The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 9tikky9, 2024-05-03 05:17:46

SAR 2566

SAR 2566

โรงเรียนยู่เฉียวเซียะเสี้ยว เลขที่ 729 ม.2 แขวง/ตำบล ท่าม่วง เขต/อำเภอ ท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี www.yuchieo.ac.th รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self - Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2566 สังกัด สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ ระดับการศึกษาปฐมวัย และ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน


คำนำ รายงานผลการประเมินตนเองของปีการศึกษา 2566 ฉบับนี้ โรงเรียนยู่เฉียวฯ ได้จัดทำขึ้นตาม กฎกระทรวง ว่าด้วยการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2561 ข้อ 3 ที่ระบุให้สถานศึกษาแต่ละแห่ง จัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา โดยการกำหนดมาตรฐานการศึกษา ของสถานศึกษา ให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาแต่ละระดับและประเภทการศึกษา ตามที่ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการประกาศกำหนด โดยสถานศึกษาต้องจัดทำและจัดส่งรายงานผล การประเมินตนเอง ให้แก่หน่วยงานต้นสังกัด หรือหน่วยงานที่กำกับดูแลสถานศึกษาเป็นประจำทุกปี รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาฉบับนี้ เป็นการสรุปผลการดำเนินงานในรอบปี การศึกษา 2566 ของโรงเรียน ที่สะท้อนให้เห็นภาพความสำเร็จที่เกิดขึ้นตามบริบทของโรงเรียน ซึ่งมี องค์ประกอบ 3 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 บทสรุปของผู้บริหาร ส่วนที่ 2 ข้อมูลพื้นฐาน ส่วนที่ 3 ผลการ ประเมินตนเองของสถานศึกษา และ ภาคผนวก โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อนำเสนอรายงานผลการจัด การศึกษาในรอบปีที่ผ่านมา โรงเรียนยู่เฉียวฯ ขอขอบคุณคณะกรรมการดำเนินงาน และผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายที่มีส่วนร่วมใน การจัดทำรายงานฉบับนี้ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงและ พัฒนาคุณภาพสถานศึกษาในปีถัดไป ตลอดจนเพื่อประโยชน์ในการรองรับการประเมินคุณภาพ ภายนอก จากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) ต่อไป ลงชื่อ (นายไพศาล ชัยกิจตระกูล) ผู้อำนวยการโรงเรียนยู่เฉียวเซียะเสี้ยว


สารบัญ หน้า คำนำ สารบัญ ส่วนที่ 1 บทสรุปของผู้บริหาร (Executive Summary) บทสรุปของผู้บริหาร (Executive Summary) 1 ส่วนที่ 2 ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียน 1. ข้อมูลพื้นฐานของโรงเรียน | หลักสูตรการศึกษา | ระดับที่เปิดสอนในปัจจุบัน 6 2. ประวัติโรงเรียน 6 3. วิสัยทัศน์ พันธกิจ 6 4. ผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษาและบุคลากรทั่วไปในโรงเรียน (เฉพาะที่บรรจุ) 9 5. จำนวนครู จำแนกตามระดับและกลุ่มสาระการเรียนรู้ 9 6. จำนวนห้องเรียน/ผู้เรียนจำแนกตามระดับที่เปิดสอน 11 ส่วนที่ 3 ผลการดำเนินงาน 1. ผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา ระดับปฐมวัย 12 ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 15 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนและข้อมูลการวัดผลต่างๆ ระดับปฐมวัย 21 ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน และร้อยละของนักเรียนที่มีผลการเรียนระดับ 3 ขึ้นไป 21 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET 21 การประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ (National Test : NT) 22 ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (Reading Test : RT) 22 3. จำนวนนักเรียนที่จบหลักสูตร 23 4. นวัตกรรม/แบบอย่างที่ดี (Innovation /Best Practice ) และรางวัลที่สถานศึกษาได้รับ 32 5. การดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ 30 6. คุณลักษณะของผู้เรียนที่เป็นไปตามผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษาตามมาตรฐาน 33 การศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 จากการดำเนินงานของโรงเรียน 7. หน่วยงานภายนอกที่โรงเรียนเข้าร่วมเป็นสมาชิก 33 8. การประเมินคุณภาพภายนอกในรอบของ สมศ. ที่ผ่านมา 34 ส่วนที่ 4 สรุปผลการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 1. การประเมินคุณภาพตามมาตรฐานของการศึกษา : ระดับปฐมวัย 35 2. การประเมินคุณภาพตามมาตรฐานของการศึกษา : ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 42 3. จุดเด่น 50 4. จุดควรพัฒนา 53 5. แนวทางการพัฒนาของสถานศึกษา และความต้องการช่วยเหลือ 56 6. ความโดดเด่นของสถานศึกษา 56 ส่วนที่ 5 ภาคผนวก 59


1 ส่วนที่ 1 บทสรุปของผู้บริหาร บทสรุปของผู้บริหาร (Executive Summary) ระดับปฐมวัย มาตรฐาน ระดับคุณภาพ 1. คุณภาพเด็ก ยอดเยี่ยม 2. กระบวนการบริหารและการจัดการ ยอดเยี่ยม 3. การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ ยอดเยี่ยม สรุปผลการประเมินมาตรฐาน ยอดเยี่ยม โรงเรียนยู่เฉียวฯ ส่งเสริมพัฒนาเด็กให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ตามศักยภาพ และเหมาะสมตามวัย จัด ประสบการณ์ตาม 6 กิจกรรมหลัก ทำให้มีผลการประเมินพัฒนาการเฉลี่ยทั้ง 4 ด้าน คิดเป็นร้อย 94.12 โดยประเมิน จากเด็กปฐมวัยทั้งหมดจำนวน 323 คน เมื่อแยกเป็นรายด้าน พบว่า ด้านร่างกาย นักเรียนที่ได้ในระดับดี จำนวน 306 คน คิดเป็นร้อยละ 94.7) ด้านอารมณ์-จิตใจ นักเรียนที่ได้ในระดับดี จำนวน 304 คน คิดเป็นร้อยละ 94.12 ด้านสังคม นักเรียนที่ได้ในระดับดี จำนวน 310 คิดเป็นร้อยละ 95.98 และ ด้านสติปัญญา นักเรียนที่ได้ในระดับดี จำนวน 294 คน คิดเป็นร้อยละ 91.02 ผลการพัฒนาในรอบปีการศึกษา 2566 มีเด็ก ที่ได้รับรางวัล อาทิด.ญ.ธนิฐา ศรีชาติ นักเรียนชั้น อ.1 รับ รางวัลชนะเลิศอันดับที่ 1 Mother Daughter Duo และ รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 2 Poppular Vote ขวัญใจชาว กาญจนบุรี จัดโดยห้างสรรพสินค้าโรบินสัน กาญจนบุรีเมื่อวันที่ 12 ส.ค.2566, การส่งเด็กเข้าร่วมการแข่งขันทักษะ วิชาการภาษาจีน ของกลุ่มโรงเรียนเอกชนสอนภาษาจีนภาคตะวันตก เมื่อวันที่ 23 ก.ย.2566 มีเด็กได้รางวัล ดังนี้ (1) ด.ญ.กานต์พิชชา พึ่งนิล อ.3 และ ด.ญ.ณัฐธิดา แสงแพร อ.3 รับรางวัลระดับเหรียญทอง จากการแข่งขันร้อง เพลงภาษาจีน และ ด.ญ.เปี่ยมพร เกียรตินรากร อ.3 รับรางวัลระดับเหรียญทอง จากการแข่งขัน Speech, รางวัล ระดับเหรียญทอง จากการแข่งขันออกกำลังกายประกอบเพลง ประเภททีม 12 คน จัดโดยคณะกรรมการ ประสาน และส่งเสริมการศึกษาเอกชน กลุ่มภาคกลาง ระดับประเทศ เมื่อวันที่ 3 ก.พ.2567 โดยสรุป ปี การศึกษา 2566 เด็กมีผลการประเมินพัฒนาการสมวัย ได้เลื่อนชั้น คิดเป็นร้อยละ 100 กระบวนการบริหาร โรงเรียนมีการจัดการมีหลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัยที่ครอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน มีความสอดคล้องตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ ส่งเสริม สนับสนุน ให้คุณครูและบุคลากรได้รับ การพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ทั้งการอบรมภายในและภายนอก อาทิการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพทางวิชาชีพ ครูชาวไทยสอนภาษาจีน เรื่อง หลักไวยากรณ์และเทคนิคการสอนภาษาจีน จัดโดยเครือข่ายโรงเรียนเอกชนสอน ภาษาจีนภาคตะวันตก วันที่ 9 พ.ค.2566, การอบรมออนไลน์ เรื่อง ระบบฐานข้อมูลสารสนเทศการพัฒนาเด็ก ปฐมวัยตามมาตรฐานชาติ (ecdis) จัดโดยสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดกาญจนบุรี ในวันที่ 29 ก.ค. 2566, การ อบรมออนไลน์ เรื่อง การอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดประสบการณ์รูปแบบโครงการ (Project Approach) ตอน การเขียนแผนการจัดประสบการณ์จัดโดยสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดกาญจนบุรี ในวันที่ 23 ก.ย.2566, การ อบรมพัฒนาผู้บริหาร ครูผู้สอนโรงเรียนเอกชนตามกิจกรรมเติมความรู้ ครูยุคใหม่ ก้าวไปด้วยกัน จำนวน 8 หลักสูตร จัดโดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษา ซึ่งอบรมระหว่างวันที่ 6 ม.ค.- 4ก.พ.2567, การอบรม การเรียนและทดสอบตามเกณฑ์ที่กำหนดของหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา "รายวิชาเพิ่มเติม การป้องกันการทุจริต" โดย สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ


2 ปีการศึกษา 2566-2567 คุณครู และบุคลากรสายสนับสนุนการจัดประสบการณ์ ดำเนินการจัด ประสบการณ์แก่เด็ก ภายใต้นโยบาย “ครูดี วิถีใหม่ เข้าใจAI รู้จักใช้ดิจิทัล” โดยให้ความรัก ดูแลเอาใจใส่ ต่อเด็ก ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ให้ความรู้ต้านทุจริตศึกษา โดยบูรณาการไปในการจัดประสบการณ์คุณครูมีปฏิสัมพันธ์ที่ ดีกับผู้ปกครอง เปิดโอกาสให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการจัดประสบการณ์คุณครูประเมินพัฒนาการด้วยวิธีการที่ หลากหลาย โดยคำนึงถึงบริบทตัวเด็กและครอบครัว มีการนิเทศติดตามการจัดประสบการณ์ และการใช้สื่อ เพื่อ นำมาปรับปรุงและพัฒนา ส่งผลให้ผู้ปกครองมีระดับความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ คิดเป็นร้อยละ 91.67 ซึ่ง บรรลุตามเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนดไว้ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐาน ระดับคุณภาพ 1. คุณภาพผู้เรียน ยอดเยี่ยม 2. กระบวนการบริหารและการจัดการ ยอดเยี่ยม 3. กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ยอดเยี่ยม สรุปผลการประเมินมาตรฐาน ยอดเยี่ยม โรงเรียนยู่เฉียวฯ มีกระบวนการพัฒนานักเรียนด้านผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนให้เป็นไปตามเกณฑ์ที่สถานศึกษา กำหนด โดยจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา และตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2560) พัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 ด้วยวิธีการที่ หลากหลาย เน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่าง ต่อเนื่อง สำหรับปีการศึกษา 2566 โรงเรียนจัดการเรียนสอน โดยพัฒนาและการอ่านออก เขียนได้ในนักเรียนทุก ระดับชั้น ส่งผลให้การทดสอบเพื่อประเมินความสามารถในการอ่าน (Reading Test : RT) ของนักเรียนระดับชั้น ป.1 โดยมีนักเรียนเข้ารับการทดสอบจำนวน 125 คน มีค่าเฉลี่ยการอ่านรู้เรื่อง ผ่านตามเกณฑ์การประเมินคิดเป็น ร้อยละ 97.61 มีค่าเฉลี่ยการอ่านออกเสียง ผ่านตามเกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ 99.20 ซึ่งมีค่าเฉลี่ยสูงกว่าทุก สังกัด และสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ, ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน ของนักเรียนระดับชั้น ป.3 (National Test : NT) โดยมีนักเรียนเข้ารับการทดสอบจำนวน 128 คน มีผลการประเมินด้านคณิตศาสตร์ (Mathematics) ที่คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 61.03 ด้านภาษาไทย (Thai Language) ที่คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 71.67 โดยมี คะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงกว่าทุกสังกัด และสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ, การทดสอบระดับชาติ ของนักเรียน ระดับชั้น ป.6 (O-NET) ซึ่งมีนักเรียนสมัครใจเข้ารับการทดสอบ จำนวน 73 คน โดยมีคะแนนรวมเฉลี่ย 4 วิชา เท่ากับ 60.82 ซึ่งมีค่าเฉลี่ยสูงกว่าทุกสังกัด และสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ แยกเป็นรายวิชาได้คะแนนเฉลี่ย ดังนี้ ภาษาไทย 73.24 คณิตศาสตร์ 42.25 ภาษาอังกฤษ 63.74 และ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 61.06, ผลการ ประเมินของหลักสูตรสถานศึกษา นักเรียนระดับชั้น ป.1-6 จำนวน 793 คน มีผลการเรียนในระดับ 3 ขึ้นไป เฉลี่ย รวมทุกรายวิชา จำนวน 660 คิดเป็นร้อยละ 83.23 มีผลการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ในระดับดีขึ้น ไป จำนวน 792 คน คิดเป็นร้อยละ 99.87 มีผลการประเมินสมรรถนะที่สำคัญของผู้เรียน ในระดับดีขึ้นไป จำนวน 768 คน คิดเป็นร้อยละ 96.85 ในปีการศึกษา 2566 ผู้เรียนได้เลื่อนชั้นจำนวน 792 คน จาก 793 คน คิดเป็นร้อยละ 99.87 ผลการพัฒนาพัฒนาผู้เรียนในรอบปีการศึกษา 2566 ที่ผ่านมา ส่งผลให้ผู้เรียนได้รับรางวัลทางด้านวิชาการ จากหน่วยงานต่างๆ ได้แก่ การทดสอบ O-NET ประจำปีการศึกษา 2566 ด.ญ.ฐิดาภา ทองแท้ ชั้น ป.6 ได้คะแนน


3 ในวิชาคณิตศาสตร์ เต็ม100 คะแนน และ ด.ช.ธนเดช บีเว่อร์ชั้น ป.6 ได้คะแนนในวิชาภาษาอังกฤษ เต็ม100 คะแนน, นักเรียน ชั้นป.1 มีผลการประเมิน RT เต็ม 200 คะแนน จำนวน 26 คน, นักเรียน ชั้นป.3 มีผลการประเมิน NT ด้านคณิตศาสตร์เต็ม 100 คะแนน จำนวน 6 คน, ด.ญ.สู่ขวัญ อุดมผล ชั้น ป.6 รับ 3 รางวัล ได้แก่ (1) รางวัล ชนะเลิศ จากการแข่งขันอัจฉริยภาพทางคณิตศาสตร์ระดับชั้น ป.4-6 จัดโดยโรงเรียนวิสุทธรังษีเมื่อวันที่ 9 ส.ค. 2566 (2) รางวัลผู้มีคะแนนรวมในวิชาวิทยาศาสตร์ และ คณิตศาสตร์ มาในลำดับที่ 8 จากการทดสอบวัดความรู้ วิชาวิทยาศาสตร์ และ คณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา ประจำปีการศึกษา 2566 จัดโดยโรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬา ภรณราชวิทยาลัย เพชรบุรีเมื่อวันเสาร์ ที่ 7 ต.ค.2566 และ (3) รางวัลระดับเหรียญทอง จากการสอบวัดทักษะ วิชาการระดับชาติ หรือ สวช. ในวิชาวิทยาศาสตร์ โดยมีคะแนนมาเป็นลำดับที่ 1 ของจังหวัดกาญจนบุรี และมาเป็น ลำดับที่ 2 ของภาคตะวันตก ประกาศผลเมื่อวันที่ 12 ธ.ค.2566, ด.ช.ธนเดช บีเว่อร์ชั้น ป.6 รับรางวัลเหรียญ ทองแดง และเกียรติบัตร จากการแข่งขัน Global English Language Olympiad of Southeast Asia ประเทศ ฟิลิปปินส์ เมื่อวันที่ 26 ส.ค.2566, การส่งนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขันทักษะวิชาการภาษาจีน ของกลุ่มโรงเรียน เอกชนสอนภาษาจีนภาคตะวันตก เมื่อวันที่ 23 ก.ย.2566 มีนักเรียนได้รางวัล ดังนี้(1) ด.ญ.กัญญพัชร เภาพงษ์ ชั้น ป.2 ชนะเลิศอันดับที่ 1 ระดับเหรียญทอง จากการแข่งขันเล่านิทานภาษาจีน (2) ด.ช.นิชธรณ์ วรรณวรรค พิทยาธรเลิศ ชั้น ป.5 ชนะเลิศอันดับที่ 1 ระดับเหรียญทอง จากการแข่งขัน Impromptu Speech (3) ด.ช.ณัชช รัสม์ เรือนจันทร์ ชั้น ป.5 ชนะเลิศอันดับที่ 1 ระดับเหรียญทอง จากการแข่งขัน Pictorial Writing, ผู้เรียนมีผลการ สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีนสำหรับเยาวชน (YCT) โดยได้เต็ม 200 คะแนน ใน YCT ระดับที่ 1 จำนวน 11 คน และ ใน YCT ระดับที่ 2 จำนวน 4 คน ประกาศผล เมื่อวันเสาร์ ที่ 16 ต.ค.2566 โรงเรียนการสนับสนุนด้านกีฬา ตามความถนัดของผู้เรียน ปีการศึกษา 2566 มีนักเรียนได้รับรางวัลด้าน กีฬา อาทิด.ญ.ฐิดาภา ทองแท้ ชั้น ป.6 รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 2 (เหรียญทองแดงพร้อมเกียรติบัตร) ใน รายการ KARATE-DO KANCHANABURI Individual Kumite U14 หญิง ระหว่างวันที่ 24-25 มิถุนายน 2566 จัด โดยสมาคมกีฬาคาราเต้แห่งประเทศไทย, ด.ช.ศิรภาพย์วรอาจ ชั้น ป.1 รับรางวัล 2 เหรียญทอง จากการแข่งขัน ว่ายน้ำเยาวชนพัฒนาผีมือ สปรินท์เตอร์ ครั้งที่ 5 ณ สระว่ายน้ำเทศบาล ต.บางเลน อ.บางเลน จ.นครปฐม เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2566 และ 4 เหรียญทอง จากการแข่งขันว่าย ณ สระว่ายน้ำเมืองเอกรังสิต กรุงเทพมหานคร เมื่อ วันที่ 9 ตุลาคม 2566 โรงเรียนส่งเสริมและมีการปลูกฝัง ให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม การต้านทุจริตศึกษา โดยบูรณาการไปใน การเรียนการสอน ในทุกรายวิชา โดยเฉพาะในสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม และ หน้าที่พลเมือง มีการ ประเมินโดยการสังเกตพฤติกรรมขณะเรียนภายใน หรือ ทำกิจกรรมภายนอกห้องเรียน ทำให้ปีการศึกษา 2566 ที่ ผ่านมา มีนักเรียนที่ผ่านเกณฑ์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับดีขึ้นไป จำนวน 793 คน คิดเป็นร้อย ละ 100 และในวิชาหน้าที่พลเมืองนักเรียนในระดับดีขึ้นไป จำนวน 793 คน คิดเป็นร้อยละ 100.00 การบริหารจัดการโรงเรียน ใช้ระบบการจัดการแบบมีส่วนร่วม มีกระบวนการบริหารงานภายในสถานศึกษา ด้วยระบบ PDCA โดยในปีการศึกษา 2566 มีการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา ทุกเดือน ทั้งในรูปแบบออนไซต์ และแบบออนไลน์ได้มีการปรึกษา รับฟังข้อเสนอแนะ เพื่อนำมาปรับปรุงพัฒนา ตลอดจนรายงานผลการดำเนินงาน ภายในสถานศึกษา ให้คณะกรรมการรับทราบเป็นระยะ ในส่วนการติดต่อประสานกับผู้ปกครอง ผ่านโทรศัพท์ หรือ รับทราบข่าวสารผ่าน website ของโรงเรียน ผ่านกลุ่ม Line Open Chat และ Line Official ระดับชั้น เพื่อ


