The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ระบบประกันคุณภาพภายในใหม่ 3 มาตรฐาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by minepantip, 2019-06-14 04:41:31

ระบบประกันคุณภาพภายในใหม่ 3 มาตรฐาน

ระบบประกันคุณภาพภายในใหม่ 3 มาตรฐาน

๑.๒ คุณลักษณะทพี่ ึงประสงคข องผูเ รยี น
๑) มคี ณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคต ามทส่ี ถานศกึ ษากาํ หนด
ผเู รยี นมพี ฤตกิ รรมเปน ผทู มี่ คี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และ

จิตสํานึกตามท่ีสถานศึกษากําหนด โดยไมขัดกับกฎหมายและวัฒนธรรม
อันดีงาม

๒) มคี วามภมู ใิ จในทอ งถน่ิ และความเปน ไทยตามศกั ยภาพ
ของผูเรยี นแตละบุคคล

ผูเรียนแสดงออกถึงความภูมิใจในทองถ่ิน และ
ความเปนไทย มีสวนรวมในการอนุรักษวัฒนธรรมและประเพณี รวมท้ัง
ภูมิปญ ญาไทย ตามศกั ยภาพของผูเ รียนแตล ะบคุ คล

การใหระดบั คุณภาพ

ระดับคณุ ภาพ ประเดน็ พิจารณา
กําลงั พัฒนา ๑.๑ ผลการพฒั นาผเู รียน

◆ ผูเรียนมีพัฒนาการตามศักยภาพของแตละบุคคล
ทแี่ สดงออกถงึ ความรูความสามารถ ทกั ษะ ตามทรี่ ะบไุ ว
ในแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล หรือ แผนการ
ใหบริการชวยเหลือเฉพาะครอบครัวต่ํากวาเปาหมาย
ทสี่ ถานศึกษากาํ หนด

๑.๒ คณุ ลักษณะที่พงึ ประสงคของผูเรยี น
◆ ผูเรียนมีพฤติกรรมเปนผูท่ีมีคุณธรรม จริยธรรม และ
จติ สาํ นึกตามท่ีสถานศกึ ษา

45

ระดับคุณภาพ ประเดน็ พิจารณา
ปานกลาง ๑.๑ ผลสมั ฤทธิท์ างวชิ าการของผเู รียน

ดี ◆ ผูเรียนมีพัฒนาการตามศักยภาพของแตละบุคคล
ที่แสดงออกถึงความรู ความสามารถ ทักษะ ตามที่
ระบไุ วใ นแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบคุ คล หรอื แผน
การใหบริการชวยเหลือเฉพาะครอบครัวเปนไปตาม
เปา หมายท่สี ถานศึกษากาํ หนด

๑.๒ คุณลกั ษณะท่พี งึ ประสงคของผเู รียน
◆ ผูเรียนมีพฤติกรรมเปนผูท่ีมีคุณธรรม จริยธรรม และ
จิตสํานึกตามที่สถานศึกษากําหนด โดยไมขัดกับ
กฎหมายและวฒั นธรรมอนั ดงี าม เปน ไปตามเปา หมาย
ทส่ี ถานศึกษากําหนด

๑.๑ ผลสัมฤทธท์ิ างวชิ าการของผเู รียน
◆ ผูเรียนมีพัฒนาการตามศักยภาพของแตละบุคคล
ที่แสดงออกถึงความรู ความสามารถ ทักษะ ตามท่ี
ระบุไวในแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล หรอื แผน
การใหบริการชวยเหลือเฉพาะครอบครัวเปนไปตาม
เปา หมายทส่ี ถานศกึ ษากาํ หนด
◆ ผูเรียนมีความพรอมสามารถเขาสูบริการชวงเชื่อมตอ
หรือการสงตอ เขาสูการศึกษาในระดับที่สูงข้ึน หรือ
การอาชพี หรอื การดาํ เนนิ ชวี ติ ในสงั คมไดต ามศกั ยภาพ
ของแตละบุคคลเปนไปตามเปาหมายที่สถานศึกษา
กําหนด

46

ระดับคณุ ภาพ ประเดน็ พจิ ารณา
ดเี ลิศ ๑.๒ คุณลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงคข องผูเรียน

◆ ผูเรียนมีพฤติกรรมเปนผูที่มีคุณธรรม จริยธรรม และ
จิตสํานึกตามท่ีสถานศึกษากําหนด โดยไมขัดกับ
กฎหมายและวัฒนธรรมอันดีงามเปนไปตามเปาหมาย
ท่สี ถานศกึ ษากาํ หนด

◆ ผูเรียนแสดงออกถึงความภูมิใจในทองถ่ิน และความ
เปนไทย มีสวนรวมในการอนุรักษวัฒนธรรมและ
ประเพณี รวมทั้งภูมิปญญาไทย ตามศักยภาพของ
ผูเรียนแตละบุคคลเปนไปตามเปาหมายท่ีสถานศึกษา
กําหนด

๑.๑ ผลสมั ฤทธทิ์ างวิชาการของผเู รียน
◆ ผูเรียนมีพัฒนาการตามศักยภาพของแตละบุคคล
ทแี่ สดงออกถงึ ความรู ความสามารถ ทกั ษะ ตามทร่ี ะบุ
ไวใ นแผนการจดั การศกึ ษาเฉพาะบุคคล หรอื แผนการ
ใหบริการชวยเหลือเฉพาะครอบครัวสูงกวาเปาหมาย
ท่สี ถานศกึ ษากาํ หนด
◆ ผูเรียนมีความพรอมสามารถเขาสูบริการชวงเชื่อมตอ
หรือการสงตอ เขาสูการศึกษาในระดับท่ีสูงข้ึน หรือ
การอาชพี หรอื การดาํ เนนิ ชวี ติ ในสงั คมไดต ามศกั ยภาพ
ของแตล ะบคุ คลสงู กวา เปา หมายทสี่ ถานศกึ ษากาํ หนด

47

ระดับคุณภาพ ประเดน็ พิจารณา
ยอดเย่ยี ม ๑.๒ คณุ ลักษณะทีพ่ งึ ประสงคของผเู รียน

◆ ผูเรียนมีพฤติกรรมเปนผูที่มีคุณธรรม จริยธรรม และ
จิตสํานึกตามที่สถานศึกษากําหนด โดยไมขัดกับ
กฎหมายและวัฒนธรรมอันดีงามสูงกวาเปาหมายท่ี
สถานศกึ ษากําหนด

◆ ผูเรียนแสดงออกถึงความภูมิใจในทองถิ่น และความ
เปนไทย มีสวนรวมในการอนุรักษวัฒนธรรมและ
ประเพณี รวมทั้งภูมิปญญาไทย ตามศักยภาพของ
ผเู รยี นแตล ะบคุ คลสงู กวา เปา หมายทส่ี ถานศกึ ษากาํ หนด

๑.๑ ผลสัมฤทธท์ิ างวิชาการของผเู รยี น
◆ ผูเรียนมีพัฒนาการตามศักยภาพของแตละบุคคล
ทแี่ สดงออกถงึ ความรู ความสามารถ ทกั ษะ ตามทรี่ ะบุ
ไวใ นแผนการจดั การศึกษาเฉพาะบุคคล หรือแผนการ
ใหบริการชวยเหลือเฉพาะครอบครัวสูงกวาเปาหมาย
ทีส่ ถานศึกษากาํ หนดอยา งตอเนอ่ื ง
◆ ผูเรียนมีความพรอมสามารถเขาสูบริการชวงเชื่อมตอ
หรือการสงตอ เขาสูการศึกษาในระดับที่สูงขึ้น หรือ
การอาชพี หรอื การดาํ เนนิ ชวี ติ ในสงั คมไดต ามศกั ยภาพ
ของแตล ะบคุ คลสงู กวา เปา หมายทส่ี ถานศกึ ษากาํ หนด

๑.๒ คุณลักษณะที่พึงประสงคของผเู รียน
◆ ผูเรียนมีพฤติกรรมเปนผูที่มีคุณธรรม จริยธรรม และ
จติ สาํ นกึ ตามทส่ี ถานศกึ ษากาํ หนด โดยไมข ดั กบั กฎหมาย
และวฒั นธรรมอนั ดงี าม สงู กวา เปา หมายทส่ี ถานศกึ ษา
กําหนดอยางตอ เนือ่ ง
◆ ผเูรยี นแสดงออกถงึ ความภมู ใิ จในทอ งถน่ิ และความเปน ไทย
มีสวนรวมในการอนุรักษวัฒนธรรมและประเพณี
รวมทั้งภูมิปญญาไทย ตามศักยภาพของผูเรียนแตละ
บุคคล สงู กวา เปา หมายที่สถานศึกษากาํ หนด

48

มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ
๒.๑ มีเปาหมายวิสัยทัศนและพันธกิจท่ีสถานศึกษากําหนด

ชดั เจน
๒.๒ มีระบบบรหิ ารจดั การคณุ ภาพของสถานศึกษา
๒.๓ ดาํ เนนิ งานพฒั นาวชิ าการทเี่ นน คณุ ภาพผเู รยี นรอบดา น

ตามหลักสตู รสถานศกึ ษาและทกุ กลมุ เปา หมาย
๒.๔ พฒั นาครูและบุคลากรใหม ีความเชีย่ วชาญทางวชิ าชพี
๒.๕ จัดสภาพแวดลอมทางกายภาพและสังคมที่เอ้ือตอการ

จดั การเรยี นรูอ ยางมีคณุ ภาพ
๒.๖ จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื สนบั สนนุ การบรหิ าร

จัดการและการจัดการเรียนรู
คาํ อธบิ าย

มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ
กระบวนการบริหารและการจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
มกี ารกาํ หนดเปา หมาย วสิ ยั ทศั น และพนั ธกจิ อยา งชดั เจน สามารถดาํ เนนิ งาน
พัฒนาวิชาการที่เนนคุณภาพผูเรียนทุกกลุมเปาหมายอยางรอบดาน
ตามหลักสูตรสถานศึกษาในทุกกลุมเปาหมาย จัดทําแผนพัฒนาคุณภาพ
การจัดการศึกษา ดําเนินการพัฒนาครูและบุคลากรใหมีความเช่ียวชาญ
ทางวิชาชีพ และจัดทําระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการ
บริหารจัดการและการเรียนรู รวมทั้งจัดสภาพแวดลอมทางกายภาพและ
สังคมที่เออ้ื ตอ การจดั การเรียนรู

49

๒.๑ มเี ปา หมาย วสิ ยั ทศั น และพนั ธกจิ ทส่ี ถานศกึ ษากาํ หนด
ชดั เจน

สถานศกึ ษามเี ปา หมาย วสิ ยั ทศั น และพนั ธกจิ ไวอ ยา งชดั เจน
สอดคลองกับบริบทของสถานศึกษา ความตองการของชุมชน ทองถ่ิน
วัตถุประสงคของแผนการศึกษาแหงชาติ นโยบายของรัฐบาล และของ
ตนสังกัดรวมท้งั ทันตอการเปลยี่ นแปลงของสังคม

๒.๒ มีระบบบรหิ ารจดั การคณุ ภาพของสถานศกึ ษา
สถานศกึ ษาสามารถบรหิ ารจดั การคณุ ภาพของสถานศกึ ษา

อยางเปนระบบท้ังในสวนการวางแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
การนําแผนไปสูการปฏิบัติเพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษา มีการติดตาม
ตรวจสอบประเมนิ ผลและปรับปรุงพัฒนางานอยางตอเนอ่ื ง มีการบรหิ าร
อัตรากําลัง ทรัพยากรทางการศึกษา และระบบดูแลชวยเหลือนักเรียน
สรางการมีสวนรวมของผูเกี่ยวของทุกฝายใหรวมรับผิดชอบตอผลการ
จดั การศกึ ษา

