

ในพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แกไขเพ่ิมเติม
(ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๖ ที่วา “การจัดการศึกษาตองเปนไป
เพ่ือพัฒนาคนไทยใหเปนมนุษยที่สมบูรณท้ังรางกาย จิตใจ (หมายถึง
สุขกาย สุขใจ) สติปญญา ความรู (หมายถึง เปนคนเกง) และคุณธรรม
มจี รยิ ธรรมและวฒั นธรรมในการดาํ รงชวี ติ สามารถอยรู ว มกบั ผอู นื่ ไดอ ยา ง
มคี วามสขุ (หมายถงึ เปน คนดีของคนรอบขา งและสังคม)” และในมาตรา
๗ ท่ีวา “ในกระบวนการเรียนรูตองมุงปลูกฝงจิตสํานึกท่ีถูกตองเก่ียวกับ
การเมือง การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย
ทรงเปน ประมขุ รจู กั รกั ษาและสง เสรมิ สทิ ธิ หนา ที่ เสรภี าพ เคารพกฎหมาย
ความเสมอภาคและศกั ดศ์ิ รคี วามเปน มนษุ ย มคี วามภมู ใิ จในความเปน ไทย
รูจักรักษาผลประโยชนสวนรวมและของประเทศชาติ รวมทั้ง สงเสริม
ศาสนา ศลิ ปะ วฒั นธรรมของชาติ การกฬี า ภมู ปิ ญ ญาทอ งถน่ิ ภมู ปิ ญ ญาไทย
และความรูอันเปนสากล ตลอดจนอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ และ
สิง่ แวดลอ ม มีความสามารถในการประกอบอาชพี รจู ักพง่ึ ตนเอง มคี วาม
คิดรเิ รมิ่ สรางสรรค ใฝร ูและเรียนรู ดวยตนเองอยางตอ เน่อื ง” นอกจากน้ี
เพ่ือใหกาวทันกระแสการเปลี่ยนแปลงในยุคท่ีความรูและเทคโนโลยี
เจริญข้นึ อยางรวดเร็ว กระทรวงศึกษาธิการในยคุ ของการปฏริ ูปการศกึ ษา
ในทศวรรษที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๕๒-๒๕๖๑) ไดประกาศวิสัยทัศนเก่ียวกับ
คนไทยยคุ ใหมว า คนไทยยคุ ใหมต อ งไดเ รยี นรตู ลอดชวี ติ มสี ตริ ทู นั มปี ญ ญา

5

รูคิด มีสมรรถนะและมีคุณธรรม รับผิดชอบตอครอบครัว ประเทศชาติ
และเปนพลเมืองท่ีดีของโลก ซ่ึงสอดรับกับจุดมุงหมายของหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ทไ่ี ดมุง พฒั นาผูเรียน
ใหเปนคนดี มีปญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาตอและ
การประกอบอาชีพ ดังนั้น ในการกําหนดมาตรฐานการศึกษาระดับ
การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน ดา นคณุ ภาพของผเู รยี น จงึ มงุ เนน ทกี่ ารพฒั นาผเู รยี น
ใหเปนมนุษยที่สมบูรณ โดยไดกําหนดมาตรฐานการศึกษายอย จํานวน
๒ ดาน ไดแ ก ๑) ดา นผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน และ ๒) ดานคณุ ลกั ษณะ
ที่พึงประสงคของผูเรียน ดานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน มุงเนนคุณภาพ
มาตรฐานขัน้ ตน ในระดับ “ปานกลาง” ทกี่ ารมีความสามารถในการอา น
การเขยี น การสอ่ื สารและการคดิ คาํ นวณ รวมทง้ั การมผี ลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น
ตามหลักสตู รสถานศกึ ษา สว นคุณภาพมาตรฐานข้ันสงู ไดแก ระดบั “ด”ี
“ดีเลิศ” และ “ยอดเย่ียม” จะมุงเนนไปที่คุณภาพมาตรฐานใน
ระดับท่ีแตกตางกันในเรื่อง การมีความสามารถในการคิดวิเคราะห
คิดอยางมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ียนความคิดและการแกปญหา
การมีความสามารถในการสรางนวัตกรรม การมีความสามารถในการใช
เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร และการมีความรู ทักษะพื้นฐาน
และเจตคติท่ีดีตองานอาชีพ สําหรับดานคุณลักษณะที่พึงประสงคของ
ผูเรยี น มงุ เนนคุณภาพมาตรฐานขั้นพื้นฐานในระดับ “ปานกลาง” ท่ีการมี
คุณลักษณะและคานิยมท่ีดีตามที่สถานศึกษากําหนด และการมีสุขภาวะ
ทางรางกายและจิตสังคม สว นคณุ ภาพมาตรฐานข้นั สูง ไดแก ระดับ “ดี”
“ดีเลิศ” และ “ยอดเยี่ยม” จะมุงเนนไปที่คุณภาพมาตรฐานในระดับ
ที่แตกตางกันในเรื่อง ความภูมิใจในทองถ่ินและความเปนไทย รวมท้ัง
การยอมรบั ท่จี ะอยรู ว มกนั บนความแตกตางและหลากหลาย
6

๒. แนวคดิ ในการกาํ หนดมาตรฐานดา นกระบวนการบรหิ าร
และการจัดการ

การจัดการศึกษาของสถานศึกษามีองคประกอบที่สําคัญ
๔ ดาน ไดแก ดานการบริหารคุณภาพของสถานศึกษา ดานการบริหาร
หลกั สตู รและงานวชิ าการของสถานศกึ ษา ดา นการพฒั นาครแู ละบคุ ลากร
และดานการจัดสภาพแวดลอมและการบริการ ดานการบริหารคุณภาพ
ของสถานศึกษา เนนที่การบริหารจัดการคุณภาพโดยรวม โดยให
ความสาํ คญั กบั การกาํ หนดเปา หมายวสิ ยั ทศั นแ ละพนั ธกจิ ของสถานศกึ ษา
รวมทั้งระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาที่มีประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผล ดานการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการของสถานศึกษา
หลักสูตรสถานศึกษาจะเปนตัวสะทอนคุณภาพของผูสําเร็จการศึกษา
ไดเ ปน อยา งดี มหี ลกั สตู รสถานศกึ ษาจะมกี ารกาํ หนดจดุ มงุ หมาย แนวทาง
วธิ กี ารและเนอื้ หาสาระทเ่ี รยี น ตลอดจนวธิ กี ารวดั และประเมนิ ผลการเรยี น
การสอนในสถานศึกษา ซ่ึงจะสะทอนวาผูเรียนมีความรูความสามารถ
เจตคติ และพฤติกรรมตามมาตรฐานการศึกษาที่สถานศึกษากําหนดไว
หรือไม หลักสูตรท่ีดีควรคํานึงถึงบริบทของผูเรียน ทองถ่ินและชุมชน
มกี ารบรู ณาการสาระการเรยี นรู หรอื จดั ทาํ รายวชิ าเพมิ่ เตมิ ทสี่ อดคลอ งกบั
ความถนดั ความสามารถและความสนใจของผเู รยี นและจดั กจิ กรรมพฒั นา
ผูเรียนที่สงเสริมศักยภาพของผูเรียนตามขีดความสามารถทําใหผูเรียน
มีความสมบูรณและสมดุลท้ังทางรางกาย สังคม อารมณ จิตใจและสติ
ปญญา ดานการพัฒนาครแู ละบุคลากร ครูและบคุ ลากรเปนปจจัยสาํ คญั
ท่ีชวยใหการจัดการศึกษาเกิดคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาที่กําหนด
การพัฒนาครูและบุคลากร เนนไปท่ีความเช่ียวชาญทางวิชาชีพซึ่งตองมี
การพัฒนาที่ตรงตามความตองการจําเปนอยางตอเน่ือง ท้ังในสวนของ

7

บุคคลและการแลกเปล่ียนเรียนรูในรูปแบบของการสรางชุมชนการเรียนรู
ทางวิชาชีพ ดานการจัดสภาพแวดลอมและการบริการ สภาพแวดลอม
และการบรกิ ารทด่ี เี ปน ปจ จยั สาํ คญั ตอ การพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษา
สถานศึกษาท่ีมีหองเรียน หองปฏิบัติการ อาคารเรียนที่มั่นคง สะอาด
มีแหลงเรียนรูที่เพียงพอ มีการจัดสภาพแวดลอมทางกายภาพและสังคม
ที่เอื้อตอการจัดการเรียนรู ตลอดจนมีการจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
เพ่ือสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรูที่มีคุณภาพ
ทําใหผูเรียนดําเนินชีวิตอยูในสถานศึกษาไดอยางมีความสุข ปลอดภัย
มีคุณภาพชีวิตที่ดี ซ่ึงจะสงผลถึงความสําเร็จในการเรียนของผูเรียน
ดวยมาตรฐานดานกระบวนการบริหารและการจัดการ มุงเนนคุณภาพ
มาตรฐานขนั้ ตน ในระดับ “ปานกลาง” ที่เปา หมายวสิ ยั ทศั นแ ละพนั ธกจิ
ที่สถานศึกษากําหนดและระบบบริหารจัดการคุณภาพสถานศึกษา
สว นคณุ ภาพมาตรฐานขนั้ สงู ไดแ ก ระดบั “ด”ี “ดเี ลศิ ” และ “ยอดเยย่ี ม”
จะมงุ เนน ไปทค่ี ณุ ภาพมาตรฐานในระดบั ทแ่ี ตกตา งกนั ในเรอ่ื งการดาํ เนนิ การ
พัฒนาวิชาการ การพัฒนาครูและบุคลากร การจัดสภาพแวดลอม
ทางกายภาพและสังคม รวมทั้งการจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของ
สถานศกึ ษา

๓. แนวคิดในการกําหนดมาตรฐานดานกระบวนการจัด
การเรยี นการสอนท่ีเนน ผเู รียนเปน สาํ คัญ