4 ประสานงานตลอดจนแจ้งข่าวสารทางโรงเรียนให้ผู้ปกครองทราบอย่างเป็นปัจจุบัน ทั้งนี้นักเรียนในรายที่มีปัญหา ต้องได้รับการแก้ไขเร่งด่วน จำเป็นต้องมีการเชิญผู้ปกครองเข้าพบเพื่อปรึกษาและสร้างความร่วมมือการแก้ปัญหา ระหว่างบ้านและโรงเรียน โดยมีคุณครูประจำชั้น ฝ่ายวิชาการ และตัวแทนผู้บริหาร เข้ารับฟัง เพื่อหาข้อสรุป และ แก้ไขปัญหาต่อไป โรงเรียนปรับปรุงภูมิทัศน์ โดยต่อเติมตะแกรงกั้นนกภายใต้หลังคาโดม เพื่อให้เกิดความสวยงาม เป็น ระเบียบ ปลอดภัย ป้องกันเชื้อโรคหรือลดปัญหาต่างๆ ที่เกิดจากนก, ปรับปรุงห้องคอมพิวเตอร์ โดยเพิ่มจุดกระจาย Wifi และเพิ่มจำนวนคอมพิวเตอร์ เพื่อรองรับการใช้งานสำหรับนักเรียนระดับอนุบาล 3 ถึง ระดับชั้น ป.3 ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ และทำสัญญาร่วมกับโรงพยาบาลสินแพทย์ กาญจนบุรี เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการให้บริการด้าน สุขอนามัยแก่นักเรียน ครูและบุคลากรของโรงเรียนยู่เฉียวทุกคน ปีการศึกษา 2566-2567 คุณครูและบุคลากรสายสนับสนุนการสอน ดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แก่ ผู้เรียน ภายใต้นโยบาย “ครูดี วิถีใหม่ เข้าใจAI รู้จักใช้ดิจิทัล” โดยส่งเสริม สนับสนุน ให้คุณครูและบุคลากรได้รับ การพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ได้รับรางวัล ผู้บริหารสถานศึกษา ครู บุคลากร เจ้าหน้าที่ ที่มีผลงานดีเด่น เนื่องในวันการศึกษาเอกชน ประจำปี 2567 ที่ผ่านมา สนับสนุนและส่งเสริมให้คุณครูและบุคลกร ได้รับการอบรมทั้ง ในและนอก สถานศึกษา อย่างน้อยคนละไม่น้อยกว่า 12 ชั่วโมง คิดเป็นร้อยละ 100 คุณครูและบุคลากรได้รับการ พัฒนาอย่างต่อเนื่อง ให้มีทักษะทางวิชาชีพ มีเทคนิคการสอนที่ดี โดยคุณครูได้รับการนิเทศตามภายใต้โครงการนิเทศ ภายในคิดเป็นร้อยละ 100 การพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ จัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยมุ่งส่งเสริมให้นักเรียนได้เรียนรู้และผ่านในทุกตัวชี้วัด ร่วมกับการวัดและประเมินผลผู้เรียนให้เกิดผล ลัพธ์ใน 4 ด้าน คือ ด้านความรู้ (K) ด้านทักษะกระบวนการ (P) ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) และด้าน สมรรถนะสำคัญผู้เรียน (C) คุณครูมีกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) โดยร่วมประชุม พัฒนาการเรียน การสอน ในรายวิชาที่สอนร่วมกัน เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นสำคัญ ส่งผลให้การจัดการเรียนการสอน เป็น ที่ยอมรับ โดยผู้ปกครองมีความพึงใจต่อการจัดการเรียนการสอนของครูเฉลี่ยร้อยละ 92.50 อยู่ระดับความพึงพอใจ ยอดเยี่ยม สามารถทำให้นักเรียนบรรลุเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ระดับปฐมวัย หลักฐานสนับสนุนผลการประเมินตนเองตามระดับคุณภาพ 1. แผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา ฉบับที่ 9 ปีการศึกษา 2565-2568 2. รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2566 3. รายงานการประเมินคุณภาพภายนอก(พ.ศ.2564-2568) โดย สมศ. 4. แผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษา 2566 5. สรุปผลโครงการ กิจกรรม ประจำปีการศึกษา 2566 6. เอกสารบันทึกการประชุม เรื่องต่าง ๆ 7. สมุดบันทึกพัฒนาการ อบ. 8. แบบบันทึกน้ำหนักส่วนสูง ตามแบบกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 9. ภาพถ่ายกิจกรรมที่เว็บไซต์โรงเรียนยู่เฉียว ไลน์ เฟซบุ๊ค ฯลฯ โรงเรียนมีแผนจะพัฒนาตนเองต่อไปอย่างไรให้ได้ระดับคุณภาพที่ดีขึ้นกว่าเดิม 1 ระดับ 1. เด็กทุกคนมีพัฒนาการที่มีคุณภาพและเหมาะสมตามวัย 2. ส่งเสริมอัตลักษณ์โรงเรียนให้โดดเด่น 3. พัฒนาระบบและเทคโนโลยีสารสนเทศให้ทันสมัยและเพียงพอต่อผู้ใช้งาน


5 4. กำกับ ติดตาม และประเมินผล เพื่อการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ 5. พัฒนาครูและบุคลากร ให้มีความรู้ความสามารถ และมีจรรยาบรรณวิชาชีพเทียบเคียงมาตรฐานสากล ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน หลักฐานสนับสนุนผลการประเมินตนเองตามระดับคุณภาพ 1.แผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา ฉบับที่ 9 ปีการศึกษา 2565-2568 2. รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2566 3. รายงานการประเมินคุณภาพภายนอก (พ.ศ.2564-2568) โดย สมศ. 4.แผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษา 2566 5. สรุปผลโครงการ กิจกรรม ประจำปีการศึกษา 2566 6. เอกสารบันทึกการประชุม เรื่องต่าง ๆ 7. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับสถานศึกษาและระดับชาติ(RT/NT/O-NET) 8. แบบบันทึกน้ำหนักส่วนสูง ตามแบบกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 9. ภาพถ่ายกิจกรรมที่เว็บไซต์โรงเรียนยู่เฉียว ไลน์ เฟซบุ๊ค ฯลฯ 3.) โรงเรียนมีแผนจะพัฒนาตนเองต่อไปอย่างไรให้ได้ระดับคุณภาพที่ดีขึ้นกว่าเดิม 1 ระดับ 1. พัฒนาทักษะด้านการอ่าน เขียน และการสื่อสาร 2. พัฒนาแนวทางยกระดับผลสัมฤทธิ์ภายในสถานศึกษาและระดับชาติ 3. ส่งเสริมอัตลักษณ์โรงเรียนให้โดดเด่น 4. พัฒนาระบบและเทคโนโลยีสารสนเทศให้ทันสมัยและเพียงพอต่อผู้ใช้งาน 5. กำกับ ติดตาม และประเมินผล เพื่อการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ 6. พัฒนาครูและบุคลากร ให้มีความรู้ความสามารถ และมีจรรยาบรรณวิชาชีพเทียบเคียงมาตรฐานสากล


6 ส่วนที่ 2 ข้อมูลพื้นฐานของโรงเรียน ข้อมูลที่อยู่สถานศึกษาปัจจุบัน เลขที่ 729 หมู่ที่ 2 แขวง/ตำบล ท่าม่วง เขต/อำเภอ ท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี โทรศัพท์ 034-611-150 โทรสาร 034-611-150 150 [email protected] website www.yuchieo.ac.th Line ID. 0988600435 ระดับที่เปิดสอนในปัจจุบัน (เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ) ปกติ (สามัญศึกษา) เตรียมอนุบาล ก่อนประถมศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย ประวัติโรงเรียน โรงเรียนยู่เฉียวเซียะเสี้ยว เดิมชื่อว่า "หยกเคี้ยว" ก่อตั้งขึ้นด้วยแรงศรัทธาของพ่อค้าชาวตลาดท่าม่วงที่รวบรวม เงินบริจาคที่ดิน 3 ไร่กว่า และสร้างอาคารเรียนตึกชั้นเดียว จนสามารถเปิดทำการสอนครั้งแรกได้ ในปี พ.ศ.2470 ต่อมาราวปี พ.ศ. 2476 เศรษฐกิจการค้าทั่วไปตกต่ำมากรายได้ของโรงเรียนไม่เพียงพอกับรายจ่าย จึงจำเป็นต้องปิด กิจการชั่วคราว ปี พ.ศ. 2480 เปิดทำการสอนเป็นครั้งที่สอง โดยกิจการของโรงเรียนในช่วงนี้เจริญก้าวหน้าขึ้นมาก มี นักเรียนเพิ่มขึ้นเป็นสามร้อยกว่าคน ทำให้ต้องสร้างอาคารเรียนเพิ่มขึ้นอีกสองหลัง และต้องปิดกิจการลงอีกครั้ง ในปี พ.ศ. 2482 เนื่องจากเหตุผลทางการเมือง หลังสงครามโลกครั้งที่สองยุติลง คณะกรรมการโรงเรียนได้ประชุมหารือเพื่อเปิดทำการสอนเป็นครั้งที่สามใน วันที่ 7 มีนาคม 2490 โดยเปลี่ยนชื่อโรงเรียนเป็น "ยู่เฉียวเซียะเสี้ยว" ได้รับอนุญาตจดทะเบียน เป็นมูลนิธิอย่าง ถูกต้องตามกฎหมายเมื่อวันที่ 29 กันยายน 2515 และเพื่อให้โรงเรียนเป็นของชุมชนอย่างแท้จริง จึงได้โอนกิจการ ของโรงเรียนให้อยู่ภายใต้การดูแลของมูลนิธิยู่เฉียว เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2525 และได้รับจัดตั้งอย่างเป็นทางการ เมื่อเดือนสิงหาคม 2525 ปัจจุบันเปิดทำการเรียนการสอนตั้งแต่ระดับชั้น อ.1-ป.6 โดยได้รับอนุญาตให้เปิดรับ นักเรียนตามอัตราความจุสูงสุดจำนวน 1,720 คน วิสัยทัศน์/พันธกิจ ปรัชญา ความรู้ดี มีวินัย ใฝ่สร้างสรรค์ วิสัยทัศน์ ภายในปีการศึกษา 2565 –2568 โรงเรียนยู่เฉียวเซียะเสี้ยว มุ่งเน้นการจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพ ส่งเสริม ศักยภาพครูและบุคลากรตามมาตรฐานวิชาชีพ น้อมนำศาสตร์พระราชาสู่การจัดการเรียนรู้ ผ่านนวัตกรรมและ เทคโนโลยี มุ่งส่งเสริมให้ผู้เรียน มีทักษะการสื่อสารภาษาจีนและภาษาต่างประเทศ มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อเป็นพลเมืองแห่งศตวรรษที่ 21 มีการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม ให้เป็นสถาบันการศึกษาที่มีคุณภาพตาม มาตรฐานสากล


7 ระดับปฐมวัย พันธกิจ 1. ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน อย่างสมวัยและมีสภาพที่พึงประสงค์ตามที่หลักสูตรกำหนด 2. ส่งเสริมให้เด็กมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ ตามที่สถานศึกษากำหนด 3. พัฒนาระบบบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม อย่างเป็นระบบครบวงจร 4. ส่งเสริมให้ครูผู้สอนพัฒนาการจัดประสบการณ์ โดยเน้นเด็กเป็นสำคัญ และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ เป็นแบบอย่างที่ดี ค่านิยม “เก่งคิด เรียนสนุก ปลูกปัญญา เสริมภาษา มารยาทดี มีพัฒนาการสมวัย” เป้าหมาย 1. มีพัฒนาการด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ 2. มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์ได้ 3. มีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเองและเป็นสมาชิกที่ดีของสังคมได้ 4. มีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิดพื้นฐานและแสวงหาความรู้ได้ 5. มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น 6. จัดครูให้เพียงพอกับชั้นเรียน 7. ส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์ 8. จัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการเรียนรู้อย่างปลอดภัยและเพียงพอ 9. ให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อเพื่อการเรียนรู้เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์ 10. มีระบบบริหารคุณภาพที่เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม 11. จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุลเต็มศักยภาพ 12. สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบัติอย่างมีความสุข 13. จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัย 14. ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและนำผลการประเมินพัฒนาการเด็กไปปรับปรุงการจัดประสบการณ์ และพัฒนาเด็ก ยุทธศาสตร์หรือกลยุทธ์ 1. พัฒนาคุณภาพของเด็ก 2. พัฒนาด้านการบริหารและจัดการ 3. พัฒนาการจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ เอกลักษณ์ “ภาษาจีน” อัตลักษณ์ “โดดเด่นภาษาจีน เคียงคู่คุณธรรม นำพาสู่โลกกว้าง” ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พันธกิจ 1. พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน 2. พัฒนาให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 3. พัฒนากระบวนการบริหารและการจัดการศึกษาของสถานศึกษา 4. พัฒนาการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ


8 ค่านิยม “เก่งคิด เรียนสนุก ปลูกปัญญา เสริมภาษา มารยาทดี มีพัฒนาการสมวัย” เป้าหมาย 1. มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณได้ 2. มีความสามารถในการวิเคราะห์และคิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และ แก้ปัญหาได้ 3. มีความสามารในการสร้างนวัตกรรมได้ 4. มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารได้ 5. มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา 6. มีความรู้ ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ 7. มีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด 8. มีความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย 9. ยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย 10. มีสุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสังคม 11. มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน 12. มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา 13. ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย 14. พัฒนาครูและบุคลกรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ 15. จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ 16. จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ 17. จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิด ปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ 18. ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ 19. มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก 20. ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน 21. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ ยุทธศาสตร์หรือกลยุทธ์ 1. พัฒนาคุณภาพของผู้เรียน 2. พัฒนากระบวนการบริหารและการจัดการ 3. พัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เอกลักษณ์ “ภาษาจีน” อัตลักษณ์ “โดดเด่นภาษาจีน เคียงคู่คุณธรรม นำพาสู่โลกกว้าง”


9 ผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษาและบุคลากรทั่วไปในโรงเรียน (เฉพาะที่บรรจุ) ผู้บริหารสถานศึกษา 1. ผู้รับใบอนุญาต นายจิว วารีทิพย์ขจร ระดับการศึกษา ต่ำกว่าปริญญาตรี เบอร์โทรศัพท์มือถือ 081-944-4606 1. ผู้จัดการ นายอนุรักษ์ กังวีระนนท์ ระดับการศึกษา ต่ำกว่าปริญญาตรี เบอร์โทรศัพท์มือถือ 081-868-8333 2. ผู้อำนวยการ นายไพศาล ชัยกิจตระกูล ระดับการศึกษา ปริญญาโท เบอร์โทรศัพท์มือถือ 087-025-7819 จำนวนครู , บุคลากรทางการศึกษา และบุคลากรอื่นๆ (เฉพาะที่บรรจุ) ประเภท/ตำแหน่ง จำนวนครูและบุคลากร รวม ต่ำกว่า ป.ตรี ป.ตรี ป.บัณฑิต ป.โท ป.เอก ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง 1. ระดับเตรียมอนุบาล - ครูไทย - ครูชาวต่างประเทศ 2. ระดับชั้นอนุบาล - ครูไทย 9 9 - ครูชาวต่างประเทศ 3. ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับประถมศึกษา - ครูไทย 4 16 1 21 - ครูชาวต่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษา - ครูไทย - ครูชาวต่างประเทศ 4. บุคลากรทางการศึกษา - บรรณารักษ์ - งานแนะแนวทั่วไป - งานเทคโนโลยีทางการศึกษา 2 2 - งานทะเบียนวัดผล 3 3 - บริหารงานทั่วไป 5.บุคลากรทั่วไป - พี่เลี้ยง 5 5 - อื่น ๆ 3 2 21 26 รวมทั้งสิ้น 8 6 51 1 66


10 จำนวนครูที่สอนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จำนวนครูผู้สอน ประถมศึกษา มัธยมศึกษา กิจกรรมนักเรียน - ลูกเสือ 3 - เนตรนารี 3 - ยุวกาชาด - ผู้บำเพ็ญประโยชน์ - รักษาดินแดน (ร.ด.) - กิจกรรมชุมนุม ชมรม 5 กิจกรรมแนะแนว 5 กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ 5 จำนวนครู จำแนกตามระดับและกลุ่มสาระการเรียนรู้ กรณีที่ 1 ครูสอนหลายระดับชั้นให้กรอกข้อมูลในระดับที่มีจำนวนชั่วโมงสอนมากที่สุด กรณีที่ 2 ครูที่จบวิชาเอกการประถมศึกษาถือว่าตรงเอกสามารถสอนได้ในทุกวิชา ในระดับประถมศึกษา ระดับ/กลุ่มสาระการเรียนรู้ จำนวนครู ปฐมวัย ประถมศึกษา มัธยมศึกษา ตรงเอก ไม่ตรงเอก ตรงเอก ไม่ตรงเอก ตรงเอก ไม่ตรงเอก ปฐมวัย 2 5 ภาษาไทย 5 2 คณิตศาสตร์ 3 2 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3 0 สังคมศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม 1 0 สุขศึกษาและพลศึกษา 2 0 ศิลปะ 1 0 การงานอาชีพ 3 4 ภาษาต่างประเทศ 4 0 รวม 2 5 22 8


11 จำนวนห้องเรียน/ผู้เรียนจำแนกตามระดับที่เปิดสอน ระดับที่เปิดสอน จำนวนห้องเรียน จำนวนผู้เรียน จำนวนผู้เรียนที่มี ความต้องการ พิเศษ รวมจำนวน ผู้เรียน ห้องปกติ EP ปกติ EP ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง ระดับก่อนประถมศึกษา อนุบาลปีที่ 1 4 - 55 43 98 อนุบาลปีที่ 2 4 - 62 51 113 อนุบาลปีที่ 3 4 - 60 52 112 รวม 12 - 177 146 323 ระดับประถมศึกษา ประถมศึกษาปีที่ 1 4 - 72 65 137 ประถมศึกษาปีที่ 2 4 - 63 70 133 ประถมศึกษาปีที่ 3 4 - 64 69 133 ประถมศึกษาปีที่ 4 4 - 69 70 139 ประถมศึกษาปีที่ 5 4 - 73 60 133 ประถมศึกษาปีที่ 6 4 - 57 61 118 รวม 24 - 398 395 793 รวมทั้งสิ้น 36 - 575 541 1,116


ผลผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา ยุทธศาสตร์ตาม แผนฯของโรงเรียน โครงการ เป้าหมาย ปริมาณ (จำนวน) คุณภาพ ปริ(จำระดับปฐมวัย ย ุ ท ธ ศ า ส ต ร์ โรงเรียนที่ 1 พัฒนาคุณภาพ ของเด็ก โครงการปฐมวัย 3 ดี (มีพัฒนาการ ด้านร่างกายแข็งแรงดี มีสุขนิสัยที่ดี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ดี) 86.00 เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และ ดูแลความปลอดภัยของ ตนเองได้ร้อยละ 86.00 9โครงการส่งเสริมคุณธรรม ปลูกฝังสิ่งที่ ดี มีสุนทรีย์ตามวัย 86.00 เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์ จ ิ ต ใ จ ค ว บ ค ุ ม แ ล ะ แสดงออกทางอารมณ์ได้ ร้อยละ 86.00 9โครงการหนูๆ เรียนรู้โลกกว้าง 86.00 เด็กมีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเองและเป็น สมาชิกที่ดีของสังคมได้ ร้อย ละ 86.00 9โครงการนักคิดน้อย ร้อยจินตนาการ 86.00 เ ด ็ ก ม ี พ ั ฒ น า ก า ร ด ้ า น สติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะ การคิดพื้นฐานและแสวงหา ความรู้ได้ร้อยละ 86.00 9


12 ส่วนที่ 3 การดำเนินงาน ผลสำเร็จ มาตรฐาน การศึกษาของ สถานศึกษา สอดคล้องกับนโยบายและ จุดเน้น กระทรวงศึกษาธิการ สอดคล้องกับ ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของ การศึกษา ตามมาตรฐานการศึกษาของ ชาติ พ.ศ. 2561 ริมาณ ำนวน) คุณภาพ 4.74 เด็กมีพัฒนาการด้าน ร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัย ท ี ่ ด ี แ ล ะ ด ู แ ล ค ว า ม ปลอดภัยของตนเองได้ ร้อยละ 94.74 มฐ.ที่ 1 (1.1) 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริม คุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ ของผู้เรียน 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การจัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติ จริง (Active Learning) - การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการ สอนประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง ศีลธรรม และการเสริมสร้างวิถีชีวิตของ ความเป็นพลเมือง ที่ทันสมัย น่าสนใจ และเหมาะสมกับวัยของผู้เรียน - การส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ ฐานสมรรถนะของผู้เรียน - การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและ ทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 3. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษาทุก ช่วงวัย - การส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กปฐมวัยทุก คนได้รับการพัฒนาการสมวัยอย่างมี คุณภาพ 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้าง งานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ - มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อก้าวทัน โลกยุคดิจิทัลและโลกในอนาคต - มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจาก ความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ - มีสุนทรียะ รักษ์และประยุกต์ใช้ภูมิปัญญา ไทย - มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่ มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - มีทักษะทางปัญญา - ทักษะศตวรรษที่ 21 - ความฉลาดดิจิทัล (digital intelligence) - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ - ทักษะข้ามวัฒนธรรม - สมรรถนะการบูรณาการข้ามศาสตร์ - มีคุณลักษณะของความเป็นผู้ประกอบการ 3. พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) เพื่อสันติสุข - มีความรักชาติ รักท้องถิ่น - รู้ถูกผิด มีจิตสำนึกเป็นพลเมืองไทยและ พลโลก - มีจิตอาสา - มีอุดมการณ์และมีส่วนร่วมในการพัฒนา ชาติ บนหลักประชาธิปไตย ความยุติธรรม ความเท่าเทียม เสมอภาค 4.12 เด็กมีพัฒนาการด้าน อารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์ ได้ร้อยละ 94.12 มฐ.ที่ 1 (1.2) 5.98 เด็กมีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเองและเป็น สมาชิกที่ดีของสังคม ร้อย ละ 95.98 มฐ.ที่ 1 (1.3) 1.02 เด็กมีพัฒนาการด้าน สติปัญญา สื่อสารได้ มี ทักษะการคิดพื้นฐานและ แสวงหาความรู้ได้ร้อยละ 91.02 มฐ.ที่ 1 (1.4)


ยุทธศาสตร์ตาม แผนฯของโรงเรียน โครงการ เป้าหมาย ปริมาณ (จำนวน) คุณภาพ ปริ(จำระดับปฐมวัย ย ุ ท ธ ศ า ส ต ร์ โ ร ง เ ร ี ย น ที่ 2 พ ั ฒ น า กระบวนกา ร บริหารและการ จัดการ โครงการพัฒนาหลักสูตรและการจัดประสบการณ์ เรียนรู้ 86.00 โรงเรียน มีหลักสูตรครอบคลุม พัฒนาการทั้ง 4 ด้าน สอดคล้องกับ บริบทของท้องถิ่นได้ ในระดับดีเลิศ 10โครงการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา 86.00 โรงเรียน มีการจัดครูให้เพียงพอกับ ชั้นเรียนได้ ในระดับดีเลิศ 10โครงการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา 86.00 ครูที่ได้รับการส่งเสริมให้มีความ เชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์ได้ ในระดับดีเลิศ 10โครงการสถานศึกษาปลอดภัย มีสื่อเทคโนโลยี พร้อมใช้เพื่อทุกคน 86.00 โรงเรียนจัดสภาพแวดล้อมและสื่อ เพื่อการเรียนรู้อย่างปลอดภัยและ เพียงพอได้ ในระดับดีเลิศ 10โครงการสถานศึกษาปลอดภัย มีสื่อเทคโนโลยี พร้อมใช้เพื่อทุกคน 86.00 เด็กได้รับบริการสื่อเทคโนโลยี สารสนเทศและสื่อเพื่อการเรียนรู้เพื่อ สนับสนุนการจัดประสบการณ์ได้ ใน ระดับดีเลิศ 10โครงการพัฒนาการบริหารระบบประกันคุณภาพ ภายใน 86.00 โรงเรียนมีการประกันคุณภาพภายใน อย่างเป็นระบบครบวงจรได้ ในระดับ ดีเลิศ 10


13 ผลสำเร็จ มาตรฐาน การศึกษาของ สถานศึกษา สอดคล้องกับนโยบายและ จุดเน้น กระทรวงศึกษาธิการ สอดคล้องกับ ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของ การศึกษา ตามมาตรฐานการศึกษาของ ชาติ พ.ศ. 2561 ริมาณ ำนวน) คุณภาพ 00.00 โรงเรียน มีหลักสูตรครอบคลุม พัฒนาการทั้ง 4 ด้าน สอดคล้อง กับบริบทของท้องถิ่นได้ ในระดับ ยอดเยี่ยม มฐ.ที่ 2 (2.1) 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย -การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึง ประสงค์ของผู้เรียน 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา -การพัฒนาครูในด้านการวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ของผู้เรียน (Assessment for Learning) -การจัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) -การพัฒนาทักษะดิจิทัลและภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding) ของ ผู้เรียน -การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ หน้าที่ พลเมือง ศีลธรรม และการเสริมสร้างวิถีชีวิตของความเป็นพลเมือง ที่ ทันสมัย น่าสนใจ และเหมาะสมกับวัยของผู้เรียน -การส่งเสริมการให้ความรู้และทักษะด้านการเงินและการออม (Financial Literacy) ให้กับผู้เรียน -การพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพสถานศึกษาที่เน้นสมรรถนะ และผลลัพธ์ที่ตัวผู้เรียน -การขับเคลื่อนโครงการโรงเรียนคุณภาพ -การส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะของผู้เรียน -การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อ สร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ - มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อก้าว ทันโลกยุคดิจิทัลและโลกในอนาคต - มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิด จากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ - มีสุนทรียะ รักษ์และประยุกต์ใช้ภูมิ ปัญญาไทย - มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อ สังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - มีทักษะทางปัญญา - ทักษะศตวรรษที่ 21 - ความฉลาดดิจิทัล (digital intelligence) - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ - ทักษะข้ามวัฒนธรรม - สมรรถนะการบูรณาการข้ามศาสตร์ - มีคุณลักษณะของความเป็น ผู้ประกอบการ 3. พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) เพื่อสันติสุข - มีความรักชาติ รักท้องถิ่น - รู้ถูกผิด มีจิตสำนึกเป็นพลเมืองไทย และพลโลก - มีจิตอาสา - มีอุดมการณ์และมีส่วนร่วมในการ พัฒนาชาติ บนหลักประชาธิปไตย ความยุติธรรม ความเท่าเทียม เสมอ ภาค 00.00 โรงเรียน มีการจัดครูให้เพียงพอ กับชั้นเรียนได้ ในระดับยอดเยี่ยม มฐ.ที่ 2 (2.2) 4. การส่งเสริมสนับสนุนวิชาชีพครู บุคลากรทางการศึกษาและ บุคลากรสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ -การพัฒนาสมรรถนะของครูและบุคลากรทางการศึกษา ทางด้าน เทคโนโลยีดิจิทัล และสมรรถนะที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตแบบ New Normal -การแก้ไขปัญหาหนี้สินครูและบุคลากรทางการศึกษา 5. การพัฒนาระบบราชการและการบริการภาครัฐยุคดิจิทัล -การนำเทคโนโลยีมาใช้ในการบริหารจัดการและการให้บริการ -การทำงานแบบบูรณาการ การมีส่วนร่วมกับชุมชน หน่วยงาน องค์กรอื่น ๆ ทั้งในพื้นที่และหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 00.00 ครูที่ได้รับการส่งเสริมให้มีความ เ ช ี ่ ย ว ช า ญ ด ้ า น ก า ร จั ด ประสบการณ์ได้ ในระดับยอด เยี่ยม มฐ.ที่ 2 (2.3) 00.00 โรงเรียนจัดสภาพแวดล้อมและสื่อ เพื่อการเรียนรู้อย่างปลอดภัยและ เพียงพอได้ ในระดับยอดเยี่ยม มฐ.ที่ 2 (2.4) 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย -การปกป้องคุ้มครองต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครู และ บุคลากร -การดำเนินงานตามแผน/มาตรการด้านความปลอดภัยให้แก่ผู้เรียน ครู และบุคลากรในการป้องกันภัยคุกคามรูปแบบใหม่ 4. การส่งเสริมสนับสนุนวิชาชีพครู บุคลากรทางการศึกษาและ บุคลากรสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ -การพัฒนาสมรรถนะของครูและบุคลากรทางการศึกษา ทางด้าน เทคโนโลยีดิจิทัล และสมรรถนะที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตแบบ New Normal 5. การพัฒนาระบบราชการและการบริการภาครัฐยุคดิจิทัล -การนำเทคโนโลยีมาใช้ในการบริหารจัดการและการให้บริการ -การทำงานแบบบูรณาการ การมีส่วนร่วมกับชุมชน หน่วยงาน องค์กรอื่น ๆ ทั้งในพื้นที่และหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 00.00 เด็กได้รับบริการสื่อเทคโนโลยี สารสนเทศและสื่อเพื่อการเรียนรู้ เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์ ได้ ในระดับยอดเยี่ยม มฐ.ที่ 2 (2.5) 00.00 โรงเรียนมีการประกันคุณภาพ ภายในอย่างเป็นระบบครบวงจรได้ ในระดับยอดเยี่ยม มฐ.ที่ 2 (2.6) 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา -การพัฒนาทักษะดิจิทัลและภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding) ของผู้เรียน -การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง ศีลธรรม และการเสริมสร้างวิถีชีวิตของความเป็นพลเมือง ที่ทันสมัย น่าสนใจ และเหมาะสมกับ วัยของผู้เรียน -การส่งเสริมการให้ความรู้และทักษะด้านการเงินและการออม (Financial Literacy) ให้กับผู้เรียน -การพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพสถานศึกษาที่เน้นสมรรถนะและผลลัพธ์ที่ตัว ผู้เรียน -การขับเคลื่อนโครงการโรงเรียนคุณภาพ -การส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะของผู้เรียน -การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 -การพัฒนาครูในด้านการวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน (Assessment for Learning) -การจัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) 3. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษาทุกช่วงวัย -การส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินการเพื่อป้องกันเด็กตกหล่นและเด็กออกกลางคัน -การส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการพัฒนาการสมวัยอย่างมีคุณภาพ -การส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียนกลุ่มเป้าหมายพิเศษ และกลุ่มเปราะบาง ร่วมทั้งกลุ่ม NEETs ได้รับการศึกษาที่เหมาะสม ตามความจำเป็นตามศักยภาพ -การจัดการศึกษาในรูปแบบที่หลากหลาย เพื่อให้ทุกกลุ่มเข้าถึงการศึกษา การเรียนรู้ และการฝึกอาชีพ


ยุทธศาสตร์ตาม แผนฯของโรงเรียน โครงการ เป้าหมาย ปริมาณ (จำนวน) คุณภาพ ปริ(จำระดับปฐมวัย ย ุ ท ธ ศ า ส ต ร์ โรงเรียนที่ 3 พ ั ฒ น า กระบวนการจัด ประสบการณ์ที่ เน้นเด็กเป็น สำคัญ โครงการนิเทศภายใน 86.00 ครูผู้สอนจัดประสบการณ์ ท ี ่ ส ่ ง เ ส ร ิ ม ใ ห ้ เ ด ็ ก มี พัฒนาการทุกด้าน อย่าง สมดุลเต็มศักยภาพได้ ร้อย ละ 86.00 8886.00 ครูผู้สอนสร้างโอกาสให้ เด็กได้รับประสบการณ์ ตรง เล่น และปฏิบัติอย่าง มีความสุขได้ ร้อยละ 86.00 1086.00 ครูผู้สอนจัดบรรยากาศที่ เอื้อต่อการเรียนรู้ ใช้สื่อ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม กับวัยได้ ร้อยละ 86.00 8886.00 ค ร ู ผ ู ้ ส อ น ป ร ะ เ มิ น พัฒนาการเด็กตามสภาพ จริงและนำผลการประเมิน พัฒนาการเด็กไปปรับปรุง การจัดประสบการณ์และ พัฒนาเด็กได้ ร้อยละ 86.00 88


14 ผลสำเร็จ มาตรฐาน การศึกษาของ สถานศึกษา สอดคล้องกับนโยบายและ จุดเน้น กระทรวงศึกษาธิการ สอดคล้องกับ ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของ การศึกษา ตามมาตรฐานการศึกษาของ ชาติ พ.ศ. 2561 ริมาณ ำนวน) คุณภาพ 8.89 ค ร ู ผ ู ้ ส อ น จั ด ประสบการณ์ที่ส่งเสริม ให้เด็กมีพัฒนาการทุก ด้าน อย่างสมดุลเต็ม ศักยภาพได้ ร้อยละ 88.89 มฐ.ที่ 3 (3.1) 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การพัฒนาครูในด้านการวัดและประเมินผลเพื่อ พัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน (Assessment for Learning) - การจัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) - การพัฒนาทักษะดิจิทัลและภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding) ของผู้เรียน - การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอน ประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง ศีลธรรม และการ เสริมสร้างวิถีชีวิตของความเป็นพลเมือง ที่ทันสมัย น่าสนใจ และเหมาะสมกับวัยของผู้เรียน - การส่งเสริมการให้ความรู้และทักษะด้านการเงิน และการออม (Financial Literacy) ให้กับผู้เรียน - การพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพสถานศึกษาที่ เน้นสมรรถนะและผลลัพธ์ที่ตัวผู้เรียน - การขับเคลื่อนโครงการโรงเรียนคุณภาพ - การส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ฐาน สมรรถนะของผู้เรียน - การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็น ในศตวรรษที่ 21 3. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่า เทียมทางการศึกษาทุกช่วงวัย - การส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินการเพื่อป้องกัน เด็กตกหล่นและเด็กออกกลางคัน - การส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการ พัฒนาการสมวัยอย่างมีคุณภาพ - การส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียนกลุ่มเป้าหมายพิเศษ และกลุ่มเปราะบาง ร่วมทั้งกลุ่ม NEETs ได้รับ การศึกษาที่เหมาะสม ตามความจำเป็นตามศักยภาพ - การจัดการศึกษาในรูปแบบที่หลากหลาย เพื่อให้ทุก กลุ่มเข้าถึงการศึกษา การเรียนรู้ และการฝึกอาชีพ 4. การส่งเสริมสนับสนุนวิชาชีพครู บุคลากร ทางการศึกษาและบุคลากรสังกัด กระทรวงศึกษาธิการ - การพัฒนาสมรรถนะของครูและบุคลากรทางการ ศึกษา ทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัล และสมรรถนะที่ สอดคล้องกับวิถีชีวิตแบบ New Normal - การแก้ไขปัญหาหนี้สินครูและบุคลากรทางการ ศึกษา 5. การพัฒนาระบบราชการและการบริการภาครัฐ ยุคดิจิทัล - การนำเทคโนโลยีมาใช้ในการบริหารจัดการและ การให้บริการ - การทำงานแบบบูรณาการ การมีส่วนร่วมกับชุมชน หน่วยงาน องค์กรอื่น ๆ ทั้งในพื้นที่และหน่วยงาน อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อ สร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ - มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อก้าว ทันโลกยุคดิจิทัลและโลกในอนาคต - มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิด จากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ - มีสุนทรียะ รักษ์และประยุกต์ใช้ภูมิ ปัญญาไทย - มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อ สังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - มีทักษะทางปัญญา - ทักษะศตวรรษที่ 21 - ความฉลาดดิจิทัล (digital intelligence) - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ - ทักษะข้ามวัฒนธรรม - สมรรถนะการบูรณาการข้ามศาสตร์ - มีคุณลักษณะของความเป็น ผู้ประกอบการ 3. พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) เพื่อสันติสุข - มีความรักชาติ รักท้องถิ่น - รู้ถูกผิด มีจิตสำนึกเป็นพลเมืองไทย และพลโลก - มีจิตอาสา - มีอุดมการณ์และมีส่วนร่วมในการ พัฒนาชาติ บนหลักประชาธิปไตย ความยุติธรรม ความเท่าเทียม เสมอ ภาค 00.00 ครูผู้สอนสร้างโอกาสให้ เด็กได้รับประสบการณ์ ตรง เล่น และปฏิบัติ อย่างมีความสุขได้ ร้อย ละ 100.00 มฐ.ที่ 3 (3.2) 8.89 ครูผู้สอนจัดบรรยากาศ ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ใช้ สื่อและเทคโนโลยีที่ เหมาะสมกับวัยได้ ร้อย ละ 88.89 มฐ.ที่ 3 (3.3) 8.89 ค ร ู ผ ู ้ ส อ น ป ร ะ เ มิ น พัฒนาการเ ด็ ก ต า ม สภาพจริงและนำผลการ ประเมินพัฒนาการเด็ก ไ ป ป ร ั บ ป ร ุ ง ก า ร จั ด ประสบการณ์และพัฒนา เด็กได้ ร้อยละ 88.89 มฐ.ที่ 3 (3.4)


