The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by earng_eay, 2022-06-20 22:49:42

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา

47

มำตรฐำนท่ี 1 คุณภำพของผ้เู รียน

จุดเน้น ผเู้ รยี นมีคณุ ลักษณะและค่ำนิยมท่ดี ตี ำมทส่ี ถำนศกึ ษำกำหนด

กำรปฏิบตั งิ ำน จำนวนผู้เรยี น (คน) *** ผลกำร
ผลกำร ประเมิน
ประเด็นพิจำรณำ ปฏบิ ัติ ไม่ เป้ำหมำย ทั้งหมด ผำ่ นเกณฑ์ ประเมนิ คุณภำพทไี่ ด้
ปฏบิ ัติ (รอ้ ยละ) ทกี่ ำหนด (ร้อยละ) ยอดเยย่ี ม
91.47
ผลสัมฤทธทิ์ ำงวิชำกำรของผู้เรยี น 87.76 ยอดเยยี่ ม

1 มีความสามารถในการอา่ น การเขียน 89.00 580 90.00 ยอดเย่ยี ม

การสอื่ สาร และการคดิ คานวณ 98.45

1.1 ร้อยละของผูเ้ รียนมีทักษะในการอา่ นใน  509 89.66

แตล่ ะระดบั ชนั้ ตามเกณฑท์ สี่ ถานศึกษา 96.03

กาหนด 96.03

1.2 รอ้ ยละของผู้เรียนมีทักษะในการเขยี นใน  522 96.03
96.03
แตล่ ะระดับชนั้ ตามเกณฑท์ ส่ี ถานศกึ ษา 96.90
97.07
กาหนด

1.3 ร้อยละของผู้เรียนมีทักษะในการสอื่ สาร  571

ในแต่ละระดับชน้ั ตามเกณฑท์ ่สี ถานศกึ ษา

กาหนด

1.4 ร้อยละของผเู้ รียนมที ักษะในการคิด  520

คานวณในแต่ละดบั ชัน้ ตามเกณฑ์ท่ี

สถานศกึ ษากาหนด

2 มคี วามสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คิดอยา่ ง 86.00 581 557

มวี จิ ารณญาณ อภปิ รายแลกเปล่ยี นความ

คิดเหน็ และแก้ปัญหา

2.1 รอ้ ยละของผเู้ รียนมคี วามสามารถในการ  557

คิดจาแนกแยกแยะ ใครค่ รวญ ไตรต่ รอง

อยา่ งรอบคอบโดยใชเ้ หตผุ ลประกอบการ

ตัดสินใจ

2.2 รอ้ ยละของผู้เรียนมกี ารอภปิ ราย  557

แลกเปล่ียนความคดิ เหน็

2.3 ร้อยละของผูเ้ รียนมีการแกป้ ญั หาอยา่ งมี  557

เหตุผล

3 มีความสามารถในการสร้างนวตั กรรม 90.00 581

3.1 รอ้ ยละของผู้เรียนมคี วามสามารถในการ  563

รวบรวมความรู้ได้ทง้ั ตวั เองและการทางาน

เป็นทมี

กำรปฏิบตั งิ ำน จำนวนผเู้ รยี น (คน) *** ผลกำร
ผลกำร ประเมนิ
ประเดน็ พิจำรณำ ปฏิบตั ิ ไม่ เป้ำหมำย ทงั้ หมด ผ่ำนเกณฑ์ ประเมนิ คุณภำพทไี่ ด้
ปฏิบตั ิ (ร้อยละ) ทก่ี ำหนด (ร้อยละ)
3.2 ร้อยละของผเู้ รียนสามารถเชอื่ มโยงองค์
ความรู้และประสบการณม์ าใชใ้ นการ  561 96.72
สร้างสรรค์สิง่ ใหม่ ๆ อาจเป็นแนวความคดิ

48

โครงการ โครงงาน ชน้ิ งาน ผลผลติ  98.00 580 575 99.14 ยอดเย่ียม
4 มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยี  580 100
570 98.28
สารสนเทศ และการสื่อสาร 
 92.00 580 574 99.97 ยอดเยย่ี ม
4.1 รอ้ ยละของผู้เรยี นมีความสามารถในการใช้  574 99.97
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
4.2 ร้อยละของผ้เู รยี นมคี วามสามารถในการนา  96.00 580 577 99.48 ยอดเย่ยี ม
เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สารเพือ่ พฒั นา  580 100
ตนเองและสงั คมในด้านการเรียนรู้ การส่ือสาร การ  574 98.97
ทางานอยา่ งสร้างสรรค์ และมคี ณุ ธรรม 
กำรปฏิบัติงำน 98.75 580 577 99.48 ยอดเย่ียม
5 มีผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนตามหลกั สูตร 574 98.97
สถานศึกษา  580 100

5.1 ร้อยละของผู้เรียนบรรลกุ ารเรียนรู้ตามหลักสตู ร 99.00 579.50 99.91 ยอดเยยี่ ม
สถานศกึ ษา 580 100

6 มีความรู้ทกั ษะพนื้ ฐาน และเจตคติท่ีดีตอ่ งาน 579 99.83
อาชพี
เปำ้ หมำย จำนวนผเู้ รียน (คน) *** ผลกำร
6.1 รอ้ ยละของผเู้ รยี นมคี วามรู้ ทกั ษะพ้นื ฐานและ (รอ้ ยละ) ผลกำร ประเมิน
เจตคติทีด่ ใี นการศกึ ษาต่อ ประเมนิ คณุ ภำพทไ่ี ด้
6.2 ร้อยละของผู้เรียนมคี วามรู้ ทกั ษะพนื้ ฐานและ 99.00 580 580 (ร้อยละ)
เจตคตทิ ่ีดใี นการจดั การ การทางานหรืองานอาชีพ ยอดเยี่ยม
100
คุณลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์ของผ้เู รยี น
580 100
1 การมคี ณุ ลักษณะและคา่ นิยมทด่ี ีตามท่ี
สถานศึกษากาหนด 98.00 580 561.50 96.81 ยอดเย่ียม
545 93.97
1.1 รอ้ ยละของผเู้ รียนมพี ฤตกิ รรมเป็นผทู้ มี่ คี ณุ ธรรม
จรยิ ธรรม เคารพในกฎกตกิ า

1.2 รอ้ ยละของผเู้ รียนมีค่านิยมและจิตสานกึ ตามท่ี
สถานศึกษากาหนด โดยไมข่ ัดกับกฎหมายและ
วัฒนธรรมอันดีของสังคม

2 ความภมู ใิ จในทอ้ งถ่ินและความเป็นไทย

2.1 ร้อยละของผูเ้ รียนมีความภมู ิใจในทอ้ งถ่ิน เหน็
คณุ คา่ ของความเป็นไทย

2.2 รอ้ ยละของผู้เรยี นมีสว่ นร่วมในการอนุรักษ์
วัฒนธรรมและประเพณีไทยรวมทั้งภูมิปญั ญาไทย

ประเดน็ พิจำรณำ

3 การยอมรบั ที่จะอยูร่ ่วมกนั บนความแตกตา่ ง
และหลากหลาย

- รอ้ ยละของผเู้ รยี นยอมรบั และอยูร่ ่วมกนั บนความ
แตกต่างระหวา่ งบุคคลในดา้ นเพศ วัย เชอื้ ชาติ
ศาสนา ภาษาวฒั นธรรม ประเพณี

4 สขุ ภาวะทางร่างกายและจติ สังคม

4.1 ร้อยละของผู้เรียนมกี ารรกั ษาสุขภาพกาย
สขุ ภาพจติ อารมณแ์ ละสงั คม และแสดงออกอย่าง
เหมาะสมในแต่ละชว่ งวยั

49

4.2 รอ้ ยละของผเู้ รยี นสามารถอยู่ร่วมกับคนอื่นอย่าง  578 99.66
มีความสุข เข้าใจผ้อู ื่น ไมม่ คี วามขัดแย้งกบั ผู้อนื่ ยอดเย่ียม

สรปุ ผลกำรประเมนิ = ผลรวมผลการประเมนิ ทุกประเด็นพิจารณา
จานวนประเด็นพิจารณา

หมายเหตุ กรอกข้อมลู เฉพาะแถบสีขาว

วิธีคานวณ 100 x จานวนผ้เู รยี นผ่านเกณฑท์ ี่โรงเรยี นกาหนด
*** ผลการประเมิน (ร้อยละ) = จานวนผเู้ รยี นท้ังหมด

แปลผลการประเมนิ คณุ ภาพที่ได้ = กาลงั พฒั นา
รอ้ ยละ 00.00 – 49.99 = ปานกลาง
ร้อยละ 50.00 – 59.99 = ดี
ร้อยละ 60.00 – 74.99 = ดีเลศิ
รอ้ ยละ 75.00 – 89.99 = ยอดเยย่ี ม
ร้อยละ 90.00 – 100

จุดเน้นและกระบวนกำรพัฒนำท่ีสง่ ผลต่อระดบั คณุ ภำพของมำตรฐำนท่ี 1
จุดเนน้ ผเู้ รยี นมคี ณุ ลักษณะและคำ่ นยิ มที่ดี “น่ำเอ็นดู มจี ิตสำธำรณะ”

1.1 ผลสมั ฤทธทิ์ ำงวชิ ำกำรของผเู้ รยี น
1) มีความสามารถในการอ่าน การเขยี น การสือ่ สาร และการคิดคานวณ สรปุ ผล ดังน้ี
ผลการประเมินตนเองในปีการศึกษา 2564 พบวา่ ผู้เรยี นมีความสามารถในการอา่ น การเขยี น การสอื่ สาร

และการคดิ คานวณ คิดเป็นร้อยละ 91.47 ซงึ่ สูงกวา่ คา่ เป้าหมายทีส่ ถานศกึ ษากาหนด โดยไดด้ าเนนิ การใน
ประเดน็ การพจิ ารณา ดงั น้ี

มีการประชุมคณะกรรมการท่ีเก่ียวข้องในการร่วมกันอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิ ดเห็นเพื่อเสนอแนะ
กิจกรรม โครงการสาหรับพัฒนาผู้เรียน และกาหนดค่าเป้าหมายผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการในเรื่องความสามารถใน
การอา่ น การเขียน การสื่อสาร การคดิ คานวณ โดยกาหนดใหผ้ เู้ รยี นรอ้ ยละ 90.00 มีผลสมั ฤทธ์อิ ยใู่ นระดับดขี ้ึนไป

