The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by earng_eay, 2022-06-20 22:49:42

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา
(Self - Assessment Report : SAR)
ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔

ระดับการศกึ ษาปฐมวัยและระดบั การศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน

โรงเรียนเซนตแ์ มรี
เลขท่ี ๖๓๓ หมู่ ๒ ตาบลสามเรือน อาเภอพระนครศรอี ยุธยา

จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา

สังกัด สานักงานคณะกรรมการส่งเสรมิ การศึกษาเอกชน
กระทรวงศึกษาธิการ

คำนำ

กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศกฎกระทรวงว่าด้วยการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561
นโยบายการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษท่ีสอง ท่ีกาหนดเป้าหมายและยุทธศาสตร์ในการพัฒนาคุณภาพคนไทย
และการศึกษาไทยในอนาคต ประกอบกับมีนโยบายให้ปฏริ ูประบบการประเมินและประกันคุณภาพทั้งภายในและ
ภายนอกของทุกระดับก่อนจะมีการประเมินคุณภาพรอบต่อไป จาเป็นตอ้ งปรับปรงุ มาตรฐานการศึกษาขน้ั พื้นฐาน
ให้สอดคล้องกัน เพื่อให้สถานศึกษามีเป้าหมายในการบริหารและพัฒนาคุณภาพการศึกษาและเพื่อเป็นหลัก
เทยี บเคียงสาหรับสถานศึกษา หนว่ ยงานต้นสังกัดและหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในการพัฒนาส่งเสริม สนับสนุน กากับ
ดแู ล ตลอดจนตรวจสอบประเมินคุณภาพสถานศึกษา โดยมีความมุ่งหวังที่จะให้สถานศึกษาทุกแห่งมคี ุณภาพตาม
มาตรฐานท่ีกาหนดไว้เป็นอย่างต่าและในการดาเนินงานตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึก ษาน้ัน
สถานศึกษาต้องจัดทารายงานประจาปีเสนอตอ่ หน่วยงานตน้ สงั กดั หน่วยงานที่เกย่ี วขอ้ งและเปดิ เผยต่อสาธารณชน
รวมทั้งเสนอต่อสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(องค์การมหาชน) เพื่อรับการประเมิน
ภายนอกในแตล่ ะรอบการประเมิน

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาฉบบั น้ี เป็นการสรปุ ผลการดาเนินงานในรอบ
ปกี ารศึกษาของสถานศกึ ษา ท่ีสะท้อนใหเ้ ห็นภาพความสาเรจ็ ท่ีเกิดขึน้ ตามบรบิ ทของโรงเรียน ซงึ่ มีองค์ประกอบ 3
ส่วน ได้แก่ ส่วนท่ี 1 บทสรุปของผู้บริหาร ส่วนท่ี 2 ข้อมูลพ้ืนฐาน ส่วนที่ 3 รายการผลการประเมินตนเอง และ
ภาคผนวก โดยมีวัตถุประสงค์ เพ่ือนาเสนอรายงานผลการจัดการศึกษาในรอบปีที่ผ่านมา ซึ่งเป็นข้อมูลในการ
วางแผนพัฒนาคณุ ภาพและเปน็ การเตรียมความพรอ้ มในการประเมินคณุ ภาพภายนอกของสถานศกึ ษาต่อไป

จากความสาคัญดังกล่าวโรงเรียนเซนต์แมรี จึงได้แต่งต้ังคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใส
สถานศึกษาและคณะกรรมการจัดทารายงานคุณภาพการศึกษาระดับการศึกษาปฐมวัยและระดับการศึกษาข้ัน
พนื้ ฐาน ประจาปีการศึกษา 2564 ที่แสดงภารกิจการดาเนินงานและผลการดาเนินงานประจาปีการศึกษาขึ้น เพ่ือ
เป็นข้อมูลการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก พร้อมท้ัง
รายงานผลการดาเนินงานจัดการศกึ ษาตอ่ หน่วยงานตน้ สงั กัด ผู้ปกครองนกั เรยี นและสาธารณชน

โรงเรยี นเซนตแ์ มรีหวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารฉบับนี้จะเป็นข้อมูลสาหรับผู้บริหาร คณะครูและผู้
มสี ่วนเก่ยี วขอ้ งในการปรบั ปรุงและพฒั นาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนใหม้ ีคุณภาพมากยงิ่ ขนึ้

(นายสมควร หอ่ ทอง)
ผู้อานวยการโรงเรียนเซนต์แมรี

สารบัญ หน้ำ

คำนำ 1
สำรบัญ 1
สว่ นที่ 1 บทสรุปของผู้บริหำร 1
7
ตอนที่ 1 ข้อมูลพืน้ ฐาน 7
ตอนที่ 2 การนาเสนอผลการประเมินตนเอง 12
สว่ นที่ 2 ข้อมูลพ้ืนฐำน 14
ขอ้ มูลพืน้ ฐาน 14
ข้อมลู พนื้ ฐานแผนพฒั นาการจดั การศึกษาของสถานศึกษา 23
ส่วนท่ี 3 ผลกำรดำเนินงำน 26
ผลการดาเนนิ งานตามแผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปีของสถานศกึ ษา 27
ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นของผ้เู รยี น 28
นวตั กรรม/แบบอยา่ งทด่ี ี (Innovation/Best Practice) 29
รางวัลที่สถานศึกษาไดร้ บั 29
ดาเนนิ งานตามนโยบายกระทรวงศึกษาธกิ าร 30
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกของ สมศ. ทผ่ี า่ นมา 30
หนว่ ยงานภายนอกทีโ่ รงเรยี นเขา้ รว่ มเปน็ สมาชิก 77
ส่วนท่ี 4 ผลกำรประเมินตนเองของสถำนศึกษำ 79
1. ผลการประเมินรายมาตรฐาน 81
2. สรปุ ผลการประเมนิ คณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา 83
3. จุดเดน่ 83
4. ขอ้ เสนอแนะเพื่อการพฒั นาสู่นวัตกรรม/แบบอยา่ งทด่ี ี 84
5. แนวทางการพฒั นา
6. ความตอ้ งการชว่ ยเหลอื
ภำคผนวก

1

สว่ นที่ 1
บทสรปุ ของผู้บรหิ ำร

ตอนที่ 1 ขอ้ มูลพนื้ ฐำนของสถำนศกึ ษำ
โรงเรียนเซนต์แมรี รหัส 14100041 ที่ต้ัง 633 หมู่ 2 ตาบลสามเรือน อาเภอบางปะอิน จังหวัด

พระนครศรีอยุธยา สังกัดสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน โทรศัพท์ 035-709633-4 โทรสาร
035-709644 e-mail [email protected] website www.saintmary.ac.th ได้รับอนุญาตจัดตั้งเม่ือ 17
พฤษภาคม พ.ศ. 2550 เปิดสอนระดับชั้นเตรียมอนุบาล ถึงระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น จานวนนักเรียน 824 คน
จานวนครูและบคุ ลากรของโรงเรียน 90 คน
ตอนที่ 2 กำรนำเสนอผลกำรประเมนิ ตนเอง

ระดับกำรศึกษำปฐมวยั

1) มำตรฐำนกำรศึกษำระดบั ปฐมวัย ระดับคณุ ภำพ ยอดเยี่ยม
มำตรฐำนกำรศกึ ษำระดบั กำรศกึ ษำปฐมวยั ระดบั คุณภำพ

มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพเด็ก ระดบั ยอดเยี่ยม

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ระดบั ยอดเย่ยี ม

มาตรฐานที่ 3 การประสบการณ์ทเ่ี น้นผู้เรียนเปน็ สาคญั ระดับยอดเยย่ี ม

2) หลกั ฐำนสนับสนนุ ผลกำรประเมินตนเอง
จดุ เด่น
คุณภำพเดก็
1. เดก็ มพี ัฒนาการทง้ั 4 ด้านสมวัย มีคณุ ลักษณะทีส่ อดคล้องกับอัตลกั ษณ์ของสถานศกึ ษา คือ “น่าเอน็ ดู

มีจิตสาธารณะ”เป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ มีจิตใจม่ันคง มีความรู้ทางวิชาการ ร่างกายแข็งแรงและเห็นออกเห็นใจผู้อ่ืน
ซง่ึ เดก็ ได้รบั การพฒั นาโดยการจัดประสบการณบ์ ูรณาการการสอน แบบนิโอ-ฮิวแมนนิสต์ สู่ MAPS

2. เด็กมีทักษะทางภาษาสมวยั ได้เรียนรู้ภาษาจีน และภาษาองั กฤษกบั ครูตา่ งชาตติ ามหลักสูตรภาษาและ
เทคโนโลยีแบบเข้มข้น(Intensive Language Technology Program) เด็กคิดเป็น ทาเป็น จากการจัด
ประสบการณ์แบบโครงการบูรณาการ STEAMM EDUCATION

กระบวนกำรบรหิ ำรและกำรจดั กำร
1. สถานศกึ ษามกี ระบวนการบรหิ ารและการจดั การทห่ี ลากหลายภายใต้หลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง เชน่
กระบวนการบรหิ ารแบบมีส่วนร่วม กระบวนการบริหารคณุ ภาพ PDCA และการบรหิ ารโดยใชโ้ รงเรยี นเป็นฐาน(SBM)
2. สถานศกึ ษามีนวตั กรรมเด่นและเปน็ แบบอย่างท่ีดี ตามนโยบาย หนึ่งโรงเรยี น หนง่ึ นวตั กรรม ได้แก่
การจดั การศกึ ษาโดยทเ่ี น้นโรงเรยี นศาสนสัมพนั ธ์
3. สถานศึกษามกี ารพฒั นาเดก็ ปฐมวัยโดยการจัดประสบการณบ์ ูรณาการแบบ นีโอ-ฮวิ แมนนสิ ต์ สู่ MAPS
ซง่ึ ประกอบดว้ ย 1)จติ ใจ(Mental) มคี วามเปน็ ตวั ของตัวเอง มคี วามคิดสรา้ งสรรค์ 2) วิชาการ (Academic) เรยี นรู้
และฝึกฝนหาวิชาเพื่อพัฒนาตนเอง 3) ร่างกาย (Physical) จะต้องเข้มแข็ง 4) ความมีน้าใจ(Spirittual) มีความ
เมตตาช่วยเหลือผอู้ ื่น โดยไม่หวังผลตอบแทน ทงั้ 4 ด้าน คอื หลกั การสู่การพฒั นาความเป็นมนษุ ยท์ ส่ี มบรู ณ์
กำรจดั ประสบกำรณท์ ีเ่ น้นเด็กเปน็ สำคญั
1. ครูมีความสามารถในการนาเทคโนโลยีมาพฒั นาผเู้ รียน โดยใช้แอปพลิเคชั่น Checker ในการดแู ล
ชว่ ยเหลือนักเรยี น และพฒั นาคุณลกั ษณ์อนั พงึ ประสงค์

2

2.ครจู ดั ประสบการณ์แบบโครงการบูรณาการ STEAMM EDUCATION
3.ครูได้จดั ทานวตั กรรมพฒั นาเด็กปฐมวัยโดยการจัดประสบการณบ์ ูรณาการแบบ นีโอ-ฮิวแมนนิสต์ สู่ MAPS
3) ข้อเสนอแนะสู่กำรพฒั นำนวตั กรรมหรอื แบบอย่ำงทีด่ ี

คุณภำพของเด็ก
1. เดก็ ควรไดร้ บั การต่อยอดความร้ใู นการสร้างสรรคช์ ้ินงาน โดยให้เดก็ แตล่ ะหอ้ งเรียนได้สรา้ งหรือผลติ
ช้ินงานตามโครงการหนงึ่ หอ้ งเรียนหนึ่งผลิตภัณฑ์ ส่งเสรมิ ให้เดก็ ได้ใช้โครงการบรู ณาการ STEAMM EDUCATION
เปน็ แกนหลักในการพฒั นาองคค์ วามรู้ และสรา้ งชิน้ งานตามความสนใจของเด็ก
2. เด็กควรไดร้ บั การส่งเสรมิ ดา้ นกฬี าตามความถนดั และความสนใจ เชน่ กีฬาเทควนั โด กฬี าวา่ ยนา้ และ
กีฬาฟตุ บอลใหม้ คี วามโดดเดน่ เพ่อื เผยแพรค่ วามสามารถของเด็ก เพือ่ เปน็ ขวญั กาลงั ใจให้แกเ่ ดก็ และสร้างชื่อเสยี ง
ใหแ้ ก่สถานศกึ ษา
กระบวนกำรบริหำรและกำรจัดกำร
1. สถานศึกษาควรดาเนินโครงการหนึ่งห้องเรียนหนึ่งผลิตภัณฑ์ ให้มีความโดดเด่น โดยให้แต่ละห้อง

สร้างสรรค์นวัตกรรมเด่นประจาห้องเรียน พร้อมขยายผลงานสู่ชุมชน และส่งเข้าประกวดทั้งในและ
นอกสถานศึกษาโดยโครงการบูรณาการ STEAMM EDUCATION แกนหลักในการพัฒนาองค์ความรู้
และสร้างชิ้นงานตามความสนใจของเด็ก
2. สถานศึกษาควรพัฒนาหลักสูตรภาษาและเทคโนโลยีแบบเข้มข้น ด้านจานวนห้องและต่อยอดให้เป็น
หลักสูตรตามมาตรฐานสากลให้มากขน้ึ จนเป็นเอกลกั ษณ์ของสถานศกึ ษา
กำรจัดประสบกำรณ์ท่เี นน้ เด็กเป็นสำคญั
ครูยกระดับการจดั ประสบการณบ์ รู ณาการแบบนีโอ-ฮวิ แมนนสิ ต์ สู่ MAPS เพ่อื ตอ่ ยอดและพัฒนคณุ ภาพ
ใหเ้ ปน็ นวตั กรรมท่ยี ัง่ ยืนของครู ควรมีระบบการสงั เกตผลการพัฒนา โดยใช้เครือ่ งมอื ท่หี ลากหลายในการประเมนิ
พฒั นาการ อยา่ งเปน็ ระบบและตอ่ เนอ่ื ง
4) แผนพฒั นำให้ได้มำตรฐำนท่ีสงู ข้ึนกวำ่ เดมิ 1 ระดบั
3.1 แผนปฏบิ ัตงิ านที่ 1 ดา้ นคณุ ภาพเดก็

1. พัฒนาเด็กให้มีความสามารถในการเรียนรู้ท่ีเน้นทักษะและพัฒนาการทางดา้ นร่างกาย
และความสามารถพเิ ศษเพิม่ มากขน้ึ

2. พัฒนาเด็กเพ่ือให้มีความสามารถในการเรียนรู้ที่เน้นทักษะและพฒั นาการทางด้าน
สติปัญญา รวมทง้ั การสอื่ สารทางภาษา 3 ภาษา เพมิ่ มากขึน้

3. ยกระดบั การปฏบิ ตั ทิ เ่ี ปน็ เลศิ ให้มคี วามโดดเดน่ เปน็ นวัตกรรม
3.2 แผนปฏบิ ตั ิงานที่ 2 ด้านการบรหิ ารจัดการ

1. พัฒนาหลกั สตู รสถานศกึ ษาสมู่ าตรฐานสากล
2. จดั ทาแผนพัฒนาเดก็ พเิ ศษเรยี นรว่ ม กาหนดใหม้ คี ณะกรรมการและผู้รบั ผิดชอบ
3.3 แผนปฏบิ ัติงานที่ 3 ดา้ นการจัดประสบการณ์ท่เี น้นเด็กเปน็ สาคญั
1. สง่ เสรมิ ใหค้ รูมคี วามเช่ยี วชาญด้านการจดั ประสบการณ์เพิม่ ขนึ้
2. ยกระดบั การปฏิบตั ทิ ่ีเป็นแบบอย่างทีด่ หี รือดเี ลศิ ให้มคี วามโดดเด่นเปน็ นวตั กรรม
5) นวัตกรรม/แบบอย่ำงท่ีดี
1. โรงเรียนศาสนสมั พนั ธ์
2. รปู แบบการจดั ประสบการณแ์ บบโครงการบรู ณาการ STEAMM EDUCATION
3. การบริหารจัดการดว้ ย STEM MODEL สู่ประชาคมอาเซยี นในโรงเรียนเซนต์แมรี

3

4. การรายงานผลการดาเนนิ งานตามโครงการอยา่ งเข้มข้น ( 5 บท)

5. การใหค้ วามรกั ผา่ นการกอดสมั ผัสตามแนวคดิ นีโอฮวิ แมนนิส

ระดบั กำรศึกษำขน้ั พ้นื ฐำน

1) มำตรฐำนกำรศกึ ษำระดับกำรศึกษำข้นั พ้ืนฐำน ระดบั คุณภำพยอดเยย่ี ม

มำตรฐำนกำรศึกษำระดบั กำรศึกษำขนั้ พนื้ ฐำน ระดับคณุ ภำพ

มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพผู้เรยี น ระดับยอดเยย่ี ม

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ ระดับยอดเย่ยี ม

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี น้นผเู้ รียนเปน็ สาคญั ระดับยอดเยยี่ ม

2) หลักฐำนสนับสนนุ ผลกำรประเมนิ ตนเองตำมระดบั คุณภำพ

จดุ เด่น
คณุ ภำพของผเู้ รยี น
1. ผู้เรียนทุกคนสามารถอา่ นออกและเขยี นได้เหมาะสมตามวยั ท้งั ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดย

กาหนดไว้เปน็ ระเบียบปฏบิ ัตดิ า้ นความสามารถทางวิชาการไว้ในคมู่ อื นักเรียน มขี ้ันตอนการพฒั นาอย่างชดั เจน
และผลการใช้เปน็ ท่ปี ระจักษ์

2. ผ้เู รียนระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 6 มผี ลการทดสอบระดับชาติ (O-NET) สงู กว่าระดบั สงั กดั และระดับ
จงั หวดั และระดับประเทศ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง

3. ผเู้ รยี นมคี วามสามารถในการคดิ วิเคราะห์และคดิ สรา้ งสรรค์ มผี ลงานด้านโครงงานและสิ่งประดิษฐ์
ทางวทิ ยาศาสตร์ไดร้ างวลั ระดับสังกัดและระดบั ภมู ิภาค

4. ผู้เรยี นมคี วามสามารถในดา้ นเทคโนโลยี จากการทีส่ ถานศกึ ษาอนุญาตใหผ้ เู้ รยี นนาโทรศพั ท์มอื ถอื มา
เป็นส่อื ในการเรียนได้ และครูไดอ้ อกแบบบทเรยี นให้ผู้เรียนสามารถใชโ้ ทรศพั ท์มอื ถอื เป็นเครอื่ งมอื ในการเรียนรู้
และการทางานสง่ ทาใหผ้ ู้เรยี นมีความสามารถในดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศมากขึน้

5. ผู้เรียนมีผลงานตามโครงการหนึ่งหอ้ งเรยี น หน่ึงผลิตภณั ฑ์ทุกห้องเรยี น และมีการพฒั นาผลติ ภัณฑ์
อยา่ งต่อเนอ่ื ง โดยการประเมนิ ผลการดาเนนิ งานทท่ี าและนามาปรับปรงุ เพ่อื ใหผ้ ลติ ภณั ฑ์เปน็ ทีต่ อ้ งการของผซู้ อื้
และขายได้

กระบวนกำรบรหิ ำรและกำรจัดกำร
1. สถานศกึ ษามกี ระบวนการบริหารและการจดั การท่ีหลากหลายภายใตห้ ลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
เช่น กระบวนการบรหิ ารแบบมสี ่วนร่วม กระบวนการบรหิ ารคุณภาพ PDCA และการบรหิ ารโดยใชโ้ รงเรียนเป็น
ฐาน(SBM) มีนวตั กรรมเด่น และแบบอย่างท่ดี ขี องสถานศึกษา ตามนโยบายหนง่ึ โรงเรยี น หน่ึงนวัตกรรม ไดแ้ ก่
การบรหิ ารจดั การดว้ ย STEM MODEL สู่ประชาคมอาเซยี น ซึง่ ไดร้ ับรางวัล จากสานกั งานเลขาธกิ ารครุ ุสภา
กระทรวงศึกษาธกิ าร
2. สถานศกึ ษานาระบบ แอปพลเิ คชัน่ Checker มาใช้ในการดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรียน เพ่อื ลดความวติ ก
กงั วลของผปู้ กครองทีม่ ีตอ่ การมาเรียนของผู้เรยี น แอปพลิเคชนั่ Grader มาใชใ้ นการตรวจแบบทดสอบแบบปรนยั
ซึง่ บนั ทึกผล วิเคราะห์ แปลความหมายและประมวลผลผ้เู รยี นเปน็ รายบุคคล ทาให้ครูสามารถนาผลมาใชใ้ นการ
ปรบั ปรงุ การจัดการเรยี นการสอน และพัฒนาผู้เรยี นไดเ้ ปน็ อย่างดี
3. สถานศกึ ษาใชก้ ระบวนการวจิ ัยในการเกบ็ รวมรวมข้อมลู และประเมินผลการดาเนินงานของโครงการ
ทุกโครงการ โดยนาเสนอรายงานผลการดาเนนิ งานในรูปวจิ ยั 5 บท

4

กระบวนกำรจัดกำรเรียนกำรสอนท่เี น้นผู้เรยี นเป็นสำคญั
ครมู ีความสามารถในการใช้แอปพลิเคชั่น Checker ในการดแู ลช่วยเหลอื นกั เรียน และพฒั นาคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ และความสามารถใช้แอปพลิเคช่ัน Grader ในการวัดและประเมินผลเพ่ือพัฒนาผู้เรียนและ
แก้ปัญหาอย่างมีประสิทธิผล มีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนและพัฒนาผู้เรียนได้เป็นอย่างดี
ใช้กระบวนการวิจัยในการเก็บรวมรวมข้อมูล และประเมินผลการดาเนินงานของโครงการทุกโครงการ มีการ
ประเมินผลงานวิจัยในช้ันเรียนอย่างเป็นระบบ และนาข้อเสนอแนะจากการประเมินงานวจิ ัยไปพัฒนาต่อยอดงาน
ไดอ้ ย่างเปน็ ระบบและต่อเนอื่ ง
3) ขอ้ เสนอแนะสกู่ ำรพฒั นำนวตั กรรมหรอื แบบอย่ำงทีด่ ี
คณุ ภำพของผเู้ รยี น
1. สถานศกึ ษาควรพัฒนาต่อยอดกิจกรรมตวิ เตอรก์ ารอา่ น โดยใชต้ ัวแบบการอา่ น(Model Of Reading)
ใหเ้ ปน็ นวัตกรรมที่มคี วามโดดเด่นของสานศึกษา มาดาเนนิ การให้ตอ่ เนื่องเป็นระบบและเผยแพร่หรือขยายผลไป
ยังสถานศกึ ษาอ่ืน ๆ
2. ผ้เู รยี นควรไดร้ ับการสง่ เสริมกฬี าวา่ ยน้าให้มคี วามโดดเดน่ และสรา้ งทมี นกั กฬี าวา่ ยน้าท่มี ีความสามารถ
เพ่ือสรา้ งชอื่ เสียงให้กบั สถานศกึ ษา
3. ผเู้ รียนควรไดร้ ับการสง่ เสริมตอ่ ยอดการพฒั นาการทาโครงงานอย่างหลากหลายครบทกุ กล่มุ สาระการ
เรยี นรู้ บันทึกขั้นตอนการทาโครงงานในรูปคลิปวดี โี อและทาเป็น QR-CODE ติดไวท้ ีแ่ ผงโครงงาน เม่ือมผี ู้สนใจ
อยากทราบรายละเอยี ดเกย่ี วกับโครงงาน สามารถใชโ้ ทรศพั ทม์ อื ถอื สแกนเปดิ ดไู ด้ โดยไมต่ อ้ งใหผ้ ูเ้ รียนนาเสนอ
ใหม่
4. ใหผ้ ูเ้ รียนตอ่ ยอดความรู้ในการสรา้ งสรรค์ช้นิ งาน โดยใหเ้ ดก็ แตล่ ะห้องเรยี นไดส้ รา้ งหรอื ผลติ ชิ้นงาน
ตามโครงการหนึ่งห้องเรยี นหน่งึ ผลิตภณั ฑ์ โดยโครงงาน STEAMM EDUCATION เป็นแกนหลักในการพฒั นาองค์
ความรู้ และสร้างชน้ิ งานตามความสนใจของเดก็
กระบวนกำรบรหิ ำรและกำรจัดกำร
1. สถานศกึ ษาควรให้แตล่ ะหอ้ งสร้างสรรคน์ วตั กรรมเด่นประจาหอ้ งเรียน โดยใหแ้ ตล่ ะห้องแข่งขันกัน
ออกแบบนวตั กรรมประจาห้องเรยี น มที ้ังรายเดยี่ วและรายกล่มุ และนาเสนอผลงานประกวดแข่งขันภายใน
สถานศกึ ษา พร้อมขยายผลงานส่ชู ุมชนและภายนอกสถานศกึ ษา เพอื่ ตอ่ ยอดโครงการหนึง่ ห้องเรยี นหนึ่งผลิตภัณฑ์
2. สถานศึกษาควรพัฒนาหลกั สูตรภาษาองั กฤษและเทคโนโลยแี บบเขม้ ข้น ดา้ นจานวนหอ้ งและตอ่ ยอด
ให้เป็นหลักสูตรตามมาตรฐานสากลให้มากข้นึ จนเป็นทยี่ อมรับของชมุ ชน
กระบวนกำรจดั กำรเรยี นกำรสอนท่เี น้นผู้เรยี นเป็นสำคัญ
1. ครคู วรพฒั นาตนเองอยา่ งต่อเนื่อง และเรยี นร้เู ครื่องมือในการอานวยความสะดวกในการวดั ผลและ
ประเมินผล และพฒั นาแบบทดสอบให้มมี าตรฐาน และมีคุณภาพ สร้างเครอื่ งมอื วดั ผลและประเมนิ ผลท่ีมงุ่ เนน้ ให้
ผ้เู รยี นไดค้ ดิ วิเคราะห์ คดิ สงั เคราะห์และนาไปใชอ้ ยา่ งหลากหลาย และจดั ทาเป็นคลังขอ้ สอบด้วยการใช้
แอปพลเิ คช่ัน School Bright เพอ่ื พฒั นาเปน็ นวัตกรรม/แบบอย่างทด่ี ขี องสถานศกึ ษา
2. ครคู วรออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน ดว้ ยการเพม่ิ กจิ กรรมการเรยี นร้แู บบโครงงาน เพื่อส่งเสรมิ ให้ผ้เู รียน
ได้ฝึกกระบวนการคดิ วิเคราะห์ คดิ สงั เคราะห์ คดิ สรา้ งสรรค์ นาไปสู่การออกแบบนวตั กรรม/ช้ินงานทเี่ ปน็ แบบอยา่ งทีด่ ีของ
สถานศกึ ษาตามโครงการหนง่ึ ห้องเรียน หนึง่ ผลิตภณั ฑ์ รณรงค์เรอ่ื งการประหยดั น้าประหยดั ไฟ และดาเนินการเร่ือง
ธนาคารขยะโดยใหส้ ภานกั เรยี นร่วมดาเนนิ การกบั ทุกช้ันเรยี น และควรทาบันทึกข้อตกลงรว่ มกนั กับหน่วยงานภายนอก