ยุทธศาสตร์ตาม แผนฯของโรงเรียน โครงการ กิจกรรม เป้าหมาย ปริมาณ (จำนวน) คุณภาพ ปริมาณ (จำนวน) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ย ุ ท ธ ศ า ส ต ร์ โ ร ง เ ร ี ย น ที่ 1 พัฒนาคุณภาพ ของผู้เรียน (ผลสัมฤทธิ์ทาง ว ิ ช า ก า ร ข อ ง ผู้เรียน) โครงการ ส่งเสริม แ ล ะ พ ั ฒ น า ผ ล ส ั ม ฤ ท ธ ิ ์ ท า ง วิชาการของผู้เรียน 86.00 ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิด คำนวณตามเกณฑ์ที่สถานศึกษา กำหนดได้ ร้อยละ 86.00 91.42 ผู้กคกำ86.00 ผู้เรียนมีความสามารถในการ วิเคราะห์และคิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหาได้ ร้อยละ 86.00 86.00 ผูวิวิแแ86.00 ผู้เรียนมีความสามารถในการสร้าง นวัตกรรมได้ ร้อยละ 86.00 92.43 ผู้น86.00 ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ และการ สื่อสารได้ ร้อยละ 86.00 94.70 ผู้เสื86.00 ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตาม หลักสูตรสถานศึกษากำหนดได้ ร้อย ละ 86.00 99.87 ผู้ตไ86.00 ผู้เรียนมีความรู้ทักษะพื้นฐาน และ เจตคติที่ดีต่องานอาชีพ ร้อยละ 86.00 95.08 ผู้เ9


15 ผลสำเร็จ มาตรฐาน การศึกษาของ สถานศึกษา สอดคล้องกับนโยบายและ จุดเน้น กระทรวงศึกษาธิการ สอดคล้องกับ ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของ การศึกษา ตามมาตรฐานการศึกษาของ ชาติ พ.ศ. 2561 คุณภาพ ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิด คำนวณตามเกณฑ์ที่สถานศึกษา กำหนดได้ ร้อยละ 91.42 มฐ. 1 (1.1) 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะ และพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การพัฒนาครูในด้านการวัดและประเมินผล เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน (Assessment for Learning) - การจัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) - การพัฒนาทักษะดิจิทัลและ ภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding) ของผู้เรียน - การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอน ประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง ศีลธรรม และ การเสริมสร้างวิถีชีวิตของความเป็นพลเมือง ที่ ทันสมัย น่าสนใจ และเหมาะสมกับวัยของ ผู้เรียน - การส่งเสริมการให้ความรู้และทักษะด้าน การเงินและการออม (Financial Literacy) ให้กับผู้เรียน - การพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพ สถานศึกษาที่เน้นสมรรถนะและผลลัพธ์ที่ตัว ผู้เรียน - การขับเคลื่อนโครงการโรงเรียนคุณภาพ - การส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ฐาน สมรรถนะของผู้เรียน - การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่ จำเป็นในศตวรรษที่ 21 3. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และ ความเท่าเทียมทางการศึกษาทุกช่วงวัย - การส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินการเพื่อ ป้องกันเด็กตกหล่นและเด็กออกกลางคัน - การส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กปฐมวัยทุกคน ได้รับการพัฒนาการสมวัยอย่างมีคุณภาพ - การส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียน กลุ่มเป้าหมายพิเศษ และกลุ่มเปราะบาง ร่วม ทั้งกลุ่ม NEETs ได้รับการศึกษาที่เหมาะสม ตามความจำเป็นตามศักยภาพ - การจัดการศึกษาในรูปแบบที่หลากหลาย เพื่อให้ทุกกลุ่มเข้าถึงการศึกษา การเรียนรู้ และการฝึกอาชีพ . ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อ สร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ - มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อก้าว ทันโลกยุคดิจิทัลและโลกในอนาคต - มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิด จากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ - มีสุนทรียะ รักษ์และประยุกต์ใช้ภูมิ ปัญญาไทย - มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อ สังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - มีทักษะทางปัญญา - ทักษะศตวรรษที่ 21 - ความฉลาดดิจิทัล (digital intelligence) - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ - ทักษะข้ามวัฒนธรรม - สมรรถนะการบูรณาการข้ามศาสตร์ - มีคุณลักษณะของความเป็น ผู้ประกอบการ 3. พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) เพื่อสันติสุข - มีความรักชาติ รักท้องถิ่น - รู้ถูกผิด มีจิตสำนึกเป็นพลเมืองไทย และพลโลก - มีจิตอาสา - มีอุดมการณ์และมีส่วนร่วมในการ พัฒนาชาติ บนหลักประชาธิปไตย ความยุติธรรม ความเท่าเทียม เสมอ ภาค ผู้เรียนมีความสามารถในการ ว ิ เ ค ร า ะ ห ์ แ ล ะ ค ิ ด อ ย ่ า ง มี ว ิ จ า ร ณ ญ า ณ อ ภ ิ ป ร า ย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และ แก้ปัญหาได้ ร้อยละ 86.00 ผู้เรียนมีความสามารถในการสร้าง นวัตกรรมได้ ร้อยละ 92.43 ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้ ทคโนโลยีสารสนเทศ และการ สื่อสารได้ ร้อยละ 94.70 ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ตามหลักสูตรสถานศึกษากำหนด ได้ ร้อยละ 99.87 ผู้เรียนมีความรู้ทักษะพื้นฐาน และ จตคติที่ดีต่องานอาชีพ ร้อยละ 95.08


ยุทธศาสตร์ตาม แผนฯของโรงเรียน โครงการ กิจกรรม เป้าหมาย ปริมาณ (จำนวน) คุณภาพ ปริมาณ(จำนวนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ย ุ ท ธ ศ า ส ต ร์ โ ร ง เ ร ี ย น ที่ 1 พัฒนาคุณภาพ ของผู้เรียน (คุณลักษณะที่ พึงประสงค์ของ ผู้เรียน) โครงการ ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมอัน พึงประสงค์ของผู้เรียน 86.00 ผู้เรียนมีคุณลักษณะและ ค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษา กำหนดได้ ร้อยละ 86.00 100.086.00 ผู้เรียนมีความภูมิใจใน ท้องถิ่นและความเป็นไทยได้ ร้อยละ 86.00 100.086.00 ผู้เรียนมีการยอมรับที่จะอยู่ ร่วมกันบนความแตกต่าง และหลากหลายได้ ร้อยละ 86.00 100.086.00 ผู้เรียนมีสุขภาว ะ ทา ง ร่างกายและลักษณะจิต สังคมได้ ร้อยละ 86.00 100.0


16 ผลสำเร็จ มาตรฐาน การศึกษาของ สถานศึกษา สอดคล้องกับนโยบายและ จุดเน้น กระทรวงศึกษาธิการ สอดคล้องกับ ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของ การศึกษา ตามมาตรฐานการศึกษา ของชาติ พ.ศ. 2561 ณ น) คุณภาพ 00 ผู้เรียนมีคุณลักษณะและ ค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษา กำหนดได้ ร้อยละ 100.00 มฐ.1 (1.2) 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะ และพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การพัฒนาครูในด้านการวัดและ ประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของ ผู้เรียน (Assessment for Learning) - การจัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติ จริง (Active Learning) - การพัฒนาทักษะดิจิทัลและ ภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding) ของผู้เรียน - การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการ สอนประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง ศีลธรรม และการเสริมสร้างวิถีชีวิตของ ความเป็นพลเมือง ที่ทันสมัย น่าสนใจ และ เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน - การส่งเสริมการให้ความรู้และทักษะด้าน การเงินและการออม (Financial Literacy) ให้กับผู้เรียน - การพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพ สถานศึกษาที่เน้นสมรรถนะและผลลัพธ์ที่ ตัวผู้เรียน - การขับเคลื่อนโครงการโรงเรียนคุณภาพ - การส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ ฐานสมรรถนะของผู้เรียน - การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและ ทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 3. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และ ความเท่าเทียมทางการศึกษาทุกช่วงวัย - การส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินการเพื่อ ป้องกันเด็กตกหล่นและเด็กออกกลางคัน - การส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กปฐมวัยทุกคน ได้รับการพัฒนาการสมวัยอย่างมีคุณภาพ - การส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียน กลุ่มเป้าหมายพิเศษ และกลุ่มเปราะบาง ร่วมทั้งกลุ่ม NEETs ได้รับการศึกษาที่ เหมาะสม ตามความจำเป็นตามศักยภาพ - การจัดการศึกษาในรูปแบบที่หลากหลาย เพื่อให้ทุกกลุ่มเข้าถึงการศึกษา การเรียนรู้ และการฝึกอาชีพ . ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ - มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อ ก้าวทันโลกยุคดิจิทัลและโลกใน อนาคต - มีสมรรถนะ (competency) ที่ เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ - มีสุนทรียะ รักษ์และประยุกต์ใช้ ภูมิปัญญาไทย - มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อ สังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - มีทักษะทางปัญญา - ทักษะศตวรรษที่ 21 - ความฉลาดดิจิทัล (digital intelligence) - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ - ทักษะข้ามวัฒนธรรม - สมรรถนะการบูรณาการข้าม ศาสตร์ - มีคุณลักษณะของความเป็น ผู้ประกอบการ 3. พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) เพื่อสันติสุข - มีความรักชาติ รักท้องถิ่น - รู้ถูกผิด มีจิตสำนึกเป็นพลเมือง ไทยและพลโลก - มีจิตอาสา - มีอุดมการณ์และมีส่วนร่วมในการ พัฒนาชาติ บนหลักประชาธิปไตย ความยุติธรรม ความเท่าเทียม เสมอ ภาค 00 ผู้เรียนมีความภูมิใจใน ท้องถิ่นและความเป็นไทยได้ ร้อยละ 100.00 00 ผู้เรียนมีการยอมรับที่จะอยู่ ร่วมกันบนความแตกต่าง และหลากหลายได้ ร้อยละ 100.00 00 ผู้เรียนมีสุขภาว ะ ทา ง ร่างกายและลักษณะจิต สังคมได้ ร้อยละ 100.00


ยุทธศาสตร์ตาม แผนฯของโรงเรียน โครงการ กิจกรรม เป้าหมาย ปริมาณ (จำนวน) คุณภาพ ปริมาณ (จำนวน) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ย ุ ท ธ ศ า ส ต ร์ โ ร ง เ ร ี ย น ท ี ่ 2 พ ั ฒ น า ก ร ะ บ ว น ก า ร บริหารและการ จัดการ โครงการพัฒนาการบริหารระบบ ประกันคุณภาพภายใน 86.00 โรงเรียนมีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และ พันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน ได้ ในระดับดีเลิศ 100.00 86.00 โรงเรียนมีระบบบริหารจัดการ คุณภาพของสถานศึกษาได้ ในระดับดี เลิศ 100.00 โครงการพัฒนาหลักสูตรขั้น พื้นฐานและการจัดการเรียนรู้ 86.00 โรงเรียนมีการดำเนินงานพัฒนา วิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน ตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุก กลุ่มเป้าหมายได้ ในระดับดีเลิศ 100.00 โครงการพัฒนาครูและบุคลากร ทางการศึกษา 86.00 ครูและบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาให้มี ความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพได้ ใน ระดับดีเลิศ 100.00 โครงการสถานศึกษาปลอดภัย มี สื่อเทคโนโลยีพร้อมใช้เพื่อทุกคน 86.00 การจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพ และสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ อย่างมีคุณภาพได้ ในระดับดีเลิศ 100.00 86.00 การจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและ การจัดการเรียนรู้ได้ ในระดับดีเลิศ 100.00


17 ผลสำเร็จ มาตรฐาน การศึกษาของ สถานศึกษา สอดคล้องกับนโยบายและ จุดเน้น กระทรวงศึกษาธิการ สอดคล้องกับ ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของ การศึกษา ตามมาตรฐานการศึกษาของ ชาติ พ.ศ. 2561 คุณภาพ โรงเรียนมีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และ พันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจนได้ ในระดับยอดเยี่ยม มฐ. 2 (2.1-2.2) 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การพัฒนาทักษะดิจิทัลและภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding) ของผู้เรียน - การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง ศีลธรรม และการเสริมสร้างวิถีชีวิตของความเป็นพลเมือง ที่ทันสมัย น่าสนใจ และเหมาะสมกับวัยของผู้เรียน - การส่งเสริมการให้ความรู้และทักษะด้านการเงินและการออม (Financial Literacy) ให้กับผู้เรียน - การพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพสถานศึกษาที่เน้นสมรรถนะและ ผลลัพธ์ที่ตัวผู้เรียน - การขับเคลื่อนโครงการโรงเรียนคุณภาพ - การส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะของผู้เรียน - การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 - การพัฒนาครูในด้านการวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน (Assessment for Learning) - การจัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) 3. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษาทุก ช่วงวัย - การส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินการเพื่อป้องกันเด็กตกหล่นและเด็กออก กลางคัน - การส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการพัฒนาการสมวัยอย่างมี คุณภาพ - การส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียนกลุ่มเป้าหมายพิเศษ และกลุ่มเปราะบาง ร่วมทั้งกลุ่ม NEETs ได้รับการศึกษาที่เหมาะสม ตามความจำเป็นตาม ศักยภาพ - การจัดการศึกษาในรูปแบบที่หลากหลาย เพื่อให้ทุกกลุ่มเข้าถึงการศึกษา การเรียนรู้ และการฝึกอาชีพ . ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อ สร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ - มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อ ก้าวทันโลกยุคดิจิทัลและโลกใน อนาคต - มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิด จากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ - มีสุนทรียะ รักษ์และประยุกต์ใช้ภูมิ ปัญญาไทย - มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อ สังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - มีทักษะทางปัญญา - ทักษะศตวรรษที่ 21 - ความฉลาดดิจิทัล (digital intelligence) - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ - ทักษะข้ามวัฒนธรรม - สมรรถนะการบูรณาการข้ามศาสตร์ - มีคุณลักษณะของความเป็น ผู้ประกอบการ 3. พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) เพื่อสันติสุข - มีความรักชาติ รักท้องถิ่น - รู้ถูกผิด มีจิตสำนึกเป็นพลเมืองไทย และพลโลก - มีจิตอาสา - มีอุดมการณ์และมีส่วนร่วมในการ พัฒนาชาติ บนหลักประชาธิปไตย ความยุติธรรม ความเท่าเทียม เสมอ ภาค โรงเรียนมีระบบบริหารจัดการคุณภาพ ของสถานศึกษาได้ ในระดับยอดเยี่ยม โรงเรียนมีการดำเนินงานพัฒนาวิชาการ ที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตาม ห ล ั ก ส ู ตร ส ถ า น ศ ึ ก ษ า แ ล ะ ทุ ก กลุ่มเป้าหมายได้ ในระดับยอดเยี่ยม มฐ. 2 (2.3) 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของ ผู้เรียน 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การพัฒนาครูในด้านการวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน (Assessment for Learning) - การจัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) - การพัฒนาทักษะดิจิทัลและภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding) ของผู้เรียน - การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง ศีลธรรม และการเสริมสร้างวิถีชีวิตของความเป็นพลเมือง ที่ทันสมัย น่าสนใจ และเหมาะสมกับวัยของผู้เรียน - การส่งเสริมการให้ความรู้และทักษะด้านการเงินและการออม (Financial Literacy) ให้กับผู้เรียน - การพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพสถานศึกษาที่เน้นสมรรถนะและ ผลลัพธ์ที่ตัวผู้เรียน - การขับเคลื่อนโครงการโรงเรียนคุณภาพ - การส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะของผู้เรียน - การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 ครูและบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาให้มี ความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพได้ ในระดับ ยอดเยี่ยม มฐ. 2 (2.4) 4. การส่งเสริมสนับสนุนวิชาชีพครู บุคลากรทางการศึกษาและบุคลากร สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ - การพัฒนาสมรรถนะของครูและบุคลากรทางการศึกษา ทางด้านเทคโนโลยี ดิจิทัล และสมรรถนะที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตแบบ New Normal - การแก้ไขปัญหาหนี้สินครูและบุคลากรทางการศึกษา 5. การพัฒนาระบบราชการและการบริการภาครัฐยุคดิจิทัล - การนำเทคโนโลยีมาใช้ในการบริหารจัดการและการให้บริการ - การทำงานแบบบูรณาการ การมีส่วนร่วมกับชุมชน หน่วยงาน องค์กรอื่น ๆ ทั้งในพื้นที่และหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง การจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและ สังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมี คุณภาพได้ ในระดับยอดเยี่ยม มฐ. 2 (2.5-2.6) 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การปกป้องคุ้มครองต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครู และบุคลากร - การดำเนินงานตามแผน/มาตรการด้านความปลอดภัยให้แก่ผู้เรียน ครู และ บุคลากรในการป้องกันภัยคุกคามรูปแบบใหม่ 4. การส่งเสริมสนับสนุนวิชาชีพครู บุคลากรทางการศึกษาและบุคลากร สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ - การพัฒนาสมรรถนะของครูและบุคลากรทางการศึกษา ทางด้านเทคโนโลยี ดิจิทัล และสมรรถนะที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตแบบ New Normal 5. การพัฒนาระบบราชการและการบริการภาครัฐยุคดิจิทัล - การนำเทคโนโลยีมาใช้ในการบริหารจัดการและการให้บริการ - การทำงานแบบบูรณาการ การมีส่วนร่วมกับชุมชน หน่วยงาน องค์กรอื่น ๆ ทั้งในพื้นที่และหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง การจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ สนับสนุนการบริหารจัดการและการ จัดการเรียนรู้ได้ ในระดับยอดเยี่ยม


ยุทธศาสตร์ตาม แผนฯของโรงเรียน โครงการ กิจกรรม เป้าหมาย ปริมาณ (จำนวน) คุณภาพ ปริมาณ (จำนวน) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ย ุ ท ธ ศ า ส ต ร์ โ ร ง เ ร ี ย น ที่ 3 พ ั ฒ น า ก ร ะ บ ว น ก า ร จัดการเรียนการ สอนที่เน้นผู้เรียน เป็นสำคัญ โ ค ร ง ก า ร น ิ เ ท ศ ภายใน 86.00 ครูที่จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิด และปฏิบัติจริง และสามารถนำไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ร้อยละ 86.00 90.91 86.00 ครูที่ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และ แหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ได้ร้อย ละ 86.00 90.91 86.00 ครูมีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก ร้อยละ 86.00 95.45 86.00 ครูมีการตรวจสอบและประเมินผู้เรียน อย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนา ผู้เรียนได้ร้อยละ 86.00 86.36 86.00 ครูมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูล สะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการ จัดการเรียนรู้ได้ร้อยละ 86.00 90.91