วิธีพฒั นาคณุ ภาพของผู้เรยี นดา้ นผลสมั ฤทธ์ิทางวชิ าการในเร่ืองความสามารถในการอ่าน การเขียน การ
ส่ือสาร และการคิดคานวณ คือ โครงการสง่ เสรมิ นิสยั รักการอ่านและการเรยี นรู้ จดั ให้มีกิจกรรมส่งเสริมการอา่ น
อย่างหลากหลาย เช่น กิจกรรมหอ้ งสมดุ เคลอื่ นที่ กจิ กรรม Book & Drink Shop และBox Book เป็นตน้ จดั
กิจกรรมเขยี นตามคาบอก จากคาพืน้ ฐานในรายวชิ าทกุ วนั ทกุ ช้นั มกี ารประเมินการอา่ น การเขยี นภาษาไทยและ
ภาษาอังกฤษ ภาคเรียนละ 1 คร้ัง นานกั เรียนทม่ี ปี ญั หาการอ่าน เขยี น มาสอนซอ่ มเสรมิ ช่วงพกั กลางวนั คาบ
ชุมนมุ และจดั ให้มคี าบซ่อมเสรมิ โดยเฉพาะสาหรบั หอ้ งเรียนสามัญ จดั กจิ กรรมวันภาษาไทยและวนั สนุ ทรภู่ ฝกึ
การคดิ เลขเรว็ การคิดในใจก่อนเรยี นคณติ ศาสตร์ กาหนดใหน้ กั เรยี นทอ่ งสูตรคณู คาศพั ทภ์ าษาองั กฤษ และบนั ทกึ
การอา่ นตามเกณฑท์ ่ีโรงเรยี นจัดให้มกี ารสอนซ่อมเสรมิ สาหรบั นกั เรียนท่ีเรยี นช้า คานวณไมไ่ ด้ และจดั ใหม้ ีชุมนมุ
คณิตศาสตร์ มกี ารประเมนิ ผลสัมฤทธท์ิ างวชิ าการในเร่ืองความสามารถในการอา่ น การเขยี น การสอื่ สาร การคดิ
คานวณ ตามตัวชว้ี ัดโดยครผู ้สู อนประจาวิชา ผู้เรยี นบรรลุเป้าหมายมีผลสมั ฤทธิ์อย่ใู นระดบั ยอดเย่ียม สงู กวา่
เป้าหมายทกี่ าหนด

จากผลการประเมินพบว่า ผู้เรียนมีผลการประเมินด้านทักษะการอ่านต่ากว่าปีท่ีผ่านมา สถานศึกษาจึงได้
จัดจัดให้มีกิจกรรมส่งเสริมการอ่านอย่างหลากหลาย เช่น กิจกรรมห้องสมุดเคลื่อนที่ กิจกรรม Book & Drink

50

Shop และBox Book เป็นต้น จัดกิจกรรมเขียนตามคาบอก จากคาพื้นฐานในรายวิชาทุกวัน ทุกชั้น และจัดให้มี
คาบซอ่ มเสรมิ ในชั้นที่เรยี นหลักสตู รสามญั

รายงานและเปดิ เผยผลการประเมินคุณภาพของผู้เรยี นต่อคณะกรรมการบริหารสถานศึกษา ผู้ปกครอง
ชมุ ชน หน่วยงานต้นสังกดั และผมู้ ีส่วนเกี่ยวข้อง โดยการเผยแพรข่ ้อมูลผา่ นชอ่ งทางตา่ งๆ เช่น เวบ็ ไซต์สถานศกึ ษา
ไลนก์ ลุ่ม และเซนตแ์ มรีสัมพันธ์ เป็นต้น

2) มคี วำมสำมำรถในกำรคิดวเิ ครำะห์ คดิ อย่ำงมวี จิ ำรณญำณ อภิปรำยแลกเปล่ียนควำมคดิ เห็นและ
แกป้ ญั หำ

ผลการประเมนิ ตนเองในปีการศึกษา 2564 พบว่าผู้เรียนมคี วามสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คิดอยา่ งมี
วิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแกป้ ัญหา คดิ เปน็ ร้อยละ 96.03 ซง่ึ สูงกว่าค่าเป้าหมายท่ี
สถานศกึ ษากาหนด โดยได้ดาเนินการในประเด็นการพิจารณา ดงั น้ี

มีการประชุมคณะกรรมการที่เกี่ยวข้องในการร่วมกันอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อเสนอแนะ
กิจกรรม โครงการพัฒนาศักยภาพผู้เรียนตามแนวพหุปัญญา โครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านและการเรียนรู้
โครงการการเรียนรู้แหล่งเรียนรู้นอกห้องเรียน โครงการสหวิทยาการเพ่ือการเรียนรู้ และโครงการห้องเรียนแห่ง
การเรียนรู้ และกาหนดค่าเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ทางความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ
อภิปรายแลกเปล่ยี นความคิดเหน็ และแก้ปญั หาโดยกาหนดให้ผ้เู รียนรอ้ ยละ 88.00 มีผลสัมฤทธอิ์ ยูใ่ นระดับดีขน้ึ ไป

วิธีการพัฒนาท่ีสนับสนุนให้มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย
แลกเปล่ียนความคิดเห็น และแก้ปัญหา คือ โดยจัดการเรียนรู้แบบโครงงานทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ การเรียน
การสอนแบบ Active Learning ใช้เทคนิคการสอนแบบร่วมมือ ร่วมระดมสมอง แสดงความคิดเห็นแก้ปัญหา ฝึก
ตีความโจทยป์ ัญหา และฝึกทักษะด้านกระบวนการคดิ ในช้ันเรียนสามารถสรปุ ความรู้จากการอ่านโดยการเลา่ เรื่อง
การเขียนแผนผังความคิด มีการดาเนินงานอย่างเป็นระบบและต่อเน่ือง เพ่ือให้งานประสบผลสาเร็จอย่ างมี
คุณภาพ นอกจากนยี้ ังจดั ใหม้ ีโครงการทีส่ ่งเสรมิ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภปิ ราย
และเปลี่ยนความคิดเห็นและแก้ปัญหาท่ีหลากหลายประกอบด้วย โครงการพัฒนาศักยภาพผู้เรียนตามแนวพหุ
ปัญญา โครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านและการเรียนรู้ โครงการการเรียนรู้โดยการทัศนศึกษา โครงการสห
วิทยาการเพื่อการเรียนรู้ และโครงการห้องเรียนแห่งการเรียนรู้ ฯลฯ มีการประเมินผลสัมฤทธิ์ในเร่ือง
ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา ตาม
ตวั ช้วี ัดโดยครผู ู้สอนประจาวชิ า ผู้เรยี นบรรลุเป้าหมายมีผลสัมฤทธิ์อย่ใู นระดบั ยอดเย่ียม สงู กวา่ เปา้ หมายทีก่ าหนด

จากผลการประเมนิ พบว่า ผ้เู รยี นบางสว่ นมผี ลการประเมนิ ไมผ่ ่านเกณฑท์ ก่ี าหนดในปีการศึกษาท่ีผา่ นมา
สถานศึกษาจงึ ได้จดั ให้มีโครงการสหวิทยาการเพอื่ การเรยี นรู้ โครงการห้องเรียนแห่งการเรียนรู้ การจดั กิจกรรม
การสอนแบบ Active Learning และปรับหลักสตู รโดยมกี ารนาเอาวธิ กี ารสอนของวทิ ยาการคานวณในรูปแบบ
unplug มาบรู ณาการกบั รายวิชาอ่นื ๆ เพื่อพัฒนาความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ
อภปิ รายแลกเปลี่ยนความคิดเหน็ และแกป้ ญั หา

รายงานและเปิดเผยผลการประเมินคุณภาพของผู้เรียนต่อคณะกรรมการบริหารสถานศึกษา ผู้ปกครอง
ชมุ ชน หน่วยงานต้นสังกดั และผ้มู สี ว่ นเก่ยี วข้อง โดยการเผยแพร่ขอ้ มลู ผ่านช่องทางตา่ งๆ เช่น เวบ็ เพจสถานศึกษา
ไลนก์ ลุ่ม และวารสารเซนตแ์ มรีสัมพนั ธ์ เปน็ ตน้

3) มีควำมสำมำรถในกำรสร้ำงนวัตกรรม
ผลการประเมินตนเองในปีการศึกษา 2564 พบว่าผู้เรียนมีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม คิดเป็นร้อย
ละ 96.90 ซึ่งสูงกว่าค่าเป้าหมายที่สถานศึกษากาหนด โดยได้ดาเนินการในประเด็นการพิจารณา ผู้เรียนมี
ความสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม ดังนี้

51

มีการประชุมคณะกรรมการท่ีเกี่ยวข้องในการร่วมกันอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อเสนอแนะ
กิจกรรม โครงการสาหรับพัฒนาผู้เรียน เช่น จัดกิจกรรมในการทางานเป็นทีมในการเรียนรู้ สะเต็มศึกษาและ
โครงงาน ร่วมกันสร้างนวัตกรรมและสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง โดยมีครูประจาชั้น ครูประจาวิชาเป็นท่ีปรึกษา
ระดับมัธยมศึกษา จัดรายวชิ าเพิ่มเติม STEM Education ช้ันเรียนและกาหนดคา่ เปา้ หมายผลสัมฤทธิท์ างวิชาการ
ในเรือ่ งความสามารถในการสร้างนวตั กรรม โดยกาหนดใหผ้ ูเ้ รียนรอ้ ยละ 90.00 มผี ลสมั ฤทธิ์อยใู่ นระดับดีข้นึ ไป

วิธีการพัฒนาที่สนับสนุนให้มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม โดยจัดกิจกรรมในการทางานเป็นทีมใน
การเรียนรู้ สะเต็มศึกษาและโครงงาน ร่วมกันสร้างนวัตกรรมและสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง โดยมีครูประจาชั้น
ครูประจาวิชาเป็นท่ีปรึกษา ระดับมัธยมศึกษา จัดรายวิชาเพิ่มเติม STEM Education ช้ันเรียน เพื่อส่งเสริมและ
พัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถด้านการสร้างนวัตกรรม ทั้งสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง และทางานเป็นทีม มีการ
เชื่อมโยงองค์ความรู้และประสบการณ์นามาใช้สร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ มีการประเมินผลสัมฤทธิ์ความสามารถในการ
สร้างนวัตกรรม ตามตัวชี้วัดโดยครูผู้สอนประจาวิชา ผู้เรียนบรรลุเป้าหมายมีผลสัมฤทธิ์อยู่ในระดับยอดเยี่ยม สูง
กวา่ เป้าหมายท่ีกาหนด