การจัดการเรียนการสอนเปนกลไกสําคัญในการพัฒนา
คุณภาพผูเรียนซ่ึงจะบงบอกถึงคุณภาพการจัดการศึกษา ในปจจุบัน
การจัดการเรียนการสอนท่ียอมรับกันวาสงเสริมใหผูเรียนเกิดการเรียนรู
ไดอ ยา งแทจ รงิ เปน การจดั การเรยี นการสอนทเี่ นน ผเู รยี นเปน สาํ คญั ซง่ึ เนน
ทีก่ ารปฏิบัติ (active learning) เพือ่ ใหผ เู รียนเรยี นรผู านกระบวนการคดิ
8

และการปฏบิ ตั ทิ น่ี าํ ไปสกู ารเรยี นรทู ลี่ กึ ซง้ึ และคงทน มาตรฐานดา นการจดั
การเรยี นการสอนทเ่ี นน ผเู รียนเปนสาํ คัญ มุง เนน คุณภาพมาตรฐานขัน้ ตน
ในระดับ “ปานกลาง” ที่การจัดการเรียนรูผานกระบวนการคิด และ
ปฏิบัติจริง รวมท้ังความสามารถในการนําไปประยุกตใชในชีวิต การใช
สือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลงเรยี นรทู ี่เอื้อตอการเรียนรู ตลอดจน
การตรวจสอบและประเมินผูเรยี นอยางเปน ระบบและการนาํ ผลมาพัฒนา
ผูเรียน สวนคุณภาพมาตรฐานขั้นสูง ไดแก ระดับ “ดี” “ดีเลิศ” และ
“ยอดเย่ียม” จะมุงเนนไปที่คุณภาพมาตรฐานในระดับท่ีแตกตางกัน
ในเร่ือง การบรหิ ารจดั การช้นั เรียนเชงิ บวก รวมท้ังการแลกเปล่ียนเรยี นรู
และใหขอมลู สะทอ นกลบั เพือ่ พฒั นาและปรบั ปรุงการจดั การเรยี นรู

วัตถุประสงคข องการจดั ทําเอกสาร

๑. เอกสารฉบบั นจ้ี ดั ทาํ ขน้ึ สาํ หรบั สถานศกึ ษาใชเ ปน แนวทาง
ดําเนินงานเพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาและเตรียม
การสําหรับการประเมินคุณภาพภายนอก ตามกรอบมาตรฐานการศึกษา
ระดบั ปฐมวัย ระดับการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน และระดับการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน
ศูนยการศึกษาพิเศษ ซึ่งจะทําใหเกิดความมั่นใจแกผูท่ีมีสวนเก่ียวของ
ทุกฝายวาการจัดการศึกษาของสถานศึกษามีคุณภาพไดมาตรฐาน และ
คงรักษาไวซึ่งมาตรฐานจากการดําเนินงานประกันคุณภาพภายใน
ของสถานศกึ ษา

๒. เอกสารฉบับนี้จัดทําเพื่อใหสถานศึกษาใชเปนแนวทาง
ในการกําหนดกรอบมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา เพื่อพัฒนา
คุณภาพการศึกษาสูเปาหมายตามมาตรฐานที่สถานศึกษากําหนด และใช
เปน แนวทางในการตรวจสอบและประเมนิ คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา

9

๓. โครงสรา งของเอกสารประกอบดว ย ๓ สวน คอื สวนที่ ๑
บทนํา สวนท่ี ๒ มาตรฐานการศกึ ษา คําอธิบาย และระดบั คณุ ภาพ และ
สว นที่ ๓ แนวทางการประเมินคุณภาพภายในของสถานศกึ ษา

๔. ใหสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานและหนวยงาน
ตน สงั กดั ดําเนินการใหผทู ่ีเกี่ยวขอ งทุกฝา ยมีความรูความเขาใจและปฏิบตั ิ
ตามหลักการของการประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา ดังน้ี

๔.๑ การประกันคุณภาพเปนหนาท่ีของบุคลากรทุกคน
ท่ตี อ งปฏบิ ัตงิ านตามภารกิจทแ่ี ตล ะคนไดร ับมอบหมาย

๔.๒ การประกนั คณุ ภาพมงุ พฒั นางานตามความรบั ผดิ ชอบ
ของตน ใหม คี ณุ ภาพดียง่ิ ขึน้ เพราะผลการพัฒนาของแตละคนก็คอื ผลรวม
ของการพฒั นาท้งั สถานศกึ ษา

๔.๓ การประกันคุณภาพเนนการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษา โดยใหเปนสวนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ตอง
ดาํ เนินการอยา งตอ เน่อื ง ไมใ ชท าํ เพอื่ เตรียมรับการประเมนิ เปน ครง้ั คราว
เทา นั้น

๔.๔ การประกันคุณภาพตองเกิดจากความรวมมือ
ของบุคลากรทุกฝายท่ีเก่ียวของไมสามารถวาจางหรือขอใหบุคคลอื่น ๆ
ดําเนนิ การแทนได

๔.๕ การประกันคุณภาพตองเกิดจากการยอมรับและ
นาํ ผลการประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาไปใชใ นการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา
ของสถานศึกษา
10

สว นที่ ๒

มาตรฐานการศกึ ษา คําอธิบาย
และระดบั คณุ ภาพ

การพฒั นามาตรฐานการศกึ ษา มแี นวคดิ วา ตอ งเปน มาตรฐาน
ที่สถานศึกษาปฏิบัติไดจริง ประเมินไดจริง กระชับ และจํานวนนอย
แตสามารถสะทอนบริบทของสถานศึกษาและคุณภาพการศึกษาไดจริง
ขอมูลที่ไดเกิดประโยชนในการพัฒนาการศึกษาทุกระดับ ตั้งแตระดับ
สถานศึกษา ระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ระดับหนวยงานตนสังกัด และ
ระดับชาติ ดังนั้น การกําหนดมาตรฐานการศึกษาจึงเนนที่คุณภาพ
ผเู รยี น คณุ ภาพผบู รหิ ารสถานศกึ ษา และคณุ ภาพครู มคี วามสอดคลอ งกบั
มาตรฐานการศกึ ษาชาติ และขอ กาํ หนดในกฎกระทรวงการประกนั คณุ ภาพ
การศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑

มาตรฐานการศึกษาในแตละระดับ กําหนดเกณฑการตัดสิน
คุณภาพของมาตรฐานมี ๕ ระดบั คอื ระดบั กําลงั พัฒนา ระดบั ปานกลาง
ระดับดี ระดับดีเลิศ และระดับยอดเยี่ยม รายละเอียดของมาตรฐาน
การศึกษาแตล ะระดบั ประเดน็ พจิ ารณา และระดับคณุ ภาพ ดงั นี้

11

...มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวยั

มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๖๑ มีจํานวน
๓ มาตรฐาน ไดแก

มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของเด็ก
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ
มาตรฐานที่ ๓ การจดั ประสบการณท ่ีเนนเด็กเปน สาํ คญั
รายละเอียดแตละมาตรฐาน มีดงั น้ี
มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของเด็ก
๑.๑ มพี ฒั นาการดา นรา งกาย แขง็ แรง มสี ขุ นสิ ยั ทดี่ ี และดแู ล
ความปลอดภัยของตนเองได
๑.๒ มพี ฒั นาการดานอารมณ จิตใจ ควบคมุ และแสดงออก
ทางอารมณไ ด
๑.๓ มพี ฒั นาการดา นสงั คม ชว ยเหลอื ตนเอง และเปน สมาชกิ
ทด่ี ีของสังคม
๑.๔ มีพัฒนาการดานสติปญญา สื่อสารได มีทักษะการคิด
พื้นฐาน และแสวงหาความรไู ด

12

คําอธบิ าย
มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของเด็ก
ผลพฒั นาการเด็กในดานรา งกาย อารมณ จิตใจ สงั คม และ

สติปญญา
๑.๑ มีพัฒนาการดานรางกาย แข็งแรง มีสขุ นสิ ัยทด่ี ี และ

ดูแลความปลอดภัยของตนเองได
เด็กมนี ํา้ หนกั สว นสงู ตามเกณฑม าตรฐาน เคล่อื นไหว

รางกายคลองแคลว ทรงตัวไดดี ใชมือและตาประสานสัมพันธไดดี ดูแล
รกั ษาสขุ ภาพอนามยั สว นตนและปฏบิ ตั จิ นเปน นสิ ยั ปฏบิ ตั ติ นตามขอ ตกลง
เกี่ยวกับความปลอดภัย หลีกเล่ียงสภาวะท่ีเส่ียงตอโรค สิ่งเสพติด และ
ระวังภัยจากบุคคล สิ่งแวดลอ ม และสถานการณท ี่เสย่ี งอันตราย

๑.๒ มพี ฒั นาการดา นอารมณ จติ ใจ ควบคมุ และแสดงออก
ทางอารมณไ ด

เด็กราเริงแจมใส แสดงอารมณความรูสึกไดเหมาะสม
รูจักยับย้ังชั่งใจ อดทนในการรอคอย ยอมรับและพอใจในความสามารถ
และผลงานของตนเองและผูอื่น มีจิตสํานึกและคานิยมท่ีดี มีความมั่นใจ
กลาพดู กลาแสดงออก ชว ยเหลือแบงปน เคารพสิทธิ รูห นาทีร่ ับผดิ ชอบ
อดทนอดกลน้ั ซอ่ื สตั ยส จุ รติ มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรมตามทส่ี ถานศกึ ษากาํ หนด
ชืน่ ชมและมีความสขุ กับศลิ ปะ ดนตรี และการเคลอ่ื นไหว

13

๑.๓ มีพัฒนาการดานสังคม ชวยเหลือตนเอง และเปน
สมาชิกที่ดขี องสงั คม

เด็กชวยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจําวัน
มีวินัยในตนเอง ประหยัดและพอเพียง มีสวนรวมดูแลรักษาสิ่งแวดลอม
ในและนอกหอ งเรียน มมี ารยาทตามวัฒนธรรมไทย เชน การไหว การย้มิ
ทักทาย และมีสัมมาคารวะกับผูใหญ เปนตน ยอมรับหรือเคารพความ
แตกตางระหวางบุคคล เชน ความคิด พฤติกรรม พ้ืนฐานครอบครัว
เชอื้ ชาติ ศาสนา วัฒนธรรม เปนตน เลน และทาํ งานรว มกบั ผอู ่ืนได แกไข
ขอขัดแยง โดยปราศจากการใชความรนุ แรง