5

4) แผนพัฒนำให้ได้มำตรฐำนท่สี ูงขึน้ กว่ำเดมิ 1 ระดบั
แผนงำน/โครงกำรพัฒนำคุณภำพผ้เู รยี น
1. การปรบั และพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกบั ความต้องการของชมุ ชน และการจดั ศึกษาใน

ศตวรรษท่ี 21
2. กจิ กรรมเสริมหลักสตู รท่ีเนน้ คุณภาพผู้เรียนรอบดา้ นสอดคล้องกับแนวคดิ พหปุ ญั ญา
3. โครงการพฒั นาจดั การเรียนการสอนนักเรยี นเรยี นรว่ มและโครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม
4. พฒั นานวตั กรรม/แบบอยา่ งทดี่ เี พ่ือพฒั นาคณุ ภาพผ้เู รยี นที่โดดเดน่
แผนงำน/โครงกำรพฒั นำระบบบรหิ ำรจัดกำร
1. โครงการการบรหิ ารจดั การเกย่ี วกบั งานวชิ าการและการปรบั และพฒั นาหลักสตู รให้

สอดคล้องกบั ความตอ้ งการของชมุ ชน และการจดั ศึกษาในศตวรรษที่ 21
2. ยกระดบั แผนพฒั นางานสัมพันธ์ชุมชน
3. พัฒนานวตั กรรม/แบบอยา่ งทดี่ ใี นการบรหิ ารจดั การ

แผนงำน/โครงกำรพฒั นำคุณภำพครู
1. โครงการพัฒนาครสู ู่ครมู ืออาชพี
2. พัฒนาระบบนิเทศภายในโรงเรียนใหเ้ ข้มแข็ง
3. พฒั นานวตั กรรม/แบบอย่างทด่ี ขี องครูให้โดดเดน่

4) นวัตกรรม/แบบอยำ่ งท่ีดี
5.1 โรงเรียนศาสนสัมพนั ธ์
5.2 ระบบดูแลชว่ ยเหลือนักเรียนด้วยแอพลเิ คช่ัน Checker
5.3 การบรหิ ารจดั การดว้ ย STEM MODEL สู่ประชาคมอาเซียนในโรงเรยี นเซนต์แมรี
5.4 การรายงานผลการดาเนนิ งานตามโครงการอย่างเขม้ ข้น ( 5 บท)
5.5 การประเมนิ เพื่อพัฒนาดว้ ยแอปพลเิ คชน่ั Grader

6

ส่วนท่ี 2
ข้อมลู พืน้ ฐำน

1. ข้อมูลพืน้ ฐำน
โรงเรยี นเซนตแ์ มรี รหัส 1114100041 ท่ตี ง้ั 633 หมู่ 2 ตาบลสามเรอื น อาเภอบางปะอนิ

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สังกัดสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน โทรศัพท์ 035-709633-4
โทรสาร 035-709644 e-mail [email protected] website www.saintmary.ac.th ได้รับอนุญาตจัดต้ัง
เม่ือ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2550 เปิดสอนระดับชั้นเตรียมอนุบาล ถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จานวนนักเรียน 824
คน จานวนครูและบคุ ลากรของโรงเรยี น 90 คน

1.1 ลกั ษณะผู้รับใบอนญุ ำต
 บคุ คลธรรมดา

ประเภทโรงเรียน
 ประเภทโรงเรยี นในระบบ
 สามัญศึกษา

กำรจดั กำรเรยี นกำรสอน
 ปกติ (สามญั ศกึ ษา)
 หลักสตู รภาษาและเทคโนโลยีแบบเขม้ ข้น (ปฐมวยั )
 หลกั สตู รภาษาองั กฤษและเทคโนโลยแี บบเขม้ ข้น (ระดบั ประถมศึกษา)
 หลกั สูตร SME (ระดับมธั ยมศกึ ษา)

7

1.2 จำนวนหอ้ งเรียน/ผ้เู รยี นจำแนกตำมระดบั ที่เปดิ สอน

ระดับที่เปิดสอน จำนวนหอ้ งเรยี น จำนวนผ้เู รียน จำนวนผู้เรียนทม่ี ี รวมจำนวน
ปกติ ควำมตอ้ งกำร ผเู้ รียน

ห้องเรียนปกติ หอ้ งเรียน ILTP ชำย หญงิ พเิ ศษ 13
- 5 8 62
เตรยี มอนบุ าล 1 - 27 35 ชำย หญิง 76
2 41 35 93
อนบุ าลปที ่ี 1 3 2 53 40 -- 244
4 126 118
อนบุ าลปีท่ี 2 1 --
หอ้ งเรียน IETP 48 41
อนุบาลปีท่ี 3 1 2 55 51 --
2 47 41 --
2 37 27
รวม 6 1 37 33
1 35 32
ระดบั ประถมศกึ ษำ 1 259 225
9
ประถมศึกษาปที ี่ 1 1 20 19 89
หอ้ งเรียน SME 21 6 106
ประถมศกึ ษาปีที่ 2 1 1 20 10 88
1 61 35 64
ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 1 1 446 378 70
3 67
ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 2 16 484

ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 1

ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 1

รวม 7

ระดับมัธยมศกึ ษำตอนตน้

มัธยมศึกษาปีท่ี 1 - 39
27
มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 - 30
96
มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 - 824

รวม -

รวมทั้งสน้ิ 13

8

1.3 จำนวนครูและบุคลำกรทำงกำรศกึ ษำ

1.3.1 สรปุ จำนวนครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำ จำแนกวุฒิกำรศึกษำและประเภท/ตำแหนง่

ประเภท/ตำแหน่ง จำนวนครแู ละบคุ ลำกรทำงกำรศึกษำ รวม
ตำ่ กวำ่ ป.ตรี ป.ตรี ป.โท ป.เอก

1. ผบู้ ริหำรสถำนศกึ ษำ

- ผู้รบั ใบอนญุ าต - -1 - 1

- ผู้จัดการ - -1 - 1

- ผู้อานวยการ - -1 - 1

- รองผ้อู านวยการ - 23 - 5

รวม - 26 - 8

2. ผสู้ อนกำรศกึ ษำปฐมวยั 14 - - 14

- ครูบรรจุ - 11 - - 11

- ครูตา่ งชาติ - 3- - 3

3. ผสู้ อนกำรศกึ ษำขน้ั พื้นฐำน 35 - - 35

ระดบั ประถมศกึ ษา 27 - - 27

- ครูบรรจุ - 24 - - 24

- ครตู ่างชาติ - 3- - 3

ระดบั มธั ยมศึกษา 8- - 8

- ครบู รรจุ - 7- - 7

- ครตู ่างชาติ - 1- - 1

รวม -- 8

4. บุคลำกรทำงกำรศกึ ษำ 25 9- - 34

เจา้ หนา้ ที่/ครพู ่ีเลีย้ ง/ครไู มบ่ รรจุ 25 9- - 34

5.อน่ื ๆ (ระบ)ุ ... - --- -

รวม 25 9- - 27

รวมทัง้ สิน้ 25 59 6 90

สรปุ อัตรำส่วน

ระดับปฐมวยั

จานวนผูเ้ รียนต่อครู 1 : 18

จานวนผ้เู รยี นตอ่ หอ้ ง 1 : 24

ระดบั กำรศกึ ษำขัน้ พืน้ ฐำน

ระดบั ประถมศึกษำ

จานวนผูเ้ รยี นตอ่ ครู 1 : 19

จานวนผเู้ รียนตอ่ หอ้ ง 1 : 25

ระดบั มัธยมศกึ ษำ

จานวนผู้เรยี นต่อครู 1 : 12

จานวนผู้เรยี นตอ่ หอ้ ง 1 : 32

9

1.3.2 สรุปจำนวนครูผู้สอน จำแนกตำมระดบั และกลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้

กรณีท่ี 1 ครสู อนหลายระดับชน้ั ใหก้ รอกข้อมลู ในระดบั ท่ีมีจานวนช่วั โมงสอนมากที่สดุ
กรณีที่ 2 ครูทีจ่ บวชิ าเอกการประถมศึกษาถอื ว่าตรงเอกสามารถสอนได้ในทกุ วิชา ในระดับประถมศกึ ษา

จานวนครผู สู้ อน

ระดับ/กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ปฐมวัย ประถมศึกษา มัธยมศกึ ษา

ตรงเอก ไมต่ รงเอก ตรงเอก ไม่ตรงเอก ตรงเอก ไม่ตรงเอก

ปฐมวัย 10 4 - - - -

ภาษาไทย - -212-

คณติ ศาสตร์ - -3-1-

วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี - - 2 - 1 -

สงั คมศกึ ษา ศาสนา วัฒนธรรม - - 1 1 1 -

สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา - -3-1-

ศลิ ปะ - - 3 - 1 -

การงานอาชีพ - -3-1-

ภาษาตา่ งประเทศ - -6-2-

1.3.3 สรปุ จำนวนครูผสู้ อนกิจกรรมพฒั นำผูเ้ รยี น จานวนครูผสู้ อน

กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น ประถมศกึ ษา มัธยมศกึ ษา

 กิจกรรมนักเรียน 17 4
- ลกู เสือ 17 4
- เนตรนารี --
- ยุวกาชาด --
- ผู้บาเพ็ญประโยชน์ --
- รักษาดินแดน (ร.ด.) 34 6
- กิจกรรมชุมนมุ ชมรม 17 3
37 6
 กิจกรรมแนะแนว
 กจิ กรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน์

10

1.3.4 สรุปจำนวนครแู ละบุคลำกรทำงกำรลกู เสือ เนตรนำรี ยุวกำชำดและผบู้ ำเพญ็ ประโยชน์

ลูกเสอื /เนตรนารี จานวน จานวนวฒุ ทิ างลูกเสอื การจดั ตงั้ กองลูกเสือ

/ยุวกาชาด/ผบู้ าเพญ็ ประโยชน์ ผู้บังคับบัญชา มีวุฒิ ไม่มีวุฒิ จัดตั้ง ไมจ่ ัดต้งั

ลกู เสือ เนตรนารี สารอง 16 14 2 จดั ตงั้ -

ลกู เสอื เนตรนารี สามญั 15 15 - จัดตั้ง -

ลูกเสอื เนตรนารี สามญั รนุ่ ใหญ่ 6 6 - จดั ต้งั -

รวม 37 35 2 จัดตั้ง -

1.3.5 สรปุ จำนวนครูท่ีทำหนำ้ ทีค่ ัดกรอง และนักเรยี นทม่ี คี วำมต้องกำรจำเปน็ พิเศษ
(กรณีโรงเรียนมนี กั เรยี นพเิ ศษเรียนรว่ ม)

จานวนครูที่ทาหน้าทีค่ ัดกรอง จานวนนกั เรียนพเิ ศษ

เขา้ รับ หนว่ ยงานทเ่ี ขา้ รบั การอบรม ครทู ไี่ ดร้ บั การขึน้ ทะเบียน ครูที่ได้รับเงิน ทง้ั หมด ขึ้น ไม่ขึ้น
การอบรม เป็นผูค้ ดั กรองของ เพมิ่ พิเศษ ทะเบียน ทะเบยี น
กระทรวงศึกษาธิการ (พ.ค.ก.)

1. - - ---
---
2. - - ---

3. เพม่ิ ได้ - -

1.3.6 สรุปจำนวนครทู เ่ี ข้ำรบั กำรอบรมเกยี่ วกบั โรงเรยี นคุณธรรม

จำนวนครูท่ีเข้ำรบั หน่วยงำนท่เี ข้ำรับกำรอบรม ปกี ำรศกึ ษำ
กำรอบรม
80 คน 1. โรงเรยี นเซนต์แมรี ปี พ.ศ. 2561
2. อัครสังฆมณฑลกรงุ เทพ ฯ ปี พ.ศ. 2562
90 คน 3. โรงเรยี นเซนต์แมรี ปี พ.ศ. 2563
4. โรงเรยี นเซนตแ์ มรี ปี พ.ศ. 2564
75 คน

75 คน

11

ข้อมูลพืน้ ฐำนแผนพฒั นำกำรจดั กำรศึกษำของสถำนศึกษำ
โรงเรียนเซนต์แมรีได้ดาเนนิ การพัฒนาคณุ ภาพการบรหิ ารจัดการศึกษามาอย่างต่อเน่ือง โดยนาข้อมูล

จากแผนพฒั นาการศกึ ษาชาติ นโยบายการจัดการศึกษาคาทอลิกและขอ้ เสนอแนะจากการประเมนิ คณุ ภาพ
ภายนอก(สมศ)รอบ 4 และได้จดั ทาแผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาของโรงเรียน ปีการศึกษา 2560-2564 เพอ่ื ให้
สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานเพื่อการประกนั คณุ ภาพภายในและภายนอก ได้กาหนดวิสัยทศั น์ พันธกจิ เปา้ หมายและ
ใชเ้ คร่ืองมอื SWOT Analysis มาชว่ ยในการวเิ คราะหต์ นเองเพอ่ื หาจุดแข็ง (ส่งิ ทโ่ี รงเรียนทาได้ด)ี จดุ ออ่ น
(สิ่งที่โรงเรียนทาแล้วไม่บรรลุตามเป้าหมาย) โอกาสในการพัฒนาและอุปสรรค ซึ่งเป็นปัจจัยคุกคามที่อาจส่งผล
ด้านลบต่อการพฒั นาโรงเรียน ดาเนินการวเิ คราะห์สภาพปัจจุบนั และปัญหาโดยใชเ้ ทคนคิ SWOT Analysis เพ่ือ
กาหนดเปน็ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค โดยให้ทุกสว่ นไดม้ ีสว่ นร่วมในการจัดทา ได้แก่ ผเู้ รยี น ผปู้ กครอง
ครู ชุมชนและนาผลจากการทา SWOT Analysis มากาหนดเปน็ วิสยั ทศั น์ พนั ธกจิ เป้าหมาย กลยุทธ์ ดงั ตอ่ ไปนี้
วสิ ัยทัศน์ (Vision) ของโรงเรยี น

โรงเรยี นเซนต์แมรี มุ่งผลิตผูเ้ รียนใหเ้ ปน็ ผทู้ ม่ี ีคุณธรรมนำควำมรู้
ก้ำวลำ้ ทกั ษะภำษำ น้อมนาหลักปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพียงเคียงคู่เทคโนโลยี

และมที กั ษะกำรเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21
พันธกิจ (Mission) ของโรงเรียน

พันธกจิ /ภารกจิ (MISSION) ดา้ นตา่ งๆ ของโรงเรยี นเซนต์แมรีในการจัดการศึกษา
ปกี ารศกึ ษา มีดงั น้ี

1. เสริมสร้างอตั ลักษณแ์ ละเอกลักษณข์ องสถานศกึ ษาใหเ้ ข้มแข็งและโดดเดน่
2. ยกระดับคุณภาพผู้เรยี นและมาตรฐานการศกึ ษา สอดคลอ้ งกับ ทักษะการเรียนรใู้ นศตวรรษท่ี 21
3. พฒั นาผูเ้ รยี นให้มีความเปน็ เลศิ ดา้ นภาษา บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งเคยี งคู่
เทคโนโลยี
4. พฒั นาครูและบุคลากรให้มีศกั ยภาพในการจดั การเรยี นการสอนอยา่ งมืออาชีพ
5. จดั การศกึ ษาอย่างมคี ณุ ภาพตามมาตรฐานการประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษาสมู่ าตรฐานสากล
6. สง่ เสรมิ การมสี ว่ นรว่ มของภาคเี ครือขา่ ยในการพฒั นาผู้เรยี นใหม้ ีทกั ษะการเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ 21
เปำ้ หมำย (Goals) ของโรงเรียน
1. ผูเ้ รียนมีคุณลักษณะตามอัตลกั ษณ์และเอกลกั ษณ์ของสถานศึกษาทก่ี าหนด
2. ผเู้ รยี นมคี ณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาสอดคลอ้ งกับ ทกั ษะการเรยี นรูใ้ นศตวรรษท่ี 21
3. ผู้เรยี นมีความเป็นเลิศดา้ นภาษา บูรณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งเคยี งคเู่ ทคโนโลยี
4. ครแู ละบุคลากรมศี ักยภาพในการจดั การเรียนการสอนอยา่ งมอื อาชพี
5. โรงเรียนจดั การศกึ ษามคี ุณภาพ ตามมาตรฐานการประกันคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษาสู่
มาตรฐานสากล
6. โรงเรียนจดั การศกึ ษาโดยการมีสว่ นรว่ มของภาคีเครอื ข่ายในการพฒั นาผเู้ รยี นให้มีทกั ษะการเรียนร้ใู น
ศตวรรษที่ 21

12

พนั ธกิจ (Mission)/เปำ้ หมำย ของโรงเรียน

ประเด็นวสิ ัยทัศน์ของโรงเรยี น พันธกจิ เป้ำหมำย

Vision Issues Mission Goals

ประเดน็ ที่ 1 1. เสริมสรา้ งอตั ลกั ษณแ์ ละ 1. ผูเ้ รยี นมีคุณลกั ษณะตามอตั ลกั ษณ์

พฒั นำผู้เรยี นให้มีคุณธรรมนำ เอกลกั ษณ์ของสถานศกึ ษาใหเ้ ขม้ แข็ง และเอกลกั ษณ์ของสถานศกึ ษาทกี่ าหนด

ควำมรู้ และโดดเดน่ (นา่ เอ็นดู มจี ติ (น่าเอ็นดู มีจิตสาธารณะ/โรงเรยี นศาสน

สาธารณะ/โรงเรียนศาสนสมั พนั ธ)์ สัมพนั ธ์)

ประเดน็ ท่ี 2 ก้าวล้าทกั ษะภาษา 3. พัฒนาผ้เู รยี นให้มีความเปน็ เลศิ 3. ผเู้ รยี นมคี วามเปน็ เลิศด้านทกั ษะ

ประเดน็ ท่ี 3 หลักปรชั ญาของ ดา้ นทกั ษะภาษา บูรณาการหลัก ภาษา บูรณาการหลักปรชั ญาของ

ของเศรษฐกจิ พอเพียงเคยี งคู่ ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงเคยี งคู่ เศรษฐกจิ พอเพยี งเคยี งคเู่ ทคโนโลยี

เทคโนโลยี เทคโนโลยี

ประเด็นท่ี 4 ทักษะการเรียนรูใ้ น 2. ยกระดับคุณภาพผู้เรยี นและ 2. ผเู้ รยี นใหม้ คี ณุ ภาพตามมาตรฐาน

ศตวรรษท่ี 21 มาตรฐานการศึกษา ที่สอดคลอ้ งกบั การศกึ ษาทีส่ อดคลอ้ งกบั ทกั ษะการ

ทกั ษะการเรียนรใู้ นศตวรรษที่ 21 เรียนรใู้ นศตวรรษท่ี 21

4. พัฒนาครแู ละบคุ ลากรให้มี 4. ครูและบุคลากรมศี ักยภาพในการ

ศกั ยภาพในการจัดการเรยี นการสอน จัดการเรยี นการสอนอย่างมืออาชพี

อยา่ งมอื อาชพี

5. จดั การศึกษาอยา่ งมคี ณุ ภาพตาม 5. โรงเรยี นจดั การศึกษามคี ณุ ภาพ ตาม

มาตรฐานการประกนั คุณภาพภายใน มาตรฐานการประกนั คุณภาพภายใน

สถานศึกษาสมู่ าตรฐานสากล สถานศกึ ษาสู่มาตรฐานสากล

6. ส่งเสริมการมสี ว่ นร่วมของภาคี 6. โรงเรียนจัดการศกึ ษาโดยการมีสว่ น

เครือขา่ ยในการพฒั นาผู้เรยี นใหม้ ี รว่ มของภาคเี ครือข่ายในการพัฒนา

ทักษะการเรียนรใู้ นศตวรรษท่ี 21 ผู้เรยี นให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี

21

13

สว่ นท่ี 3
ผลกำรดำเนนิ งำน
1. ผลกำรดำเนินงำนตำมแผนปฏิบตั กิ ำรประจำปีของสถำนศกึ ษำ
1.1 ระดบั กำรศึกษำปฐมวยั
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 : พัฒนาหลกั สตู ร กระบวนการเรยี นการสอน การวัดและประเมนิ ผล
โครงกำร
1) โครงการส่งเสริมอัตลักษณ์ของโรงเรียน 2) โครงการโรงเรียนศาสนสัมพันธ์ 3) โครงการเซนต์แมรีส่งเสริม
สุขภาพอนามัย 4) โครงการแมรีเกมส์ 5) โครงการพัฒนาทักษะการสื่อสารและจินตนาการหนูน้อย 6) โครงการ
พัฒนาศักยภาพผเู้ รียนตามแนวพหปุ ัญญา 7) โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตและสุนทรียภาพ 8) โครงการรักการอา่ น
และการเรียนรสู้ มวัย 9) โครงการสง่ เสริมทักษะประสาทสัมผสั ทง้ั ห้า 10. โครงการเรยี นรู้แหลง่ เรยี นรนู้ อกสถานที่
11. โครงการสหวิทยาการเพื่อการเรียนรู้ 12) โครงการราชธานีเก่า อู่ข้าว อู่น้า เลิศล้าการกวี คนดีศรีอยุธยา เลอ
คณุ ค่ามรดกโลก
ค่ำเปำ้ หมำย
- เด็กร้อยละ 97.50 มกี ารพฒั นาดา้ นรา่ งกายแข็งแรง มสี ขุ นิสยั ท่ีดี และดูแลความปลอดภยั ของตนเอง
ได้อยู่ในระดับยอดเยย่ี ม
- เด็กรอ้ ยละ 97.00 มกี ารพฒั นาดา้ นอารมณ์ จติ ใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณไ์ ด้อย่ใู นระดับ
ยอดเยี่ยม
- เดก็ รอ้ ยละของเด็กร้อยละ 97.00 มกี ารพัฒนาการดา้ นสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชกิ ที่ดขี อง
สังคมอยู่ในระดบั ยอดเยยี่ ม
- เด็กรอ้ ยละ 95.00 มพี ัฒนาการดา้ นสติปญั ญา สอื่ สารได้ มที ักษะการคดิ พ้ืนฐานและแสวงหาความรู้
ได้อยใู่ นระดับยอดเยีย่ ม
ผลสำเรจ็
- เด็กร้อยละ 99.56 มีการพัฒนาดา้ นร่างกายแขง็ แรง มสี ขุ นสิ ยั ที่ดี และดูแลความปลอดภยั ของตนเอง
ได้ อยใู่ นระดับยอดเยีย่ ม สงู กว่าเป้าหมายทกี่ าหนด
- เดก็ ร้อยละ 99.56 มีการพัฒนาดา้ นอารมณ์ จติ ใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณ์ได้ อยใู่ นระดับ
ยอดเย่ียมสูงกวา่ เป้าหมายทกี่ าหนด
- เดก็ ร้อยละของเดก็ รอ้ ยละ 100 มีการพฒั นาการดา้ นสงั คม ชว่ ยเหลอื ตนเอง และเปน็ สมาชกิ ที่ดีของ
สังคมอยู่ในระดับยอดเยยี่ ม สงู กวา่ เป้าหมายท่ีกาหนด
- เด็กร้อยละ 98.70 มีพัฒนาการดา้ นสติปัญญา สอื่ สารได้ มที ักษะการคิดพนื้ ฐานและแสวงหาความรู้
ได้อยูใ่ นระดับยอดเยยี่ ม สงู กว่าเปา้ หมายทีก่ าหนด
มำตรฐำน - มำตรฐำนท่ี 1 คณุ ภำพเดก็
- มำตรฐำนที่ 3 กำรจดั ประสบกำรณ์ทีเ่ นน้ เด็กเปน็ สำคญั
สอคล้องกับยทุ ธศำสตร์ สช. ยุทธศาสตร์ที่ 1 : พฒั นาหลกั สูตร กระบวนการเรียนการสอน การวดั และประเมนิ ผล

สอดคลอ้ งกบั ตวั ชวี้ ัดกระทรวงศึกษำธกิ ำร

นโยบำยและจุดเนน้
1. จัดการศึกษาทุกระดับ ทุกประเภท โดยใช้หลักสตู รฐานสมรรถนะ รวมทัง้ แนวทางการจดั
การเรียนรู้เชิงรกุ และการวดั ประเมนิ ผลเพอ่ื พฒั นาผู้เรียน ท่ีสอดคล้องกบั มาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ
2. ส่งเสรมิ การพัฒนากรอบหลักสูตรระดบั ท้องถ่ินและหลักสูตรสถานศกึ ษาตามความตอ้ งการจาเป็นของกลุม่ เป้าหมาย

