41 อธิบายจุดเน้นและกระบวนการพัฒนาที่ส่งผลต่อระดับคุณภาพของมาตรฐานที่ 3 โรงเรียนพัฒนาคุณภาพด้านครู โดยมีการวางแผน ประชุมชี้แจง แต่งตั้งกรรมการดำเนินการ สร้างความเข้าใจแก่ คณะทำงานทุกฝ่าย โดยดำเนินการตามแผนที่วางไว้ มีการตรวจสอบการดำเนินการเป็นระยะ เพื่อนำมาปรับปรุงและ แก้ไข และเมื่อดำเนินการเสร็จสิ้นโครงการและกิจกรรมแล้ว จะมีการรายงานสรุปผล เพื่อนำผลมาปรับปรุง และพัฒนา ต่อไป โดยโครงการและกิจกรรมที่จัดทำขึ้นเพื่อพัฒนาการจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ คือ โครงการนิเทศ ภายใน เพราะการนิเทศภายใน เป็นส่วนหนึ่งของการบริหารโรงเรียน เพื่อให้การจัดประสบการณ์ เกิดการพัฒนาตาม เป้าหมาย และทันต่อเหตุการณ์ปัจจุบัน การนิเทศภายในจึงเป็นกระบวนการหนึ่งที่มีความสำคัญต่อการพัฒนาโรงเรียน ซึ่งแบ่งได้2 ประการ คือ ส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียน และให้ความช่วยเหลือแก่ครูในการปรับปรุง พัฒนากระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้มีประสิทธิสูงขึ้น ทั้งนี้ โรงเรียนมุ่งหวัง ให้ผู้รับการนิเทศมีเจตคติที่ดีต่อ วิชาชีพ มีขวัญกำลังใจ ที่จะปฏิบัติงานให้บรรลุผลตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ จากการพัฒนาด้วยกิจกรรมและโครงการดังกล่าว ส่งผลให้มาตรฐานที่ 3 มีผลการประเมินอยู่ในระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม
42 ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน ประเด็นพิจารณา การปฏิบัติงาน เป้าหมาย (ร้อยละ) จำนวนผู้เรียน (คน) *** ผลการ ประเมิน (ร้อยละ) ผลการ ประเมิน คุณภาพที่ได้ ปฏิบัติ ไม่ ปฏิบัติ ทั้งหมด ผ่านเกณฑ์ ที่กำหนด ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน 1 ม ี ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร อ ่ า น ก า ร เ ข ี ย น การสื่อสาร และการคิดคำนวณ 86.00 793 724 91.30 ยอดเยี่ยม 1.1 ร้อยละของผู้เรียนมีทักษะในการอ่านในแต่ละ ระดับชั้นตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด 792 1.2 ร้อยละของผู้เรียนมีทักษะในการเขียนในแต่ละ ระดับชั้นตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด 792 1.3 ร้อยละของผู้เรียนมีทักษะในการสื่อสารในแต่ละ ระดับชั้นตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด 791 1.4 ร้อยละของผู้เรียนมีทักษะในการคิดคำนวณใน แต่ละดับชั้นตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด 522 2 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมี วิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา 86.00 793 682 86.00 ดีเลิศ 2.1 ร้อยละของผู้เรียนมีความสามารถในการคิด จำแนกแยกแยะ ใคร่ครวญ ไตร่ตรองอย่างรอบคอบ โดยใช้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ 687 2.2 ร้อยละของผู้เรียนมีการอภิปรายแลกเปลี่ยน ความคิดเห็น 683 2.3 ร้อยละของผู้เรียนมีการแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผล 675 3 มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม 86.00 793 733 92.43 ยอดเยี่ยม 3.1 ร้อยละของผู้เรียนมีความสามารถในการรวบรวม ความรู้ได้ทั้งตัวเองและการทำงานเป็นทีม 732 3.2 ร้อยละของผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงองค์ความรู้ และประสบการณ์มาใช้ในการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ อาจเป็นแนวความคิด โครงการ โครงงาน ชิ้นงาน ผลผลิต 734 4 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร 86.00 793 751 92.70 ยอดเยี่ยม 4.1 ร้อยละของผู้เรียนมีความสามารถในการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 758 4.2 ร้อยละของผู้เรียนมีความสามารถในการนำ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อพัฒนา ตนเองและสังคมในด้านการเรียนรู้การสื่อสาร การ ทำงานอย่างสร้างสรรค์ และมีคุณธรรม 743 5 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา 86.00 793 792 99.87 ยอดเยี่ยม 5.1 ร้อยละของผู้เรียนบรรลุการเรียนรู้ตามหลักสูตร สถานศึกษา 792 6 มีความรู้ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ 86.00 793 754 95.08 ยอดเยี่ยม 6.1 ร้อยละของผู้เรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐานและเจต คติที่ดีในการศึกษาต่อ 759 6.2 ร้อยละของผู้เรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐานและเจต คติที่ดีในการจัดการ การทำงานหรืองานอาชีพ 749
43 มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน (ต่อ) ประเด็นพิจารณา การปฏิบัติงาน เป้าหมาย (ร้อยละ) จำนวนผู้เรียน (คน) *** ผลการ ประเมิน (ร้อยละ) ผลการ ประเมิน คุณภาพที่ได้ ปฏิบัติ ไม่ ปฏิบัติ ทั้งหมด ผ่านเกณฑ์ ที่กำหนด คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 1 การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่ สถานศึกษากำหนด 86.00 793 793 100.00 ยอดเยี่ยม 1.1 ร้อยละของผู้เรียนมีพฤติกรรมเป็นผู้ที่มี คุณธรรม จริยธรรม เคารพในกฎกติกา 793 1.1 ร้อยละของผู้เรียนมีค่านิยมและจิตสำนึก ตามที่สถานศึกษากำหนด โดยไม่ขัดกับ กฎหมายและวัฒนธรรมอันดีของสังคม 793 2 ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย 86.00 793 793 100.00 ยอดเยี่ยม 2.1 ร้อยละของผู้เรียนมีความภูมิใจในท้องถิ่น เห็นคุณค่าของความเป็นไทย 793 2.2 ร้อยละของผู้เรียนมีส่วนร่วมในการ อนุรักษ์วัฒนธรรมและประเพณีไทยรวมทั้ง ภูมิปัญญาไทย 793 3 การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความ แตกต่างและหลากหลาย 86.00 793 793 100.00 ยอดเยี่ยม - ร้อยละของผู้เรียนยอมรับและอยู่ร่วมกันบน ความแตกต่างระหว่างบุคคลในด้านเพศ วัย เชื้อชาติ ศาสนา ภาษาวัฒนธรรม ประเพณี 793 4 สุขภาวะทางร่างกายและจิตสังคม 86.00 793 793 100.00 ยอดเยี่ยม 4.1 ร้อยละของผู้เรียนมีการรักษาสุขภาพ กาย สุขภาพจิต อารมณ์และสังคม และ แสดงออกอย่างเหมาะสมในแต่ละช่วงวัย 793 4.2 ร้อยละของผู้เรียนสามารถอยู่ร่วมกับคน อื่นอย่างมีความสุข เข้าใจผู้อื่น ไม่มีความ ขัดแย้งกับผู้อื่น 793 สรุปผลการประเมิน 95.94 ยอดเยี่ยม อธิบายจุดเน้นและกระบวนการพัฒนาที่ส่งผลต่อระดับคุณภาพของมาตรฐานที่ 1 โรงเรียนพัฒนาคุณภาพผู้เรียน โดยมีการวางแผน ประชุมชี้แจง แต่งตั้งกรรมการดำเนินการ สร้างความเข้าใจแก่ คณะทำงานทุกฝ่าย โดยดำเนินการตามแผนที่วางไว้ มีการตรวจสอบคุณภาพผู้เรียนในแต่ละระดับเป็นระยะ เพื่อนำมา ปรับปรุงและแก้ไข และเมื่อดำเนินการเสร็จสิ้นโครงการและกิจกรรมแล้ว จะมีการรายงานสรุปผล เพื่อนำผลมาปรับปรุง และพัฒนาต่อไป โดยโครงการที่จัดทำขึ้นเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ในด้านผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน คือ โครงการ ส่งเสริมและพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร การคิดคำนวณ คิดวิเคราะห์ สร้างนวัตกรรมได้ สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มีความรู้
44 ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ ส่งผลให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา บรรลุค่า เป้าหมายที่สถานศึกษากำหนดได้และโครงการที่ทำขึ้นเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์คือ โครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมอันพึงประสงค์ของผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนา ให้มีความ สมบูรณ์พร้อมทั้งความรู้ ควบคู่ไปกับการมีคุณธรรม จริยธรรม และมีค่านิยมอันพึงประสงค์เพื่อการดำรงตนในฐานะ ผู้เรียนที่มีคุณภาพ และเป็นเยาวชนที่ดีของประเทศชาติในอนาคต จากการพัฒนาด้วยโครงการต่างๆ ส่งผลให้ผู้เรียนมีคุณภาพในด้านผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียนและ มี คุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด อยู่ในระดับคุณภาพยอดเยี่ยม
45 มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ประเด็นพิจารณา การปฏิบัติงาน *** ผลสำเร็จ(ข้อ) ผลการประเมิน ปฏิบัติ คุณภาพที่ได้ ไม่ ปฏิบัติ 1 มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนด ชัดเจน 5 ยอดเยี่ยม 1.1 กำหนดเป้าหมายที่สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ความต้องการของชุมชน ท้องถิ่น วัตถุประสงค์ของแผนการ ศึกษาชาติ นโยบายของรัฐบาลและต้นสังกัด 1.2 กำหนดวิสัยทัศน์ และพันธกิจ ที่สอดคล้อง เชื่อมโยง กับเป้าหมาย แผนยุทธศาสตร์ชาติ แผนการศึกษาแห่งชาติ นโยบายของรัฐบาลและต้นสังกัด 1.3 กำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจ ทันต่อการ เปลี่ยนแปลงของสังคม 1.4 นำเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจผ่านความเห็นชอบ จากคณะกรรมการบริหารโรงเรียน 1.5 นำเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจของโรงเรียน เผยแพร่ ต่อสาธารณชน 2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา 5 ยอดเยี่ยม 2.1 มีการวางแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาอย่าง เป็นระบบ 2.2 มีการนำแผนไปปฏิบัติ ติดตามตรวจสอบประเมินผล และปรับปรุงพัฒนางานอย่างต่อเนื่อง 2.3 มีการบริหารอัตรากำลัง ทรัพยากรทางการศึกษา จัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน และระบบการนิเทศภายใน 2.4 สถานศึกษามีการนำข้อมูลมาใช้ในการพัฒนา สถานศึกษา 2.5 สถานศึกษาให้บุคลากรและผู้ทีเกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วน ร่วมในการวางแผน ปรับปรุง พัฒนา และร่วมรับผิดชอบต่อ ผลการจัดการศึกษา 3 ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน ตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย 5 ยอดเยี่ยม 3.1 บริหารจัดการเกี่ยวกับงานวิชาการ ในด้านการพัฒนา หลักสูตรสถานศึกษา 3.2 บริหารจัดการเกี่ยวกับงานวิชาการ ในด้านการพัฒนา หลักสูตรตามความต้องการของผู้เรียน ที่สอดคล้องกับ บริบทของสถานศึกษา ชุมชน และท้องถิ่น 3.3 บริหารจัดการเกี่ยวกับกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่เน้น คุณภาพผู้เรียนรอบด้านเชื่อมโยงวิถีชีวิตจริง 3.4 กำหนดหลักสูตรสถานศึกษาครอบคลุมการจัดการ เรียนการสอนทุกกลุ่มเป้าหมาย 3.5 สถานศึกษามีการปรับปรุง และพัฒนาหลักสูตรให้ทัน ต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคม
46 มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ (ต่อ) ประเด็นพิจารณา การปฏิบัติงาน *** ผลสำเร็จ(ข้อ) ผลการประเมิน ปฏิบัติ คุณภาพที่ได้ ไม่ ปฏิบัติ 4 พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทาง วิชาชีพ 5 ยอดเยี่ยม 4.1 ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาครู บุคลากร ให้มีความ เชี่ยวชาญทางวิชาชีพ 4.2 จัดให้มีชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ 4.3 นำชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพเข้ามาใช้ในการ พัฒนางานและการเรียนรู้ของผู้เรียน 4.4 มีการตรวจสอบ ทบทวน การปฏิบัติงานของครู บุคลากร ที่มีผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน 4.5 ถอดบทเรียนเพื่อสร้างนวัตกรรมหรือวิธีการที่เป็น แบบอย่างที่ดีที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน 5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อ การจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ 5 ยอดเยี่ยม 5.1 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพภายในห้องเรียน ที่ เอื้อต่อการเรียนรู้ และคำนึงถึงความปลอดภัย 5.2 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพภายนอกห้องเรียน ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ และคำนึงถึงความปลอดภัย 5.3 จัดสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการ เรียนรู้เป็นรายบุคคล และเป็นกลุ่ม 5.4 จัดสภาพแวดล้อมทางสังคม ที่เอื้อต่อการจัดการ เรียนรู้ และมีความปลอดภัย 5.5 จัดให้ผู้เรียนได้ใช้ประโยชน์จากก ารจัด สภาพแวดล้อมตามศักยภาพของผู้เรียน 6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุน การบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ 5 ยอดเยี่ยม 6.1 ได้ศึกษาความต้องการเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่เหมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา 6.2 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อบริหารจัดการและ การจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา 6.3 พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อบริหารจัดการ และการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา 6.4 ให้บริการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อใช้ในการบริการ จัดการและการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับสภาพของ สถานศึกษา 6.5 ติดตามผลการใช้บริการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ของสถานศึกษาเพื่อใช้ในการบริการจัดการและการจัดการ เรียนรู้ที่เหมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา สรุปผลการประเมิน 5.00 ยอดเยี่ยม
47 อธิบายจุดเน้นและกระบวนการพัฒนาที่ส่งผลต่อระดับคุณภาพของมาตรฐานที่ 2 โรงเรียนพัฒนาคุณภาพด้านบริหาร โดยมีการวางแผน ประชุมชี้แจง แต่งตั้งกรรมการดำเนินการ สร้างความ เข้าใจแก่คณะทำงานทุกฝ่าย โดยดำเนินการตามแผนที่วางไว้ มีการตรวจสอบการดำเนินงานเป็นระยะ เพื่อนำมาปรับปรุง และแก้ไข และเมื่อเสร็จสิ้นแล้ว จะมีการรายงานสรุปผล เพื่อนำผลมาปรับปรุง และพัฒนาต่อไป โดยโครงการที่จัดทำขึ้นเพื่อพัฒนากระบวนการบริหารและการจัดการ ได้แก่ โครงการพัฒนาการบริหารระบบ ประกันคุณภาพภายใน เพื่อสร้างการจัดการศึกษาที่เข้มแข็ง รองรับการประกันคุณภาพการศึกษา และ การประเมิน คุณภาพภายนอก ของโรงเรียนในโอกาสต่อไป โครงการพัฒนาหลักสูตรขั้นพื้นฐานและการจัดการเรียนรู้เนื่องจาก หลักสูตรเปรียบเสมือนตัวแม่บทหรือหัวใจของการศึกษาที่ถือเป็นแก่นสำคัญในการวางแนวทางการจัดการศึกษา เป็น ตัวกำหนดทิศทางของการศึกษาในการที่จะให้ความรู้ การเสริมสร้างเจตคติ ตลอดทั้งการฝึกฝนในด้านต่างๆ เพื่อให้ผู้เรียน เกิดการพัฒนารอบด้าน โดยมุ่งหวังให้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานของครู ทำให้ครูรับทราบว่าควรพัฒนาผู้เรียนด้านใด จะสอนหรือจัดกิจกรรมด้วยเนื้อหาสาระอะไร นำไปสู่การวางแผนการจัดกิจกรรมให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่วางไว้ ตลอดจน ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมได้โครงการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ซึ่งเป็นโครงการ ที่จัดทำขึ้นเพื่อให้ครู และบุคลากรได้ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา เป็นการเปิดมุมมอง เปิดโลกทัศน์ใหม่ๆ นำมาสู่การ ถ่ายทอดสู่นักเรียน ตลอดจนมีการสร้างขวัญและกำลังใจที่ดีต่อบุคลากรทุกคนในโรงเรียน ทำให้ครูและบุคลากรมีร่างกาย และจิตใจพร้อมที่จะปฏิบัติหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป โครงการสถานศึกษาปลอดภัย มีสื่อเทคโนโลยีพร้อมใช้เพื่อ ทุกคน เป็นโครงการที่จัดทำขึ้นเพื่อให้ครู นักเรียน มีสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรู้ที่เพียงพอ ภายใต้การจัด สภาพแวดล้อม และบรรยากาศแห่งการเรียนรู้ที่ปลอดภัย อันจะเป็นการความเชื่อมั่นในระบบการจัดการศึกษาของ โรงเรียนแก่ผู้ปกครอง ชุมชน ตลอดจนผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย จากการพัฒนาด้วยโครงการต่างๆ ส่งผลให้คุณภาพด้านบริหาร มีผลการประเมินอยู่ในระดับคุณภาพยอดเยี่ยม
48 มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ประเด็นพิจารณา การปฏิบัติงาน เป้าหมาย (ร้อยละ) จำนวนครู (คน) *** ผลการ ประเมิน (ร้อยละ) ผลการ ประเมิน คุณภาพที่ได้ ปฏิบัติ ไม่ ปฏิบัติ ทั้งหมด ผ่านเกณฑ์ที่ กำหนด 1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและ ปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ ในชีวิตได้ 86.00 22 20 90.91 ยอดเยี่ยม 1.1 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามมาตรฐาน การเรียนรู้ ตัวชี้วัดของหลักสูตร สถานศึกษาที่เน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ โดย ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง 21 1.2 มีแผนการจัดการเรียนรู้ที่สามารถ นำไปจัดกิจกรรมได้จริง 21 1.3 มีรูปแบบการจัดการเรียนรู้เฉพาะ สำหรับผู้ที่มีความจำเป็น และต้องการ ความช่วยเหลือพิเศษ 20 1.4 ฝึกทักษะให้ผู้เรียนได้แสดงออก แสดงความคิดเห็น สรุปองค์ความรู้ และ นำเสนอผลงาน 19 1.5 สามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ ผู้เรียนสามารถนำไปประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจำวันได้ 19 2 ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่ง เรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ 86.00 22 20 90.91 ยอดเยี่ยม 2.1 ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศในการ จัดการเรียนรู้ 21 2.2 ใช้แหล่งเรียนรู้ และภูมิปัญญาท้องถิ่น ในการจัดการเรียนรู้ 20 2.3 สร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้แสวงหา ความรู้ด้วยตนเองจากสื่อที่หลากหลาย 19 3 มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก 86.00 22 21 95.45 ยอดเยี่ยม 3.1 ผู้สอนมีการบริหารจัดการชั้นเรียน โดยเน้นการมีปฏิสัมพันธ์เชิงบวก 21 3.2 ผู้สอนมีการบริหารจัดการชั้นเรียน ให้ เด็กรักครู ครูรักเด็ก และเด็กรักเด็ก เด็ก รักที่จะเรียนรู้ สามารถเรียนรู้ร่วมกันอย่าง มีความสุข 21