๑.๔ มพี ฒั นาการดา นสตปิ ญ ญา สอื่ สารได มที กั ษะการคดิ
พื้นฐาน และแสวงหาความรูได

เดก็ สนทนาโตต อบและเลา เรอื่ งใหผ อู นื่ เขา ใจ ตงั้ คาํ ถาม
ในสิ่งที่ตนเองสนใจหรือสงสัย และพยายามคนหาคําตอบ อานนิทาน
และเลาเรื่องที่ตนเองอานไดเหมาะสมกับวัย มีความสามารถในการคิด
รวบยอด การคิดเชิงเหตุผลทางคณิตศาสตรและวิทยาศาสตร การคิด
แกปญหาและสามารถตัดสินใจในเร่ืองงาย ๆ ได สรางสรรคผลงาน
ตามความคิดและจินตนาการ เชน งานศิลปะ การเคลื่อนไหวทาทาง
การเลนอิสระ เปนตน และใชส่ือเทคโนโลยี เชน แวนขยาย แมเหล็ก
กลอ งดจิ ิตอล เปน ตน เปนเคร่ืองมือในการเรยี นรแู ละแสวงหาความรไู ด
14

การใหระดบั คณุ ภาพ

ระดับคณุ ภาพ ประเด็นพจิ ารณา

กาํ ลงั พัฒนา ◆ มพี ฒั นาการดา นรา งกาย อารมณ จติ ใจ สงั คมและสตปิ ญ ญา
ปานกลาง ยงั ไมบ รรลุตามเปาหมายที่สถานศึกษากําหนดทุกดาน

ดี ◆ มพี ฒั นาการดา นรา งกาย อารมณ จติ ใจ สงั คมและสตปิ ญ ญา
ดเี ลิศ ยงั ไมบ รรลตุ ามเปาหมายที่สถานศึกษากําหนดบางดา น
ยอดเย่ียม
◆ มพี ฒั นาการดา นรา งกาย อารมณ จติ ใจ สงั คม และสตปิ ญ ญา
บรรลตุ ามเปา หมายที่สถานศึกษากาํ หนด

◆ มพี ฒั นาการดา นรา งกาย อารมณ จติ ใจ สงั คม และสตปิ ญ ญา
บรรลตุ ามเปาหมายท่ีสถานศึกษากําหนด

◆ มพี ฒั นาการดา นรา งกาย อารมณ จติ ใจ สงั คมและสตปิ ญ ญา
บรรลุตามเปาหมายท่ีสถานศึกษากําหนด มีความพรอม
ในการศึกษาระดบั ประถมศึกษา

15

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
๒.๑ มหี ลักสตู รครอบคลุมพัฒนาการทัง้ ๔ ดา น สอดคลอง

กบั บรบิ ทของทองถน่ิ
๒.๒ จดั ครูใหเพียงพอกับชนั้ เรียน
๒.๓ สง เสรมิ ใหค รมู คี วามเชย่ี วชาญดา นการจดั ประสบการณ
๒.๔ จดั สภาพแวดลอ มและสอ่ื เพอ่ื การเรยี นรู อยา งปลอดภยั

และเพียงพอ
๒.๕ ใหบ รกิ ารสอื่ เทคโนโลยสี ารสนเทศและสอื่ การเรยี นรเู พอื่

สนับสนุนการจดั ประสบการณ
๒.๖ มรี ะบบบรหิ ารคณุ ภาพทเี่ ปด โอกาสใหผ เู กย่ี วขอ งทกุ ฝา ย

มสี วนรว ม
คาํ อธิบาย

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ
สถานศึกษาดําเนินการบริหารและจัดการสถานศึกษา
ท่ีครอบคลุมดานวิชาการ ดานครูและบุคลากรดานขอมูลสารสนเทศ
ดานสภาพแวดลอมและสอื่ เพอื่ การเรียนรู และดา นระบบประกันคณุ ภาพ
ภายใน โดยเปด โอกาสใหผเู กี่ยวของทุกฝายมีสวนรวมในการจดั การศึกษา
มีการกํากับติดตามการดําเนินงานอยางเปนระบบและตอเนื่อง เพ่ือสราง
ความมน่ั ใจตอคณุ ภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา

16

๒.๑ มหี ลกั สตู รครอบคลมุ พฒั นาการทงั้ ๔ ดา น สอดคลอ ง
กับบริบทของทองถิ่น

สถานศึกษามีหลักสูตรสถานศึกษาที่ยืดหยุน และ
สอดคลองกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย โดยสถานศึกษาออกแบบการ
จดั ประสบการณท ี่เตรียมความพรอมและไมเรง รัดวชิ าการ เนน การเรียนรู
ผานการเลนและการลงมือปฏิบัติ ตอบสนองความตองการและความ
แตกตางของเด็กปกติและกลุมเปาหมายเฉพาะ และสอดคลองกับวิถีชีวิต
ของครอบครัว ชุมชนและทอ งถิน่

๒.๒ จัดครใู หเ พียงพอกบั ช้ันเรยี น
สถานศึกษาจัดครูใหเหมาะสมกับภารกิจการเรียน

การสอนหรือจัดครูที่จบการศึกษาปฐมวัยหรือผานการอบรมการศึกษา
ปฐมวยั อยางพอเพยี งกบั ช้ันเรยี น

๒.๓ สงเสริมใหครูมีความเชี่ยวชาญดานการจัด
ประสบการณ

พัฒนาครูและบุคลากรใหมีความรูความสามารถ
ในการวิเคราะหและออกแบบหลักสูตรสถานศึกษา มีทักษะในการจัด
ประสบการณและการประเมินพัฒนาการเด็ก ใชประสบการณสําคัญ
ในการออกแบบการจัดกิจกรรม มีการสังเกตและประเมินพัฒนาการเด็ก
เปนรายบุคคล มปี ฏิสมั พันธท ดี่ กี บั เด็ก และครอบครวั

17

๒.๔ จัดสภาพแวดลอมและส่ือเพ่ือการเรียนรู อยาง
ปลอดภยั และเพยี งพอ

สถานศึกษาจัดสภาพแวดลอมภายในและภายนอก
หอ งเรยี นทคี่ าํ นงึ ถงึ ความปลอดภยั สง เสรมิ ใหเ กดิ การเรยี นรเู ปน รายบคุ คล
และกลุม เลนแบบรวมมือรวมใจ มีมุมประสบการณหลากหลาย มีส่ือ
การเรียนรู เชน ของเลน หนังสือนิทาน ส่ือจากธรรมชาติ สื่อสําหรับ
เด็กมุด ลอด ปนปา ย ส่อื เทคโนโลยี ส่อื เพอ่ื การสบื เสาะหาความรู

๒.๕ ใหบริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรู
เพื่อสนบั สนุนการจดั ประสบการณสําหรบั ครู

สถานศึกษาอํานวยความสะดวก และใหบริการส่ือ
เทคโนโลยสี ารสนเทศวสั ดุ และอปุ กรณ เพอื่ สนบั สนนุ การจดั ประสบการณ
และพฒั นาครู

๒.๖ มีระบบบริหารคุณภาพที่เปดโอกาสใหผูเก่ียวของทุก
ฝายมสี วนรว ม

สถานศกึ ษากาํ หนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
ที่สอดคลองกับมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย และอัตลักษณที่สถานศึกษา
กาํ หนด จดั ทาํ แผนพฒั นาการศกึ ษาของสถานศกึ ษาทส่ี อดรบั กบั มาตรฐาน
ท่ีสถานศึกษากําหนดและดําเนินการตามแผน มีการประเมินผลและ
ตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา ติดตามผลการดําเนินงาน และ
จดั ทาํ รายงานผลการประเมนิ ตนเองประจาํ ป นาํ ผลการประเมนิ ไปปรบั ปรงุ
และพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา โดยผูปกครองและผูเกี่ยวของทุกฝาย
มสี ว นรวมและจัดสง รายงานผลการประเมนิ ตนเองใหห นวยงานตนสังกัด
18

การใหระดับคุณภาพ

ระดับคุณภาพ ประเด็นพิจารณา

กําลังพฒั นา ◆ มหี ลกั สตู รสถานศกึ ษาทไี่ มย ดื หยนุ ไมส อดคลอ งกบั หลกั สตู ร
ปานกลาง การศกึ ษาปฐมวยั และบรบิ ทของทอ งถน่ิ

ดี ◆ มีระบบบริหารคุณภาพ แตไมสงผลตอการพัฒนาคุณภาพ
เดก็ ปฐมวยั

◆ มหี ลกั สตู รสถานศกึ ษาทยี่ ดื หยนุ สอดคลอ งกบั หลกั สตู รการ
ศกึ ษาปฐมวยั และบริบทของทอ งถิ่น

◆ มีระบบบริหารคุณภาพ แตไมสงผลตอการพัฒนาคุณภาพ
เดก็ ปฐมวยั

◆ มีหลักสูตรสถานศึกษาที่ยืดหยุน สอดคลองกับหลักสูตร
การศึกษาปฐมวยั และบริบทของทองถิ่น

◆ จัดครูใหเ พยี งพอและเหมาะสมกบั ชัน้ เรยี น
◆ มกี ารสง เสรมิ ใหค รมู คี วามเชย่ี วชาญดา นการจดั ประสบการณ

ที่สง ผลตอคุณภาพเดก็ เปน รายบคุ คล
◆ จัดสภาพแวดลอมอยางปลอดภัย และมีส่ือเพ่ือการเรียนรู

อยางเพียงพอและหลากหลาย
◆ ใหบริการส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรู

เพ่ือสนับสนุนการจัดประสบการณเหมาะสมกับบริบท
ของสถานศกึ ษา
◆ มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาที่สงผลตอ
คุณภาพตามมาตรฐานของสถานศึกษาและเปดโอกาสให
ผเู ก่ียวขอ งทุกฝา ยมีสว นรว ม

19

ระดบั คุณภาพ ประเด็นพจิ ารณา

ดีเลศิ ◆ มกี ารประเมนิ และพฒั นาหลกั สตู รสถานศกึ ษาใหส อดคลอ งกบั
ยอดเยี่ยม หลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั และบรบิ ทของทอ งถน่ิ

