คู่มือการจดั กิจกรรม
สง่ เสรมิ พลงั สุขภาพจติ (RQ) ส�ำหรับผู้สงู อายุ
ผู้สูงวัย ใจเกินร้อย
คู่มือการจัดกิจกรรมส่งเสริมพลังสุขภาพจิต (RQ)
ส�ำหรับผู้สูงอายุ
ชื่อชุด ผู้สูงวัย ใจเกินร้อย
ISBN 978-616-455-966-0
ผู้เขียน ผู้ช่วยศาสตรจารย์ ดร.อัมเรศ เนตาสิทธ์ิ
คณะครุศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏล�ำปาง
พิมพ์คร้ังที่ 1 พฤศจิกายน 2560
จ�ำนวนพิมพ์ 50 เล่ม
จัดพิมพ์และเผยแพร่โดย ผู้ช่วยศาสตรจารย์ ดร.อัมเรศ เนตาสิทธ์ิ
คณะครุศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏล�ำปาง
119 ม.9 ถนนล�ำปาง-แม่ทะ ต�ำบลชมพู
อ�ำเภอเมือง จังหวัดล�ำปาง 52100
โทรศัพท์ 054-237399
โทรสาร 054-237388-389
ออกแบบและพิมพ์ที่ บริษัท ดีเซมเบอร่ี จ�ำกัด
โทรศัพท์ 08 5997 7220
2 ผู้สงู วยั ใจเกนิ รอ้ ย
สารบัญ
ค�ำน�ำ หน้า
บทนำ� 5
บทบาทของวทิ ยากร / ผ้ชู ่วยวิทยากร ในการจดั กจิ กรรม 6
ตัวอย่างแผนการจดั กิจกรรมส่งเสรมิ พลงั สขุ ภาพจติ สำ� หรับผู้สูงอายุ 8
10
กิจกรรมท่ี 1 เรอื่ ง “ตงุ ปรับอารมณ”์ 13
กจิ กรรมที่ 2 เรื่อง “ภาพปรับความคดิ ” 21
กจิ กรรมที่ 3 เรื่อง “แปลนชีวติ ” 29
กิจกรรมที่ 4 เรื่อง “แลกของขวญั ” 37
กิจกรรมที่ 5 เร่อื ง “ร้ทู ันเทคโนโลยี” 45
กจิ กรรมที่ 6 เรือ่ ง “รำ� วงกระชบั มิตร” 53
กิจกรรมที่ 7 เรอ่ื ง “เร่ืองเลา่ ของวนั วาน” 61
รายการอ้างองิ 67
ผ้สู งู วยั ใจเกนิ ร้อย 3
4
ค�ำน�ำ
ประชากรผู้สงู อายุในประเทศไทยมีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นอย่างรวดเร็วในอนาคต
อันใกล้ ซ่ึงการการเพิ่มขึ้นของจ�ำนวนประชากรผู้สูงอายุน้ันส่งผลกระทบต่อปัญหา
คา่ ใชจ้ า่ ยในการดแู ลรกั ษา การฟน้ื ฟสู ภาพ ภาวะพง่ึ พาของผสู้ งู อาย ุ การใชท้ รพั ยากร
ต่าง ๆ ทั้งด้านสังคมและสุขภาพ ท�ำให้โอกาสในการปรับตัวของผู้สูงอายุและ
การเตรยี มการเพอื่ รองรบั ผลกระทบในดา้ นตา่ ง ๆ เปน็ ไปอยา่ งจำ� กดั และมคี วามยาก
ลำ� บาก นอกจากนนั้ ตวั ของผสู้ งู อายเุ องยงั ตอ้ งประสบกบั ปญั หามากมายอนั เกดิ จาก
การเปลยี่ นแปลงในยคุ ปจั จบุ นั เชน่ ปญั หาทางดา้ นสขุ ภาพกาย ปญั หาทางดา้ นเศรษฐกจิ
ปัญหาทางด้านสังคม ปัญหาทางด้านจิตใจ ปัญหาเก่ียวกับครอบครัว และปัญหา
คา่ นิยมที่เปล่ียนแปลงไปของคนรนุ่ ใหม่ เปน็ ตน้ ซง่ึ หากไมม่ กี ารสง่ เสรมิ พลงั สุขภาพ
จติ ผสู้ ูงอายุอาจเกิดปญั หาทางจติ ใจและสง่ ผลกระทบตอ่ สภาพรา่ งกายในท่ีสดุ
ดังนั้นผู้วิจัยจึงได้พัฒนาชุดกิจกรรมส่งเสริมพลังสุขภาพจิต และน�ำ
ชุดกิจกรรมดังกล่าวไปด�ำเนินการส่งเสริมพลังสุขภาพจิตให้กับผู้สูงอายุให้สามารถ
ปรบั ตวั และฟน้ื ตวั ไดห้ ลงั เผชญิ กบั ปญั หาของผสู้ งู อายุ ชว่ ยใหผ้ า่ นพน้ ปญั หาอปุ สรรค
และด�ำเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข มีมุมมองทางบวกกับปัญหา และยังมีภูมิคุ้มกัน
ด้านจิตใจหากต้องพบเจอกับปัญหาอุปสรรคในลักษณะเช่นนี้อีกแบบไม่ทันตั้งตัว
นอกจากนช้ี ดุ กจิ กรรมการสง่ เสรมิ พลงั สขุ ภาพจติ สำ� หรบั ผสู้ งู อายุ ยงั จะเปน็ แนวทาง
ใหห้ นว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ งและชมุ ชนอน่ื ๆ ทัว่ ประเทศไดน้ �ำไปประยกุ ต์ใชไ้ ดอ้ กี ด้วย
ผู้ชว่ ยศาสตรจารย์ ดร.อัมเรศ เนตาสิทธิ์
อาจารย์คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏล�ำปาง
ผูว้ ิจยั
ผู้สูงวยั ใจเกนิ รอ้ ย 5
บทน�ำ
คมู่ อื การจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ พลงั สขุ ภาพจติ สำ� หรบั ผสู้ งู อายุ มวี ตั ถปุ ระสงค์
เพ่อื ใช้เป็นแนวทางในการจดั กจิ กรรมสำ� หรับผสู้ ูงอายุ โดยใหช้ ุมชนมสี ่วนรว่ มในการ
ทำ� กจิ กรรมตา่ ง ๆ เพอ่ื ใหม้ คี วามรู้ ความเขา้ ใจ ตลอดจนมแี นวทางในการพฒั นาพลงั
สขุ ภาพจติ ใหก้ บั ตวั เอง สามารถปรบั ตวั และดำ� เนนิ ชวี ติ ไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ มภี มู คิ มุ้ กนั
พลังสขุ ภาพจติ ทพี่ รอ้ มรับกบั สภาพปญั หาทไ่ี มค่ าดคิด และอาจเกดิ ข้นึ ได้ในอนาคต
อีกทั้งยังจะเป็นแนวทางให้หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องและชุมชนอ่ืน ๆ ทั่วประเทศที่
ตอ้ งการจัดกจิ กรรมให้กบั ผู้สงู อายุไดน้ �ำไปประยุกต์ใชไ้ ด้อกี ดว้ ย