18 ผลสำเร็จ มาตรฐาน การศึกษาของ สถานศึกษา สอดคล้องกับนโยบายและ จุดเน้น กระทรวงศึกษาธิการ สอดคล้องกับ ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของ การศึกษา ตามมาตรฐานการศึกษา ของชาติ พ.ศ. 2561 คุณภาพ ค ร ู ที่จ ั ด ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ ผ ่ า น กระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ใน ชีวิตได้ร้อยละ 90.91 มฐ.3 (3.1-3.5) 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะและ พฤติกรรมที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การพัฒนาครูในด้านการวัดและประเมินผลเพื่อ พัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน (Assessment for Learning) - การจัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) - การพัฒนาทักษะดิจิทัลและภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding) ของผู้เรียน - การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอน ประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง ศีลธรรม และการ เสริมสร้างวิถีชีวิตของความเป็นพลเมือง ที่ทันสมัย น่าสนใจ และเหมาะสมกับวัยของผู้เรียน - การส่งเสริมการให้ความรู้และทักษะด้านการเงิน และการออม (Financial Literacy) ให้กับผู้เรียน - การพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพสถานศึกษาที่ เน้นสมรรถนะและผลลัพธ์ที่ตัวผู้เรียน - การขับเคลื่อนโครงการโรงเรียนคุณภาพ - การส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ฐาน สมรรถนะของผู้เรียน - การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็น ในศตวรรษที่ 21 3. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่า เทียมทางการศึกษาทุกช่วงวัย - การส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินการเพื่อป้องกัน เด็กตกหล่นและเด็กออกกลางคัน - การส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการ พัฒนาการสมวัยอย่างมีคุณภาพ - การส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียนกลุ่มเป้าหมายพิเศษ และกลุ่มเปราะบาง ร่วมทั้งกลุ่ม NEETs ได้รับ การศึกษาที่เหมาะสม ตามความจำเป็นตามศักยภาพ - การจัดการศึกษาในรูปแบบที่หลากหลาย เพื่อให้ทุก กลุ่มเข้าถึงการศึกษา การเรียนรู้ และการฝึกอาชีพ 4. การส่งเสริมสนับสนุนวิชาชีพครู บุคลากร ทางการศึกษาและบุคลากรสังกัด กระทรวงศึกษาธิการ - การพัฒนาสมรรถนะของครูและบุคลากรทางการ ศึกษา ทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัล และสมรรถนะที่ สอดคล้องกับวิถีชีวิตแบบ New Normal - การแก้ไขปัญหาหนี้สินครูและบุคลากรทางการ ศึกษา 5. การพัฒนาระบบราชการและการบริการภาครัฐ ยุคดิจิทัล - การนำเทคโนโลยีมาใช้ในการบริหารจัดการและ การให้บริการ - การทำงานแบบบูรณาการ การมีส่วนร่วมกับชุมชน หน่วยงาน องค์กรอื่น ๆ ทั้งในพื้นที่และหน่วยงาน อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง . ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ - มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อ ก้าวทันโลกยุคดิจิทัลและโลกใน อนาคต - มีสมรรถนะ (competency) ที่ เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ - มีสุนทรียะ รักษ์และประยุกต์ใช้ ภูมิปัญญาไทย - มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อ สังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - มีทักษะทางปัญญา - ทักษะศตวรรษที่ 21 - ความฉลาดดิจิทัล (digital intelligence) - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ - ทักษะข้ามวัฒนธรรม - สมรรถนะการบูรณาการข้าม ศาสตร์ - มีคุณลักษณะของความเป็น ผู้ประกอบการ 3. พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) เพื่อสันติสุข - มีความรักชาติ รักท้องถิ่น - รู้ถูกผิด มีจิตสำนึกเป็นพลเมือง ไทยและพลโลก - มีจิตอาสา - มีอุดมการณ์และมีส่วนร่วมในการ พัฒนาชาติ บนหลักประชาธิปไตย ความยุติธรรม ความเท่าเทียม เสมอ ภาค ครูที่ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการ เรียนรู้ได้ร้อยละ 90.91 ครูมีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิง บวก ร้อยละ 95.45 ครูมีการตรวจสอบและประเมิน ผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผล มาพัฒนาผู้เรียนได้ร้อยละ 86.36 ครูมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและ ปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ได้ร้อย ละ 90.91


19 การดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ (สามารถเลือกได้มากกว่า 1 ข้อ) 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย - การดำเนินงานตามแผน/มาตรการด้านความปลอดภัยให้แก่ผู้เรียน ครู และบุคลากรในการป้องกันภัยคุกคามรูปแบบ ใหม่ - การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของผู้เรียน - การปกป้องคุ้มครองต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครู และบุคลากร 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา - การพัฒนาทักษะดิจิทัลและภาษาคอมพิวเตอร์(Coding) ของผู้เรียน - การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง ศีลธรรม และการเสริมสร้างวิถีชีวิตของความ เป็นพลเมือง ที่ทันสมัย น่าสนใจ และเหมาะสมกับวัยของผู้เรียน - การส่งเสริมการให้ความรู้และทักษะด้านการเงินและการออม (Financial Literacy) ให้กับผู้เรียน - การพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพสถานศึกษาที่เน้นสมรรถนะและผลลัพธ์ที่ตัวผู้เรียน - การขับเคลื่อนโครงการโรงเรียนคุณภาพ - การส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะของผู้เรียน - การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 - การพัฒนาครูในด้านการวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน (Assessment for Learning) - การจัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) 3. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษาทุกช่วงวัย - การส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินการเพื่อป้องกันเด็กตกหล่นและเด็กออกกลางคัน - การส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการพัฒนาการสมวัยอย่างมีคุณภาพ - การส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียนกลุ่มเป้าหมายพิเศษ และกลุ่มเปราะบาง ร่วมทั้งกลุ่ม NEETs ได้รับการศึกษาที่เหมาะสม ตามความจำเป็นตามศักยภาพ - การจัดการศึกษาในรูปแบบที่หลากหลาย เพื่อให้ทุกกลุ่มเข้าถึงการศึกษา การเรียนรู้ และการฝึกอาชีพ 4. การส่งเสริมสนับสนุนวิชาชีพครู บุคลากรทางการศึกษาและบุคลากรสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ - การส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินการตามหลักเกณฑ์การประเมินวิทยฐานะแนวใหม่ (หลักเกณฑ์ PA) - การพัฒนาสมรรถนะของครูและบุคลากรทางการศึกษา ทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัล และสมรรถนะที่สอดคล้องกับวิถีชีวิต แบบ New Normal - การแก้ไขปัญหาหนี้สินครูและบุคลากรทางการศึกษา 5. การพัฒนาระบบราชการและการบริการภาครัฐยุคดิจิทัล - การนำเทคโนโลยีมาใช้ในการบริหารจัดการและการให้บริการ - การทำงานแบบบูรณาการ การมีส่วนร่วมกับชุมชน หน่วยงาน องค์กรอื่น ๆ ทั้งในพื้นที่และหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง


20 สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) ตาม มาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี - มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ - มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อก้าวทันโลกยุคดิจิทัลและโลกในอนาคต - มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ - มีสุนทรียะ รักษ์และประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาไทย - มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน - มีทักษะทางปัญญา - ทักษะศตวรรษที่ 21 - ความฉลาดดิจิทัล (digital intelligence) - ทักษะการคิดสร้างสรรค์ - ทักษะข้ามวัฒนธรรม - สมรรถนะการบูรณาการข้ามศาสตร์ - มีคุณลักษณะของความเป็นผู้ประกอบการ 3. พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) เพื่อสันติสุข - มีความรักชาติ รักท้องถิ่น - รู้ถูกผิด มีจิตสำนึกเป็นพลเมืองไทยและพลโลก - มีจิตอาสา - มีอุดมการณ์และมีส่วนร่วมในการพัฒนาชาติ บนหลักประชาธิปไตย ความยุติธรรม ความเท่าเทียม เสมอภาค


21 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนและข้อมูลการวัดผลต่างๆ ระดับปฐมวัย ประเมินผลพัฒนาการทั้ง 4 ด้านของเด็กปฐมวัย (เฉพาะอนุบาล) ผลพัฒนาการด้าน จำนวน เด็ก ทั้งหมด ร้อยละของเด็กตามระดับคุณภาพ ดี พอใช้ ปรับปรุง จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ 1. ด้านร่างกาย 323 306 94.74 17 5.26 - - 2. ด้านอารมณ์-จิตใจ 323 304 94.12 19 5.88 - - 3. ด้านสังคม 323 310 95.98 13 4.02 - - 4. ด้านสติปัญญา 323 294 91.02 29 8.98 - - ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวนและร้อยละของนักเรียนที่มีผลการเรียนระดับ 3 ขึ้นไป ระดับประถมศึกษา กลุ่มสาระ การเรียนรู้/ รายวิชา ระดับผลการเรียน ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 จำนวน นักเรียน จำนวน นักเรียนที่มี ผลระดับ 3 ขึ้นไป ร้อยละ จำนวน นักเรียน จำนวน นักเรียนที่มี ผลระดับ 3 ขึ้นไป ร้อยละ จำนวน นักเรียน จำนวน นักเรียนที่มี ผลระดับ 3 ขึ้นไป ร้อยละ จำนวน นักเรียน จำนวน นักเรียนที่มี ผลระดับ 3 ขึ้นไป ร้อยละ จำนวน นักเรียน จำนวน นักเรียนที่มี ผลระดับ 3 ขึ้นไป ร้อยละ จำนวน นักเรียน จำนวน นักเรียนที่มี ผลระดับ 3 ขึ้นไป ร้อยละ คณิตศาสตร์ 137 115 83.94 133 78 58.65 133 79 59.40 139 92 66.19 133 80 60.15 118 67 56.78 ภาษาไทย 137 124 90.51 133 93 69.92 133 85 63.91 139 73 52.52 133 79 59.40 118 113 95.76 สังคมศึกษาฯ 137 122 89.05 133 126 94.74 133 119 89.47 139 135 97.12 133 125 93.98 118 112 94.92 ประวัติศาสตร์ 137 112 81.75 133 86 64.66 133 116 87.22 139 98 70.50 133 124 93.23 118 101 85.59 สุขศึกษาฯ 137 106 77.37 133 105 78.95 133 119 89.47 139 127 91.37 133 128 96.24 118 115 97.46 ศิลปะ 137 132 96.35 133 112 84.21 133 120 90.23 139 134 96.40 133 124 93.23 118 112 94.92 การงานอาชีพ 137 127 92.70 133 107 80.45 133 121 90.98 139 138 99.28 133 133 100.0 0 118 116 98.31 ภาษาต่างประเทศ 137 105 76.64 133 79 59.40 133 97 72.93 139 85 61.15 133 101 75.94 118 99 83.90 วิทยาศาสตร์ฯ 137 95 69.34 133 100 75.19 133 113 84.96 139 88 63.31 133 101 75.94 118 109 92.37 หน้าที่พลเมือง 137 137 100.00 133 133 100.00 133 133 100.00 139 139 100.00 133 133 100.00 118 118 100.00 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ***หมายเหตุ : นักเรียนเข้าสอบไม่ครบ เนื่องจากเป็นไปตามความสมัครใจในการสอบ โดยให้ถือเป็นสิทธิส่วนตัว โดยเฉพาะของนักเรียน วิชา จำนวน นักเรียน ทั้งหมด จำนวน นักเรียน ที่เข้าสอบ คะแนนเฉลี่ยระดับ ประเทศ ปี 2566 คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบ (O-NET) ของโรงเรียน 2566 2565 2564 คณิตศาสตร์ 118 73 29.96 45.25 39.36 45.28 วิทยาศาสตร์ 118 73 40.75 61.06 56.48 45.99 ภาษาไทย 118 73 57.30 73.24 68.56 61.97 ภาษาอังกฤษ 118 73 37.32 63.74 60.23 64.23


22 ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ (National Test : NT) สมรรถนะ จำนวน นักเรียน ทั้งหมด จำนวน นักเรียน ที่เข้า สอบ คะแนนเฉลี่ย ระดับประเทศ ปี 2566 คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบ 2 สมรรถนะ ของโรงเรียน 2566 2565 2564 ด้านภาษาไทย (Thai Language) 129 128 62.58 92.24 - - ด้านคำนวณ (Mathematics) 129 128 52.97 71.09 - - ***หมายเหตุ : ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนไม่ได้สมัครเข้าร่วมทดสอบ NT ให้กับนักเรียน ป.3 ทั้งระดับชั้น เนื่องจาก สถานการณ์โควิด-19 ที่ระบาดหนัก เป็นเหตุให้โรงเรียนต้องจัดการเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน์ และจากสถานการณ์ดังกล่าว ส่งผลให้คุณครู บุคลากร และผู้เรียนส่วนใหญ่ติดเชื้อ การพัฒนาผู้เรียนขาดความต่อเนื่อง โรงเรียนจึงไม่เข้าร่วมการทดสอบ NT ทั้งนี้ โรงเรียนได้มีการจัดทดสอบ อ่าน คิด วิเคราะห์ เป็นการภายในเพื่อประเมินผู้เรียน และนำผลการประเมินมาแยกกลุ่ม ผู้เรียน และนำกลุ่มผู้เรียนมาแก้ปัญหาที่พบต่อไป ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนไม่ได้สมัครการทดสอบ NT ให้กับนักเรียน ป.3 ทั้งระดับชั้น เนื่องจากสถานการณ์ โควิด-19 ในปีการศึกษา 2564 ส่งผลให้นักเรียน ต้องเรียนในรูปแบบออนไลน์ทั้งปีการศึกษา ดังนั้น เมื่อสามารถกลับมาเรียนใน ระบบออนไซต์ ในการศึกษา 2565 ได้ตามปกติแล้ว โรงเรียนจึงมุ่งเน้นฟื้นฟูทักษะการอ่าน การเขียน การคำนวณ ตลอดจน ทบทวนความรู้เดิม เพื่อให้นักเรียนมีความพร้อมสำหรับการเพิ่มเติมความรู้ในระดับชั้นปัจจุบัน หรือ ในระดับชั้นที่สูงขึ้นต่อไป ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (Reading Test : RT) ความสามารถ ด้านการอ่าน จำนวน นักเรียน ทั้งหมด จำนวน นักเรียน ที่เข้าสอบ คะแนนเฉลี่ย ระดับประเทศ ปี 2566 คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบ ด้านการอ่านของโรงเรียน 2566 2565 2564 อ่านรู้เรื่อง 137 125 78.06 97.61 - - อ่านออกเสียง 137 125 79.93 99.20 - - ***หมายเหตุ : ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนไม่ได้สมัครเข้าร่วมทดสอบ RT ให้กับนักเรียน ป.1 ทั้งระดับชั้น เนื่องจาก สถานการณ์โควิด-19 ที่ระบาดหนัก เป็นเหตุให้โรงเรียนต้องจัดการเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน์ และจากสถานการณ์ดังกล่าว ส่งผลให้คุณครู บุคลากร และผู้เรียนส่วนใหญ่ติดเชื้อ การพัฒนาผู้เรียนขาดความต่อเนื่อง โรงเรียนจึงไม่เข้าร่วมการทดสอบ NT ทั้งนี้ โรงเรียนได้มีการจัดทดสอบ อ่าน คิด วิเคราะห์ เป็นการภายในเพื่อประเมินผู้เรียน และนำผลการประเมินมาแยกกลุ่ม ผู้เรียน และนำกลุ่มผู้เรียนมาแก้ปัญหาที่พบต่อไป ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนไม่ได้สมัครการทดสอบ RT ให้กับนักเรียน ป.1 ทั้งระดับชั้น เนื่องจากสถานการณ์โควิด-19 ในปี การศึกษา 2564 ส่งผลให้นักเรียน ต้องเรียนในรูปแบบออนไลน์ทั้งปีการศึกษา ดังนั้น เมื่อสามารถกลับมาเรียนในระบบออนไซต์ ในการศึกษา 2565 ได้ตามปกติแล้ว โรงเรียนจึงมุ่งเน้นฟื้นฟูทักษะการอ่าน การเขียน การคำนวณ ตลอดจนทบทวนความรู้เดิม เพื่อให้นักเรียนมีความพร้อมสำหรับการเพิ่มเติมความรู้ในระดับชั้นปัจจุบัน หรือ ในระดับชั้นที่สูงขึ้นต่อไป


23 จำนวนนักเรียนที่จบหลักสูตร ระดับชั้น จำนวนนักเรียนทั้งหมด จำนวนนักเรียนที่จบหลักสูตร คิดเป็นร้อยละ อนุบาล 3 112 112 100.00 ประถมศึกษาปีที่ 6 118 118 100.00 นวัตกรรม/แบบอย่างที่ดี (Innovation /Best Practice) นวัตกรรม (Innovation) หมายถึง แนวคิดหรือวิธีการที่นำมาใช้ในการปฏิบัติ เพื่อแก้ปัญหาหรือเพื่อการพัฒนา ซึ่งทำให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงทางความคิด กระบวนการ หรือองค์กร อย่างสิ้นเชิงหรือเห็นได้ชัด เป็นการพัฒนาต่อยอด เพิ่มมูลค่า มีเป้าหมายในเชิงบวก ซึ่งมีเกณฑ์การพิจารณา คือมีความสร้างสรรค์ (C – Creative), มีความใหม่ในบริบทนั้นๆ (N - New) มี คุณค่ามีประโยชน์ (V – Value-Added) และปรับใช้ได้อย่างเหมาะสม (A - Adaptive) แบบอย่างที่ดี (Best -Practice) หมายถึง รูปแบบวิธีปฏิบัติหรือขึ้นตอนการปฏิบัติที่ทำให้สถานศึกษาประสบความสำเร็จ หรือสู่ความ เป็นเลิศตามเป้าหมาย เป็นที่ยอมรับในวงวิชาการหรือวิชาชีพ มีหลักฐานของความสำเร็จปรากฏชัดเจน โดยมีการสรุปรูปแบบวิธีปฏิบัติ หรือขั้นตอน การปฏิบัติตลอดจนความรู้และประสบการณ์ มีร่องรอยหลักฐานเชิงประจักษ์ เผยแพร่ให้หน่วยงานภายในหรือภายนอก สามารถนำไปใช้ประโยชน์ ชื่อ นวัตกรรม/แบบอย่างที่ดี ระดับการศึกษา มาตรฐานด้าน 1. กิจกรรมเช้าสดใส ใส่ใจพัฒนาการ ปฐมวัย มาตรฐานที่ 1 คุณภาพเด็ก และ ม า ต ร ฐ า น ท ี ่ 3 ก า ร จั ด ประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ 2. โรงเรียนมีโครงการ ที่ประกอบไปด้วยกิจกรรม ซึ่งดำเนินการด้วยระบบ PDCA ทุกกิจกรรม มาตรฐานที่ 2 กระบวนการ บริหารและการจัดการ 1. กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาการอ่าน การศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน และ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการ จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน เป็นสำคัญ 2. โรงเรียนมีโครงการ ที่ประกอบไปด้วยกิจกรรม ซึ่งดำเนินการด้วยระบบ PDCA ทุกกิจกรรม มาตรฐานที่ 2 กระบวนการ บริหารและการจัดการ