๒.๓ ดําเนินงานพฒั นาวชิ าการท่ีเนนคุณภาพผูเ รยี นทุกกลุม
เปาหมายอยางรอบดานตามหลักสตู รสถานศึกษา

สถานศกึ ษาบรหิ ารจดั การเกยี่ วกับงานวชิ าการ ท้ังดา น
การพัฒนาหลักสูตร กิจกรรมพัฒนาผูเรียนที่เนนคุณภาพผูเรียนตาม
ศักยภาพและประเภทของความพิการ และใหครอบคลุมทุกประเภท
ความพกิ าร เช่ือมโยงชวี ติ จริง

๒.๔ พัฒนาครแู ละบุคลากรใหม ีความเชย่ี วชาญทางวิชาชีพ
สถานศึกษาสง เสริม สนับสนุน พฒั นาครูและบุคลากร

ใหม ีความเชยี่ วชาญทางวิชาชพี และนํากระบวนการของชมุ ชนการเรียนรู
ทางวชิ าชีพ มาใชใ นการพฒั นางานและการเรียนรขู องผูเรียน
50

๒.๕ จัดสภาพแวดลอมทางกายภาพและสังคมที่ปลอดภัย
และเออื้ ตอการจดั การเรียนรอู ยา งมีคุณภาพ

สถานศึกษาจัดหรือปรับสภาพแวดลอมทางกายภาพ
ท้ังภายในและภายนอกสถานศึกษาใหปลอดภัย และเอ้ือตอการเรียนรู
จดั เทคโนโลยี สง่ิ อาํ นวยความสะดวก สอ่ื บรกิ าร และความชว ยเหลอื อน่ื ใด
ทางการศึกษาใหผูเรียนไดเขาถึง และใชประโยชนไดจากแหลงเรียนรู
ตามศักยภาพและประเภทของความพิการ

๒.๖ จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ เพอ่ื สนบั สนนุ การบรหิ าร
จดั การและการจัดการเรียนรู

สถานศกึ ษาจดั หาพฒั นาและบรกิ ารเทคโนโลยสี ารสนเทศ
อยางเปนระบบ เพ่ือใชในการบริหารจัดการ และการจัดการเรียนรู
ตามศกั ยภาพและประเภทของความพิการ

การใหระดบั คณุ ภาพ

ระดับคณุ ภาพ ประเดน็ พิจารณา
กําลังพัฒนา ◆ เปาหมายวิสัยทัศนและพันธกิจที่สถานศึกษากําหนด

ปานกลาง ไมช ัดเจน
◆ มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาแตไมสงผล

ตอคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
◆ เปา หมายวสิ ยั ทศั นแ ละพนั ธกจิ ทสี่ ถานศกึ ษากาํ หนดชดั เจน

เปนไปไดในการปฏิบตั ิ
◆ มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาที่สงผลตอ

คุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา

51

ระดบั คุณภาพ ประเด็นพิจารณา
ดี ◆ เปา หมายวสิ ยั ทศั นแ ละพนั ธกจิ ทสี่ ถานศกึ ษากาํ หนดชดั เจน

ดเี ลศิ สอดคลอ งกบั บรบิ ทของสถานศกึ ษา เปน ไปไดใ นการปฏบิ ตั ิ
◆ มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาที่ชัดเจน

สง ผลตอคณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
◆ ดําเนินงานพัฒนาวิชาการท่ีเนนคุณภาพผูเรียนรอบดาน

ตามหลักสตู รสถานศึกษาและทกุ กลมุ เปา หมาย
◆ พฒั นาครูและบุคลากรใหมคี วามเชีย่ วชาญทางวชิ าชีพ
◆ จัดสภาพแวดลอมทางกายภาพและสังคมที่ปลอดภัย

และเออ้ื ตอ การจดั การเรียนรอู ยา งมคี ุณภาพ
◆ จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหาร

จัดการและการจัดการเรียนรู
◆ มีเปาหมายวิสัยทัศนและพันธกิจที่สถานศึกษากําหนด

ชดั เจน สอดคลอ งกบั บรบิ ทของสถานศกึ ษา ความตอ งการ
ของชุมชน นโยบายรัฐบาล แผนการศึกษาแหงชาติ
เปนไปไดใ นการปฏิบตั ิ
◆ มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาที่ชัดเจน
มีประสิทธิภาพ สง ผลตอคณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา
ของสถานศึกษา โดยความรว มมอื ของผูเกีย่ วขอ งทุกฝาย
◆ ดําเนินงานพัฒนาวิชาการท่ีเนนคุณภาพผูเรียนรอบดาน
ตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุมเปาหมาย เชื่อมโยง
กับชวี ติ จริง
◆ พัฒนาครูและบุคลากรใหมีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ
ตรงตามความตองการของครแู ละสถานศึกษา

52

ระดบั คณุ ภาพ ประเด็นพจิ ารณา
ยอดเย่ียม ◆ จัดหรือปรับสภาพแวดลอมทางกายภาพท้ังภายในและ

ภายนอกสถานศึกษา ใหปลอดภัยและเอ้ือตอการเรียนรู
จัดเทคโนโลยี ส่ิงอํานวยความสะดวก สื่อ บริการ และ
ความชว ยเหลอื อน่ื ใดทางการศกึ ษาใหผ เู รยี นไดเ ขา ถงึ และ
ใชป ระโยชนไ ดจ ากแหลง เรยี นรู ตามศกั ยภาพและประเภท
ของความพิการ
◆ จัดหา พฒั นา และบริการเทคโนโลยสี ารสนเทศอยา งเปน
ระบบ เพือ่ ใชใ นการบริหารจดั การ และการจัดการเรียนรู
ตามศกั ยภาพและประเภทของความพิการ
◆ มีเปาหมายวิสัยทัศนและพันธกิจท่ีสถานศึกษากําหนด
ไวอยางชัดเจน สอดคลองกับบริบทของสถานศึกษา
ความตองการของชุมชน ทองถิ่น วัตถุประสงคของแผน
การศึกษาแหงชาติ นโยบายของรัฐบาล และของตน สังกัด
เปนไปไดในการปฏิบัติ รวมท้ังทันตอการเปลี่ยนแปลง
ของสังคม
◆ มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาที่ชัดเจน
มปี ระสิทธภิ าพ สง ผลตอคุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา
ของสถานศึกษาโดยความรวมมือของผูเก่ียวของทุกฝาย
มกี ารนาํ ขอ มลู มาใชใ นการปรบั ปรงุ พฒั นางานอยา งตอ เนอ่ื ง
และเปน แบบอยางได
◆ ดําเนินงานพัฒนาวิชาการที่เนนคุณภาพผูเรียนทุกกลุม
เปาหมายอยางรอบดานตามสถานศึกษา ตามศักยภาพ
และประเภทของความพกิ าร และใหค รอบคลมุ ทกุ ประเภท
ความพกิ าร เชอื่ มโยงกับชวี ติ จริง และเปนแบบอยางได
◆ พฒั นาครแู ละบคุ ลากรใหม คี วามเชยี่ วชาญทางวชิ าชพี และ
นํากระบวนการของชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ มาใชใน
การพฒั นางานและการเรียนรูของผูเรยี น

53

ระดบั คณุ ภาพ ประเด็นพิจารณา
◆ จัดหรือปรับสภาพแวดลอมทางกายภาพท้ังภายในและ

ภายนอกสถานศึกษา ใหปลอดภัยและเอ้ือตอการเรียนรู
จดั เทคโนโลยี สงิ่ อาํ นวยความสะดวก สอ่ื บรกิ ารและความ
ชวยเหลืออ่ืนใดทางการศึกษา ใหผูเรียนไดเขาถึงและใช
ประโยชนไดจากแหลงเรียนรู ตามศักยภาพและประเภท
ของความพกิ าร และเปนแบบอยางได
◆ จัดหา พฒั นา และบรกิ ารเทคโนโลยีสารสนเทศอยา งเปน
ระบบ เพ่อื ใชใ นการบรหิ ารจัดการ และการจดั การเรยี นรู
ตามศักยภาพและประเภทของความพิการ

มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเี่ นน ผเู รยี นเปน สาํ คญั
๓.๑ จัดการเรียนรูผานกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และ

สามารถนําไปประยกุ ตใชใ นชวี ิตได
๓.๒ ใชส อ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลงเรียนรูทเี่ อ้อื ตอ

การเรียนรู
๓.๓ มกี ารบรหิ ารจัดการชัน้ เรยี นเชิงบวก
๓.๔ ตรวจสอบและประเมนิ ผเู รยี นอยา งเปน ระบบ และนาํ ผล

มาพฒั นาผเู รยี น
๓.๕ มีการแลกเปล่ียนเรียนรูและใหขอมูลสะทอนกลับ

เพื่อพฒั นาและปรับปรุงการจดั การเรยี นรู

54

คําอธบิ าย
มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี นน ผเู รยี น

เปน สาํ คัญ
เปน กระบวนการจดั การเรยี นการสอนตามศกั ยภาพของผเู รยี น

แตล ะบคุ คล ตามทร่ี ะบไุ วใ นแผนการจดั การศกึ ษาเฉพาะบคุ คลทส่ี อดคลอ ง
กบั หลักสูตรของสถานศึกษา สรางโอกาสใหผ ูเ รียนมีสว นรวมในการเรียนรู
ผานกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงตามศักยภาพของผูเรียนแตละบุคคล
มกี ารบรหิ ารจดั การเรยี นรเู ชงิ บวก สรา งปฏสิ มั พนั ธท ดี่ ี รว มกนั แลกเปลย่ี น
เรยี นรู ดาํ เนนิ การตรวจสอบและประเมนิ ผเู รยี นอยา งเปน ระบบและนาํ ผล
มาพัฒนาและปรับปรงุ การจดั การเรียนรูใหมปี ระสิทธิภาพอยางตอเนือ่ ง

๓.๑ จัดการเรียนรูผานกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และ
สามารถนาํ ไปประยกุ ตใ ชในชวี ิตได

จัดกิจกรรมการเรียนรูตามท่ีระบุไวในแผนการจัด
การศึกษาเฉพาะบุคคลที่สอดคลองกับหลักสูตรของสถานศึกษา ท่ีเนนให
ผเู รยี นไดเ รยี นรผู า นกระบวนการคดิ และปฏบิ ตั จิ รงิ เชอ่ื มโยงกบั ชวี ติ ประจาํ วนั
การมีสวนรวมของผูปกครองและผูท่ีเก่ียวของ โดยผูเรียนไดรับการฝก
ใหมีทักษะ และการแสดงความคิดเห็นตามศักยภาพและประเภทของ
ความพิการ

๓.๒ ใชส อื่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลงเรยี นรทู ่เี อือ้ ตอ
การเรยี นรู

มีการใชเทคโนโลยี ส่งิ อาํ นวยความสะดวก ส่ือ บริการ
และความชว ยเหลอื อน่ื ใดทางการศกึ ษาเทคโนโลยสี ารสนเทศและแหลง เรยี นรู
ท่ีเอ้ือตอการเรียนรู รวมท้ังภูมิปญญาทองถ่ิน โดยนํามาใชในการจัด
การเรียนรู และสรางโอกาสใหผูเรียนไดแสวงหาความรูตามศักยภาพ
ของผูเรยี นจากส่อื ทห่ี ลากหลาย

55

๓.๓ มีการบรหิ ารจัดการผเู รยี นเชงิ บวก
มีการบริหารจัดการผูเรียน โดยเนนการมีปฏิสัมพันธ