คมู่ อื การจดั กจิ กรรมนช้ี อ่ื ชดุ กจิ กรรม “ผสู้ งู วยั ใจเกนิ รอ้ ย” ประกอบไปดว้ ย
กจิ กรรมย่อย 7 กิจกรรม ดงั น้ี
กจิ กรรมท่ี 1 เรอื่ ง “ตงุ ปรบั อารมณ”์ มงุ่ เสรมิ สรา้ งใหผ้ สู้ งู อายรุ เู้ ทา่ ทนั อารมณ์
ของตนเอง ยอมรบั อารมณข์ องตนเอง รจู้ กั วธิ กี ารควบคมุ อารมณข์ องตนเอง สามารถ
วเิ คราะหถ์ งึ ผลกระทบของอารมณต์ อ่ พฤตกิ รรมของตนเองได้ และการจดั การกบั อารมณ์
ของตนเองได้อยา่ งเหมาะสม และมกี ารแสดงออกทางอารมณท์ ่เี หมาะสมตอ่ ไป
กจิ กรรมท่ี 2 เรอ่ื ง “ภาพปรบั ความคดิ ” มงุ่ เสรมิ สรา้ งใหผ้ สู้ งู อายสุ ามารถ
ปรับความคิด และปรับการกระท�ำให้เหมาะสม รู้วิธีการดูแลตนเองให้มีความสุข
เม่ือเกิดความทุกข์จากปัญหาต่าง ๆ และปรับแนวคิดให้ยืดหยุ่นตามสถานการณ์
ซ่ึงจะชว่ ยลดความกดดนั และความเครียดได้
กิจกรรมท่ี 3 เร่ือง “แปลนชีวิต” มุ่งเสริมสร้างให้ผู้สูงอายุสามารถปรับ
การกระทำ� เพอ่ื ใหต้ นเองเกดิ กำ� ลงั ใจทจ่ี ะตอ่ สู้ เปน็ คนทวี่ างแผนการใชช้ วี ติ ในแตล่ ะวนั
มากกว่าการอยู่ไปวัน ๆ มีงานอดิเรกเพื่อสร้างรายได้ และเพื่อให้เกิดเป้าหมายใน
การใชช้ ีวติ
6 ผสู้ งู วัย ใจเกินรอ้ ย
กจิ กรรมที่ 4 เรอ่ื ง “แลกของขวญั ” มงุ่ สง่ เสรมิ ใหผ้ สู้ งู อายรุ วู้ ธิ กี ารยดื หยนุ่
และปรับเป้าหมายให้เหมาะสมกับสถานการณ์ท่ีเป็นอยู่ และมีมุมมองทางบวก
(Positive Thinking) กบั ปญั หา
กิจกรรมที่ 5 เร่ือง “รู้ทันเทคโนโลยี” มุ่งส่งเสริมให้ผู้สูงอายุเกิดศรัทธา
ในตนเอง เชอ่ื วา่ ชวี ิตมีคณุ ค่าและมคี วามหวงั
กิจกรรมท่ี 6 เรื่อง “ร�ำวงกระชับมิตร” มุ่งส่งเสริมให้ผู้สูงอายุผูกมิตร
ซง่ึ กนั และกนั และใหค้ วามชว่ ยเหลอื คนอน่ื เทา่ ทท่ี ำ� ได ้ เกดิ ทกั ษะดา้ นการสอ่ื สารและ
การรับสาร และเกิดแนวคิดทางบวก (Positive Thinking)
กิจกรรมท่ี 7 เรื่อง “เรื่องเล่าของวันวาน” มุ่งส่งเสริมให้ผู้สูงอายุเปิดใจ
ปรบั เปลี่ยนมมุ มอง และยอมรบั ความคิดของคนอ่ืนที่แตกตา่ งจากตนเอง
ผู้สงู วัย ใจเกนิ รอ้ ย 7
บทบาทของวิทยากร / ผู้ช่วยวิทยากร
ในการจัดกิจกรรม
วิทยากรที่สามารถน�ำชุดกิจกรรมน้ีไปประยุกต์ใช้ ได้แก่ อาสาสมัคร
สาธารณสุขประจำ� หมบู่ ้าน (อสม.) อาสาสมคั รดูแลผู้สูงอายุ (อผส.) บคุ ลากรประจำ�
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจ�ำต�ำบล โรงพยาบาลประจ�ำจังหวัด ครู อาจารย์
บุคลากรทางการศึกษาที่มีความรู้ด้านจิตวิทยา และต้องการส่งเสริมพลังสุขภาพจิต
ให้กับผู้สูงอายุ โดยด�ำเนินการตามกระบวนการของชุดกิจกรรม ซ่ึงวิทยากร/ผู้ช่วย
วิทยากร ตอ้ งด�ำเนนิ การตามบทบาททสี่ ำ� คญั ดงั นี้
1. ควรเปิดโอกาสให้ผสู้ งู อายทุ ุกคนมีส่วนร่วมในกจิ กรรม
2. ระหว่างการท�ำกิจกรรมควรให้ก�ำลังใจ และให้โอกาสผู้สูงอายุประสบ
ความสำ� เรจ็ ในกจิ กรรม เพอ่ื สรา้ งความเชอื่ มน่ั และภาคภมู ใิ จในตนเอง
3. วิทยากรต้องสร้างบรรยากาศของการท�ำกิจกรรมร่วมกัน ท�ำให้เกิด
บรรยากาศท่ีอบอ่นุ และมไี มตรีตอ่ กัน
4. วทิ ยากรควรรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของผสู้ งู อายุ วางตวั เปน็ กลาง และกรณี
ที่เกิดปญั หาตอ้ งตดั สนิ ปัญหาอยา่ งยตุ ิธรรม
5. วิทยากรต้องวางแผนเก่ียวกับการจัดการเวลาให้เหมาะสมกับจ�ำนวน
ของผู้สูงอายุ
6. จัดกิจกรรมโดยมุ่งเน้นให้ผู้สูงอายุเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยคณะ
วิทยากรเป็นผู้คอยท�ำหน้าที่ในการสนับสนุนให้ผู้ร่วมท�ำกิจกรรมเกิด
การเรยี นรู้ตามวัตถปุ ระสงคข์ องกิจกรรมที่ตงั้ ไว้
8 ผ้สู งู วยั ใจเกนิ ร้อย
7. ชุดกิจกรรมน้ี เป็นชุดกิจกรรมที่จัดให้กับผู้สูงอายุท่ีอาจมีข้อจ�ำกัด
ท่ีแตกต่างกันออกไป เช่น สายตาไม่ค่อยดี หูไม่ดี หรือเขียนหนังสือ
ไมไ่ ด้ เปน็ ตน้ ดงั นนั้ วทิ ยากร/ผชู้ ว่ ยวทิ ยากร ควรคอยใหค้ วามชว่ ยเหลอื
ผสู้ งู อายใุ นกรณที จ่ี ำ� เป็น
8. วิทยากรต้องมีความสามารถในการสรุปปัญหาได้ชัดเจน และ
จับประเดน็ ใจความไดถ้ ูกต้อง
9. วิทยากรต้องมีความรใู้ นการสรุปตามใบความรู้
ผสู้ ูงวยั ใจเกินรอ้ ย 9
ตัวอย่างแผนการจัดกิจกรรมส่งเสริม
พลังสุขภาพจิต ส�ำหรับผู้สูงอายุ
ครั้งที่ กิจกรรม 9.00-9.30 น. 9.30-10.30 น.