◆ จัดครูใหเ พียงพอและเหมาะสมกบั ชนั้ เรยี น
◆ มกี ารสง เสรมิ ใหค รมู คี วามเชย่ี วชาญดา นการจดั ประสบการณ

ทส่ี ง ผลตอ คณุ ภาพเดก็ เปน รายบคุ คล ตรงความตอ งการของครู
และสถานศกึ ษา
◆ จัดสภาพแวดลอมอยางปลอดภัย และมีส่ือเพ่ือการเรียนรู
อยา งเพียงพอและหลากหลาย
◆ ใหบริการส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศและส่ือการเรียนรู
เพ่ือสนับสนุนการจัดประสบการณเหมาะสมกับบริบท
ของสถานศึกษา
◆ มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาการช้ีแนะ
ระหวา งการปฏบิ ตั กิ ารปฏบิ ตั งิ านทส่ี ง ผลตอ คณุ ภาพมาตรฐาน
ของสถานศึกษา บูรณาการการปฏิบัติงานและเปดโอกาส
ใหผเู ก่ยี วขอ งทกุ ฝายมีสวนรว ม
◆ มกี ารประเมนิ และพฒั นาหลกั สตู รสถานศกึ ษาใหส อดคลอ งกบั
หลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวัยและบริบทของทอ งถิ่น
◆ จดั ครูใหเพียงพอและเหมาะสมกบั ชัน้ เรยี น
◆ มกี ารสง เสรมิ ใหค รมู คี วามเชย่ี วชาญดา นการจดั ประสบการณ
ทส่ี ง ผลตอ คณุ ภาพเดก็ เปน รายบคุ คล ตรงความตอ งการของ
ครแู ละสถานศกึ ษา และจดั ใหม ชี มุ ชนการเรยี นรทู างวชิ าชพี
◆ จัดสภาพแวดลอมอยางปลอดภัย และมีสื่อเพื่อการเรียนรู
อยางเพียงพอและหลากหลาย

20

ระดบั คุณภาพ ประเดน็ พิจารณา

◆ ใหบริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและส่ือการเรียนรู
เพ่ือสนับสนุนการจัดประสบการณเหมาะสมกับบริบท
ของสถานศกึ ษา

◆ มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาที่เหมาะสม
และตอ เนอ่ื งมกี ารชแ้ี นะระหวา งการปฏบิ ตั งิ านสง ผลตอ คณุ ภาพ
ตามมาตรฐานของสถานศกึ ษา บรู ณาการการปฏบิ ตั งิ านและ
เปด โอกาสใหผ เู กย่ี วขอ งทกุ ฝา ยมสี ว นรว มจนเปน แบบอยา งทด่ี ี
และไดร ับการยอมรับจากชมุ ชนและหนว ยงานทเี่ กย่ี วขอ ง

มาตรฐานที่ ๓ การจัดประสบการณทเ่ี นน เด็กเปน สําคัญ
๓.๑. จัดประสบการณที่สงเสริมใหเด็กมีพัฒนาการทุกดาน

อยางสมดลุ เตม็ ศักยภาพ
๓.๒ สรางโอกาสใหเด็กไดรับประสบการณตรง เลนและ

ปฏบิ ัตอิ ยางมีความสุข
๓.๓ จัดบรรยากาศท่ีเออื้ ตอ การเรียนรู ใชส ื่อและเทคโนโลยี

ทีเ่ หมาะสมกับวัย
๓.๔ ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและนําผล

การประเมนิ พฒั นาการเดก็ ไปปรบั ปรงุ การจดั ประสบการณแ ละพฒั นาเดก็
คาํ อธิบาย

มาตรฐานที่ ๓ การจดั ประสบการณท ่เี นนเด็กเปนสาํ คัญ
ครูจัดประสบการณใหเด็กมีพัฒนาการทุกดานอยางสมดุล
เต็มศักยภาพ รูจักเด็กเปนรายบุคคลและสรางโอกาสใหเด็กทุกคนไดรับ
ประสบการณต รง เลน และลงมอื กระทาํ ผา นประสาทสมั ผสั จดั บรรยากาศ
ท่ีเอื้อตอการเรียนรู ใชสื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัย มีการติดตาม
และประเมินผลพฒั นาการเด็กอยา งเปน ระบบ

21

๓.๑ จดั ประสบการณท ส่ี ง เสรมิ ใหเ ดก็ มพี ฒั นาการทกุ ดา น
อยา งสมดุลเต็มศักยภาพ

ครูวิเคราะหขอมูลเด็กเปนรายบุคคล จัดทําแผน
การจดั ประสบการณ จากการวเิ คราะหม าตรฐานคณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค
ในหลกั สตู รสถานศกึ ษา โดยมกี จิ กรรมทสี่ ง เสรมิ พฒั นาการเดก็ ครบทกุ ดา น
ทงั้ ดา นรา งกาย ดา นอารมณ จติ ใจ ดา นสงั คม และดา นสตปิ ญ ญา ไมม งุ เนน
การพฒั นาดา นใดดานหนง่ึ เพียงดานเดียว

๓.๒ สรางโอกาสใหเด็กไดรับประสบการณตรง เลนและ
ปฏิบัตอิ ยางมคี วามสุข

ครูจัดประสบการณที่เชื่อมโยงกับประสบการณเดิม
ใหเ ดก็ มโี อกาสเลอื กทาํ กจิ กรรมอยา งอสิ ระ ตามความตอ งการ ความสนใจ
ความสามารถ ตอบสนองตอวิธีการเรียนรูของเด็กเปนรายบุคคล
หลากหลายรูปแบบจากแหลงเรียนรูท่ีหลากหลาย เด็กไดเลือกเลน
เรยี นรู ลงมือ กระทาํ และสรางองคความรูด วยตนเอง

๓.๓ จดั บรรยากาศทเ่ี ออ้ื ตอ การเรยี นรู ใชส อื่ และเทคโนโลยี
ท่ีเหมาะสมกับวยั

ครจู ดั หอ งเรยี นใหส ะอาด อากาศถา ยเท ปลอดภยั มพี นื้ ที่
แสดงผลงานเด็ก พื้นท่ีสําหรับมุมประสบการณและการจัดกิจกรรม
เด็กมีสวนรวมในการจัดสภาพแวดลอมในหองเรียน เชน ปายนิเทศ
การดแู ลตน ไม เปน ตน ครใู ชส อ่ื และเทคโนโลยที เี่ หมาะสมกบั ชว งอายุ ระยะ
ความสนใจ และวิถีการเรียนรูของเด็ก เชน กลองดิจิตอล คอมพิวเตอร
สําหรับการเรียนรูกลุมยอย ส่ือของเลนที่กระตุนใหคิดและหาคําตอบ
เปน ตน
22

๓.๔ ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริง และนําผลการ
ประเมินพฒั นาการเดก็ ไปปรับปรงุ การจัดประสบการณและพัฒนาเดก็

ครูประเมินพัฒนาการเด็กจากกิจกรรมและกิจวัตร
ประจําวันดวยเครื่องมือและวิธีการที่หลากหลาย ไมใชแบบทดสอบ
วิเคราะหผลการประเมินพัฒนาการเด็กโดยผูปกครองและผูเกี่ยวของ
มสี ว นรว ม และนาํ ผลการประเมนิ ทไ่ี ดไ ปพฒั นาคณุ ภาพเดก็ และแลกเปลย่ี น
เรยี นรูการจดั ประสบการณท ่ีมปี ระสิทธิภาพ

การใหร ะดบั คณุ ภาพ

ระดับคณุ ภาพ ประเด็นพิจารณา
กาํ ลงั พฒั นา ◆ จัดประสบการณที่สงเสริมใหเด็กมีพัฒนาการดานรางกาย

ปานกลาง อารมณ จิตใจ สงั คม และสตปิ ญ ญา ไมส มดุล
◆ ไมส รา งโอกาสใหเ ดก็ ไดร บั ประสบการณต รง เลน และปฏบิ ตั ิ
ดี
กิจกรรมอยางอิสระตามความตองการ ความสนใจและ
ความสามารถของเด็ก
◆ จัดประสบการณที่สงเสริมใหเด็กมีพัฒนาการดานรางกาย
อารมณ จติ ใจ สงั คม และสติปญ ญาอยางสมดุล
◆ สรา งโอกาสใหเด็กไดรบั ประสบการณต รง เลน และปฏบิ ตั ิ
กิจกรรมอยางอิสระตามความตองการ ความสนใจ และ
ความสามารถของเด็ก
◆ จัดประสบการณท่ีสงเสริมใหเด็กมีพัฒนาการดานรางกาย
อารมณ จติ ใจ สงั คม และสตปิ ญ ญา อยา งสมดลุ เตม็ ศกั ยภาพ
ของเดก็ เปนรายบคุ คล
◆ สรางโอกาสใหเด็กไดรับประสบการณตรง เลนและปฏิบัติ
กิจกรรม เรียนรูลงมือทําและสรางองคความรูดวยตนเอง
อยา งมีความสขุ

23

ระดบั คณุ ภาพ ประเดน็ พิจารณา
ดเี ลิศ ◆ จัดบรรยากาศและสภาพแวดลอมในหองเรียนท่ีเอ้ือตอ

การเรียนรู ใชส่อื และเทคโนโลยีท่เี หมาะสมกบั วัย
◆ ครูประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงดวยวิธีการ

ท่ีหลากหลาย โดยผูปกครองและผูเก่ียวของมีสวนรวม
นําผลการประเมินท่ีไดไปปรับปรุงการจัดประสบการณ
และพัฒนาเด็ก
◆ จัดประสบการณท่ีสงเสริมใหเด็กมีพัฒนาการดานรางกาย
อารมณ จติ ใจ สงั คม และสตปิ ญ ญา อยา งสมดลุ เตม็ ศกั ยภาพ
โดยความรวมมือของพอแม และครอบครัว ชุมชน และ
ผเู กี่ยวของ
◆ สรางโอกาสใหเด็กไดรับประสบการณตรง เลนและปฏิบัติ
กิจกรรม เรียนรูลงมือทํา และสรางองคความรูดวยตนเอง
อยา งมีความสุข
◆ จัดบรรยากาศและสภาพแวดลอมในหองเรียนท่ีเอ้ือตอ
การเรียนรูโดยเด็กมีสวนรวม ใชส่ือและเทคโนโลยีที่
เหมาะสมกบั วัย
◆ ครูประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงดวยวิธีการ
ท่ีหลากหลาย โดยผูปกครองและผูเก่ียวของมีสวนรวม
นําผลการประเมินท่ีไดไปปรับปรุงการจัดประสบการณ
และพฒั นาเดก็