14

และแตกตา่ งหลากหลายตามบรบิ ทของพนื้ ที่
3. พฒั นาผู้เรียนใหม้ ีทักษะการคดิ วิเคราะห์ สามารถแกไ้ ขสถานการณ์เฉพาะหนา้ ไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ โดยจดั การ
เรียนร้เู ชิงรุก (Active Learning) จากประสบการณจ์ ริงหรือจากสถานการณ์จาลองผ่านการลงมอื ปฏิบัติ ตลอดจนจัดการ
เรียนการสอนในเชิงแสดงความคดิ เห็น
เพ่ือเปิดโลกทศั นม์ ุมมองรว่ มกนั ของผ้เู รยี นและครูให้มากขน้ึ
4. พฒั นาผู้เรยี นให้มคี วามรอบรแู้ ละทกั ษะชีวติ เพื่อเป็นเครื่องมือในการดารงชวี ติ และสร้างอาชีพ อาทิ การใชเ้ ทคโนโลยี
ดจิ ทิ ลั สุขภาวะและทศั นคติท่ีดีตอ่ การดูแลสุขภาพ
5. พฒั นาครูใหม้ ที กั ษะ ความรู้ และความชานาญในการใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ิทัล ปญั ญาประดษิ ฐ์
และภาษาองั กฤษ รวมท้ังการจัดการเรียนการสอนเพ่อื ฝึกทกั ษะการคดิ วิเคราะห์อยา่ งเป็นระบบและมีเหตผุ ลเป็นขัน้ ตอน
6. สง่ เสริมใหใ้ ชภ้ าษาท้องถ่ินรว่ มกบั ภาษาไทยเปน็ ส่ือจัดการเรียนการสอนในพนื้ ทท่ี ีใ่ ชภ้ าษาอย่างหลากหลาย เพื่อ
วางรากฐานใหผ้ ูเ้ รียนมพี ัฒนาการด้านการคิดวิเคราะห์ รวมทงั้ มที กั ษะการสื่อสารและใชภ้ าษาทีส่ ามในการตอ่ ยอดการ
เรยี นรูไ้ ด้อย่างมปี ระสิทธิภาพ
7. ปลูกฝังผู้เรียนให้มหี ลกั คดิ ทีถ่ ูกตอ้ งดา้ นคุณธรรม จริยธรรม และเปน็ ผ้มู คี วามพอเพยี ง วินยั สุจรติ จิตอาสา โดย
กระบวนการลูกเสอื และยวุ กาชาด
8. พฒั นาแพลตฟอรม์ ดิจทิ ลั เพอ่ื การเรียนรู้ และใช้ดิจทิ ลั เป็นเครื่องมือการเรียนรู้
9. เสริมสรา้ งการรบั รู้ ความเขา้ ใจ ความตระหนัก และส่งเสริมคณุ ลักษณะและพฤตกิ รรมทีพ่ งึ ประสงค์ดา้ นส่ิงแวดล้อม
10. สง่ เสรมิ การพัฒนาส่ิงประดษิ ฐแ์ ละนวตั กรรมท่เี ปน็ มติ รกบั สง่ิ แวดลอ้ ม ให้สามารถเป็นอาชีพและสร้างรายได้

ยุทธศำสตร์ท่ี 2 : พฒั นำครแู ละบคุ ลำกร คำ่ เปำ้ หมำย ผลสำเร็จ ระดบั คุณภำพ
โครงกำร : โครงกำรพฒั นำครสู ่มู อื อำชีพ 95.00 100 ยอดเยี่ยม
ค่ำเปำ้ หมำย/ผลสำเร็จ
ระดบั กำรศึกษำปฐมวยั 98.00 100 ยอดเย่ยี ม
95.00 100 ยอดเยยี่ ม
มำตรฐำนท่ี ๓ กำรจัดประสบกำรณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ 97.00 100 ยอดเย่ียม

3.1 จัดการเรียนรูผ้ ่านกระบวนการคิดและปฏิบตั จิ รงิ และ 98.00 ยอดเยี่ยม
สามารถนาไปประยุกตใ์ ช้ในชีวติ ได้

3.2 ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ แหล่งเรียนรทู้ เี่ อ้อื ตอ่ การเรยี นรู้

3.3 มีการบรหิ ารจดั การชนั้ เรียนเชิงบวก

3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเปน็ ระบบ และนาผลมา
พัฒนาผู้เรียน

3.5 มกี ารแลกเปลี่ยนเรยี นรู้และใหข้ อ้ มูลสะท้อนกลับเพ่ือพัฒนา
ปรบั ปรงุ การจดั การเรียนรู้

มาตรฐานการศึกษา - มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของเดก็

- มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารจัดการ

- มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณ์ทเ่ี นน้ เด็กเปน็ สาคญั

สอดคลอ้ งกับยุทศาสตร์ สช. - ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 การพฒั นาหลกั สตู ร การเรียนการสอน การวดั ผลประเมินผล

- ยุทธศาสตรท์ ี่ 2 การปฏิรปู ระบบทรพั ยากรเพื่อการศกึ ษา

- ยุทธศาสตร์ท่ี 3 การเสริมสร้างประสทิ ธิภาพการจดั การศกึ ษาโรงเรยี นเอกชน

สอดคลอ้ งกับตวั ชีว้ ดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

15

นโยบำยและจุดเน้น

- พัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการคดิ วิเคราะห์ สามารถแก้ไขสถานการณ์เฉพาะหน้าไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ โดยจดั การเรียนรู้เชงิ รกุ
(Active Learning) จากประสบการณ์จรงิ หรือจากสถานการณ์จาลองผ่านการลงมือปฏิบตั ิ ตลอดจนจดั การเรียนการสอนในเชงิ
แสดงความคดิ เห็น
เพ่ือเปดิ โลกทศั น์มุมมองรว่ มกนั ของผู้เรยี นและครใู หม้ ากขนึ้

- พฒั นาครูให้มีทกั ษะ ความรู้ และความชานาญในการใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ัล ปญั ญาประดิษฐ์
และภาษาองั กฤษ รวมท้ังการจดั การเรียนการสอนเพอ่ื ฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์อยา่ งเป็นระบบและมเี หตุผลเป็นข้นั ตอน

- พฒั นาแพลตฟอรม์ ดิจิทัลเพือ่ การเรยี นรู้ และใชด้ ิจทิ ลั เปน็ เครื่องมอื การเรียนรู้

- พฒั นาครทู กุ ระดบั ใหม้ ีทักษะ ความรทู้ จ่ี าเป็น เพ่ือทาหนา้ ทวี่ ทิ ยากรมืออาชพี (Train The Trainer) และขยายผลการพัฒนา
ผา่ นศนู ยพ์ ัฒนาศกั ยภาพบุคคลเพอื่ ความเป็นเลิศ (Human Capital Excellence Center: HCEC)

- ให้ผู้เรียน ครู ผ้บู ริหารทางการศึกษามแี ผนพัฒนารายบุคคลผา่ นแผนพัฒนารายบุคคลสู่ความเป็นเลศิ (Excellence Individual
Development Plan :EIDP)

ยุทธศำสตร์ที่ 3 : พฒั นำระบบกำรบริหำรจดั กำรสู่มำตรฐำนสำกล

โครงกำร : โครงกำรประกันคณุ ภำพภำยใน

คำ่ เป้ำหมำย/ผลสำเร็จ

มำตรฐำนท่ี 2 กระบวนกำรบริหำรและจดั กำร ค่ำเป้ำหมำย ผลสำเรจ็ ยอดเยยี่ ม

2.1 มีหลกั สตู รครอบคลุมพัฒนาการท้ัง 4 ดา้ นสอดคล้องกับ 4.84 5.00 ยอดเยย่ี ม

บรบิ ทของทอ้ งถนิ่

2.2 จดั ครูให้เพียงพอกบั ช้ันเรียน 4.61 5.00 ยอดเยย่ี ม

2.3 ส่งเสริมใหค้ รมู คี วามเช่ยี วชาญดา้ นการจัดประสบการณ์ 4.51 5.00 ยอดเยย่ี ม

2.4.จดั สภาพแวดล้อมและสอ่ื เพอ่ื การเรยี นรอู้ ย่างปลอดภยั และ 4.57 5.00 ยอดเยย่ี ม

เพียงพอ

2.5 ใหบ้ รกิ ารสอื่ เทคโนโลยีสารสนเทศและส่ือการเรยี นร้เู พือ่ 4.87 5.00 ยอดเยย่ี ม

สนับสนุนการจดั ประสบการณ์

2.6 มีระบบบริหารคุณภาพท่เี ปิดโอกาสให้ผู้เก่ียวขอ้ งทกุ ฝ่ายมี 4.84 5.00 ยอดเยยี่ ม

สว่ นรว่ ม

มาตรฐานการศึกษา - มาตรฐานที่ 2 กระวนการบรหิ ารและการจัดการ

สอดคล้องกบั ยุทศาสตร์ สช. - ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 การเสรมิ สรา้ งประสทิ ธิภาพการจัดการศกึ ษาโรงเรยี นเอกชน

- ยุทธศาสตรท์ ี่ 5 การส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบเพ่อื สร้างสงั คมแหง่ การเรียนรู้

- ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 7 การพฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการสง่ เสริมการศึกษาเอกชน

ยทุ ธศาสตร์ที่ 4 : สง่ เสรมิ การมีสว่ นรว่ มในการจดั การศกึ ษา

โครงการ : โครงการเซนตแ์ มรีสมั พนั ธช์ มุ ชน

คา่ เปา้ หมาย/ผลสาเร็จ

มีระบบบริหารคณุ ภาพที่เปดิ โอกาสให้ผู้เกีย่ วข้องทุกฝา่ ยมีสว่ นรว่ ม ระดับคุณภาพ 4.84

ผลสาเรจ็

มีระบบบริหารคุณภาพที่เปดิ โอกาสให้ผู้เก่ียวขอ้ งทกุ ฝ่ายมสี ว่ นร่วม ระดบั คณุ ภาพ 5.00 ประกอบด้วย 1)กาหนด

มาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษาที่สอดคลอ้ งกับมาตรฐานการศกึ ษาปฐมวัยและอตั ลกั ษณข์ องสถานศกึ ษา 2) จัดทา

แผนพฒั นาการศึกษาทสี่ อดรับกบั มาตรฐานที่สถานศึกษากาหนดและดาเนินการตามแผน 3) มกี ารประเมินผลและ

ตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศกึ ษา 4) มีการติดตามผลการดาเนนิ งาน และจดั ทารายงานผล การประเมินตนเอง

16

ประจาปีและรายงานผลการประเมนิ ตนเอง ใหห้ นว่ ยงานต้นสังกัด 5) นาผลการประเมินไปปรับปรงุ และพฒั นาคณุ ภาพ

สถานศึกษา โดยผ้ปู กครองและผเู้ กยี่ วขอ้ งทุกฝา่ ยมีส่วนรว่ ม

มาตรฐานการศึกษา - มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารจัดการ

- มาตรฐานที่ 3 การจดั ประสบการณท์ ีเ่ นน้ เด็กเปน็ สาคัญ

สอดคล้องกับยทุ ศาสตร์ สช. - ยทุ ธศาสตร์ที่ 4 การสง่ เสริมการมีสว่ นรว่ มในการจดั และสนบั สนนุ การศกึ ษา

- ยทุ ธศาสตร์ที่ 7 การพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การส่งเสริมการศกึ ษาเอกชน

สอดคลอ้ งกับตวั ชีว้ ดั กระทรวงศกึ ษาธิการ

นโยบำยและจุดเนน้

- จัดการศกึ ษาทุกระดับ ทุกประเภท โดยใช้หลกั สูตรฐานสมรรถนะ รวมทงั้ แนวทางการจัดการเรียนร้เู ชิงรกุ และการวัด

ประเมินผลเพอ่ื พฒั นาผู้เรยี น ทสี่ อดคลอ้ งกบั มาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ

- สง่ เสริมการพัฒนากรอบหลักสตู รระดับท้องถนิ่ และหลกั สูตรสถานศึกษาตามความตอ้ งการจาเป็นของกลุ่มเป้าหมายและ

แตกต่างหลากหลายตามบริบทของพืน้ ที่

- พัฒนาผู้เรียนให้มที กั ษะการคิดวเิ คราะห์ สามารถแกไ้ ขสถานการณเ์ ฉพาะหนา้ ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ โดยจัดการเรยี นรู้เชงิ รกุ

(Active Learning) จากประสบการณจ์ รงิ หรือจากสถานการณ์จาลองผา่ นการลงมือปฏิบัติ ตลอดจนจัดการเรียนการสอนในเชิง

แสดงความคดิ เห็นเพ่ือเปดิ โลกทศั นม์ มุ มองรว่ มกนั ของผู้เรยี นและครูใหม้ ากข้ึน

- พัฒนาผู้เรียนให้มคี วามรอบรู้และทกั ษะชวี ติ เพอ่ื เป็นเครอื่ งมือในการดารงชวี ติ และสร้างอาชีพ อาทิ การใชเ้ ทคโนโลยดี ิจทิ ัล

สุขภาวะและทศั นคตทิ ่ดี ีต่อการดูแลสขุ ภาพ

- พัฒนาแพลตฟอร์มดจิ ิทลั เพ่อื การเรียนรู้ และใชด้ ิจทิ ัลเปน็ เครอื่ งมือการเรยี นรู้

- เสริมสร้างการรบั รู้ ความเข้าใจ ความตระหนกั และส่งเสรมิ คณุ ลักษณะและพฤตกิ รรมทีพ่ งึ ประสงคด์ า้ นสิ่งแวดลอ้ ม

- ส่งเสรมิ การพัฒนาสิ่งประดษิ ฐแ์ ละนวตั กรรมทเ่ี ป็นมติ รกับสง่ิ แวดลอ้ ม ให้สามารถเปน็ อาชพี และสร้างรายได้

- สนบั สนุนกิจกรรมการป้องกันและปราบปรามการทจุ รติ และประพฤติมชิ อบ

1.2 ระดบั กำรศกึ ษำขนั้ พ้นื ฐำน

ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 : พฒั นาหลกั สูตร กระบวนการเรยี นการสอน การวดั และประเมนิ ผล

โครงกำร

1) โครงการส่งเสริมอตั ลกั ษณ์ของโรงเรียน 2) โครงการโรงเรียนศาสนสมั พนั ธ์ 3) โครงการเซนต์แมรสี ่งเสริม

สขุ ภาพอนามยั 4) โครงการแมรเี กมส์ 5) โครงการพัฒนาศกั ยภาพผูเ้ รียนตามแนวพหุปญั ญา 6) โครงการรกั การ

อ่านและการเรยี นรู้ 7) โครงการเรียนรู้แหลง่ เรียนร้นู อกสถานที่ 8) โครงการสหวทิ ยาการเพ่ือการเรียนรู้ 9)

โครงการราชธานีเก่า อขู่ า้ ว อนู่ า้ เลิศลา้ การกวี คนดีศรอี ยุธยา เลอคณุ คา่ มรดกโลก

ค่ำเป้ำหมำย/ผลสำเร็จ

1. ผลสมั ฤทธทิ์ ำงกำรเรยี น ค่ำเป้ำหมำย ผลสำเรจ็ ระดบั คณุ ภำพ

1.1 มคี วามสามารถในการอ่าน การเขยี น การสื่อสารและ 90.00 91.47 ดีเลศิ

การคดิ คานวณ

1.2 มคี วามสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คดิ อยา่ งมี 87.00 96.03 ดเี ลิศ

วิจารณญาณ อภปิ รายแลกเปลยี่ นความคิดเห็นและ

แกป้ ญั หา

1.3 มคี วามสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม 90.00 96.00 ดเี ลศิ

1.4 มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการ 98.00 99.14 ยอดเยี่ยม

สอ่ื สาร

1.5 มีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นตามหลักสูตรสถานศึกษา 94.00 99.97 ยอดเยีย่ ม

17

1.6 มคี วามรทู้ กั ษะพ้ืนฐาน และเจตคติทด่ี ีตอ่ งานอาชีพ 98.00 99.48 ยอดเย่ียม
2. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์
98.75 99.48 ยอดเยี่ยม
2.1 การมคี ณุ ลกั ษณะและคา่ นยิ มทด่ี ีตามท่สี ถานศึกษา
กาหนด 99.00 99.91 ยอดเยย่ี ม
2.2 ความภูมใิ จในทอ้ งถ่ินและความเปน็ ไทย 99.00 100 ยอดเยี่ยม
2.3 การยอมรบั ท่จี ะอยรู่ ว่ มกันบนความแตกตา่ งและ
หลากหลาย 98.00 96.81 ยอดเยยี่ ม
2.4 สขุ ภาวะทางร่างกายและจิตสังคม

มาตรฐาน - มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพผู้เรยี น
- มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนที่เนน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคัญ

สอคล้องกับยุทธศาสตร์ สช. ยุทธศาสตร์ที่ 1 : พฒั นาหลกั สตู ร กระบวนการเรียนการสอน การวดั และประเมนิ ผล

สอดคล้องกบั ตัวช้ีวดั กระทรวงศึกษำธกิ ำร

นโยบำยและจุดเน้น

1. จดั การศกึ ษาทกุ ระดบั ทุกประเภท โดยใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะ รวมท้งั แนวทางการจัด
การเรยี นรู้เชิงรุกและการวดั ประเมินผลเพือ่ พัฒนาผู้เรยี น ทส่ี อดคลอ้ งกับมาตรฐานการศกึ ษาแหง่ ชาติ

2. ส่งเสริมการพฒั นากรอบหลกั สตู รระดบั ทอ้ งถิน่ และหลักสูตรสถานศกึ ษาตามความตอ้ งการจาเปน็ ของกลุ่มเป้าหมายและ
แตกตา่ งหลากหลายตามบริบทของพ้ืนท่ี

3. พฒั นาผู้เรยี นให้มีทักษะการคิดวิเคราะห์ สามารถแก้ไขสถานการณเ์ ฉพาะหนา้ ไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ โดยจัดการเรียนรู้เชงิ
รกุ (Active Learning) จากประสบการณ์จรงิ หรอื จากสถานการณ์จาลองผา่ นการลงมอื ปฏบิ ัติ ตลอดจนจัดการเรยี นการสอนใน
เชงิ แสดงความคดิ เหน็ เพอื่ เปิดโลกทัศนม์ ุมมองรว่ มกันของผเู้ รียนและครใู ห้มากขนึ้

4. พัฒนาผเู้ รยี นใหม้ ีความรอบรูแ้ ละทักษะชีวติ เพ่อื เป็นเครือ่ งมอื ในการดารงชวี ติ และสรา้ งอาชพี อาทิ การใชเ้ ทคโนโลยีดิจิทัล
สขุ ภาวะและทัศนคติทีด่ ตี ่อการดูแลสุขภาพ

5. พัฒนาครใู ห้มีทักษะ ความรู้ และความชานาญในการใชเ้ ทคโนโลยีดิจิทัล ปญั ญาประดิษฐ์
และภาษาองั กฤษ รวมท้ังการจัดการเรียนการสอนเพือ่ ฝึกทกั ษะการคดิ วิเคราะหอ์ ย่างเป็นระบบและมีเหตผุ ลเป็นข้ันตอน

6. สง่ เสรมิ ใหใ้ ช้ภาษาท้องถ่ินร่วมกับภาษาไทยเป็นส่ือจัดการเรียนการสอนในพ้นื ที่ทใี่ ชภ้ าษาอยา่ งหลากหลาย เพอ่ื วางรากฐาน
ใหผ้ ้เู รียนมีพัฒนาการดา้ นการคิดวเิ คราะห์ รวมท้งั มีทักษะการสอื่ สารและใช้ภาษาท่ีสามในการต่อยอดการเรียนรู้ไดอ้ ยา่ งมี
ประสทิ ธภิ าพ

7. ปลูกฝงั ผู้เรียนให้มีหลกั คดิ ท่ีถูกตอ้ งด้านคุณธรรม จริยธรรม และเป็นผู้มคี วามพอเพยี ง วนิ ยั สุจริต จิตอาสา โดยกระบวนการ
ลกู เสือ และยวุ กาชาด

8. พัฒนาแพลตฟอร์มดิจทิ ลั เพื่อการเรียนรู้ และใช้ดิจทิ ลั เปน็ เครอ่ื งมือการเรียนรู้

9. เสริมสรา้ งการรับรู้ ความเข้าใจ ความตระหนกั และส่งเสริมคณุ ลักษณะและพฤติกรรมที่พงึ ประสงคด์ ้านสงิ่ แวดล้อม

10. ส่งเสริมการพัฒนาส่ิงประดิษฐแ์ ละนวัตกรรมท่เี ป็นมติ รกบั ส่ิงแวดล้อม ให้สามารถเปน็ อาชพี และสร้างรายได้

18

ยทุ ธศำสตรท์ ่ี 2 : พฒั นำครแู ละบุคลำกร

โครงกำร : โครงกำรพฒั นำครูส่มู อื อำชีพ

ค่ำเป้ำหมำย/ผลสำเร็จ

มำตรฐำนท่ี ๓ กำรจัดกำรเรียนกำรสอนท่ีเน้นผู้เรียนเปน็ สำคัญ ค่ำเปำ้ หมำย ผลสำเร็จ ระดับคณุ ภำพ

3.1 จดั การเรยี นรผู้ ่านกระบวนการคดิ และปฏบิ ตั ิจรงิ และสามารถ 95.00 100 ยอดเยยี่ ม

นาไปประยกุ ต์ใชใ้ นชีวติ ได้

3.2 ใชส้ ื่อ เทคโนโลยสี ารสนเทศ แหล่งเรยี นรู้ทเี่ อ้ือตอ่ การเรยี นรู้ 98.00 100 ยอดเยีย่ ม

3.3 มีการบรหิ ารจดั การช้นั เรยี นเชงิ บวก 95.00 100 ยอดเย่ยี ม

3.4 ตรวจสอบและประเมนิ ผูเ้ รียนอยา่ งเปน็ ระบบ และนาผลมา 97.00 100 ยอดเยี่ยม

พัฒนาผู้เรยี น

3.5 มีการแลกเปลี่ยนเรียนร้แู ละให้ขอ้ มลู สะทอ้ นกลบั เพือ่ พฒั นา 98.00 100 ยอดเย่ียม

ปรบั ปรุงการจัดการเรียนรู้

มาตรฐานการศึกษา - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผูเ้ รียน

- มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารจัดการ

- มาตรฐานท่ี 3 การจดั การเรียนการสอนท่ีเน้นผ้เู รียนเปน็ สาคัญ

สอดคลอ้ งกบั ยทุ ศาสตร์ สช. - ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 การพฒั นาหลักสตู ร การเรยี นการสอน การวดั ผลประเมนิ ผล

- ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 การปฏิรปู ระบบทรัพยากรเพ่ือการศกึ ษา

- ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 การเสรมิ สร้างประสิทธิภาพการจัดการศกึ ษาโรงเรียนเอกชน

สอดคล้องกบั ตัวชีว้ ัดกระทรวงศึกษาธกิ าร

นโยบำยและจุดเน้น

- พฒั นาผเู้ รยี นใหม้ ีทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ สามารถแกไ้ ขสถานการณ์เฉพาะหน้าไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ โดย

จดั การเรยี นรู้เชงิ รกุ (Active Learning) จากประสบการณจ์ ริงหรือจากสถานการณจ์ าลองผา่ นการลงมือปฏิบัติ

ตลอดจนจดั การเรียนการสอนในเชิงแสดงความคดิ เห็น

เพอ่ื เปดิ โลกทัศน์มุมมองร่วมกันของผ้เู รยี นและครใู ห้มากขึ้น

- พัฒนาครูให้มที ักษะ ความรู้ และความชานาญในการใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ปญั ญาประดษิ ฐ์ และภาษาองั กฤษ

รวมทั้งการจดั การเรียนการสอนเพื่อฝึกทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์อยา่ งเป็นระบบและมีเหตผุ ลเป็นข้นั ตอน

- พฒั นาแพลตฟอร์มดิจทิ ลั เพ่ือการเรยี นรู้ และใชด้ จิ ิทัลเป็นเครื่องมอื การเรยี นรู้

- พฒั นาครทู กุ ระดับใหม้ ีทกั ษะ ความรูท้ จี่ าเปน็ เพื่อทาหน้าทวี่ ิทยากรมืออาชพี (Train The Trainer) และขยาย

ผลการพัฒนาผา่ นศูนยพ์ ฒั นาศักยภาพบุคคลเพือ่ ความเปน็ เลศิ (Human Capital Excellence Center: HCEC)

- ให้ผเู้ รียน ครู ผบู้ ริหารทางการศึกษามีแผนพฒั นารายบคุ คลผ่านแผนพฒั นารายบุคคลสคู่ วามเปน็ เลศิ

(Excellence Individual Development Plan :EIDP)

19

ยทุ ธศำสตร์ท่ี 3 : พัฒนำระบบกำรบรหิ ำรจดั กำรสู่มำตรฐำนสำกล

โครงกำร : โครงกำรประกันคณุ ภำพภำยใน

คำ่ เป้ำหมำย/ผลสำเร็จ

มำตรฐำนที่ ๒ กระบวนกำรบริหำรและจดั กำร ค่ำเปำ้ หมำย ผลสำเร็จ ระดับคุณภำพ

2.1 มีเปา้ หมายวสิ ัยทศั นแ์ ละพันธกจิ ที่สถานศึกษากาหนดชดั เจน 4.70 5.00 ยอดเยย่ี ม

2.2 มีระบบบรหิ ารจดั การคณุ ภาพของสถานศกึ ษา 4.70 4.00 ยอดเยี่ยม

2.3 ดาเนนิ งานพัฒนาวชิ าการท่ีเนน้ คุณภาพผ้เู รยี นรอบดา้ นตาม 4.70 4.00 ยอดเยี่ยม

หลกั สตู รสถานศกึ ษาและทุกกลมุ่ เป้าหมาย

2.4 พฒั นาครูและบคุ ลากรให้มคี วามเชี่ยวชาญทางวชิ าชพี 4.80 5.00 ยอดเยย่ี ม

2.5 จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมทเ่ี อื้อตอ่ การ 4.60 4.00 ยอดเย่ยี ม

จัดการเรียนรู้อยา่ งมคี ณุ ภาพ

2.6 จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพอื่ สนบั สนุนการบรหิ าร 4.60 4.00 ยอดเยี่ยม

จดั การและการจดั การเรยี นรู้

มาตรฐานการศกึ ษา - มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ

สอดคลอ้ งกับยทุ ศาสตร์ สช. - ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 การเสรมิ สรา้ งประสิทธภิ าพการจดั การศกึ ษาโรงเรยี นเอกชน

- ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 5 การส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบเพ่อื สรา้ งสังคมแหง่ การเรยี นรู้

- ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 7 การพฒั นาระบบการบริหารจัดการสง่ เสรมิ การศกึ ษาเอกชน

ยุทธศาสตร์ที่ 4 : ส่งเสรมิ การมสี ว่ นรว่ มในการจดั การศกึ ษา

โครงการ : โครงการเซนต์แมรสี ัมพันธช์ ุมชน

ค่ำเปำ้ หมำย

มรี ะบบบรหิ ารจดั การคุณภาพของสถานศกึ ษา ระดบั คุณภาพ 4.70

ผลสำเรจ็

สถานศึกษามรี ะบบการบรหิ ารจดั การคุณภาพของสถานศกึ ษา ระดบั คุณภาพ 4.00 ซึง่ ตา่ กว่าเป้าหมายที่

สถานศึกษากาหนด มกี ารจดั ประชุมผปู้ กครอง ปกี ารศกึ ษาละ 2 ครั้ง เพอ่ื รายงานผลการดาเนินงานของ

สถานศกึ ษาในทกุ ๆภาคเรียน มีการจดั สง่ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ให้หนว่ ยงานต้นสังกัดในทุกปี