ทดสอบ RQ ก่อนท�ำกิจกรรม (ใช้เวลาประมาณ 20 นาที) ขั้นด�ำเนินกิจกรรม
ขั้นด�ำเนินกิจกรรม
1 ตุงปรับอารมณ์ ข้ันน�ำ ขั้นด�ำเนินกิจกรรม
ขั้นด�ำเนินกิจกรรม
2 ภาพปรับความคิด ข้ันน�ำ ขั้นด�ำเนินกิจกรรม
ข้ันด�ำเนินกิจกรรม
3 แปลนชีวิต ข้ันน�ำ ข้ันด�ำเนินกิจกรรม
4 แลกของขวัญ ข้ันน�ำ
5 รู้ทันเทคโนโลยี ขั้นน�ำ
6 ร�ำวงกระชับมิตร ขั้นน�ำ
7 เร่ืองเล่าของวันวาน ข้ันน�ำ
ทดสอบ RQ หลังท�ำกิจกรรม (ใช้เวลาประมาณ 20 นาที)
หมายเหต ุ 1. แผนการจดั กจิ กรรมนเ้ี ปน็ กำ� หนดการจดั กจิ กรรมสปั ดาหล์ ะ 1 ครงั้
ทงั้ นอ้ี าจปรบั เปลย่ี นไดต้ ามบรบิ ทของชมุ ชน และตามความคดิ เหน็
ของผ้นู �ำไปประยุกตใ์ ช้
2. จ�ำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมในแต่ละครั้งไม่ควรเกิน 40 คน ท้ังน้ี
เพอ่ื ใหท้ กุ คนไดม้ โี อกาสและมสี ว่ นรว่ มในการทำ� กจิ กรรมอยา่ งทว่ั ถงึ
10 ผสู้ ูงวัย ใจเกินรอ้ ย
10.30-11.00 น. 11.00-12.00 น. 12.00-13.00 น.
พักรับประทานอาหารว่าง ขั้นสรุป รับประทานอาหารกลางวัน
พักรับประทานอาหารว่าง ข้ันสรุป รับประทานอาหารกลางวัน
พักรับประทานอาหารว่าง ขั้นสรุป รับประทานอาหารกลางวัน
พักรับประทานอาหารว่าง ข้ันสรุป รับประทานอาหารกลางวัน
พักรับประทานอาหารว่าง ข้ันสรุป รับประทานอาหารกลางวัน
พักรับประทานอาหารว่าง ข้ันสรุป รับประทานอาหารกลางวัน
พักรับประทานอาหารว่าง ขั้นสรุป รับประทานอาหารกลางวัน
3. สามารถน�ำกิจกรรมไปจัดซ�้ำกับผู้สูงอายุได้ แต่ควรปรับเปลี่ยน
สอ่ื ประกอบการท�ำกจิ กรรม เพอ่ื ใหเ้ กิดความน่าสนใจ
4. ระยะเวลาในการทำ� กจิ กรรมสามารถยดื หยนุ่ ไดต้ ามความเหมาะสม
ผสู้ ูงวัย ใจเกนิ รอ้ ย 11
กิจกรรมที่ 1
ตุงปรับอารมณ์
13
14
กิจกรรมท่ี 1
เรื่อง “ตุงปรับอารมณ์”
ค�ำช้ีแจง
1. กิจกรรมนี้เป็นกิจกรรมท่ีสามารถใช้ส�ำหรับส่งเสริมพลังสุขภาพจิต
ให้กับผสู้ งู อายุ
2. กิจกรรมน้ีเหมาะสมส�ำหรับผู้สูงอายุ ท่ีมีอายุกลุ่มติดสังคม และกลุ่ม
ตดิ บ้าน ทมี่ ีอายตุ ง้ั แต่ 60 ปขี ึน้ ไป และสามารถรว่ มกิจกรรมได้
3. ผู้สูงอายุสามารถน�ำสมาชิกในครอบครัวไม่จ�ำกัดอายุ มาท�ำกิจกรรม
รว่ มได้ 1 คน
4. กิจกรรมนี้สอดคล้องกับแนวทางการสร้างพลังสุขภาพจิต ของ
กรมสขุ ภาพจติ กระทรวงสาธารณสขุ (2552) ดา้ น “การปรบั อารมณ”์
5. ระหว่างการท�ำกิจกรรมควรมีผู้ช่วยวิทยากรประจ�ำกลุ่ม คอยให้
ความชว่ ยเหลือ/ใหค้ �ำปรกึ ษาแกผ่ สู้ ูงอายุ
6. เวลาท่ีใช้ในการท�ำกิจกรรมประมาณ 3 ช่ัวโมง ท้ังน้ีวิทยากรต้อง
วางแผนให้เหมาะสมกับจ�ำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม และความพร้อมใน
การเรยี นร้ขู องผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรมดว้ ย
ผสู้ งู วัย ใจเกินรอ้ ย 15
วัตถุประสงค์
1. เพ่ือเสริมสร้างให้ผู้สูงอายุรู้เท่าทันอารมณ์ของตนเอง ยอมรับอารมณ์
ของตนเอง
2. เพ่ือส่งเสริมให้ผู้สูงอายุรู้จักวิธีการควบคุมอารมณ์ของตนเอง และ
การจดั การกบั อารมณข์ องตนเองไดอ้ ยา่ งเหมาะสม เพอื่ มกี ารแสดงออก
ทางอารมณท์ ี่เหมาะสมตอ่ ไป
3. เพอ่ื ใหผ้ สู้ งู อายสุ ามารถวเิ คราะหถ์ งึ ผลกระทบของอารมณต์ อ่ พฤตกิ รรม
ของตนเองได้
อุปกรณ์
1. กระดาษว่าว
2. กรรไกร
3. กระดาษแข็ง
4. เข็ม
5. ดา้ ย
สาระส�ำคัญ
เม่ือเกิดปัญหาหรืออุปสรรคที่เป็นเร่ืองใหญ่ในชีวิต เช่น การสูญเสียบุคคล
อนั เปน็ ทร่ี กั และการเป็นโรคร้ายแรง เปน็ ต้น ผ้สู ูงอายุมักจะตกใจ และมคี วามร้สู กึ