จากผลการประเมนิ พบวา่ ผู้เรยี นยงั ต้องพัฒนาศักยภาพในการสรา้ งนวัตกรรมให้มีคณุ ภาพเพิ่มข้ึน จัดให้มี
การพัฒนาหลักสูตรให้เช่ือมโยงกับการพัฒนานวัตกรรมของผู้เรียนและโครงการพัฒนาครูสู่มืออาชีพ เพ่ือพัฒนา
ครูผูส้ อนให้มีประสิทธิภาพในการจดั การเรยี นการสอนทท่ี าให้ผู้เรยี นสามารถสรา้ งนวัตกรรมใหม่ๆได้

รายงานและเปิดเผยผลการประเมินคุณภาพของผู้เรียนต่อคณะกรรมการบริหารสถานศึกษา ผู้ปกครอง
ชมุ ชน หนว่ ยงานต้นสงั กดั และผู้มีสว่ นเก่ียวขอ้ ง โดยการเผยแพรข่ อ้ มลู ผ่านช่องทางตา่ งๆ เช่น เวบ็ เพจสถานศึกษา
ไลนก์ ล่มุ และวารสารเซนต์แมรีสมั พนั ธ์ เปน็ ตน้

4) มีควำมสำมำรถกำรใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสือ่ สำร
ผลการประเมินตนเองในปีการศึกษา 2564 พบว่าผู้เรียนมีความสามารถการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสาร คิดเป็นร้อยละ 99.14 ซึ่งต่ากว่าคา่ เป้าหมายที่สถานศกึ ษากาหนด โดยไดด้ าเนินการในประเดน็ การ
พจิ ารณา ผเู้ รียนมีความสามารถการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารดังนี้
มีการประชุมคณะกรรมการที่เก่ียวข้องในการร่วมกันอภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเห็นเพ่ือเสนอแนะ
กิจกรรม โครงการสาหรับพัฒนาผู้เรียน และกาหนดค่าเป้าหมายผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการในเร่ืองความสามารถการ
ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารโดยกาหนดใหผ้ ู้เรยี นร้อยละ 98.00 มีผลสมั ฤทธอิ์ ยู่ในระดบั ดขี ้ึนไป
วธิ กี ารพฒั นาท่สี นับสนนุ ให้ มคี วามสามารถการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร คอื จดั ให้มชี ัว่ โมง
คอมพิวเตอร์ให้กับนักเรียนสัปดาห์ละ 1 คาบเรียน หลักสูตรพิเศษ 2 คาบเรียน ฝึกนักเรียนให้มีความใฝ่รู้ใฝ่เรียน
ศึกษาหาความรู้จาก Internet สร้างสรรค์ผลงานอย่างสร้างสรรค์จากคอมพิวเตอร์ บูรณาการทุกกลุ่มสาระการ
เรียนรู้ แนะนาให้ผู้เรียนมีคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์ในยุคดิจิตอล จัดโครงการห้องเรียนแห่งการเรียนรู้ โดย
การนาส่ือ เทคโนโลยีมาประกอบการเรียนการสอน ให้เพียงพอต่อจานวนผู้เรียน มีการประเมินผลสัมฤทธ์ิ
ความสามารถการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ตามตัวช้ีวัดโดยครูผู้สอนประจาวิชา ผู้เรียนบรรลุ
เป้าหมายมีผลสัมฤทธอ์ิ ย่ใู นระดบั ยอดเยย่ี ม สูงกวา่ เปา้ หมายท่กี าหนด
จากผลการประเมินพบว่า ผู้เรียนบางส่วนมีผลการประเมินไม่ผ่านเกณฑ์ท่ีกาหนดในปีที่ผ่านมา
สถานศึกษาได้จัดให้มีการดูแล พัฒนา และจัดหาครุภัณฑ์เทคโนโลยีให้มีความเพียงพอต่อผู้เรียน และส่งเสริม
กิจกรรมในการเรียนการสอนในรายวิชาคอมพิวเตอร์ และพัฒนาครูให้มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีประกอบการ
สอนให้มากขน้ึ
รายงานและเปิดเผยผลการประเมินคุณภาพของผู้เรียนต่อคณะกรรมการบริหารสถานศึกษา ผู้ปกครอง
ชมุ ชน หนว่ ยงานตน้ สงั กดั และผมู้ สี ว่ นเกยี่ วขอ้ ง โดยการเผยแพร่ข้อมูลผา่ นชอ่ งทางต่างๆ เชน่ เวบ็ ไซต์สถานศึกษา
ไลนก์ ลุ่มและวารสารเซนตแ์ มรีสัมพันธ์ เป็นตน้

52

5) มีผลสมั ฤทธิท์ ำงกำรเรยี นตำมหลกั สตู รสถำนศึกษำ
ผลการประเมินตนเองในปีการศึกษา 2564 พบว่าผู้เรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามหลักสูตร
สถานศึกษา คิดเป็นร้อยละ99.97 ซึ่งสูงกว่าค่าเป้าหมายที่สถานศึกษากาหนดโดยได้ดาเนินการในประเด็นการ
พิจารณา ดงั น้ี
มีการประชุมคณะกรรมการที่เกี่ยวข้องในการร่วมกันอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพ่ือเสนอแนะ
กิจกรรม โครงการสาหรับพฒั นาผเู้ รียน และกาหนดคา่ เป้าหมายผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการในเรือ่ งมผี ลสมั ฤทธทิ์ างการ
เรยี นตามหลกั สูตรสถานศึกษา โดยกาหนดใหผ้ ู้เรียนร้อยละ 94.00 มผี ลสมั ฤทธิ์อยู่ในระดับดีขึ้นไป
วิธีการพัฒนาที่สนับสนุนให้มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา คือ โดยครูจัดการเรียนรู้
ตามมาตรฐาน ตัวช้ีวัดตามหลักสูตรสถานศึกษาของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ วัดผลประเมินผลเพ่ือการพัฒนา
กอ่ นเรียน ระหว่างเรยี นและหลังเรียน ตามตัวชว้ี ดั ด้วยแอปพลิเคชั่น Grader จดั กระบวนการเรยี นร้ดู ้วยเทคนคิ ที่
หลากหลาย มีท้ังกจิ กรรมเด่ียว กิจกรรมกล่มุ และวัดผลปลายภาคเรยี นตามมาตรฐานตัวชวี้ ัด ด้วยขอ้ สอบมาตรฐาน
ของฝา่ ยการศึกษาอัครสังฆมณฑลกรงุ เทพ ฯ พรอ้ มทั้งจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้านชุมนุม ลูกเสอื แนะแนว และ
กิจกรรมลดเวลาเรียนเพ่ิมเวลารู้ จัดกิจกรรมวันวิชาการ ค่ายภาษาอังกฤษ ค่ายวิทยาศาสตร์ เรียนรู้จากแหล่ง
เรียนรู้นอกห้องเรียน โครงการ/กิจกรรมของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ เพ่ือพัฒนานักเรียนให้มีความรู้ มีทักษะ
ครอบคลุมมาตรฐาน และตัวชี้วัดตามหลักสูตรสถานศึกษา ส่งเสริมให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตาม
หลักสูตรสถานศึกษา ทั้งส่งเสริมให้ครูผู้สอนทุกคนทาวิจัยเพ่ือพัฒนาการเรียนการสอนในทุกภาคเรียน และส่ง
แผนการจัดการเรียนรู้ ท้ังยังมีการสอนซ่อมเสริมนักเรียนที่มีปัญหาทางด้านการเรียน เป็นต้น มีการประเมินผล
สัมฤทธ์ิทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา ตามตัวช้ีวัดโดยครูผู้สอนประจาวิชา ผู้เรียนบรรลุเป้าหมายมี
ผลสัมฤทธ์อิ ยูใ่ นระดบั ยอดเยย่ี ม สงู กว่าเป้าหมายทกี่ าหนด
จากผลการประเมินพบวา่ ผู้เรียนมีผลการประเมินผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นตามหลกั สูตรสถานศึกษาสูงกว่า
ปีท่ีผ่านมา สถานศึกษาได้จัดให้มีการพัฒนาโครงการและกิจกรรมต่างๆโดยให้ครูที่รับผิดชอบแต่ละโครงการ
ปรบั ปรุงพัฒนากิจกรรมให้ดีย่ิงข้ึน
รายงานและเปิดเผยผลการประเมินคุณภาพของผู้เรียนต่อคณะกรรมการบริหารสถานศึกษา ผู้ปกครอง
ชุมชน หนว่ ยงานต้นสังกดั และผู้มสี ว่ นเก่ยี วข้อง โดยการเผยแพร่ขอ้ มูลผา่ นช่องทางต่างๆ เช่น เว็บไซต์สถานศกึ ษา
ไลน์กลมุ่ และวาสารเซนตแ์ มรีสมั พันธ์ เป็นตน้
6) มคี วำมรู้ ทกั ษะพน้ื ฐำน เจตคตทิ ด่ี ตี ่องำนอำชพี
ผลการประเมินตนเองในปีการศึกษา 2564 พบวา่ ผู้เรียนมคี วามรู้ ทักษะพืน้ ฐาน เจตคติทีด่ ตี ่องานอาชีพ
คิดเปน็ รอ้ ยละ 99.48 ซึ่งสงู กว่าค่าเป้าหมายทสี่ ถานศกึ ษากาหนด โดยได้ดาเนินการในประเดน็ การพิจารณา ดังน้ี
มีการประชุมคณะกรรมการที่เก่ียวข้องในการร่วมกันอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อเสนอแนะ
กิจกรรม โครงการสาหรับพัฒนาผู้เรียน และกาหนดค่าเป้าหมายผู้เรียนมีความรู้ ทักษะพ้ืนฐาน เจตคติท่ีดีต่องาน
อาชพี โดยกาหนดให้ผเู้ รียนร้อยละ 98.00 มผี ลสัมฤทธอ์ิ ยู่ในระดบั ดขี ้ึนไป
วิธีการพัฒนาท่ีสนับสนุนให้มีความรู้ ทักษะพ้ืนฐาน เจตคติที่ดีต่องานอาชีพ คือ ส่งเสริม และปลูกฝัง
ค่านิยม และทัศนคติที่ดีต่องานอาชีพ โดยจัดโครงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา เพื่อส่งเสริมให้
ครูและนักเรียน นาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิต จดั โครงการหน่ึงห้องเรียน
หน่ึงผลิตภัณฑ์(One Classroom One Product) โดยกาหนดให้ทุกชั้นสร้างผลิตภัณฑ์ประจาช้ันเรียน เพื่อการ
ฝกึ ปฏิบัติจริง ในการผลิต การซ้ือ ขายแลกเปล่ียน ตลอดจนฝกึ จัดทาบัญชีรายรับ-รายจ่าย และฝกึ ให้นักเรียนเกิด
ทกั ษะพ้นื ฐาน รจู้ ักหารายไดร้ ะหวา่ งเรยี น นอกจากน้ยี งั เชญิ ผู้ปกครองทป่ี ระกอบอาชพี ตา่ ง มาเป็นวทิ ยากรแนะนา
และสร้างแรงบันดาลใจในการประกอบอาชีพในอนาคต เช่น การขายออนไลน์ ทาขนมไทย สอนกระเป๋า
ผักตบชวา โรตีสายไหมและป้ันตุ๊กตาชาววัง ฯลฯ ส่งเสริมและสนับสนุนให้นักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3