เชงิ บวก ครูรกั เดก็ ใหเ ด็กรกั ครู และรกั ท่ีจะเรยี นรู สามารถเรียนรรู ว มกัน
อยางมีความสุข

๓.๔ ตรวจสอบและประเมินผูเรียนอยางเปนระบบ และ
นําผลมาพัฒนาผูเ รียน

มกี ารตรวจสอบและประเมนิ คณุ ภาพการจดั การเรยี นรู
อยา งเปน ระบบ มขี น้ั ตอนชดั เจน โดยใชเ ครอ่ื งมอื และวธิ กี ารวดั และประเมนิ ผล
ที่เหมาะสมกับเปาหมายในการจัดการเรียนรู และใหขอมูลยอนกลับแก
ผูเ รียน และผูปกครองเพื่อนําผลไปใชพ ฒั นาการเรียนรูอ ยา งตอ เนื่อง

๓.๕ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรูและใหขอมูลสะทอนกลับ
เพ่ือปรับปรงุ และพัฒนาการจดั การเรียนรู

ครูและผูมีสวนเกี่ยวของรวมกันแลกเปลี่ยนความรู
และประสบการณร วมทงั้ ใหข อ มลู สะทอ นกลบั เพอื่ นาํ ไปใชใ นการปรบั ปรงุ
และพัฒนาการจัดการเรยี นรู

การใหร ะดับคุณภาพ

ระดับคณุ ภาพ ประเด็นพิจารณา
กาํ ลังพฒั นา ◆ จดั การเรยี นรทู ไี่ มเ ปด โอกาสใหผ เู รยี นไดใ ชก ระบวนการคดิ

และปฏบิ ตั ิจริง
◆ ใชเทคโนโลยี ส่ิงอํานวยความสะดวก สื่อ บริการและ

ความชว ยเหลืออื่นใดทางการศึกษา เทคโนโลยสี ารสนเทศ
และแหลงเรียนรทู ไี่ มเอ้ือตอการเรียนรู
◆ ตรวจสอบและประเมนิ ผูเรียนอยางไมเปน ระบบ

56

ระดบั คุณภาพ ประเดน็ พิจารณา
ปานกลาง ◆ จดั กจิ กรรมการเรยี นรตู ามทร่ี ะบไุ วใ นแผนการจดั การศกึ ษา

ดี เฉพาะบุคคลที่สอดคลองกับหลักสูตรของสถานศึกษา
ทเ่ี นน ใหผ เู รยี นไดเ รยี นรผู า นกระบวนการคดิ และปฏบิ ตั จิ รงิ
◆ ใชเ ทคโนโลยี ส่ิงอํานวยความสะดวก ส่อื บริการและความ
ชว ยเหลืออืน่ ใดทางการศกึ ษา เทคโนโลยีสารสนเทศ และ
แหลงเรียนรทู ีเ่ อือ้ ตอ การเรยี นรู
◆ ตรวจสอบและประเมินผูเรียนอยางเปนระบบ และนําผล
มาพัฒนาผเู รยี น
◆ จดั กจิ กรรมการเรยี นรตู ามทรี่ ะบไุ วใ นแผนการจดั การศกึ ษา
เฉพาะบุคคลท่ีสอดคลองกับหลักสูตรของสถานศึกษา
ทเ่ี นน ใหผ เู รยี นไดเ รยี นรผู า นกระบวนการคดิ และปฏบิ ตั จิ รงิ
โดยผเู รยี นไดร บั การฝก ใหม ที กั ษะ และการแสดงความคดิ เหน็
ตามศกั ยภาพและประเภทของความพกิ าร
◆ ใชเทคโนโลยี ส่ิงอํานวยความสะดวก สื่อ บริการและ
ความชวยเหลืออื่นใดทางการศึกษา เทคโนโลยสี ารสนเทศ
และแหลง เรียนรูท ่เี อ้ือตอการเรียนรู
◆ มกี ารบรหิ ารจดั การผเู รยี น โดยเนน การมปี ฏสิ มั พนั ธเ ชงิ บวก
◆ มีการตรวจสอบและประเมินคุณภาพการจัดการเรียนรู
อยางเปนระบบ มีข้ันตอนชัดเจน โดยใชเครื่องมือและ
วิธีการวัดและประเมินผลท่ีเหมาะสมกับเปาหมายใน
การจัดการเรียนรู และใหขอมูลยอนกลับแกผูเรียนและ
ผปู กครองเพอื่ นาํ ผลไปใชพัฒนาการเรยี นรู
◆ มีการแลกเปล่ียนเรียนรูและใหขอมูลสะทอนกลับ
เพอ่ื พัฒนาและปรบั ปรงุ การจัดการเรยี นรู

57

ระดับคุณภาพ ประเด็นพิจารณา
ดีเลศิ ◆ จดั กจิ กรรมการเรยี นรตู ามทรี่ ะบไุ วใ นแผนการจดั การศกึ ษา

เฉพาะบุคคลที่สอดคลองกับหลักสูตรของสถานศึกษา
ทเี่ นน ใหผ เู รยี นไดเ รยี นรผู า นกระบวนการคดิ และปฏบิ ตั จิ รงิ
เชอ่ื มโยงกบั ชวี ติ จรงิ การมสี ว นรว มของผปู กครองโดยผเู รยี น
ไดรับการฝกใหมีทักษะ และการแสดงความคิดเห็น
ตามศกั ยภาพและประเภทของความพิการ
◆ ใชเทคโนโลยี ส่ิงอํานวยความสะดวก ส่ือ บริการและ
ความชวยเหลืออ่ืนใดทางการศึกษา เทคโนโลยสี ารสนเทศ
และแหลงเรียนรู รวมทั้งภูมิปญญาทองถ่ิน ที่เอ้ือตอ
การเรยี นรู
◆ มกี ารบรหิ ารจดั การผเู รยี น โดยเนน การมปี ฏสิ มั พนั ธเ ชงิ บวก
ครรู กั เด็ก ใหเ ดก็ รักครู และรกั ที่จะเรียนรู สามารถเรียนรู
รวมกนั อยา งมีความสขุ
◆ มีการตรวจสอบและประเมินคุณภาพการจัดการเรียนรู
อยางเปนระบบ มีข้ันตอนชัดเจน โดยใชเคร่ืองมือและวิธี
การวัดและประเมินผลท่ีเหมาะสมกับเปาหมายในการจัด
การเรยี นรู และใหข อ มลู ยอ นกลบั แกผ เู รยี นและผปู กครอง
เพื่อนาํ ผลไปใชพฒั นาการเรียนรู
◆ มชี มุ ชนแหง การเรยี นรทู างวชิ าชพี ระหวา งครแู ละผเู กย่ี วขอ ง
เพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู ครู และ
ผเู ก่ียวขอ งมกี ารแลกเปล่ยี นเรียนรู

58

ระดบั คุณภาพ ประเด็นพจิ ารณา
ยอดเย่ียม ◆ จดั กจิ กรรมการเรยี นรตู ามทรี่ ะบไุ วใ นแผนการจดั การศกึ ษา

เฉพาะบุคคลท่ีสอดคลองกับหลักสูตรของสถานศึกษา
ทเี่ นน ใหผ เู รยี นไดเ รยี นรผู า นกระบวนการคดิ และปฏบิ ตั จิ รงิ
เช่ือมโยงกับชีวิตประจําวัน การมีสวนรวมของผูปกครอง
และผูท่ีเกี่ยวของ โดยผูเรียนไดรับการฝกใหมีทักษะ และ
การแสดงความคิดเห็นตามศักยภาพและประเภทของ
ความพิการ
◆ มีการใชเ ทคโนโลยี ส่งิ อํานวยความสะดวก สอื่ บริการและ
ความชว ยเหลอื อืน่ ใดทางการศกึ ษา เทคโนโลยีสารสนเทศ
และแหลงเรียนรูที่เอื้อตอการเรียนรู รวมทั้งภูมิปญญา
ทองถิ่น โดยนํามาใชในการจดั การเรยี นรู และสรางโอกาส
ใหผ เู รยี นไดแ สวงหาความรตู ามศกั ยภาพของผเู รยี นจากสอื่
ทหี่ ลากหลาย
◆ มกี ารบรหิ ารจดั การผเู รยี น โดยเนน การมปี ฏสิ มั พนั ธเ ชงิ บวก
ครรู ักเดก็ ใหเดก็ รักครู และรกั ทจี่ ะเรยี นรู สามารถเรยี นรู
รว มกนั อยา งมีความสขุ
◆ มีการตรวจสอบและประเมินคุณภาพการจัดการเรียนรู
อยางเปนระบบ มีข้ันตอนชัดเจน โดยใชเคร่ืองมือและ
วิธีการวัดและประเมินผลท่ีเหมาะสมกับเปาหมายใน
การจัดการเรียนรู และใหขอมูลยอนกลับแกผูเรียนและ
ผปู กครอง เพื่อนําผลไปใชพัฒนาการเรยี นรอู ยางตอเนื่อง
◆ มชี มุ ชนแหง การเรยี นรทู างวชิ าชพี ระหวา งครแู ละผเู กย่ี วขอ ง
เพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู ครู และ
ผเู กย่ี วขอ งมกี ารแลกเปลย่ี นเรยี นรู และใหข อ มลู สะทอ นกลบั
เพ่อื พัฒนาและปรบั ปรุงการจดั การเรียนรู

59

สวนท่ี ๓

แนวทางการประเมนิ คุณภาพ
ภายในของสถานศกึ ษา

จากประกาศกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา
พ.ศ. ๒๕๖๑ ไดป ระกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เลม ๑๓๕ ตอนท่ี ๑๑ ก
หนา ๓ เมอื่ วันท่ี ๒๓ กุมภาพันธ ๒๕๖๑ กลา วถึง “การประกันคุณภาพ
การศึกษา” หมายความวา การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบ
คณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษาแตล ะระดบั และประเภท
การศึกษา โดยมีกลไกในการควบคุมตรวจสอบระบบการบริหารคุณภาพ
การศกึ ษาทส่ี ถานศกึ ษาจดั ขน้ึ เพอ่ื ใหเ กดิ การพฒั นาและสรา งความเชอ่ื มน่ั
ใหแกผูมีสวนเกี่ยวของและสาธารณชนวา สถานศึกษานั้นสามารถจัด
การศกึ ษาไดอ ยา งมคี ณุ ภาพ ตามมาตรฐานการศกึ ษา และบรรลเุ ปา ประสงค
ของหนวยงานตนสังกัดหรือหนวยงานท่ีกํากับดูแล โดยใหสถานศึกษา
แตละแหงจัดใหมีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา
โดยการกาํ หนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษาใหเ ปน ไปตามมาตรฐาน
การศึกษาแตละระดับและประเภทการศึกษาท่ีรัฐมนตรีวาการกระทรวง
ศึกษาธิการประกาศกําหนด พรอมท้ังจัดทําแผนพัฒนาการจัดการศึกษา
ของสถานศึกษาที่มุงคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาและดําเนินการตาม
แผนท่ีกําหนดไวจัดใหมีการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
ภายในสถานศึกษา ติดตามผลการดําเนินการเพื่อพัฒนาสถานศึกษาใหมี

60

คณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา และจดั สง รายงานผลการประเมนิ ตนเอง
ใหแ กห นว ยงานตน สงั กดั หรอื หนว ยงานทกี่ าํ กบั ดแู ลสถานศกึ ษาเปน ประจาํ
ทุกป