ต่าง ๆ ท่ีรุนแรง จนควบคุมตัวเองไม่ได้ สิ่งที่ผู้อายุควรท�ำคือต้องพยายามต้ังสติ
หรอื หาคนปลอบใจ หลงั จากนนั้ หาทางออกในการระบายความกดดนั อยา่ งเหมาะสม
เช่น การออกก�ำลงั กาย การระบายให้คนอ่ืนฟัง หันเหความสนใจไปเร่ืองอน่ื เพ่ือปรับ
16 ผูส้ ูงวยั ใจเกินรอ้ ย
อารมณ์ และบอกกับตัวเองได้ว่า เราต้องสู้ ยังมีคนท่ีทุกข์กว่าเราอีกมาก หากต้อง
อดทนตอ่ สูก้ ับปัญหาให้คดิ ถึงความส�ำเรจ็ ของเราและของครอบครวั
วิธีด�ำเนินกิจกรรม
วิธีด�ำเนินกิจกรรม เน้ือหา/ส่ือ/อุปกรณ์
ข้ันน�ำ
1. วิทยากรให้ตัวแทนผู้สูงอายุน�ำสวดมนต์ และ
ฝึกสมาธิ ประมาณ 15 นาที
2. วิทยากรช้ีแจงข้ันตอนการท�ำกิจกรรมให้
ผู้สูงอายุฟังอย่างละเอียด
ขั้นด�ำเนินกิจกรรม
3. ให้ตัวแทนผู้สูงอายุออกมาแสดงสีหน้าและ
อารมณ์ให้สมาชิกดู และสมาชิกผู้สูงอายุ
ท่านอ่ืน ๆ ทายว่าเป็นอารมณ์อะไร
4. วิทยากรให้ผู้สูงอายุแบ่งกลุ่ม
กลุ่มละประมาณ 5 คน
5. วิทยากรให้ผู้สูงอายุในกลุ่มช่วยกันคิด
สถานการณ์ที่จะท�ำให้ได้ฝึกการปรับอารมณ์
เช่น การไปพบหมอ การไปร่วมงานใน
หมู่บ้าน เป็นต้น
ผ้สู งู วัย ใจเกินร้อย 17
วิธีด�ำเนินกิจกรรม เนื้อหา/สื่อ/อุปกรณ์
6. วิทยากรให้ผู้สูงอายุทุกคนในกลุ่มผลัดกัน
เล่าจนครบทุกคน
7. วิทยากรให้ผู้สูงอายุทุกกลุ่มออกมา
แสดงบทบาทสมมุติให้กลุ่มอื่น ๆ ดู
8. วิทยากรเชิญปราศชาวบ้านที่มีความรู้
เก่ียวกับการตัดตุงกระดาษล้านนา
(ตุงไส้หมู) มาสอนให้ผู้สองอายุได้ฝึกท�ำ
เพ่ือน�ำไปใช้เทศกาลต่าง ๆ สามารถเป็นงาน
อดิเรก และสร้างรายได้ อีกท้ังยังเป็นการฝึก
สมาธิ และเกิดความสงบด้านอารมณ์และ
จิตใจอีกด้วย
ขั้นสรุป
9. วิทยากรสรุปถึงประโยชน์ที่ได้จากการท�ำ
ตุงไส้หมู และวิธีการในการควบคุมอารมณ์
ของตนเอง การปรับตัวเม่ือเกิดอารมณ์
ทางลบข้ึนกับตัวเอง
10.วิทยากรให้ผู้สูงอายุสะท้อนถึงสิ่งท่ีได้
จากการท�ำกิจกรรมในวันนี้ และเน้นย้�ำ
ให้น�ำไปใช้ในชีวิตประจ�ำวัน
18 ผ้สู ูงวัย ใจเกนิ ร้อย
การประเมินผล
1. สังเกตจากการมีสว่ นร่วมในกจิ กรรม
2. สงั เกตจากผลงาน
ผสู้ ูงวยั ใจเกนิ ร้อย 19
กิจกรรมท่ี 2
ภาพปรับความคิด
21
22
กิจกรรมที่ 2
เร่ือง “ภาพปรับความคิด”
ค�ำชี้แจง
1. กิจกรรมน้ีเป็นกิจกรรมท่ีสามารถใช้ส�ำหรับส่งเสริมพลังสุขภาพจิต
ให้กับผ้สู งู อายุ
2. กิจกรรมน้ีเหมาะสมส�ำหรับผู้สูงอายุ ที่มีอายุกลุ่มติดสังคม และกลุ่ม
ตดิ บ้าน ทมี่ ีอายุตัง้ แต่ 60 ปีขนึ้ ไป และสามารถร่วมกิจกรรมได้
3. ผู้สูงอายุสามารถน�ำสมาชิกในครอบครัวไม่จ�ำกัดอายุ มาท�ำกิจกรรม
รว่ มได้ 1 คน
4. กิจกรรมน้ีสอดคล้องกับแนวทางการสร้างพลังสุขภาพจิต ของ
กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข (2552) ดา้ น “ปรบั ความคดิ ”
5. ระหว่างการท�ำกิจกรรมควรมีผู้ช่วยวิทยากรประจ�ำกลุ่ม คอยให้
ความช่วยเหลือ/ให้ค�ำปรึกษาแกผ่ สู้ ูงอายุ
6. เวลาที่ใช้ในการท�ำกิจกรรมประมาณ 3 ช่ัวโมง ท้ังนี้วิทยากรต้อง
วางแผนให้เหมาะสมกับจ�ำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม และความพร้อม
ในการเรยี นร้ขู องผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมด้วย
ผู้สงู วยั ใจเกินรอ้ ย 23
วัตถุประสงค์
1. เพ่ือเสริมสร้างให้ผู้สูงอายุสามารถปรับความคิด และปรับการกระท�ำ
ให้เหมาะสม
2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุรู้วิธีการดูแลตนเองให้มีความสุขเม่ือเกิด
ความทุกข์จากปัญหาตา่ ง ๆ
3. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุปรับแนวคิดให้ยืดหยุ่นตามสถานการณ์