การศกึ ษามีการรายงานและเปดิ เผยผลการประเมนิ คุณภาพของผูเ้ รียนตอ่ คณะกรรมการสถานศกึ ษา ผ้ปู กครอง

ชุมชน หน่วยงานต้นสังกดั และผู้มีส่วนเกย่ี วขอ้ ง โดยการเผยแพร่ข้อมูลผ่านชอ่ งทางตา่ งๆ เช่น เวบ็ ไซตส์ ถานศกึ ษา

ไลนก์ ล่มุ และวารสารเซนต์แมรีสัมพนั ธ์ เป็นตน้

มาตรฐานการศึกษา - มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารจดั การ

- มาตรฐานที่ 3 การจดั ประสบการณท์ เ่ี น้นเด็กเป็นสาคญั

สอดคล้องกับยทุ ศาสตร์ สช. - ยุทธศาสตร์ที่ 4 การสง่ เสริมการมีสว่ นรว่ มในการจดั และสนบั สนุนการศกึ ษา

- ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 7 การพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การส่งเสรมิ การศกึ ษาเอกชน

สอดคล้องกับตัวชวี้ ดั กระทรวงศกึ ษาธิการ

20

นโยบำยและจดุ เนน้

- จดั การศกึ ษาทุกระดับ ทุกประเภท โดยใช้หลักสตู รฐานสมรรถนะ รวมทง้ั แนวทางการจดั การเรยี นรู้เชิงรกุ และ
การวัดประเมินผลเพอ่ื พฒั นาผูเ้ รียน ท่สี อดคลอ้ งกับมาตรฐานการศกึ ษาแหง่ ชาติ
- ส่งเสริมการพฒั นากรอบหลกั สูตรระดบั ท้องถนิ่ และหลักสตู รสถานศกึ ษาตามความต้องการจาเป็นของ
กลุ่มเป้าหมายและแตกตา่ งหลากหลายตามบรบิ ทของพืน้ ที่
- พฒั นาผู้เรียนใหม้ ที ักษะการคดิ วิเคราะห์ สามารถแก้ไขสถานการณ์เฉพาะหน้าไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ โดย
จดั การเรียนรูเ้ ชิงรกุ (Active Learning) จากประสบการณ์จรงิ หรอื จากสถานการณ์จาลองผา่ นการลงมือปฏิบตั ิ
ตลอดจนจดั การเรียนการสอนในเชงิ แสดงความคดิ เห็นเพือ่ เปิดโลกทัศนม์ มุ มองร่วมกนั ของผ้เู รียนครูใหม้ ากข้นึ
- พฒั นาผเู้ รยี นใหม้ คี วามรอบร้แู ละทักษะชวี ิต เพอื่ เป็นเครือ่ งมอื ในการดารงชวี ิตและสร้างอาชีพ อาทิ การใช้
เทคโนโลยดี ิจทิ ัล สขุ ภาวะและทศั นคติที่ดตี อ่ การดูแลสขุ ภาพ
- พัฒนาแพลตฟอรม์ ดจิ ทิ ลั เพ่ือการเรียนรู้ และใชด้ ิจทิ ัลเป็นเครอื่ งมือการเรยี นรู้
- เสรมิ สรา้ งการรบั รู้ ความเข้าใจ ความตระหนกั และส่งเสรมิ คุณลกั ษณะและพฤติกรรมทพี่ งึ ประสงคด์ ้าน
สิ่งแวดลอ้ ม
- ส่งเสริมการพฒั นาสง่ิ ประดษิ ฐ์และนวตั กรรมทีเ่ ป็นมิตรกับส่งิ แวดลอ้ ม ให้สามารถเป็นอาชีพและสรา้ งรายได้
- สนบั สนนุ กจิ กรรมการปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ รติ และประพฤติมิชอบ

*** ยทุ ธศาสตรข์ องสานกั งานคณะกรรมการสง่ เสรมิ การศึกษาเอกชน
ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 การพัฒนาหลักสตู ร การเรยี นการสอน การวัดและประเมนิ ผล
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 การปฏิรูประบบทรัพยากรเพอ่ื การศกึ ษาเอกชน
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 การเสรมิ สรา้ งประสทิ ธภิ าพการจดั การศกึ ษาของโรงเรียนเอกชน
ยทุ ธศาสตร์ที่ 4 การส่งเสรมิ การมีส่วนรว่ มในการจดั และสนบั สนนุ การศกึ ษาเอกชน
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 5 การสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบเพื่อสร้างสังคมแหง่ การเรยี นรู้
ยุทธศาสตร์ท่ี 6 การพฒั นาการศึกษาเอกชนในพ้ืนทีจ่ งั หวัดชายแดนภาคใต้
ยุทธศาสตรท์ ี่ 7 การพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การส่งเสรมิ การศึกษาเอกชน

2. ผลสัมฤทธทิ์ ำงกำรเรยี นของผเู้ รียน

2.1 ระดบั ปฐมวยั

ผลการพัฒนาเด็ก

จานวน ร้อยละของเด็กตามระดับคณุ ภาพ
ดี พอใช้ ปรบั ปรุง
ผลพัฒนาการดา้ น เด็ก จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ

ทง้ั หมด 230 99.56 1 0.44 - -
230 99.56 1 0.44 - -
1. ด้านรา่ งกาย 231 231 100 - - - -
229 98.70 2 0.86 - -
2. ด้านอารมณ-์ จติ ใจ 231

3. ด้านสังคม 231

4. ดา้ นสตปิ ญั ญา 231

21

2.2 ระดับกำรศกึ ษำขน้ั พ้ืนฐำน

ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ้นั พ้ืนฐาน (O-NET)

เปรียบเทียบผลการทดสอบระดบั ชาตขิ นั้ พนื้ ฐาน (O-NET) ของนักเรยี นชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 6

วชิ า จานวน จานวน คะแนนเฉลย่ี คะแนนเฉล่ียผลการ *** *** ***
นักเรยี น นักเรียน ระดบั ทดสอบ (O-NET) ผลตา่ ง
ท้ังหมด ทเี่ ข้าสอบ ประเทศ คะแนนเฉล่ยี ร้อยละของ แปลผล
ปี 2564 2562 2563 2564 คะแนนเฉล่ยี
(1) (2) (3) (4) พฒั นาการเทียบกับ
(5) รอ้ ยละ 3

(6)

คณติ ศาสตร์ 67 42 36.83 39.04 36.88 36.87 -0.01 -0.03 ไม่มีการพัฒนา

วิทยาศาสตร์ 67 42 34.31 39.71 41.46 38.51 -2.95 -7.12 ไมม่ กี ารพฒั นา

ภาษาไทย 67 42 50.38 52.89 60.98 53.07 -7.91 -12.97 ไมม่ ีการพัฒนา

ภาษาอังกฤษ 67 42 39.22 42.74 53.75 44.27 -9.48 -17.64 ไมม่ ีการพัฒนา

เปรียบเทยี บผลการทดสอบระดบั ชาตขิ ้นั พน้ื ฐาน (O-NET) ของนกั เรยี นช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 3

วชิ า จานวน จานวน คะแนนเฉล่ีย คะแนนเฉลย่ี ผลการ *** *** ***
นักเรียน นกั เรยี น ระดบั ทดสอบ (O-NET) ผลต่าง
ทง้ั หมด ท่ีเข้าสอบ ประเทศ คะแนนเฉลี่ย ร้อยละของ แปลผล
ปี 2564 2562 2563 2564 คะแนนเฉล่ีย
(1) (2) (3) (4) พฒั นาการเทยี บกบั
(5) ร้อยละ 3

(6)

คณิตศาสตร์ 30 12 24.47 26.56 4.00 21.19 17.19 42.75 มกี ารพัฒนา

วิทยาศาสตร์ 30 12 31.45 30.26 27.20 34.10 6.90 25.37 มีการพัฒนา

ภาษาไทย 30 12 51.19 57.48 65.00 60.48 -4.52 -6.95 ไมม่ ีการพฒั นา

ภาษาอังกฤษ 30 12 31.11 37.04 32.50 39.32 6.82 20.98 มกี ารพัฒนา

22

จำนวนและรอ้ ยละของนกั เรยี นทมี่ ผี ลกำรเรยี นระดบั 3 ข้ึนไป

ระดบั ประถมศึกษำ

ระดับผลกำรเรยี น

กลุม่ สาระ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6

จานวน จานวน จานวน จานวน จานวน จานวน
การเรยี นรู้/รายวชิ า จาน นักเรียนท่มี ี รอ้ ยละ จานวน นักเรยี นท่ี ร้อยละ จานวน นักเรยี นที่ ร้อยละ นักเรียนทม่ี ี จาน นักเรีย ร้อยละ
จาน นักเรียนที่มี รอ้ ยละ จานวน ผลระดบั 3 ร้อยละ วน นท่มี ีผล
นักเ ระดบั
วน ผลระดับ 3 นักเรียน มีผลระดบั นักเรยี น มผี ลระดับ วน ผลระดับ 3 นักเรยี ขน้ึ ไป รยี น 3 ขนึ้ ไป

นกั เ ขึ้นไป 3 ขึ้นไป 3 ข้นึ ไป นักเ ขนึ้ ไป น 67 49 73.13

รียน รยี น

ภาษาไทย 89 87 97.75 106 105 99.06 88 88 100 64 59 92.19 70 66 94.29

คณติ ศาสตร์ 89 89 100 106 100 94.34 88 87 88.86 64 59 91.19 70 51 73.66 67 37 56.06

วทิ ยาศาสตรแ์ ละ 89 89 100 106 106 100 88 88 100 64 59 100 70 67 95.71 67 63 94.03

เทคโนโลยี

สังคมศึกษา ศาสนา 89 89 100 106 106 100 88 88 100 64 63 98.44 70 68 97.14 67 63 94.03

และวฒั นธรรม

ประวัตศิ าสตร์ 89 89 100 106 106 100 88 88 100 64 63 98.41 70 68 97.10 67 62 92.54

สขุ ศกึ ษาและ 89 89 100 106 106 100 88 88 100 64 64 100 70 68 97.14 67 58 86.56

พลศึกษา

ศิลปะ 89 89 100 106 106 100 88 88 100 64 64 100 70 70 100 67 67 100

การงานอาชีพ 89 89 100 106 106 100 88 81 92.05 64 64 100 70 70 100 67 60 89.55

ภาษาต่างประเทศ 89 86 96.62 106 96 90.56 88 86 97.72 64 62 96.87 70 65 92.85 67 95 97.01

ระดับมธั ยมศึกษำตอนตน้

กล่มุ สาระ ม.1 ระดับผลการเรียน (ภาคเรียนที่ 1) ม.3
การเรยี นร/ู้ รายวิชา ม.2
จานวนนกั เรียน จานวนนกั เรียนที่
ภาษาไทย จานวน ท่มี ีผลระดับ 3 รอ้ ยละ จานวน จานวนนักเรยี นที่ รอ้ ยละ จานวน มผี ลระดบั 3ขน้ึ ไป ร้อยละ
คณิตศาสตร์ นักเรียน นกั เรียน มีผลระดบั 3ขึ้นไป นกั เรียน
วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ขน้ึ ไป 100 30 100
สังคมศึกษา ศาสนาและ 39 61.54 29 29 100 30 28 93.33
วัฒนธรรม 39 39 76.92 29 12 42.86 30 27 90.00
สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 39 89.74 29 24 82.79 30 29 96.67
ประวัติศาสตร์ 39 51 29 29 100 30
ศลิ ปะ
การงานอาชพี 39 30
ภาษาต่างประเทศ 39
39 35
39
39 30 76.92 29 25 86.20 30 28 93.33
38 97.44 29 26 89.66 30 29 96.67
39 100 29 28 96.55 30 30 100
19 48.72 29 29 100 30 30 100
17 61.53 29 6 17.28 30 6 26.66

23

กลุ่มสาระ ระดับผลการเรียน (ภาคเรียนท่ี 2)
การเรยี นร/ู้ รายวชิ า
ม.1 ม.2 ม.3
ภาษาไทย
คณิตศาสตร์ จานวน จานวนนักเรยี น รอ้ ยละ จานวน จานวนนกั เรียนท่ี ร้อยละ จานวน จานวนนกั เรียนที่ ร้อยละ
วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี นกั เรียน ท่ีมีผลระดับ 3 นักเรยี น มผี ลระดบั 3ขึน้ ไป นกั เรยี น มผี ลระดับ 3ขึน้ ไป
สังคมศกึ ษา ศาสนา และ 92.30 92.59 100
วัฒนธรรม 39 ขึ้นไป 27 25 30 30
สุขศึกษาและพลศกึ ษา
ประวตั ิศาสตร์ 36
ศลิ ปะ
การงานอาชพี 39 25 64.10 27 15 55.56 30 20 66.67
ภาษาต่างประเทศ
39 37 94.87 27 22 81.48 30 26 86.67

39 35 89.74 27 22 81.48 30 27 90.00

39 39 100 27 27 100 30 30 100
39 37 94.87 27 21 77.78 30 27 90.00
39 39 100 27 26 96.30 30 30 100
39 39 100 27 27 100 30 30 100
39 37 94.87 27 15 55.55 30 30 100

24

ผลกำรประเมนิ กำรทดสอบควำมสำมำรถพื้นฐำนของผูเ้ รยี นระดับชำติ (National Test : NT)

เปรยี บเทียบผลการทดสอบสมรรถนะของนกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3

สมรรถนะ จานวน จานวน คะแนนเฉลย่ี คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบ *** *** ***
นกั เรียน นกั เรยี น ระดบั สมรรถนะ ผลต่าง ร้อยละของ แปลผล
ท้ังหมด ทเี่ ขา้ สอบ ประเทศ พัฒนาการเทยี บกับ
ปี 2564 2562 2563 2564 คะแนนเฉลย่ี คะแนนเฉล่ีย รอ้ ยละ 3
(1) (2) (3) (4) (5)
(6)

ดา้ นคณติ ศาสตร์ 63 63 49.44 46.84 32.96 50.11 17.15 52.03 มพี ฒั นาการ
(Mathematics)

ด้านภาษาไทย 63 63 56.14 44.44 44.40 57.42 13.02 29.32 มีพัฒนาการ
(Thai Language)

รวมความสามารถ 63 63 52.80 45.64 38.68 54.17 15.49 40.04 มีพัฒนาการ
2ด้าน

ผลกำรประเมนิ ควำมสำมำรถดำ้ นกำรอ่ำนของผู้เรยี น (Reading Test : RT)

เปรยี บเทยี บผลการทดสอบความสามารถด้านการอ่านของนกั เรยี นช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 1

ความสามารถ จานวน จานวน คะแนนเฉล่ีย คะแนนเฉล่ียผลการทดสอบ *** *** ***
ด้านการอา่ น นกั เรยี น นักเรยี น ระดับ ด้านการอา่ น ผลต่าง ร้อยละของ แปลผล
ท้งั หมด ที่เขา้ สอบ ประเทศ คะแนนเฉล่ยี คะแนนเฉลีย่ พฒั นาการเทียบกบั
ปี 2564 2562 2563 2564 ร้อยละ 3
(1) (2) (3) (4) (5)
(6)
การอา่ นออกเสยี ง 89 89 69.95 53.41 53.94 51.78 -2.16 -4.00
ไมม่ ีพฒั นาการ
การอา่ นรูเ้ รื่อง 89 89 72.79 65.40 59.81 69.45 9.64 16.12
มีพฒั นาการ
รวม 2 ดา้ น 89 89 71.38 59.41 56.87 60.61 3.74 6.58
มพี ัฒนาการ

25

3. นวตั กรรม/แบบอยำ่ งท่ีดี (Innovation /Best Practice )

นวัตกรรม (Innovation) หมายถึง แนวคิดหรือวิธีการท่ีนามาใช้ในการปฏิบัติ เพ่ือแก้ปัญหาหรือ

เพื่อการพัฒนา ซ่ึงทาให้เกิดการเปล่ียนแปลงทางความคิด กระบวนการ หรือองค์กร อย่างสิ้นเชิงหรือเห็นได้ชัด

เป็นการพัฒนาต่อยอด เพ่ิมมูลค่า มีเป้าหมายในเชิงบวก ซึ่งมีเกณฑ์การพิจารณา คือมีความสร้างสรรค์ (C –

Creative), มีความใหม่ในบริบทนั้นๆ (N - New) มีคุณคา่ มปี ระโยชน์ (V – Value-Added) และปรับใช้ไดอ้ ย่าง

เหมาะสม (A - Adaptive)

แบบอย่างที่ดี (Best - Practice) หมายถึง รูปแบบวิธีปฏิบัติหรือข้ึนตอนการปฏิบัติที่ทาให้สถานศึกษา

ประสบความสาเร็จ หรือสู่ความเป็นเลิศตามเป้าหมาย เป็นท่ียอมรับในวงวิชาการหรือวิชาชีพ มีหลักฐานของ

ความสาเร็จปรากฏชัดเจน โดยมีการสรุปรูปแบบวิธีปฏิบัติหรือข้ันตอน การปฏิบัติตลอดจนความรู้และ

ประสบการณ์ มีร่องรอยหลักฐานเชิงประจักษ์ เผยแพร่ให้หน่วยงานภายในหรือภายนอกสามารถนาไปใช้

ประโยชน์

ชอื่ นวัตกรรม/แบบอย่ำงท่ดี ี มำตรฐำนด้ำน ระดับกำรศึกษำ

1. โรงเรยี นศาสนสมั พนั ธ์ 1 - การศึกษาปฐมวยั
- การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน

2. รปู แบบการจัดประสบการณ์แบบโครงการ 1 - การศึกษาปฐมวัย

บูรณาการ STEAMM EDUCATION

3. ระบบดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียนด้วยแอพลเิ คช่นั 2 - การศึกษาปฐมวัย

Checker - การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน

4. การบริหารจดั การดว้ ย STEM MODEL สู่ 2 - การศกึ ษาปฐมวยั

ประชาคมอาเซยี นในโรงเรียนเซนต์แมรี - การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน

5. การรายงานผลการดาเนนิ งานตามโครงการ 2 - การศึกษาปฐมวัย

อยา่ งละเอยี ด 5 บท - การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน

6. การประเมินเพ่อื พัฒนาดว้ ยแอปพลเิ คชน่ั 3 - การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน

7. การให้ความรกั ผา่ นการกอดสมั ผสั ตามแนวคดิ 3 - การศึกษาปฐมวยั

นโี อฮิวแมนนสิ

4. รำงวัลที่สถำนศกึ ษำได้รบั

4.1 ปกี ำรศกึ ษำปัจจบุ ัน

ช่ือรางวัล ประเภทรางวลั ระดบั หน่วยงาน หมายเหตุ

ทม่ี อบรางวลั

1. สถานศึกษาปลอดภัยดเี ด่น ดเี ด่น  ประเทศ กรมสวสั ดิการและ

คมุ้ ครองแรงงาน

2. ผลการประเมินคุณภาพ ประกันคุณภาพ  ประเทศ สานักงานรับรอง
ภายนอกรอบสี่ อยู่ในระดับดี สถานศึกษา มาตรฐานและ

เยี่ยมทุกดา้ น ทัง้ ระดับการศึกษา ประเมินคณุ ภาพ

ปฐมวยั และระดับการศกึ ษาข้ัน การศกึ ษา(องคก์ าร

พ้ืนฐาน มหาชน)

26

4.2 ปีกำรศกึ ษำทีผ่ ่ำนมำ

ช่ือรางวัล ปี พ.ศ. หนว่ ยงาน หมายเหตุ
ทไ่ี ดร้ บั รางวัล ท่ีมอบรางวัล
ไมม่ ี
1. โรงเรยี นรางวลั พระราชทาน 2555 กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

2. โรงเรียนมาตรฐานสสู่ ากล 2561 สถาบันวิจัยการเรยี นรู้

3. สถานศึกษาปลอดภยั ดีเด่น 2564 กรมสวสั ดิการและ
คุ้มครองแรงงาน

5. ดำเนนิ งำนตำมนโยบำยกระทรวงศกึ ษำธกิ ำร (ปรบั ตำมนโยบำยแต่ละป)ี

นโยบำยและจดุ เน้น มี

1. จัดการศกึ ษาทกุ ระดับ ทุกประเภท โดยใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะ รวมท้งั แนวทางการจดั 
การเรยี นรู้เชงิ รกุ และการวัดประเมินผลเพื่อพฒั นาผู้เรยี น ท่ีสอดคล้องกับมาตรฐานการศกึ ษา
แหง่ ชาติ 

2. สง่ เสริมการพัฒนากรอบหลกั สูตรระดบั ทอ้ งถน่ิ และหลักสูตรสถานศึกษาตามความต้องการ
จาเปน็ ของกล่มุ เปา้ หมายและแตกต่างหลากหลายตามบริบทของพ้ืนที่ 

3. พฒั นาผ้เู รยี นใหม้ ที กั ษะการคิดวเิ คราะห์ สามารถแกไ้ ขสถานการณเ์ ฉพาะหน้าได้อย่างมี
ประสทิ ธิภาพ โดยจัดการเรียนรเู้ ชงิ รุก (Active Learning) จากประสบการณ์จรงิ หรอื จาก 
สถานการณ์จาลองผ่านการลงมือปฏิบตั ิ ตลอดจนจดั การเรยี นการสอนในเชิงแสดงความคดิ เหน็
เพอ่ื เปิดโลกทศั นม์ ุมมองรว่ มกันของผู้เรยี นและครูให้มากข้นึ 

4. พัฒนาผู้เรยี นใหม้ ีความรอบรแู้ ละทักษะชีวติ เพือ่ เป็นเคร่ืองมอื ในการดารงชวี ติ และสรา้ งอาชีพ 
อาทิ การใช้เทคโนโลยดี ิจทิ ัล สุขภาวะและทศั นคตทิ ี่ดีตอ่ การดูแลสขุ ภาพ 

5. พฒั นาครูให้มีทักษะ ความรู้ และความชานาญในการใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ปัญญาประดิษฐ์ 
และภาษาองั กฤษ รวมท้ังการจดั การเรียนการสอนเพือ่ ฝึกทกั ษะการคิดวเิ คราะหอ์ ยา่ งเป็นระบบ
และมีเหตุผลเปน็ ข้นั ตอน 

6. ส่งเสริมใหใ้ ชภ้ าษาทอ้ งถิ่นร่วมกับภาษาไทยเปน็ สื่อจัดการเรียนการสอนในพนื้ ทที่ ่ีใช้ภาษาอย่าง
หลากหลาย เพ่อื วางรากฐานให้ผเู้ รยี นมีพฒั นาการด้านการคิดวเิ คราะห์ รวมทง้ั มที กั ษะการสือ่ สาร
และใชภ้ าษาท่สี ามในการตอ่ ยอดการเรียนรูไ้ ดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ

7. ปลูกฝังผู้เรียนให้มีหลกั คิดทถ่ี กู ตอ้ งด้านคุณธรรม จริยธรรม และเปน็ ผูม้ คี วามพอเพยี ง วนิ ยั
สุจรติ จิตอาสา โดยกระบวนการลกู เสือ และยวุ กาชาด

8. พฒั นาแพลตฟอร์มดิจทิ ลั เพ่ือการเรียนรู้ และใชด้ ิจิทลั เป็นเคร่ืองมอื การเรียนรู้

9. เสรมิ สร้างการรับรู้ ความเข้าใจ ความตระหนกั และส่งเสริมคุณลกั ษณะและพฤตกิ รรมที่พงึ
ประสงค์ด้านสง่ิ แวดลอ้ ม

10. ส่งเสรมิ การพฒั นาสิ่งประดิษฐแ์ ละนวตั กรรมทเี่ ปน็ มติ รกบั สง่ิ แวดล้อม ให้สามารถเป็นอาชีพ
และสร้างรายได้

11. สนับสนนุ กิจกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤตมิ ชิ อบ

12. พัฒนาครูทุกระดบั ใหม้ ที ักษะ ความรู้ท่ีจาเปน็ เพ่ือทาหนา้ ท่ีวิทยากรมืออาชีพ (Train The
Trainer) และขยายผลการพฒั นาผ่านศนู ย์พฒั นาศักยภาพบุคคลเพอื่ ความเป็นเลิศ (Human
Capital Excellence Center: HCEC)

13. ใหผ้ เู้ รยี น ครู ผู้บริหารทางการศกึ ษามีแผนพฒั นารายบุคคลผ่านแผนพฒั นารายบคุ คลสู่ความ
เป็นเลศิ (Excellence Individual Development Plan :EIDP)

27

6. ผลกำรประเมนิ คณุ ภำพภำยนอกของ สมศ. ท่ีผ่ำนมำ

รอบการประเมิน ระดบั ผลการประเมนิ
ระดับปฐมวัย ระดบั การศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน

รอบที่ 2 (พ.ศ. 2549 – 2553) ดีมาก ดีมาก

รอบท่ี 3 (พ.ศ. 2554 – 2558) ดี ดมี าก

รอบท่ี 4 (พ.ศ. 2559 – 2563) ดีเยย่ี ม ดีเยี่ยม

7. หน่วยงำนภำยนอกท่ีโรงเรียนเข้ำร่วมเปน็ สมำชกิ
 สมาคมคณะกรรมการประสานและสง่ เสริมการศึกษาเอกชน
 สมาคมสหพนั ธ์โรงเรียนเอกชนแห่งประเทศไทย
 สมาคมครสู ถานศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย
 สมาคมประถมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย
 สมาคมอนุบาลศกึ ษาแหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภฯ์
 สมาคมสภาการศกึ ษาคาทอลกิ แหง่ ประเทศไทย
 สมาคมครูโรงเรียนเอกชนคาทอลกิ แห่งประเทศไทย