ใหหนวยงานตนสังกัดหรือหนวยงานท่ีกํากับดูแลสถานศึกษา
มหี นา ทใี่ นการใหค าํ ปรกึ ษา ชว ยเหลอื และแนะนาํ สถานศกึ ษา เพอ่ื ใหก าร
ประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาพัฒนาอยางตอเนื่อง และ
จดั สงรายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา พรอ มกับประเด็นตา ง ๆ
ทตี่ อ งการใหม กี ารประเมนิ ผลและการตดิ ตามตรวจสอบซงึ่ รวบรวมไดจ าก
หนวยงานท่ีเกี่ยวของหรือจากผูมีสวนไดสวนเสียกับสถานศึกษาแหงนั้น
ใหแก สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา
(องคการมหาชน)เพื่อใชเปนขอมูลและแนวทางในการประเมิน
คณุ ภาพภายนอก สาํ นกั งานรบั รองมาตรฐานและประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษา
(องคก ารมหาชน) ดาํ เนนิ การประเมนิ ผลและตดิ ตามตรวจสอบคณุ ภาพและ
มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา และจดั สง รายงานผลการประเมนิ และ
การติดตามตรวจสอบดังกลาว พรอมขอเสนอแนะใหแกสถานศึกษาและ
หนวยงานตนสังกัดหรือหนวยงานท่ีกํากับดูแลสถานศึกษาน้ัน ๆ เพื่อให
สถานศึกษาใชเปนแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ตอไป ทั้งนี้ สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา
(องคการมหาชน) อาจจัดใหบุคคลหรือหนวยงานท่ีไดรับการรับรองจาก
สํานักงานดําเนินการประเมินผล และติดตามตรวจสอบคุณภาพ
และมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษาได

61

เพื่อใหการดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาเปนไปตาม
กฎกระทรวงการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑ จงึ ใหส ถานศกึ ษา
ในสังกัดทุกโรง เขาใจถึงแนวทางการดําเนินงานพัฒนาระบบการประกัน
คุณภาพภายในของสถานศึกษาและการรองรับการประเมินภายนอก
รอบส่ี ดงั น้ี

๑) สถานศึกษาแตละแหงตองจัดใหการประกันคุณภาพ
การศึกษาภายในสถานศึกษาตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพ
การศกึ ษาพ.ศ.๒๕๖๑โดยมกี ารกาํ หนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
ใหเปนไปตามมาตรฐานการศึกษาแตละระดับ และประเภทการศึกษา
ที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศกําหนด พรอมทั้งจัดทําแผนพัฒนา
การจัดการศึกษาของสถานศึกษาท่ีมุงคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
และดาํ เนนิ การตามแผนทก่ี าํ หนดไว จดั ใหม กี ารประเมนิ ผลและตรวจสอบ
คณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา ตดิ ตามผลการดาํ เนนิ งานเพอื่ พฒั นา
สถานศึกษาใหมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และจัดสงรายงานผล
การประเมนิ ตนเอง (Self Assessment Report: SAR) ใหแกห นวยงาน
ตนสังกดั หรือหนว ยงานท่กี าํ กับดแู ลสถานศกึ ษาเปน ประจาํ ทกุ ป

๒) สถานศกึ ษานาํ มาตรฐานการศกึ ษาทก่ี ระทรวงศกึ ษาธกิ าร
จะกําหนดประกาศใช ไปเทยี บเคยี งและจัดทาํ เปน “มาตรฐานการศึกษา
ของสถานศึกษา” จัดทําแผนพัฒนาการจัดการศึกษา และดําเนินงาน
ตามแผนฯ ตลอดชวงปการศึกษา และจัดทํา SAR ตามกรอบมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษา หลังสิ้นปการศึกษา แลวจึงจัดสง SAR
ใหห นวยงานตน สังกดั หรือหนว ยงานทก่ี าํ กับดแู ลสถานศึกษา
62

๓) เม่ือหนวยงานตนสังกัดหรือหนวยงานที่กํากับดูแล
สถานศกึ ษาไดร บั SAR จากสถานศกึ ษา กจ็ ะมกี ารสรปุ วเิ คราะห สงั เคราะห
ผลการดําเนินงาน และจัดสง SAR พรอมประเด็นตาง ๆ ที่ตองการใหมี
การประเมินผลและติดตามตรวจสอบ ใหแก สํานักงานรับรองมาตรฐาน
และประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน) เพื่อใชเปนขอมูล
และแนวทางในการประเมินคณุ ภาพภายนอก

๔) การประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาและ
การตดั สนิ ระดบั คณุ ภาพตามมาตรฐานเปน ไปตามหลกั การตดั สนิ โดยอาศยั
ความเชยี่ วชาญ (expert judgment) และการตรวจทานผลการประเมิน
โดยคณะกรรมการประเมนิ ในระดับเดียวกัน (peer review) โดยเทยี บกับ
เกณฑหรือมาตรฐานที่กําหนดไว คณะกรรมการประเมินตองมีความรู
อยางรอบดาน และวิเคราะหขอมูลรวมกันในการตัดสิน เพ่ือใหระดับ
คุณภาพตามเกณฑท่ีกําหนด ซ่ึงจะไมใชการใหคะแนนตามความคิดเห็น
ของคนใดคนหนงึ่

๕) การประเมินคุณภาพภายในเปนหนาท่ีของสถานศึกษา
ที่ตองตรวจสอบและประเมินตนเองตามสภาพบริบทของสถานศึกษา
ทแ่ี ทจ รงิ โดยใหค วามสาํ คญั กบั การประเมนิ เชงิ คณุ ภาพ ผนวกกบั การประเมนิ
เชงิ ปรมิ าณควบคกู นั ไป การตดั สนิ คณุ ภาพของสถานศกึ ษาใหใ ชเ กณฑก าร
ใหคะแนนผลงานหรือกระบวนการ ท่ีไมแยกสวนหรือแยกองคประกอบ
ในการกําหนดคะแนนประเมิน แตเปนการประเมินในภาพรวมของผล
การดาํ เนินงานหรอื กระบวนการดาํ เนนิ งาน

63

๖) การกําหนดเปาหมายความสําเร็จการดําเนินงาน
ของสถานศึกษา ใหสถานศึกษากําหนดเปาหมายความสําเร็จ
และเกณฑการประเมินตามสภาพบริบทของสถานศึกษา เพ่อื ตรวจสอบ
และประเมินผลการดําเนินงานต า ม ภ า ร กิ จ ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า
โดยใหยึดหลักการดําเนินงานเพื่อพัฒนา และสะทอนคุณภาพ
การดาํ เนนิ งานตามเปา หมายท่กี าํ หนดตามมาตรฐานของสถานศึกษา

๗) การประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาใหเนน
การประเมินตามหลักฐานเชิงประจักษที่เกิดจากการปฏิบัติงานตามสภาพ
จรงิ ของสถานศึกษา (evidence based) โดยเลอื กใชวธิ กี ารเก็บรวบรวม
ขอมูลที่เหมาะสม และสะทอนคุณภาพการดําเนินงานตามมาตรฐาน
ของสถานศกึ ษาไดอ ยา งชดั เจน และมเี ปา หมาย การประเมนิ เพอื่ การพฒั นา
ลดภาระการจดั เกบ็ ขอ มลู และเอกสารทไี่ มจ าํ เปน ในการประเมนิ แตข อ มลู
ตองมีความนาเชื่อถือ และสามารถตรวจสอบผลการประเมินได
ตามสภาพบรบิ ทของสถานศกึ ษานน้ั ๆ

๘) คณะที่ทําหนาที่ประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา
ควรศึกษามาตรฐานการศึกษาและประเด็นพิจารณาท่ีกําหนดใหเขาใจ
ถองแทกอนดําเนินการประเมินคุณภาพสถานศึกษาของตน หลังประเมิน
แลวใหแจงผลการประเมินและใหขอเสนอแนะในการปรับปรุงพัฒนา
คุณภาพการศึกษา สรุปและเขียนรายงานการประเมินตนเอง (self-
assessment report)
64

๙) ในการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศึกษาใหสถานศึกษาดําเนินการ โดยใหมีการประเมินคุณภาพ
ภายในของสถานศกึ ษา อยา งนอ ยปล ะ ๑ ครง้ั และในการประเมนิ คณุ ภาพ
ภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาใหใชวิธีการและเคร่ืองมือ
ทีห่ ลากหลายและเหมาะสม

๑๐) ใหสถานศึกษาสรุปและจัดทาํ รายงานการประเมินตนเอง
ทสี่ ะทอ นคณุ ภาพผเู รยี น และผลสาํ เรจ็ ของการบรหิ ารจดั การศกึ ษา นาํ เสนอ
รายงานตอคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานและหนวยงานตนสังกัด
หรอื หนว ยงานทก่ี ํากบั ดูแล เผยแพรร ายงานตอสาธารณชนและหนว ยงาน
ท่เี กี่ยวของ และเตรียมรับการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกตอไป

๑๑) โครงสรางรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา
ไมมีรูปแบบตายตัว ใหสถานศึกษาจัดทําในสิ่งที่สถานศึกษาตองการ
นาํ เสนอได สงิ่ สาํ คญั ทส่ี ดุ ของรายงานการประเมนิ ตนเอง คอื กระบวนการ
พัฒนาคุณภาพ ซ่ึงหมายรวมถึง กิจกรรม/โครงการ/งานท่ีสถานศึกษา
ดาํ เนนิ การทจ่ี ะสะทอ นใหเ หน็ ถงึ หลกั การ แนวคดิ ของผบู รหิ ารสถานศกึ ษา
การมีเปาหมาย หรือรูปแบบท่ีชัดเจนในการพัฒนาการเรียนการสอน
ซงึ่ ทกุ กจิ กรรม/โครงการ/งานสง ผลถงึ การพฒั นาผเู รียนใหบ รรลเุ ปา หมาย
ของสถานศึกษา โดยใหนําเสนอขอมูลพื้นฐานเบื้องตนของสถานศึกษา
และมุงเนนตอบคําถามดังนี้ คือ ๑) มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
มีคุณภาพในระดับใด ๒) ขอมูลหลักฐานและเอกสารเชิงประจักษ
สนับสนุนมีอะไรบาง และ ๓) แนวทางพัฒนาคุณภาพใหสูงขึ้นกวาเดิม
เปนอยา งไร

65

๑๒) ขอ ควรตระหนักในการประเมนิ คณุ ภาพภายใน
๑๒.๑) ผูประเมินควรมีความรูลึกและเขาใจบริบทของ

การจัดการศึกษาของสถานศึกษา ทั้งในแงมุมของภาระงาน โครงสราง
เทคนิคตาง ๆ ท่ีใชในการบริหาร และการพัฒนาการจัดการเรียนรู
และมปี ระสบการณเ พยี งพอ เพอ่ื การชว ยชแ้ี นะการปรบั ปรงุ พฒั นาสถานศกึ ษา
ไดอ ยา งชดั เจน และตรงประเดน็ เกดิ ประโยชนต อ สถานศกึ ษาอยา งแทจ รงิ

๑๒.๒) ผปู ระเมนิ ควรวเิ คราะหอ ภปิ รายดว ยใจเปน กลาง
โดยพิจารณาจากขอมูลหลักฐานท่ีเก็บรวบรวมจากหลาย ๆ ดาน ทั้ง
ขอ มูลปจจบุ นั และผลการประเมนิ การดําเนินงานท่ผี า นมา (อาจพจิ ารณา
ยอนหลัง ๓ ป) ท้ังน้ี เพื่อใหทราบถึงความกาวหนาในการพัฒนาวา
อยูในระดับใด