ซง่ึ จะช่วยลดความกดดันและความเครียดได้
อุปกรณ์
1. กระดาษปรฟู๊
2. ดนิ สอ
3. สี
สาระส�ำคัญ
การท่ีจิตใจสงบลงท�ำให้ผู้สูงอายุคิดเร่ืองที่เป็นเหตุเป็นผลได้มากข้ึน
การปรบั ความคดิ ทำ� ไดห้ ลายวธิ ี เชน่ เปรยี บกบั คนทแี่ ยก่ วา่ เรา ลองมองสว่ นดที เ่ี หลอื
อยู่ หรือมองว่าเป็นธรรมดา หรือมันก็สามารถเกิดข้ึนได้กับทุกครอบครัว การปรับ
ความคิดจะท�ำให้เรายอมรับว่ามีปัญหาใหญ่เกิดขึ้น และมีก�ำลังใจท่ีจะต่อสู้ต่อไป
เพราะการทเี่ รายอมรบั ความจริง ปญั หาทกุ อยา่ งจะถกู แกไ้ ขอย่างตรงจุด
24 ผู้สูงวัย ใจเกนิ ร้อย
วิธีด�ำเนินกิจกรรม
วิธีด�ำเนินกิจกรรม เนื้อหา/ส่ือ/อุปกรณ์
ขั้นน�ำ
1. วิทยากรให้ตัวแทนผู้สูงอายุน�ำสวดมนต์
และฝึกสมาธิ ประมาณ 15 นาที
2. วิทยากรชี้แจงขั้นตอนการท�ำกิจกรรม
ให้ผู้สูงอายุฟังอย่างละเอียด
ขั้นด�ำเนินกิจกรรม
3. วิทยากรให้ผู้สูงอายุแบ่งกลุ่ม
กลุ่มละประมาณ 5 คน
4. วิทยากรให้กันเล่า ถึงปัญหาหรืออุปสรรค
ที่เกิดข้ึนจริงในชีวิต ขณะท่ีเกิดปัญหาผู้สูง
อายุมีความคิดอย่างไรต่อปัญหานั้น ๆ และ
มีการปรับความคิดด้วยวิธีไหนจึงท�ำให้ผ่าน
สถานการณ์น้ันมาได้
5. วิทยากรให้ผู้สูงอายุทุกคนในกลุ่มผลัดกัน
เล่าจนครบทุกคน
ผสู้ ูงวัย ใจเกินรอ้ ย 25
วิธีด�ำเนินกิจกรรม เนื้อหา/ส่ือ/อุปกรณ์
6. วิทยากรให้ผู้สูงอายุในกลุ่มช่วยกันวาดภาพ
สรุปจากการเล่าของสมาชิกในกลุ่มว่า
เมื่อเราพบเจอกับปัญหาเราจะต้องปรับ
ความคิดให้เหมือนดังภาพท่ีวาด เช่น
ภาพผู้สูงอายุยิ้ม ภาพดอกไม้ ภาพนกบิน
เป็นต้น ซึ่งขึ้นอยู่กับสมาชิกในกลุ่มจะช่วย
กันระดมความคิดเห็นและตีความอย่างไร
(วิทยากรไม่ควรชี้น�ำว่าควรจะวาดเป็นรูป
อะไร ควรให้อิสระผู้สูงอายุได้วาดภาพอย่าง
สร้างสรรค์และอิสระ และไม่ควรเน้นที่ความ
สวยงาม แต่เน้นท่ีความคิดสร้างสรรค์)
7. วิทยากรให้ตัวแทนผู้สูงอายุในกลุ่มออกมา
น�ำเสนอภาพวาดและแนวความคิดในการ
วาดภาพของกลุ่ม ให้ผู้สูงอายุกลุ่มอ่ืน ๆ ฟัง
ข้ันสรุป
8. วิทยากรให้ดูคลิปการเทศนาของพระ เพื่อให้
ผู้สูงอายุเข้าใจชีวิต เข้าใจการเปล่ียนแปลง
เข้าใจการปรับตัวและปรับความคิดในภาวะ
ต่าง ๆ โดยเฉพาะเรื่องการสูญเสีย
การลาจาก การสร้างศรัทธา การสร้าง
ความเช่ือม่ัน การเตรียมตัวตาย เป็นต้น
26 ผสู้ ูงวยั ใจเกินร้อย
วิธีด�ำเนินกิจกรรม เน้ือหา/ส่ือ/อุปกรณ์
9. วิทยากรให้ผู้สูงอายุสะท้อนถึงสิ่งที่ได้จาก
การท�ำกิจกรรมในวันนี้ และเน้นย้�ำให้น�ำไป
ใช้ในชีวิตประจ�ำวัน
การประเมินผล
1. สังเกตจากการมสี ว่ นร่วมในกิจกรรม
2. สังเกตจากผลงาน
ผูส้ ูงวัย ใจเกนิ ร้อย 27
กิจกรรมที่ 3
แปลนชีวิต
29
30
กิจกรรมที่ 3
เรื่อง “แปลนชีวิต”
ค�ำช้ีแจง
1. กิจกรรมนี้เป็นกิจกรรมที่สามารถใช้ส�ำหรับส่งเสริมพลังสุขภาพจิต
ใหก้ ับผู้สูงอายุ
2. กิจกรรมนี้เหมาะสมส�ำหรับผู้สูงอายุ ท่ีมีอายุกลุ่มติดสังคม และกลุ่ม
ตดิ บ้าน ทีม่ ีอายตุ งั้ แต่ 60 ปีข้นึ ไป และสามารถร่วมกิจกรรมได้
3. ผู้สูงอายุสามารถน�ำสมาชิกในครอบครัวไม่จ�ำกัดอายุ มาท�ำกิจกรรม
ร่วมได้ 1 คน
4. กิจกรรมน้ีสอดคล้องกับแนวทางการสร้างพลังสุขภาพจิต ของ
กรมสขุ ภาพจติ กระทรวงสาธารณสขุ (2552) ดา้ น “ปรบั การกระทำ� ”
5. ระหว่างการท�ำกิจกรรมควรมีผู้ช่วยวิทยากรประจ�ำกลุ่ม คอยให้
ความชว่ ยเหลือ/ให้ค�ำปรกึ ษาแก่ผสู้ ูงอายุ
6. เวลาที่ใช้ในการท�ำกิจกรรมประมาณ 3 ชั่วโมง ท้ังน้ีวิทยากรต้อง