8. โรงเรยี นได้ดำเนินงำนตำมนโยบำยกระทรวงศึกษำธกิ ำร
1. การปลูกฝังความมรี ะเบยี บวินยั ทัศนคตทิ ีถ่ กู ตอ้ งผ่านกระบวนการลกู เสอื เนตรนารี
2. การจดั การเรียนรู้เพอื่ สรา้ งทกั ษะพ้ืนฐานทเ่ี ชอื่ มโยงสูก่ ารสรา้ งอาชพี และการมงี านทา
3. การจดั การเรยี นการสอนที่ส่งเสรมิ การคดิ วเิ คราะห์ด้วยวธิ ีการ Active Learning
4. การจดั การเรยี นการสอนเพือ่ ฝึกทกั ษะการคดิ แบบมีเหตผุ ลและเปน็ ขน้ั ตอน (Coding)
5. การพัฒนาครูใหม้ คี วามชานาญในการจดั การเรยี นรูภ้ าษาองั กฤษและภาษาคอมพิวเตอร(์ Coding)
6. การจัดการเรยี นรูด้ ว้ ย STEAM Education
- สถานศกึ ษามีการจัดการเรียนการสอนแบบ STEAM Education
- สถานศึกษามีนวัตกรรมจากการเรียนรตู้ ามแนวทาง STEAM Education
7. การเรยี นภาษาองั กฤษเพือ่ ใชใ้ นการส่อื สารและเพ่มิ ทกั ษะสาหรบั ใช้ในการประกอบอาชีพ
8. การจดั การเรยี นร้ภู าษาตา่ งประเทศ (ภาษาทสี่ าม)
9. การส่งเสริมทกั ษะการอ่าน เขยี นภาษาไทยเพอื่ ใชเ้ ปน็ เครอ่ื งมือในการเรยี นรูภ้ าษาอ่นื

28

ส่วนที่ 4
ผลกำรประเมนิ ตนเองของสถำนศกึ ษำ

1. ผลกำรประเมนิ รำยมำตรฐำน ระดับปฐมวัย
มำตรฐำนท่ี 1 คุณภำพของเด็ก
จุดเนน้ เดก็ มพี ัฒนำกำรท้งั ๔ ดำ้ นเหมำะสมตำมวยั เตม็ ตำมศกั ยภำพ

กำรปฏิบตั งิ ำน จำนวนเดก็ (คน) *** ผลกำร
ไม่ เป้ำหมำย ผลกำรประเมนิ ประเมนิ
ประเด็นพจิ ำรณำ ทัง้ หมด ผำ่ นเกณฑ์ท่ี คุณภำพทไ่ี ด้
ปฏบิ ัติ ปฏิบตั ิ (รอ้ ยละ) กำหนด (ร้อยละ)
ยอดเย่ียม
1 มีพัฒนำกำรดำ้ นรำ่ งกำย แข็งแรง  97.50 231 230 99.56
มสี ขุ นสิ ัยที่ดี และดูแลควำม  97.00 227 98.26 ยอดเยี่ยม
ปลอดภยั ของตนเองได้  231 100

1.1 ร้อยละของเด็กมนี า้ หนัก สว่ นสงู ตาม 231 100
เกณฑ์มาตรฐาน  231 100

1.2 ร้อยละของเด็กเคล่อื นไหวรา่ งกาย  231 230 99.56
คลอ่ งแคล่ว ทรงตัวได้ดี ใชม้ อื และตา  231 100
ประสานสัมพันธไ์ ด้ดี  230 99.56
 230 99.56
1.3 ร้อยละของเด็กดแู ลรักษาสขุ ภาพ
อนามยั สว่ นตนและปฏิบัตจิ นเป็นนสิ ยั 231 100
229 99.13
1.4 รอ้ ยละของเด็กปฏบิ ัติตนตามข้อตกลง 231 100
เกย่ี วกับความปลอดภัย หลกี เลยี่ งสภาวะ
ทีเ่ สยี่ งต่อโรค ส่ิงเสพตดิ และระวงั ภยั จาก
บุคคล สิ่งแวดล้อม และสถานการณท์ ีเ่ สย่ี ง
อันตราย

2 มีพฒั นำกำรด้ำนอำรมณ์ จติ ใจ
ควบคุมและแสดงออกทำงอำรมณไ์ ด้

2.1 รอ้ ยละของเด็กร่าเรงิ แจ่มใส
แสดงอารมณ์ ความรสู้ ึกได้เหมาะสม

2.2 ร้อยละของเด็กรจู้ ักยบั ยั้งชง่ั ใจ
อดทนในการรอคอย

2.3 ร้อยละของเด็กยอมรับและพอใจใน
ความสามารถ และผลงานของตนเองและ
ผ้อู ืน่

2.4 รอ้ ยละของเด็กมีจิตสานกึ คา่ นิยมทีด่ ี

2.5 ร้อยละของเด็กมคี วามมั่นใจ กลา้ พดู
กล้าแสดงออก

2.6 ร้อยละของเด็กช่วยเหลือแบ่งปนั

กำรปฏิบตั งิ ำน จำนวนเด็ก (คน) *** ผลกำร
ผลกำรประเมิน ประเมิน
ประเด็นพิจำรณำ ปฏบิ ัติ ไม่ เป้ำหมำย ทัง้ หมด ผ่ำนเกณฑท์ ี่ คุณภำพทไี่ ด้
ปฏบิ ตั ิ (ร้อยละ) กำหนด (ร้อยละ)
2.7 รอ้ ยละของเด็กเคารพสิทธิ รหู้ น้าที่
รับผิดชอบ อดทนอดกล้ัน  230 99.56
2.8 รอ้ ยละของเด็กซ่ือสตั ยส์ ุจริต มีคณุ ธรรม
 231 100

29

จรยิ ธรรม ตามทส่ี ถานศกึ ษากาหนด

2.9 รอ้ ยละของเด็กมีความสุขกับศิลปะ  231 100

ดนตรี และการเคลอ่ื นไหว 231 231 100
100
3 มีพฒั นำกำรด้ำนสงั คม ช่วยเหลือ 231 100 ยอดเย่ียม
100
ตนเองและเปน็ สมำชิกท่ีดีของสงั คม 97.00 231 100 ยอดเย่ียม
231 100
3.1 รอ้ ยละของเด็กช่วยเหลอื ตนเอง  231 ผลกำร
100 ประเมนิ
ในการปฏบิ ัตกิ ิจวัตรประจาวนั มวี ินยั 231 98.70 คณุ ภำพทไ่ี ด้

ในตนเอง 231 98.26 ยอดเยีย่ ม
98.26
3.2 รอ้ ยละของเด็กประหยดั และพอเพยี ง  231 228 99.56
97.83
3.3 ร้อยละของเด็กมสี ่วนรว่ มดูแลรักษา  227
227 ***
ส่ิงแวดลอ้ มในและนอกห้องเรียน ผลกำรประเมิน
230
3.4 รอ้ ยละของเด็กมีมารยาทตามวฒั นธรรม  226 (ร้อยละ)

ไทย เช่น การไหว้ การยิม้ ทักทาย และ 100
99.56
มีสัมมาคารวะกับผใู้ หญ่ ฯลฯ
99.56
3.5 ร้อยละของเด็กยอมรับหรอื เคารพ 

ความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล เช่น ความคดิ

พฤติกรรม พื้นฐานครอบครวั เชอ้ื ชาติ

ศาสนา วฒั นธรรม เป็นตน้

3.6 ร้อยละของเด็กเลน่ และทางานรว่ มกบั 

ผู้อน่ื ได้ แก้ไขข้อขัดแยง้ โดยปราศจาก

การใชค้ วามรุนแรง

4 มีพัฒนำกำรด้ำนสติปญั ญำ สือ่ สำร 98.83

ได้ มที กั ษะกำรคิดพนื้ ฐำน และ

แสวงหำควำมรไู้ ด้

4.1 รอ้ ยละของเด็กสนทนาโต้ตอบและ 

เลา่ เรอ่ื งใหผ้ อู้ ่ืนเข้าใจ

4.2 รอ้ ยละของเด็กตั้งคาถามในส่ิงท่ี 

ตนเองสนใจหรอื สงสัย และพยายามคน้ หา

คาตอบ

4.3 รอ้ ยละของเด็กอ่านนทิ านและเลา่ เร่อื ง 

ทีต่ นเองอา่ นได้เหมาะสมกบั วยั

4.4 ร้อยละของเด็กมีความสามารถในการ 

คิดรวบยอด การคิดเชงิ เหตผุ ลทาง

คณิตศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตร์ การคิด

แกป้ ญั หาและสามารถตัดสินใจในเรื่อง

งา่ ย ๆ ได้

กำรปฏิบัติงำน จำนวนเด็ก (คน)

ประเด็นพจิ ำรณำ ไม่ เป้ำหมำย ทง้ั หมด ผ่ำนเกณฑท์ ี่
ปฏบิ ตั ิ ปฏบิ ตั ิ (รอ้ ยละ) กำหนด

4.5 รอ้ ยละของเด็กสร้างสรรคผ์ ลงานตาม  231
ความคดิ และจินตนาการ เชน่ งานศลิ ปะ  230
การเคล่อื นไหวท่าทาง การเล่นอิสระ ฯลฯ
ผลรวมผลการประเมนิ ทกุ ประเดน็ พจิ ารณา
4.6 ร้อยละของเด็กใชส้ อ่ื เทคโนโลยี เช่น จานวนประเด็นพจิ ารณา
แวน่ ขยาย แม่เหล็ก กลอ้ งดิจติ อล ฯลฯ เป็น
เครอ่ื งมือในการเรยี นรแู้ ละแสวงหาความรู้
ได้

สรุปผลกำรประเมนิ =

30

หมายเหตุ กรอกข้อมูลเฉพาะแถบสีขาว

วธิ ีคานวณ

*** ผลการประเมิน (ร้อยละ) = 100 x จานวนเดก็ ผา่ นเกณฑ์ทโี่ รงเรยี นกาหนด

จานวนเดก็ ทงั้ หมด

แปลผลการประเมนิ คุณภาพที่ได้

ร้อยละ 00.00 – 49.99 = กาลงั พฒั นา

รอ้ ยละ 50.00 – 59.99 = ปานกลาง

ร้อยละ 60.00 – 74.99 = ดี

ร้อยละ 75.00 – 89.99 = ดีเลิศ

ร้อยละ 90.00 – 100 = ยอดเยย่ี ม

จุดเนน้ และกระบวนกำรพัฒนำที่สง่ ผลต่อระดับคณุ ภำพของมำตรฐำนท่ี 1

1.1 มพี ัฒนำกำรด้ำนรำ่ งกำย แขง็ แรง มีสขุ นิสยั ท่ีดี และดูแลควำมปลอดภยั ของตนเองได้

สถานศึกษามีการกาหนดเป้าหมายคุณภาพของเดก็ ปฐมวัยให้เด็กมพี ัฒนาการด้านรา่ งกายแข็งแรง มีสุข

นิสยั ทดี่ ี และดแู ลความปลอดภัยของตนเองได้ ร้อยละ 97.00 (ระดบั ยอดเยี่ยม)

ผลการประเมนิ ตนเองในปกี ารศกึ ษา 2564 พบวา่ เด็กมีพฒั นาการด้านรา่ งกายแข็งแรง มีสุขนิสัยทีด่ ี และ

ดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ คิดเป็นร้อยละ 99.56 ซ่ึงสูงกว่า เป้าหมายที่สถานศึกษากาหนด สถานศึกษาได้

ดาเนินการพัฒนาการดา้ นร่างกายแข็งแรง มสี ุขนสิ ัยทีด่ ี และดแู ลความปลอดภยั ของตนเองได้ ดังนี้

สถานศึกษามกี ารพฒั นาคณุ ภาพของเด็กปฐมวัยให้เด็กมพี ัฒนาการดา้ นร่างกายแข็งแรง มีสุขนิสัยท่ดี ี และ

ดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ โดยดาเนินการตาม โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยในวัยอนุบาล แบ่งเป็น

กิจกรรมส่งเสริมสุขนิสัยที่ดีในการดูแลสุขภาพ กิจกรรมแมรีเกมส์ กิจกรรมกายบริหาร กิจกรรมตรวจสุขภาพ

ประจาปีโดยสานักประเมินสุขโภชนาการนักเรียน-นักศึกษา และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ส่งเสริมให้มีการดื่มนม

ตอนเช้าและมีอาหารว่างช่วงบ่ายทุกวัน เพื่อให้เด็กมีน้าหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ จัดกิจกรรมอาหารเสริมเพ่ิม

น้าหนักในทกุ ระดบั ชน้ั สาหรบั เด็กทีม่ ีน้าหนักต่ากว่าเกณฑ์ จดั กจิ กรรมกายบริหารยามเช้า จัดกิจกรรมเด็กไทยไร้

พุงในทุกระดับช้ันสาหรับเด็กที่มีน้าหนักเกินเกณฑ์ เพ่ือส่งเสริมให้เด็กมีน้าหนักส่วนสูงเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน

จัดกิจกรรมหลัก ๖ กิจกรรมและจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร ในรูปแบบผสมผสาน On Line On HandและOn Site

เพ่ือพัฒนาให้เด็กมีกล้ามเนื้อเล็ก กล้ามเน้ือใหญ่ ให้คล่องแคล่ว และสัมพันธ์กันและเหมาะสมกับวัย มีทักษะการ

เคล่ือนไหวตามวัย จัดกิจกรรมหนูน้อยฟันสะอาด เพื่อส่งเสริมให้เด็กรู้จักการรกั ษาสุขภาพฟัน โดยแปรงฟันหลัง

อาหารท่ีโรงเรียนทุกวันและจัดให้โรงพยาบาลบางปะอิน มาเคลือบฟลูออไรด์ ส่งเสริมให้เด็กมีสุขนิสัยที่ดี รู้จัก

รักษาสุขภาพอนามัย โดยให้เด็กล้างมือ หลังทากิจกรรมต่างๆ ก่อนรับประทานอาหารและหลังจากรับประทาน

อาหารกลางวนั เสรจ็ แล้วทกุ ครง้ั จดั กจิ กรรมต่อต้านยาเสพตดิ เพ่อื ให้เด็กรู้จกั สิ่งเสพตดิ ใหโ้ ทษตอ่ รา่ งกาย มีสขุ นิสยั

ในการดูแลสุขภาพของตนหลีกเล่ียงต่อสภาวะที่เส่ียงต่อโรค อุบัติภัยและส่ิงเสพติด มีการดาเนินการพัฒนา

ปรับปรุงหลักสูตร กาหนดหน่วยการเรียนรู้ที่ส่งเสริม และปลูกฝังการดูแล สุขภาพร่างกาย การออกกาลังกาย

เพื่อให้เด็กสามารถนาไปปฏิบัติได้จริงในชีวิตประจาวัน ส่งเสริมให้เด็กฝึกการตั้งคาถามเพื่อเรียนรู้เก่ียวกับวิธีการ

ดูแล สุขภาพร่างกายของตนเองและดาเนินการพัฒนาเด็ก การจัดกิจกรรมที่หลากหลาย การกาหนดกิจกรรม

ประจาวนั ของเดก็ ท้ังในรูปแบบกิจกรรมการเขา้ แถวเคารพธงชาติ การทาความสะอาดรา่ งกาย การพักผอ่ นและการ

รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ในช่วงเวลาต่าง ๆ มีอาหาร นม และผลไม้ให้นักเรียนทุกคนได้รับประทาน ให้เด็ก

ล้างมือก่อนรับประทานอาหาร และแปรงฟันหลังรับประทานอาหารกลางวัน ให้เด็กนอนหลับพักผ่อนทุกวันอย่าง

เหมาะสมตามวยั

31

จากการดาเนนิ การตามโครงการสง่ เสริมสุขภาพอนามัยในวยั อนบุ าล แบ่งเป็นกิจกรรมส่งเสริมสุขนสิ ัยที่ดี
ในการดูแลสุขภาพ กจิ กรรมแมรเี กมส์ กจิ กรรมกายบรหิ าร กจิ กรรมตรวจสขุ ภาพประจาปี การดาเนินการพัฒนา
ปรบั ปรุงหลักสูตรกาหนดหน่วยการเรียนรู้ การกิจกรรมต่าง ๆ และการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้เรอ่ื งสุขภาพอนามัย
จาการประเมินพัฒนาการ พบว่า เด็กมพี ัฒนาการด้านร่างกายท่ีเหมาะสมตามวัย เด็กมนี ้าหนักส่วนสูงเป็นไปตาม
เกณฑ์มาตรฐาน มีทักษะการเคลื่อนไหวตามวัยมีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพของตนหลีกเลี่ยงต่อสภาวะที่เสี่ยงต่อ
โรค อุบัติเหตุ ภัยและสิ่งเสพติด มีกล้ามเน้ือใหญ่ – เล็ก แข็งแรง สมส่วน มีความคล่องแคล่วในการเคลื่อนไหว
รา่ งกาย อยู่ในเกณฑก์ ารประเมินระดบั ยอดเยี่ยม

จากผลการประเมินในปีที่ผ่านมา พบว่า เด็กปฏิบัติตนในการดูแลรักษาสุขภาพอนามัยส่วนตัวและปฏิบัติ
ตนจนเป็นนิสัยยังไม่เป็นไปตามเป้าหมายท่ีคาดไว้ สถานศึกษาจงึ ได้ดาเนนิ การจัดโครงการโรงเรยี นส่งเสริมสุขภาพ
และจัดกิจกรรมการเรียนรู้เร่ืองสุขภาพอนามัย เพ่ือให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติและสามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวติ ประจาวันได้ดว้ ยตนเองและปฏิบัตจิ นเปน็ นสิ ยั

สถานศึกษาดาเนินการประเมนิ สมรรถภาพทางร่างกาย ประเมินพฒั นาการเด็กรายบุคคล และรายกลุ่ม มี
แบบบนั ทึกสขุ ภาพ แล้วจดั ทาสมุดรายงานประจาตัวเด็กเพอ่ื รายงานพัฒนาการด้านร่างกายของเดก็ เปน็ รายบุคคล
ให้ผู้ปกครองทราบทุกภาคเรียน และจัดทารายงานผลการประเมินคุณภาพของเด็กให้คณะกรรมการสถานศึกษา
ทราบ จดั ส่งรายงานการประเมนิ พฒั นาการเด็กท่จี บหลักสตู รปฐมวัยใหห้ นว่ ยงานตน้ สังกดั ในทกุ ปกี ารศึกษา

1.2 มพี ัฒนำกำรด้ำนอำรมณ์ จติ ใจ ควบคุม และแสดงออกทำงอำรมณไ์ ด้
สถานศึกษามีการกาหนดเป้าหมายคุณภาพของเด็กปฐมวัยให้เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม
และแสดงออกทางอารมณไ์ ด้ ร้อยละ 96.00 (ระดับยอดเยี่ยม)
ผลการประเมนิ ตนเองในปกี ารศึกษา 2564 พบว่าเดก็ มพี ฒั นาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ ควบคมุ
และแสดงออกทางอารมณ์ได้ คิดเป็นร้อยละ 99.56 ซ่ึงสูงกว่า เป้าหมายท่ีสถานศึกษากาหนด สถานศึกษาได้
ดาเนินการพัฒนาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณไ์ ด้ ดังนี้
สถานศึกษามีการพัฒนาคุณภาพของเด็กปฐมวัยให้เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และ
แสดงออกทางอารมณ์ได้ ผ่านจดั กจิ กรรมหลกั ๖ กิจกรรม ในรูปแบบผสมผสาน On Line On HandและOn Site
จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรและดาเนินการตามโครงการส่งเสริมศักยภาพเด็กตามแนวพหุปัญญา โครงการส่งเสริม
สุขภาพจิตและสุนทรีภาพเด็กปฐมวัยโครงการพัฒนาทักษะการสื่อสารและจินตนาการหนูน้อย กิจกรรมศิลปะ
สรา้ งสรรค์ ส่งเสริมกิจกรรมด้านดนตรแี ละกิจกรรมเคลอื่ นไหวทุกวนั สุขภาพดี สง่ เสริมกิจกรรมการเรียนร้รู ว่ มกัน
และกจิ กรรมสมาธยิ ามเช้า ฯลฯ และจัดกจิ กรรมพัฒนาการด้านอารมณ์ – จติ ใจ ผ่านกิจกรรมหลัก ๖ กิจกรรม
ประจาวันและกจิ กรรมเสรมิ หลักสูตร เช่น ศิลปะ ดนตรไี ทย ดนตรีสากล และว่ายนา้ เป็นต้น เพอื่ สง่ เสริมให้เดก็ ร่า
เริงแจ่มใส มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง มีความม่ันใจและกลา้ แสดงออก รจู้ ักควบคุมอารมณ์ตนเองได้เหมาะสมกับวัย
ชื่นชมศิลปะ ดนตรี การเคลื่อนไหว และ รักธรรมชาติและมีการกาหนดหน่วยการเรียนรู้ตัวฉันเอง และหน่วยวัน
สาคัญลงในหลักสูตร ซึ่งเปน็ การดาเนินการที่ส่งเสริมให้เดก็ มีพัฒนาการด้านอารมณ์ในแต่ละวยั อยา่ งเหมาะสม จัด
ให้เด็กได้เรียนรู้ในเรื่องคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ท่ีเหมาะสมกับเด็ก การอยู่ร่วมกันในสังคม
ส่งเสริมให้เด็กได้รู้จักความดีงามและความถูกต้อง สามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ สร้างความภาคภูมิใจใน
ด้านการปฏิบัติกิจวัตรประจาวัน การมีโอกาสได้รับความรู้สึก ความสนใจและความต้องการของตนเองและผู้อ่ืน
ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อธรรมชาติ และพัฒนาการของแต่ละคนตามศักยภาพ โดยใช้กิจกรรม
ประจาวัน ดังน้ี กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ กิจกรรมบทบาทสมมติ กิจกรรมสร้างสรรค์งานศิลปะ กิจกรรม
กลางแจง้ และการจดั กจิ กรรมต่างๆอยา่ งเหมาะสมตามวยั
จากการดาเนินการตรวจสอบการโครงการส่งเสริมศักยภาพเด็กตามแนวพหุปัญญา โครงการส่งเสริม
สุขภาพจิตและสุนทรีภาพเด็กปฐมวัยโครงการพัฒนาทักษะการสื่อสารและจินตนาการหนูน้อย กิจกรรมศิลปะ

32

สรา้ งสรรค์ ส่งเสรมิ กิจกรรมดา้ นดนตรแี ละกจิ กรรมเคลอื่ นไหวทกุ วนั สุขภาพดี ส่งเสริมกจิ กรรมการเรยี นรรู้ ว่ มกัน
และกจิ กรรมสมาธยิ ามเช้า ฯลฯ และจัดกจิ กรรมพัฒนาการด้านอารมณ์ – จิตใจ ผ่านกิจกรรมหลัก ๖ กิจกรรม
ประจาวันและกิจกรรมเสริมหลักสูตร เช่น ศิลปะ ดนตรีไทย ดนตรีสากล และว่ายน้า เป็นต้น การดาเนินการ
พัฒนาปรบั ปรงุ หลักสูตรกาหนดหนว่ ยการเรียนรู้ และการดาเนินการจัดกิจกรรมท่หี ลากหลาย ทั้งรปู แบบกิจกรรม
ประจาวันที่ส่งผลให้เด็ก มีความม่ันใจและกล้าแสดงออก รู้จักควบคุมอารมณ์ตนเองได้เหมาะสมกับวัย ชื่นชม
ศิลปะ ดนตรี การเคล่ือนไหว และรักธรรมชาติ มีคุณธรรม จริยธรรมและมีจิตใจที่ดีงามเหมาะสมกบั วัย พบว่าเด็ก
ร่าเริงแจ่มใส แสดงความรู้สึกอารมณ์ได้เหมาะสม รู้จักยับยั้งช่ังใจ อดทนในการรอคอย ยอมรับ และพอใจใน
ความสามารถ และผลงานของตนเองและผู้อื่น มีจิตสานึกและค่านิยมท่ีดี มีความมั่นใจ กล้าพูด กล้าแสดงออก
ช่วยเหลือแบ่งปัน เคารพสิทธิ รู้หน้าที่รับผิดชอบ อดทนอดกล้ัน ซื่อสัตย์สุจริต มีคุณธรรม จริยธรรมตามท่ี
สถานศกึ ษากาหนด อยูใ่ นเกณฑ์การประเมินระดับยอดเยย่ี ม

จากผลการประเมินในปีท่ีผ่านมา เด็กปฏิบัติตนในการรู้จักยับยั้งช่ังใจ อดทนในการรอคอย ยอมรับ และ
พอใจในความสามารถ และผลงานของตนเองและผู้อื่นยังไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่คาดไว้ สถานศึกษาจึงได้
ดาเนินการพัฒนา โครงการส่งเสริมศักยภาพเด็กตามแนวพหุปัญญา โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตและสุนทรีภาพ
เดก็ ปฐมวัยโครงการพัฒนาทักษะการสื่อสารและจินตนาการหนูน้อย โครงการวันสาคัญ กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
ส่งเสริมกิจกรรมด้านดนตรีและกิจกรรมเคล่ือนไหวทุกวันสุขภาพดี ส่งเสริมกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกัน และ
กิจกรรมสมาธิยามเช้า ฯลฯ และจัดกิจกรรมพัฒนาการด้านอารมณ์ – จิตใจ ผ่านกิจกรรมหลัก ๖ กิจกรรม
ประจาวันและกิจกรรมเสริมหลักสูตร การดาเนินการพัฒนาปรับปรุงหลักสูตรกาหนดหน่วยการเรียนรู้ และการ
ดาเนินการจัดกิจกรรมที่หลากหลาย ท้ังรูปแบบกิจกรรมประจาวันที่ส่งผลให้เด็ก มีความม่ันใจและกล้าแสดงออก
รู้จักควบคุมอารมณ์ตนเองได้เหมาะสมกับวัย รู้จักยับยั้งช่ังใจ อดทนในการรอคอย ยอมรับ และพอใจใน
ความสามารถ และผลงานของตนเองและผู้อื่น เพ่ือให้เด็กได้รับความรู้และฝึกปฏิบัติ เพื่อสามารถนาความรู้ไป
ประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ิตประจาวันไดด้ ้วยตนเอง

สถานศึกษาดาเนนิ การประเมินพฤติกรรมเดก็ รายบุคคล แบบประเมนิ พฤติกรรมเด็กรายกลุ่ม จัดทาสมุด
บันทึกการทาความดี แล้วจดั ทาสมุดรายงานประจาตัวเดก็ เพื่อรายงานพัฒนาการด้านอารมณ์ - จิตใจ ของเด็กเป็น
รายบุคคลให้ผู้ปกครองทราบทุกภาคเรียน และรายงานผลการจัดกิจกรรม ให้เด็กได้รับการพัฒนาทักษะทางด้าน
อารมณ์ – จิตใจให้ครบทุกด้านอย่างต่อเน่ือง และจัดทารายงานผลการประเมินคุณภาพของเด็กให้ผู้ปกครอง
คณะกรรมการบริหารสถานศึกษาทราบและ จัดส่งรายงานการประเมินพัฒนาการเด็กที่จบหลักสูตรปฐมวัยให้
หน่วยงานต้นสงั กัดในทกุ ปกี ารศกึ ษา