24

ระดบั คุณภาพ ประเดน็ พิจารณา
ยอดเยยี่ ม ◆ จัดประสบการณที่สงเสริมใหเด็กมีพัฒนาการดานรางกาย

อารมณ จิตใจ สังคม และสติปญญาอยางสมดุล
เต็มศักยภาพโดยความรวมมือของพอแมและครอบครัว
ชมุ ชนและผูเกย่ี วขอ ง และเปน แบบอยางทด่ี ี
◆ สรางโอกาสใหเด็กไดรับประสบการณตรง เลนและปฏิบัติ
กิจกรรม เรียนรูลงมือทํา และสรางองคความรูดวยตนเอง
อยางมคี วามสขุ
◆ จัดบรรยากาศและสภาพแวดลอมในหองเรียนท่ีเอ้ือตอ
การเรียนรูโดยเด็กมีสวนรวม ใชส่ือและเทคโนโลยี
ทีเ่ หมาะสมกับวยั
◆ ครูประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงดวยวิธีการ
ท่ีหลากหลาย โดยผูปกครองและผูเก่ียวของมีสวนรวม
นําผลการประเมินที่ไดไปปรับปรุงการจัดประสบการณ
และพฒั นาเดก็

...มาตรฐานการศึกษาระดบั การศึกษาข้ันพืน้ ฐาน

มาตรฐานการศึกษาระดับการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๖๑
มจี าํ นวน ๓ มาตรฐาน ไดแก

มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผเู รียน
๑.๑ ผลสัมฤทธ์ทิ างวิชาการของผูเรียน
๑.๒ คณุ ลักษณะทพี่ ึงประสงคของผูเรียน

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ
มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเี่ นน ผเู รยี น

เปน สําคัญ

25

รายละเอยี ดแตล ะมาตรฐาน มดี ังนี้
มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของผเู รยี น
๑.๑ ผลสัมฤทธ์ิทางวชิ าการของผูเรยี น
๑) มีความสามารถในการอาน การเขียน การส่ือสาร

และการคดิ คํานวณ
๒) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห คิดอยางมี

วิจารณญาณ อภปิ รายแลกเปลี่ยนความคดิ เหน็ และแกป ญ หา
๓) มีความสามารถในการสรา งนวัตกรรม
๔) มีความสามารถในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

และการสื่อสาร
๕) มีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา
๖) มคี วามรู ทกั ษะพน้ื ฐาน และเจตคตทิ ดี่ ตี อ งานอาชพี

๑.๒ คณุ ลกั ษณะที่พึงประสงคของผูเ รยี น
๑) การมีคุณลักษณะและคานิยมท่ีดีตามท่ีสถานศึกษา

กําหนด
๒) ความภูมิใจในทอ งถนิ่ และความเปนไทย
๓) การยอมรับท่ีจะอยูรวมกันบนความแตกตางและ

หลากหลาย
๔) สขุ ภาวะทางรางกาย และจติ สังคม

26

คําอธิบาย
มาตรฐานที่ ๑ ดานคณุ ภาพผูเรยี น
ผลการเรียนรูท่ีเปนคุณภาพของผูเรียนท้ังดานผลสัมฤทธิ์

ทางวชิ าการ ประกอบดว ย ความสามารถในการอา น การเขยี น การสอื่ สาร
การคิดคํานวณ การคิดประเภทตาง ๆ การสรางนวัตกรรม การใช
เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นตามหลกั สตู ร
การมคี วามรู ทกั ษะพน้ื ฐานและเจตคตทิ ด่ี ตี อ วชิ าชพี และดา นคณุ ลกั ษณะ
อันพึงประสงคที่เปนคานิยมท่ีดีตามท่ีสถานศึกษากําหนด ความภูมิใจ
ในทองถนิ่ และความเปนไทย การยอมรบั ท่จี ะอยูร ว มกันบนความแตกตา ง
และหลากหลาย รวมท้ังสขุ ภาวะทางรางกายและจติ สังคม

๑.๑ ผลสมั ฤทธิ์ทางวิชาการของผูเรยี น
๑) มคี วามสามารถในการอา น การเขียน การส่อื สาร

และการคิดคํานวณ
ผเู รยี นมที กั ษะในการอา น การเขยี น การสอ่ื สาร และ

การคิดคํานวณตามเกณฑท ส่ี ถานศึกษากาํ หนดในแตละระดับช้ัน
๒) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห คิดอยางมี

วจิ ารณญาณ อภปิ รายแลกเปลี่ยนความคิดเหน็ และแกป ญหา
ผูเรียนมีความสามารถในการคิดจําแนกแยกแยะ

ใครครวญไตรตรอง พิจารณาอยางรอบคอบ โดยใชเหตุผลประกอบการ
ตัดสินใจ มีการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแกปญหาอยางมี
เหตุผล

27

๓) มคี วามสามารถในการสรา งนวตั กรรม
ผูเรียนมีความสามารถในการรวบรวมความรูได

ทงั้ ดว ยตวั เองและการทาํ งานเปน ทมี เชอ่ื มโยงองคค วามรู และประสบการณ
มาใชในการสรา งสรรคส ิ่งใหม ๆ อาจเปน แนวความคดิ โครงการ โครงงาน
ช้ินงาน ผลผลิต

๔) ความสามารถในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการส่ือสาร

ผูเรียนมีความสามารถในใชเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการส่ือสาร เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคมในดานการเรียนรู
การส่อื สาร การทํางานอยางสรางสรรค และมีคณุ ธรรม

๕) มผี ลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา
ผูเรียนบรรลุและมีความกาวหนาในการเรียนรู

ตามหลกั สตู รสถานศกึ ษาจากพนื้ ฐานเดมิ ในดา นความรู ความเขา ใจ ทกั ษะ
กระบวนการตาง ๆ รวมทั้งมีความกาวหนาในผลการทดสอบระดับชาติ
หรอื ผลการทดสอบอื่นๆ

๖) มคี วามรู ทกั ษะพน้ื ฐาน และเจตคตทิ ด่ี ตี อ งานอาชพี
ผูเ รยี นมีความรู ทกั ษะพ้ืนฐานในการจดั การ เจตคติ

ที่ดพี รอมทีจ่ ะศึกษาตอในระดบั ชน้ั ท่สี ูงขึน้ การทาํ งานหรอื งานอาชีพ
๑.๒ คุณลักษณะท่พี ึงประสงคของผเู รียน
๑) มีคุณลักษณะและคานิยมที่ดีตามท่ีสถานศึกษา

กาํ หนด
ผูเรียนมีพฤติกรรมเปนผูที่มีคุณธรรม จริยธรรม

เคารพในกฎกติกา มีคานิยมและจิตสํานึกตามท่ีสถานศึกษากําหนด
โดยไมขัดกบั กฎหมายและวัฒนธรรมอนั ดีของสงั คม
28

๒) มคี วามภมู ิใจในทอ งถนิ่ และความเปน ไทย
ผูเรียนมีความภูมิใจในทองถ่ิน เห็นคุณคาของ

ความเปนไทย มีสวนรวมในการอนุรักษวัฒนธรรมและประเพณีไทย
รวมท้งั ภมู ิปญ ญาไทย

๓) ยอมรับที่จะอยูรวมกันบนความแตกตางและ
หลากหลาย

ผูเรียนยอมรับและอยูรวมกันบนความแตกตาง
ระหวางบุคคลในดาน เพศ วยั เชอ้ื ชาติ ศาสนา ภาษาวฒั นธรรม ประเพณี

๔) มสี ุขภาวะทางรา งกาย และจติ สงั คม
ผูเรียนมีการรักษาสุขภาพกาย สุขภาพจิต อารมณ

และสงั คม และแสดงออกอยา งเหมาะสมในแตล ะชว งวยั สามารถอยรู ว มกบั
คนอื่นอยางมีความสขุ เขาใจผูอ ่นื ไมมคี วามขัดแยงกับผอู ื่น

การใหระดับคุณภาพ

ระดบั คุณภาพ ประเดน็ พิจารณา
กาํ ลงั พัฒนา
๑.๑ ผลสมั ฤทธ์ิทางวิชาการของผเู รยี น
◆ ผูเรียนมีความสามารถในการอาน การเขียน การส่ือสาร และ
การคิดคํานวณ ต่ํากวาเปา หมายที่สถานศกึ ษากาํ หนด
◆ ผเู รยี นมผี ลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นตามหลกั สตู รสถานศกึ ษาตาํ่ กวา
เปาหมายท่ีสถานศึกษากําหนด

๑.๒ คุณลกั ษณะท่พี งึ ประสงคของผูเรียน
◆ ผูเรียนมีคุณลักษณะและคานิยมที่ดีตํ่ากวาเปาหมาย
ท่ีสถานศกึ ษากําหนด
◆ ผูเรียนมีสุขภาวะทางรางกาย และจิตสังคมตํ่ากวาเปาหมาย
ท่สี ถานศึกษากาํ หนด

29

ระดับคณุ ภาพ ประเด็นพิจารณา
ปานกลาง
๑.๑ ผลสมั ฤทธ์ิทางวิชาการของผูเรียน
ดี ◆ ผูเรียนมีความสามารถในการอาน การเขียน การสื่อสาร และ
การคดิ คํานวณ เปน ไปตามเปา หมายทส่ี ถานศกึ ษากําหนด
◆ ผูเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
เปน ไปตามเปาหมายท่สี ถานศกึ ษากําหนด

๑.๒ คุณลกั ษณะที่พึงประสงคข องผูเรียน
◆ ผูเรียนมีคุณลักษณะและคานิยมท่ีดีเปนไปตามเปาหมาย
ท่สี ถานศึกษากําหนด
◆ ผเู รยี นมสี ขุ ภาวะทางรา งกาย และจติ สงั คมเปน ไปตามเปา หมาย
ท่สี ถานศกึ ษากาํ หนด