วางแผนให้เหมาะสมกับจ�ำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม และความพร้อม
ในการเรียนรขู้ องผเู้ ข้าร่วมกจิ กรรมดว้ ย
ผสู้ ูงวัย ใจเกนิ รอ้ ย 31
วัตถุประสงค์
1. เพ่ือเสริมสร้างให้ผู้สูงอายุสามารถปรับการกระท�ำเพ่ือให้ตนเองเกิด
กำ� ลงั ใจทจี่ ะต่อสู้
2. เพ่ือส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีงานอดิเรกเพ่ือสร้างรายได้ และเพื่อให้เกิด
เป้าหมายในการใชช้ วี ิต
3. เพ่ือส่งเสริมให้ผู้สูงอายุเป็นคนท่ีวางแผนการใช้ชีวิตในแต่ละวัน
มากกวา่ การอยู่ไปวนั ๆ
อุปกรณ์ 2. ใบงาน “แปลนชีวติ ”
4. กรรไกร
1. แผ่นพับวิธกี ารนวดตนเอง 6. เหรียญบาท
และดดั ตนคลายเครยี ด
3. รบิ ป้นิ
5. สายวัด
สาระส�ำคัญ
เมื่ออารมณ์ ความคิดกลับมาเป็นปกติ และมีก�ำลังใจที่จะต่อสู้แล้ว ก็ต้อง
ลงมอื ทำ� ในสง่ิ ทคี่ ดิ ไวเ้ พอ่ื แกป้ ญั หาหรอื อปุ สรรค เชน่ เปลย่ี นจากคนทอ่ี ยกู่ บั บา้ นเฉย
ๆ มามงุ่ มน่ั ทำ� งานอดเิ รก สรา้ งรายไดใ้ หก้ บั ตนเองและครอบครวั หรอื เปลยี่ นจากคน
ทเ่ี ก็บปัญหา เป็นคนเปลี่ยนปัญหาให้เป็นโอกาส ดว้ ยการเจริญสติ และวางแผนชวี ติ
ใหช้ ดั เจนวา่ วนั นจ้ี ะทำ� อะไร ไดอ้ ะไร และตอบกบั ตวั เองใหไ้ ดว้ า่ แลว้ ทำ� ไปทำ� ไม เพอ่ื
ให้ชีวิตมีธง และดำ� เนินต่อไปขา้ งหน้าตอ่ ไปได้
32 ผสู้ งู วยั ใจเกนิ รอ้ ย
วิธีด�ำเนินกิจกรรม
วิธีด�ำเนินกิจกรรม เนื้อหา/สื่อ/อุปกรณ์
ข้ันน�ำ 1. แผ่นพับวิธีการนวดตนเอง
1. วิทยากรน�ำให้ผู้สูงนวดตัวเอง ประมาณ
และดัดตนคลายเครียด
15 นาที พร้อมทั้งแจกแผ่นพับวิธีการพร้อม
รูปภาพประกอบการนวดตัวเอง เพ่ือให้ 1. ใบงาน “แปลนชีวิต”
สามารถกลับไปท�ำต่อท่ีบ้านได้
2. วิทยากรช้ีแจงข้ันตอนการท�ำกิจกรรม
ให้ผู้สูงอายุฟังอย่างละเอียด
ขั้นด�ำเนินกิจกรรม
3. วิทยากรให้ผู้สูงอายุแบ่งกลุ่ม
กลุ่มละประมาณ 5 คน
4. วิทยากรให้ผู้สูงอายุแต่ละคนเขียนหรือวาด
ภาพแปลนชีวิตของตัวเองใน 1 วัน ว่าหลัง
จากต่ืนนอนจนถึงเข้านอนจะท�ำอะไรบ้าง
กรณีที่ผู้สูงอายุท่านใดยังไม่มีกิจกรรม
ท่ีแน่ชัด ให้วางแผนว่าอยากจะท�ำอะไร
โดยในแปลนชีวิตนั้น ควรเพ่ิมเวลาในการ
ท�ำงานอดิเรกที่ตนเองช่ืนชอบด้วย (วิทยากร
ควรมีการยกตัวอย่างการเขียนแปลนชีวิต
ในแต่วัน)
ผูส้ ูงวัย ใจเกินรอ้ ย 33
วิธีด�ำเนินกิจกรรม เน้ือหา/ส่ือ/อุปกรณ์
5. วิทยากรให้ผู้สูงอายุผลัดกันเล่าแปลนชีวิต 1. ริบปิ้น
2. กรรไกร
ของตนเองให้สมาชิกในกลุ่มฟัง เมื่อเล่าจบ 3. สายวัด
ให้สมาชิกในกลุ่มช่วยกันสะท้อนให้ก�ำลังใจ 4. เหรียญบาท
เพ่ือให้เป็นไปตามแปลนชีวิตท่ีวางไว้
6. วิทยากรให้ผู้สูงอายุทุกคนในกลุ่มผลัดกัน
เล่าจนครบทุกคน
7. วิทยากรเชิญผู้ท่ีมีความรู้และทักษะเกี่ยวกับ
การวิธีพับเหรียญโปรยทาน รูปผักผลไม้
มาสอนให้ผู้สองอายุได้ฝึกท�ำ เพ่ือเป็น
การใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ได้ท�ำ
กิจกรรมร่วมกันในครอบครัว และอาจ
ก่อให้เกิดรายได้อีกด้วย
ขั้นสรุป
8. วิทยากรสรุปข้อดีของการมีการวางแผนชีวิต
และการมีความหวัง และการมีงานอดิเรก
เพื่อสร้างรายได้ จะส่งผลให้เกิดเป้าหมาย
ในการใช้ชีวิต
9. วิทยากรให้ผู้สูงอายุสะท้อนถึงส่ิงท่ีได้จาก
การท�ำกิจกรรมในวันน้ี และเน้นย�้ำให้น�ำไป
ใช้ในชีวิตประจ�ำวัน
34 ผสู้ ูงวัย ใจเกินรอ้ ย
การประเมินผล
1. สังเกตจากการมสี ว่ นร่วมในกจิ กรรม
2. สงั เกตจากผลงาน
ใบงาน “แปลนชีวิต”
เวลา กิจกรรม ผู้ร่วมท�ำกิจกรรม
ผูส้ ูงวยั ใจเกินรอ้ ย 35
กิจกรรมที่ 4
แลกของขวัญ
37
38
กิจกรรมที่ 4
