The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รศ.ดร อัมเรศ เนตาสิทธิ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by คำนำ, 2022-05-24 22:33:14

ผู้สูงวัยใจเกินร้อย

รศ.ดร อัมเรศ เนตาสิทธิ์

วิธีด�ำเนินกิจกรรม

วิธีด�ำเนินกิจกรรม เนื้อหา/ส่ือ/อุปกรณ์
ขั้นน�ำ
1. วิทยากรให้ตัวแทนผู้สูงอายุน�ำสวดมนต์

และฝึกสมาธิ ประมาณ 15 นาที
2. วิทยากรชี้แจงขั้นตอนการท�ำกิจกรรม

ให้ผู้สูงอายุฟังอย่างละเอียด
ขั้นด�ำเนินกิจกรรม
3. วิทยากรพูดเชอื่ มโยงให้เห็นความเปล่ยี นแปลง

ของเทคโนโลยีว่า มีทั้งขาข้ึนและขาลง
เช่น เดียวกับชีวิตขอมนุษย์ พร้อมทั้ง
ยกตัวอย่างการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยีที่
เข้าใจได้ง่าย ๆ เช่น การส่งโทรเลขกับ
การใช้โทรศัพท์ การใช้เคร่ืองเล่นวีดิโอกับ
การดูยูทูป การอ่านหนังสือพิมพ์กับการอ่าน
ข่าวในอินเทอร์เน็ต เป็นต้น ทั้งนี้อาจมี
ภาพประกอบด้วย

ผสู้ งู วัย ใจเกินร้อย 49

วิธีด�ำเนินกิจกรรม เนื้อหา/ส่ือ/อุปกรณ์
4. วิทยากรให้ผู้สูงอายุดูวีดิทัศน์เก่ียวกับวิธี 1. วิดีทัศน์วีดิทัศน์ เร่ือง

การดูแลสุขภาพเบ้ืองต้นส�ำหรับผู้สูงอายุ “1 นาทีกับกรมสุขภาพ
โดยการใช้เทคโนโลยีช่วยให้ความรู้ใน จิต” และ/หรือ เร่ือง
การดูแลสุขภาพ “Health me please
ตอนการดูแลผู้สูงอายุ
5. วิทยากรให้ผู้สูงอายุเล่นเกมที่ใช้เทคโนโลยี ตอนท่ี 5” และ/หรือ
เช่น เกมเปิดภาพ เกมต่อภาพ เกมทายภาพ เรื่อง “Health me
เป็นต้น เพ่ือเป็นการกระตุ้นให้ผู้สูงอายุตื่น please ตอนการดูแล
ตัวและเกิดความสนุกสนาน (โดยอาจให้ ผู้สูงอายุ ตอนที่ 4”
ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการคลิกเม้าส์ใน (ข้ึนอยู่กับสถานการณ์
การเล่นเกมเอง) และเวลาในการจัด
กิจกรรม)
6. วิทยากรบอกเคล็ดลับง่าย ๆ ในการดูแล 1. เกมคอมพิวเตอร์
สุขภาพกายและสุขภาพใจ และเคล็ดลับ 2. เครื่องคอมพิวเตอร์
ของการคลายความเครียดที่สามารถท�ำได้ 3. ล�ำโพง
เองที่บ้าน

50 ผสู้ ูงวยั ใจเกนิ ร้อย

วิธีด�ำเนินกิจกรรม เนื้อหา/สื่อ/อุปกรณ์
7. วิทยากรสรุปถึงข้อดีและข้อเสียของ 1. วิดีทัศน์เร่ือง Unsung

เทคโนโลยี และการรู้ให้เท่าทันเทคโนโลยี Hero
พร้อมทั้งบอกข้อควรระวังในการใช้
เทคโนโลยี
8. วิทยากรให้ผู้สูงอายุดูวิดีทัศน์เก่ียวกับคน
ท่ีใช้ชีวิตย่างมีคุณค่าและมีความหวัง
เร่ือง “Unsung Hero”
9. วิทยากรสรุปข้อดีของการมีศัทธาหรือมี
ความหวัง ว่าจะท�ำให้เราเกิดความท้าทาย
และสนุกสนานในการชีชีวิต เช่นเดียวกับ
การมีความหวังในการเล่มเกม
10.วิทยากรให้ผู้สูงอายุสะท้อนถึงส่ิงท่ีได้จาก
การท�ำกิจกรรมในวันนี้ และเน้นย�้ำให้น�ำไป
ใช้ในชีวิตประจ�ำวัน