๑๒.๓) ส่ิงท่ีมีคุณคามากที่สุดที่ไดรับจากการประเมิน
ภายในของสถานศึกษา คือ การไดรับขอช้ีแนะ คําแนะนํา แนวทาง
การพัฒนาสถานศึกษาท่ีเปนรูปธรรมและปฏิบัติไดจริง ดังนั้น ผูประเมิน
จงึ ควรรคู วามเคลอ่ื นไหวของการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา โดยเฉพาะอยา งยง่ิ
ในเรอ่ื งการพัฒนาการเรียนการสอน

๑๒.๔) การกาํ หนดระยะเวลาดาํ เนนิ การประเมนิ ภายใน
ของสถานศึกษาน้ัน ใหสถานศึกษากําหนดไดเองตามความเหมาะสม
แตค วรสอดคลอ งกบั สภาพและบรบิ ทของการดาํ เนนิ งาน เพอ่ื ความสะดวก
ในการเก็บรวบรวมขอมูลจากเอกสารหลักฐาน เชน แผนพัฒนาคุณภาพ
การจดั การศกึ ษา แผนการเรยี นรู บันทกึ หลังสอนรายงานประชมุ เปน ตน
ซ่ึงจะเห็นไดวา เอกสารหลักฐานตาง ๆ น้ัน เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงาน
ไมใชก ารสรา งเอกสารหลักฐานเพม่ิ เติม
66

๑๒.๕) การเก็บรวบรวมขอมูลในสวนของการสังเกต
และสัมภาษณนั้น ควรกระทําดวยความระมัดระวัง ตองสรางความรูสึก
เปนมิตรมากกวาการจับผิดหรือการกลาวโทษ และควรพูดคุยสอบถาม
ดว ยความสภุ าพ และสรา งความไวว างใจเปน อนั ดบั แรก กอ นทจ่ี ะสอบถาม
เพือ่ การเก็บรวบรวมขอ มลู ตอ ไป

…บทบาทหนา ที่ของหนว ยงานที่เกี่ยวขอ ง

ระดบั สถานศึกษา
ใหสถานศึกษาระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานดําเนินการ

ดงั ตอไปน้ี
๑. ใหส ถานศกึ ษาแตล ะแหง จดั ใหม รี ะบบการประกนั คณุ ภาพ

การศึกษาภายในสถานศึกษาเพ่ือเปนกลไกในการควบคุม ตรวจสอบ
คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ใหเกิดการพัฒนาและสรางความ
เช่อื มัน่ ใหแ กสังคม ชุมชน และผูมีสวนเก่ียวขอ ง

๒. การจัดใหมีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
สถานศึกษา ดังนี้

๒.๑ กําหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให
เปนไปตามมาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาปฐมวัยและระดับการ
ศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน โดยใหส ถานศกึ ษาและผเู กยี่ วขอ งดาํ เนนิ การและถอื เปน
ความรับผดิ ชอบรว มกัน ทั้งน้ี สถานศึกษาอาจกาํ หนดมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศกึ ษาเพมิ่ เตมิ นอกเหนอื จากทกี่ ระทรวงศกึ ษาธกิ ารประกาศใชไ ด

๒.๒ จัดทําแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
ที่สอดคลองกับสภาพปญหาและความตองการจําเปนของสถานศึกษา
อยา งเปน ระบบ โดยสะทอ นคณุ ภาพความสาํ เรจ็ อยา งชดั เจนตามมาตรฐาน
การศกึ ษาของสถานศกึ ษา

67

๒.๓ ดําเนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษา
ของสถานศึกษา

๒.๔ ประเมนิ ผลและตรวจสอบคณุ ภาพการศกึ ษาภายใน
สถานศึกษา โดยกําหนดผูรับผิดชอบในการประเมินผลและตรวจสอบ
คณุ ภาพการศกึ ษา ท้งั ระดบั บคุ คลและระดบั สถานศึกษา และกาํ หนดการ
ประเมนิ ผลและตรวจสอบคณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา อยา งนอ ย
ภาคเรยี นละ ๑ ครัง้ โดยวธิ กี ารและเคร่อื งมือที่หลากหลายและเหมาะสม

๒.๕ ติดตามผลการดําเนินการเพื่อพัฒนาสถานศึกษา
ใหม คี ณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา และนาํ ผลการตดิ ตามไปใชป ระโยชน
ในการปรับปรุงพัฒนา

๒.๖ จัดทํารายงานผลการประเมินตนเอง (Self-
Assessment Report : SAR) ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
นําเสนอรายงานผลการประเมินตนเองตอคณะกรรมการสถานศึกษา
ขั้นพ้ืนฐานใหความเห็นชอบ และจัดสงรายงานดังกลาวตอสํานักงาน
เขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษาเปนประจาํ ทกุ ป

๒.๗ พัฒนาสถานศึกษาใหมีคุณภาพโดยพิจารณาจาก
รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) และตาม
คําแนะนําของสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาหรือสํานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาข้ันพื้นฐาน เพ่ือใหการประกันคุณภาพการศึกษาเปนไปอยางมี
ประสทิ ธภิ าพและพัฒนาอยางตอ เนอื่ ง

๓. สถานศกึ ษาแตล ะแหง ใหค วามรว มมอื กบั สาํ นกั งานรบั รอง
มาตรฐานและประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษา (สมศ.) เพื่อปรบั ปรุงและพัฒนา
คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามขอเสนอแนะของสํานักงานรับรอง
มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศกึ ษา (สมศ.) และหนว ยงานตน สงั กดั
หรือหนวยงานท่ีกํากับดูแล เพ่ือนําไปสูการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษา
68

ระดับสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาในฐานะหนวยงานท่ีกํากับดูแล

สถานศกึ ษา ดาํ เนนิ การดงั ตอไปนี้
๑. ศึกษา วิเคราะห รายงานผลการประเมินตนเองของ

สถานศึกษา ตลอดจนใหคําปรึกษา ชวยเหลือและแนะนําสถานศึกษา
เพ่ือใหการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาแตละแหงพัฒนา
อยางตอเน่ือง

๒. จดั สง รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self-
Assessment Report : SAR) พรอ มกบั ประเดน็ ทต่ี อ งการใหม กี ารประเมนิ
ผลและติดตามตรวจสอบซ่ึงรวบรวมไดจากหนวยงานท่ีเก่ียวของหรือ
ผมู สี ว นไดส ว นเสยี กบั สถานศกึ ษา ไปยงั สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษา
ขนั้ พน้ื ฐาน และสาํ นกั งานรบั รองมาตรฐานและประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษา
(สมศ.) เพื่อใชเ ปน ขอมลู และแนวทางในการประเมนิ คุณภาพภายนอก

๓. ใหคําปรึกษา ชวยเหลือ และแนะนําสถานศึกษา เพื่อ
ใหก ารประกนั คณุ ภาพการศึกษาของสถานศกึ ษาพฒั นาอยา งตอ เนอ่ื ง

๔. ติดตามผลการดําเนินงาน ปรับปรุง และพัฒนาคุณภาพ
การศกึ ษาของสถานศกึ ษาตามขอ เสนอแนะของสาํ นกั งานรบั รองมาตรฐาน
และประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) เพ่ือนําไปสูการพัฒนาคุณภาพ
และมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

๕. ใหค วามรว มมอื กบั สาํ นกั งานรบั รองมาตรฐานและประเมนิ
คุณภาพการศึกษา (สมศ.) ในการจัดใหบุคคลหรือหนวยงานท่ีไดรับ
การรบั รองจากสาํ นกั งาน เพ่อื การประเมนิ คุณภาพภายนอก

๖. สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา อาจมอบหมายบุคคล
ท่ีไมไดเปนผูประเมินเขารวมสังเกตรับฟงหรือใหขอมูลเพ่ิมเติมในการ
ประเมนิ คุณภาพภายนอกดว ยก็ได

69

ระดับสํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
๑. กาํ หนดนโยบายดา นการศกึ ษา กาํ หนดมาตรฐานการศกึ ษา

ระดบั การศึกษาปฐมวัย และระดับการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พรอมทง้ั กําหนด
หลกั เกณฑแ ละแนวปฏิบัตกิ ารประกนั คณุ ภาพการศึกษา

๒. สงเสรมิ สนับสนนุ ใหค ําปรกึ ษา ชว ยเหลือตอ สาํ นกั งาน
เขตพ้ืนท่ีการศึกษา เพ่ือใหการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
พฒั นาอยา งตอ เนอ่ื ง

๓. วิเคราะห และสรุปผล ตามขอเสนอแนะของสํานักงาน
รบั รองมาตรฐานและประเมินคณุ ภาพการศึกษา (สมศ.) เพ่อื เปนขอเสนอ
แนะเชงิ นโยบายทนี่ าํ ไปสกู ารพฒั นาคณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาระดบั
การศึกษาปฐมวัย และระดบั การศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน

๔. ใหค วามรว มมอื กบั สาํ นกั งานรบั รองมาตรฐานและประเมนิ
คุณภาพการศึกษา (สมศ.) ในการจัดใหบุคคลหรือหนวยงานท่ีไดรับ
การรับรองจากสาํ นักงาน เพือ่ การประเมินคณุ ภาพภายนอก
70

ภาคผนวก

ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
เรือ่ ง ใหใชม าตรฐานการศึกษา ระดบั ปฐมวยั

ระดับการศึกษาขน้ั พื้นฐาน
และระดบั การศึกษาขนั้ พืน้ ฐานศูนยการศึกษาพิเศษ

โดยท่ีมีประกาศใชกฎกระทรวงวาดวยระบบ หลักเกณฑ
และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ นโยบายการปฏิรูป
การศึกษาในทศวรรษท่ีสองที่กําหนดเปาหมายและยุทธศาสตรในการ
พฒั นาคณุ ภาพคนไทยและการศกึ ษาไทยในอนาคต ประกอบกบั มนี โยบาย
ใหป ฏริ ปู ระบบการประเมนิ และการประกนั คณุ ภาพทงั้ ภายในและภายนอก
ของทกุ ระดบั กอ นจะมกี ารประเมนิ คณุ ภาพในรอบตอ ไป จาํ เปน ตอ งปรบั ปรงุ
มาตรฐานการศึกษาขั้นพ้ืนฐานใหสอดคลองกัน จึงใหยกเลิกประกาศ
กระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง ใหใชมาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย
เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ลงวันที่ ๒๗ กรกฎาคม
พ.ศ. ๒๕๕๔ ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรือ่ ง ใหใ ชม าตรฐานการศึกษา
ขน้ั พนื้ ฐาน เพอื่ ประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา ลงวนั ที่ ๑๑ ตลุ าคม
พ.ศ. ๒๕๕๙ และประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง ใหใชมาตรฐาน
การศึกษาศูนยการศึกษาพิเศษ เพ่ือการประกันคุณภาพภายในของ
สถานศกึ ษา ลงวนั ที่ ๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๐

72

พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และ
ที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๙ (๓) ไดกําหนด
การจดั ระบบ โครงสรา ง และกระบวนการจดั การศึกษาใหยึดหลกั ท่สี าํ คัญ
ขอ หนงึ่ คอื มกี ารกาํ หนดมาตรฐานการศกึ ษา และจดั ระบบประกนั คณุ ภาพ
การศึกษาทุกระดับและประเภทการศึกษา โดยมาตรา ๓๑ ใหกระทรวง
มีอํานาจหนาที่กํากับดูแลการศึกษาทุกระดับและทุกประเภท กําหนด
นโยบายแผนและมาตรฐานการศกึ ษาและมาตรา๔๘ใหห นว ยงานตน สงั กดั
และสถานศึกษาจัดใหมีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และ
ใหถ อื วา การประกนั คณุ ภาพภายในเปน สว นหนงึ่ ของการบรหิ ารการศกึ ษา
ท่ีตองดําเนินการอยางตอเนื่อง โดยมีการจัดทํารายงานประจําป
เสนอตอ หนว ยงานตน สงั กดั หนว ยงานทเ่ี กย่ี วขอ ง และเปด เผยตอ สาธารณชน
เพื่อนําไปสูการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษา และเพ่ือรองรับ
การประกนั คณุ ภาพภายนอก