เรื่อง “แลกของขวัญ”
ค�ำชี้แจง
1. กิจกรรมนี้เป็นกิจกรรมที่สามารถใช้ส�ำหรับส่งเสริมพลังสุขภาพจิต
ให้กบั ผู้สูงอายุ
2. กิจกรรมนี้เหมาะสมส�ำหรับผู้สูงอายุ ท่ีมีอายุกลุ่มติดสังคม และกลุ่ม
ตดิ บ้าน ทีม่ อี ายุตง้ั แต่ 60 ปขี ึ้นไป และสามารถร่วมกิจกรรมได้
3. ผู้สูงอายุสามารถน�ำสมาชิกในครอบครัวไม่จ�ำกัดอายุ มาท�ำกิจกรรม
ร่วมได้ 1 คน
4. กิจกรรมนี้สอดคล้องกับแนวทางการสร้างพลังสุขภาพจิต ของ
กรมสขุ ภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข (2552) ดา้ น “ปรบั เป้าหมาย”
5. ระหว่างการท�ำกิจกรรมควรมีผู้ช่วยวิทยากรประจ�ำกลุ่ม คอยให้
ความชว่ ยเหลือ/ใหค้ ำ� ปรกึ ษาแก่ผ้สู ูงอายุ
6. เวลาท่ีใช้ในการท�ำกิจกรรมประมาณ 3 ชั่วโมง ทั้งน้ีวิทยากรต้อง
วางแผนให้เหมาะสมกับจ�ำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม และความพร้อม
ในการเรยี นรขู้ องผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมดว้ ย
ผู้สูงวัย ใจเกนิ รอ้ ย 39
วัตถุประสงค์
1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุรู้วิธีการยืดหยุ่น และปรับเป้าหมายให้
เหมาะสมกับสถานการณท์ เี่ ป็นอยู่
2. เพ่ือส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีมุมมองทางบวก (Positive Thinking) กับ
ปัญหา
อุปกรณ์
1. กล่องของขวญั
2. หมายเลขสำ� หรับติดกลอ่ งของขวัญ
3. กระดาษการ์ดสี
4. มะกรูด
5. น้ำ� เปล่า
6. กะละมงั หม้อ มีด เขยี ง ไมพ้ าย ตะกรา้ ท่ีมรี ูเลก็ ๆ
7. เตาถ่าน ถ่าน
8. ขวดพลาสติก
9. ผ้าขาวบาง (หากไม่มีใช้ผา้ อะไรกไ็ ดแ้ ต่ตอ้ งบาง)
10. N70 1/2 กิโลกรมั
11. เกลอื แกง 1 มัด
12. ข้ีเถ้า
40 ผสู้ งู วยั ใจเกนิ ร้อย
สาระส�ำคัญ
เม่ือผู้สูงอายุต้องพบกับปัญหาท่ีหนักหนา อาจส่งผลให้ตามความต้องการ
หรือเป้าหมายท่ีตั้งไว้ไม่ได้ ดังนั้นจึงจ�ำเป็นต้องปรับเป้าหมาย หรือต้องยืดหยุ่น
ให้เป้าหมายเหมาะสมกบั สถานการณ์ทเี่ ปน็ อยู่ เช่น มเี ปา้ หมายในการสรา้ งบ้านใหม่
แต่เมื่อประสบกับปัญหาด้านสุขภาพจึงต้องน�ำเงินส่วนนั้นมาใช้รักษาตนเองก่อน
เปา้ หมายเรื่องการสรา้ งบา้ นคงตอ้ งเล่อื นออกไปก่อน เป็นต้น ดังนนั้ การจะตัดสินใจ
ท�ำอะไรก็ควรไตร่ตรอง และถามตัวเองด้วยว่า การตัดสินใจน้ีจะเกิดผลดี หรือ
ผลเสียต่อตวั เอง และคนทีอ่ ยรู่ อบขา้ งหรือไม่ อย่างไร
วิธีด�ำเนินกิจกรรม
วิธีด�ำเนินกิจกรรม เน้ือหา/สื่อ/อุปกรณ์
ข้ันน�ำ
1. วิทยากรน�ำให้ผู้สูงอายุนวดตัวเองคลาย
เครียด ประมาณ 15 นาที
2. วิทยากรชี้แจงขั้นตอนการท�ำกิจกรรม
ให้ผู้สูงอายุฟังอย่างละเอียด
3. วิทยากรเกล่ินน�ำถึงการก�ำหนดเป้าหมายใน
ชีวิต ไม่ว่าจะอายุมากหรืออายุน้อยล้วนต้อง
ต้ังเป้าหมายในชีวิต และเป้าหมายน้ันอาจ
จะแตกต่างกันออกไป
ผสู้ ูงวัย ใจเกินรอ้ ย 41
วิธีด�ำเนินกิจกรรม เนื้อหา/ส่ือ/อุปกรณ์
ขั้นด�ำเนินกิจกรรม 1. กระดาษการ์ดสี
4. วิทยากรให้ผู้สูงอายุเขียนช่ือของขวัญท่ีจะ
1. กล่องของขวัญ
น�ำไปแลกกับเพื่อน 1 อย่าง โดยไม่จ�ำกัด 2. หมายเลขส�ำหรับติดกล่อง
ประเภท และราคา เช่น บ้าน สุขภาพที่ดี
หวยรางวัลที่ 1 เป็นต้น โดยไม่ให้สมาชิก ของขวัญ
ที่ร่วมท�ำกิจกรรมทราบว่าของขวัญของ 1. ฉลาก
ตนเองคืออะไร
5. วิทยากรให้ผู้สูงอายุน�ำชื่อของขวัญที่เขียน
ใส่ลงในกล่อง และน�ำกล่องมาวางรวม
กัน เพ่ือให้วิทยากรเขียนหมายเลขติดไว้ท่ี
กล่องของขวัญ และท�ำฉลากหมายเลขให้
สอดคล้องกับกล่องของขวัญ
6. วิทยากรให้ผู้สูงอายุจับฉลากที่ละคน