การประเมินผล

1. สังเกตจากการมสี ่วนรว่ มในกิจกรรม
2. สงั เกตจากผลงาน

ผสู้ งู วัย ใจเกนิ รอ้ ย 51



กิจกรรมท่ี 6

ร�ำวงกระชับมิตร

53

54

กิจกรรมที่ 6

เร่ือง “ร�ำวงกระชับมิตร”

ค�ำชี้แจง

1. กิจกรรมนี้เป็นกิจกรรมที่สามารถใช้ส�ำหรับส่งเสริมพลังสุขภาพจิต
ใหก้ บั ผสู้ ูงอายุ

2. กิจกรรมน้ีเหมาะสมส�ำหรับผู้สูงอายุ ท่ีมีอายุกลุ่มติดสังคม และกลุ่ม
ติดบา้ น ที่มอี ายุตง้ั แต่ 60 ปีขึน้ ไป และสามารถรว่ มกิจกรรมได้

3. ผู้สูงอายุสามารถน�ำสมาชิกในครอบครัวไม่จ�ำกัดอายุ มาท�ำกิจกรรม
รว่ มได้ 1 คน

4. กิจกรรมนี้สอดคล้องกับแนวทางการสร้างพลังสุขภาพจิต ของ
กรมสขุ ภาพจติ กระทรวงสาธารณสขุ (2552) ดา้ น “เติมมิตร”

5. ระหว่างการท�ำกิจกรรมควรมีผู้ช่วยวิทยากรประจ�ำกลุ่ม คอยให้
ความชว่ ยเหลอื /ใหค้ ำ� ปรกึ ษาแก่ผู้สูงอายุ

6. เวลาที่ใช้ในการท�ำกิจกรรมประมาณ 3 ชั่วโมง ท้ังนี้วิทยากรต้อง
วางแผนให้เหมาะสมกับจ�ำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม และความพร้อม
ในการเรียนร้ขู องผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมด้วย

ผสู้ ูงวัย ใจเกนิ รอ้ ย 55

วัตถุประสงค์

1. เพ่ือส่งเสริมให้ผู้สูงอายุผูกมิตรซึ่งกันและกัน และให้ความช่วยเหลือ
คนอ่นื เท่าทีท่ �ำได้ 

2. เพอื่ สง่ เสรมิ ใหผ้ สู้ งู อายเุ กิดทกั ษะดา้ นการส่อื สารและการรบั สาร
3. เพือ่ สง่ เสรมิ ใหผ้ สู้ งู อายเุ กิดแนวคดิ ทางบวก (Positive Thinking)

อุปกรณ์

1. เพลงทใี่ ชป้ ระกอบการรำ� วง (ทเี่ หมาะสมกบั ความชนื่ ชอบของผสู้ งู อาย)ุ
2. ครก
3. ถว้ ย จาน ช้อน
4. วัตถุดิบที่ใช้ท�ำน้�ำพริก เช่น ปลาร้า กะปิ กุ้งแห้ง เกลือ หอมแดง

กระเทยี ม พรกิ ชฟี้ า้ สด พรกิ ชฟี้ า้ แหง้ พรกิ ขห้ี นู มะนาว นำ้� ปลา นำ้� ตาล
ปีบ น�ำ้ ตาลทราย ผกั ชี เปน็ ตน้
5. ผักสดสำ� หรับทานคู่กบั น�ำ้ พริก โดยเน้นวตั ถดุ บิ ท่มี ีอย่ใู นชุมชน