53

ศึกษาต่อในสายอาชีพ โดยในแต่ละปีจะมีจานวนนักเรียนท่ีศึกษาต่อในสายอาชีพเพิ่มขึ้นทุกปีการศึกษา มีการ
ประเมินผลสัมฤทธิ์การมคี วามรู้ ทกั ษะพนื้ ฐาน เจตคติทด่ี ีตอ่ งานอาชีพ ตามตวั ช้วี ัดโดยครูผู้สอนประจาวิชา ผเู้ รียน
บรรลุเป้าหมายมีผลสัมฤทธิ์อยู่ในระดบั ยอดเยีย่ มสงู กวา่ เปา้ หมายทก่ี าหนด

มีการประเมินโครงการและกิจกรรม อย่างเป็นระบบ โดยให้ครูที่รับผิดชอบแต่ละโครงการนาผลการมา
ประเมินโครงการและกจิ กรรม มาปรบั ปรงุ และพฒั นากจิ กรรมใหด้ ยี ่ิงข้ึนทุกปกี ารศกึ ษา

รายงานและเปิดเผยผลการประเมินคุณภาพของผู้เรียนต่อคณะกรรมการบริหารสถานศึกษา ผู้ปกครอง
ชมุ ชน หน่วยงานต้นสงั กัด และผมู้ สี ่วนเก่ียวขอ้ ง โดยการเผยแพรข่ ้อมูลผ่านช่องทางต่างๆ เช่น เว็บไซต์สถานศกึ ษา
ไลน์กลุม่ และวารสารเซนตแ์ มรีสัมพนั ธ์ เปน็ ตน้

1.2 คุณลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงคข์ องผู้เรยี น
1) กำรมีคณุ ลกั ษณะและคำ่ นิยมทดี่ ีตำมท่ีสถำนศกึ ษำกำหนด
ผลการประเมินตนเองในปีการศึกษา 2564 พบว่าผู้เรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษา
กาหนด คิดเป็นร้อย 99.48 ซึ่งสูงกว่าค่าเป้าหมายท่ีสถานศึกษากาหนด โดยได้ดาเนินการในประเด็นการ
พจิ ารณา ดังนี้
มีการประชุมคณะกรรมการที่เกี่ยวข้องในการร่วมกันอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพ่ือเสนอแนะ
กิจกรรม โครงการสาหรับพัฒนาผู้เรียน และกาหนดค่าเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ด้านคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ของ
ผู้เรียนในเรื่องการมีคุณลกั ษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากาหนด โดยกาหนดให้ผู้เรียนรอ้ ยละ 99.00 มีผล
การประเมนิ อยู่ในระดับดีขึน้ ไป
วิธีการพัฒนาที่สนับสนุนให้มีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากาหนด คือ โครงการ
ส่งเสริมอัตลักษณ์ของโรงเรียน กิจกรรมสัมผัสชีวิตผู้ยากไร้และจัดให้มีวันพระประจาโรงเรียน เพ่ือฝึกให้นักเรียน
ปฏิบัติศาสนกิจของศาสนา มีการดาเนินงานอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง โดยต้ังคณะกรรมการร่วมกันประชุม
กากับติดตาม ประเมินและนาผลไปพัฒนาการดาเนินงาน มีผลการดาเนินงานปรากฏเด่นชัด คือ ผู้เรียนมีกริยา
มารยาทเรียบร้อย ใช้คาพูดสุภาพกับครูและเพ่ือน เดินก้มหลังผ่านผู้ใหญ่ จัดให้มีการประกวดมารยาทระดับ
หอ้ งเรยี น ไดร้ ับการฝึกจากพระสงฆเ์ ก่ยี วกบั การกราบพระ ศาสนพธิ ีต่าง ๆ นงั่ สมาธทิ กุ เช้าก่อนเข้าเรยี น มีสว่ นรว่ ม
ในการดูแลบริเวณโรงเรียน ผู้เรียนรู้จักออมเงินและใช้ของอย่างประหยัด มีจิตใจเอ้ือเฟ้ือเผื่อแผ่ บริจาคเสื้อผ้า
ส่ิงของให้กับเด็กด้อยโอกาส ครูจัดการเรียนรู้โดยการบูรณาการคุณลักษณะที่พึงประสงค์ลงในกิจกรรมการเรียนรู้
ทุกรายวิชา ผู้เรียนมีการประเมินผลสัมฤทธิ์การมีคุณลักษณะและค่านิยมท่ีดีตามท่ีสถานศึกษากาหนด ตาม
ตัวช้ีวัดโดยครู ผู้สอนประจาวิชา ผู้เรียนบรรลุเป้าหมายมีผลสัมฤทธิ์อยู่ในระดับยอดเย่ียม สูงกว่าเป้าหมายท่ี
กาหนด
มีการประเมินโครงการและกิจกรรม อย่างเป็นระบบ โดยให้ครูท่ีรับผิดชอบแต่ละโครงการนาผลการมา
ประเมินโครงการและกจิ กรรม มาปรบั ปรงุ และพัฒนากจิ กรรมใหด้ ีย่งิ ขึ้นทุกปีการศึกษา
รายงานและเปิดเผยผลการประเมินคุณภาพของผู้เรียนต่อคณะกรรมการบริหารสถานศึกษา ผู้ปกครอง
ชมุ ชน หน่วยงานตน้ สังกดั และผมู้ ีสว่ นเกีย่ วข้อง โดยการเผยแพรข่ อ้ มลู ผ่านชอ่ งทางตา่ งๆ เช่น เวบ็ ไซต์สถานศึกษา
ไลนก์ ลุม่ และวารสารเซนตแ์ มรีสัมพนั ธ์ เป็นต้น
2) ควำมภมู ิใจในท้องถ่นิ และควำมเป็นไทย
ผลการประเมินตนเองในปีการศึกษา 2564 พบว่าผู้เรียนมีความภูมิใจในท้องถ่ินและความเป็นไทย คิด
เป็นรอ้ ยละ 99.91 สูงกว่าค่า เปา้ หมายที่สถานศึกษากาหนด โดยไดด้ าเนินการในประเด็นการพิจารณา ดงั น้ี
มีการประชุมคณะกรรมการที่เกี่ยวข้องในการร่วมกันอภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเห็นเพ่ือเสนอแนะ
กิจกรรม โครงการสาหรับพัฒนาผู้เรียน และกาหนดค่าเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ด้านคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ของ

54

ผเู้ รียนในเร่ืองการมีความภูมิใจในท้องถ่ินและความเป็นไทย โดยกาหนดให้ผู้เรียนร้อยละ 99.00 มีผลการประเมิน
อย่ใู นระดบั ดีข้นึ ไป

วิธกี ารพฒั นาทสี่ นับสนุนให้มคี วามภูมิใจในทอ้ งถ่ินและความเป็นไทย คือ โครงการราชธานีเกา่ อขู่ า้ ว อูน่ ้า
เลิศล้ากานท์กวี คนดศี รีอยุธยา เล่อคุณค่ามรดกโลก โดยการบูรณาการคาขวัญของจังหวัดลงในกิจกรรมการเรียน
การสอน การเรียนรู้นอกสถานที่อยุธยามรดกโลก ให้นักเรียนได้เรยี นรู้วิถีชวี ิตชุมชนสามเรือน การเพาะเห็ดตบั เต่า
และประเพณีท้องถ่ินที่สาคัญ โรงเรียนส่งเสริมประเพณีและวัฒนธรรม มีการสืบสานวัฒนธรรมไทย ในช่ัวโมง
ชุมนุมและกิจกรรม ท้ังกิจกรรมดนตรีไทย นาฎศิลป์ไทย ทัศนศิลป์ มีโครงการรักษ์ความเป็นไทย มารยาทไทย
งดงาม มีกิจกรรมส่งเสริมอัตลักษณ์ของโรงเรียน ผ่านกิจกรรมยิ้มไหว้ทักทายกัน น้องไว้พ่ี พ่ีรับไหว้น้อง กิจกรรม
ประกวดมารยาทไทย เป็นต้น มกี ารประเมนิ ผลสัมฤทธ์ิการมีความภูมิใจในท้องถนิ่ และความเป็นไทย ตามตัวชี้วัด
โดยครู ผู้สอนประจาวิชา ผเู้ รียนบรรลเุ ป้าหมายมีผลสัมฤทธิ์อย่ใู นระดับยอดเยี่ยม สูงกวา่ เปา้ หมายทีก่ าหนด

มีการประเมินโครงการและกิจกรรม อย่างเป็นระบบ โดยให้ครูที่รับผิดชอบแต่ละโครงการนาผลการมา
ประเมินโครงการและกิจกรรม มาปรับปรุงและพัฒนากิจกรรมให้ดีย่ิงข้ึนทุกปีการศึกษา รายงานและเปิดเผยผล
การประเมินคุณภาพของผู้เรยี นตอ่ คณะกรรมการบริหารสถานศกึ ษา ผู้ปกครอง ชุมชน หนว่ ยงานต้นสงั กัด และผูม้ ี
ส่วนเกี่ยวข้อง โดยการเผยแพร่ข้อมูลผ่านช่องทางต่างๆ เช่น เว็บไซต์สถานศึกษา ไลน์กลุ่มและวารสารเซนต์แมรี
สัมพันธ์ เปน็ ต้น