1.3 มีพัฒนำกำรด้ำนสงั คม ชว่ ยเหลอื ตนเองและเป็นสมำชกิ ที่ดีของสงั คม
สถานศึกษามีการกาหนดเป้าหมายคุณภาพของเด็กปฐมวยั ให้เด็กมีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง
และเปน็ สมาชกิ ทีด่ ีของสังคม รอ้ ยละ 97.00 (ระดบั ยอดเยยี่ ม)
ผลการประเมินตนเองในปีการศึกษา 2564 พบว่าเด็กมีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็น
สมาชิกทด่ี ีของสังคม คิดเป็นร้อยละ 100 สูงกวา่ เป้าหมายท่ีสถานศึกษากาหนด โรงเรยี นไดด้ าเนินการในประเด็น
การพจิ ารณา ดงั นี้
สถานศึกษามีการพัฒนาคุณภาพของเด็กปฐมวัยให้เด็กมีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็น
สมาชิกท่ีดีของสงั คม โดยดาเนินการจัดกิจกรรมหลกั 6 กิจกรรมในรปู แบบผสมผสาน On Line On HandและOn
Site และ โครงการส่งเสริมอัตลักษณ์ของโรงเรียน โครงการโรงเรยี นศาสนสัมพันธ์ โครงการเซนต์แมรีสัมพันธ์
ชมุ ชน กิจกรรมสมั ผัสชีวติ ผู้ยากไร้ Mary Star of The Week กิจกรรมเด็กดีศรีเซนต์แมรี และ กิจกรรมการออม
เป็นต้น ซึ่งเป็นการดาเนินการท่ีส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการด้านสังคมอย่างสมวัย เล่นและทางานร่วมกับผู้อื่นได้
มีจิตสาธารณะ รู้จักรักธรรมชาติ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม รู้จักขนบธรรมเนียมประเพณีไทย สามารถปฏิบัติตนตาม

33

หลักศาสนาที่ตนนับ ทางานร่วมกับผู้อื่นได้ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้ง โดยปราศจากการใช้ความรุนแรง รู้จักรัก
ธรรมชาติ อนรุ กั ษส์ ่ิงแวดลอ้ ม รูจ้ กั ขนบธรรมเนยี มประเพณีไทย สามารถปฏบิ ตั ติ นตามหลักศาสนาที่ตนนับถือ

จากการดาเนินการตามโครงการส่งเสริมอัตลักษณ์ของโรงเรียน โครงการโรงเรียนศาสนสัมพันธ์
โครงการเซนต์แมรีสัมพันธ์ชุมชน กิจกรรมสัมผัสชีวิตผู้ยากไร้ Mary Star of The Week กิจกรรมเด็กดีศรีเซนต์
แมรี และ กิจกรรมการออม เป็นต้น โดยการบันทึกหลังการจัดประสบการณ์และประเมินโครงการ พบว่า เด็ก
ช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจาวัน มีวินัยในตนเอง ประหยัดและพอเพียง มีส่วนร่วมดูแลรักษา
ส่ิงแวดล้อมในและนอกห้องเรียน มีมารยาทตามวัฒนธรรมไทย เช่น การไหว้ การย้ิม ทักทาย และมีสัมมาคารวะ
กับผใู้ หญ่ เป็นต้น ยอมรับหรือเคารพความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล เชน่ ความคิด พฤติกรรม พื้นฐานครอบครวั เช้ือ
ชาติ ศาสนา วัฒนธรรม เป็นต้น เล่นและทางานร่วมกบั ผู้อน่ื ได้ แก้ไขข้อ ขัดแย้ง โดยปราศจากการใชค้ วามรุนแรง
ตามทส่ี ถานศึกษากาหนด อยู่ในเกณฑก์ ารประเมนิ ระดับยอดเย่ยี ม

จากผลการประเมินในปีท่ผี ่านมา เดก็ ปฏิบตั ิตนในการปฏิบัติกิจวัตรประจาวัน มวี ินัยในตนเองยงั ไม่เป็นไป
ตามเป้าหมายที่คาดไว้สถานศึกษา จึงได้ดาเนินการปรับและพัฒนาโครงการส่งเสริมอัตลักษณ์ของโรงเรียน
โครงการโรงเรียนศาสนสัมพันธ์ และการดาเนินการจัดกิจกรรมท่ีหลากหลาย ทั้งรูปแบบกิจกรรมประจาวัน
กจิ กรรมสัมผสั ชวี ิตผูย้ ากไร้ Mary Star of The Week กิจกรรมเดก็ ดีศรีเซนต์แมรี และ กจิ กรรมการออม เปน็ ต้น
ส่งผลให้เด็กมีทักษะชีวิตทีดี มีวินัย รับผิดชอบ เชื่อฟัง คาส่ังสอนของพ่อแม่ ครูอาจารย์ มีความซ่ือสัตย์สุจริต
ช่วยเหลอื แบ่งปัน เล่นและทางานรว่ มกับผอู้ ่ืนได้

สถานศกึ ษาดาเนินการประเมนิ พฤตกิ รรมเดก็ รายบคุ คล แบบประเมนิ พฤตกิ รรมเด็กรายกลุ่ม จัดทาสมดุ
บนั ทกึ การทาความดี แลว้ จดั ทาสมุดรายงานประจาตวั เด็กเพ่ือรายงานพฒั นาการด้านสังคม ของเด็กเป็นรายบุคคล
ใหผ้ ปู้ กครองทราบทุกภาคเรียนให้ครบทุกดา้ นอยา่ งตอ่ เนอื่ ง และจัดทารายงานผลการประเมนิ คุณภาพของเด็กให้
คณะกรรมการบริหารสถานศึกษาทราบ จดั ส่งรายงานการประเมินพฒั นาการเด็กท่ีจบหลกั สูตรปฐมวัยให้
หน่วยงานต้นสังกัดในทกุ ปีการศกึ ษา

1.4 มีพัฒนำกำรด้ำนสติปัญญำ สอื่ สำรได้ มที กั ษะกำรคดิ พนื้ ฐำน และแสวงหำควำมรไู้ ด้
สถานศึกษามีการกาหนดเป้าหมายคุณภาพของเด็กปฐมวัยให้เดก็ มพี ฒั นาการดา้ นสตปิ ัญญา สื่อสารได้ มี
ทกั ษะการคดิ พนื้ ฐาน และแสวงหาความรไู้ ด้ ร้อยละ 98.83 (ระดับยอดเย่ียม)
ผลการประเมินตนเองในปีการศึกษา 2564 พบว่า เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทกั ษะการ
คิดพ้ืนฐาน และแสวงหาความรู้ได้ คิดเป็นร้อยละ 98.70 ซ่ึง ต่ากว่า เป้าหมายที่สถานศึกษากาหนด โดยได้
ดาเนนิ การในประเด็นการพิจารณา ดงั นี้
สถานศึกษามีการพัฒนาคุณภาพของเด็กปฐมวัยใหเ้ ด็กมพี ัฒนาการด้านสติปญั ญา สื่อสารได้ มีทักษะการ
คิดพื้นฐาน และแสวงหาความรู้ได้โดยดาเนินการจัดกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรมในรูปแบบผสมผสาน On Line On
HandและOn Site ดาเนินการตาม โครงการนักวิทยาศาสตรน์ ้อย โครงการส่งเสริมศักยภาพผ้เู รียนตามแนวพหุ
ปัญญา โครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านและการใฝ่รู้ โครงการเรียนรู้โดยการทัศนศึกษา โครงการพัฒนาทักษะ
การสื่อสารและจินตนาการหนูน้อย โครงการขับเคล่ือนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษาและโครงการวัน
แห่งความสาเร็จ กิจกรรม Cooking กิจกรรม Book &Drink Shop และกิจกรรมการจัดประสบการณ์แบบ
Project Approach บูรณการ STEAMM ซึ่งกิจกรรมโครงการเหล่านี้จะช่วยส่งเสริมให้เด็กมีความคิดสร้างสรรค์
มีจินตนาการ รักการเรียนรู้ มีความสุขในการทากิจกรรม ได้แสดงออกและมีความภูมิใจในผลงานของตนเอง
และผู้อ่ืนได้เป็นอย่างดี สามารถถ่ายทอดความคิดและจินตนาการ ความคิดสร้างสรรค์ผลงานท่ีมีรายละเอียด
แปลกใหม่และหลากหลาย ช่วยให้เด็กรู้จักใช้ภาษาในการส่ือสารที่ดีและยังส่งเสริมทักษะกระบวนการทาง
วทิ ยาศาสตร์และคณติ ศาสตร์ เด็กมเี จตคติทดี่ ีในการเรียนรู้ ร้จู ักแสวงหาความรดู้ ว้ ยตนเองไดเ้ หมาะสมกับวัย

34

จากการตรวจสอบโครงการนักวิทยาศาสตร์น้อย โครงการส่งเสริมศักยภาพผู้เรียนตามแนวพหุปัญญา
โครงการส่งเสริมนิสัยรักการอา่ นและการใฝ่รู้ โครงการเรียนรู้แหลง่ เรยี นรู้นอกสถานท่ี โครงการพัฒนาทักษะการ
สื่อสารและจินตนาการหนูน้อย โครงการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษาและโครงการวันแห่ง
ความสาเร็จ กิจกรรม Cooking กิจกรรม Book &Drink Shop และกิจกรรมการจัดประสบการณ์แบบ Project
Approach บูรณการ STEAMM ส่งผลให้เด็กสนทนาโต้ตอบและเล่าเรื่องให้ผู้อ่ืนเข้าใจ ตั้งคาถามในสิ่งท่ีตนเอง
สนใจหรือสงสัย พยายามค้นหาคาตอบ อ่านนิทานและเล่าเรื่องที่ตนเองอ่านได้เหมาะสมกับวัย มีความสามารถใน
การคิด รวบยอด การคิดเชิงเหตุผลทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ การคิดแก้ปัญหาและสามารถตัดสินใจใน
เรื่อง ง่ายๆ ได้ สร้างสรรค์ผลงานตามความคิดและจินตนาการ เช่น งานศิลปะ การเคล่ือนไหวท่าทาง การเล่น
อสิ ระ เป็นตน้ และใช้สอ่ื เทคโนโลยี เช่น แวน่ ขยาย แม่เหล็ก กล้องดจิ ิตอล เป็นต้น เป็นเครอ่ื งมอื ในการเรยี นรแู้ ละ
แสวงหาความร้ไู ดต้ ามท่สี ถานศกึ ษากาหนด อยูใ่ นเกณฑก์ ารประเมินระดบั ยอดเย่ียม

ผลการประเมินในปที ผ่ี า่ นมาเด็กปฏิบัตติ นดา้ นความสามารถในการคิด รวบยอด การคดิ เชงิ เหตุผลทาง
คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ การคิดแก้ปัญหาและสามารถตัดสินใจในเร่อื ง งา่ ยๆ ยังไม่เปน็ ไปตามเป้าหมายทีค่ าด
ไว้สถานศึกษา จึงได้ดาเนินการปรับและพัฒนา โครงการนักวิทยาศาสตร์น้อย โครงการส่งเสริมศักยภาพผู้เรียน
ตามแนวพหุปัญญา โครงการพัฒนาทกั ษะการสื่อสารและจินตนาการหนูนอ้ ย โครงการขับเคล่ือนปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียงในสถานศึกษา และกิจกรรมการจัดประสบการณ์แบบ Project Approach บูรณการ STEAMM ส่งผลให้
เด็กมีความสามารถในการคิด รวบยอด การคิดเชิงเหตุผลทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ การคิดแก้ปัญหาและ
สามารถตัดสินใจในเร่ือง ง่ายๆ ได้ และเพ่ือส่งเสริมให้เด็ก มีความคิดพื้นฐานในการเรียนรู้ มีทักษะกระบวนการ
ด้านตา่ ง ๆ ใหเ้ ดก็ รู้จกั ใช้ภาษาในการสื่อสารที่ดี มีความคดิ รวบยอดเกยี่ วกับส่งิ ต่าง ๆ สามารถถ่ายทอดความคิด
และจินตนาการมีความคิดสร้างสรรค์ท่ีเกิดจากประสบการณ์การเรียนรู้ มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และ
คณิตศาสตร์ ทเ่ี หมาะสมกบั วัย

สถานศึกษาประเมินคุณภาพจากแบบประเมินพฤติกรรมเด็กรายบุคคล แบบประเมินพฤติกรรมเด็กราย
กลุม่ แบบสรุปผลการดาเนนิ งานโครงการและกิจกรรมแลว้ จัดทาสมุดรายงานประจาตวั เดก็ เพอ่ื รายงานพัฒนาการ
ด้านสติปัญญาของเด็กเป็นรายบุคคลให้ผู้ปกครองทราบทุกภาคเรียน และจัดทารายงานผลการประเมินคุณภาพ
ของเด็กให้คณะกรรมการบริหารสถานศึกษาทราบ และจัดส่งรายงานการประเมินพัฒนาการเด็กที่จบหลักสูตร
ปฐมวยั ให้หนว่ ยงานตน้ สังกัดในทกุ ปีการศึกษา

มำตรฐำนท่ี 2 กระบวนกำรบริหำรและกำรจดั กำร

ประเด็นพิจำรณำ กำรปฏบิ ตั ิงำน *** ผลกำรประเมนิ
ผลสำเร็จ (ขอ้ ) คุณภำพท่ีได้
ปฏบิ ตั ิ ไม่ปฏิบตั ิ
5 ยอดเยี่ยม
1 มหี ลกั สูตรครอบคลมุ พฒั นาการทัง้ ส่ดี า้ น สอดคล้องกบั บริบทของ

ทอ้ งถน่ิ

1.1 มหี ลักสูตรสถานศกึ ษาทีย่ ืดหยนุ่ และสอดคลอ้ งกบั หลักสูตร  5 35
การศกึ ษาปฐมวัย  5
1.2 ออกแบบการจัดประสบการณท์ ่เี ตรยี มความพร้อมและไม่เรง่ รดั  ยอดเย่ียม
วิชาการ  5 ยอดเยี่ยม
1.3 ออกแบบการจดั ประสบการณ์ท่ีเน้นการเรียนรผู้ า่ นการเล่น และ
การลงมือปฏิบัติ (Active learning)  *** ยอดเย่ียม
1.4 ออกแบบการจัดประสบการณท์ ่ีตอบสนองความต้องการและ ผลสำเรจ็ (ข้อ)
ความแตกต่างของเด็กปกตแิ ละกลุ่มเป้าหมายเฉพาะทีส่ อดคล้องกับ  ผลกำรประเมิน
วถิ ีชวี ิตของครอบครวั ชมุ ชนและทอ้ งถ่ิน  5 คณุ ภำพที่ได้
1.5 มกี ารประเมนิ ตรวจสอบ และปรับปรุง / พัฒนาหลกั สูตรอย่าง 
ตอ่ เน่ือง  ดีเลศิ
2 จดั ครใู หเ้ พยี งพอกบั ชนั้ เรียน 

2.1 จัดครูครบชัน้ เรียน 

2.2 จดั ครูให้มคี วามเหมาะสมกับภารกจิ การจดั ประสบการณ์ 

2.3 จดั ครูไมจ่ บการศกึ ษาปฐมวยั แต่ผ่านการอบรมการศกึ ษาปฐมวัย 

2.4 จัดครูจบการศกึ ษาปฐมวัย 

2.5 จัดครจู บการศึกษาปฐมวยั และผา่ นการอบรมการศึกษาปฐมวัย 

3 สง่ เสรมิ ให้ครูมีความเช่ยี วชาญด้านการจดั ประสบการณ์
กำรปฏบิ ัติงำน
3.1 มีการพัฒนาครแู ละบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถในการ
วเิ คราะหแ์ ละออกแบบหลกั สตู รสถานศกึ ษา ปฏิบตั ิ ไมป่ ฏิบตั ิ
3.2 สง่ เสริมครใู ห้มที ักษะในการจดั ประสบการณ์และการประเมิน
พัฒนาการเดก็ 
3.3 ส่งเสรมิ ครูใชป้ ระสบการณส์ าคัญในการออกแบบการจดั กจิ กรรม 
จดั กิจกรรม สงั เกตและประเมนิ พฒั นาการเด็กเป็นรายบคุ คล 
3.4 ส่งเสริมให้ครมู ปี ฏสิ มั พันธ์ท่ีดกี ับเด็กและครอบครวั

3.5 ส่งเสรมิ ใหค้ รพู ัฒนาการจัดประสบการณ์โดยใช้ชมุ ชนแห่งการ
เรยี นรูท้ างวชิ าชพี (PLC)
4 จดั สภาพแวดลอ้ มและสอื่ เพื่อการเรียนร้อู ย่างปลอดภยั
และเพียงพอ
4.1 จดั สภาพแวดล้อมภายในห้องเรยี นทค่ี านึงถึงความปลอดภยั

4.2 จดั สภาพแวดล้อมภายนอกห้องเรยี นท่คี านึงถึงความปลอดภัย

4.3 ส่งเสรมิ ใหเ้ กดิ การเรียนร้ทู เี่ ป็นรายบุคคลและกล่มุ เลน่ แบบ
ร่วมมอื รว่ มใจ
4.4 จัดให้มมี ุมประสบการณห์ ลากหลาย มีสอ่ื การเรยี นรู้ ทป่ี ลอดภัย
และเพยี งพอ เช่น ของเลน่ หนังสือนทิ าน สอื่ จากธรรมชาติ สอื่
สาหรบั เดก็ มดุ ลอด ปีนปา่ ย สือ่ เทคโนโลยกี ารสบื เสาะหาความรู้

ประเดน็ พิจำรณำ

4.5 จดั ห้องประกอบท่ีเอ้ือต่อการจัดประสบการณ์และพัฒนาเด็ก

5 ให้บรกิ ารสอ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศและส่ือการเรียนรู้เพอื่
สนับสนุนการจดั ประสบการณ์

5.1 อานวยความสะดวกและให้บริการส่อื เทคโนโลยีสารสนเทศ วสั ดุ
อุปกรณแ์ ละส่อื การเรยี นรู้
5.2 พัฒนาครใู หม้ คี วามรคู้ วามสามารถในการผลติ และใชส้ ่ือในการ
จัดประสบการณ์
5.3 มกี ารนเิ ทศติดตามการใช้สอ่ื ในการจัดประสบการณ์

36

5.4 มีการนาผลการนิเทศตดิ ตามการใช้สื่อมาใชเ้ ปน็ ขอ้ มูลในการ  5 ยอดเย่ียม
พฒั นา  5 ยอดเยี่ยม

5.5 ส่งเสรมิ สนบั สนนุ การเผยแพรก่ ารพฒั นาสื่อ และนวัตกรรมเพอื่ 
การจดั ประสบการณ์ 

6 มีระบบบริหารคุณภาพที่เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมี 
ส่วนรว่ ม

6.1 กาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาทสี่ อดคล้องกับ
มาตรฐานการศกึ ษาปฐมวัยและอัตลกั ษณข์ องสถานศึกษา
6.2 จัดทาแผนพัฒนาการศกึ ษาท่สี อดรบั กบั มาตรฐานทส่ี ถานศึกษา
กาหนดและดาเนินการตามแผน
6.3 มกี ารประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา

6.4 มกี ารติดตามผลการดาเนนิ งาน และจดั ทารายงานผล
การประเมนิ ตนเองประจาปี และรายงานผลการประเมนิ ตนเอง
ใหห้ นว่ ยงานตน้ สงั กดั

6.5 นาผลการประเมินไปปรบั ปรงุ และพัฒนาคณุ ภาพสถานศึกษา 
โดยผูป้ กครองและผเู้ ก่ียวข้องทุกฝา่ ยมีส่วนรว่ ม

7 เพิ่มเตมิ ประเด็นพิจารณาได้

7.1-7.5

สรปุ ผลกำรประเมิน = ผลรวมผลสาเรจ็ ทกุ ประเดน็ พจิ ารณา

จานวนประเด็นพิจารณา

หมำยเหตุ กรอกข้อมูลเฉพำะแถบสขี ำว

*** ผลสาเร็จ = จานวนข้อทปี่ ฏบิ ตั ใิ นแตล่ ะประเด็นพิจารณา

แปลผลกำรประเมินคณุ ภำพทไ่ี ด้ ค่ำเฉล่ยี ผลกำรประเมินคณุ ภำพท่ไี ด้
ปฏบิ ัติ 1 ขอ้ ได้ระดับคณุ ภาพ กาลงั พัฒนา 1.00 – 1.49 ระดบั คุณภาพ กาลงั พัฒนา
ปฏบิ ัติ 2 ข้อ ไดร้ ะดับคณุ ภาพ ปานกลาง 1.50 –2.49 ระดับคุณภาพ ปานกลาง
2.50 – 3.49 ระดบั คุณภาพ ดี
ปฏบิ ตั ิ 3 ข้อ ไดร้ ะดับคุณภาพ ดี 3.50 – 4.49 ระดับคณุ ภาพ ดีเลิศ
ปฏิบตั ิ 4 ขอ้ ได้ระดับคณุ ภาพ ดีเลิศ 4.50 – 5.00 ระดบั คณุ ภาพ ยอดเยี่ยม
ปฏบิ ัติ 5 ข้อ ไดร้ ะดับคณุ ภาพ ยอดเย่ียม

จดุ เน้นและกระบวนกำรพฒั นำท่ีสง่ ผลตอ่ ระดบั คุณภำพของมำตรฐำนที่ 2

จุดเน้น กำรบรหิ ำรสถำนศกึ ษำแบบมสี ่วนรว่ มสง่ เสริมพัฒนำกำรเด็ก ๔ ด้ำนสมวยั เตม็ ตำมศกั ยภำพ

2.1 โรงเรยี นมหี ลักสตู รครอบคลุมพัฒนำกำรท้งั 4 ด้ำน สอดคลอ้ งกบั บริบทของท้องถิ่น
ผลการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2564 พบว่าโรงเรียนมีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน
สอดคลอ้ งกับบริบทของทอ้ งถน่ิ ระดบั คุณภาพ 5.00 ซึ่งสูงกว่าเป้าหมายที่สถานศึกษากาหนด โดยได้ดาเนนิ การใน
ประเดน็ การพจิ ารณา ดงั นี้
การจัดการศึกษาปฐมวัยของโรงเรียนเซนต์แมรี ได้มีการกาหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจของ
สถานศึกษาไว้อย่างชัดเจน มีองค์ประกอบที่สาคัญเพ่ือท่ีจะขับเคลื่อนการศึกษาระดับปฐมวัยได้แก่ การพัฒน า
วิชาการท่ีเน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 มีการพัฒนาหลักสูตร
การศกึ ษาปฐมวัยใหส้ อดคลอ้ งกับบรบิ ทของท้องถนิ่ เปน็ หลกั สตู รที่มุ่งพฒั นาเด็กทุกด้าน ท้ังดา้ นรา่ งกาย อารมณ์
จติ ใจ สังคมและสติปัญญา ตามแนวพหุปัญญา เพ่ือให้ผเู้ รียนมีความสุขในการเรียนรู้ มีหลักสตู รปฐมวยั ท่ียืดหยุ่น

37

และสอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษาเป็นรูปแบบการจัดประสบการณ์ ท่ีก่อให้เกิดการเตรียมความพร้อม เน้น
การเรยี นรผู้ า่ นการเล่นและการลงมอื ปฏิบัติด้วยตนเอง สอดคล้องกบั วถิ ีชีวิตของครอบครวั ชมุ ชนและท้องถ่นิ

สถานศึกษามกี ารพัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวัยในรปู แบบหลักสูตรบรู ณาการที่มีความเหมาะสมกับ
วัยของเด็ก และครอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน โดยให้คณะกรรมการจัดทาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยของ
สถานศึกษา ซ่ึงประกอบด้วยผู้มีส่วนเกี่ยวข้องหลายฝ่าย สถานศึกษาออกคาส่ังแต่งต้ังคณะกรรมการจัด ทา
หลักสูตรของสถานศึกษาระดับปฐมวัย โดยทุกฝ่ายให้ความร่วมมือในการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยเป็น
อย่างดี ช่วยกันตรวจสอบ และดาเนินการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ท่ีต้ังไว้ ผ่านการเห็นชอบจากทุกฝ่าย มีการ
ประเมินคุณภาพโดย แบบสอบถาม / แบบสัมภาษณ์ความพึงพอใจ มีการนาผลการวิเคราะห์เด็ก บริบท สภาพ
ปญั หา ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาทอ้ งถิ่นมาใชใ้ นการพัฒนาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษา เพ่อื ให้
การดาเนินการเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ต้ังไว้ มีการส่งเสริมให้ครูปฐมวัยเข้ารับการอบรมเพื่อพัฒนาการจัดทา
หลกั สูตรสถานศกึ ษาระดบั ปฐมวยั อย่างต่อเนอื่ ง

สถานศึกษามีการบริหารจัดการโดยให้มีการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยในรูปแบบหลักสูตรบูรณา
การที่มีความเหมาะสมกับวัยของเด็ก และครอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน สอดคล้องกับบริบทของท้องถ่ิน โดยมี
การนิเทศ กากับ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการใช้หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษา และสรุปผลทุก
ภาคเรียน และหรือทุกปี โดยจัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนา คือ ประเมินคุณภาพโดย แบบสอบถาม / แบบ
สัมภาษณ์ความพึงพอใจ และได้นาผลการนิเทศ กากับ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการใช้หลักสูตร และหรือ
ผลการวิจยั ที่เก่ียวข้องมาปรบั ปรุงและพัฒนาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยของสถานศกึ ษาทกุ ปกี ารศึกษา

จากการดาเนินงานในเร่ืองการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย ได้วางแนวทางการพัฒนาหลักสูตร
อย่างตอ่ เน่อื ง โดยใหม้ ีการส่งเสริมและสนับสนุนให้มหี ลักสูตรการศึกษาปฐมวัยของสถานศกึ ษาและนาสกู่ ารปฏิบัติ
อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งเสริมและสนับสนุนให้สถานศึกษามีหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวยั ในรูปแบบหลักสูตรบูรณา
การท่ีมีความเหมาะสมกับวัยของเด็ก และครอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน สอดคล้องกับบริบทของท้องถ่ิน ครู
เข้าใจปรัชญา หลักการ และธรรมชาติของการจัดการศึกษาปฐมวัย และสามารถนามาประยุกต์ใช้ ในการจัด
ประสบการณ์ จัดทาแผนการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยและสามารถจัด
ประสบการณ์การเรียนรู้ที่หลากหลาย สอดคล้องกับความแตกต่างระหว่างบุคคล เพื่อการพัฒนาหลักสูตร การ
บริหารหลักสูตร และการเปลย่ี นแปลงหลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวัยให้เหมาะสมต่อไป