สาระส�ำคัญ

การผูกมิตร หรือให้ความช่วยเหลือคนอ่ืนเท่าที่ท�ำได้เป็นสิ่งส�ำคัญมาก
เพราะเมอ่ื เราเผชญิ กบั ปญั หาบางอยา่ งทเ่ี กนิ จะรบั มอื ได้ มติ รทด่ี จี ะชว่ ยใหค้ ำ� ปรกึ ษา
หรือพึ่งพิง ซึ่งบางคนอาจจะคิดเกรงใจ ไม่อยากรบกวน และแก้ปัญหาอยู่คนเดียว
แต่ถ้าเป็นเรื่องของความอยู่รอดก็จ�ำเป็นท่ีจะต้องเอ่ยปากขอความช่วยเหลือ
ที่ส�ำคญั คนในครอบครัวของผู้สูงอายถุ ือเป็นมิตรทีด่ ี และเข้าใจผูส้ งู อายุมากท่สี ดุ

56 ผสู้ งู วัย ใจเกนิ รอ้ ย

วิธีด�ำเนินกิจกรรม

วิธีด�ำเนินกิจกรรม เน้ือหา/สื่อ/อุปกรณ์
ขั้นน�ำ
1. วิทยากรให้ผู้สูงอายุเอามือไปแตะอวัยวะต่าง 1. เพลงที่ใช้ประกอบ
การร�ำวง
ๆ ของร่างกาย ตามค�ำสั่งของวิทยากร โดย
เร่ิมจากช้า ๆ ไปจนถึงเร็ว ๆ 1. เพลงที่ใช้ประกอบ
2. วิทยากรช้ีแจงข้ันตอนการท�ำกิจกรรม การร�ำวง
ให้ผู้สูงอายุฟังอย่างละเอียด
ขั้นด�ำเนินกิจกรรม
3. วิทยากรอธิบายถึงประโยชน์ของ
การออกก�ำลังกายในรูปแบบการร�ำวง
4. วิทยากรให้ผู้สูงอายุจับคู่กัน และร�ำวงคู่กัน
ไปเรื่อย ๆ ประมาณ 2 นาที หลังจากน้ัน
วิทยากรจะให้สัญญาณให้เปลี่ยนคู่ ผู้สูงอายุ
ก็ต้องเปล่ียนคู่ร�ำไปเร่ือย ๆ โดยไม่ให้ซ�้ำ
คนเดิม จนกว่าจะจบเพลง
5. ในระหว่างการร�ำวงให้ผู้สูงอายุสนทนา
แลกเปล่ียนเร่ืองราวของตนเองซ่ึงกันและกัน
เพื่อให้รู้จักกันมากท่ีสุดเท่าท่ีจะท�ำได้ เช่น
อายุเท่าไหร่ มีลูกก่ีคน พักอาศัยอยู่กับใคร
ชอบท�ำกิจกรรมอะไร เป็นต้น

ผ้สู ูงวัย ใจเกนิ รอ้ ย 57

วิธีด�ำเนินกิจกรรม เนื้อหา/สื่อ/อุปกรณ์
6. หลังจากจบเพลงวิทยากรสุ่มถามผู้สูงอายุ

ว่าได้ร�ำวงคู่กับใครบ้าง และได้ท�ำความรู้จัก
อะไรกับคู่ร�ำวงของเราบ้าง
7. การร�ำวงในรอบท่ีสองให้ท�ำเช่นเดียวกับ
รอบแรก แต่ให้ผู้สูงอายุพิจารณาเพื่อนที่เป็น
คู่ร�ำกับเรา ว่าเขามีข้อดี หรือจุดเด่นอะไรบ้าง
อาจเป็นลักษณะรูปร่างหน้าตาท่ีมองเห็นจาก
ภายนอก หรือลักษณะนิสัยก็ได้ เช่น ตาสวย
ยิ้มสวย เป็นคนมีน�้ำใจ เป็นต้น
8. วิทยากรให้ผู้สูงอายุท้ังสองคนท่ีร�ำวงเป็นคู่กัน
สลับกันบอกข้อดีให้กับเพ่ือน ท่ีละข้อ
ไม่ต�่ำกว่า 5 ข้อ
9. หลังจากเพลงจบวิทยากรสุ่มให้ผู้สูงอายุ
สะท้อนความรู้สึกว่า รู้สึกอย่างไรที่มีคนชม
และได้รู้ถึงข้อดีหรือจุดเด่นของตนเอง