3) ยอมรบั ทจี่ ะอยรู่ ว่ มกันบนควำมแตกตำ่ งและหลำกหลำย
ผลการประเมินตนเองในปีการศึกษา 2564 พบว่าผู้เรียนยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและ
หลากหลายคิดเป็นร้อยละ 100 ซึ่งสูงกว่าค่าเป้าหมายท่ีสถานศึกษากาหนด โดยได้ดาเนินการในประเด็นการ
พจิ ารณา ดงั นี้
มีการประชุมคณะกรรมการท่ีเก่ียวข้องในการร่วมกันอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อเสนอแนะ
กิจกรรม โครงการสาหรับพัฒนาผู้เรียน และกาหนดค่าเป้าหมายผลสัมฤทธ์ิด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของ
ผู้เรียนในเร่ืองการยอมรับท่ีจะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย โดยกาหนดให้ผู้เรียนร้อยละ 80 มี
ผลสมั ฤทธิ์อยู่ในระดบั ดีขึ้นไป
สนับสนุนให้มีการยอมรับท่ีจะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย คือ โครงการโรงเรียนศาสน
สัมพันธ์ โดยจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมศาสนกิจของแต่ละศาสนาอย่างเท่าเทียมกัน ทุกคนได้เรียนรู้ศาสนกิจ และ
หลักธรรมของแต่ละศาสนา โดยการเชิญผู้นาของแต่ละศาสนามาให้ความรู้กับนักเรียนอยู่เสมอ จัดให้นักเรียนไป
เรียนรู้ศาสนสถานของแตล่ ะศาสนาทุกปกี ารศึกษา เพ่อื ส่งเสริมใหผ้ ู้เรียนยอมรับความคิดและวฒั นธรรมท่ีแตกตา่ ง
นอกจากนี้โรงเรียนจัดการเรียนการสอนที่มีเด็กพิเศษเรียนร่วมกับเด็กปกติ โดยเด็กเรียนดีให้ความช่วยเหลือ ส่วน
ใหญ่เป็นเด็กพิเศษด้านการเรียนรู้ จัดกิจกรรมพ่ีช่วยน้อง กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ในห้องเรียน เป็นต้น มีการ
ประเมินผลสัมฤทธิ์การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย ตามตัวช้ีวัดโดยครูผู้สอนประจา
วิชา ผู้เรยี นบรรลเุ ปา้ หมายมีผลสัมฤทธอิ์ ยู่ในระดบั ยอดเย่ียมคิดเปน็ ร้อยละ 100 สงู กวา่ เปา้ หมายท่ีกาหนด
มกี ารประเมินโครงการและกจิ กรรม อยา่ งเป็นระบบ โดยให้ครูท่รี บั ผิดชอบแต่ละโครงการนาผลการมา
ประเมินโครงการและกจิ กรรม มาปรับปรุงและพฒั นากจิ กรรมใหด้ ียิ่งขึ้นทกุ ปีการศกึ ษา รายงานและเปดิ เผยผล
การประเมินคุณภาพของผูเ้ รยี นต่อคณะกรรมการบริหารสถานศึกษา ผูป้ กครอง ชุมชน หนว่ ยงานตน้ สงั กดั และผมู้ ี
ส่วนเกย่ี วขอ้ ง โดยการเผยแพร่ขอ้ มูลผ่านช่องทางตา่ งๆ เชน่ เวบ็ ไซต์สถานศึกษา ไลนก์ ลมุ่ และวารสารเซนต์แมรี
สัมพนั ธ์ เปน็ ตน้
4) สุขภำวะทำงรำ่ งกำยและจิตสังคม
ผลการประเมินตนเองในปีการศึกษา 2564 พบว่าผู้เรียนมีสุขภาวะทางร่างกายและจิตสังคม คดิ เปน็ ร้อย
ละ 96.81 ซึง่ ต่ากว่าคา่ เป้าหมายที่สถานศกึ ษากาหนด โดยไดด้ าเนินการในประเดน็ การพจิ ารณา ดังนี้

55

มีการประชุมคณะกรรมการที่เกี่ยวข้องในการร่วมกันอภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเห็นเพ่ือเสนอแนะ
กิจกรรม โครงการสาหรับพัฒนาผู้เรียน และกาหนดค่าเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของ
ผเู้ รียนในเร่อื งมสี ขุ ภาวะทางรา่ งกายและจติ สังคม โดยกาหนดให้ผู้เรียนร้อยละ 98.00 มีผลการประเมินอยใู่ นระดับ
ดีขนึ้ ไป

วิธีการพัฒนาท่ีสนับสนุนให้มีสุขภาวะทางร่างกายและจิตสังคม คือโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
โดยจัดอาหารกลางวันตามหลกั โภชนาการ จัดให้มีการดื่มนมทุกเช้า มีการตรวจสุขภาพประจาปี บันทึกการตรวจ
สุขภาพ น้าหนัก ส่วนสูงและทดสอบสมรรถภาพทางกาย ถ้าพบนักเรียนน้าหนัก ส่วนสูงไม่เป็นไปตามเกณฑ์ ครู
ประจาชั้นและครูกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาจะนานักเรียนดังกล่าวไปพัฒนาและแก้ปัญหา
นอกจากน้ียังกิจกรรมกายบริหารยามเช้า ส่งเสริมให้ผู้เรียนปฏิบัติตามสุขบัญญัติ ๑๐ ประการ และจัดให้มี
กิจกรรมกีฬาเพื่อส่งเสริมสุขภาวะทางร่างกายและสุขภาพจิต อารมณ์ สังคมได้อย่างเหมาะสม เพื่อให้ผู้เรียนมีสุข
นิสัยในการดูแลสุขภาพออกกาลังกายสม่าเสมอ มีน้าหนักส่วนสูง และมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มาตรฐาน
รู้จักป้องกนั และหลีกเลี่ยงจากส่งิ เสพตดิ ใหโ้ ทษ สภาวะทเี่ ส่ยี งต่อความรุนแรง โรคภัย อุบตั ิเหตุและปญั หาทางเพศ

มีการประเมนิ ผลสมั ฤทธก์ิ ารมีสุขภาวะทางร่างกายและจติ สงั คม ตามตัวชว้ี ัดโดยครผู ู้สอนประจาวชิ า
ผ้เู รยี นบรรลเุ ป้าหมายมีผลสมั ฤทธอ์ิ ยูใ่ นระดับยอดเย่ียมตา่ กวา่ เป้าหมายทก่ี าหนด

ผลการประเมินพบว่า ผู้เรียนมีน้าหนัก ส่วนสูง เกินเกณฑ์จานวนมากขึ้นกว่าปีท่ีผ่านมา สถานศึกษาจึงได้
จัดให้มีกิจกรรมเซนต์แมรีไร้พุง โดยส่งเสริมให้ผู้เรียมควบคุมอาหาร และออกกาลังกาย ร่วมมือระหว่างบ้านกับ
โรงเรียน มีการติดตามผลการพัฒนาเป็นระยะ ๆ 3 เดือน 6 เดือนและส้ินปีการศึกษา เพ่ือส่งเสริมสุขภาวะทาง
รา่ งกายให้แข็งแรงและมีจิตสังคมที่ดีในการทากิจกรรมร่วมกับผู้อื่น รวมถึงการมีความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้เรียน
ครูและผูป้ กครอง

รายงานและเปิดเผยผลการประเมินคุณภาพของผู้เรียนต่อคณะกรรมการบริหารสถานศึกษา ผู้ปกครอง
ชมุ ชน หนว่ ยงานต้นสังกัด และผ้มู ีส่วนเกย่ี วข้อง โดยการเผยแพรข่ ้อมลู ผา่ นชอ่ งทางตา่ งๆ เชน่ เวบ็ ไซต์สถานศกึ ษา
ไลนก์ ลมุ่ และวารสารเซนต์แมรีสมั พันธ์ เป็นต้น

56

มำตรฐำนท่ี 2 กระบวนกำรบรหิ ำรและกำรจดั กำร

จดุ เน้น สง่ เสรมิ ผู้เรยี นใหม้ คี ุณลักษณะและค่ำนิยมที่ดีตำมที่สถำนศกึ ษำกำหนด

ประเด็นพจิ ำรณำ กำรปฏิบตั ิงำน *** ผลกำรประเมนิ
ผลสำเรจ็ (ข้อ) คณุ ภำพท่ีได้
ปฏบิ ตั ิ ไม่ ยอดเย่ียม
ปฏิบัติ 5.00
ดีเลิศ
1 มเี ป้าหมายวสิ ัยทัศน์และพันธกจิ ที่สถานศกึ ษากาหนด 4.00
ดเี ลิศ
ชดั เจน 4.00

1.1 กาหนดเปา้ หมายท่ีสอดคล้องกับบรบิ ทของสถานศกึ ษา 

ความตอ้ งการของชุมชน ทอ้ งถิ่น วตั ถปุ ระสงคข์ องแผนการ

ศกึ ษาชาติ นโยบายของรัฐบาลและต้นสังกัด

1.2 กาหนดวสิ ยั ทศั น์ และพนั ธกิจ ทสี่ อดคลอ้ ง เชอ่ื มโยง 

กบั เปา้ หมาย แผนยุทธศาสตร์ชาติ แผนการศกึ ษาแห่งชาติ

นโยบายของรฐั บาลและต้นสังกดั

1.3 กาหนดเปา้ หมาย วิสัยทศั น์และพนั ธกจิ ทนั ตอ่ การ 

เปลย่ี นแปลงของสังคม

1.4 นาเปา้ หมาย วิสัยทัศน์ และพันธกจิ ผา่ นความเห็นชอบ 

จากคณะกรรมการบริหารโรงเรียน

1.5 นาเปา้ หมาย วิสัยทศั น์ และพันธกิจของโรงเรยี นเผยแพร่ 

ต่อสาธารณชน

2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา

2.1 มกี ารวางแผนพฒั นาคุณภาพการจัดการศกึ ษาเป็นระบบ 

2.2 มีการนาแผนไปปฏบิ ัติ ติดตามตรวจสอบประเมนิ ผลและ 

ปรบั ปรงุ พัฒนางานอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง

2.3 มีการบริหารอัตรากาลัง ทรพั ยากรทางการศึกษาจดั ระบบ 

ดูแลชว่ ยเหลือนักเรียน และระบบการนิเทศภายใน

2.4 สถานศกึ ษามีการนาข้อมลู มาใชใ้ นการพฒั นาสถานศึกษา 

2.5 สถานศกึ ษาให้บคุ ลากรและผทู้ ีเกีย่ วขอ้ งทกุ ฝา่ ยมสี ว่ นรว่ ม 

ในการวางแผน ปรบั ปรุง พฒั นา และรว่ มรบั ผดิ ชอบต่อผลการ

จัดการศึกษา

3 ดาเนินงานพฒั นาวิชาการทเ่ี น้นคณุ ภาพผู้เรยี นรอบด้าน
ตามหลกั สูตรสถานศึกษาและทกุ กลมุ่ เป้าหมาย