สถานศึกษาได้จัดส่งรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ให้หน่วยงานต้นสังกัดในทุกปีการศึกษา
และจัดให้มีการประเมินการใช้หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษา และสรุปผลทุกภาคเรียนมีการรายงาน
ประจาปีของสถานศึกษาในการใช้หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยให้คณะกรรมการบริหารสถานศึกษารับทราบและ
เผยแพร่ใหผ้ ู้ปกครอง ชุมชนรับทราบ

2.2 โรงเรยี นจดั ครูให้เพยี งพอกับช้นั เรยี น
ผลการประเมินตนเอง ปกี ารศกึ ษา 2564 พบวา่ โรงเรยี นจดั ครูใหเ้ พียงพอกับชน้ั เรียน ระดับคณุ ภาพ 5.00
ซงึ่ สูงกว่าเปา้ หมายท่ีสถานศึกษากาหนด โดยดาเนนิ การในประเด็นการพจิ ารณา ดังนี้
สถานศกึ ษาพฒั นากระบวนการบรหิ ารและการจดั การวางแผน ใหม้ ีการจัดครใู หเ้ พยี งพอกับช้นั เรยี น จดั
ครูให้เหมาะสมกบั ภารกจิ การเรยี นการสอน โดยจดั ครทู ่ีจบการศกึ ษาปฐมวัยให้เพียงพอกบั ชน้ั เรยี น มกี าร
กาหนดใหค้ รตู ้องไดร้ บั การพฒั นา เพอ่ื ให้ครูไดร้ ับความรู้ และมคี วามชานาญในการจดั การเรียนรใู้ ห้กับเดก็ ในระดับ
ปฐมวัยไดเ้ ป็นอย่างดีและมีประสทิ ธภิ าพ
สถานศึกษาได้จัดครูที่เหมาะสมกับภารกิจการจัดประสบการณ์ โดยจัดครูท่ีจบการศึกษาปฐมวัยให้
เพียงพอกับชนั้ เรยี น และดาเนนิ การออกคาสั่งแตง่ ต้ังครูผรู้ ับผดิ ชอบการจดั การเรียนการสอนในระดบั ปฐมวยั ในทุก
ปีการศึกษา มีพ่ีเลี้ยงทุกชั้นเรียนและสถานศึกษาส่งครูเข้ารับการอบรมในเร่ืองการศึกษาปฐมวัย เพ่ือให้ความรู้

38

ความชานาญในการจัดการเรียนร้ใู ห้กบั เด็กระดับปฐมวัยได้เป็นอย่างดี และมีประสทิ ธิภาพ สนับสนุนให้ครปู ฐมวัย
ทกุ คนไดร้ ับการอบรม ศกึ ษาตอ่ ในระดับท่ีสงู ขน้ึ

จากการดาเนินการการวางแผนให้มีการจัดครูให้เพียงพอกับชั้นเรียน จัดครูให้เหมาะสมกับภารกิจการ
เรยี นการสอน โดยจัดครูทจี่ บการศกึ ษาปฐมวัยใหเ้ พยี งพอกับช้นั เรียนนั้น พบว่ามีครูที่จบการศกึ ษาปฐมวยั เพยี งพอ
กับช้ันเรียนท่ีเปิดทาการสอนในระดับปฐมวัยทุกชั้นเรียน ครูได้รับการพัฒนา ได้รับความรู้ และมีความชานาญใน
การจัดการเรียนรใู้ ห้กบั เด็กในระดบั ปฐมวยั ได้เป็นอยา่ งดี อยใู่ นเกณฑ์การประเมนิ ในระดบั ยอดเย่ียม

จากผลการประเมินในปีที่ผ่านมา สถานศึกษาดาเนินการในเร่ืองการจัดครูให้เพียงพอกับช้ันเรียน มีครู
ประจาการที่จบการศึกษาปฐมวัย พี่เล้ียง และมีความเหมาะสม โดยมีการนิเทศติดตามการจัดการเรียนการสอน
ของครอู ย่างต่อเน่ือง ทาใหค้ รูสามารถจัดประสบการณ์จดั การเรียนรู้ให้กับเดก็ ในระดับปฐมวัยได้เป็นอย่างดี และมี
ประสิทธภิ าพ

สถานศึกษาได้นาผลการท่ีนิเทศติดตามการเรียนการสอน แจ้งให้ครูปฐมวัยทราบ และโดยจัดกิจกรรม
ประชุมผู้ปกครองทุกภาคเรียน มีการแนะนาครูประจาชั้นและให้ผู้ปกครองพบปะกับครูประจาช้ัน และยังมีการ
ประเมินผลตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา ติดตามผลการดาเนินงาน และจัดทารายงานผลการประเมิน
ตนเองประจาปี มีการนาผลการประเมินไปปรับปรุงพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา โดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วม พร้อมท้ัง
รายงานผลการประเมนิ ตนเองให้หนว่ ยงานตน้ สงั กดั อยา่ งต่อเน่ือง

2.3 โรงเรยี นสง่ เสรมิ ใหค้ รมู ีความเช่ยี วชาญด้านการจดั ประสบการณ์
ผลการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2564 พบว่าโรงเรียนส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัด
ประสบการณ์ ระดับคุณภาพ 5.00 ซ่ึงสูงกว่าเปา้ หมายท่ีสถานศึกษากาหนด โรงเรยี นได้ดาเนินการในประเดน็ การ
พิจารณา ดังนี้
สถานศึกษาได้มีการกาหนดเป้าหมายพัฒนาคุณภาพครูและบุคลากรในสถานศึกษาให้มีความเชี่ยวชาญ
ด้านการจัดประสบการณ์ มีการพัฒนาตนเอง โดยกาหนดให้มีโครงการพัฒนาครูสู่มืออาชีพอยู่ในแผนปฏิบัติการ
ประปีการศึกษา 2564 กิจกรรมนิเทศการสอน และกาหนดให้ครูจัดทา (ID PLAN) เพื่อให้ครูด้านการศึกษา
ปฐมวัยทุกคนล้วนมีความรู้ความสามารถในการวิเคราะห์และ มีทักษะในการจัดประสบการณ์และมีประสบการณ์
ในการออกแบบการจดั กจิ กรรม ทักษะการสงั เกต และการปฏสิ ัมพนั ธท์ ่ีดกี ับเด็กและผู้ปกครอง
สถานศึกษาส่งเสริมให้ครูมีความเช่ียวชาญด้านการจัดประสบการณ์ โดยการดาเนินการตามโครงการ
พัฒนาครูสู่มืออาชีพ ให้ครจู ดั ทา (ID PLAN) และพัฒนาความรู้ความสามารถตามความสนใจตนของตนเอง เมื่อครู
เข้ารับการพัฒนาความรู้ให้มีการจัดทารายงานการพัฒนาตนเองส่งผู้อานวยการโรงเรียนทุกครั้ง มีการดาเนินการ
นิเทศติดตามการนาความรู้ที่ได้จากการเข้ารับการอบรมศึกษาดูงานไปปรับใช้ในการจัดประสบการณ์กับเด็ก
ปฐมวัย ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทั้ง 4 ด้านอย่างเหมาะสม สามารถบริหารจัดการช้ันเรียนท่ีสร้างวินัยเชิงบวก
ให้กับเด็กได้ โรงเรียนได้จัดส่ิงอานวยความสะดวกท่ีจาเป็นซ่ึงเอ้ือประโยชน์ต่อการพัฒนาเด็ก ท้ังด้านร่างกาย
อารมณ์และจติ ใจ สงั คมและสตปิ ัญญา คอื จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพทีเ่ ออื้ ต่อการเรยี นรู้อย่างมีคุณภาพ จัด
ใหม้ อี ุปกรณ์ ของเลน่ ของใช้ เครอ่ื งนอน เครื่องอานวยความสะดวกต่างๆ ให้พอเพียงกับเดก็ ให้มีมุมหนังสอื ที่
จาเป็นต่อพัฒนาการของเด็ก มีการสังเกตและประเมินพัฒนาการเด็กเป็นรายบุคคล มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเด็ก และ
ครอบครวั
จากการดาเนนิ การตามโครงการพฒั นาครูสู่มืออาชพี กิจกรรมนิเทศการสอน จดั ทา (ID PLAN) พบว่าครู
มคี วามเชีย่ วชาญดา้ นการจัดประสบการณ์มีความรู้ ความชานาญ เชี่ยวชาญด้านการจัดการศึกษาระดบั ปฐมวัย มี
ความตระหนกั รแู้ ละความเข้าใจหลักการจัดการศึกษาปฐมวัย สามารถจดั การเรียนรู้โดยยึดเด็กเป็นสาคญั ส่งเสริม

39

ให้เด็กมีพัฒนาการท้ัง 4 ด้านอย่างเหมาะสมกับวัย สามารถบริหารจัดการช้ันเรียนท่ีสร้างวินัยเชิงบวก อยู่ใน
เกณฑ์การประเมินระดบั ยอดเยีย่ ม

จากผลการประเมินในปีที่ผ่านมาโรงเรียนส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์ ยังไม่
เป็นไปตามเป้าหมายท่ีคาดไว้ สถานศึกษาจึงได้ดาเนินการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถในการ
วิเคราะห์และออกแบบหลักสูตรสถานศึกษา มีทักษะในการจัดประสบการณ์และการประเมินพัฒนาการเด็ก ใช้
ประสบการณ์สาคัญในการออกแบบ การจัดกิจกรรม มีการสังเกตและประเมินพัฒนาการเด็กเป็นรายบุคคล มี
ปฏิสัมพนั ธ์ทดี่ ีกับเดก็ และครอบครวั

สถานศึกษาได้นาผลการดาเนินงานการอบรมเพ่ือพัฒนาครู การจัดประสบการณ์ในห้องเรียนและการ
ประเมินพัฒนาการเด็กดาเนินการตรวจสอบและประเมินเด็กอย่างเป็นระบบ รวมท้ังนาผลการพัฒนาผู้เรียนมา
ร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่างครูปฐมวัยและผู้ปกครองเพ่ือรับทราบผลการพัฒนาทั้งตัวครูและเด็ก เพ่ือการ
พัฒนาในทุกๆด้านอย่างต่อเน่ือง และจัดทารายงานผลการประเมินตนเองประจาปี มีการนาผลการประเมินไป
ปรับปรุงพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา โดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วม พร้อมท้ังรายงานผลการประเมินตนเองให้หน่วยงาน
ต้นสังกดั อย่างตอ่ เน่อื ง

2.4 โรงเรียนจัดสภำพแวดลอ้ มและสอื่ เพ่ือกำรเรยี นรู้ อย่ำงปลอดภัยและเพยี งพอ
ผลการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2564 พบว่าโรงเรียนจัดสภาพแวดล้อมและส่ือเพื่อการเรียนรู้
อยา่ งปลอดภัย และเพียงพอ ระดับคุณภาพ 5.00 ซ่ึงสูงกว่าเปา้ หมายทสี่ ถานศกึ ษากาหนด ดงั น้ี
สถานศึกษาพัฒนากระบวนการบริหารและการจัดการ โดยจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่เอื้อต่อการ
เรยี นรูอ้ ยา่ งมีคุณภาพ ดว้ ยโครงการอาคารสถานท่ี สะอาด สวยงามและปลอดภัย(CBS) เชน่ จดั ใหม้ ีอุปกรณ์ ของ
เล่น ของใช้ เครื่องนอน เครื่องอานวยความสะดวกต่างๆ ให้พอเพียงกับเด็ก ให้มีมุมหนังสือท่ีจาเป็นต่อ
พัฒนาการของเด็ก จัดให้มีเครื่องเล่นสนาม ห้องสันทนาการ ห้องสมุดปฐมวัย เคร่ืองเล่นน้า ท่ีเหมาะสม
ปลอดภัย จัดให้มีพ้ืนท่ีสาหรับแปรงฟัน ล้างมือ ทาความสะอาดร่างกาย ห้องน้า ห้องส้วม พร้อมอุปกรณ์ท่ี
จาเป็นและเหมาะสมกับเด็ก มีระบบป้องกันความปลอดภัย โดยการจัดกิจกรรมฝึกซ้อมหนีไฟ มีการจัด
สภาพแวดล้อมท้งั ภายในและภายนอกห้องเรยี นท่ีคานึงถึงความปลอดภัยของเด็กผเู้ รยี น ส่งเสรมิ ให้เกิดการเรียนรู้
ท้ังแบบรายบุคคลและรายกลุ่ม จัดส่ิงอานวยความสะดวกเพ่ือพัฒนาเด็กอย่างรอบด้านโดยการปรับปรุงแหล่ง
เรียนรู้ปฐมวัย ปรับภูมิทัศน์และพัฒนาอาคารสถานที่จัดสภาพแวดล้อมภายในภายนอกห้องเรียนโดยสถานศึกษา
คานึงถึงความปลอดภัยเป็นหลัก มีการดาเนินการจัดบรรยากาศห้องเรียนปฐมวัยจัดหาสื่อเพื่อพัฒนาการจัด
ประสบการณ์ เดก็ ปฐมวัย ปรบั ปรงุ สนามกลางแจ้ง เครอื่ งเลน่ สนามในรม่ แหล่งเรยี นรตู้ า่ ง ๆ ห้องศูนย์ส่อื เพ่ือการ
เรียนรปู้ ฐมวยั เพื่อส่งเสริมให้โรงเรยี นมีสถานท่ี มสี ิ่งอานวยความสะดวกให้กบั นักเรยี นได้ทากิจกรรมการเรยี นรูไ้ ด้
อย่างมีประสิทธิภาพและเพียงพอต่อความต้องการ จัดสร้างแหล่งเรียนรู้ ปรับปรุงในเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
คอมพิวเตอร์ ห้องสมุด เพื่อให้เด็กได้มีสื่อ มีเทคโนโลยี ท่ีใช้ในการศึกษาค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง มีแหล่ง
เรียนรูท้ ีท่ นั สมัย
จากการดาเนินการตามโครงการ และกิจกรรมการพัฒนาการจัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการเรียนรู้
อยา่ งปลอดภยั และเพียงพอสถานศกึ ษา พบว่าสถานศกึ ษาจดั สภาพแวดลอ้ มและสอื่ เพือ่ การเรยี นรู้ อยา่ งปลอดภัย
และเพยี งพอ มีการจัดสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกห้องเรียนท่คี านึงถงึ ความปลอดภัย ท่ีส่งเสริมให้เกิด การ
เรียนรูเ้ ป็นรายบคุ คลและกล่มุ เลน่ แบบร่วมมือร่วมใจ มมี ุมประสบการณ์หลากหลาย มีส่ือการเรียนรู้ เช่น ของเล่น
หนังสือนิทาน ส่ือจากธรรมชาติ สื่อสาหรับเด็กมุด ลอด ปีนป่าย ส่ือเทคโนโลยี สอ่ื เพ่ือการสืบเสาะหา ความรู้ อยู่
ในเกณฑ์การประเมินระดับยอดเย่ียม
สถานศึกษาได้จัดทาแบบสอบถาม / แบบสัมภาษณ์ความพึงพอใจ โครงการ และกิจกรรมต่าง ๆ โดยให้
ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการประเมินผลการดาเนินงาน ครูผู้รับผิดชอบโครงการกิจกรรมต่างๆ สรุป

40

และรายงานผลให้สถานศึกษาทราบในปีการศึกษาที่ผ่านมา สถานศึกษาจึงได้ดาเนินการจัดทาโครงการปรับภูมิ
ทัศน์และพัฒนาอาคารสถานท่ี กิจกรรมการจัดบรรยากาศห้องเรียนปฐมวัยอย่างมีประสิทธิภาพและเพียงพอต่อ
ความตอ้ งการ จัดสร้างแหลง่ เรียนรู้ ปรับปรุงในเร่ืองเทคโนโลยสี ารสนเทศ คอมพิวเตอร์ หอ้ งสมุด เพ่ือให้เด็กได้มี
สื่อ มีเทคโนโลยี ที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง ร และกิจกรรมต่าง ๆ ครูผู้รับผิดชอบโครงการ
กจิ กรรมต่างๆ สรปุ และรายงานผลโดยทุกฝ่ายมสี ่วนรว่ ม พร้อมทง้ั รายงานผลให้ผปู้ กครอง คณะกรรมการบริหาร
สถานศกึ ษา และรายงานผลการประเมนิ ตนเองให้หน่วยงานต้นสงั กดั อยา่ งตอ่ เนือ่ ง

2.5 โรงเรยี นใหบ้ ริกำรสอื่ เทคโนโลยีสำรสนเทศและสอ่ื กำรเรียนรเู้ พ่อื สนับสนนุ กำรจดั ประสบกำรณ์
ผลการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2564 พบว่าโรงเรียนให้บริการส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศและ
สื่อการเรียนร้เู พอ่ื สนบั สนนุ การจดั ประสบการณ์ ระดับคุณภาพ 5.00 ซึ่งต่ากวา่ เป้าหมายทส่ี ถานศึกษากาหนด
โดยได้ดาเนินการในประเดน็ การพจิ ารณา ดงั นี้
สถานศึกษาได้มีส่งเสริมให้มีการบริการส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศ และส่ือการเรียนรู้ เพ่ือสนับสนุนการจัด
ประสบการณ์ให้กับเด็ก โดยการกาหนดโครงการพัฒนาเทคโนโลยีทางการศึกษา มีการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ด้าน
เทคโนโลยี ห้องสมุด ห้องคอมพิวเตอร์ และระบบการเรียนการสอนที่เน้นสื่อเทคโนโลยี และมีการส่งเสริมให้ครู
สามารถใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสม สอดคล้องกับการเรียนรู้ของเด็ก มีมุมประสบการณ์และส่ือการเรียนรู้ท่ี
หลากหลายที่ได้จากธรรมชาติหรือส่ือในชุมชน มุ่งเน้นให้เกิดการเรียนรู้แบบเรียนปนเล่นมีความสุขในการเรียนรู้
เพ่ือพัฒนาการเรียนรขู้ องเด็กและบุคลากรในสถานศึกษา โดยดาเนินการจัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาจัดสร้างแหล่ง
เรียนรู้ ปรับปรุงในเร่ืองเทคโนโลยีสารสนเทศ คอมพิวเตอร์ ในห้องสมุด และห้องคอมพิวเตอร์ มีทีวีท่ีเชื่อมต่อ
อินเตอร์เน็ตไว้ในห้องเรียนทุกห้อง เพ่ือให้ครูได้ใช้เป็นสื่อในการเรียน และเพื่อให้เด็กได้มีสื่อ มีเทคโนโลยี ที่ใช้ใน
การศึกษาค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง มีแหล่งเรียนรู้ที่ทันสมัย สถานศึกษาเป็นผู้อานวยความสะดวก และ
ให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศวัสดุ และอุปกรณ์ เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์ได้เหมาะสมกับวัยและ
พฒั นาครูอย่างมคี ณุ ภาพ
จากการดาเนินการตามจัดให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ และส่ือการเรียนรู้ เพื่อสนับสนุนการจัด
ประสบการณ์อย่างเพียงพอและท่ัวถึง โดยดาเนินการจัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาจัดสร้างแหล่งเรียนรู้ ปรับปรุงใน
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ คอมพิวเตอร์ ในห้องสมุด และห้องคอมพิวเตอร์ มีทีวีท่ีเช่ือมต่ออินเตอร์เน็ตไว้ใน
ห้องเรียนทุกห้อง พบว่า ครูได้ใช้ส่ือเทคโนโลยีเป็นสื่อในการเรียนการสอนการจัดประสบการณ์ให้กับเด็กปฐมวัย
ส่งเสริมให้เด็กมีการใช้เทคโนโลยีในการศึกษาค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง สถานศึกษามีแหล่งเรียนรู้ที่ทันสมัย
อยา่ งมีคณุ ภาพ
สถานศึกษาได้จดั ทาแบบสอบถาม / แบบสัมภาษณค์ วามพึงพอใจ โครงการ และกิจกรรมตา่ ง ๆโดยให้ผู้มี
ส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการประเมินผลการดาเนินงาน ครูผู้รับผิดชอบโครงการกิจกรรมต่างๆ สรุปและ
รายงานผลให้สถานศึกษาทราบในปีการศึกษาท่ีผ่านมา สถานศึกษาจึงได้ดาเนินการจัดให้บริการส่ือเทคโนโลยี
สารสนเทศ และสื่อการเรียนรู้ เพ่ือสนับสนุนการจัดประสบการณ์อย่างเพียงพอและทั่วถึง เพ่ือพัฒนาการเรียนรู้
ของเด็กและบุคลากรในสถานศึกษา โดยสถานศึกษาเป็นผู้อานวยความสะดวก และให้บริการสื่อเทคโนโลยี
สารสนเทศวัสดุ และอปุ กรณ์ เพื่อสนบั สนนุ การจัดประสบการณ์ได้เหมาะสมกบั วัยและพฒั นาครูอยา่ งมคี ุณภาพ
สถานศกึ ษามีการนาผลการประเมนิ ไปปรับปรงุ พัฒนาคณุ ภาพสถานศึกษา โดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วม พร้อม
ทั้งได้มีการรายงานประชาสมั พันธ์ให้ผู้ปกครองทราบถงึ ผลการจัดกิจกรรม หรอื การใชส้ อ่ื เทคโนโลยีประชาสมั พนั ธ์
สื่อสัมพันธ์บ้านและโรงเรียน ผ่านทาง Facebook Checker Line และเวบ็ ไซต์ของสถานศกึ ษา อีกทั้งยงั ไดจ้ ดั ทา
รายงานผลการประเมินตนเองใหห้ นว่ ยงานต้นสงั กดั อย่างต่อเนื่อง
2.6 โรงเรยี นมรี ะบบบรหิ ำรคณุ ภำพทเี่ ปิดโอกำสให้ผเู้ กีย่ วขอ้ งทกุ ฝำ่ ยมสี ่วนรว่ ม

41

ผลการประเมินตนเอง ปกี ารศึกษา 2564 พบว่าโรงเรียนมีระบบบรหิ ารคณุ ภาพทเี่ ปิดโอกาสให้ผู้เกยี่ วขอ้ ง
ทกุ ฝา่ ยมสี ่วนร่วม ระดับคุณภาพ 5.00 ซ่งึ ต่ากวา่ เป้าหมายที่สถานศกึ ษากาหนด โดยไดด้ าเนินการในประเดน็ การ
พจิ ารณา ดงั น้ี

สถานศึกษามีการพัฒนากระบวนการบริหารและการจัดการ ให้มีระบบบริหารคุณภาพท่ีเปิดโอกาสให้
ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมโดยได้กาหนดมาตรฐานการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษา และจัดทาแผนพัฒนา
การศึกษาและแผนปฏิบัติการประจาปีท่ีมุ่งพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา มีการกาหนด
มาตรฐานการศกึ ษาปฐมวยั ของสถานศกึ ษา และมีการประกาศคา่ เป้าหมายของโรงเรียนอยา่ งชัดเจน และได้มีการ
จดั ทาแผนพัฒนาสถานศึกษา ระดับปฐมวัย 5 ปี มีการดาเนินการตามแผนพัฒนาการจดั การศึกษาของสถานศึกษาที่
มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ครูปฐมวัยได้จัดทาข้อมูลสารสนเทศ และการใช้สารสนเทศใน
การบริหารจัดการอย่างต่อเน่ืองทุกปี มีการรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ ไว้ เพ่ือนาไปปรับปรุงพัฒนางานหรือนาไป
วางแผนต่อในปีการศึกษาต่อไปได้อย่างต่อเนื่องและเป็นปัจจุบัน สามารถตรวจสอบได้ง่าย และเป็นไปอย่าง
ถกู ต้อง

จากการดาเนินการตามแผน พบว่า สถานศึกษามีการติดตามตรวจสอบ และประเมินคุณภาพภายในตาม
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา สถานศึกษาจัดระบบการบริหารคุณภาพที่เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมี
ส่วนรว่ ม สง่ เสรมิ ใหม้ ีการสร้างการมีสว่ นร่วมและแสวงหาความร่วมมือกับผปู้ กครอง ชุมชน และท้องถิ่น สง่ เสริม
ใหค้ รูมปี ฏิสัมพันธ์ทด่ี ีกบั เด็กและผ้ปู กครอง โดยพัฒนาระบบประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษาให้เขม้ แข็ง เพื่อ
ส่งเสริมและสนับสนุนการบริหารพัฒนางานหรือนาไปวางแผนต่อในปีการศึกษาต่อไปได้อย่างต่อเนื่องและเป็น
ปจั จบุ ัน

สถานศึกษานาผลการประเมินคุณภาพทั้งภายในและภายนอกไปใช้วางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
และมีการจัดทารายงานประจาปีที่เป็นรายงานการประเมินคุณภาพภายใน โดยจัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนา
โรงเรียนมีการแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา ระดับปฐมวัย เพ่ือจะได้ผลการ
ประเมินท่ีถูกต้อง ชัดเจน มีระบบที่ดี และมีการติดตามตรวจสอบอยา่ งต่อเน่ือง และมีการจัดทารายงานประจาปี
ทุกสิ้นปกี ารศึกษา

สถานศกึ ษามีการนาผลการประเมินไปปรับปรงุ พฒั นาคณุ ภาพสถานศึกษา โดยทกุ ฝา่ ยมสี ่วนรว่ ม พร้อม
ทงั้ ไดม้ กี ารรายงานประชาสัมพันธใ์ ห้ผูป้ กครองทราบถงึ ผลการประเมิน หรอื การใช้สื่อเทคโนโลยีประชาสมั พนั ธ์ทาง
สื่อสัมพันธ์บ้านและโรงเรียน ผา่ นทาง Facebook Checker Line และเวบ็ ไซต์ ของสถานศกึ ษา อกี ทั้งยงั ไดจ้ ดั ทา
รายงานผลการประเมนิ ตนเองใหห้ นว่ ยงานต้นสงั กัดอย่างตอ่ เนอ่ื ง

มำตรฐำนที่ 3 กำรจดั ประสบกำรณท์ ี่เน้นเดก็ เป็นสำคญั

จดุ เน้น จดั ประสบกำรณแ์ บบบูรณำกำรสง่ เสรมิ พฒั นำกำร ๔ ดำ้ นเหมำะสมตำมวยั และเตม็ ตำมศกั ยภำพ

กำรปฏิบัตงิ ำน เปำ้ หมำย จำนวนครู (คน) *** ผลกำร
(รอ้ ยละ) ผลกำรประเมนิ ประเมนิ
ประเดน็ พจิ ำรณำ ปฏิบตั ิ ไม่ ผ่ำนเกณฑ์ คณุ ภำพทไ่ี ด้
ปฏิบตั ิ ทกี่ ำหนด (รอ้ ยละ)
บรรจุ