และมอบของขวัญท่ีได้ให้กับผู้สูงอายุ
7. วิทยากรสุ่มให้ผู้สูงอายุแสดงความคิดเห็นว่า
ของขวัญท่ีได้ตรงกับความต้องการหรือ
เป้าหมายที่ต้องการอยากได้หรือไม่
และรู้สึกอย่างไรที่ได้ของขวัญช้ินนี้
42 ผูส้ งู วัย ใจเกนิ ร้อย
วิธีด�ำเนินกิจกรรม เนื้อหา/ส่ือ/อุปกรณ์
8. วิทยากรเชิญผู้ท่ีมีความรู้เกี่ยวกับการท�ำ 1. มะกรูด
2. น้�ำเปล่า
น�้ำยาล้างจานจากมะกรูดมาสาธิต และให้ 3. กะละมัง หม้อ มีด เขียง
ผู้สูงอายุได้ฝึกท�ำไปพร้อม ๆ กัน เมื่อท�ำ
เสร็จแบ่งให้ทุกคนได้น�ำกลับไปใช้ท่ีบ้าน ไม้พาย ตะกร้าท่ีมีรูเล็ก ๆ
4. เตาถ่าน ถ่าน
ข้ันสรุป 5. ขวดพลาสติก
9. วิทยากรสรุปถึงวิธีการรับมือกับความผิดหวัง 6. ผ้าขาวบาง (หากไม่มีใช้
และวิธีการในการปรับเป้าหมาย ผ้าอะไรก็ได้แต่ต้องบาง)
10.วิทยากรให้ผู้สูงอายุสะท้อนถึงสิ่งท่ีได้จาก 7. N70 1/2 กิโลกรัม
8. เกลือแกง 1 มัด
การท�ำกิจกรรมในวันนี้ และเน้นย�้ำให้น�ำไป 9. ขี้เถ้า
ใช้ในชีวิตประจ�ำวัน
การประเมินผล
1. สังเกตจากการมสี ่วนรว่ มในกจิ กรรม
2. สงั เกตจากผลงาน
ผูส้ งู วัย ใจเกนิ รอ้ ย 43
กิจกรรมที่ 5
รู้ทันเทคโนโลยี
45
46
กิจกรรมที่ 5
เรื่อง “รู้ทันเทคโนโลยี”
ค�ำช้ีแจง
1. กิจกรรมนี้เป็นกิจกรรมท่ีสามารถใช้ส�ำหรับส่งเสริมพลังสุขภาพจิต
ให้กับผ้สู ูงอายุ
2. กิจกรรมน้ีเหมาะสมส�ำหรับผู้สูงอายุ ท่ีมีอายุกลุ่มติดสังคม และกลุ่ม
ติดบ้าน ทมี่ อี ายตุ ้งั แต่ 60 ปขี ้นึ ไป และสามารถร่วมกจิ กรรมได้
3. ผสู้ งู อายสุ ามารนำ� สมาชกิ ในครอบครวั ไมจ่ ำ� กดั อายุ มาทำ� กจิ กรรมรว่ ม
ได้ 1 คน
4. กิจกรรมน้ีสอดคล้องกับแนวทางการสร้างพลังสุขภาพจิต ของ
กรมสุขภาพจติ กระทรวงสาธารณสขุ (2552) ดา้ น “เติมศรัทธา”
5. ระหว่างการท�ำกิจกรรมควรมีผู้ช่วยวิทยากรประจ�ำกลุ่ม คอยให้
ความชว่ ยเหลือ/ใหค้ ำ� ปรกึ ษาแกผ่ สู้ งู อายุ
6. เวลาที่ใช้ในการท�ำกิจกรรมประมาณ 3 ช่ัวโมง ทั้งนี้วิทยากรต้อง
วางแผนให้เหมาะสมกับจ�ำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม และความพร้อม
ในการเรียนรขู้ องผูเ้ ขา้ ร่วมกจิ กรรมดว้ ย
ผสู้ งู วยั ใจเกินรอ้ ย 47
วัตถุประสงค์
1. เพื่อส่งเสริมใหผ้ สู้ งู อายเุ กดิ ศรัทธาในตนเอง
2. เพื่อส่งเสรมิ ให้ผสู้ งู อายุเชื่อวา่ ชวี ติ มีคณุ ค่าและมคี วามหวัง
อุปกรณ์
1. เกมคอมพิวเตอร ์ 2. เคร่ืองคอมพวิ เตอร์
3. ล�ำโพง
4. วดี ทิ ศั นเ์ กย่ี วกบั การดแู ลสขุ ภาพเบอื้ งตน้ สำ� หรบั ผสู้ งู อายุ เรอื่ ง “1 นาที
กับกรมสุขภาพจิต” (https://www.youtube.com/watch?v=m-
WzYWozXkKQ) และ/หรอื เรอ่ื ง “Health me please ตอนการดแู ล
ผสู้ งู อายุ ตอนที่ 5” (https://www.youtube.com/watch?v=XLbCk-
DcILRs) และ/หรอื เรอ่ื ง “Health me please ตอนการดแู ลผสู้ งู อายุ
ตอนท่ี 4” https://www.youtube.com/watch?v=1YxN1h3aVE4
5. วิดีทัศน์เร่ือง “Unsung Hero” (https://www.youtube.com/
watch?v=uaWA2GbcnJU)
สาระส�ำคัญ
การมีความเช่ือ ความศรัทธา จะท�ำให้ผู้สูงอายุมีจิตใจที่เข้มแข็งและมี
ความหวัง เชน่ เช่อื วา่ ชีวติ มีชว่ งข้ึนและลง วันน้ีมปี ัญหามากมาย ไม่วา่ จะเปน็ ปญั หา
สุขภาพ ปัญหาในครอบครัว ปัญหาเศรษฐกิจ หรือปัญหาอื่น ๆ หากอดทนและ
พยายามแกไ้ ข วนั ขา้ งหนา้ ตอ้ งดขี น้ึ เพราะเราเชอื่ วา่ เราตอ้ งผา่ นมนั ไปใหไ้ ด้ นอกจากน้ี
อาจใชค้ วามศรัทธาทางศาสนามาชว่ ยทำ� ให้เราใจเย็น และมสี ตขิ ้ึนกไ็ ด้
48 ผู้สูงวัย ใจเกนิ ร้อย