58 ผูส้ ูงวยั ใจเกินร้อย

วิธีด�ำเนินกิจกรรม เน้ือหา/สื่อ/อุปกรณ์
10.วิทยากรให้ผู้สูงอายุแบ่งกลุ่มกันท�ำน้�ำพริก 1. ครก
2. ถ้วย จาน ช้อน
โดยให้ส่งตัวแทนออกมาเลือกวัตถุดิบที่ 3. วัตถุดิบในการท�ำน�้ำพริก
เตรียมไว้ให้ ทั้งนี้ให้สมาชิกในกลุ่มช่วยกัน
คิดว่าจากวัตถุดิบที่ได้จะสามารถท�ำ
น�้ำพริกอะไรได้บ้าง หลังจากท�ำน้�ำพริกเสร็จ
เรียบร้อยแล้วให้ตั้งชื่อน�้ำพริกของกลุ่มตัว
เอง จัดตกแต่งใส่จานให้สวยงาม และแบ่ง
น้�ำพริกน้ันให้กลุ่มอื่น ๆ ได้ชิมด้วย และให้
แต่ละกลุ่มได้สะท้อนถึงรสชาติของน้�ำพริก
(ควรเป็น
น้�ำพริกพ้ืนบ้านล้านนา เช่น น�้ำพริกหนุ่ม
น้�ำพริกอ่ีเก๋ น�้ำพริกตาแดง น�้ำพริกแคบหมู
และน้�ำพริกเห็ดหล่ม เป็นต้น)
ข้ันสรุป
11.วิทยากรให้ผู้สูงอายุสะท้อนถึงสิ่งที่ได้จาก
การท�ำกิจกรรมในวันนี้ และเน้นย้�ำให้น�ำไป
ใช้ในชีวิตประจ�ำวัน

การประเมินผล

1. สังเกตจากการมีส่วนรว่ มในกจิ กรรม
2. สงั เกตจากผลงาน

ผสู้ งู วัย ใจเกินร้อย 59



กิจกรรมท่ี 7

เรื่องเล่าของวันวาน

61

62

กิจกรรมที่ 7

เรื่อง “เร่ืองเล่าของวันวาน”

ค�ำช้ีแจง

1. กิจกรรมนี้เป็นกิจกรรมที่สามารถใช้ส�ำหรับส่งเสริมพลังสุขภาพจิต
ใหก้ บั ผ้สู ูงอายุ

2. กิจกรรมนี้เหมาะสมส�ำหรับผู้สูงอายุ ที่มีอายุกลุ่มติดสังคม และกลุ่ม
ติดบา้ น ทีม่ ีอายตุ ้งั แต่ 60 ปขี ึน้ ไป และสามารถรว่ มกิจกรรมได้

3. ผู้สูงอายุสามารถน�ำสมาชิกในครอบครัวไม่จ�ำกัดอายุ มาท�ำกิจกรรม
รว่ มได้ 1 คน

4. กิจกรรมนี้สอดคล้องกับแนวทางการสร้างพลังสุขภาพจิต ของ
กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสขุ (2552) ดา้ น “เตมิ ใจกวา้ ง”

5. ระหว่างการท�ำกิจกรรมควรมีผู้ช่วยวิทยากรประจ�ำกลุ่ม คอยให้
ความชว่ ยเหลอื /ให้ค�ำปรึกษาแกผ่ สู้ ูงอายุ

6. เวลาท่ีใช้ในการท�ำกิจกรรมประมาณ 3 ช่ัวโมง ทั้งน้ีวิทยากรต้อง
วางแผนให้เหมาะสมกับจ�ำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม และความพร้อม
ในการเรียนรูข้ องผู้เข้ารว่ มกจิ กรรมด้วย

ผสู้ งู วัย ใจเกนิ ร้อย 63

วัตถุประสงค์

1. เพื่อสง่ เสรมิ ให้ผสู้ งู อายเุ ปิดใจปรบั เปลี่ยนมมุ มอง
2. เพอื่ สง่ เสรมิ ใหผ้ สู้ งู อายยุ อมรบั ความคดิ ของคนอน่ื ทแ่ี ตกตา่ งจากตนเอง