24 รางวัลที่สถานศึกษาได้รับ (3 ปีย้อนหลัง) ชื่อรางวัล หน่วยงาน ที่มอบรางวัล ประเภทรางวัล ระดับรางวัล ปีที่ได้รับรางวัล สถานศึกษา 01. เกียรติบัตร การพัฒนาคุณภาพการจัด การศึกษาได้ตามมาตรฐานการศึกษาของ กระทรวงศึกษาธิการ เพื่อการประกัน คุณภาพภายในของสถานศึกษา ปี การศึกษา 2563 ตามโครงการนิเทศ ติดตาม ตรวจสอบและประเมินระบบ ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา มี ผลงานเชิงประจักษ์ระดับการศึกษา ปฐมวัย มีคุณภาพ ยอดเยี่ยม ระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน มีคุณภาพ ยอดเยี่ยม สำนักงานศึกษาธิการ จังหวัดกาญจนบุรี สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2564 02. หนังสือแสดงการรับรองว่าโรงเรียนยู่ เฉียวเซียะเสี้ยวได้รับการประกันคุณภาพ ภายนอก (พ.ศ.2564-2568) รอบที่ 4 ใน ระดับการศึกษาปฐมวัย และระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ส ำ น ั ก ง า น ร ั บ ร อ ง มาตรฐานและประเมิน ค ุ ณ ภ า พ ก า ร ศ ึ ก ษ า (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2564 03. สถานศึกษาที่ส่งเสริม สนับสนุน นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2564 เข้ารับการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551และมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัดฯ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) สำนักงานศึกษาธิการ จังหวัดกาญจนบุรี สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2565 04. เกียรติบัตรส่งรายงานผลการประเมิน ตนเอง (SAR) ปีการศึกษา 2565 ในระบบ E-SAR ตามกำหนดเวลา สำนักงานศึกษาธิการ จังหวัดกาญจนบุรี สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2565 05. เกียรติบัตรสนับสนุนนักเรียนเข้ารับ การเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม ในวันที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2565 ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อ การศึกษากาญจนบุรี สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2565 06. เกียรติบัตรการเป็นเจ้าภาพสนับสนุน สถานที่และบุคลากร ในการจัดกิจกรรม แข่งขันทักษะวิชาการ ของกลุ่มโรงเรียน เอกชนสอนภาษาจีนภาคตะวันตก แห่ง ประเทศไทย ครั้งที่ 8 เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ.2565 เครือข่ายโรงเ ร ี ย น เอกชนสอนภาษาจีน ภ า ค ต ะ ว ั น ต ก แ ห่ ง ประเทศไทย สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2565 07. เกียรติบัตรการส่งนักเรียนเข้าร่วมการ แข่งขันทักษะทางภาษาจีนเครือข่าย โรงเรียนเอกชนสอนภาษาจีนภาคตะวันตก ครั้งที่ 8 เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ.2565 เครือข่ายโรงเ ร ี ย น เอกชนสอนภาษาจีน ภ า ค ต ะ ว ั น ต ก แ ห่ ง ประเทศไทย สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2565 08. เกียรติบัตรเข้าร่วมค่ายภาษาและ วัฒนธรรมจีนเครือข่ายโรงเรียนเอกชนสอน ภาษาจีนภาคตะวันตก ในวันที่ 21-23 ธันวาคม 2565 ณ ธีรมา คอทเทจ แอนด์ รี สอร์ท อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี เครือข่ายโรงเ ร ี ย น เอกชนสอนภาษาจีน ภ า ค ต ะ ว ั น ต ก แ ล ะ ส ถ า บ ั น ข ง จื๊ อ มหาวิทยาลัยราชภัฏ บ้านสมเด็จเจ้าพระยา สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2565 09. เกียรติบัตรสถานประกอบกิจการ ประเภท สถานศึกษา ผ่านหลักเกณฑ์การ กรมอนามัย สถานศึกษา ผู้บริหาร เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ 2566


25 ดำเนินงานอนามัยโรงเรียนอย่างมี ประสิทธิภาพ ครู นักเรียน นานาชาติ 10. เกียรติบัตรส่งรายงานผลการประเมิน ตนเอง (SAR) ปีการศึกษา 2565 ในระบบ E-SAR ตามกำหนดเวลา สำนักงานศึกษาธิการ จังหวัดกาญจนบุรี สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2566 11. เกียรติบัตรส่งนักเรียนเข้าร่วมการ แข่งขันตอบคำถามสารานุกรมไทยสำหรับ เยาวชนฯ ครั้งที่ 27 สโมสรไลออนส์สากล ภาค 310 ดี สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2566 12. เกียรติบัตรโรงเรียนที่เป็นสนามสอบวัด ระดับความรู้ด้านภาษาจีน(HSK&YCT) ระดับยอดเยี่ยมสูงสุดประจำปี 2566-2567 ส ถ า บ ั น ข ง จื๊ อ มหาวิทยาลัยราชภัฏ บ้านสมเด็จเจ้าพระยา สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2567 ชื่อรางวัล หน่วยงาน ที่มอบรางวัล ประเภทรางวัล ระดับรางวัล ปีที่ได้รับรางวัล คุณครู 01. เกียรติบัตร เข้าร่วมโครงการส่งเสริม สถานศึกษาและประสานความร่วมมือกับ หน่วยงานต้นสังกัด เพื่อสร้างความรู้ ความ เข้าใจ เกี่ยวกับแนวทางการประเมิน คุณภาพภายนอกภายใต้สถานการณ์ COVID-19 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 (จำนวน 1 ท่าน) ส ำ น ั ก ง า น ร ั บ ร อ ง มาตรฐานและประเมิน ค ุ ณ ภ า พ ก า ร ศ ึ ก ษ า (องค์การมหาชน) สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2564 02. เครื่องราชอิสริยาภรณ์ดิเรกคุณาภรณ์ ชั้นที่ 4 ชื่อ จตุตถดิเรกคุณาภรณ์ (จำนวน 5 ท่าน) และเครื่องราชอิสริยาภรณ์ดิเรก คุณาภรณ์ ชั้นที่ 5 ชื่อ เบญจมดิเรกคุณา ภรณ์(จำนวน 4 ท่าน) ส ำ น ั ก เ ล ข า ธ ิ ก า ร คณะรัฐมนตรี สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2564 03. เกียรติบัตร ผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ สาระทัศนะศิลป์ ที่มีการพัฒนาการ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนและมีการ สร้าง /พัฒนานวัตกรรมที่เป็นแบบอย่างที่ดี มีคุณภาพตามมาตรฐาน มีทักษะการเรียนรู้ และทักษะที่จำเป็นของโลกในศตวรรษที่ 21 (จำนวน 1 ท่าน) สำนักงานศึกษาธิการ จังหวัดกาญจนบุรี สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2565 04. เกียรติบัตร ผู้ฝึกซ้อมนักเรียนระดับ ประถมศึกษาตอนปลายเข้าร่วมการแข่งขัน Science Show (จำนวน 2 ท่าน) ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อ การศึกษา กาญจนบุรี สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2565 05. เกียรติบัตร เข้าร่วมเป็นวิทยากรค่าย วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม (จำนวน 15 ท่าน) ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อ การศึกษา กาญจนบุรี สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2565 06. เกียรติบัตร เข้าร่วมการประชุมเชิง ปฏิบัติการพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา และนำเสนอผลการดำเนินงานแลกเปลี่ยน เรียนรู้นวัตกรรมการปฏิบัติที่ดี (Best Practice) ภายใต้โครงการInnovation For Thai Education (IFTE) นวัต ก ร ร ม สำนักงานศึกษาธิการ จังหวัดกาญจนบุรี สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2565


26 ก า ร ศ ึ ก ษ า เ พ ื ่ อ พ ั ฒ น า ก า ร ศ ึ ก ษ า ปีงบประมาณ พ.ศ.2565 (จำนวน 2 ท่าน) 07. เกียรติบัตร เข้าร่วมการประชุมเชิง ปฏิบัติการพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา และนำเสนอผลการดำเนินงานแลกเปลี่ยน เรียนรู้นวัตกรรมการปฏิบัติที่ดี (Best Practice) (จำนวน 74 ท่าน) มหาวิทยาลัยราชภัฏ ก า ญ จ น บ ุ ร ี ร ่ ว ม กั บ โรงเรียนยู่เฉียวเซียะ เสี้ยว สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2565 08. เกียรติบัตร เข้าร่วมการประชุมเชิง ปฏิบัติการโครงการส่งเสริมและพัฒนา ระบบฐานข้อมูลด้านลูกเสือ ยุวกาชาดและ กิจการนักเรียน (จำนวน 2 ท่าน) สำนักงานศึกษาธิการ จังหวัดกาญจนบุรี สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2565 09. เกียรติบัตร คณะกรรมการดำเนินงาน จัดการแข่งขันทักษะวิชาการภาษาจีน เครือข่ายโรงเรียนเอกชนสอนภาษาจีนภาค ตะวันตกแห่งประเทศไทย (จำนวน 74 ท่าน) เครือข่ายโรงเ ร ี ย น เอกชนสอนภาษาจีน ภาคตะวันตก สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2565 10. เกียรติบัตร วิทยากรค่ายภาษาจีนของ โรงเรียนเอกชนสอนภาษาจีนภาคตะวันตก (จำนวน 4 ท่าน) เครือข่ายโรงเ ร ี ย น เอกชนสอนภาษาจีน ภ า ค ต ะ ว ั น ต ก แ ล ะ ส ถ า บ ั น ข ง จื๊ อ มหาวิทยาลัยราชภัฏ บ้านสมเด็จเจ้าพระยา สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2565 11. เกียรติบัตรอบรมหลักสูตรการ สุขาภิบาลอาหาร สำหรับผู้สัมผัสอาหาร ตามกฎกระทรวงสุขลักษณะของสถานที่ จำหน่ายอาหาร พ.ศ. 2561 (จำนวน 1 ท่าน) สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดกาญจนบุรี สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2566 12. เกียรติบัตรเข้าร่วมและผ่านเกณฑ์การ ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาครูและ บุคลากรโรงเรียนเอกซนเพื่อจัดทำระย ประกันคุณภาพการศึกษาภายในของ สถานศึกษา ภายใต้ "โครงการพัฒนาระยะ การประเมินมาตรฐานและการประกัน คุณภาพการศึกษา" (จำนวน 2 ท่าน) สำนักงานศึกษาธิการ จังหวัดกาญจนบุรี สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2566 13. เกียรติบัตร "การพัฒนาศักยภาพทาง วิชาชีพครูชาวไทยสอนภาษาจีนเครือข่าย โรงเรียนเอกชนสอนภาษาจีนภาค ตะวันตก" ครั้งที่ 1 (จำนวน 9 ท่าน) กลุ่มเครือข่ายโรงเรียน เอกชนสอนภาษาจีน ภาคตะวันตก สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2566 14. เกียรติบัตรครูผู้ควบคุมนักเรียนเข้า แข่งขันโครงการส่งเสริมประกายดาว ครั้งที่ 15 (จำนวน 2 ท่าน) โรงเรียนวิสุทธรังษี สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2566 15. เกียรติบัตรการประชุมเชิงปฏิบัติการ พัฒนาเอกสารวิชาการสู่ระบบออนไลน์ (จำนวน 73 ท่าน) โรงเรียนยู่เฉียวเซียะ เสี้ยว สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2566 16. เกียรติบัตรฝึกอบรมอาสาสมัครสอน เสริมเพื่อใช้คู่มือเทคนิคสแกฟโฟลดิงของ เหล่ากาขาดจังหวัดกาญจนบุรีตาม โครงการส่งเสริมและพัฒนาการพูด อ่าน เขียนภาษาไทย (จำนวน 2 ท่าน) สภากาชาดไทย สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2566


27 17. เกียรติบัตรวิทยากรค่ายภาษาและ วัฒนธรรมจีนของโรงเรียนเอกชนสอน ภาษาจีนภาคตะวันตก (จำนวน 3 ท่าน) เครือข่ายโรงเ ร ี ย น เอกชนสอนภาษาจีน ภาคตะวันตก สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2566 18. เกียรติบัตรเป็นกรรมการผู้ตัดสินการ แข่งขันสุนทรพจน์การแข่งขันทักษะ วิชาการภาษาจีนเครือข่ายโรงเรียนเอกชน สอนภาษาจีนภาคตะวันตก ครั้งที่ 9 (จำนวน 6 ท่าน) เครือข่ายโรงเ ร ี ย น เอกชนสอนภาษาจีน ภาคตะวันตก สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2566 19. เกียรติบัตรครูฝึกซ้อมการแข่งขัน ทักษะวิชาการภาษาจีนเครือข่ายโรงเรียน เอกชนสอนภาษาจีนภาคตะวันตก ครั้งที่ 9 (จำนวน 23 ท่าน) เครือข่ายโรงเ ร ี ย น เอกชนสอนภาษาจีน ภาคตะวันตก สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2566 20. เกียรติบัตรฝึกซ้อมนักเรียนเข้าร่วมการ แข่งขันตอบคำถามสารานุกรมไทยสำหรับ เยาวชนฯ ครั้งที่ 27 (จำนวน 2 ท่าน) สโมสรไลออนส์สากล ภาค 310 ดี สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2566 21. เกียรติบัตรการประชุมโครงการอบรม เชิงปฏิบัติการการสร้างแผนการจัดการ เรียนรู้เชิงรุก GPAS 5 Steps และสร้าง เครื่องมือวัดประเมินผลที่มุ่งสร้างสมรรถนะ นักเรียนระดับประถมศึกษา โดยยึดตัวชี้วัด ระหว่างทาง-ปลายทาง (จำนวน 1 ท่าน) สถาบันพัฒนาคุณภาพ วิชาการ (พว.) สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2566 22. เกียรติบัตรเข้าร่วมประชุมเชิง ปฏิบัติการการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอนภาษาไทยเพื่อพัฒนาการอ่านออก เขียนได้ ตามนโยบายเดินหน้าพัฒนาการ อ่านการเขียน"เด็กกาญจน์วิถีใหม่ อ่านออก เขียนได้ ลายมือสวย" (จำนวน 3 ท่าน) สำนักงานศึกษาธิการ จังหวัดกาญจนบุรี สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2566 23. เกียรติบัตรเข้าร่วมงานประชุมวิชาการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประเด็นการดูแลและ พัฒนาเด็กที่มีความต้องการพิเศษ (ครั้งที่ (1/2566) และผ่านการทดสอบภาคทฤษฎี (จำนวน 1 ท่าน) มหาวิทยาลัยมหิดล สถาบันแห่งชาติเพื่อการ พัฒนาเด็กและ ครอบครัว สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2566 24. เกียรติบัตรการเข้าร่วมประชุมเชิง ปฏิบัติการออนไลน์ เรื่อง การพัฒนา หลักสูตรสถานศึกษาที่เน้นสมรรถนะของ ผู้เรียน ผ่านระบบ Zoom Meeting และ Facebook Live (จำนวน 2 ท่าน) ส ำ น ั ก ง า น คณะกรรมการส่งเสริม การศึกษาเอกชน สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2566 25. เกียรติบัตรผ่านการอบรมหลักสูตร การออกแบบการเรียนรู้เชิงรุกในรูปแบบ ต่าง ๆ (จำนวน 62 ท่าน) ส ำ น ั ก ง า น คณะกรรมการส่งเสริม การศึกษาเอกชน สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2566 26. เกียรติบัตรการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อ สนับสนุนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (จำนวน 53 ท่าน) ส ำ น ั ก ง า น คณะกรรมการส่งเสริม การศึกษาเอกชน สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2566 27. เกียรติบัตรการใช้เทคโนโลยี ปัญญาประดิษฐ์ในการจัดการเรียนรู้ (จำนวน 34 ท่าน) ส ำ น ั ก ง า น คณะกรรมการส่งเสริม การศึกษาเอกชน สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2566


28 28. เกียรติบัตรDaily English in School (ภาษาอังกฤษสำหรับคุณครู) (จำนวน 23 ท่าน) ส ำ น ั ก ง า น คณะกรรมการส่งเสริม การศึกษาเอกชน สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2566 29. เกียรติบั ตรEffective Teaching Tools & Techniques (เครื่องมือและ เทคนิคการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ) (จำนวน 15 ท่าน) ส ำ น ั ก ง า น คณะกรรมการส่งเสริม การศึกษาเอกชน สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2566 30. เกียรติบัตร Presentation Skills (หลักการนำเสนองานเป็นภาษาอังกฤษ) (จำนวน 15 ท่าน) ส ำ น ั ก ง า น คณะกรรมการส่งเสริม การศึกษาเอกชน สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2566 31. เกียรติบัตรเทคนิคการออกแบบการ เรียนรู้ผ่านเกม (Game-Based Learning) (จำนวน 27 ท่าน) ส ำ น ั ก ง า น คณะกรรมการส่งเสริม การศึกษาเอกชน สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2566 32.เกียรติบัตรการสร้างนวัตกรรมการ เรียนรู้(จำนวน 25 ท่าน) ส ำ น ั ก ง า น คณะกรรมการส่งเสริม การศึกษาเอกชน สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2566 33. เกียรติบัตรการเรียนและทดสอบตาม เกณฑ์ที่กำหนดของหลักสูตรต้านทุจริต ศึกษา "รายวิชาเพิ่มเติม การป้องกันการ ทุจริต" ระดับปฐมวัย (จำนวน 14 ท่าน) ส ำ น ั ก ง า น คณะกรรมการป้องกัน และปราบปรามการ ทุจริตแห่งชาติ สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2566 34. เกียรติบัตรการเรียนและทดสอบตาม เกณฑ์ที่กำหนดของหลักสูตรต้านทุจริต ศึกษา "รายวิชาเพิ่มเติม การป้องกันการ ทุจริต" ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 (จำนวน 46 ท่าน) ส ำ น ั ก ง า น คณะกรรมการป้องกัน และปราบปรามการ ทุจริตแห่งชาติ สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2566 35. เกียรติบัตรรางวัล "ผู้บริหาร สถานศึกษา ครู บุคลากร เจ้าหน้าที่ ที่มี ผลงานดีเด่น" (ประเภทผู้บริหาร จำนวน 3 ท่าน) กระทรวงศึกษาธิการ สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2567 36. เกียรติบัตรรางวัล "ผู้บริหาร สถานศึกษา ครู บุคลากร เจ้าหน้าที่ ที่มี ผลงานดีเด่น" (ประเภทครู จำนวน 2 ท่าน) กระทรวงศึกษาธิการ สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2567 ชื่อรางวัล หน่วยงาน ที่มอบรางวัล ประเภทรางวัล ระดับรางวัล ปีที่ได้รับรางวัล นักเรียน 01. ด.ญ.รวงข้าว เรือนงาม ป.6/1 รับ เกียรติบัตร มีผลการทดสอบระดับชาติขั้น พื้นฐาน (O-NET) ในสาระคณิตศาสตร์ได้ คะแนนเต็ม 100 คะแนน สำนักงานศึกษาธิการ จังหวัดกาญจนบุรี สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2564 02. ด.ช.ประภากร อนันสุทธิพจน์ ป.6/2 รับเกียรติบัตรชนะเลิศ และโล่รางวัล MVP ผู้เล่นที่มีความโดดเด่นและแชมป์บาส จูเนียร์ ไทยแลนด์ 2022 รุ่นอายุไม่เกิน 13 ปีชาย จากทีม Start Up-B U13 จูเนียร์เอ็นบีเอ โครงการ บาสเกตบอลเยาวชน ร ะ ด ั บ โ ล ก ส ม า ค ม บาสเกตบอลแห่งชาติ (NBA) สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2565