ฉะนน้ั อาศยั อาํ นาจตามความในมาตรา ๕ มาตรา ๙ (๓) มาตรา
๓๑ และมาตรา ๔๘ แหง พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒
และทแี่ กไ ขเพม่ิ เตมิ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ ประกอบกบั มตคิ ณะกรรมการ
การศึกษาข้ันพ้ืนฐานในการประชุม ครั้งที่ ๕/๒๕๖๑ เม่ือวันศุกรที่ ๑๑
พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ รัฐมนตรวี าการกระทรวงศึกษาธกิ าร จงึ ประกาศ
ใหใชมาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน
และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานศูนยการศึกษาพิเศษ เพ่ือเปนหลักใน
การเทียบเคียงสําหรับสถานศึกษา หนวยงานตนสังกัด และสํานักงาน
เขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาทงั้ ประถมศกึ ษา และมธั ยมศกึ ษา ในการพฒั นา สง เสรมิ
สนบั สนนุ กาํ กบั ดแู ล และตดิ ตามตรวจสอบคณุ ภาพการศกึ ษา ตามเอกสาร
แนบทายประกาศฉบับน้ี

73

ทั้งนี้ ใหใชกับสถานศึกษาที่เปดสอนระดับปฐมวัย ระดับ
การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน และระดับการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐานศูนยการศกึ ษาพิเศษ

ประกาศ ณ วนั ท่ี ๖ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๖๑
(นายธีระเกียรติ เจรญิ เศรษฐศิลป)
รัฐมนตรวี า การกระทรวงศกึ ษาธิการ

74

มาตรฐานการศึกษา ระดบั ปฐมวยั

แนบทายประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เร่อื ง ใหใชม าตรฐานการศกึ ษา
ระดับปฐมวยั ระดบั การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน

และระดับการศกึ ษาขน้ั พื้นฐานศนู ยการศึกษาพิเศษ
ฉบับลงวนั ท่ี ๖ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๖๑
------------------------------------

มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๖๑ มีจํานวน
๓ มาตรฐาน ไดแ ก

มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของเด็ก
มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
มาตรฐานที่ ๓ การจัดประสบการณท่เี นนเดก็ เปน สําคญั
แตละมาตรฐานมรี ายละเอียด ดังน้ี
มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของเดก็
๑.๑ มพี ฒั นาการดา นรา งกาย แขง็ แรง มสี ขุ นสิ ยั ทด่ี ี และดแู ล
ความปลอดภยั ของตนเองได
๑.๒ มพี ัฒนาการดานอารมณ จิตใจ ควบคุม และแสดงออก
ทางอารมณไ ด
๑.๓ มพี ฒั นาการดา นสงั คม ชว ยเหลอื ตนเอง และเปน สมาชกิ
ท่ดี ีของสังคม
๑.๔ มีพัฒนาการดานสติปญญา สื่อสารได มีทักษะการคิด
พ้นื ฐาน และแสวงหาความรูไ ด

75

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
๒.๑ มีหลกั สูตรครอบคลุมพัฒนาการทง้ั ๔ ดาน สอดคลอง

กับบริบทของทองถ่นิ
๒.๒ จดั ครใู หเ พยี งพอกบั ช้ันเรียน
๒.๓ สง เสรมิ ใหค รมู คี วามเชยี่ วชาญดา นการจดั ประสบการณ
๒.๔ จดั สภาพแวดลอ มและสอ่ื เพอ่ื การเรยี นรู อยา งปลอดภยั

และเพยี งพอ
๒.๕ ใหบริการสือ่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และส่อื การเรยี นรู

เพื่อสนับสนนุ การจดั ประสบการณ
๒.๖ มรี ะบบบรหิ ารคณุ ภาพทเี่ ปด โอกาสใหผ เู กย่ี วขอ งทกุ ฝา ย

มีสวนรวม
มาตรฐานที่ ๓ การจัดประสบการณท่เี นน เดก็ เปน สําคญั

๓.๑ จัดประสบการณที่สงเสริมใหเด็กมีพัฒนาการทุกดาน
อยา งสมดลุ เตม็ ศักยภาพ

๓.๒ สรา งโอกาสใหเ ดก็ ไดร บั ประสบการณต รงเลน และปฏบิ ตั ิ
อยา งมีความสขุ

๓.๓ จดั บรรยากาศทเี่ ออ้ื ตอการเรยี นรู ใชส ื่อและเทคโนโลยี
ทเ่ี หมาะสมกบั วัย

๓.๔ ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและนําผล
การประเมนิ พฒั นาการเดก็ ไปปรบั ปรงุ การจดั ประสบการณแ ละพฒั นาเดก็

76

มาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาข้นั พื้นฐาน

แนบทายประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เร่อื ง ใหใ ชมาตรฐานการศกึ ษา
ระดับปฐมวยั ระดบั การศึกษาข้ันพ้นื ฐาน

และระดบั การศึกษาขนั้ พ้ืนฐานศูนยการศกึ ษาพิเศษ
ฉบับลงวนั ท่ี ๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๑
------------------------------------

มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พ.ศ. ๒๕๖๑
มีจํานวน ๓ มาตรฐาน ไดแ ก

มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของผูเรียน
๑.๑ ผลสมั ฤทธท์ิ างวิชาการของผูเรียน
๑.๒ คณุ ลักษณะที่พึงประสงคข องผเู รยี น

มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ
มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเี่ นน ผเู รยี น

เปนสาํ คญั
แตละมาตรฐานมรี ายละเอยี ดดงั นี้
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผูเรียน

๑.๑ ผลสัมฤทธ์ทิ างวิชาการของผูเ รียน
๑) มีความสามารถในการอาน การเขียน การส่ือสาร

และการคิดคํานวณ
๒) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห คิดอยางมี

วิจารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเหน็ และแกปญ หา
๓) มคี วามสามารถในการสรางนวัตกรรม

77

๔) มีความสามารถในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสาร

๕) มผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลกั สตู รสถานศึกษา
๖) มคี วามรู ทกั ษะพน้ื ฐาน และเจตคตทิ ดี่ ตี อ งานอาชพี
๑.๒ คุณลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงคข องผูเรียน
๑) การมีคุณลักษณะและคานิยมที่ดีตามท่ีสถานศึกษา
กาํ หนด
๒) ความภมู ิใจในทองถน่ิ และความเปน ไทย
๓) การยอมรับที่จะอยูรวมกันบนความแตกตาง
และหลากหลาย
๔) สุขภาวะทางรางกาย และจิตสงั คม
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
๒.๑ มีเปาหมายวิสัยทัศนและพันธกิจที่สถานศึกษากําหนด
ชัดเจน
๒.๒ มีระบบบรหิ ารจดั การคุณภาพของสถานศึกษา
๒.๓ ดาํ เนนิ งานพฒั นาวชิ าการทเ่ี นน คณุ ภาพผเู รยี นรอบดา น
ตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา และทุกกลุม เปา หมาย
๒.๔ พัฒนาครูและบุคลากรใหมีความเชยี่ วชาญทางวชิ าชีพ
๒.๕ จัดสภาพแวดลอมทางกายภาพและสังคมท่ีเอื้อตอ
การจดั การเรียนรอู ยางมีคณุ ภาพ
๒.๖ จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอื่ สนบั สนนุ การบรหิ าร
จดั การและการจดั การเรยี นรู

78

มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี นน ผเู รยี นเปน สาํ คญั
๓.๑ จัดการเรียนรูผานกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และ

สามารถนําไปประยุกตใชใ นชีวิตได
๓.๒ ใชสื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลงเรียนรูที่เอ้ือ

ตอ การเรียนรู
๓.๓ มีการบรหิ ารจดั การช้นั เรยี นเชงิ บวก
๓.๔ ตรวจสอบและประเมินผูเรียนอยางเปนระบบ และ

นําผลมาพฒั นาผูเ รียน
๓.๕ มีการแลกเปล่ียนเรียนรูและใหขอมูลสะทอนกลับ

เพื่อพฒั นาและปรับปรงุ การจัดการเรยี นรู
79

มาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาข้นั พื้นฐาน
ศนู ยการศึกษาพิเศษ

แนบทา ยประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เรื่อง ใหใ ชมาตรฐานการศกึ ษา
ระดับปฐมวัย ระดบั การศึกษาขั้นพน้ื ฐาน

และระดบั การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานศนู ยการศึกษาพเิ ศษ
ฉบับลงวนั ท่ี ๖ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๖๑
------------------------------------

มาตรฐานการศกึ ษา ระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานศนู ยก ารศกึ ษา
พิเศษ พ.ศ. ๒๕๖๑ มจี าํ นวน ๓ มาตรฐาน ไดแ ก

มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผูเรยี น
๑.๑ ผลการพฒั นาผูเ รยี น
๑.๒ คุณลกั ษณะทีพ่ ึงประสงคของผเู รยี น

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี นน ผเู รยี น

เปนสําคญั
แตล ะมาตรฐานมรี ายละเอียด ดังน้ี
มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของผูเรียน

๑.๑ ผลการพฒั นาผเู รยี น
๑) มีพัฒนาการตามศักยภาพของแตละบุคคล

ทแี่ สดงออกถงึ ความรู ความสามารถ ทกั ษะ ตามทร่ี ะบไุ วใ นแผนการจดั การ
ศึกษาเฉพาะบคุ คล หรอื แผนการใหบ ริการชวยเหลือเฉพาะครอบครัว

80

๒) มีความพรอมสามารถเขาสูบริการชวงเช่ือมตอ
หรือการสงตอเขาสูการศึกษาในระดับที่สูงขึ้น หรือการอาชีพหรือ
การดําเนินชวี ิตในสังคมไดต ามศักยภาพของแตล ะบุคคล

๑.๒ คณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงคของผเู รียน
๑) มีคุณลักษณะอันพึงประสงคตามท่ีสถานศึกษา

กาํ หนด
๒) มีความภูมิใจในทองถ่ิน และความเปนไทย

ตามศักยภาพของผเู รยี นแตละบคุ คล
มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ

๒.๑ มีเปาหมายวิสัยทัศนและพันธกิจที่สถานศึกษากําหนด
ชัดเจน

๒.๒ มีระบบบรหิ ารจัดการคุณภาพของสถานศกึ ษา
๒.๓ ดาํ เนนิ งานพฒั นาวชิ าการทเี่ นน คณุ ภาพผเู รยี นรอบดา น
ตามหลักสตู รสถานศกึ ษาและทุกกลุม เปา หมาย
๒.๔ พฒั นาครแู ละบคุ ลากรใหม คี วามเชยี่ วชาญทางวิชาชพี
๒.๕ จัดสภาพแวดลอมทางกายภาพและสังคมท่ีเอื้อตอ
การจัดการเรียนรูอยางมคี ณุ ภาพ
๒.๖ จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื สนบั สนนุ การบรหิ าร
จดั การและการจดั การเรียนรู

81

มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี นน ผเู รยี นเปน สาํ คญั
๓.๑ จัดการเรียนรูผานกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และ

สามารถนําไปประยกุ ตใชใ นชีวิตได
๓.๒ ใชส ือ่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง เรียนรูท ่เี อือ้ ตอ