๑.๑ ผลสมั ฤทธ์ทิ างวิชาการของผูเรียน
◆ ผูเรียนมีความสามารถในการอาน การเขียน การสื่อสาร และ
การคดิ คํานวณ เปนไปตาม เปา หมายท่ีสถานศกึ ษากําหนด
◆ ผูเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
เปนไปตามเปาหมายท่สี ถานศกึ ษากําหนด
◆ ผเู รยี นมคี วามสามารถในการคดิ วเิ คราะห คดิ อยา งมวี จิ ารณญาณ
อภปิ รายแลกเปล่ียน ความคิดเหน็ และแกปญ หาได
◆ ผเู รยี นมคี วามรู และทกั ษะพนื้ ฐานในการสรา งนวตั กรรม
◆ ผูเรียนมีความสามารถในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสารเพอื่ พัฒนาตนเองไดอ ยา งเหมาะสม ปลอดภัย
◆ ผูเรียนมีความรู ทักษะพืน้ ฐาน และเจตคตทิ ีด่ ีตอ งานอาชพี

30

ระดับคุณภาพ ประเดน็ พจิ ารณา
ดีเลิศ ๑.๒ คุณลักษณะทพ่ี งึ ประสงคของผูเรยี น

◆ ผูเรียนมีคุณลักษณะและคานิยมท่ีดีเปนไปตามเปาหมาย
ที่สถานศกึ ษากาํ หนด

◆ ผูเรียนมีความภูมิใจในทองถิ่น เห็นคุณคาของความเปนไทย
มสี ว นรว มในการอนรุ กั ษว ฒั นธรรม ประเพณี และภมู ปิ ญ ญาไทย

◆ ผูเรียนสามารถอยูร ว มกนั บนความแตกตา งและหลากหลาย
◆ ผูเรียนมีสุขภาวะทางรางกายและจิตสังคมตามเปาหมาย

ที่สถานศกึ ษากําหนด
๑.๑ ผลสัมฤทธท์ิ างวิชาการของผูเรยี น

◆ ผูเรียนมีความสามารถในการอาน การเขียน การส่ือสาร และ
การคดิ คาํ นวณ สูงกวา เปาหมายท่ีสถานศกึ ษากาํ หนด

◆ ผูเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
สูงกวา เปา หมายที่สถานศึกษากาํ หนด

◆ ผเู รยี นมคี วามสามารถในการคดิ วเิ คราะห คดิ อยา งมวี จิ ารณญาณ
อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น โดยใชเหตุผลประกอบ
การตดั สนิ ใจ และแกปญ หาได

◆ ผูเรยี นมคี วามสามารถในการสรา งนวัตกรรม
◆ ผูเรียนมีความสามารถในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและ

การส่ือสารเพื่อพัฒนาตนเอง และสังคมในดานการเรียนรู
การสอ่ื สาร การทาํ งาน
◆ ผเู รยี นมคี วามรู ทกั ษะพนื้ ฐาน และเจตคตทิ ด่ี พี รอ มทจ่ี ะศกึ ษาตอ
ในระดบั ชน้ั ทีส่ งู ขนึ้ และการทํางานหรอื งานอาชีพ
๑.๒ คุณลักษณะท่ีพงึ ประสงคของผูเรียน
◆ ผูเรียนมีคุณลักษณะและคานิยมที่ดีสูงกวาเปาหมาย
ทีส่ ถานศกึ ษากาํ หนด
◆ ผูเรียนมีความภูมิใจในทองถิ่น เห็นคุณคาของความเปนไทย
มสี ว นรว มในการอนรุ กั ษว ฒั นธรรม ประเพณี และภมู ปิ ญ ญาไทย
◆ ผูเรยี นสามารถอยูรวมกันบนความแตกตางและหลากหลาย
◆ ผูเรียนมีสุขภาวะทางรางกายและจิตสังคมตามเปาหมาย
ท่สี ถานศึกษากําหนด

31

ระดับคุณภาพ ประเดน็ พจิ ารณา
ยอดเยยี่ ม ๑.๑ ผลสัมฤทธ์ทิ างวชิ าการของผเู รยี น

◆ ผูเรียนมีความสามารถในการอาน การเขียน การส่ือสาร
และการคิดคํานวณ สูงกวา เปา หมายที่สถานศึกษากําหนด

◆ ผูเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
สงู กวา เปา หมายทีส่ ถานศกึ ษากําหนด

◆ ผเู รยี นมคี วามสามารถในการคดิ วเิ คราะห คดิ อยา งมวี จิ ารณญาณ
อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น โดยใชเหตุผลประกอบ
การตัดสินใจ และแกป ญ หาได

◆ ผูเรียนมีความสามารถในการสรางนวัตกรรม มีการนําไปใช
และเผยแพร

◆ ผูเรียนมีความสามารถในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสารเพ่ือพัฒนาตนเอง และสังคมในดานการเรียนรู
การสื่อสาร การทํางาน อยา งสรา งสรรค และมีคุณธรรม

◆ ผเู รยี นมคี วามรู ทกั ษะพน้ื ฐาน และเจตคตทิ ด่ี พี รอ มทจ่ี ะศกึ ษาตอ
ในระดบั ช้นั ทสี่ งู ขึ้น และการทํางานหรอื งานอาชีพ

๑.๒ คณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงคข องผเู รยี น
◆ ผูเรียนมีคุณลักษณะและคานิยมท่ีดีสูงกวาเปาหมาย
ท่สี ถานศึกษากําหนดเปนแบบอยา งได
◆ ผูเรียนมีความภูมิใจในทองถิ่น เห็นคุณคาของความเปนไทย
มสี ว นรว มในการอนรุ กั ษว ฒั นธรรม ประเพณแี ละภมู ปิ ญ ญาไทย
◆ ผเู รียนสามารถอยูรวมกันบนความแตกตา งและหลากหลาย
◆ ผูเรียนมีสุขภาวะทางรางกาย และจิตสังคมสูงกวาเปาหมาย
ที่สถานศึกษากาํ หนด

32

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ
๒.๑ มีเปาหมายวิสัยทัศนและพันธกิจท่ีสถานศึกษากําหนด

ชัดเจน
๒.๒ มีระบบบรหิ ารจดั การคุณภาพของสถานศกึ ษา
๒.๓ ดาํ เนนิ งานพฒั นาวชิ าการทเี่ นน คณุ ภาพผเู รยี นรอบดา น

ตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา และทกุ กลุม เปาหมาย
๒.๔ พัฒนาครูและบุคลากรใหมคี วามเช่ยี วชาญทางวชิ าชีพ
๒.๕ จัดสภาพแวดลอมทางกายภาพและสังคมท่ีเอื้อตอ

การจดั การเรียนรูอยางมีคุณภาพ
๒.๖ จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอื่ สนบั สนนุ การบรหิ าร

จัดการและการจัดการเรยี นรู
คําอธิบาย

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
เปนการจัดระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
มกี ารกาํ หนดเปา หมายวสิ ยั ทศั นแ ละพนั ธกจิ อยา งชดั เจน สามารถดาํ เนนิ งาน
พัฒนาวิชาการท่ีเนนคุณภาพผูเรียนรอบดานตามหลักสูตรสถานศึกษา
ในทกุ กลมุ เปา หมาย จดั ทาํ แผนพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษา ดาํ เนนิ การ
พัฒนาครูและบุคลากรใหมีความเช่ียวชาญทางวิชาชีพ และจัดระบบ
เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการเรียนรู
รวมทง้ั จดั สภาพแวดลอ มทางกายภาพและสงั คมทเ่ี ออื้ ตอ การจดั การเรยี นรู

33

๒.๑ มีเปาหมาย วิสัยทัศน และพันธกิจท่ีสถานศึกษา
กําหนดชัดเจน

สถานศึกษากําหนดเปาหมาย วิสัยทัศน และพันธกิจ
ไวอยางชัดเจน สอดคลองกับบริบทของสถานศึกษา ความตองการของ
ชุมชน ทองถ่ิน วัตถุประสงคของแผนการศึกษาแหงชาติ นโยบายของ
รัฐบาลและของตน สงั กัด รวมทงั้ ทันตอ การเปลย่ี นแปลงของสงั คม

๒.๒ มีระบบบริหารจัดการคณุ ภาพของสถานศึกษา
สถานศึกษาสามารถบริหารจัดการคุณภาพของ

สถานศึกษาอยางเปนระบบ ทั้งในสวนการวางแผนพัฒนาคุณภาพ
การจัดการศึกษา การนําแผนไปปฏิบัติเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา
มีการติดตามตรวจสอบประเมินผลและปรับปรุงพัฒนางานอยางตอเนื่อง
มกี ารบรหิ ารอตั รากาํ ลงั ทรพั ยากรทางการศกึ ษา และระบบดแู ลชว ยเหลอื
นกั เรยี น มรี ะบบการนเิ ทศภายใน การนาํ ขอ มลู มาใชใ นการพฒั นา บคุ ลากร
และผทู ่ีเกี่ยวขอ งทุกฝา ยมีสว นรว มการวางแผน ปรับปรุง และพัฒนา และ
รวมรับผดิ ชอบตอ ผลการจดั การศึกษา

๒.๓ ดําเนินงานพัฒนาวิชาการที่เนนคุณภาพผูเรียนรอบ
ดา นตามหลกั สูตรสถานศึกษาและทุกกลุมเปาหมาย

สถานศกึ ษาบรหิ ารจัดการเกีย่ วกับงานวิชาการ ทั้งดาน
การพัฒนาหลักสูตร กิจกรรมเสริมหลักสตู รท่ีเนน คุณภาพผูเ รยี นรอบดา น
เชอื่ มโยงวถิ ชี วี ติ จรงิ และครอบคลมุ ทกุ กลมุ เปา หมาย หมายรวมถงึ การจดั
การเรียนการสอนของกลมุ ทเ่ี รียนแบบควบรวมหรอื กลุม ท่เี รยี นรวมดวย

๒.๔ พฒั นาครแู ละบคุ ลากรใหม คี วามเชย่ี วชาญทางวชิ าชพี
สถานศึกษาสง เสริม สนบั สนุน พัฒนาครู บุคลากร ใหมี

ความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ และจัดใหมีชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ
มาใชใ นการพัฒนางานและการเรียนรูของผูเรียน
34

๒.๕ จัดสภาพแวดลอมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อตอ
การจัดการเรียนรู

สถานศึกษาจัดสภาพแวดลอมทางกายภาพทั้งภายใน
และภายนอกหองเรียน และสภาพแวดลอมทางสังคม ท่ีเอ้ือตอการจัด
การเรยี นรู และมคี วามปลอดภยั

๒.๖ จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื สนบั สนนุ การบรหิ าร
จดั การและการจัดการเรยี นรู

สถานศกึ ษาจดั ระบบการจดั หา การพฒั นาและการบรกิ าร
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อใชในการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู
ท่เี หมาะสมกบั สภาพของสถานศึกษา

การใหร ะดับคุณภาพ

ระดับคณุ ภาพ ประเด็นพจิ ารณา
กาํ ลงั พัฒนา ◆ เปา หมายวสิ ยั ทศั นแ ละพนั ธกจิ ทส่ี ถานศกึ ษากาํ หนดไมช ดั เจน
ปานกลาง ◆ มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาแตไมสงผล

ดี ตอคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา
◆ เปา หมายวสิ ยั ทศั นแ ละพนั ธกจิ ทสี่ ถานศกึ ษากาํ หนดชดั เจน

เปน ไปไดในการปฏบิ ตั ิ
◆ มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาที่สงผลตอ

คณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
◆ เปา หมายวสิ ยั ทศั นแ ละพนั ธกจิ ทส่ี ถานศกึ ษากาํ หนดชดั เจน

สอดคลอ งกบั บรบิ ทของสถานศกึ ษา เปน ไปไดใ นการปฏบิ ตั ิ
◆ มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาที่ชัดเจน

สง ผลตอ คณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา

35

ระดบั คุณภาพ ประเด็นพิจารณา
ดีเลศิ ◆ ดําเนินงานพัฒนาวิชาการที่เนนคุณภาพผูเรียนรอบดาน

ตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา และทกุ กลมุ เปา หมาย
◆ พฒั นาครแู ละบคุ ลากรใหม คี วามเชีย่ วชาญทางวชิ าชพี
◆ จัดสภาพแวดลอมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อตอการจัด

การเรียนรอู ยา งมคี ุณภาพ
◆ จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการบริหาร

จดั การและการจัดการเรียนรู
◆ มีเปาหมายวิสัยทัศนและพันธกิจท่ีสถานศึกษากําหนด

ชดั เจน สอดคลองกบั บรบิ ทของสถานศึกษา ความตอ งการ
ชมุ ชน นโยบายรัฐบาล แผนการศึกษาแหงชาติ เปนไปได
ในการปฏิบัติ
◆ มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาท่ีชัดเจน
มีประสิทธิภาพ สงผลตอคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศกึ ษา โดยความรว มมอื ของผูเกี่ยวขอ งทกุ ฝาย
◆ ดําเนินงานพัฒนาวิชาการที่เนนคุณภาพผูเรียนรอบดาน
ตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา และทุกกลุมเปา หมาย เชื่อมโยง
กบั ชีวิตจรงิ
◆ พัฒนาครูและบุคลากรใหมีความเช่ียวชาญทางวิชาชีพ
ตรงตามความตองการของครู และสถานศึกษา
◆ จัดสภาพแวดลอมทางกายภาพและสังคมท่ีเอื้อตอการจัด
การเรยี นรอู ยา งมีคุณภาพ และมคี วามปลอดภยั
◆ จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหาร
จัดการและการจัดการเรียนรูที่เหมาะสมกับสภาพของ
สถานศกึ ษา

36

ระดบั คณุ ภาพ ประเด็นพจิ ารณา
ยอดเย่ียม ◆ มีเปาหมายวิสัยทัศนและพันธกิจท่ีสถานศึกษากําหนด

ชัดเจน สอดคลองกบั บรบิ ทของสถานศึกษา ความตอ งการ
ชุมชน นโยบายรฐั บาล แผนการศึกษาแหงชาติ เปน ไปได
ในการปฏบิ ตั ิ ทันตอ การเปล่ยี นแปลง
◆ มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาที่ชัดเจน
มีประสิทธิภาพ สงผลตอคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศึกษา โดยความรวมมือของผูเก่ียวของทุกฝาย
มกี ารนาํ ขอ มลู มาใชใ นการปรบั ปรงุ พฒั นางานอยา งตอ เนอื่ ง
และเปนแบบอยางได
◆ ดําเนินงานพัฒนาวิชาการท่ีเนนคุณภาพผูเรียนรอบดาน
ตามหลกั สูตรสถานศึกษา และทกุ กลุมเปา หมาย เช่อื มโยง
กับชวี ิตจรงิ และเปนแบบอยางได
◆ พัฒนาครูและบุคลากรใหมีความเช่ียวชาญทางวิชาชีพ
ตรงตามความตอ งการของครูและสถานศึกษา และจดั ใหม ี
ชมุ ชนการเรยี นรทู างวชิ าชพี เพือ่ พัฒนางาน
◆ จัดสภาพแวดลอมทางกายภาพและสังคมท่ีเอ้ือตอการจัด
การเรียนรอู ยา งมคี ุณภาพ และมีความปลอดภัย
◆ จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหาร
จัดการและการจัดการเรียนรูที่เหมาะสมกับสภาพของ
สถานศกึ ษา

37

มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี นน ผเู รยี นเปน สาํ คญั
๓.๑ จัดการเรียนรูผานกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และ

สามารถนาํ ไปประยุกตใ ชใ นชีวติ ได
๓.๒ ใชสือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลงเรียนรูทีเ่ ออื้ ตอ

การเรยี นรู
๓.๓ มีการบรหิ ารจดั การชน้ั เรียนเชงิ บวก
๓.๔ ตรวจสอบและประเมนิ ผเู รยี นอยา งเปน ระบบ และนาํ ผล

มาพฒั นาผเู รียน
๓.๕ มีการแลกเปล่ียนเรียนรูและใหขอมูลสะทอนกลับ

เพ่ือพฒั นาและปรับปรุงการจดั การเรียนรู
คาํ อธิบาย

มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเี่ นน ผเู รยี น
เปนสําคญั

เปน กระบวนการจดั การเรยี นการสอนตามมาตรฐานและตวั ชว้ี ดั
ของหลักสูตรสถานศึกษา สรางโอกาสใหผูเรียนมีสวนรวมในการเรียนรู
ผานกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง มีการบริหารจัดการช้ันเรียนเชิงบวก
สรางปฏิสัมพันธที่ดี ครูรูจักผูเรียนเปนรายบุคคล ดําเนินการตรวจสอบ
และประเมินผูเรียนอยางเปนระบบและนําผลมาพัฒนาผูเรียน รวมท้ัง
รวมกันแลกเปล่ียนเรียนรูและนําผลที่ไดมาใหขอมูลปอนกลับ เพ่ือพัฒนา
และปรบั ปรงุ การจดั การเรยี นรู

๓.๑ จดั การเรยี นรผู า นกระบวนการคดิ และปฏบิ ตั จิ รงิ และ
สามารถนําไปประยกุ ตใชในการดําเนนิ ชวี ติ

จัดกจิ กรรมการเรยี นรูตามมาตรฐานการเรยี นรู ตัวชีว้ ดั
ของหลกั สตู รสถานศกึ ษาทเี่ นน ใหผ เู รยี นไดเ รยี นรู โดยผา นกระบวนการคดิ

38

และปฏบิ ัตจิ ริง มแี ผนการจัดการเรียนรทู ่สี ามารถนาํ ไปจดั กิจกรรมไดจ รงิ
มีรูปแบบการจัดการเรียนรูเฉพาะสําหรับผูท่ีมีความจําเปน และตองการ
ความชวยเหลือพิเศษ ผูเรียนไดรับการฝกทักษะแสดงออก แสดงความ
คิดเห็น สรุปองคความรู นําเสนอผลงาน และสามารถนําไปประยุกตใช
ในชีวติ ได

๓.๒ ใชส่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลงเรียนรูท่ีเอ้ือ
ตอ การเรียนรู

มีการใชสื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลงเรียนรู
รวมทั้งภูมิปญญาทองถิ่นมาใชในการจัดการเรียนรู โดยสรางโอกาสให
ผูเรียนไดแ สวงหาความรดู ว ยตนเองจากส่อื ทีห่ ลากหลาย

๓.๓ มีการบรหิ ารจัดการช้ันเรียนเชิงบวก
ครูผูสอนมีการบริหารจัดการชั้นเรียน โดยเนน

การมีปฏิสัมพันธเชิงบวก ใหเด็กรักครู ครูรักเด็ก และเด็กรักเด็ก เด็กรัก
ท่จี ะเรยี นรู สามารถเรียนรรู ว มกันอยา งมคี วามสุข

๓.๔ ตรวจสอบและประเมนิ ผเู รยี นอยา งเปน ระบบ และนาํ ผล
มาพฒั นาผูเ รียน

มีการตรวจสอบและประเมนิ คณุ ภาพการจัดการเรียนรู
อยางเปนระบบ มีขั้นตอนโดยใชเคร่ืองมือและวิธีการวัดและประเมินผล
ท่ีเหมาะสมกับเปาหมายในการจัดการเรียนรู และใหขอมูลยอนกลับ
แกผ ูเรียนเพอ่ื นําไปใชพ ัฒนาการเรยี นรู

๓.๕ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรูและใหขอมูลปอนกลับเพื่อ
ปรับปรงุ และพัฒนาการจัดการเรยี นรู

ครูและผูมีสวนเก่ียวของรวมกันแลกเปลี่ยนความรู
และประสบการณรวมทั้งใหขอมูลปอนกลับเพื่อนําไปใชในการปรับปรุง
และพฒั นาการจัดการเรียนรู

39

การใหร ะดบั คณุ ภาพ

ระดบั คณุ ภาพ ประเด็นพจิ ารณา
กําลังพฒั นา ◆ จดั การเรยี นรทู ไี่ มเ ปด โอกาสใหผ เู รยี นไดใ ชก ระบวนการคดิ
ปานกลาง
และปฏิบตั ิจรงิ
ดี ◆ ใชสื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลงเรียนรูที่ไมเอ้ือตอ