49 4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็น ระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน 86.00 22 19 86.36 ดีเลิศ 4.1 มีการตรวจสอบและประเมินคุณภาพ การจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ 19 4.2 มีขั้นตอนโดยใช้เครื่องมือและวิธีการ วัดและประเมินผลที่เหมาะสมกั บ เป้าหมายในการจัดการเรียนรู้ 19 4.3 เปิดโอกาสให้ผู้เรียนและผู้มีส่วน เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการวัดและ ประเมินผล 18 4.4 ให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนเพื่อ นำไปใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ 20 5 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูล สะท้อนกลับเพื่อพัฒนาปรับปรุงการ จัดการเรียนรู้ 86.00 22 20 90.91 ยอดเยี่ยม 5.1 ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องร่วมกันแลกเปลี่ยน ความรู้และประสบการณ์ในการจัดการ เรียนรู้ 21 5.2 นำข้อมูลป้อนกลับไปใช้ในการ ปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของ ตนเอง 19 สรุปผลการประเมิน 90.91 ยอดเยี่ยม อธิบายจุดเน้นและกระบวนการพัฒนาที่ส่งผลต่อระดับคุณภาพของมาตรฐานที่ 3 โรงเรียนพัฒนาคุณภาพด้านครู โดยมีการวางแผน ประชุมชี้แจง แต่งตั้งกรรมการดำเนินการ สร้างความเข้าใจแก่ คณะทำงานทุกฝ่าย โดยดำเนินการตามแผนที่วางไว้ มีการตรวจสอบการดำเนินการเป็นระยะ เพื่อนำมาปรับปรุงและ แก้ไข และเมื่อดำเนินการเสร็จสิ้นโครงการและกิจกรรมแล้ว จะมีการรายงานสรุปผล เพื่อนำผลมาปรับปรุง และพัฒนา ต่อไป โดยโครงการและกิจกรรมที่จัดทำขึ้นเพื่อพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ คือ โครงการนิเทศภายใน เพราะการนิเทศภายใน เป็นส่วนหนึ่งของการบริหารโรงเรียน เพื่อให้กระบวนการเรียนการสอน เกิดผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมาย และทันต่อเหตุการณ์ปัจจุบัน การพัฒนาหลักสูตร วิธีการสอน เทคโนโลยี ตลอดจนบุคลากร การนิเทศภายในจึงเป็นกระบวนการหนึ่งที่มีความสำคัญต่อการพัฒนาโรงเรียน แบ่งได้2 ประการ คือ ส่งเสริม ประสิทธิภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียน และให้ความช่วยเหลือแก่ครูในการปรับปรุงพัฒนากระบวนการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนให้มีประสิทธิสูงขึ้น ทั้งนี้ โรงเรียนมุ่งหวัง ให้ผู้รับการนิเทศมีเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพ มีขวัญกำลังใจ ที่จะ ปฏิบัติงานให้บรรลุผลตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ จากการพัฒนาด้วยกิจกรรมและโครงการดังกล่าว ส่งผลให้มาตรฐานที่ 3 มีผลการประเมินอยู่ในระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม
50 จุดเด่น (เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ) ระดับปฐมวัย มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก เด็กพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และสติปัญญาเป็นไปตามเกณฑ์ เหมาะสมตามวัย เด็กสามารถปฏิบัติตามหลักธรรมคำสอนของศาสนาที่ตนเองนับถือ เด็กเรียนรู้และยอบรับกฎระเบียบ การอยู่ร่วมกันในสังคม มีวินัย เด็กมีความเมตตากรุณา เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ รู้จักการเสียสละ เด็กมีทักษะทางการสื่อสารภาษาต่างประเทศ สื่อสารได้เหมาะสมตามวัย เด็กมีความมั่นใจในตนเอง กล้าคิด กล้าแสดงออก เด็กรู้จักการเป็นผู้นำและผู้ตาม ทำงานร่วมกับผู้อื่น เด็กมีทักษะการใช้กล้ามเนื้อ ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ได้ดี เหมาะสมตามวัย เด็กมีจินตนาการ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ รู้จักแสวงหาความรู้ เด็กดูแลความปลอดภัยของตนเอง มีทักษะในการช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นได้ตามวัย เด็กมีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ที่เหมาะสมกับวัย เด็กมีความพร้อมในการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น เด็กมีมารยาท สัมมาคารวะตามแบบวัฒนธรรมไทย เด็กมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี ยอมรับและชื่นชมผู้อื่น เด็กมีสุขนิสัยที่ดี สามารถเลือกรับประทานอาหารมีประโยชน์ อื่น ๆ ระบุ............................................................................ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ผู้บริหารมีความสามารถในการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ มีระบบฐานข้อมูลสารสนเทศของสถานศึกษา ผู้บริหารกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจของสถานศึกษาไว้อย่างชัดเจนตามบริบทของสถานศึกษา ผู้บริหารจัดการศึกษาครอบคลุมพัฒนาการของเด็กทุกด้าน สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น ผู้บริหารส่งเสริมการทำงานเป็นทีม ความร่วมมือกันในสถานศึกษา ท้องถิ่น และผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ผู้บริหารจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ มีความปลอดภัย ผู้บริหารจัดสิ่งอำนวยความสะดวก และบริการด้านสื่อเทคโนโลยีที่ครบถ้วนเพียงพอ ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์และภาวะผู้นำ ทั้งด้านวิชาการ และการบริหาร ผู้บริหารได้รับรางวัลทางด้านการบริหารดีเด่น มีผลงานเป็นที่ประจักษ์ ผู้บริหารประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี มีมนุษยสัมพันธ์ดี มีคุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหารมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ พัฒนาตนเองให้มีความรู้ ทันสมัย ทันต่อสถานการณ์อยู่เสมอ ผู้บริหารสร้างขวัญและกำลังใจให้กับบุคลากรในโรงเรียน ผู้บริหารมีความเป็นประชาธิปไตย เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม ผู้บริหารจัดการงานบุคคลและงบประมาณได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้บริหารส่งเสริม สนับสนุน การพัฒนาความสามารถของครูให้ความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์ ให้กับเด็ก ผู้บริหารมีกระบวนการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน การนิเทศครูผู้สอน อื่น ๆ ระบุ............................................................................
51 มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ ครูจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ เน้นการปฏิบัติจริงมีประสิทธิภาพส่งผลต่อพัฒนาการเด็กทุกด้าน ครูปลูกฝังเด็กให้มีวินัย มีเหตุผล กล้าแสดงออกในสิ่งที่ถูกต้อง เป็นแบบอย่างที่ดีให้กับเด็ก ครูมีความสามารถในการใช้สื่อ เทคโนโลยี และนำมาใช้ในการจัดประสบการณ์ได้อย่างเหมาะสม ครูสามารถบูรณาการสื่อสำหรับการจัดประสบการณ์ได้เป็นอย่างดีและทันต่อสถานการณ์ปัจจุบัน ครูมีการวิเคราะห์หลักสูตร รู้เป้าหมายการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ครูนำผลการประเมินเด็ก การจัดประสบการณ์ในชั้นเรียนมาปรับพัฒนาคุณภาพให้ดีขึ้น ครูประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริง ประเมินเด็กเป็นรายบุคคล ใช้กระบวนการวัดและประเมินผลที่หลากหลาย ครูจัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ บริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก ครูจัดสภาพแวดล้อมในห้องเรียนสะอาด ปลอดภัย มีความใกล้ชิดดูแลเอาใจใส่เด็กอย่างทั่วถึง ครูมีการทำวิจัยในชั้นเรียน และนำกระบวนการวิจัยในชั้นเรียนมาใช้ ครูมีการทำงานร่วมกันเป็นทีม มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ปกครอง ชุมชน ครูมีความรู้ ความสามารถตรงตามคุณสมบัติ ตรงกับงานที่รับผิดชอบ ครูมีความตั้งใจและมุ่งมั่นในการปฏิบัติหน้าที่ ขยัน อดทน เสียสละ ครูพัฒนาตนเองอย่างสม่ำเสมอด้วยการเข้าร่วมอบรม ศึกษาดูงาน ติดตามข่าวสาร ข้อมูล นวัตกรรมใหม่ๆ ครูจัดทำนวัตกรรมหรือแบบอย่างที่ดี และเผยแพร่ต่อสาธารณชนหรือผู้ที่สนใจ อื่น ๆ ระบุ............................................................................ การจัดกิจกรรมส่งเสริมการออม กิจกรรมประเภทให้ความรู้ด้านการเงิน การออม การลงทุน กิจกรรมประเภทโครงการออมทรัพย์นักเรียน สหกรณ์โรงเรียน ธนาคารโรงเรียน อื่น ๆ ระบุ............................................................................ การจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม กิจกรรมประเภทให้ความรู้และปลูกสร้างจิตสำนึกด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม กิจกรรมประเภทส่งเสริมการมีส่วนร่วมของบุคลากรและนักเรียนในการอนุรักษ์พลังงานหรือเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน อื่น ๆ ระบุ............................................................................ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การคิดวิเคราะห์และการคิดคำนวณสูงกว่าเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สูงกว่าเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนเองนับถือ ผู้เรียนมีสุขภาพกาย มีสุขภาพจิตที่ดี มีความสุข มีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มาตรฐาน ผู้เรียนสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสารได้อย่างเหมาะสม ผู้เรียนยอมรับกฎระเบียบ การอยู่ร่วมกันในสังคม มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดียอมรับและชื่นชมผู้อื่น ผู้เรียนมีทักษะทางการสื่อสารภาษาต่างประเทศ การใช้ภาษาที่ 3 ในการสื่อสาร ผู้เรียนได้รับรางวัล ความโดดเด่นทางด้านวิชาการ กีฬา ศิลปะ ผู้เรียนมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีความมั่นใจในตนเอง กล้าคิด กล้าแสดงออก ผู้เรียนรู้จักการเป็นผู้นำและผู้ตาม มีความรับผิดชอบ ทำงานเป็นทีม ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