การเรยี นรู
๓.๓ มกี ารบริหารจดั การชั้นเรยี นเชงิ บวก
๓.๔ ตรวจสอบและประเมินผูเรียนอยางเปนระบบ และ

นาํ ผลมาพฒั นาผูเ รยี น
๓.๕ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรูและใหขอมูลสะทอนกลับ

เพ่ือพัฒนาและปรบั ปรงุ การจัดการเรยี นรู
82

เลมท่ี ๑๓๕ ตอนท่ี ๑๑ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๓ กมุ ภาพันธ ๒๕๖๑

กฎกระทรวง

การประกันคุณภาพการศึกษา
พ.ศ. ๒๕๖๑

--------------------------
อาศยั อาํ นาจตามความในมาตรา๕วรรคหนง่ึ แหง พระราชบญั ญตั ิ
การศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติ
การศกึ ษาแหงชาติ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และ มาตรา ๔๗ วรรคสอง
แหงพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ รัฐมนตรีวาการ
กระทรวงศกึ ษาธิการออกกฎกระทรวงไว ดงั ตอ ไปน้ี
ขอ ๑ ใหยกเลิกกฎกระทรวงวาดวยระบบ หลักเกณฑ และ
วธิ กี ารประกันคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๓
ขอ ๒ ในกฎกระทรวงนี้
“การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา”หมายความวา การประเมนิ ผล
และการตดิ ตามตรวจสอบ คณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
แตละระดับและประเภทการศึกษา โดยมีกลไกในการควบคุม ตรวจสอบ
ระบบการบรหิ ารคณุ ภาพการศกึ ษาทส่ี ถานศกึ ษาจดั ขน้ึ เพอ่ื ใหเ กดิ การพฒั นา
และสรางความเชื่อม่ัน ใหแกผูมีสวนเกี่ยวของและสาธารณชนวา
สถานศึกษาน้ัน สามารถจัดการศึกษาไดอยางมีคุณภาพ ตามมาตรฐาน
การศึกษา และบรรลุเปาประสงคของหนวยงานตนสังกัดหรือหนวยงาน
ทีก่ าํ กับดูแล

83

เลมที่ ๑๓๕ ตอนท่ี ๑๑ ก ราชกจิ จานเุ บกษา ๒๓ กุมภาพนั ธ ๒๕๖๑
“สํานักงาน” หมายความวา สํานักงานรับรองมาตรฐาน

และประเมนิ คณุ ภาพการศึกษา (องคการมหาชน)
ขอ ๓ใหส ถานศกึ ษาแตล ะแหง จดั ใหม รี ะบบการประกนั คณุ ภาพ

การศึกษาภายในสถานศึกษา โดยการกําหนดมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษาใหเปนไปตามมาตรฐานการศึกษาแตละระดับ และประเภท
การศกึ ษาทรี่ ฐั มนตรวี า การกระทรวงศกึ ษาธกิ ารประกาศกาํ หนด พรอ มทง้ั
จัดทําแผนพัฒนา การจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุงคุณภาพ
ตามมาตรฐานการศึกษาและดําเนินการตามแผนท่ีกําหนดไว จัดใหมี
การประเมนิ ผลและตรวจสอบคณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา ตดิ ตามผล
การดาํ เนนิ การ เพอื่ พฒั นาสถานศกึ ษาใหม คี ณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา
และจัดสงรายงานผลการประเมินตนเอง ใหแกหนวยงานตนสังกัด
หรอื หนวยงานที่กาํ กบั ดแู ลสถานศกึ ษาเปน ประจําทกุ ป

เพอื่ ใหก ารดาํ เนนิ การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาตามวรรคหนง่ึ
เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ใหหนวยงานตนสังกัดหรือหนวยงานที่กํากับ
ดแู ลสถานศกึ ษามหี นา ทใ่ี นการใหค าํ ปรกึ ษาชว ยเหลอื และแนะนาํ สถานศกึ ษา
เพ่อื ใหการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศึกษาพฒั นาอยางตอเนือ่ ง

ขอ ๔ เมอื่ ไดร บั รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา
ตามขอ ๓ แลว ใหหนวยงานตนสังกัดหรือหนวยงานท่ีกํากับดูแล
สถานศกึ ษาจัดสงรายงานดังกลา วพรอมกบั ประเด็นตา ง ๆ ทีต่ องการใหม ี
การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบซึ่งรวบรวมไดจากหนวยงาน
ท่ีเก่ียวของหรือจากผูมีสวนไดสวนเสียกับสถานศึกษาแหงนั้น ใหแก
สํานักงานเพ่ือใชเปนขอ มลู และแนวทางในการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก

84

เลม ท่ี ๑๓๕ ตอนท่ี ๑๑ ก ราชกจิ จานเุ บกษา ๒๓ กมุ ภาพันธ ๒๕๖๑
ใหสํานักงานดําเนินการประเมินผลและติดตามตรวจสอบ

คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และจัดสง
รายงานผลการประเมินและการติดตามตรวจสอบดังกลาว พรอม
ขอเสนอแนะใหแก สถานศึกษาและหนวยงานตนสังกัดหรือหนวยงาน
ท่ีกํากับดูแลสถานศึกษาน้ัน ๆ เพื่อใหสถานศึกษาใชเปนแนวทางในการ
ปรับปรงุ และพัฒนาคุณภาพการศึกษาตอ ไป

ในการดําเนินการตามวรรคสอง สํานักงานอาจจัดใหบุคคล
หรือหนวยงานท่ีไดรับการรับรองจากสํานักงานดําเนินการประเมินผล
และตดิ ตามตรวจสอบคณุ ภาพ และมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษาได

ใหห นว ยงานตน สงั กดั หรอื หนว ยงานทก่ี าํ กบั ดแู ลสถานศกึ ษานน้ั
ติดตามผลการดําเนินการปรับปรุง และพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ของสถานศกึ ษาตามวรรคสอง เพอื่ นาํ ไปสกู ารพฒั นาคณุ ภาพและมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศกึ ษา

ขอ ๕ ใหร ฐั มนตรวี า การกระทรวงศกึ ษาธกิ ารมอี าํ นาจตคี วาม
และวินิจฉัยปญหาอันเกี่ยวกับการปฏิบตั ติ ามกฎกระทรวงน้ี

ใหไว ณ วันท่ี ๒๐ กมุ ภาพนั ธ พ.ศ. ๒๕๖๑
ธีระเกียรติ เจรญิ เศรษฐศิลป

รฐั มนตรวี า การกระทรวงศึกษาธกิ าร

85

หมายเหตุ เหตผุ ลในการประกาศใชก ฏกระทรวงฉบบั บน้ี คอื โดยทแ่ี นวทาง
ในการดําเนินการตามกฎกระทรวงวาดวยระบบ หลักเกณฑ และวิธีการ
ประกนั คณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓ ไมส อดคลองกบั หลักการประกัน
คุณภาพการศึกษาท่ีแทจริง จึงสงผลใหการดําเนินการประกันคุณภาพ
การศึกษาภายในและภายนอกไมสัมพันธกัน เกิดความซําซอนและ
คลาดเคล่ือนจากการปฏิบัติ ทําใหไมสะทอนความเปนจริงและเปนการ
สรา งภาระแกส ถานศกึ ษาและบคุ ลากรในสถานศกึ ษา ตลอดจนหนว ยงาน
ตน สังกดั หนว ยงานทกี่ าํ กับดูแล และหนวยงานภายนอกเกนิ ความจาํ เปน
สมควรปรับปรุงระบบ หลักเกณฑ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา
เพอ่ื ใหม กี ลไกลการปฏบิ ตั ทิ เ่ี ออ้ื ตอ การดาํ เนนิ การตามมาตรฐานการศกึ ษา
ของแตละระดับ และเกิดประสิทธิภาพในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
จงึ จาํ เปนตองออกกฎกระทรวงนี้
86

ประกาศสาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เรอ่ื ง แนวปฏบิ ตั กิ ารดาํ เนนิ งานประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา

ระดบั การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๖๑

โดยท่ีมีประกาศใชกฎกระทรวง การประกันคุณภาพ
การศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ลงวันท่ี ๒๐ กุมภาพันธ ๒๕๖๑ ไดกําหนด
ระบบ หลักเกณฑ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษาอันสงผลให
การดําเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษา ท้ังหนวยงานตนสังกัด
หรือหนวยงานกํากับดูแล และหนวยงานภายนอกที่สะทอนสภาพ
การดําเนินงานท่ีแทจริง และเกิดประสิทธิภาพ และกําหนดแนวทาง
ในการขับเคล่ือนการประกันคุณภาพการศึกษาสอดคลองกับหลักการ
ประกันคุณภาพการศึกษา และมีกลไกปฏิบัติที่เอ้ือตอการดําเนินงาน
ตามมาตรฐานการศึกษาแตละระดับใหเกิดประสิทธิภาพในการพัฒนา
คุณภาพการศกึ ษา

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน จึงไดจัดทํา
แนวปฏิบัติการดําเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาขึ้น เพ่ือให
หนว ยงานตน สังกัด สาํ นกั งานบรหิ ารการศกึ ษาพิเศษ สํานกั งานเขตพน้ื ท่ี
การศกึ ษาทง้ั ประถมศกึ ษาและมธั ยมศกึ ษาใชเ ปน แนวปฏบิ ตั ใิ นการดาํ เนนิ การ
เพอ่ื การพฒั นา สง เสรมิ กาํ กบั ดแู ล และตดิ ตามตรวจสอบคณุ ภาพการศกึ ษา
ใหเกิดประสิทธิภาพตอการพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยมีรายละเอียด
ดงั น้ี

87

ระดับสถานศกึ ษา
ใหส ถานศกึ ษาระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ดาํ เนนิ การดงั ตอ ไปน้ี
๑. ใหส ถานศกึ ษาแตล ะแหง จดั ใหม รี ะบบการประกนั คณุ ภาพ
การศึกษาภายในสถานศึกษา เพ่ือใหเกิดการพัฒนา และเพ่ือเปนกลไก
ในการควบคุม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาใหเกิดการ
พัฒนาและสรางความเชื่อมนั่ ใหกับสงั คม ชมุ ชน และผมู สี ว นเกยี่ วของ
๒. จัดใหมีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
สถานศึกษา ดงั น้ี

๒.๑ กําหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ใหเปนไปตามมาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาปฐมวัยและหรือ
ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานท่ีกระทรวงประกาศใช และใหสถานศึกษา
กําหนดเปาหมายความสําเร็จตามมาตรฐานของสถานศึกษาตามบริบท
ทงั้ น้ี สามารถเพม่ิ เตมิ มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา นอกเหนอื จากท่ี
กระทรวงศึกษาธิการประกาศใชได โดยใหสถานศึกษาและผูเก่ียวของ
ดําเนนิ การและรับผดิ ชอบรวมกัน

๒.๒ จัดทําแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
ท่ีสอดคลองกับสภาพปญหาและความตองการจําเปนของสถานศึกษา
อยา งเปน ระบบ โดยสะทอ นคณุ ภาพความสาํ เรจ็ อยา งชดั เจนตามมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษา

๒.๓ ดําเนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของ
สถานศึกษา

๒.๔ ประเมนิ ผลและตรวจสอบคณุ ภาพการศกึ ษาภายใน
สถานศึกษา โดยกําหนดผูร ับผิดชอบ และวธิ กี ารทเ่ี หมาะสม