29 03. ด.ช.ณัชชรัสม์ เรือนจันทร์ ป.4/1รับ เกียรติบัตรและเหรียญรางวัล รางวัล ชนะเลิศ จากการแข่งขันว่ายน้ำเยาวชน พัฒนาฝีมือ บางเลน-นครปฐม แชมป์เปี้ย นชิพ ครั้งที่ 3 ชิงถ้วยเกียรติยศและ ทุนการศึกษา เทศบาลบางเลน จ. นครปฐม สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2565 04. ด.ช.ประภากร อนันสุทธิพจน์ ป.6/2 รับรางวัลถ้วยพระราชทาน ระดับชนะเลิศ จากการแข่งขันบาสเกตบอล 3 คน ชิงถ้วย พระราชทาน สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม บรมราชกุมารี สพฐ. ร่วมกับสมาคม กีฬาบาสเกตบอล 3 คน อ า ช ี พ ไ ท ย บ ร ิ ษั ท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) และบริษัท ชู้ตอิท จํากัด สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2565 05. ด.ญ.มัณฑิตา อุ่นใจ ป.2/1 รับเกียรติ บัตร รางวัลชนะเลิศ พร้อมเงินรางวัล 1,000 บาท จากการขันเล่านิทานภาษาจีน ป.1-3 เครือข่ายโรงเ ร ี ย น เอกชนสอนภาษาจีน ภ า ค ต ะ ว ั น ต ก แ ห่ ง ประเทศไทย สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2565 06. ด.ญ. พรรณวรินทร์ โยธาจันทร์ ป.6/2 รับเกียรติบัตร รางวัลชนะเลิศ พร้อมเงิน รางวัล 1,000 บาท จากการขับร้องเพลง จีน ป.4-6 เครือข่ายโรงเ ร ี ย น เอกชนสอนภาษาจีน ภ า ค ต ะ ว ั น ต ก แ ห่ ง ประเทศไทย สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2565 07. ด.ช.ประภากร อนันสุทธิพจน์ ป.6/2 รับถ้วยรางวัล เกียรติบัตร พร้อมเงินรางวัล 3,000 บาท ระดับรางวัลชนะเลิศรุ่นอายุไม่ เกิน 12 ปี ชาย ได้รับ จากการแข่งขัน บาสเกตบอล 3x3 ชิงชนะเลิศแห่งประเทศ ไทย “สัปดาห์วันกีฬาแห่งชาติ” ส ม า ค ม ก ี ฬ า บ า ส เ ก ต บ อ ล แ ห่ ง ประเทศไทย ร่วมกับ Sports Authority of Thailand (SAT) แ ล ะ กองทุนพัฒนาการกีฬา แห่งชาติ (NSDF) สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2565 08. ด.ช.ประภากร อนันสุทธิพจน์ ป.6/2 รับถ้วยรางวัลพร้อมเงินรางวัล 5,000 บาท ระดับรางวัลชนะเลิศ รุ่นอายุ 12 ปี ชาย จากการแข่งขันบาสเกตบอล 3x3 บัว หลวงคัพ 2022 ชิงถ้วยรางวัลเกียรติยศ ประจำสำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ส ำ น ั ก เ ล ข า ธ ิ ก า ร นายกรัฐมนตรี ร่วมกับ โรงเรียนสายปัญญา รังสิต อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2565 09. เกียรติบัตร ร่วมค่ายภาษาจีนของ โรงเรียนเอกชนสอนภาษาจีนภาคตะวันตก (จำนวน 10 คน) เครือข่ายโรงเ ร ี ย น เอกชนสอนภาษาจีน ภ า ค ต ะ ว ั น ต ก แ ล ะ ส ถ า บ ั น ข ง จื๊อ มหาวิทยาลัยราชภัฏ บ้านสมเด็จเจ้าพระยา สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2566 10. ด.ญ.ธนิฐา ศรีชาติ อ.1/2 รับโล่รางวัล ชนะเลิศอันดับที่ 1 Mother Daughter Duo และ รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 2 Poppular Vote ขวัญใจชาวกาญจนบุรี ห้างสรรพสินค้าโรบินสัน กาญจนบุรี สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2566 11. ด.ญ.สู่ขวัญ อุดมผล ป.6/1 รับเกียรติ บัตร รางวัลชนะเลิศ พร้อมเงินรางวัล 1,200 บาท จากการแข่งขันอัจฉริยภาพ ทางคณิตศาสตร์ ระดับชั้น ป.4-6 โรงเรียนวิสุทธรังษี สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2566 12. ด.ช.ศิรภาพย์วรอาจ นักเรียนชั้น ป. 1/4 ได้รับรางวัลจากการแข่งขันว่ายน้ำเยาวชนพัฒนาผีมือ สปรินท์เตอร์ รับรางวัล 2 เหรียญทอง จากการแข่งขันว่ายน้ำท่ากบ เทศบาล ต.บางเลน จ.นครปฐม สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2566


30 ระยะทาง 25 เมตร และว่ายท่าผีเสื้อ ระยะทาง 25 เมตร13. ด.ญ.สู่ขวัญ อุดมผล ป.6/1 รับเกียรติ บัตรรางวัลชนะเลิศ จากการแข่งขัน อัจฉริยภาพทางคณิตศาสตร์ระดับชั้น ป. 4-6 ในโครงการประกายดาว โรงเรียนวิสุทธรังษี สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2566 14. ด.ช.ธนเดช บีเว่อร์ รับเกียรติบัตร รางวัลเหรียญทองแดง และเกียรติบัตร จ า ก ก า ร แ ข ่ ง ข ั น Global English Language Olympiad of Southeast Asia ซึ่งเป็นการแข่งขันภาษาอังกฤษ โอลิมปิก ระหว่างประเทศแห่งเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ อ ง ค ์ ก ร GLOBAL LEAGUE OF WINNERS, INC. หรือ GLOW เป็นองค์กรใน เ ซ บ ู ซ ิ ต ี ้ ป ร ะ เ ท ศ ฟิลิปปินส์ สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2566 15. ด.ญ.กัญญพัชร เภาพงษ์ รับเกียรติบัตร รางวัลชนะเลิศอันดับที่ 1 ระดับเหรียญ ทอง จากการแข่งขันเล่านิทานภาษาจีน กลุ่มโรงเรียนเอกชน ส อ น ภ า ษ า จ ี น ภ า ค ตะวันตก สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2566 16. ด.ช.นิชธรณ์ วรรณวรรค พิทยาธรเลิศ รับเกียรติบัตรรางวัลชนะเลิศอันดับที่ 1 ระดับเหรียญทอง จากการแข่งขัน Impromptu Speech กลุ่มโรงเรียนเอกชน ส อ น ภ า ษ า จ ี น ภ า ค ตะวันตก สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2566 17. ด.ช.ณัชชรัสม์ เรือนจันทร์ รับเกียรติ บัตรรางวัลชนะเลิศอันดับที่ 1 ระดับ เหรียญทอง จากการแข่งขัน Pictorial Writing กลุ่มโรงเรียนเอกชน ส อ น ภ า ษ า จ ี น ภ า ค ตะวันตก สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2566 18. ด.ญ.สู่ขวัญ อุดมผล รับเหรียญรางวัล และประกาศนียบัตร ระดับเหรียญทอง เนื่องจากมีคะแนนรวมวิชาวิทยาศาสตร์ และ คณิตศาสตร์ มาในลำดับที่ 8 จากการ ทดสอบวัดความรู้ วิชาวิทยาศาสตร์ และ คณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา ประจำปี การศึกษา 2566 โรงเรียนวิทยาศาสตร์ จุฬาภรณราชวิทยาลัย เพชรบุรี สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2566 19. เกียรติบัตร คะแนนเต็ม 200 คะแนน จากการสอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน สำหรับเยาวชน YCT 1 จำนวน 7 คน คือ ด.ช.พชร กำเนิดกาญจน์, ด.ญ.สุภัสสร แซ่ล้อ, ด.ญ.ศุภัสรา นราเกตุ, ด.ญ.อภิชยา ศรีวงศ์ราช, ด.ญ.พิมพ์พิชชา เรืองรัตน์ สุนทร, ด.ญ.ปุญญารัสมิ์ เอี่ยมต่างแดน, ด.ญ.พิชชาภา เฉลิมผา ส ถ า บ ั น ข ง จื๊ อ มหาวิทยาลัยราชภัฏ บ้านสมเด็จเจ้าพระยา สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2566 20. เกียรติบัตร คะแนนเต็ม 200 คะแนน จากการสอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน สำหรับเยาวชน YCT 2 จำนวน 4 คน คือ ด.ช.ธนยศ กรสกุลกาญจน์, ด.ช.ธีรวัฒน์ พัฒนประสิทธิ์ชัย, ด.ช.ณัชพล สมรูป, ด.ญ. ณัฐณิชา ทิพณรงค์ ส ถ า บ ั น ข ง จื๊ อ มหาวิทยาลัยราชภัฏ บ้านสมเด็จเจ้าพระยา สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2566 21. ด.ญ.สู่ขวัญ อุดมผล รับเหรียญรางวัล และ ประกาศนียบัตรระดับเหรียญทอง โครงการสอบวัดทักษะวิชาการระดับชาติ หรือ สวช. ซึ่งเป็นโครงการที่เปิดให้ทดสอบ 3 วิชา ได้แก่ วิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ ซึ่งมีคะแนนมาเป็น สำนักงานโครงการสอบ ว ั ด ท ั ก ษ ะ ว ิ ช า ก า ร ระดับชาติ (สวช.) สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2566


31 อันดับที่ 1 ของจังหวัด และ เป็นอันดับที่ 2 ของภาคตะวันตก 22. เกียรติบัตร ระดับเหรียญทอง จากการ แข่งขันออกกำลังกายประกอบเพลง (ปฐมวัย) ประเภททีม จำนวน 12 คน, การ แข่งขันวาดภาพระบายสีด้วยสีเทียน (ปฐมวัย), การแข่งขัน Coding (ป.4-6), การแข่งขันพูดเพื่ออาชีพภาษาจีน ป.4-6 (หลักสูตรพิเศษ) และ การแข่งขันเรียงร้อย ถ้อยความ (ป.4-6) คณะกรรมการประสาน และส่งเสริมการศึกษา เ อ ก ช น ภ า ค ก ล า ง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และจังหวัดปทุมธานี สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2567 23. เกียรติบัตรคะแนนเต็ม 100 คะแนน ในความสามารถด้านการอ่าน (RT) จาก การประเมินความสามารถด้านการอ่าน ของผู้เรียน (RT) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ประจำปีการศึกษา 2566 (จำนวน 26 คน) ส ำ น ั ก ง า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร การศึกษาขั้นพื้นฐาน สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2567 24. เกียรติบัตร มีผลการทดสอบระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้น ป.6 เต็ม 100 คะแนน สาระคณิตศาสตร์ได้แก่ ด.ญ. ฐิตาภา ทองแท้ และสาระภาษาอังกฤษ ได้แก่ ด.ช.ธนเดช บีเวอร์ สำนักงานศึกษาธิการ จังหวัดกาญจนบุรี สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2567 25. เกียรติบัตรคะแนนเต็ม 100 คะแนน จากการประเมินคุณภาพผู้เรียน ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 3 (NT) ประจำปี การศึกษา 2566 ด้านคณิตศาสตร์ (Mathematics) (จำนวน 6 คน) ส ำ น ั ก ง า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร การศึกษาขั้นพื้นฐาน สถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียน เขตพื้นที่/จังหวัด ภาค/ประเทศ นานาชาติ 2567


32 การดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ (สามารถเลือกได้มากกว่า 1 ข้อ) 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย การดำเนินงานตามแผน/มาตรการด้านความปลอดภัยให้แก่ผู้เรียน ครูและบุคลากรในการป้องกันภัย คุกคามรูปแบบใหม่ การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของผู้เรียน การปกป้องคุ้มครองต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครูและบุคลากร 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา การส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะของผู้เรียน การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 การพัฒนาครูในด้านการวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน (Assessment for Learning) การจัดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) การพัฒนาทักษะดิจิทัลและภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding) ของผู้เรียน การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง ศีลธรรม และการเสริมสร้างวิถี ชีวิตของความเป็นพลเมือง ที่ทันสมัย น่าสนใจ และเหมาะสมกับวัยของผู้เรียน การส่งเสริมการให้ความรู้และทักษะด้านการเงินและการออม (Financial Literacy) ให้กับผู้เรียน การพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพสถานศึกษาที่เน้นสมรรถนะและผลลัพธ์ที่ตัวผู้เรียน การขับเคลื่อนโครงการโรงเรียนคุณภาพ 3. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษาทุกช่วงวัย การส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินการเพื่อป้องกันเด็กตกหล่นและเด็กออกกลางคัน การส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการพัฒนาการสมวัยอย่างมีคุณภาพ การส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียนกลุ่มเป้าหมายพิเศษ และกลุ่มเปราะบาง ร่วมทั้งกลุ่ม NEETs ได้รับ การศึกษาที่เหมาะสม ตามความจำเป็นตามศักยภาพ การจัดการศึกษาในรูปแบบที่หลากหลาย เพื่อให้ทุกกลุ่มเข้าถึงการศึกษา การเรียนรู้และการฝึกอาชีพ 4. การส่งเสริมสนับสนุนวิชาชีพครูบุคลากรทางการศึกษาและบุคลากรสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ การส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินการตามหลักเกณฑ์การประเมินวิทยฐานะแนวใหม่ (หลักเกณฑ์PA) การพัฒนาสมรรถนะของครูและบุคลากรทางการศึกษา ทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัล และสมรรถนะที่ สอดคล้องกับวิถีชีวิตแบบ New Normal การแก้ไขปัญหาหนี้สินครูและบุคลากรทางการศึกษา 5. การพัฒนาระบบราชการและการบริการภาครัฐยุคดิจิทัล การนำเทคโนโลยีมาใช้ในการบริหารจัดการและการให้บริการ การทำงานแบบบูรณาการการมีส่วนร่วมกับชุมชน หน่วยงาน องค์กรอื่น ๆ ทั้งในพื้นที่และหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง


33 คุณลักษณะของผู้เรียนที่เป็นไปตามผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษา ของชาติ พ.ศ. 2561 จากการดำเนินงานของโรงเรียน คุณลักษณะ 3 ด้าน (สามารถเลือกได้มากกว่า 1 ข้อ) 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อก้าวทันโลกยุคดิจิทัลและโลกในอนาคต มีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ มีสุนทรียะ รักษ์และประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาไทย มีทักษะชีวิต 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) เพื่อสังคมที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน มีทักษะทางปัญญา ทักษะศตวรรษที่ 21 ความฉลาดดิจิทัล (digital intelligence) ทักษะการคิดสร้างสรรค์ ทักษะข้ามวัฒนธรรม สมรรถนะการบูรณาการข้ามศาสตร์ มีคุณลักษณะของความเป็นผู้ประกอบการ 3. พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) เพื่อสันติสุข มีความรักชาติ รักท้องถิ่น รู้ถูกผิด มีจิตสำนึกเป็นพลเมืองไทยและพลโลก มีจิตอาสา มีอุดมการณ์และมีส่วนร่วมในการพัฒนาชาติ บนหลักประชาธิปไตย ความยุติธรรม ความเท่าเทียม เสมอภาค 4. หน่วยงานภายนอกที่โรงเรียนเข้าร่วมเป็นสมาชิก สมาคมคณะกรรมการประสานและส่งเสริมการศึกษาเอกชน สมาคมสหพันธ์โรงเรียนเอกชนแห่งประเทศไทย สมาคมครูสถานศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย สมาคมประถมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย สมาคมอนุบาลศึกษาแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ฯ สมาคมสภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย สมาคมครูโรงเรียนเอกชนคาทอลิกแห่งประเทศไทย สมาคมโรงเรียนสอนภาษาจีน สมาคมโรงเรียนนานาชาติแห่งประเทศไทย


34 การประเมินคุณภาพภายนอกในรอบของ สมศ. ที่ผ่านมา รอบการประเมิน ระดับผลการประเมิน/ผลการรับรอง ระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน รอบที่ 3 (พ.ศ. 2554 – 2558) ปีที่ประเมิน พ.ศ. 2555 ระดับผลประเมิน ดีมาก ผลการรับรอง รับรอง ระดับผลประเมิน ดี ผลการรับรอง รับรอง ผลการประเมินปีล่าสุด ปีที่ประเมิน พ.ศ. 2564 มาตรฐานที่ 1 ดี มาตรฐานที่ 2 ดี มาตรฐานที่ 3 ดี มาตรฐานที่ 1 ดี มาตรฐานที่ 2 ดี มาตรฐานที่ 3 ดี


35 ส่วนที่ 4 สรุปผลการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา การประเมินคุณภาพตามมาตรฐานของการศึกษา : ระดับปฐมวัย *ใส่ข้อมูลเฉพาะช่องสีขาว เนื่องจากในระบบ E-SAR ดึงข้อมูลและคำนวณอัตโนมัติ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก ประเด็นพิจารณา การปฏิบัติงาน เป้าหมาย (ร้อยละ) จำนวนเด็ก (คน) *** ผลการประเมิน (ร้อยละ) ผลการ ประเมิน คุณภาพที่ได้ ปฏิบัติ ไม่ ปฏิบัติ ทั้งหมด ผ่านเกณฑ์ที่ กำหนด 1 มีพัฒนาการด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแลความ ปลอดภัยของตนเองได้ 86.00 323 306 94.74 ยอดเยี่ยม 1.1 ร้อยละของเด็กมีน้ำหนัก ส่วนสูงตาม เกณฑ์มาตรฐาน 307 1.2 ร้อยละของเด็กเคลื่อนไหวร่างกาย คล่องแคล่ว ทรงตัวได้ดี ใช้มือและตา ประสานสัมพันธ์ได้ดี 308 1.3 ร้อยละของเด็กดูแลรักษาสุขภาพ อนามัยส่วนตนและปฏิบัติจนเป็นนิสัย 305 1.4 ร้อยละของเด็กปฏิบัติตนตามข้อตกลง เกี่ยวกับความปลอดภัย หลีกเลี่ยงสภาวะ ที่เสี่ยงต่อโรค สิ่งเสพติด และระวังภัยจาก บุคคล สิ่งแวดล้อม และสถานการณ์ที่เสี่ยง อันตราย 304 2 มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์ ได้ 86.00 323 304 94.12 ยอดเยี่ยม 2.1 ร้อยละของเด็กร่าเริงแจ่มใส แสดง อารมณ์ ความรู้สึกได้เหมาะสม 303 2.2 ร้อยละของเด็กรู้จักยับยั้งชั่งใจ อดทนในการรอคอย 304 2.3 ร้อยละของเด็กยอมรับและพอใจใน ความสามารถ และผลงานของตนเองและ ผู้อื่น 303 2.4 ร้อยละของเด็กมีจิตสำนึกและค่านิยม ที่ดี 304 2.5 ร้อยละของเด็กมีความมั่นใจ กล้าพูด กล้าแสดงออก 306 2.6 ร้อยละของเด็กช่วยเหลือแบ่งปัน 303 2.7 ร้อยละของเด็กเคารพสิทธิ รู้หน้าที่ รับผิดชอบ อดทนอดกลั้น 305 2.8 ร้อยละของเด็กซื่อสัตย์สุจริต มีคุณธรรม จริยธรรม ตามที่สถานศึกษากำหนด 304 2.9 ร้อยละของเด็กมีความสุขกับศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว 304