52 ผู้เรียนดูแลความปลอดภัยของตนเอง มีทักษะในการช่วยเหลือตนเองและผู้อื่น ผู้เรียนมีมารยาท สัมมาคารวะตามแบบวัฒนธรรมไทย ผู้เรียนรู้จักการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า ประหยัด อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ผู้เรียนเข้าใจพิษภัยและอยู่ห่างไกลจากสิ่งเสพติด สถานการณ์ที่เสี่ยงต่ออันตราย อื่น ๆ ระบุ............................................................................ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ผู้บริหารมีความสามารถในการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ มีระบบฐานข้อมูลสารสนเทศของสถานศึกษา ผู้บริหารกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจของสถานศึกษาไว้อย่างชัดเจนตามบริบทของสถานศึกษา ผู้บริหารจัดการศึกษาครอบคลุมพัฒนาการของเด็กทุกด้าน สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น ผู้บริหารส่งเสริมการทำงานเป็นทีม ความร่วมมือกันในสถานศึกษา ท้องถิ่น และผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ผู้บริหารจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้มีความปลอดภัย มีทรัพยากรการเรียนรู้ที่เพียงพอ ผู้บริหารจัดสิ่งอำนวยความสะดวก และบริการด้านสื่อเทคโนโลยีที่ครบถ้วนเพียงพอ ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์และภาวะผู้นำ ทั้งด้านวิชาการ และการบริหาร ผู้บริหารได้รับรางวัลทางด้านการบริหารดีเด่น มีผลงานเป็นที่ประจักษ์ ผู้บริหารประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี มีมนุษย์สัมพันธ์ดี มีคุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหารมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ พัฒนาตนเองให้มีความรู้ ทันสมัย ทันต่อสถานการณ์อยู่เสมอ ผู้บริหารสร้างขวัญและกำลังใจให้กับบุคลากรในโรงเรียน ผู้บริหารบริหารงานอย่างมีคุณภาพ ความเป็นประชาธิปไตย เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม ผู้บริหารบริหารงานบุคคลและงบประมาณได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้บริหารส่งเสริม สนับสนุน การพัฒนาความสามารถของครูให้ความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์ให้กับเด็ก ผู้บริหารมีกระบวนการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน การนิเทศครูผู้สอน อื่น ๆ ระบุ............................................................................ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ครูจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เน้นการปฏิบัติจริง ครูปลูกฝังผู้เรียนให้มีวินัย มีเหตุผล กล้าแสดงออกในสิ่งที่ถูกต้อง เป็นแบบอย่างที่ดีให้กับผู้เรียน ครูมีความสามารถในการใช้สื่อ เทคโนโลยี และนำมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้อย่างเหมาะสม ครูผลิตสื่อการเรียนการสอนที่หลากหลาย สามารถบูรณาการสื่อการเรียนการสอนได้เป็นอย่างดีและทันต่อ สถานการณ์ปัจจุบัน ครูมีการวิเคราะห์หลักสูตร รู้เป้าหมายการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ครูนำผลการประเมินการเรียนการสอนมาปรับพัฒนาคุณภาพให้ดีขึ้น ครูประเมินผลผู้เรียนตามสภาพจริง ประเมินผู้เรียนเป็นรายบุคคล ใช้กระบวนการวัดและประเมินผลที่หลากหลาย ครูจัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ บริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก ครูจัดสภาพแวดล้อมในห้องเรียนสะอาด ปลอดภัย มีความใกล้ชิดดูแลเอาใจใส่ผู้เรียนอย่างทั่วถึง ครูมีการทำวิจัยในชั้นเรียน และนำกระบวนการวิจัยในชั้นเรียนมาใช้ ครูมีการทำงานร่วมกันเป็นทีม มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ปกครอง ชุมชน ครูมีความรู้ความสามารถตรงตามคุณสมบัติตรงกับงานที่รับผิดชอบ ครูมีความตั้งใจและมุ่งมั่นในการปฏิบัติหน้าที่ ขยัน อดทน เสียสละ
53 ครูพัฒนาตนเองอย่างสม่ำเสมอด้วยการเข้าร่วมอบรม ศึกษาดูงาน ติดตามข่าวสาร ข้อมูล นวัตกรรมใหม่ๆ ครูจัดทำนวัตกรรมหรือแบบอย่างที่ดี และเผยแพร่ต่อสาธารณชนหรือผู้ที่สนใจ อื่น ๆ ระบุ............................................................................ การจัดกิจกรรมส่งเสริมการออม กิจกรรมประเภทให้ความรู้ด้านการเงิน การออม การลงทุน กิจกรรมประเภทโครงการออมทรัพย์นักเรียน สหกรณ์โรงเรียน ธนาคารโรงเรียน อื่น ๆ ระบุ............................................................................ การจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม กิจกรรมประเภทให้ความรู้และปลูกสร้างจิตสำนึกด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม กิจกรรมประเภทส่งเสริมการมีส่วนร่วมของบุคลากรและนักเรียนในการอนุรักษ์พลังงานหรือเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน อื่น ๆ ระบุ............................................................................ จุดควรพัฒนา ระดับปฐมวัย มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย จิตใจอารมณ์ สังคม และสติปัญญาไม่เป็นไปตามเกณฑ์เหมาะสมกับวัย เด็กขาดทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ที่เหมาะสมกับวัย เด็กขาดความรับผิดชอบ การทำงานที่รับมอบหมายให้สำเร็จ ความมีระเบียบวินัย เด็กประพฤติตนไม่เป็นไปตามหลักคุณธรรม จริยธรรม และหลักธรรมคำสอนของศาสนาที่ตนนับถือ เด็กมีส่วนสูง น้ำหนัก ไม่เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน เด็กขาดความสามารถในการช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นได้ตามวัย เด็กขาดทักษะการใช้ภาษาต่างประเทศ ในการสื่อสารที่เหมาะสมตามวัย เด็กขาดสุขนิสัยที่ดี ถูกสุขลักษณะ การรู้จักรักษาความสะอาดของตนเอง สถานที่ การเลือกรับประทานอาหารที่มี ประโยชน์ เด็กขาดความกล้าแสดงออก มีความเป็นผู้นำ ทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่นยังไม่เหมาะสมตามวัย เด็กขาดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ความคิดรวบยอด คิดแก้ปัญหา สามารถวิเคราะห์เหตุและผล เด็กขาดทักษะความสามารถสืบค้นข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ การใช้เทคโนโลยียังไม่เหมาะสมกับวัย เด็กขาดจิตสำนึกในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม การใช้ทรัพยากรอย่างรู้คุณค่า การดูแลรักษาของส่วนรวม เด็กขาดทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ การคิดวิเคราะห์ การไตร่ตรอง การสังเคราะห์ เด็กยังไม่สามารถปฏิบัติตนอย่างมีมารยาท มีสัมมาคารวะ ตามวัฒนธรรมไทยได้เหมาะสมตามวัย เด็กขาดความพร้อม และทักษะในการเรียนต่อในระดับที่สูงขึ้น มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ผู้บริหารควรนำระบบประกันคุณภาพการศึกษามาใช้เป็นส่วนในการบริหารจัดการ ผู้บริหารขาดประสบการณ์ในการบริหารงานสถานศึกษา ผู้บริหารขาดวิสัยทัศน์ ในการบริหารสถานศึกษาให้มีคุณภาพ ก้าวหน้า มีประสิทธิภาพ ผู้บริหารขาดความรู้ความเข้าใจในการใช้สื่อเทคโนโลยีสมัยใหม่ เพื่อนำมาปรับใช้ในการบริหารจัดการ ผู้บริหารขาดจรรยาบรรณ คุณธรรม จริยธรรม ในการบริหารจัดการสถานศึกษา ผู้บริหารขาดการดูแล การให้ขวัญกำลังใจ สวัสดิการแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา บุคลากรอย่างเหมาะสม ไม่ทั่วถึง ผู้บริหารจัดสรรครูผู้สอน บุคลากร ไม่เพียงพอ ไม่เป็นไปตามวุฒิ ตามเกณฑ์ที่กำหนด
54 ผู้บริหารขาดการบริหารแบบมีส่วนร่วม ไม่เปิดโอกาสให้บุคลากร ผู้ที่เกี่ยวข้องมีส่วนในการบริการ ผู้บริหารไม่มีการสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ สถานที่เรียนไม่มีความปลอดภัย ผู้บริหารจัดหาวัสดุอุปกรณ์ สื่อเทคโนโลยี ทรัพยากรการเรียนรู้ ไม่เพียงพอต่อการให้บริหาร ผู้บริหารไม่พัฒนาฐานข้อมูลสารสนเทศของโรงเรียนให้เป็นระบบ ผู้บริหารขาดการส่งเสริมให้ครู บุคลากร ได้พัฒนาตนเองจนมีความเชี่ยวชาญในการจัดประสบการณ์ให้กับเด็ก ผู้บริหารไม่มีกระบวนการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน การนิเทศครูผู้สอน ผู้บริหารไม่มีเครือข่ายความร่วมมือกับสถานศึกษาหรือหน่วยงานภายนอก ผู้บริหารขาดการแสวงหาความรู้ และพัฒนาตนเองให้มีความรู้ความสามารถเพิ่มมากขึ้น มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ ครูขาดความรู้ ทักษะในการจัดประสบการณ์ให้กับเด็ก เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทุกด้านให้เหมาะสมกับวัย การจัดบรรยากาศในชั้นเรียนของครูไม่ส่งเสริมต่อการเรียนรู้ และพัฒนาการของเด็ก ห้องเรียนไม่สะอาด ขาดสุขลักษณะ ไม่มีความปลอดภัยต่อเด็ก ครูขาดการวิจัยในชั้นเรียน ไม่นำงานวิจัยมาประยุกต์ใช้ในชั้นเรียน ครูขาดการผลิตสื่อที่หลากหลาย และไม่มีการใช้สื่อที่หลากหลายในการจัดประสบการณ์ให้กับเด็ก ครูไม่จัดมุมประสบการณ์ในชั้นเรียน กิจกรรมสร้างสรรค์ กิจกรรมกลางแจ้งให้กับเด็ก ครูไม่ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับเด็ก ขาดคุณธรรม จริยธรรม ครูขาดทักษะในการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดประสบการณ์ให้กับเด็ก ครูไม่มีการพัฒนาตนเองด้วยการเข้าร่วมการอบรมที่ส่งเสริมความเชี่ยวชาญในการจัดประสบการณ์ ครูไม่มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับครู เพื่อนร่วมงานในสถานศึกษา การทำงานเป็นทีม ครูไม่มีการสร้าง การเผยแพร่นวัตกรรม แบบอย่างที่ดีทั้งในสถานศึกษาและต่อสาธารณชน ครูไม่มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อนร่วมงาน การทำงานเป็นทีม ครูขาดทักษะในการใช้ภาษาต่างประเทศ และการนำมาใช้ในชั้นเรียน ครูขาดคุณวุฒิ ความรู้ ตามสายอาชีพ ครูขาดการใช้วิธีประเมินผลที่หลากหลาย เป็นรายบุคคล และบันทึกผล ติดตามเด็กอย่างต่อเนื่อง ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน ผู้เรียนขาดทักษะการคิดวิเคราะห์ การคิดรวบยอด การแก้ไขปัญหา ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ ความสามารถในด้านการอ่าน การเขียนไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด ผู้เรียนขาดความรับผิดชอบ ไม่มีระเบียบวินัย ขาดการมีจิตสำนึกต่อส่วนรวม มีจิตอาสา ผู้เรียนไม่ประพฤติตนตามหลักคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ไม่ปฏิบัติตนตามหลักธรรมคำสอนของ ศาสนาที่ตนนับถือ การเจริญเติบโต สมรรถภาพทางกายของผู้เรียนไม่เป็นไปตามเกณฑ์ ผู้เรียนไม่มีทักษะการใช้ภาษาต่างประเทศในการสื่อสารที่เหมาะสมตามวัย ผู้เรียนขาดทักษะการคิด การปฏิบัติตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ การใช้ทักษะชีวิตในศตวรรษที่ 21 ผู้เรียนไม่ปฏิบัติตนตามสุขนิสัยที่ดี ไม่ดูแลรักษาความสะอาดร่างกาย อาคารสถานที่ ผู้เรียนขาดความกล้าแสดงออก ไม่มีความเป็นผู้นำ ขาดทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น ผู้เรียนขาดการมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ความคิดรวบยอด คิดแก้ปัญหา ไม่สามารถวิเคราะห์เหตุและผล ผู้เรียนขาดความรู้ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ เหมาะสมกับวัย