3.1 บริหารจดั การเกีย่ วกับงานวิชาการ ในด้านการพฒั นา 

หลกั สูตรสถานศึกษา  57
3.2 บรหิ ารจดั การเกย่ี วกบั งานวิชาการ ในดา้ นการพฒั นา
หลักสตู รตามความต้องการของผู้เรยี น ทสี่ อดคล้องกับบรบิ ท  ผลกำรประเมิน
ของสถานศกึ ษา ชุมชน และท้องถ่ิน คณุ ภำพที่ได้
3.3 บริหารจดั การเกี่ยวกับกจิ กรรมเสริมหลกั สตู รท่ีเนน้  ยอดเย่ียม
คณุ ภาพผเู้ รียนรอบด้านเชื่อมโยงวถิ ีชวี ติ จรงิ
3.4 กาหนดหลักสตู รสถานศกึ ษาครอบคลุมการจัดการเรยี น  ดีเลศิ
การสอนทุกกลมุ่ เป้าหมาย
3.5 สถานศกึ ษามกี ารปรบั ปรงุ และพัฒนาหลักสูตรให้ทันตอ่ กำรปฏบิ ัตงิ ำน *** ดีเลิศ
การเปล่ยี นแปลงของสังคม ผลสำเร็จ(ขอ้ )
ปฏบิ ตั ิ ไม่
ประเดน็ พจิ ำรณำ ปฏบิ ัติ 5.00

4 พฒั นาครูและบคุ ลากรใหม้ คี วามเชีย่ วชาญทางวิชาชีพ  4.00
4.1 สง่ เสริม สนับสนนุ พฒั นาครู บคุ ลากร ใหม้ คี วาม
เช่ียวชาญทางวชิ าชีพ  4.00
4.2 จดั ให้มชี มุ ชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ 

4.3 นาชมุ ชนการเรียนรู้ทางวชิ าชีพเข้ามาใช้ในการพัฒนา 
งานและการเรียนรู้ของผเู้ รยี น
4.4 มกี ารตรวจสอบ ทบทวน การปฏบิ ัติงานของครู 
บคุ ลากร ท่ีมผี ลต่อการเรียนรู้ของผเู้ รียน
4.5 ถอดบทเรียนเพ่อื สรา้ งนวตั กรรมหรือวธิ ีการทเี่ ปน็ 
แบบอย่างทดี่ ีทสี่ ่งผลต่อการเรียนรขู้ องผู้เรยี น 
5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เออ้ื ตอ่ การ 
จัดการเรียนรู้อย่างมคี ุณภาพ 
5.1 จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพภายในหอ้ งเรยี น ที่เอื้อ 
ต่อการเรยี นรู้ และคานึงถึงความปลอดภัย
5.2 จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพภายนอกหอ้ งเรยี น ที่ 
เออ้ื ตอ่ การเรยี นรู้ และคานึงถงึ ความปลอดภยั 
5.3 จดั สภาพแวดล้อมทส่ี ง่ เสริมให้ผ้เู รียนเกิดการเรยี นรู้ 
เปน็ รายบคุ คล และเป็นกลุม่ 
5.4 จดั สภาพแวดลอ้ มทางสงั คม ทเ่ี อื้อตอ่ การจัดการ
เรียนรู้ และมีความปลอดภยั 
5.5 จดั ใหผ้ ูเ้ รยี นได้ใช้ประโยชน์จากการจดั สภาพแวดล้อม
ตามศักยภาพของผู้เรียน
6 จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพือ่ สนบั สนนุ
การบริหารจัดการและการจัดการเรยี นรู้
6.1 ได้ศกึ ษาความต้องการเทคโนโลยสี ารสนเทศ
ทเี่ หมาะสมกบั สภาพของสถานศึกษา
6.2 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ บรหิ ารจดั การและ
การจดั การเรยี นรู้ทเ่ี หมาะสมกบั สภาพของสถานศึกษา
6.3 พฒั นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอื่ บริหารจัดการ
และการจัดการเรียนรูท้ ่ีเหมาะสมกบั สภาพของสถานศกึ ษา
6.4 ใหบ้ รกิ ารเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื ใชใ้ นการบริการ
จดั การและการจัดการเรยี นรู้ทเ่ี หมาะสมกับสภาพของ
สถานศกึ ษา
6.5 ติดตามผลการใช้บริการระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ

ของสถานศึกษาเพอ่ื ใชใ้ นการบรกิ ารจัดการและการจดั การ 58
เรียนรทู้ ่เี หมาะสมกบั สภาพของสถานศึกษา
ผลกำรประเมิน
ประเด็นพิจำรณำ กำรปฏบิ ัตงิ ำน *** คณุ ภำพท่ีได้
ผลสำเรจ็ (ขอ้ )
ปฏิบัติ ไม่ ดเี ลิศ
ปฏบิ ัติ 4.33

สรปุ ผลกำรประเมนิ = ผลรวมผลสาเร็จทกุ ประเดน็ พจิ ารณา

จานวนประเด็นพจิ ารณา

หมำยเหตุ กรอกขอ้ มลู เฉพำะแถบสีขำว
*** ผลสาเรจ็ = จานวนขอ้ ท่ีปฏบิ ัติในแต่ละประเดน็ พิจารณา

แปลผลกำรประเมินคุณภำพทีไ่ ด้ คำ่ เฉล่ยี ผลกำรประเมนิ คุณภำพท่ไี ด้
ปฏิบัติ 1 ขอ้ ไดร้ ะดบั คณุ ภาพ กาลังพัฒนา 1.00 – 1.49 ระดับคณุ ภาพ กาลังพฒั นา
ปฏบิ ัติ 2 ข้อ ได้ระดบั คณุ ภาพ ปานกลาง 1.50 –2.49 ระดับคณุ ภาพ ปานกลาง
2.50 – 3.49 ระดับคุณภาพ ดี
ปฏิบัติ 3 ข้อ ได้ระดบั คุณภาพ ดี 3.50 – 4.49 ระดับคณุ ภาพ ดีเลศิ
ปฏิบัติ 4 ข้อ ได้ระดบั คุณภาพ ดเี ลิศ 4.50 – 5.00 ระดับคณุ ภาพ ยอดเย่ียม
ปฏบิ ัติ 5 ขอ้ ไดร้ ะดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม

จดุ เนน้ และกระบวนกำรพฒั นำทส่ี ง่ ผลต่อระดับคณุ ภำพของมำตรฐำนที่ 2
จดุ เนน้ กำรบรหิ ำรจัดกำรแบบมสี ่วนรว่ ม

2.1 มีเป้ำหมำยวิสัยทัศนแ์ ละพันธกิจทีส่ ถำนศกึ ษำกำหนดชัดเจน
ผลการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2564 พบว่าโรงเรียนมีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่

สถานศึกษากาหนดชัดเจน คิดเป็นระดับคุณภาพ 5.00 ซ่ึงสูงว่าเป้าหมายที่สถานศึกษากาหนด โดยได้ดาเนินการ
ในประเดน็ การพจิ ารณา ดังนี้

มีการประชุมคณะกรรมการท่ีเก่ียวข้องในการร่วมกันอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพ่ือกาหนด
เป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจท่ีสอดคล้องกับบริบทของโรงเรียนตามความต้องการของชุมชนอย่างชัดเจนโดยมี
เป้าหมายให้นักเรียนทุกคนได้รับการศึกษาตามระดับการศึกษาท่ีมีคุณภาพตามหลักสูตรและมีความรู้ทักษะตาม
ระดับช้ัน กาหนดวิสัยทัศน์ โรงเรียนเซนต์แมรี มุ่งผลิตผู้เรียนให้เป็นผู้ท่ีมีคุณธรรมนาความรู้ ก้าวล้าทักษะภาษา
นอ้ มนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเคียงคู่เทคโนโลยี และมที ักษะการเรียนรใู้ นศตวรรษท่ี 21 ส่งเสริมการ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเสริมสร้างการใช้ชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาครูและบุคลากร
ทางการศึกษาให้จัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษาอย่างมีคุณภาพ สนับสนุนให้มีส่ือ เทคโนโลยีและแหล่ง
เรียนรู้ทีพ่ อเพียง และพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การสถานศึกษาแบบมสี ว่ นร่วม

มีกระบวนการดาเนินการและบริหารจัดการของสถานศึกษาเพ่ือให้คุณภาพการจัดการศึกษาของ
สถานศึกษาเกิดสัมฤทธิ์ผลตามเป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจท่ีสถานศึกษากาหนด ดาเนินการวิเคราะห์สภาพ
ปัญหา ผลการจัดการศึกษาที่ผ่านมา โดยศึกษาข้อมูล สารสนเทศ จากผลการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลการจัด
การศึกษาจากแผนปฏิบตั ิการประจาปี และจดั ประชุมระดมความคิดเห็น จากบุคลากรในสถานศึกษา เพ่ือวางแผน
ร่วมกันกาหนดเป้าหมาย ปรับวิสัยทัศน์ กาหนดพันธกิจ กลยุทธ์ในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาเพื่อพัฒนา
คุณภาพผู้เรียน มีการยกร่างแผนพัฒนาคุณภาพจัดการศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๖๐-๒๕๖๔ และจัดทาแผนปฏิบัติ

59

การประจาปี ท่ีสอดคลอ้ งกบั สภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา และมาตรฐานการศกึ ษาข้นั พื้นฐานเพื่อการประกัน
คุณภาพ รวมทั้งนโยบายการปฏิรูปการศึกษา พร้อมท้ังจัดหาทรัพยากร จัดงบประมาณ มอบหมายงานให้
ผู้รับผิดชอบ ดาเนินการพัฒนาตามแผนงานเพ่ือให้บรรลุเป้าหมายที่กาหนดไว้ มีการดาเนินการนิเทศ กากับ
ติดตาม ประเมนิ ผลการดาเนินงานและสรปุ ผลการดาเนนิ งาน