36 มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก(ต่อ) ประเด็นพิจารณา การปฏิบัติงาน เป้าหมาย (ร้อยละ) จำนวนเด็ก (คน) *** ผลการประเมิน (ร้อยละ) ผลการ ประเมิน คุณภาพที่ได้ ปฏิบัติ ไม่ ปฏิบัติ ทั้งหมด ผ่านเกณฑ์ที่ กำหนด 3 มีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือ ตนเองและเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม 86.00 323 310 95.98 ยอดเยี่ยม 3.1 ร้อยละของเด็กช่วยเหลือตนเอง ในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน มีวินัย ในตนเอง 310 3.2 ร้อยละของเด็กประหยัดและพอเพียง 312 3.3 ร้อยละของเด็กมีส่วนร่วมดูแลรักษา สิ่งแวดล้อมในและนอกห้องเรียน 313 3.4 ร้อยละของเด็กมีมารยาทตามวัฒนธรรม ไทย เช่น การไหว้ การยิ้ม ทักทาย และ มีสัมมาคารวะกับผู้ใหญ่ ฯลฯ 309 3.5 ร้อยละของเด็กยอมรับหรือเคารพ ความแตกต่างระหว่างบุคคล เช่น ความคิด พฤติกรรม พื้นฐานครอบครัว เชื้อชาติ ศาสนา วัฒนธรรม เป็นต้น 307 3.6 ร้อยละของเด็กเล่นและทำงานร่วมกับ ผู้อื่นได้ แก้ไขข้อขัดแย้งโดยปราศจาก การใช้ความรุนแรง 309 4 มีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสาร ได้ มีทักษะการคิดพื้นฐาน และ แสวงหาความรู้ได้ 86.00 323 294 91.02 ยอดเยี่ยม 4.1 ร้อยละของเด็กสนทนาโต้ตอบและ เล่าเรื่องให้ผู้อื่นเข้าใจ 296 4.2 ร้อยละของเด็กตั้งคำถามในสิ่งที่ ตนเองสนใจหรือสงสัย และพยายามค้นหา คำตอบ 294 4.3 ร้อยละของเด็กอ่านนิทานและเล่าเรื่อง ที่ตนเองอ่านได้เหมาะสมกับวัย 295 4.4 ร้อยละของเด็กมีความสามารถในการ คิดรวบยอด การคิดเชิงเหตุผลทาง คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ การคิด แก้ปัญหาและสามารถตัดสินใจในเรื่อง ง่าย ๆ ได้ 291 4.5 ร้อยละของเด็กสร้างสรรค์ผลงานตาม ความคิดและจินตนาการ เช่น งานศิลปะ การเคลื่อนไหวท่าทาง การเล่นอิสระ ฯลฯ 293 4.6 ร้อยละของเด็กใช้สื่อเทคโนโลยี เช่น แว่นขยาย แม่เหล็ก กล้องดิจิตอล ฯลฯ เป็น เครื่องมือในการเรียนรู้และแสวงหาความรู้ ได้ 295 สรุปผลการประเมิน 93.96 ยอดเยี่ยม


37 อธิบายจุดเน้นและกระบวนการพัฒนาที่ส่งผลต่อระดับคุณภาพของมาตรฐานที่ 1 โรงเรียนพัฒนาคุณภาพเด็ก โดยมีการวางแผน ประชุมชี้แจง แต่งตั้งกรรมการดำเนินการ สร้างความเข้าใจแก่ คณะทำงานทุกฝ่าย โดยดำเนินการตามแผนที่วางไว้ มีการตรวจสอบพัฒนาการเด็กในแต่ละระดับเป็นระยะ เพื่อนำมา ปรับปรุงและแก้ไข และเมื่อดำเนินการเสร็จสิ้นโครงการและกิจกรรมแล้ว จะมีการรายงานสรุปผล เพื่อนำผลมาปรับปรุง และพัฒนาต่อไป โดยโครงการและกิจกรรมที่จัดทำขึ้นเพื่อพัฒนาเด็ก เช่น โครงการ ปฐมวัย 3 ดี (มีพัฒนาการด้านร่างกาย แข็งแรงดี มีสุขนิสัยที่ดี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ดี) ส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย ทำให้เจริญเติบโต อย่างสมบูรณ์ตามเกณฑ์และเหมาะสมตามวัย เพื่อให้เด็กมีร่างกายที่แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี สามารถดูแลความปลอดภัย ของตนเองได้ดี เกิดสภาพที่พึงประสงค์ เป็นพลเมืองที่ดี สอดคล้องกับเป้าหมายของชาติ โครงการ ส่งเสริมคุณธรรม ปลูกฝังสิ่งที่ดี มีสุนทรีย์ตามวัย ซึ่งเป็นโครงการที่จะส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทางพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์ได้ เพื่อเป็นการปูพื้นฐานในการอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขในอนาคต โครงการ หนูๆ เรียนรู้โลกกว้าง เป็นโครงการที่ส่งเสริมพัฒนาการทางด้านสังคมให้กับเด็กปฐมวัย ผ่านการเล่นหรือทำกิจกรรม ช่วยให้ เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น เรียนรู้วิธีเล่นกับผู้อื่น รู้จักการรอคอย และการแบ่งปัน เรียนรู้การเป็นผู้นำหรือผู้ตามที่ดีรู้จัก รักษากติกาการเล่น รู้จักแพ้ชนะ ซึ่งเป็นการเตรียมให้เด็กวัยนี้รู้จักปรับตัวในสังคมได้ดีเมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ต่อไป โครงการ นักคิดน้อย ร้อยจินตนาการ เป็นโครงการที่จัดทำขึ้นเพื่อเตรียมความพร้อมด้านสติปัญญา เป็นหนึ่งใน องค์ประกอบสำคัญของการเตรียมความพร้อมให้กับเด็กปฐมวัย โดยมุ่งส่งเสริมให้เด็กมีทักษะการคิดวิเคราะห์ คิดรวบ ยอด มีความคิดสร้างสรรค์ มีจินตนาการ รู้จักตั้งคำถาม สงสัยและพยายามหาคำตอบ ผ่านการจัดกิจกรรมที่หลากหลาย เช่น กิจกรรมการอ่าน การเขียน การเล่าเรื่อง การเล่านิทาน การฟัง/ขับร้องเพลง ศิลปะ การเคลื่อนไหว การใช้สื่อ เทคโนโลยีในการเรียนรู้และแสวงหาความรู้ ได้เหมาะสมตามวัย และ กิจกรรมกีฬาสี สุขภาพดี รักสามัคคี รู้หลีกหนียา เสพติด เป็นกิจกรรมที่ให้เด็กในระดับปฐมวัย ได้มีทักษะการเล่นกีฬาตามความถนัดและสนใจ เห็นคุณค่าในตนเอง มี ความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม รู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง ปฏิบัติตามกติกา ของการเล่น การเชียร์และมีน้ำใจเป็นนักกีฬา ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะช่วยให้เด็กเรียนรู้ความสำคัญของกฎหรือกติกาของชีวิต รู้จักเคารพและเข้าใจกติกาของสังคมที่เด็กๆ จะต้องเจอในอนาคตต่อไป จากการพัฒนาด้วยโครงการและกิจกรรมดังกล่าว ส่งผลให้เด็กมีพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน อยู่ในระดับคุณภาพยอด เยี่ยม


38 มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ประเด็นพิจารณา การปฏิบัติงาน *** ผลสำเร็จ (ข้อ) ผลการ ประเมิน คุณภาพที่ ได้ ปฏิบัติ ไม่ปฏิบัติ 1 มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้งสี่ด้าน สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น 5 ยอดเยี่ยม 1.1 มีหลักสูตรสถานศึกษาที่ยืดหยุ่น และสอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษา ปฐมวัย 1.2 ออกแบบการจัดประสบการณ์ที่เตรียมความพร้อมและไม่เร่งรัดวิชาการ 1.3 ออกแบบการจัดประสบการณ์ที่เน้นการเรียนรู้ผ่านการเล่น และการลง มือปฏิบัติ (Active learning) 1.4 ออกแบบการจัดประสบการณ์ที่ตอบสนองความต้องการและความ แตกต่างของเด็กปกติและกลุ่มเป้าหมายเฉพาะที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตของ ครอบครัว ชุมชนและท้องถิ่น 1.5 มีการประเมิน ตรวจสอบ และปรับปรุง / พัฒนาหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง 2 จัดครูให้เพียงพอกับชั้นเรียน 5 ยอดเยี่ยม 2.1 จัดครูครบชั้นเรียน 2.2 จัดครูให้มีความเหมาะสมกับภารกิจการจัดประสบการณ์ 2.3 จัดครูไม่จบการศึกษาปฐมวัยแต่ผ่านการอบรมการศึกษาปฐมวัย 2.4 จัดครูจบการศึกษาปฐมวัย 2.5 จัดครูจบการศึกษาปฐมวัยและผ่านการอบรมการศึกษาปฐมวัย 3 ส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์ 5 ยอดเยี่ยม 3.1 มีการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถในการวิเคราะห์ และออกแบบหลักสูตรสถานศึกษา 3.2 ส่งเสริมครูให้มีทักษะในการจัดประสบการณ์และการประเมินพัฒนาการ เด็ก 3.3 ส่งเสริมครูใช้ประสบการณ์สำคัญในการออกแบบการจัดกิจกรรม จัด กิจกรรม สังเกตและประเมินพัฒนาการเด็กเป็นรายบุคคล 3.4 ส่งเสริมให้ครูมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเด็กและครอบครัว 3.5 ส่งเสริมให้ครูพัฒนาการจัดประสบการณ์โดยใช้ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทาง วิชาชีพ (PLC) 4 จัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการเรียนรู้อย่างปลอดภัยและเพียงพอ 5 ยอดเยี่ยม 4.1 จัดสภาพแวดล้อมภายในห้องเรียนที่คำนึงถึงความปลอดภัย 4.2 จัดสภาพแวดล้อมภายนอกห้องเรียนที่คำนึงถึงความปลอดภัย 4.3 ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ที่เป็นรายบุคคลและกลุ่ม เล่นแบบร่วมมือร่วม ใจ 4.4 จัดให้มีมุมประสบการณ์หลากหลาย มีสื่อการเรียนรู้ ที่ปลอดภัยและ เพียงพอ เช่น ของเล่น หนังสือนิทาน สื่อจากธรรมชาติ สื่อสำหรับเด็กมุด ลอด ปีนป่าย สื่อเทคโนโลยีการสืบเสาะหาความรู้ 4.5 จัดห้องประกอบที่เอื้อต่อการจัดประสบการณ์และพัฒนาเด็ก


39 มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ (ต่อ) ประเด็นพิจารณา การปฏิบัติงาน *** ผลสำเร็จ (ข้อ) ผลการประเมิน ปฏิบัติ ไม่ปฏิบัติ คุณภาพที่ได้ 5 ให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรู้เพื่อสนับสนุน การจัดประสบการณ์ 5 ยอดเยี่ยม 5.1 อำนวยความสะดวกและให้บริการสื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ วัสดุ อุปกรณ์และสื่อการเรียนรู้ 5.2 พัฒนาครูให้มีความรู้ความสามารถในการผลิตและใช้สื่อในการจัด ประสบการณ์ 5.3 มีการนิเทศติดตามการใช้สื่อในการจัดประสบการณ์ 5.4 มีการนำผลการนิเทศติดตามการใช้สื่อมาใช้เป็นข้อมูลในการ พัฒนา 5.5 ส่งเสริม สนับสนุนการเผยแพร่การพัฒนาสื่อ และนวัตกรรมเพื่อ การจัดประสบการณ์ 6 มีระบบบริหารคุณภาพที่เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม 5 ยอดเยี่ยม 6.1 กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับ มาตรฐานการศึกษาปฐมวัยและอัตลักษณ์ของสถานศึกษา 6.2 จัดทำแผนพัฒนาการศึกษาที่สอดรับกับมาตรฐานที่สถานศึกษา กำหนดและดำเนินการตามแผน 6.3 มีการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา 6.4 มีการติดตามผลการดำเนินงาน และจัดทำรายงานผลการประเมิน ตนเองประจำปี และรายงานผลการประเมินตนเองให้หน่วยงานต้น สังกัด 6.5 นำผลการประเมินไปปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา โดย ผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม สรุปผลการประเมิน 5 ยอดเยี่ยม อธิบายจุดเน้นและกระบวนการพัฒนาที่ส่งผลต่อระดับคุณภาพของมาตรฐานที่ 2 โรงเรียนพัฒนาคุณภาพด้านบริหาร โดยมีการวางแผน ประชุมชี้แจง แต่งตั้งกรรมการดำเนินการ สร้างความเข้าใจแก่ คณะทำงานทุกฝ่าย โดยดำเนินการตามแผนที่วางไว้ มีการตรวจสอบการดำเนินการเป็นระยะ เพื่อนำมาปรับปรุงและแก้ไข และ เมื่อดำเนินการเสร็จสิ้นโครงการและกิจกรรมแล้ว จะมีการรายงานสรุปผล เพื่อนำผลมาปรับปรุง และพัฒนาต่อไป โดยโครงการและกิจกรรมที่จัดทำขึ้นเพื่อพัฒนากระบวนการบริหารและการจัดการ ได้แก่ โครงการพัฒนาหลักสูตร ปฐมวัย โดยพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้มีความเหมาะสมกับเด็กและสอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น รวมไปถึงพัฒนา การวัด และประเมินผลพัฒนาการเด็ก เพื่อให้เด็กมีโอกาสพัฒนาตนเองตามลำดับขั้น ของพัฒนาการทุกด้านอย่างเป็นองค์รวม มีคุณภาพ และเต็มตามศักยภาพ สามารถใช้ชีวิตประจำวันได้อย่างมีความสุข เป็นคนเก่งและเป็นคนดีของสังคม โครงการพัฒนาครูและ บุคลากรทางการศึกษา เป็นโครงการที่จัดทำขึ้น เพื่อให้ครูและบุคลากรได้ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม ทั้งภายในและภายนอก สถานศึกษา เป็นการเปิดมุมมอง เปิดโลกทัศน์ใหม่ๆ นำมาสู่การถ่ายทอดสู่เด็ก ตลอดจนมีการสร้างขวัญและกำลังใจที่ดีต่อ บุคลากรทุกคนในโรงเรียน ทำให้ครูและบุคลากรมีร่างกายและจิตใจพร้อมที่จะปฏิบัติหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ โครงการ สถานศึกษาปลอดภัย มีสื่อเทคโนโลยีพร้อมใช้เพื่อทุกคน เป็นโครการที่จัดทำขึ้นเพื่อให้ครู เด็ก มีสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ สื่อ การเรียนรู้ที่เพียงพอ ภายใต้การจัดสภาพแวดล้อม และบรรยากาศแห่งการเรียนรู้ที่ปลอดภัย อันจะเป็นการสร้างความเชื่อมั่นใน ระบบการจัดการศึกษาของโรงเรียนแก่ผู้ปกครอง ชุมชน ตลอดจนผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย และ โครงการพัฒนาการบริหารระบบ คุณภาพภายใน เป็นโครงการที่จัดทำขึ้นเพื่อพัฒนาการจัดการศึกษาที่เข้มแข็ง รองรับการประกันคุณภาพการศึกษาและการ ประเมินคุณภาพภายนอก จากการพัฒนาด้วยโครงการต่างๆ ส่งผลให้มาตรฐานที่ 2 มีผลการประเมินอยู่ในระดับคุณภาพยอดเยี่ยม


40 มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ ประเด็นพิจารณา การปฏิบัติงาน เป้าหมาย (ร้อยละ) จำนวนครู (คน) *** ผลการ ประเมิน (ร้อยละ) ผลการ ประเมิน คุณภาพที่ได้ ปฏิบัติ ไม่ ปฏิบัติ ทั้งหมด ผ่านเกณฑ์ ที่กำหนด 1 จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้าน อย่างสมดุลเต็มศักยภาพ 86.00 9 8 88.89 ดีเลิศ 1.1 มีการวิเคราะห์ข้อมูลเด็กเป็นรายบุคคล 8 1.2 จัดทำแผนและใช้แผนการจัดประสบการณ์จากการ วิเคราะห์มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ในหลักสูตร สถานศึกษา 8 1.3 จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมพัฒนาการเด็กครบทุกด้าน ทั้ง ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์จิตใจ ด้านสังคม และด้าน สติปัญญา โดย ไม่มุ่งเน้นการพัฒนาด้านใดด้านหนึ่งเพียง ด้านเดียว 8 2 สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและ ปฏิบัติอย่างมีความสุข 86.00 9 9 100 ยอดเยี่ยม 2.1 จัดประสบการณ์ที่เชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิม 9 2.2 ให้เด็กมีโอกาสเลือกทำกิจกรรมอย่างอิสระ ตาม ความต้องการความสนใจ ความสามารถ ตอบสนองต่อ วิธีการเรียนรู้ของเด็กเป็นรายบุคคล หลากหลายรูปแบบ จากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย 9 2.3 เด็กได้เลือกเล่น เรียนรู้ลงมือ กระทำ และสร้างองค์ ความรู้ด้วยตนเอง 8 3 จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ใช้สื่อและเทคโนโลยี ที่เหมาะสมกับวัย 86.00 9 8 88.89 ดีเลิศ 3.1 จัดบรรยากาศและสภาพแวดล้อมในห้องเรียนได้ สะอาด ปลอดภัย และอากาศถ่ายเทสะดวก 8 3.2 จัดให้มีพื้นที่แสดงผลงานเด็ก พื้นที่สำหรับมุม ประสบการณ์และการจัดกิจกรรม 8 3.3 จัดให้เด็กมีส่วนร่วมในการจัดภาพแวดล้อมใน ห ้ อ ง เ ร ี ย น เ ช ่ น ป ้ า ย น ิ เ ท ศ ก า ร ด ู แ ล ต ้ นไม้ เป็นต้น 8 3.4 ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับช่วงอายุ ระยะ ความสนใจ และวิถีการเรียนรู้ของเด็ก เช่น กล้องดิจิตอล ค อ ม พ ิ ว เ ต อ ร ์ ส ำ ห ร ั บ ก า ร เ ร ี ย น รู้ กลุ่มย่อย สื่อของเล่นที่กระตุ้นให้คิดและหาคำตอบ เป็น ต้น 8 4 ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและนำผลการ ประเมินพัฒน า การ เด็ กไปปร ับปร ุง ก า ร จั ด ประสบการณ์และพัฒนาเด็ก 86.00 9 8 88.89 ดีเลิศ 4.1 ประเมินพัฒนาการเด็กจากกิจกรรมและกิจวัตร ประจำวันด้วยเครื่องมือและวิธีการที่หลากหลาย 8 4.2 วิเคราะห์ผลการประเมินพัฒนาการเด็กโดย ผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม 8 4.3 นำผลการประเมินที่ได้ไปพัฒนาคุณภาพเด็กอย่าง เป็นระบบและต่อเนื่อง 7 4.4 นำผลการประเมินแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้ กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ 8 สรุปผลการประเมิน 91.67 ยอดเยี่ยม


Click to View FlipBook Version