55 ผู้เรียนขาดจิตสำนึกการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม การใช้ทรัพยากรอย่างรู้คุณค่า การดูแลรักษาของส่วนรวม ผู้เรียนขาดทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ การคิดวิเคราะห์ การไตร่ตรอง การสังเคราะห์ ผู้เรียนขาดการรู้จักมีมารยาท มีสัมมาคารวะ ตามวัฒนธรรมไทย ผู้เรียนขาดการคิดนอกกรอบ พัฒนาการสร้างนวัตกรรม ความคิดสร้างสรรค์ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ผู้บริหารไม่ใช้ระบบประกันคุณภาพการศึกษามาใช้ในการบริหารจัดการสถานศึกษา ผู้บริหารขาดประสบการณ์ในการบริหารงานสถานศึกษา ผู้บริหารขาดวิสัยทัศน์ ในการบริหารสถานศึกษาให้มีคุณภาพ ก้าวหน้า มีประสิทธิภาพ ผู้บริหารขาดความรู้ความเข้าใจในการใช้สื่อเทคโนโลยีสมัยใหม่ ตามสถานการณ์ปัจจุบัน เพื่อนำมาปรับใช้ในการ บริหารจัดการสถานศึกษา ผู้บริหารขาดจรรยาบรรณ คุณธรรม จริยธรรม ของผู้บริหาร ผู้บริหารขาดการดูแล การให้ขวัญกำลังใจ สวัสดิการแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา บุคลากรอย่างเหมาะสม ไม่ทั่วถึง ผู้บริหารจัดสรรครูผู้สอน บุคลากร ไม่เพียงพอ ไม่เป็นไปตามวุฒิ ตามเกณฑ์ที่กำหนด ผู้บริหารขาดการบริหารแบบมีส่วนร่วม ไม่เปิดโอกาสให้บุคลากร ผู้ที่เกี่ยวข้องมีส่วนในการบริการ ผู้บริหารไม่มีการสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ สถานที่เรียนไม่มีความปลอดภัย ผู้บริหารจัดหาวัสดุอุปกรณ์ สื่อเทคโนโลยี ทรัพยากรการเรียนรู้ ไม่เพียงพอต่อการให้บริหาร ผู้บริหารไม่มีการพัฒนาฐานข้อมูลสารสนเทศของโรงเรียนที่เป็นระบบ ผู้บริหารขาดการส่งเสริมให้ครู บุคลากร ได้พัฒนาตนเองจนมีความเชี่ยวชาญในการจัดการเรียนการสอน ผู้บริหารไม่มีกระบวนการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน การนิเทศครูผู้สอน ผู้บริหารไม่มีเครือข่ายความร่วมมือกับสถานศึกษาหรือหน่วยงานภายนอก ผู้บริหารขาดการแสวงหาความรู้ และพัฒนาตนเองให้มีความรู้ความสามารถเพิ่มมากขึ้น มาตรฐานที่ 3 การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ครูขาดความรู้ ทักษะในกระบวนการจัดการเรียนการสอน จบไม่ตรงสาขาที่สอน การจัดบรรยากาศในชั้นเรียนของครูไม่ส่งเสริมต่อการเรียนรู้ ไม่มีความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้เรียน ห้องเรียนไม่สะอาด ขาดสุขลักษณะ ไม่มีความปลอดภัย ไม่เอื้อต่อการเรียนรู้ ครูขาดการวิจัยในชั้นเรียน ไม่นำงานวิจัยมาประยุกต์ใช้ในชั้นเรียน ครูขาดการผลิตสื่อที่หลากหลาย และไม่มีการใช้สื่อที่หลากหลายในการจัดการเรียนการสอน ครูไม่ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี ขาดคุณธรรม จริยธรรม ครูขาดทักษะในการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ครูไม่มีการพัฒนาตนเองด้วยการเข้าร่วมการอบรมที่ส่งเสริมความเชี่ยวชาญในการจัดการเรียนการสอน ครูขาดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับครู เพื่อนร่วมงานในสถานศึกษา การทำงานเป็นทีม ครูไม่มีการสร้าง การเผยแพร่นวัตกรรม แบบอย่างที่ดีทั้งในสถานศึกษาและต่อสาธารณชน ครูขาดการมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อนร่วมงาน การทำงานเป็นทีม ครูขาดทักษะการใช้ภาษาต่างประเทศในการสื่อสาร และการนำมาประยุกต์ใช้ในชั้นเรียน ครูไม่มีคุณวุฒิ ความรู้ ทักษะในการจัดการเรียนการสอน ตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ครูขาดการใช้วิธีการประเมินผลที่หลากหลาย เป็นรายบุคคล และบันทึกผล ติดตามผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง ครูขาดความซื่อสัตย์สุจริตต่ออาชีพ และหน้าที่การงาน
56 แนวทางการพัฒนาของสถานศึกษา จุดที่ควรพัฒนา มีดังนี้ ระดับปฐมวัย คือ เด็กขาดทักษะความสามารถสืบค้นข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ การใช้เทคโนโลยียังไม่เหมาะสมกับ วัย ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน คือ ผู้เรียนขาดความรู้ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ เหมาะสมกับวัย แนวทางการพัฒนาของสถานศึกษา มีดังนี้ 1. กำหนดนโยบายและส่งเสริมให้มีการจัดกิจกรรมประสบการณ์สำหรับปฐมวัย หรือ การเรียนการสอนสำหรับ นักเรียนในระดับขั้นพื้นฐาน ในเรื่องการรู้เท่าทันดิจิทัล (digital literacy skills) อย่างเหมาะสมในแต่ละช่วงวัย โดย บูรณาการในทุกรายวิชา โดยเฉพาะในวิชาวิทยาการคำนวณ ทั้งนี้เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันให้กับนักเรียน 2. สร้างความตระหนัก และความเข้าใจ ให้กับพ่อแม่ หรือผู้ปกครอง ในการสร้างทักษะให้นักเรียนรู้จักใช้สื่อดิจิทัล อย่างเกิดประโยชน์และสร้างสรรค์ โดยผู้ปกครองควรแนะนำการใช้สื่อดิจิทัลแก่นักเรียนอย่างใกล้ชิดและเป็น แบบอย่างที่ดี ด้วยการปลูกฝัง อบรม ส่งเสริม และถ่ายทอดความคิดในการใช้งานสื่อดิจิทัลในเชิงประจักษ์ 3. คุณครูและผู้ปกครอง หรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ควรเข้าไปมีส่วนร่วมในการใช้สื่อดิจิทัลกับนักเรียน มากกว่าการห้าม ปราม และจำกัดเวลาในการใช้งาน ซึ่งจะส่งผลให้เด็กใช้สื่อดิจิทัลในเชิงสร้างสรรค์มากยิ่งขึ้น ความต้องการช่วยเหลือ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรกำหนดเป็นนโยบายเกี่ยวกับการสร้างหลักสูตรการรู้เท่าทันดิจิทัล เพื่อใช้เป็น แนวทางส่งเสริมการเรียนรู้การรู้เท่าทันดิจิทัลสำหรับเด็กและเยาวชนของประเทศไทย หรือจัดหางบประมาณ สนับสนุนในการผลิตชุดสื่อเพื่อการสอน งานวิจัย หรือกิจกรรมอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการรู้เท่าทันดิจิทัลสำหรับเด็ก และเยาวชน ความโดดเด่นของสถานศึกษา (ถ้ามี) 1. มีผลการประเมินคุณภาพภายนอกครั้งล่าสุดระดับดีขึ้นไปทุกมาตรฐาน หรือเป็นสถานศึกษาที่ได้รับรางวัล พระราชทาน ภายในระยะเวลา 10 ปี - ผลการประเมินคุณภาพภายนอกครั้งล่าสุดระดับดีขึ้นไปทุกมาตรฐาน มี ระบุปีการศึกษา......................................... ไม่มี - สถานศึกษาได้รับรางวัลพระราชทาน ภายในระยะเวลา 10 ปี มี ระบุปีการศึกษา......................................... ไม่มี 2. มีเครือข่ายร่วมพัฒนาหรือการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ หรือเผยแพร่ผลงานทางการศึกษากับสถาบันอื่นในภาครัฐ หรือเอกชน ภายในประเทศ/ภายนอกประเทศ มี ระบุชื่อเครือข่าย/ผลงาน/ประเทศ........................................................ ไม่มี 1. สมาคมคณะกรรมการประสานและส่งเสริมการศึกษาเอกชน 2. สมาคมโรงเรียนสอนภาษาจีน แห่งประเทศไทย 3. เครือข่ายโรงเรียนเอกชนสอนภาษาจีนภาคตะวันตก แห่งประเทศไทย
57 3. มีโครงการที่สนับสนุนให้ความช่วยเหลือสังคม หรือโครงการส่งเสริมการมีจิตสาธารณะ มี ระบุชื่อโครงการ......................................... ไม่มี ระดับปฐมวัย โครงการ ส่งเสริมคุณธรรม ปลูกฝังสิ่งที่ดี มีสุนทรีย์ตามวัย ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โครงการ ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมอันพึงประสงค์ของผู้เรียน 4. นักเรียนได้รับรางวัลระดับประเทศ/นานาชาติ ภายในระยะเวลา 3 ปี มี ระบุชื่อรางวัล......................................... ไม่มี 1. รางวัลระดับเหรียญทอง จากการแข่งขันออกกำลังกายประกอบเพลงระดับชั้นปฐมวัย จัดโดยคณะกรรมการ ประสานและส่งเสริมการศึกษาเอกชน กลุ่มภาคกลาง ระดับประเทศ 2. รางวัลเหรียญทองแดง และเกียรติบัตร จากการแข่งขัน Global English Language Olympiad of Southeast Asia ซึ่งเป็นการแข่งขันภาษาอังกฤษโอลิมปิก ระหว่างประเทศแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จัดโดยจัดขึ้นโดย องค์กร GLOBAL LEAGUE OF WINNERS, INC. หรือ GLOW เป็นองค์กรในเซบูซิตี้ ประเทศฟิลิปปินส์ 3. เหรียญรางวัล และประกาศนียบัตรระดับเหรียญทอง จากการสอบวัดทักษะวิชาการระดับชาติ หรือ สวช. ใน วิชาวิทยาศาสตร์ 4. รางวัลระดับเหรียญทอง จากการแข่งขันพูดเพื่ออาชีพภาษาจีน หลักสูตรพิเศษ ระดับชั้น ป.4-6 จัดโดย คณะกรรมการประสานและส่งเสริมการศึกษาเอกชน กลุ่มภาคกลาง ระดับประเทศ 5. มีแผนการเรียนที่หลากหลายตอบสนองความต้องการของนักเรียน และผู้ปกครอง (แนบรายละเอียดเป็นไฟล์ รูปภาพ QR-Code เท่านั้น) มี *ต้องแนบ QR-Code แสดงรายละเอียด ไม่มี 6. มีแผนพัฒนาครูและครูทุกคนได้รับการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง มี *ต้องแนบ QR-Code แสดงรายละเอียด ไม่มี 7. มีระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน มี *ต้องแนบ QR-Code แสดงรายละเอียด ไม่มี 8. มีมาตรการรักษาความปลอดภัยอย่างเป็นระบบ มี *ต้องแนบ QR-Code แสดงรายละเอียด ไม่มี แนวทางการพัฒนาของสถานศึกษา ..............-............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ...............................................................................................................................................................................................