อุปกรณ์

1. ดินน้ำ� มนั หรือแปว้ โดว์

สาระส�ำคัญ

การศึกษาหาวิธีแก้ปัญหาที่แตกต่างออกไปจากเดิม หรือเข้าใจความรู้สึก
ความคิดของคนอื่นท่ีแตกต่างจากเรา จะท�ำให้ผู้สูงอายุมองปัญหาได้รอบด้านขึ้น
ไดข้ ้อมูลมากขึ้น มจี ิตใจกวา้ งข้นึ และเห็นทางออกของปัญหาได้มากข้ึนตามไปดว้ ย

64 ผู้สงู วยั ใจเกินร้อย

วิธีด�ำเนินกิจกรรม

วิธีด�ำเนินกิจกรรม เนื้อหา/ส่ือ/อุปกรณ์
ข้ันน�ำ
1. วิทยากรให้ตัวแทนผู้สูงอายุน�ำสวดมนต์

และฝึกสมาธิ ประมาณ 15 นาที
2. วิทยากรช้ีแจงข้ันตอนการท�ำกิจกรรม

ให้ผู้สูงอายุฟังอย่างละเอียด
ขั้นด�ำเนินกิจกรรม
3. วิทยากรให้ผู้สูงอายุจับคู่กับเพ่ือน

และน่ังหันหน้าเข้าหากัน
4. วิทยากรให้ผู้สูงอายุสลับกันเล่าถึง

ความภาคภูมิใจของตนเองท่ีผ่านมา เช่น
ส่งลูกเรียนจบปริญญา สร้างบ้านใหม่ และ
เป็นคนดี เป็นต้น และมีวิธีการอย่างไรใน
การท�ำให้ประสบความส�ำเร็จ หรือเม่ือเจอ
ปัญหาอุปสรรคมีวิธีการในการแก้ปัญหานั้น
อย่างไร ในระหว่างน้ีให้แต่ละคนต้ังใจฟัง
ซ่ึงกันและกัน

ผ้สู งู วัย ใจเกินรอ้ ย 65

วิธีด�ำเนินกิจกรรม เน้ือหา/ส่ือ/อุปกรณ์
5. วิทยากรสุ่มให้ผู้สูงอายุสะท้อนความรู้สึกว่า 1. ดินน�้ำมัน หรือแป้วโดว์

หลังจากได้รู้ปัญหาและวิธีการแก้ปัญหา
ของเพื่อน ผู้สูงอายุได้เรียนรู้อะไรบ้าง
6. วิทยากรให้ผู้สูงอายุแบ่งกลุ่ม และวางแผน
ในการปั้นดินน�้ำมันว่าจะปั้นเป็นรูปอะไร
เมื่อน�ำมาวางรวมกันแล้วให้เกิดเป็นเร่ืองราว
ต่าง ๆ โดยแต่ละคนต้องมีส่วนร่วมในการ
ปั้น และออกมาน�ำเสนอให้กับสมาชิกกลุ่ม
อ่ืน ๆ ฟัง
ขั้นสรุป
7. วิทยากรให้ผู้สูงอายุสะท้อนถึงส่ิงที่ได้จาก
การท�ำกิจกรรมในวันนี้ และเน้นย้�ำให้น�ำไป
ใช้ในชีวิตประจ�ำวัน

การประเมินผล

1. สังเกตจากการมีสว่ นร่วมในกิจกรรม
2. สังเกตจากผลงาน

66 ผู้สูงวัย ใจเกนิ ร้อย

รายการอ้างอิง

กระทรวงสาธารณสขุ กรมสขุ ภาพจติ . (2552) เปลย่ี นรา้ ยกลายเปน็ ดี (พมิ พค์ รง้ั ที่ 3).
นนทบรุ ี: บียอนดพ์ บั ลิสชิ่ง.

ผสู้ งู วยั ใจเกินรอ้ ย 67






Click to View FlipBook Version