1 จัดประสบการณท์ ่สี ง่ เสริมให้เดก็ มี

42

พฒั นาการทุกดา้ น อยา่ งสมดลุ เตม็ 95.00 10 10 100 ยอดเยย่ี ม
ศักยภาพ 10 100
1.1 มีการวิเคราะห์ขอ้ มลู เด็กเป็นรายบุคคล  10 100

1.2 จัดทาแผนและใช้แผนการจัดประสบการณ์
จากการวิเคราะหม์ าตรฐานคณุ ลักษณะทพ่ี ึง 
ประสงคใ์ นหลักสตู รสถานศกึ ษา
10 100
1.3 จัดกจิ กรรมทสี่ ่งเสริมพฒั นาการเด็กครบ
ทุกด้าน ท้ังดา้ นร่างกาย ดา้ นอารมณ์จิตใจ
ด้านสังคม และดา้ นสติปญั ญา โดย ไมม่ งุ่ เน้น
การพฒั นาดา้ นใดด้านหนึง่ เพยี งด้านเดยี ว

2 สร้างโอกาสให้เดก็ ได้รบั ประสบการณ์ตรง 95.00 10 10 100 ยอดเยีย่ ม
เล่นและปฏิบัตอิ ย่างมีความสขุ
10 10 100 ยอดเย่ียม
2.1 จดั ประสบการณท์ ่เี ชอ่ื มโยงกับ  10 100
10 100 ผลกำร
ประสบการณเ์ ดมิ 10 100 ประเมนิ
10 100 คณุ ภำพท่ไี ด้
2.2 ให้เดก็ มโี อกาสเลือกทากจิ กรรมอย่าง  ยอดเย่ียม
จำนวนครู (คน) ***
อิสระ ตามความตอ้ งการความสนใจ ผ่ำนเกณฑ์ ผลกำรประเมนิ

ความสามารถ ตอบสนองต่อวธิ ีการเรยี นรู้ของ บรรจุ ที่กำหนด (รอ้ ยละ)
10 10 100
เด็กเป็นรายบุคคล หลากหลายรูปแบบจาก
10 100
แหลง่ เรยี นรทู้ ่ีหลากหลาย 10 100

2.3 เด็กได้เลอื กเลน่ เรยี นร้ลู งมือ กระทา และ 

สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง

3 จัดบรรยากาศที่เออ้ื ต่อการเรียนรู้ ใชส้ ือ่ 95.00
และเทคโนโลยที ่เี หมาะสมกับวัย

3.1 จัดบรรยากาศและสภาพแวดล้อมใน 

หอ้ งเรยี นได้สะอาด ปลอดภยั และอากาศถ่ายเท

สะดวก

3.2 จัดให้มีพ้ืนทแี่ สดงผลงานเดก็ พน้ื ทส่ี าหรับ 

มมุ ประสบการณ์และการจัดกจิ กรรม

3.3 จัดให้เดก็ มสี ว่ นร่วมในการจัดภาพแวดล้อม 

ในหอ้ งเรยี น เชน่ ปา้ ยนิเทศ การดูแลต้นไม้

3.4 ใช้สอื่ และเทคโนโลยีท่เี หมาะสมกบั ช่วงอายุ 

ระยะความสนใจ และวถิ กี ารเรยี นรขู้ องเดก็ เช่น

กล้องดิจติ อล คอมพวิ เตอร์ สาหรบั การเรียนรู้

กลุ่มย่อย ส่อื ของเล่นที่กระต้นุ ใหค้ ิดและหา

คาตอบ เปน็ ตน้

กำรปฏิบตั งิ ำน

ประเด็นพิจำรณำ ปฏบิ ัติ ไม่ เป้ำหมำย
ปฏบิ ัติ (ร้อยละ)

4 ประเมนิ พฒั นาการเด็กตามสภาพจริงและ 95.00
นาผลการประเมินพัฒนาการเดก็ ไป
ปรับปรุงการจัดประสบการณ์และพัฒนา 
เด็ก 

4.1 ประเมินพฒั นาการเด็กจากกิจกรรมและ
กิจวัตรประจาวันดว้ ยเครือ่ งมือและวิธกี ารที่
หลากหลาย

4.2 วิเคราะห์ผลการประเมินพฒั นาการเด็ก

โดยผ้ปู กครองและผู้เกย่ี วข้องมีส่วนร่วม 43

4.3 นาผลการประเมินท่ไี ด้ไปพัฒนาคณุ ภาพ  10 100 ยอดเย่ยี ม
เดก็ อย่างเป็นระบบและตอ่ เนื่อง

4.4 นาผลการประเมนิ แลกเปล่ยี นเรียนรู้โดยใช้  10 100
กระบวนการชมุ ชนแหง่ การเรยี นร้ทู างวิชาชพี

5 เพ่มิ เตมิ ประเด็นพจิ ารณาได้

5.1 ………

สรุปผลกำรประเมิน = ผลรวมผลการประเมินทุกประเด็นพิจารณา 100

จานวนประเด็นพิจารณา

หมายเหตุ กรอกขอ้ มูลเฉพาะแถบสีขาว

วิธคี านวณ

*** ผลการประเมนิ (ร้อยละ) = 100 x จานวนครูผา่ นเกณฑ์ที่โรงเรียนกาหนด

จานวนครูทง้ั หมด

แปลผลการประเมินคณุ ภาพทไ่ี ด้

ร้อยละ 00.00 – 49.99 = กาลงั พัฒนา

ร้อยละ 50.00 – 59.99 = ปานกลาง

ร้อยละ 60.00 – 74.99 = ดี

ร้อยละ 75.00 – 89.99 = ดเี ลศิ

ร้อยละ 90.00 – 100 = ยอดเย่ียม

จดุ เนน้ และกระบวนกำรพฒั นำที่สง่ ผลต่อระดบั คณุ ภำพของมำตรฐำนท่ี 3
3.1 ครจู ัดประสบกำรณท์ ่สี ง่ เสรมิ ใหเ้ ด็กมกี ำรพฒั นำกำรทกุ ดำ้ นอยำ่ งสมดุลเต็มศกั ยภำพ
ผลการประเมินตนเองในปีการศึกษา 2564 พบว่าครูจัดประสบการณ์ท่ีส่งเสริมให้เด็กมีการ

พัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุลเต็มศักยภาพ คิดเป็นร้อยละ 100 ซึ่งสูงกว่า เป้าหมายท่ีสถานศึกษากาหนด โดยได้
ดาเนนิ การในประเดน็ การพิจารณาดังนี้

สถานศึกษาจัดการศึกษาปฐมวัยมุ่งเน้นความสาคัญของการพัฒนาการในทุกๆ ด้าน ทั้งทางด้านร่างกาย
อารมณ์จิตใจ สังคม และสติปัญญา มีความรู้ คุณธรรมจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดารงชีวิตร่วมกับผู้อื่นได้
อย่างเป็นสุข โดยจัดประสบการณ์ผ่านกิจกรรมหลัก ๖ กิจกรรม ในรูปแบบผสมผสาน On Line On Handและ
On Site แบบบูรณาการการเรียนรู้ตามแนวพหุปัญญา ผ่านกิจกรรมเสริมหลักสูตร เช่น คอมพิวเตอร์ ว่ายน้า เท
ควันโด ดนตรีไทย ดนตรีสากลและเรยี นภาษากบั ครตู า่ งชาติ และ การสอนเดก็ ตามแนวคิดนีโอฮิวแมนนิส ด้วยการ
ให้ความรกั ผ่านการกอดสัมผัสและแบบเรียนผ่านการเลน่ เพ่ือให้เด็กได้ประสบการณ์ตรง เกิดการเรียนร้แู ละมีการ
พัฒนาท้ังทางด้านร่างกาย อารมณจ์ ิตใจ สังคมและสติปญั ญา ซึ่งสามารถยดื หยุ่นได้ความเหมาะสมและสอดคลอ้ ง
กับหลักสูตรปฐมวัย ท้ังในห้องเรียนและนอกห้องเรียน จัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ครอบคลุมพัฒนาการในทุกๆ
ด้านอย่างเหมาะสมกับวัย โดยการส่งเสริมพัฒนาครูให้มีการจัดทาแผนการจัดประสบการณ์ท่ีสอดคล้องกับ
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยและสามารถจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่หลากหลาย สอดคล้องกับความแตกต่าง

44

ระหว่างบคุ คล โดยกาหนดให้ครนู ากิจกรรมส่งเสรมิ พัฒนาการทุกด้านอย่างสมวัย การจัดทาบนั ทึกหลังสอน และ
มีเครอ่ื งมือบนั ทกึ หลงั สอน กาหนดอยู่แผนการจดั ประสบการณ์ทุกหน่วยการเรียนรู้ และทุกชัน้ ปี มีการดาเนินการ
จัดประสบการณ์ในรูปแบบบูรณาการการเรียนรูต้ ามแนวพหุปัญญา ผ่านกิจกรรมเสรมิ หลักสตู ร เช่น คอมพวิ เตอร์
ว่ายน้า เทควันโด ดนตรีไทย ดนตรีสากลและเรียนภาษากับครูต่างชาติ และ การสอนเด็กตามแนวคิดนีโอฮิวแมน
นิส ด้วยการให้ความรักผ่านการกอดสัมผัสและแบบเรียนผ่านการเล่น เพื่อให้เด็กได้ประสบการณ์ตรง เกิดการ
เรียนรู้และมีการพัฒนาทั้งทางด้านรา่ งกาย อารมณ์จิตใจ สังคมและสติปัญญา ให้ครปู ฐมวัยทุกคนนาแผนการจัด
ประสบการณ์ท่ีสอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษา จากการวเิ คราะห์มาตรฐานคุณลักษณะท่ี
พงึ ประสงค์ ไปจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ท่ีหลากหลาย สอดคล้องกบั ความแตกต่างระหว่างบุคคล เพ่ือส่งเสริมให้
เด็กมพี ฒั นาการทง้ั 4 ด้านอย่างเหมาะสมกับวยั อยา่ งสมดุลเตม็ ศกั ยภาพ

จากการดาเนนิ การตรวจสอบ จดั กิจกรรมหลัก ๖ กจิ กรรม ในรูปแบบผสมผสาน On Line On Handและ
On Site บูรณาการการเรียนรู้ตามแนวพหุปัญญา ผ่านกิจกรรมเสริมหลักสูตร พบว่า เด็กมีการพัฒนาการทุก
ด้านอย่างสมดุลเต็มศักยภาพ เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกายแข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแลความปลอดภัยของ
ตนเองได้ มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ แสดงออกทางอารมณ์ได้ มีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และ
เปน็ สมาชกิ ที่ดีของสังคม มพี ัฒนาการดา้ นสติปัญญา และสือ่ สารไดม้ ีทกั ษะการคดิ พนื้ ฐานอยา่ งสมดลุ เต็มศักยภาพ

จากการประเมนิ โครงการ จดบนั ทกึ หลังการสอน การสงั เกต การสอบถาม การสารวจ และการวิเคราะห์
ผลพัฒนาการของเด็ก เด็กมีการแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเองยังไม่เป็นไปตามเป้าหมายอย่างเหมาะสมกับวัย
สถานศึกษาจึงมีการส่งเสริมให้ครูจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีการแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเองเพิ่มมากข้ึน
โดยการจัดทาโครงการทัศนศึกษา โครงการบ้านนักวทิ ยาศาสตร์น้อย จัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ท่หี ลากหลาย
และให้ผู้ปกครองมสี ่วนรว่ มในทุกๆกิจกรรม ทกุ ๆ โครงการ

สถานศึกษามีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีการทาชุมชนแห่งการเรียนรู้ระหว่างครูและผู้เก่ียวข้อง(PLC) มีการ
นิเทศการสอนระหว่างเพื่อนครูด้วยกัน มีการกากับติดตามการสอนโดยผู้บริหารสถานศึกษาและหน่วยงานต้น
สังกัด และนาผลจาการแลกเปลี่ยนเรียนรู้(PLC) จากการนิเทศการสอน จากการกากับติดตามการสอนจาก
ผู้บรหิ าร และหนว่ ยงานต้นสังกัด มาพัฒนาปรบั ปรุงเพ่ือให้ครจู ัดประสบการณ์ท่ีส่งเสริมใหเ้ ด็กมีการพัฒนาการทุก
ด้านอย่างสมดุลเต็มศกั ยภาพ และมีการรายงานผลใหผ้ ู้ปกครอง คณะกรรมการบรหิ าร หน่วยงานต้นสังกัดและผู้ที่
เกีย่ วข้องทราบ

3.2 ครูสรำ้ งโอกำสใหเ้ ด็กไดร้ ับประสบกำรณ์ตรง เลน่ และปฏิบตั อิ ยำ่ งมคี วำมสขุ
ผลการประเมินตนเองในปีการศึกษา 2563 พบว่าครูสร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและ
ปฏิบัตอิ ยา่ งมีความสุข คิดเป็นรอ้ ยละ 97.60 ซง่ึ สงู กวา่ เป้าหมายท่สี ถานศกึ ษากาหนด โดยได้ดาเนินการในประเด็น
การพจิ ารณา ดงั นี้
สถานศึกษากาหนดให้ครูมีการจัดทาแผนการจัดประสบการณ์ และจัดประสบการณ์ที่เช่ือมโยงกับ
ประสบการณ์เดิม ให้เด็กมีโอกาสเลือกทากิจกรรมอย่าง อิสระ ตามความต้องการ ความสนใจ ความสามารถ
ตอบสนองต่อวิธีการเรียนรู้ของเด็กเป็นรายบุคคลหลากหลายรูปแบบ จากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย เด็กได้เลือก
เล่น เรียนรู้ ลงมือ กระทา และสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง สถานศึกษาวางแผนการจัดกิจกรรมการนิเทศการ
สอนและการสังเกตการสอนภายใน เพื่อส่งเสริมให้ครูสามมารถบริหารจัดการชั้นเรียนท่ีสร้างวินัยเชิงบวกได้เป็น
อย่างดี เรยี นรู้จากแหล่งเรยี นรูภ้ ายในโรงเรียน เช่น ห้องสมดุ ห้องวิทยาศาสตร์ ห้องคอมพิวเตอร์ สนามกีฬา และ
แหล่งเรียนร้ภู ายนอกหอ้ งเรยี น ครูได้แลกเปลี่ยนเรียนรูป้ ระสบการณต์ ่างๆ กับผู้ปกครอง ให้มีการติดต่อสอ่ื สารกัน
ทาง ส่ือออนไลน์ เพ่ือเป็นการช่วยกันส่งเสริมพัฒนาเด็กในด้านต่างๆ เพ่ิมมากข้ึน และมีการมีการนิเทศการสอน
ระหว่างเพอื่ นครูด้วยกนั มีการกากับติดตามการสอนโดยผ้บู ริหารสถานศึกษาในทุกภาคเรียน

45

การจัดทาแผนการจดั ประสบการณ์ และจัดประสบการณ์ท่ีเชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิม พบว่าเด็กมีการ
พัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุลเต็มศักยภาพ เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกายแข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแลความ
ปลอดภยั ของตนเองได้ มีพัฒนาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ แสดงออกทางอารมณ์ได้ มพี ัฒนาการดา้ นสังคม ช่วยเหลือ
ตนเอง และเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม มีพัฒนาการด้านสติปัญญา และสื่อสารได้มีทักษะการคิดพ้ืนฐานอย่าง
เหมาะสมกบั วยั

การจดั ประสบการณ์ตามแผนการจัดประสบการณ์ บันทกึ หลังจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ การสังเกต การ
สอบถาม การนิเทศการสอน ผลของการจัดประสบการณ์ท่ีเชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิมของเด็กบางส่วนยังไม่
เชื่อมโยงประสบการณ์เดิมกับประสบการณ์ใหม่ได้ สถานศึกษาจึงกาหนดให้ครูจัดประสบการณ์ที่เช่ืองโยงกับ
ประสบการณ์ของเด็กมากขึ้น ใหเ้ ด็กสามารถต้ังคาถาม และตอบคาถามได้ มีการแสดงความคิดเห็น และมกี ารกล้า
แสดงออกมากข้ึน เพือ่ เด็กไดร้ ับประสบการณ์ตรง เลน่ และปฏบิ ัติอย่างมคี วามสขุ

สถานศึกษามีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีการทาชุมชนแห่งการเรียนรู้ระหว่างครูและผู้เก่ียวข้อง(PLC) มีการ
นิเทศการสอนระหว่างเพ่ือนครูด้วยกัน มีการกากับติดตามการสอนโดยผู้บริหารสถานศึกษาและหน่วยงานต้น
สังกัด และนาผลจาการแลกเปล่ียนเรียนรู้(PLC) จากการนิเทศการสอน จากการกากับติดตามการสอนจาก
ผบู้ ริหาร และหน่วยงานตน้ สังกดั มาพัฒนาปรับปรงุ การจัดประสบการณ์ของครูทส่ี ่งเสริมให้เดก็ ไดร้ บั ประสบการณ์
ตรง เล่นและปฏิบัติอย่างมีความสุข และมีการรายงานผลให้ผู้ปกครอง คณะกรรมการบริหารสถานศึกษา
หน่วยงานตน้ สังกดั และผทู้ เ่ี กยี่ วข้องทราบ

3.3 ครูจดั บรรยำกำศทีเ่ ออ้ื ต่อกำรเรียนรูใ้ ชส้ อ่ื และเทคโนโลยที ี่เหมำะสมกับวัย
ผลการประเมินตนเองในปีการศึกษา 2564 พบว่าครูจัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ใช้ส่ือและ
เทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกับวัย คิดเป็นร้อยละ 100 ซ่ึงสูงกว่าเป้าหมายท่ีสถานศึกษากาหนด โดยได้ดาเนินการใน
ประเดน็ การพิจารณาดังนี้
สถานศึกษามีการวางแผนให้ครูจัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ใช้ส่ือและเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกับวัย
เพียงพอ โดยการกาหนด โครงการอาคารสถานท่ี สะอาด สวยงามและปลอดภัย โครงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
พอเพียงในการเรียนรู้
ครูดาเนินการจัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ใช้สื่อและเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกับวัย โดยครจู ัดห้องเรียน
ให้สะอาด อากาศถ่ายเทปลอดภัย มีพื้นทแี่ สดงผลงานเด็ก พ้นื ท่ีสาหรบั มมุ ประสบการณ์และการจัดกิจกรรม เด็กมี
ส่วนร่วมในการจัดสภาพแวดล้อมในห้องเรียน เช่น ป้ายนิเทศ การดูแลต้นไม้เป็นต้น ครูใช้สื่อและเทคโนโลยีที่
เหมาะสมกับช่วงอายุ ระยะความสนใจ และวิถีการเรียนรู้ของเด็ก เช่น กล้องดิจิตอล คอมพิวเตอร์สาหรับการ
เรียนรู้ สื่อวัสดุที่ทามาจากธรรมชาติท่ีหาง่ายในท้องถ่ินและชุมชน กลุ่มย่อย ส่ือของเล่นที่กระตุ้นให้คิดและหา
คาตอบ เป็นต้น และดาเนินการโครงการอาคารสถานที่ สะอาด สวยงามและปลอดภัย โครงการขับเคลื่อน
เศรษฐกิจพอเพียงในการเรียนรู้ จัดบรรยากาศห้องเรียนที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ต่อเด็กปฐมวัย มีการผลิตสื่อของจริง
สือ่ จาลอง สือ่ ที่ทามาจากวัสดุธรรมชาติโดยการนาหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ในการผลติ สื่อ ครูใชส้ ื่อ
เทคโนโลยีทเี่ หมาะสมกบั วัยในการจัดประสบการณ์ เพ่อื ให้เดก็ ได้ทากิจกรรมการเรยี นรู้ได้อย่างมีประสทิ ธิภาพและ
เพียงพอต่อความตอ้ งการ
จากการดาเนินการตรวจสอบโครงการ และดาเนินการจัดบรรยากาศที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ใช้สื่อและ
เทคโนโลยีท่เี หมาะสมกับวัย พบวา่ ครูดาเนินการจัดบรรยากาศทเ่ี อ้ือตอ่ การเรียนรู้ใช้สื่อและเทคโนโลยีท่เี หมาะสม
กับวัย ส่งผลให้สถานศึกษามีห้องเรียนที่สะอาด อากาศถ่ายเทปลอดภัย มีพ้ืนที่แสดงผลงานเด็ก พื้นท่ีสาหรับมุม
ประสบการณ์ และการจัดกจิ กรรม และส่งผลใหเ้ ดก็ มสี ว่ นรว่ มในการจดั สภาพแวดล้อมในห้องเรยี น เชน่ ปา้ ยนเิ ทศ
การดูแลต้นไม้เป็นต้น การผลิตสื่อสื่อวัสดุที่ทามาจากธรรมชาติท่ีหาง่ายในท้องถ่ินและชุมชนตามหลักปรัชญา
เศรษฐกจิ พอเพียง เดก็ ไดใ้ ชส้ ่อื และเทคโนโลยที ่เี หมาะสมกบั วยั

46

สถานศึกษาได้จัดทาแบบสอบถาม / แบบสัมภาษณค์ วามพึงพอใจ โครงการ และกจิ กรรมต่าง ๆ โดยให้ผู้
มีสว่ นเกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีสว่ นรว่ มในการประเมนิ ผลการดาเนนิ งาน ครูผรู้ บั ผิดชอบโครงการกิจกรรมต่างๆ สรุปและ
รายงานผลให้สถานศึกษาทราบในปีการศึกษาท่ีผ่านมา พร้อมทั้งรายงานผลให้ผู้ปกครอง คณะกรรมการบริหาร
สถานศึกษา และรายงานผลการประเมนิ ตนเองใหห้ น่วยงานต้นสังกดั และผู้ท่เี กย่ี วข้องทราบ

3.4 ครูประเมินพัฒนำกำรเด็กตำมสภำพจริงและนำผลประเมินพัฒนำกำรเด็กไปปรับปรุงกำรจัด
ประสบกำรณแ์ ละพัฒนำเดก็

ผลการประเมินตนเองในปีการศึกษา 2564 พบว่าครูประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและนาผล
ประเมินพัฒนาการเด็กไปปรับปรุงการจัดประสบการณ์และพัฒนาเด็ก คิดเป็นร้อยละ100 ซ่ึงสูงกว่าเป้าหมายที่
สถานศกึ ษากาหนด โดยได้ดาเนนิ การในประเด็นการพจิ ารณา ดงั นี้

สถานศึกษากาหนดให้ครูประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริง ให้ครูประเมินพัฒนาการเด็กจากกิจกรรม
และกจิ วตั รประจาวันด้วยเคร่ืองมอื และวิธกี ารทีห่ ลากหลาย ไมใ่ ช้แบบทดสอบ วิเคราะห์ผลการประเมินพัฒนาการ
เด็ก โดยผู้ปกครองและผู้เก่ียวข้องมีส่วนร่วม และนาผลการประเมินท่ีได้ไปพัฒนาคุณภาพเด็กและแลกเปล่ียน
เรยี นรู้การจัดประสบการณ์ทม่ี ีประสทิ ธิภาพ ครูจดั ทาเครื่องมือทีใ่ ชใ้ นการประเมนิ และใหผ้ ู้ทเ่ี กยี่ วข้องตรวจสอบว่า
มีความเหมาะสมและมคี วามหลากหลายครอบคลุมพฒั นาการทัง้ 4 ดา้ น อย่างสมกบั วยั

ครูจัดทาเครื่องมือท่ีใช้ในการประเมินและให้ผู้ท่ีเกี่ยวข้องตรวจสอบว่ามีความเหมาะสมและมีความ
หลากหลายครอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน อย่างสมวัย จึงดาเนินการนาเครื่องมือไปประเมินพัฒนาการเด็กตาม
สภาพจริง ให้ครูประเมินพัฒนาการเด็กจากกิจกรรมและกิจวัตรประจาวัน เช่น การสังเกต การสอบถาม การ
สารวจ และวิเคราะห์ผลการประเมินพัฒนาการเด็ก โดยผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม และนาผลการ
ประเมินท่ีได้ไปพัฒนาคุณภาพเด็กและแลกเปล่ียนเรยี นร้กู ารจดั ประสบการณท์ ่ีมปี ระสทิ ธภิ าพ

ครูประเมินพัฒนาการเด็กจากกิจกรรมและกิจวัตรประจาวันด้วยเคร่ืองมือและวิธีการท่ีหลากหลาย และ
นาผลการประเมนิ ทไี่ ด้ไปพฒั นาคณุ ภาพเดก็ และแลกเปลี่ยนเรียนรกู้ ารจดั ประสบการณ์ท่ีมปี ระสิทธิภาพมากยง่ิ ข้ึน

จากการประเมินพัฒนาการเด็ก พบว่าผู้ปกครองยังไม่มีความรู้ในการประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริง
และยังไม่สามารถนาผลการประเมินพัฒนาการของบุตรหลานไปใช้ในการปรับปรุงส่งเสริมให้มีพัฒนาการทั้ง 4
ด้านท่ีดีขึ้น ทางสถานศึกษาดาเนินการจัดกิจกรรมประชุมผปู้ กครองและบริการเอกสารทางวิชาการ เพ่ือให้ความรู้
กับผู้ปกครองในเรอ่ื งประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริง และสามารถนาความร้ไู ปพฒั นาบุตรหลานใหม้ พี ฒั นาการ
ในทกุ ๆดา้ นอย่างสมวัย

สถานศึกษามีการแลกเปล่ียนเรียนรู้ มีการทาชุมชนแห่งการเรียนรู้ระหว่างครูและผู้เก่ียวข้อง(PLC) มีการ
นิเทศการสอนระหว่างเพื่อนครูด้วยกัน มีการกากับติดตามการสอนโดยผู้บริหารสถานศึกษา และนาผลจากการ
แลกเปล่ียนเรยี นรู้ (PLC) จากการนิเทศการสอน จากการกากับติดตามการสอนจากผู้บริหาร มาพัฒนาปรับปรุง
เพ่ือให้ครูประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและนาผลประเมินพัฒนาการเด็กไปปรบั ปรุงการจดั ประสบการณ์และมี
การรายงานผลใหผ้ ู้ปกครอง คณะกรรมการบริหารสถานศึกษา หน่วยงานต้นสงั กดั และผ้ทู เี่ ก่ียวของทราบ

ระดบั กำรศึกษำข้นั พ้ืนฐำน


Click to View FlipBook Version