58 ความต้องการช่วยเหลือ ......................-........................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................... ...............................................................................................................................................................................................
59 ภาคผนวก 1. ประกาศโรงเรียน เรื่อง การกำหนดมาตรฐานการศึกษาและค่าเป้าหมายความสำเร็จของโรงเรียนระดับ ปฐมวัย และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2. รายงานการประชุมหรือการให้ความเห็นชอบ SAR ของคณะกรรมการบริหารโรงเรียน 3. คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานจัดทำ SAR 4. หลักฐานการเผยแพร่ SAR ให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องหรือสาธารณชนรับทราบ 5. แผนผังอาคารสถานที่ 6. โครงสร้างการบริหารงานโรงเรียน 7. โครงสร้างหลักสูตร เวลาเรียน ของโรงเรียน 8. เอกสารเพิ่มเติมอื่น ๆ ที่โรงเรียนต้องการแนบประกอบ
60 ประกาศโรงเรียนยู่เฉียวเซียะเสี้ยว เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดับการศึกษาปฐมวัยและขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา พุทธศักราช 2566 --------------------------------------------------------------------------------------------------- โดยที่มีการประกาศใช้กฎกระทรวงว่าด้วย ระบบ หลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2561 ที่ ปรับปรุงใหม่ ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องให้ใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดับการศึกษาปฐมวัยและขั้น พื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ตามประกาศ ณ วันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2561 ประกาศเรื่อง นโยบายการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สองที่กําหนดเป้าหมายและยุทธศาสตร์ในการพัฒนาคุณภาพคนไทยและ การศึกษาไทยในอนาคต รวมทั้งอัตลักษณ์และจุดเน้นของสถานศึกษา โรงเรียนยู่เฉียวเซียะเสี้ยว จึงกําหนดมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาและการมีส่วนร่วม ของผู้เกี่ยวข้อง ทั้งบุคลากรทุกคนในโรงเรียน และผูปกครอง เพื่อเป็นเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษาระดับการศึกษาปฐมวัยและขั้นพื้นฐาน ตลอดจนเพื่อส่งเสริม สนับสนุน กํากับ ดูแล และติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา โรงเรียนยู่เฉียวเซียะเสี้ยวจึงประกาศให้ใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดับการศึกษาปฐมวัยและขั้น พื้นฐาน ตามเอกสารแนบทายประกาศนี้ ประกาศ ณ วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2566 ( นายจิว วารีทิพย์ขจร ) ประธานกรรรมการบริหารโรงเรียนยู่เฉียวเซียะเสี้ยว
61 มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา แนบท้ายประกาศโรงเรียนยู่เฉียวเซียะเสี้ยว เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัยของสถานศึกษา เพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาภายในโรงเรียนยู่เฉียวเซียะเสี้ยว พุทธศักราช 2566 มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย เพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาภายในโรงเรียนยู่เฉียวเซียะเสี้ยว พ.ศ. 2566 มี จำนวน 3 มาตรฐาน ได้แก่ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ รายละเอียดแต่ละมาตรฐาน มีดังนี้ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก 1.1 มีพัฒนาการด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ 1.2 มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์ได้ 1.3 มีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม 1.4 มีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิดพื้นฐาน และแสวงหาความรู้ได้ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ 2.1 มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น 2.2 จัดครูให้เพียงพอกับชั้นเรียน 2.3 ส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์ 2.4 จัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการเรียนรู้ อย่างปลอดภัย และเพียงพอ 2.5 ให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรู้เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์ 2.6 มีระบบบริหารคุณภาพที่เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ 3.1 จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีการพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุลเต็มศักยภาพ 3.2 สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบัติอย่างมีความสุข 3.3 จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัย 3.4 ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและนำผลการประเมินพัฒนาการเด็กไปปรับปรุงการจัดประสบการณ์และ พัฒนาเด็ก
62 มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา แนบท้ายประกาศโรงเรียนยู่เฉียวเซียะเสี้ยว เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานของสถานศึกษา เพื่อ การประกันคุณภาพการศึกษาภายในโรงเรียนยู่เฉียวเซียะเสี้ยว พุทธศักราช 2566 มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาภายในโรงเรียนยู่เฉียวเซียะเสี้ยว พ.ศ. 2566 มีจำนวน 3 มาตรฐาน ได้แก่ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ รายละเอียดแต่ละมาตรฐาน มีดังนี้ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน ⚫ ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน 1.1 มีความสามารถในการอ่าน เขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณ 1.2 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแก้ปัญหา 1.3 มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม 1.4 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 1.5 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา 1.6 มีความรู้ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ ⚫ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 1.7 การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด 1.8 ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย 1.9 การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย 1.10 สุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ 2.1 มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจของสถานศึกษากำหนดชัดเจน 2.2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา 2.3 ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา และทุกกลุ่มเป้าหมาย 2.4 พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิซาชีพ 2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ 2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ 3.2 ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ 3.3 มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก 3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน 3.5 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้
63 ประกาศโรงเรียนยู่เฉียวเซียะเสี้ยว เรื่อง การกำหนดมาตรฐานการศึกษา เป้าหมาย และค่าเป้าหมายของสถานศึกษา ระดับปฐมวัย ตามที่กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2561 ดังนั้น เพื่อให้การดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาภายในของโรงเรียนเป็นไปอย่าง มีประสิทธิภาพตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 โรงเรียนยู่เฉียวเซียะเสี้ยว จึงได้ กำหนดมาตรฐานการศึกษา เป้าหมาย และค่าเป้าหมายของโรงเรียน ระดับปฐมวัย ปีการศึกษา 2566 ไว้ดัง รายละเอียดที่แนบท้ายประกาศ ต่อไปนี้ มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ค่าเป้าหมาย มาตรฐานที่1 คุณภาพของเด็ก ระดับดีเลิศ มาตรฐานที่2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ระดับดีเลิศ มาตรฐานที่3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ ระดับดีเลิศ ประกาศ ณ วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2566 ลงชื่อ (นายจิว วารีทิพย์ขจร ) ประธานกรรรมการบริหารโรงเรียนยู่เฉียวเซียะเสี้ยว