การเรยี นรู
◆ ตรวจสอบและประเมินผเู รยี นอยางไมเปน ระบบ
◆ จดั การเรยี นรผู า นกระบวนการคดิ และปฏบิ ตั จิ รงิ ตามมาตรฐาน

การเรียนรู ตัวช้ีวัดของหลักสูตรสถานศึกษา และสามารถ
นาํ ไปประยุกตใชใ นการดาํ เนนิ ชวี ิต
◆ ใชส่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลงเรียนรูที่เอื้อตอ
การเรียนรู
◆ ตรวจสอบและประเมินผูเรียนอยางเปนระบบ และนําผล
มาพัฒนาผูเรียน
◆ จดั การเรยี นรผู า นกระบวนการคดิ และปฏบิ ตั จิ รงิ ตามมาตรฐาน
การเรียนรู ตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา และสามารถ
นําไปประยุกตใชใ นการดําเนนิ ชีวติ
◆ ใชสื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลงเรียนรูท่ีเอื้อตอ
การเรียนรู
◆ ตรวจสอบและประเมินผูเรียนอยางเปนระบบ และนําผล
มาพฒั นาผเู รยี น
◆ มีการบริหารจดั การชัน้ เรยี นเชิงบวก
◆ มกี ารแลกเปลยี่ นเรยี นรแู ละใหข อ มลู สะทอ นกลบั เพอื่ พฒั นา
และปรับปรงุ การจัดการเรยี นรู

40

ระดับคณุ ภาพ ประเดน็ พิจารณา
ดีเลิศ ◆ จดั การเรยี นรผู า นกระบวนการคดิ และปฏบิ ตั จิ รงิ ตามมาตรฐาน

ยอดเย่ยี ม การเรยี นรู ตัวช้วี ดั ของหลักสูตรสถานศึกษา มแี ผนการจัด
การเรียนรูที่สามารถนําไปจัดกิจกรรมไดจริง และสามารถ
นาํ ไปประยุกตใชใ นชวี ิตได
◆ ใชส่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลงเรียนรู รวมทั้ง
ภมู ิปญ ญาทอ งถ่นิ ทเ่ี ออ้ื ตอการเรียนรู
◆ ตรวจสอบและประเมินผูเรียนอยางเปนระบบ มีขั้นตอน
โดยใชเคร่ืองมือและวิธีการวัดและประเมินผลที่เหมาะ
สมกับเปาหมายในการจัดการเรียนรู ใหขอมูลยอนกลับ
แกผูเ รียน และนําผลมาพัฒนาผูเรยี น
◆ มีการบริหารจัดการช้ันเรียนเชิงบวก เด็กรักที่จะเรียนรู
และเรียนรรู ว มกันอยา งมีความสขุ
◆ มีชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพระหวางครูเพ่ือพัฒนา
และปรับปรุงการจัดการเรียนรู
◆ จดั การเรยี นรผู า นกระบวนการคดิ และปฏบิ ตั จิ รงิ ตามมาตรฐาน
การเรยี นรู ตวั ช้วี ดั ของหลักสตู รสถานศกึ ษา มแี ผนการจัด
การเรียนรูที่สามารถนําไปจัดกิจกรรมไดจริง และสามารถ
นาํ ไปประยกุ ตใ ชใ นชวี ติ ได มนี วตั กรรมในการจดั การเรยี นรู
และมีการเผยแพร
◆ ใชสื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลงเรียนรู รวมท้ัง
ภูมิปญญาทองถิ่นท่ีเอื้อตอการเรียนรู โดยสรางโอกาสให
ผูเรยี นไดแสวงหาความรดู ว ยตนเอง

41

ระดับคุณภาพ ประเดน็ พิจารณา
◆ ตรวจสอบและประเมินผูเรียนอยางเปนระบบ มีขั้นตอน

โดยใชเครื่องมือและวิธีการวัดและประเมินผลท่ีเหมาะสม
กับเปาหมายในการจัดการเรียนรู ใหขอมูลยอนกลับ
แกผเู รียน และนาํ ผลมาพัฒนาผเู รยี น
◆ มกี ารบรหิ ารจดั การชน้ั เรยี นเชงิ บวก เดก็ รกั ทจี่ ะเรยี นรู และ
เรยี นรูรว มกันอยางมีความสขุ
◆ มชี มุ ชนแหง การเรยี นรทู างวชิ าชพี ระหวา งครแู ละผเู กย่ี วขอ ง
เพอื่ พฒั นาและปรบั ปรงุ การจดั การเรยี นรู ครู และผเู กยี่ วขอ ง
มี ก า ร แ ล ก เ ป ล่ี ย น เ รี ย น รู แ ล ะ ใ ห ข อ มู ล ส ะ ท อ น ก ลั บ
เพอ่ื พัฒนาและปรับปรุงการจดั การเรียนรู

...มาตรฐานการศึกษาระดบั การศึกษาข้ันพืน้ ฐาน
ศูนยก ารศึกษาพิเศษ

มาตรฐานการศกึ ษา ระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานศนู ยก ารศกึ ษา
พิเศษ พ.ศ. ๒๕๖๑ มจี ํานวน ๓ มาตรฐาน ไดแก

มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของผเู รยี น
๑.๑ ผลการพฒั นาผเู รียน
๑.๒ คณุ ลกั ษณะทพี่ งึ ประสงคข องผเู รียน

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี นน ผเู รยี น

เปนสาํ คัญ

42

รายละเอียดแตล ะมาตรฐาน มีดังนี้
มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของผเู รียน

๑.๑ ผลการพัฒนาผูเรยี น
๑) มพี ฒั นาการตามศกั ยภาพของแตล ะบคุ คลทแ่ี สดงออก

ถงึ ความรู ความสามารถ ทกั ษะ ตามทร่ี ะบไุ วใ นแผนการจดั การศกึ ษาเฉพาะ
บคุ คล หรือแผนการใหบ ริการชวยเหลือเฉพาะครอบครวั

๒) มีความพรอมสามารถเขาสูบริการชวงเช่ือมตอ
หรือการสงตอเขาสูการศึกษาในระดับที่สูงขึ้น หรือการอาชีพหรือ
การดาํ เนินชวี ิตในสังคมไดต ามศักยภาพของแตล ะบคุ คล

๑.๒ คุณลักษณะทพ่ี งึ ประสงคข องผเู รยี น
๑) มีคุณลักษณะอันพึงประสงคตามท่ีสถานศึกษา

กําหนด
๒) มีความภูมิใจในทองถิ่น และความเปนไทย

ตามศกั ยภาพของผเู รียนแตละบุคคล
คาํ อธิบาย

มาตรฐานที่ ๑ ดานคณุ ภาพของผเู รยี น
ผลการพฒั นาผเู รยี นตามศกั ยภาพของแตล ะบคุ คล ทแี่ สดงออก
ถึงความรู ความสามารถ ทักษะ ตามที่ระบุไวในแผนการจัดการศึกษา
เฉพาะบคุ คล หรอื แผนการใหบ รกิ ารชว ยเหลอื เฉพาะครอบครวั มคี วามพรอ ม
สามารถเขาสูบริการชวงเชื่อมตอ (Transitional Services) หรือการ
สงตอ (Referral) เขาสูการศึกษาในระดับที่สูงขึ้น หรือการอาชีพ หรือ
การดาํ เนนิ ชวี ติ ในสงั คมไดต ามศกั ยภาพของแตล ะบคุ คล และมคี ณุ ลกั ษณะ
ทพี่ งึ ประสงค ความภมู ิใจในทองถิ่น และความเปนไทย

43

๑.๑ ผลการพัฒนาผเู รียน
๑) มพี ฒั นาการตามศกั ยภาพของแตล ะบคุ คลทแ่ี สดงออก

ถึงความรู ความสามารถ ทักษะ ตามที่ระบุไวในแผนการจัดการศึกษา
เฉพาะบุคคล หรอื แผนการใหบ รกิ ารชว ยเหลอื เฉพาะครอบครัว

ผูเรียนมีพัฒนาการตามศักยภาพของแตละบุคคล
ที่แสดงออกถึงความรู ความสามารถ ทักษะ ตามที่ระบุไวในแผนการจัด
การศึกษาเฉพาะบุคคล หรือแผนการใหบรกิ ารชว ยเหลอื เฉพาะครอบครัว

๒) มีความพรอมสามารถเขาสูบริการชวงเช่ือมตอ
หรือการสงตอ เขาสูการศึกษาในระดับที่สูงข้ึน หรือการอาชีพหรือ
การดําเนนิ ชีวติ ในสังคมไดต ามศกั ยภาพของแตละบุคคล

ผเู รยี นมคี วามพรอ มสามารถเขา สบู รกิ ารชว งเชอ่ื มตอ
หรือการสงตอ เขาสูการศึกษาในระดับที่สูงขึ้น หรือการอาชีพ
หรอื การดําเนนิ ชวี ิตในสงั คมไดต ามศักยภาพของแตละบคุ คล

ชวงเช่ือมตอ หมายถึง การจัดกิจกรรมใหผูเรียน
จากโปรแกรมหนึ่งไปสูอีกโปรแกรมหนึ่ง การเปล่ียนจากระดับหนึ่งไปสู
อีกระดับหนึ่ง เชน การเปลี่ยนแปลงสถานท่ี สภาพแวดลอม ระยะเวลา
จากท่ีหนึ่งไปสูท่ีหนึ่ง โดยมีเปาหมายขางหนาท่ีดีกวาปจจุบันท้ังภายใน
และภายนอกสถานศึกษา

การสงตอ หมายถึง การพัฒนาผูเรียนใหสามารถ
สง ตอ ไปรบั บรกิ ารอน่ื ทเี่ หมาะสมเชน บรกิ ารทางการแพทยบรกิ ารทางสงั คม
บริการทางการศึกษา ใหแกผูเรียนเม่ือมีผลการพัฒนาศักยภาพผาน
ตามเกณฑท กี่ าํ หนด สามารถสง ตอ เขา สรู ะบบการศกึ ษาในชน้ั เรยี นทส่ี งู ขน้ึ
หรอื ยายสถานศกึ ษา หรอื รบั บรกิ ารดานอ่ืนๆ ตอ ไป
44


Click to View FlipBook Version