๒.๕ ติดตามผลการดําเนินการเพ่ือพัฒนาสถานศึกษา
ใหมีคุณภาพตามมาตรฐานของสถานศึกษา และนําผลการติดตามไปใช
ประโยชนในการปรบั ปรงุ พฒั นา
88

๒.๖ จดั ทาํ รายงานผลการประเมนิ ตนเอง(SelfAssessment
Report : SAR) ตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา นาํ เสนอรายงานผล
การประเมนิ ตนเองตอ คณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานใหค วามเหน็ ชอบ
และจดั สง รายงานดงั กลา วตอ สาํ นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา เปน ประจาํ ทกุ ป

๒.๗ พัฒนาสถานศึกษาใหมีคุณภาพโดยพิจารณาจาก
รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self Assessment Report : SAR) และตาม
คําแนะนําของสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาหรือสํานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เพ่ือใหการประกันคุณภาพการศึกษาเปนไปอยางมี
ประสทิ ธิภาพและพฒั นาอยา งตอ เนื่อง

๓. สถานศกึ ษาแตล ะแหง ใหค วามรว มมอื กบั สาํ นกั งานรบั รอง
มาตรฐานและประเมินคณุ ภาพการศึกษา (สมศ.) ในการประเมินคณุ ภาพ
ภายนอกของสถานศึกษา เพ่ือปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ตามขอเสนอแนะของสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ
การศึกษา (สมศ.) และหนวยงานตนสังกัดหรือหนวยงานท่ีกํากับดูแล
เพอื่ นําไปสูการพฒั นาคุณภาพและมาตรฐานของสถานศึกษา

ระดับสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา/สํานักบริหารงาน
การศึกษาพเิ ศษ

สาํ นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา/สาํ นกั บรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ
ในฐานะหนวยงานตนสังกัดหรือหนวยงานที่กํากับดูแล ดําเนินการ
ดังตอ ไปนี้

๑. ศึกษา วิเคราะห รายงานผลการประเมินตนเองของ
สถานศึกษา ตลอดจนใหคําปรึกษา ชวยเหลือและแนะนําสถานศึกษา
เพ่ือการพัฒนาระบบประกันคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศึกษาแตละแหง
อยา งตอ เนือ่ ง

89

๒. รวบรวม และสังเคราะหรายงานผลการประเมินตนเอง
ของสถานศกึ ษา (Self Assessment Report : SAR) พรอ มกบั ประเดน็ ตา ง ๆ
ทต่ี อ งการใหม กี ารประเมนิ ผลและการตดิ ตามตรวจสอบ ซง่ึ รวบรวมไดจ าก
หนวยงานท่ีเก่ียวของหรือจากผูมีสวนไดสวนเสียกับสถานศึกษาแหงน้ัน
และจัดสงไปยังสาํ นักงานรบั รองมาตรฐานและประเมินคณุ ภาพการศกึ ษา
(สมศ.) เพอื่ ใชเปน ขอ มลู และแนวทางในการประเมินคุณภาพภายนอก

๓. ติดตามผลการดําเนินงาน ปรับปรุง และพัฒนาคุณภาพ
การศกึ ษาของสถานศกึ ษา ตามขอ เสนอแนะของสาํ นกั งานรบั รองมาตรฐาน
และประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) เพ่ือนําไปสูการพัฒนาคุณภาพ
และมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

๔. ใหค วามรว มมอื กบั สาํ นกั งานรบั รองมาตรฐานและประเมนิ
คณุ ภาพการศึกษา (สมศ.) ในการประเมินคณุ ภาพภายนอก

๕. อาจมอบหมายบคุ คลทไ่ี มไ ดเ ปน ผปู ระเมนิ เขา รว มสงั เกตการณ
และใหข อมลู เพ่มิ เติม ในกระบวนการประเมนิ คุณภาพภายนอก

ระดับสํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน
๑. สง เสริม สนบั สนุน ใหค ําปรึกษา ชว ยเหลือ ตอสํานกั งาน
เขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา เพอื่ การพฒั นาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา
๒. ศึกษา วิเคราะห สรุปผลรายงานผลการประเมินตนเอง
ของสถานศึกษา (Self Assessment Report: SAR) และรวบรวมประเดน็
ที่ตองการใหมีการประเมินผลและติดตามตรวจสอบ ซ่ึงรวบรวมได
จากหนวยงาน ท่ีเก่ียวของหรือผูมีสวนไดสวนเสียกับสถานศึกษา ไปยัง
สํานักงานรบั รองมาตรฐานและประเมนิ คุณภาพการศึกษา (สมศ.) เพื่อใช
เปนขอ มูลและแนวทางในการประเมนิ คุณภาพภายนอก

90

บการประกนั คณุ ภาพการศึกษา
2. ศึกษา วิเคราะห์ สรุปผลรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self
nt Report: SAR) และรวบรวมประเด็นท่ีต้องการให้มีการประเมินผลและติดตามตรวจสอบซึ่ง

นจาคกุณหภนา่วพยกงาารนศทึกษี่เกกาาี่ยร(วศสขมกึ ้อศษง.า)หขเรพอือ๓ง่อื ผสใ.ู้มชถีสเ้ตาป่วนิด็นนศตขไกึาด้อษม้สมผา่วลู ลตนแกาลเสามะรียขแดกอนําับเวสเสทนนถาินองางแในานนศนกะึกาขษปรอปารงับรสไะปปาํ เยนมรัุงงกิันสงคแาาุณนลนภะักรบพัางาพรัฒนอภนรงาับมายคารนตอุณองรกภมฐาาาพนตรฐาน
3. ติดตามแผลละปการระดเมาินเนคินุณงภานาพปกราับรปศรึกุงษแาล(ะสพมัฒศ.น) าเคพุณ่ือนภําาไพปกสาูกราศรึกพษัฒาขนอางคสุณถภาานพศึกษา

นอแนะของสานักแงลาะนมราับตรรอฐงามนากตารรฐศากึ นษแาลขะอปงรสะถเามนินศคกึ ุณษภาาพการศึกษา (สมศ.) เพื่อนาไปสู่การ
ภาพและมาตรฐานการศกึ ษาข๔อ.งสปถราะนสศากึ นษคาวามรวมมือกับสํานักงานรับรองมาตรฐาน
4. ประสาแนลคะวปารมะรเม่วมินมคือุณกภับาสพากนาักรงศากึ นษราับ(รสอมงศม.)าใตนรกฐารนจแดั ลบะคุ ปครละรเมวมินเคปุณน ภผปูาพระกเามรนิ ศึกษา
การจัดบุคคลร่วมคเุณป็ภนาผพู้ปภระาเยมนินอคกุณกภับาสพําภนาักยงนาอนกรักบับรอสงามนาักตงารนฐารนับแรอลงะมปารตะรเฐมาินนคแุณละภปารพะเมิน
รศกึ ษา (สมศ.) การศึกษา (สมศ.)
5. อาจมอบหมายบคุ ค๕ล.ท่ีไอมา่ไจดมเ้ ปอ็นบผหู้ปมระาเยมบินุคเขค้าลร่วทม่ีไสมังไเดกตเปกนารผณูป์ รแะลเะมใหิน้ขเขอ้ มารลู วเพมิม่ เติม
นการประเมินคุณสภังาเพกภตากยานรอณก และใหขอมูลเพิ่มเติม ในกระบวนการประเมินคุณภาพ
ภายนอก
ประกาศ ณ วันท่ี ๑๖ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๖๑

ประกาศ ณ วนั ท่ี ๑๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๑

เลเขลาขธากิ ธาิกร(าคน(รนณคาายณะยบกบะรุญกุญรรรมรรักกักมษษากร์ ายกรยอากอรดาดศเรพเึกศพษชึกชราษร)ข)าั้นขพัน้ ้นืพฐ้ืนาฐนาน

91

คณะทาํ งาน

ที่ปรึกษา

นายบญุ รักษ ยอดเพชร เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน
นายวิษณุ ทรพั ยส มบตั ิ ผูอ าํ นวยการสํานักทดสอบทางการศกึ ษา

สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน

รายชือ่ คณะกรรมการจดั ทาํ มาตรฐานการศึกษา
แตละระดบั และประเภทของหนวยงานตนสังกดั
หรือหนวยงานที่กาํ กบั ดูแล

รองศาสตราจารยอ นชุ าติ พวงสาํ ลี ทปี่ รึกษา
ผูชว ยศาสตราจารยช ยั ชนะ นิ่มนวล ทปี่ รกึ ษา
๑. นางสุกญั ญา งามบรรจง ประธาน
รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน
๒. นายประชาคม จันทรชติ กรรมการ
รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา
๓. นายวรศักด์ิ วัชรกําธร กรรมการ
ท่ีปรึกษาดานพฒั นาระบบเครือขายและการมสี ว นรวม สพฐ.
๔. นางสาววิเลขา ลสี วุ รรณ กรรมการ
รองเลขาธิการสาํ นักงานสงเสรมิ การศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศัย

92

๕. นางบญุ ชู ชลัษเฐียร กรรมการ
ผูทรงคุณวฒุ ิ สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน
๖. นางวาทินี ธีระตระกลู กรรมการ
ผูทรงคณุ วฒุ ิ สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน
๗. นางสาวไพรวลั ย พิทกั ษสาลี กรรมการ
ผทู รงคุณวุฒิสํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน
๘. ศาสตราจารยส ุวิมล วองวาณชิ กรรมการ
จฬุ าลงกรณมหาวิทยาลยั
๙. รองศาสตราจารยพ ัชรี ผลโยธนิ กรรมการ
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช
๑๐. นายชยุตม ภิรมยส มบัติ กรรมการ
จุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลยั
๑๑. นางลาํ ใย สนั่นรัมย กรรมการ
ผเู ชีย่ วชาญดา นการพฒั นาเครื่องมือวัดผล
สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน
๑๒. นางบวั บาง บญุ อยู กรรมการ
สํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน
๑๓. ผูอาํ นวยการสํานักมาตรฐานการศึกษา กรรมการ
และพัฒนาการเรยี นรู
สาํ นกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา
๑๔. นางประวีณา อัสโย กรรมการ
สาํ นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา

93

๑๕. นางรงุ อรุณ ไสยโสภณ กรรมการ
สํานกั งานสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
๑๖. นางสดุ า สุขอ่าํ กรรมการ
ผอู าํ นวยการสาํ นักบรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ
สํานกั บริหารงานการศกึ ษาพเิ ศษ
๑๗. นางจิรฐั ยา ไชยสาร กรรมการ
สํานกั บรหิ ารงานการศกึ ษาพิเศษ
๑๘. นายประยรู หรั่งทรพั ย กรรมการ
ผูเชยี่ วชาญดา นมาตรฐานการศึกษา
สาํ นกั งานคณะกรรมการสงเสรมิ การศึกษาเอกชน
๑๙. นางสาวโกสมุ สุขะเกศ กรรมการ
สํานักงานคณะกรรมการสง เสริมการศึกษาเอกชน
๒๐. นางสาววาสนา เครือมาศ กรรมการ
สํานักงานคณะกรรมการสง เสริมการศึกษาเอกชน
๒๑. ผูอาํ นวยการกองสง เสรมิ กรรมการ
และพฒั นาการจดั การศกึ ษาทองถน่ิ
กรมสงเสริมการปกครองทอ งถ่นิ
๒๒. นางสาวนุชนภา รื่นอบเชย กรรมการ
ผอู าํ นวยการสํานกั มาตรฐานและประเมินผลอดุ มศึกษา
สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศกึ ษา
๒๓. ผอู ํานวยการสาํ นกั มาตรฐาน กรรมการ
การอาชวี ศกึ ษาและวชิ าชพี
สาํ นักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

94


Click to View FlipBook Version