64 กำหนดค่าเป้าหมายของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2566 ระดับปฐมวัย มาตรฐาน / ประเด็นการพิจารณา ค่าเป้าหมายปี 2566 ระดับคุณภาพ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก ดีเลิศ ดีเลิศ 1.1 มีพัฒนาด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแลความ ปลอดภัยของ ตนเองได้ ร้อยละ 86.00 ดีเลิศ 1.2 มีพัฒนาด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม แลและแสดงออกทาง อารมณ์ได้ ร้อยละ 86.00 ดีเลิศ 1.3 มีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยแหลือตนเอง และเป็นสมาชิกที่ดี ของสังคม ร้อยละ 86.00 ดีเลิศ 1.4 มีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิดพื้นฐาน และแสวงหาความรู้ได้ ร้อยละ 86.00 ดีเลิศ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและจัดการ ดีเลิศ ดีเลิศ 2.1 มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน สอดคล้องกับบริบท ของท้องถิ่น ดีเลิศ ดีเลิศ 2.2 มีการจัดครูให้เพียงพอกับชั้นเรียน ดีเลิศ ดีเลิศ 2.3 ส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์ ดีเลิศ ดีเลิศ 2.4 มีการจัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการเรียนรู้ อย่างปลอดภัย และเพียงพอ ดีเลิศ ดีเลิศ 2.5 ให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรู้เพื่อ สนับสนุนการจัดประสบการณ์ ดีเลิศ ดีเลิศ 2.6 มีระบบบริหารคุณภาพที่เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วน ร่วม ดีเลิศ ดีเลิศ มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ ดีเลิศ ดีเลิศ 3.1 จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีการพัฒนาการทุกด้านอย่าง สมดุลเต็มศักยภาพ ร้อยละ 86.00 ดีเลิศ 3.2 สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบัติอย่าง มีความสุข ร้อยละ 86.00 ดีเลิศ 3.3 จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ใช้สื่อเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับ วัย ร้อยละ 86.00 ดีเลิศ 3.4 ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและนำผลประเมิน พัฒนาการเด็กไปปรับปรุงการจัดประสบการณ์และพัฒนาเด็ก ร้อยละ 86.00 ดีเลิศ สรุปผลการประเมินในภาพรวมของสถานศึกษา ดีเลิศ ดีเลิศ
65 ประกาศโรงเรียนยู่เฉียวเซียะเสี้ยว เรื่อง การกำหนดมาตรฐานการศึกษา เป้าหมาย และค่าเป้าหมายของสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามที่กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2561 ดังนั้น เพื่อให้การดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาภายในของโรงเรียนเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 โรงเรียนยู่เฉียวเซียะเสี้ยว จึงได้กำหนดมาตรฐาน การศึกษา เป้าหมาย และค่าเป้าหมายของโรงเรียน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา 2566 ไว้ดังรายละเอียดที่แนบ ท้ายประกาศ ต่อไปนี้ มาตรฐานการศึกษาขอสถานศึกษา ค่าเป้าหมาย มาตรฐานที่1 คุณภาพของผู้เรียน ระดับดีเลิศ มาตรฐานที่2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ระดับดีเลิศ มาตรฐานที่3 การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ระดับดีเลิศ ประกาศ ณ วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2566 ลงชื่อ (นายจิว วารีทิพย์ขจร ) ประธานกรรรมการบริหารโรงเรียนยู่เฉียวเซียะเสี้ยว
66 กำหนดค่าเป้าหมายของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2566 ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐาน / ประเด็นการพิจารณา ค่าเป้าหมายปี 2566 ระดับคุณภาพ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน ดีเลิศ ดีเลิศ ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน ดีเลิศ ดีเลิศ 1.1 มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณ ร้อยละ 86.00 ดีเลิศ 1.2 มีความสามารถในการวิเคราะห์และคิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยน ความคิดเห็น และแก้ปัญหา ร้อยละ 86.00 ดีเลิศ 1.3 มีความสามารในการสร้างนวัตกรรม ร้อยละ 86.00 ดีเลิศ 1.4 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร ร้อยละ 86.00 ดีเลิศ 1.5 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา ร้อยละ 86.00 ดีเลิศ 1.6 มีความรู้ ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ ร้อยละ 86.00 ดีเลิศ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน ดีเลิศ ดีเลิศ 1.7 การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด ร้อยละ 86.00 ดีเลิศ 1.8 ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย ร้อยละ 86.00 ดีเลิศ 1.9 การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย ร้อยละ 86.00 ดีเลิศ 1.10 สุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสังคม ร้อยละ 86.00 ดีเลิศ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและจัดการ ดีเลิศ ดีเลิศ 2.1 การมีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน ดีเลิศ ดีเลิศ 2.2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา ดีเลิศ ดีเลิศ 2.3 ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา และทุกกลุ่มเป้าหมาย ดีเลิศ ดีเลิศ 2.4 พัฒนาครูและบุคลกรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ ดีเลิศ ดีเลิศ 2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมี คุณภาพ ดีเลิศ ดีเลิศ 2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการ เรียนรู้ ดีเลิศ ดีเลิศ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ดีเลิศ ดีเลิศ 3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ ในชีวิตได้ ร้อยละ 86.00 ดีเลิศ 3.2 ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ร้อยละ 86.00 ดีเลิศ 3.3 มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก ร้อยละ 86.00 ดีเลิศ 3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน ร้อยละ 86.00 ดีเลิศ 3.5 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการ จัดการเรียนรู้ ร้อยละ 86.00 ดีเลิศ สรุปผลการประเมินในภาพรวมของสถานศึกษา ดีเลิศ ดีเลิศ
67 หนังสือให้ความเห็นชอบรายงานการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ปีการศึกษา 2566 ตามที่มติประชุมคณะกรรมการบริหารโรงเรียนยู่เฉียวเซียะเสี้ยว ครั้งที่ 2/2567 เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2567 ได้ให้ความเห็นชอบรายงานการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ปีการศึกษา 2566 ทั้งนี้ ให้โรงเรียนนำข้อมูลที่ได้จากการประเมินไปพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา และเผยแพร่ต่อหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องและสาธารณชน (นายจิว วารีทิพย์ขจร) ประธานกรรมการบริหารโรงเรียน
68 คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจัดทำรายงานการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ขั้นตอนการประเมินตนเองของสถานศึกษา การกำหนดมาตรฐานการศึกษาและค่าเป้าหมายของสถานศึกษา เมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566 จากนั้น แต่งตั้งคณะกรรมการ การประเมินภายใน ตามคำสั่งเลขที่ 5/2566 ลงวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 เริ่มดำเนินงาน ประเมินตนเองตั้งแต่วันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 จนถึง วันที่ 1 มีนาคม พ.ศ.2567 โดยจัดประชุมเพื่อกำหนดขอบเขต และมีขั้นตอนประเมินคุณภาพภายใน ดังนี้ 1. ศึกษาวิเคราะห์ SAR 2. ประชุมวางแผนกำหนดเวลา 3. มอบหมายหน้าที่แก่ผู้รับผิดชอบ 4. ดำเนินการประเมิน 5. รวบรวมผลการประเมิน วิเคราะห์ และ สรุปผล ทำการรวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทำรายงานการประเมินตนเอง เมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2567 ประชาสัมพันธ์และรายงานผล การประเมินตนเองต่อหน่วยงานต้นสังกัดภายในวันที่ 31 พฤษภาคม 2567คณะกรรมการ การประเมินภายใน จำนวน 74 คน มีรายนาม ดังนี้ ระดับปฐมวัย มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก 1.1 เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ 1. นางสาวพัชรี วรศรี 2. นางสาววิภาวดี โพธิ์จินดา 3. นางสาวจันทร์เพ็ญ บุญสว่าง 1.2 เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ ควบคุมและแสดงออกทางอารมณ์ได้ 1. นางสาวศิญาภัสร์ สุรสิริเรืองกิจ 2. นางสาวอาภาพร กลับใจ 3. นางสาวเลิฟลีน ซี. เฟอร์นานเดซ 1.3 เด็กมีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเองและเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม 1. นางสาวปภาศรี บุญเลิศ 2. นางศรีนวล ศรีสุข 3. นางสาวอ้อยทิพย์ คงคา 1.4 เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิดพื้นฐาน และแสวงหาความรู้ได้ 1. นางโศภชา เถื่อนคำ 2. นางสาวจุฑาพัฒน์ ตั้งติพงศ์ตระกูล