ผลการดาเนินงานในเร่อื งการมเี ปา้ หมายวิสยั ทัศน์และพนั ธกจิ ทส่ี ถานศึกษากาหนดชัดเจนพบวา่ สงู กว่าค่า
เป้าหมายท่ีสถานศึกษา โดยมีการกากับติดตามจากผลการดาเนินกิจกรรมในแต่ละปีโดยได้จัดทาแบบสอบถาม /
แบบสัมภาษณ์ความพึงพอใจกิจกรรม โครงการตา่ ง ๆ โดยให้ผมู้ ีส่วนเก่ียวข้องทุกฝ่ายมีสว่ นรว่ มในการประเมินผล
การดาเนินงาน ครูผู้รับผิดชอบโครงการกิจกรรมต่างๆ สรุปและรายงานผลให้สถานศึกษาทราบ และดาเนินงาน
อย่างเปน็ ระบบและต่อเน่อื งจากการสรปุ ผลการปฏบิ ัติกจิ กรรมต่างๆ

ผลการประเมินในเร่ืองการมีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากาหนดชัดเจน โรงเรียนได้
ดาเนินการวิเคราะห์สภาพปัญหา ผลการจัดการศึกษาในปีท่ีผ่านมา และได้มีการปรับกิจกรรมท่ีสามารถ
ตอบสนองต่อเป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจให้ดีย่ิงขึ้น มีการปรับกลยุทธ์ในการจัดการศึกษา ปรับแผนปฏิบัติการ
ประจาปี ใหส้ อดคลอ้ งกับสภาพปญั หา และความต้องการของชุมชนให้ดียิ่งขึ้นในปีตอ่ ไป

มีการจัดประชุมผู้ปกครอง ปีการศึกษาละ 2 คร้ัง เพื่อรายงานผลการดาเนินงาน ของสถานศึกษาในทุกๆ
ภาคเรียน มีการจัดส่งรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ให้หน่วยงานต้นสังกัดในทุกปีการศึกษามีการ
รายงานและเปิดเผยผลการประเมินคุณภาพของผู้เรียนต่อคณะกรรมการบริหารสถานศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชน
หน่วยงานต้นสังกัด และผู้มีส่วนเก่ียวข้อง โดยการเผยแพร่ข้อมูลผ่านช่องทางต่างๆ เช่น เว็บไซต์สถานศึกษา ไลน์
กลุ่มและวารสารเซนต์แมรีสมั พันธ์ เปน็ ต้น

2.2 มรี ะบบกำรบรหิ ำรจัดกำรคุณภำพของสถำนศกึ ษำ
ผลการประเมินตนเอง ปกี ารศกึ ษา 2564 พบวา่ โรงเรยี นมรี ะบบการบรหิ ารจัดการคณุ ภาพของ

สถานศกึ ษา คดิ เปน็ ระดบั คณุ ภาพ 4.00 ซงึ่ ตา่ กวา่ เป้าหมายทส่ี ถานศกึ ษากาหนด โดยไดด้ าเนินการในประเด็นการ
พจิ ารณา ดงั น้ี

มีการประชุมคณะกรรมการท่ีเกี่ยวข้องในการร่วมกันอภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเห็นเพื่อกาหนด
แผนปฏิบัติการประจาปี แผนพัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษา โครงการหรือกิจกรรมท่ีสอดคล้องกับบริบทของ
โรงเรยี นตามความตอ้ งการของชุมชนอย่างชัดเจน

มีการดาเนินการตามแผนโดยการจัดให้มีโครงการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา บริหารจัดการ
สถานศึกษาและพัฒนาผู้เรียน โดยใช้กระบวนการบริหารแบบมีส่วนร่วมและระบบบริหารคุณภาพ PDCA
ครอบคลุมภารกิจทั้ง 4 งาน ได้แก่ งานบริหารวิชาการ งานบริหารงบประมาณ งานบริหารบุคคลและงาน
บริหารทั่วไป โดยกาหนดเป้าหมายในการทางานและดาเนินการให้บรรลุเป้าหมายตามที่กาหนดไว้ จัดให้มี
หลักสูตรสถานศึกษา 2 หลักสูตร 1) ห้องเรียนพิเศษภาษาอังกฤษและเทคโนโลยีแบบเข้มขัน (Intensive
English Technology Program)และหลักสูตรสามัญ โดยจัดให้มีครูประชั้นเป็นชาวต่างชาติคู่กับครูไทย

มกี ารกากบั ติดตามจากผลการดาเนนิ กจิ กรรมในแตล่ ะปีโดยไดจ้ ดั ทาแบบสอบถาม / แบบสมั ภาษณค์ วาม
พงึ พอใจกจิ กรรม โครงการตา่ ง ๆ โดยใหผ้ ูม้ ีสว่ นเกี่ยวข้องทกุ ฝ่ายมสี ว่ นร่วมในการประเมนิ ผลการดาเนนิ งาน ครู
ผูร้ บั ผิดชอบโครงการกจิ กรรมต่างๆ สรปุ และรายงานผลใหส้ ถานศกึ ษาทราบ และดาเนินงานอย่างเป็นระบบและ
ต่อเนอ่ื งจากการสรปุ ผลการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ

ผลการประเมิน พบว่า มีระบบการบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา โรงเรียนได้ดาเนินการวิเคราะห์
สภาพปัญหา ผลการบริหารสถานศึกษาในปีท่ีผ่านมา และได้มีการปรับแผนปฏิบัติการประจาปี ปรับแผนพัฒนา
คุณภาพ ใหส้ อดคลอ้ งกับสภาพปัญหา และความต้องการของชุมชนในปีตอ่ ไป

60

มีการจัดประชุมผู้ปกครอง ปีการศึกษาละ 2 คร้ัง เพื่อรายงานผลการดาเนินงาน ของสถานศึกษาในทุกๆ
ภาคเรียน มีการจัดส่งรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ให้หน่วยงานต้นสังกัดในทุกปีการศึกษามีการ
รายงานและเปิดเผยผลการประเมินคุณภาพของผู้เรียนต่อคณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ชมุ ชน หน่วยงาน
ต้นสังกัด และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง โดยการเผยแพร่ข้อมูลผ่านช่องทางต่างๆ เช่น เว็บไซต์สถานศึกษา ไลน์กลุ่ม และ
วารสารเซนตแ์ มรีสมั พันธ์ เป็นต้น

2.3 ดำเนินงำนพัฒนำวิชำกำรที่เน้นคุณภำพผู้เรียนรอบด้ำนตำมหลักสูตรสถำนศึกษำและทุก
กลุม่ เปำ้ หมำย

ผลการประเมินตนเอง ปกี ารศกึ ษา 2564 พบวา่ โรงเรียนดาเนนิ งานพฒั นาวชิ าการท่เี น้นคณุ ภาพ
ผู้เรียนรอบดา้ นตามหลกั สูตรสถานศึกษาและทกุ กลุ่มเป้าหมาย คดิ เป็นระดับคณุ ภาพ 4.00 ซึง่ ตา่ กว่า เป้าหมายที่
สถานศกึ ษากาหนด โดยได้ดาเนนิ การสอดคลอ้ งกบั ประเดน็ การพิจารณาดงั น้ี

มีการประชุมคณะกรรมการที่เก่ียวข้องในการร่วมกันอภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเห็นเพื่อกาหนด
หลกั สูตรของสถานศกึ ษาที่สอดคล้องและครอบคลมุ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน และแสดงจุดเน้นของ
สถานศึกษา โดยมีการออกแบบโครงสร้างหลักสูตรให้มีรายวิชาเพ่ิมเติม กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนท่ีหลากหลาย ให้
ผู้เรียนเลือกเรียนตามความถนัด ความสามารถ ความสนใจ มีการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาตามบริบทของ
ทอ้ งถิน่ และบูรณาการกับเหตุการณห์ รือสถานการณใ์ นปัจจบุ นั และอนาคต

มีกระบวนการดาเนินการตามแผนโดยให้มีการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาท่ีสอดคล้องและครอบคลุม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน และแสดงจุดเน้นของสถานศึกษา โดยมีการออกแบบโครงสร้างหลักสูตร
ให้มีรายวิชาเพมิ่ เติม กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี นที่หลากหลาย ใหผ้ ู้เรียนเลือกเรียนตามความถนัด ความสามารถ ความ
สนใจ มีการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาตามบริบทของท้องถิ่น และบูรณาการกับเหตุการณ์หรือสถานการณ์ใน
ปจั จุบันและอนาคต เช่น ปรับปรุงหลกั สูตรสถานศกึ ษาใหส้ อดคล้องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ความก้าวหนา้ ทาง
เทคโนโลยี โดยมีการกาหนดคณะกรรมการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา ประกอบไปด้วยผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย
(คณะครู ผู้บริหาร กรรมการสถานศึกษา ผู้แทนชุมชน/ผู้ทรงคุณวุฒิ) และเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหาร
สถานศึกษา ทุก ๑ หรือ ๒ ปี มีการบริหารจดั การที่ส่งเสริมให้ครูนาหลักสูตรสู่การจัดการเรียนรใู้ นห้องเรยี น เพื่อ
พัฒนาผู้เรยี นให้มคี ุณภาพบรรลุตามมาตรฐานหลักสูตร จดั ระบบดูแลช่วยเหลอื นักเรียนทุกคนด้วยความเสมอภาค
อย่างทั่วถึง และต่อเน่ือง นาข้อมูลผลการวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคลเพื่อส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนตามความ
แตกต่างระหว่างบุคคล ความถนัด ความสนใจ ความพร้อม โดยจัดรายวิชาเพิ่มเติมท่ีหลากหลายให้ผู้เรียนเลือก
เรียนตามความถนัด มีการนิเทศติดตาม กากับ ดูแลการใช้หลักสูตรให้เกิดประสิทธิภาพ นาผลการนิเทศ การ
จัดการเรยี นร้มู าเป็นขอ้ มูลในการพัฒนาผู้เรยี น และปรับปรุงการเรยี นการสอนอย่างต่อเน่ือง ไดแ้ ก่ โครงการพัฒนา
หลักสูตรสถานศึกษา จดั ทาโครงสร้างรายวิชาเพมิ่ เติม กิจกรรมนเิ ทศภายในสถานศกึ ษา โครงการประกันคณุ ภาพ
ภายในสถานศึกษา โครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โครงการห้องเรียนแห่งการเรียนรู้ และโครงการอาคาร
สถานท่ี สะอาด สวยงามและปลอดภยั เปน็ ตน้