69 มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ 2.1 มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน สอดคล้องกับบริบทท้องถิ่น 1. นางสาวอุษณี บรรทัดกาญจน์ 2. นางแวววิมล เสาหงษ์ 2.2 จัดครูให้เพียงพอกับชั้นเรียน 1. นางสุคนธ์ทิพย์ บุญทวีวรพันธ์ 2. นางสาวธีรณีย์ ชนม์ณานันท์ 3. นางสาวอรวรรณ วิเศษสิงห์ 2.3 ส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์ 1. นางสาวกานดา จันทร์ควง 2. นางสาวเอรินทร์ แสงสายรุ้ง 2.4 จัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการเรียนรู้ อย่างปลอดภัยและเพียงพอ 1. นางสาววิภาพร อำนวย 2. นางสาวพิมพ์จันทร์ กาญจนสอาด 2.5 ให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและให้บริการสื่อการเรียนรู้เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์ สำหรับครู 1. นางสาววราภรณ์ สง่าโฉม 2. นางสาวศิริวรรณ สันตินิภานนท์ 2.6 มีระบบบริหารคุณภาพที่เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม 1. นางสุวภัทร เพชรบูรณกาญจน์ 2. นางสาวจินติกานต์ เกียรติศิริกุล 3. นางสาวดุจดาว สง่าโฉม มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ 3.1 จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้าน อย่างสมดุลเต็มศักยภาพ 1. นางสาวอรวรรณ สบายยิ่ง 2. นายทศวรรษ เล็กเจริญ 3. นางสาวศิวพร ศรีเมฆ 3.2 สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบัติอย่างมีความสุข 1. นางสาวดลยา เขียวหอม 2. นางสาวลี่หวา แซ่จาง 3.3 จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัย 1. นางสาววราภรณ์ สง่าโฉม 2. นางสาวศิริวรรณ สันตินิภานนท์ 3.4 ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและนำผล การประเมินพัฒนาการเด็กไปปรับปรุงการจัด ประสบการณ์และพัฒนาเด็ก 1. นางสาวกานดา จันทร์ควง 2. นางแวววิมล เสาหงษ์ 3. นางสาวอุษณี บรรทัดกาญจน์
70 ระดับขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผูเรียน 1. นางสาวทัศนีญา กิจสังสรรค์กุล 2. นางสาวทิพย์รดา สวัสดี 3. นางเดือนเพ็ญ เกตพันธ์ 4. นางสาวจริยา ธนไพบูรณ์สถาพร 5. นางศศิยานันท์ จันทร์แปลง 1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงคของผูเรียน 1. นายธวัชชัย ลิมพะสุต 2. นายสกุลส่ง แก้วประดิษฐ์ 3. นางนาตยา แสงส่อง 4. นายณัฐพล ศรีสัตตบุษย์ 5. นายเอกลักษณ์ ศรีสว่าง 6. นายเดนนิส ซี.เฟอร์นานเดซ 7. นางสาววิภาวดี โพธิ์จินดา มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ 2.1 เปาหมายวิสัยทัศนและพันธกิจที่สถานศึกษากําหนดชัดเจน 1. นางสาวณัฐยา วัยวัฒนะ 2. นางสาวจันทนา หนูขวัญ 3. นางเกวรินทร์ เทศธรรม 4. นางสาวดรุณี บุญสันเทียะ 2.2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา 1. นางสาวพัชร์อริญ ภัทรวิมลอังกูร 2. นางอัจจิมา ผลธรรมพิทักษ์ 3. นางสาววรางคณา จอมอุ่น 4. นางสาวประภาทิพย์ โม่มาลา 2.3 ดําเนินงานพัฒนาวิชาการที่เนนคุณภาพผูเรียนรอบดานตามหลักสูตรสถานศึกษาและ ทุกกลุมเป้าหมาย 1. นางสาวรักษมล ยิ้มน้อย 2. นางสาวญาดาศจี สุขยิ้ม 3. นางสาวมุธิตา ซุนซา 4. นางสาวอภิญญา เดชาติวงษ์ ณ อยุธยา 2.4 พัฒนาครูและบุคลากรใหมีความเชี่ยวชาญทางอาชีพ 1. นางสาวภัทรภร รพีเลิศรังสิมันต์ 2. นางสาวจรรยพร วงค์สิงห์นาศ 3. นางสาวรานี สินสุข 2.5 จัดสภาพแวดลอมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อตอการจัดการเรียนรู 1. นางสาวอนุจรี เสือดาว 2. นางสาวจารุวรรณ พันพิพัฒน์ 3. นาสาวสุพรรณี บุญเจริญ
71 2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู 1. นางสาววราภรณ์ สง่าโฉม 2. นางสาวศิริวรรณ สันตินิภานนท์ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ 3.1 จัดการเรียนรูผานกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนําไปประยุกตใชในการดําเนินชีวิต 1. นางสาวประณยา ปั่นปี 2. นางสาวปาณิสรา สง่าโฉม 3. นางสาวฐานิตานันทน์ เสลานนท์ 3.2 ใชสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและแหลงเรียนรูที่เอื้อตอการเรียนรู 1. นางสาวฐิติรัตน์ บริสุทธิ์ 2. นางสาวศรัญญา ผาจีบ 3. นางณัฎฐ์วริน บูรณะเจริญ 4. นางพัชรีภรณ์ หงษ์วิชุลดา 3.3 มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก 1. นางสาวอิศรา อินแถลง 2. นางพรพรรณ กิจสังสรรค์กุล 3. นางมุกดา แก้วเรือง 4. นางสาวกัลยา ศิริรัตน์ 3.4 ตรวจสอบและประเมินผูเรียนอยางเปนระบบ และนําผลมาพัฒนาผูเรียน 1. นางสาวทัศนีญา กิจสังสรรค์กุล 2. นางสาวสุพิชญา บัวเทศ 3.5 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรูและใหขอมูลปอนกลับเพื่อปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ 1. นางสาวณัฐยา วัยวัฒนะ 2. นางสาวณัฏฐณิชา ศรีช่วง สั่ง ณ วันที่ 18 พฤษภาคม 2566 (นายไพศาล ชัยกิจตระกูล) ผู้อำนวยการโรงเรียนยู่เฉียวเซียะเสี้ยว ผู้แต่งตั้ง
72 หลักฐานการเผยแพร่ SAR ให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องหรือสาธารณชนรับทราบ เผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ของโรงเรียน https://www.yuchieo.ac.th หรือ scan QR.code รอใส่ภาพจากหน้าเว็บ ในวันที่เราอัพโหลดขึ้นระบบ
73 แผนผังอาคารสถานที่
74 งานบริหารงบประมาณ งานบริหารงานทั่วไป งานวิชาการ งานบริหารบุคคล - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - โครงสร้างการบริหารงานโรงเรียน
75 โครงสร้างหลักสูตร เวลาเรียน ของโรงเรียน ระดับปฐมวัย เพื่อให้การจัดการศึกษาเป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด สถานศึกษาได้กำหนดโครงสร้างหลักสูตร ดังนี้ โครงสร้างหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย (ปรับปรุงพุทธศักราช 2561) ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ช่วงอายุ อายุ 3-6 ปี สาระการเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ ☺ ด้านร่างกาย ☺ ด้านอารมณ์และจิตใจ ☺ ด้านสังคม ☺ ด้านสติปัญญา ☺ เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก ☺ เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่แวดล้อมเด็ก ☺ ธรรมชาติรอบตัว ☺ สิ่งต่างๆ รอบตัวเด็ก 6 กิจกรรมหลัก ในห้องเรียน ☺ กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ ☺ กิจกรรมสร้างสรรค์ ☺ กิจกรรมกลางแจ้ง ☺ กิจกรรมเสริมประสบการณ์ ☺ กิจกรรมเสรี ☺ กิจกรรมเกมการศึกษา กิจกรรมเสริม ☺ คอมพิวเตอร์ ☺ ภาษาจีน และภาษาอังกฤษ ☺ ดนตรี ☺ ศิลปะ ☺ การเข้าห้องสมุด ☺ พลศึกษา ระยะเวลาเรียน มีเวลาเรียนไม่น้อยกว่า 180 วันต่อ 1 ปีการศึกษา ในแต่ละวันจะใช้เวลาไม่น้อยกว่า 5 ชั่วโมงใน 1 ปี และแบ่งเป็น 2 ภาคเรียน
76 โครงสร้างหลักสูตร เวลาเรียน ของโรงเรียน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนยู่เฉียวเซียะเสี้ยว พุทธศักราช ๒๕๖๖ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง ๒๕๖๐) กลุ่มสาระการเรียนรู้/ กิจกรรม เวลาเรียน(ชั่วโมง/ปี) ระดับประถมศึกษา ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ คณิตศาสตร์ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ประวัติศาสตร์ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ สุขศึกษาและพลศึกษา ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ศิลปะดนตรี และนาฏศิลป์ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ การงานอาชีพ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ภาษาอังกฤษ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ รวมเวลาเรียน (พื้นฐาน) ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ รายวิชาเพิ่มเติม หน้าที่พลเมือง (มารยาทดี วิถีไทย) ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ภาษาอังกฤษ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ภาษาจีน ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ รวมเวลาเรียน (เพิ่มเติม) ๓๒๐ ๓๒๐ ๓๒๐ ๓๖๐ ๓๖๐ ๓๖๐ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ กิจกรรมแนะแนว ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ กิจกรรมนักเรียน - กิจกรรมลูกเสือ/เนตรนารี - ชุมนุม ๓๐ ๔๐ ๓๐ ๔๐ ๓๐ ๔๐ ๓๐ ๔๐ ๓๐ ๔๐ ๓๐ ๔๐ กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ รวมเวลาเรียนทั้งหมด (ชั่วโมง/ปี) ๑,๒๘๐ ๑,๒๘๐ ๑,๒๘๐ ๑,๓๒๐ ๑,๓๒๐ ๑,๓๒๐ ๐ หมายเหตุ หน้าที่พลเมือง (มารยาทดี วิถีไทย) และ หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา โรงเรียนดำเนินการ โดยนำไปบูรณาการใน กลุ่มสาระสังคมศึกษาฯ ร่วมกับสาระวิชาอื่นๆ รวมถึงกิจกรรมต่างๆ ของโรงเรียน เช่น กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมหน้าเสาธง กิจกรรมตามประเพณีวันสำคัญ เพื่อปลูกฝัง เด็กและผู้เรียนให้เกิดการปฏิบัติจนกลายเป็นพฤติกรรมในชีวิตประจำวัน
77 หนังสือสำคัญเพื่อแสดงการรับรองว่าโรงเรียนยู่เฉียวเชียะเสี้ยวได้รับการประกันคุณภาพภายนอก (พ.ศ.2564-2568) จากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) การศึกษาปฐมวัย และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
78 เกียรติบัตรจากสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน เพื่อแสดงว่าโรงเรียนยู่เฉียวเซียะเสี้ยว ได้ส่งรายงานผลการประเมินตนเอง (SAR) ปีการศึกษา 2565 ในระบบ E-SAR ตามกำหนดเวลา
79 การประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (Reading Test : RT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
80 การประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (Reading Test : RT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
81 ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 (NT) ประจำปีการศึกษา 2566
82 ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 (NT) ประจำปีการศึกษา 2566
83 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้น ป.6 ประจำปีการศึกษา 2566 วิชาภาษาไทย ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้น ป.6 ประจำปีการศึกษา 2566 วิชาภาษาอังกฤษ
84 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้น ป.6 ประจำปีการศึกษา 2566 วิชาคณิตศาสตร์ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้น ป.6 ประจำปีการศึกษา 2566 วิชาวิทยาศาสตร์
19