ผลการดาเนินงาน พบว่า สถานศึกษามีดาเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตาม
หลกั สูตรสถานศึกษาและทกุ กลุ่มเปา้ หมาย โดยสถานศกึ ษามกี ารกากับติดตามจากผลการดาเนินกจิ กรรมในแต่ละ
ปีโดยได้จัดทาแบบสอบถาม / แบบสัมภาษณ์ความพึงพอใจกิจกรรม โครงการต่าง ๆ โดยให้ผู้มีส่วนเก่ียวข้องทุก
ฝ่ายมีส่วนร่วมในการประเมินผลการดาเนินงาน ครูผู้รับผิดชอบโครงการกิจกรรมต่างๆ สรุปและรายงานผลให้
สถานศกึ ษาทราบ และดาเนนิ งานอยา่ งเป็นระบบและตอ่ เนอื่ งจากการสรปุ ผลการปฏิบตั ิกิจกรรมต่างๆ

จากผลการประเมินในเร่ืองดาเนินงานพัฒนาวิชาการท่ีเน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตร
สถานศึกษาและทกุ กล่มุ เปา้ หมาย มีการดาเนินการวิเคราะห์สภาพปัญหา ผลการพัฒนาผู้เรียนในดา้ นวิชาการใน
ปีที่ผ่านมา ได้มีการปรับหลักสูตรสถานศึกษา ปรับหลักสูตรรายวิชา และกิจกรรมที่สามารถตอบสนองต่อการ

61

พัฒนาวิชาการเน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา และความต้องการของชุมชนให้ดีย่ิงขึ้น
ในปีตอ่ ไป

มีการจัดประชุมผู้ปกครอง ปีการศึกษาละ 2 คร้งั เพื่อรายงานผลการดาเนินงาน ของสถานศึกษาในทุกๆ
ภาคเรียน มีการจัดส่งรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ให้หน่วยงานต้นสังกัดในทุกปีการศึกษามีการ
รายงานและเปิดเผยผลการประเมินคุณภาพของผู้เรียนต่อคณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงาน
ต้นสังกัด และผู้มีส่วนเก่ียวข้อง โดยการเผยแพร่ข้อมูลผ่านช่องทางต่างๆ เช่น เว็บไซต์สถานศึกษา ไลน์กลุ่มและ
วารสารเซนต์แมรีสัมพันธ์ เปน็ ตน้

2.4 พฒั นำครแู ละบคุ ลำกรให้มีควำมเชีย่ วชำญทำงวิชำชพี
ผลการประเมินตนเอง ปีการศกึ ษา 2564 พบวา่ โรงเรียนพัฒนาครแู ละบุคลากรให้มคี วามเชย่ี วชาญ

ทางวิชาชพี อยใู่ นระดับคุณภาพ 5.00 ซง่ึ สูงกวา่ เป้าหมายทีส่ ถานศกึ ษากาหนด โดยได้ดาเนนิ การสอดคล้องกบั
ประเดน็ การพจิ ารณา ดังน้ี

มีการประชุมคณะกรรมการท่ีเกี่ยวข้องในการร่วมกันอภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเห็นเพ่ือกาหนด
โครงการ/กิจกรรมอย่างหลากหลาย ให้แก่ครูและบุคลากรทางการศึกษาในการพัฒนาตนเองให้เป็นผู้ท่ีมีความ
พร้อมในทุกๆ ด้าน เพอ่ื ถา่ ยทอดและส่งต่อความรูค้ วามสามารถแกผ่ ้เู รยี นไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

สถานศึกษามกี ระบวนการดาเนินการพัฒนาครูสู่มอื อาชีพ มกี ารเข้ารับการอบรมหลักสูตรตา่ งๆตามความ
สนใจ จัดกิจกรรมการศึกษาดูงาน กิจกรรมนิเทศการสอนในสถานศึกษาโดยการจัดให้มีการนิเทศการสอนปี
การศึกษาละ 2 ครัง้ ผ่านกระบวนการ PLC ครูมีการสง่ แผนการสอนในทกุ ๆภาคเรยี นทุกคน และสง่ เสริมใหค้ รูทา
วจิ ยั ในช้นั เรยี นปีการศึกษาละ 2 เรอ่ื ง เพื่อใหค้ รูพัฒนาตนเองให้เป็นผทู้ ่ีมีความพร้อมในทุกๆ ด้าน ในการถ่ายทอด
และส่งต่อความรู้ความสามารถแก่ผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมอบหมายให้หัวหน้าฝ่ายวิชาการเป็น
ผรู้ ับผดิ ชอบ และใหค้ รทู ุกคนมีสว่ นรว่ มในการประเมินการพฒั นาตนเองอีกด้วย

ผลการดาเนนิ งานตามโครงการพัฒนาครสู ู่มอื อาชพี มกี ารกากับติดตามจากผลการดาเนนิ กจิ กรรมในแต่
ละปโี ดยไดจ้ ดั ทาแบบสอบถาม / แบบสมั ภาษณค์ วามพึงพอใจกิจกรรม โครงการตา่ ง ๆ โดยใหผ้ ู้มสี ว่ นเกี่ยวขอ้ งทุก
ฝา่ ยมีส่วนรว่ มในการประเมนิ ผลการดาเนินงาน ครผู ูร้ ับผดิ ชอบโครงการกจิ กรรมตา่ งๆ สรุปและรายงานผลให้
สถานศึกษาทราบ และดาเนินงานอย่างเปน็ ระบบและต่อเนอ่ื งจากการสรปุ ผลการปฏิบตั ิกิจกรรมต่างๆ

จากผลการประเมิน พบว่า ครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ มีการดาเนินการวิเคราะห์
สภาพปญั หา ผลการพฒั นาครูและบุคลากรในปที ผ่ี า่ นมา มีการปรับกิจกรรมทสี่ ามารถตอบสนองตอ่ การพัฒนาครู
และบคุ ลากรให้สอดคล้องกบั สภาพปญั หาและความต้องการของครูให้มากยิ่งขน้ึ ในปตี ่อไป

มกี ารจัดประชมุ ผู้ปกครอง ปกี ารศกึ ษาละ 2 คร้งั เพอ่ื รายงานผลการดาเนินงาน ของสถานศกึ ษาในทุกๆ
ภาคเรียน มีการจัดส่งรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ให้หน่วยงานต้นสังกัดในทุกปีการศึกษามีการ
รายงานและเปิดเผยผลการประเมินคณุ ภาพของผู้เรียนต่อคณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ชมุ ชน หนว่ ยงาน
ต้นสังกัด และผู้มีส่วนเก่ียวข้อง โดยการเผยแพร่ข้อมูลผ่านช่องทางต่างๆ เช่น เว็บไซต์สถานศึกษา ไลน์กลุ่มและ
วารสารเซนต์แมรีสัมพันธ์ เปน็ ตน้

2.5 จัดสภำพแวดล้อมทำงกำยภำพและสงั คมทีเ่ ออื้ ต่อกำรจัดกำรเรยี นรอู้ ย่ำงมีคณุ ภำพ
ผลการประเมินตนเอง ปีการศกึ ษา 2564 พบวา่ โรงเรียนจดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมที่

เออ้ื ต่อการจัดการเรยี นรอู้ ย่างมคี ุณภาพ อยู่ในระดับคุณภาพ 4.00 ซึ่งตา่ กว่าเปา้ หมายทีส่ ถานศกึ ษากาหนด โดยได้
ดาเนนิ การสอดคลอ้ งกับประเดน็ การพจิ ารณาดงั นี้

มีการประชุมคณะกรรมการที่เก่ียวข้องในการร่วมกันอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อกาหนด
แนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาด้านอาคารสถานที่ ให้เพียงพอกับจานวนนักเรียน วางแผนในการจัดหาส่ิง
อานวยความสะดวกท่ีเพยี งพอต่อการใช้งาน ใช้การได้ดี นาไปสู่การพฒั นาผเู้ รียนทกุ ด้าน ใหผ้ ู้เรยี นสามารถเรยี นรู้

62

ด้วยตนเอง เรียนรู้แบบมีส่วนร่วมได้อย่างเต็มท่ี ได้แก่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการต่างๆ ห้องสมุด อาคารเรียน
อาคารประกอบ แหล่งเรียนรู้ การบริการ ส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศ ห้องน้า และมีการปรับภูมิทัศน์ ให้ร่มร่ืน
สวยงาม น่าอยู่ และปลอดภัย ส่งเสริมสุขภาพอนามัยของนักเรียน เพ่ือให้มีสุขภาพร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง มี
สขุ ภาพจิตดี และรจู้ กั หลีกเล่ยี งหรือปอ้ งกันตนเองจากอบุ ตั เิ หตุ สง่ิ มอมเมาและอบายมขุ

สถานศกึ ษามกี ระบวนการดาเนนิ การตามแผนโดยจัดให้มโี ครงการ/กิจกรรมท่รี องรบั เช่น โครงการอาคาร
สถานท่ี สะอาด สวยงามและปลอดภัย จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอ้ือตอ่ การจัดการเรียนรู้อย่างมี
คณุ ภาพ

ผลการดาเนนิ งานในเร่ืองโรงเรียนจดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมท่ีเอือ้ ต่อการจดั การเรียนรู้
อย่างมคี ณุ ภาพ โดยมกี ารกากบั ตดิ ตามจากผลการดาเนนิ กิจกรรมในแตล่ ะปโี ดยได้จดั ทาแบบสอบถาม / แบบ
สมั ภาษณ์ความพงึ พอใจกจิ กรรม โครงการตา่ ง ๆ โดยให้ผู้มสี ่วนเก่ยี วขอ้ งทกุ ฝ่ายมีส่วนร่วมในการประเมนิ ผลการ
ดาเนินงาน ครผู รู้ ับผดิ ชอบโครงการกจิ กรรมตา่ งๆ สรปุ และรายงานผลให้สถานศกึ ษาทราบ และดาเนนิ งานอย่าง
เปน็ ระบบและต่อเน่อื งจากการสรปุ ผลการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมตา่ งๆ

จากผลการประเมินในเรื่องการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมท่ีเอื้อต่อการจัดการเรียนรู้
อย่างมีคุณภาพ พบว่า ได้ดาเนินการวิเคราะห์สภาพปัญหา ผลการจัดสภาพแวดล้อมในปีท่ีผ่านมา และได้มีการ
ปรับกิจกรรมในการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมท่ีสามารถเอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
ใหส้ อดคล้องกับสภาพปัญหา และความต้องการของชุมชนให้มากยิง่ ขนึ้ ในปตี ่อไป

มีการจัดประชุมผู้ปกครอง ปีการศึกษาละ 2 ครั้ง เพ่ือรายงานผลการดาเนินงาน ของสถานศึกษาใน
ทุกๆภาคเรียน มีการจัดส่งรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ให้หน่วยงานต้นสังกัดในทุกปีการศึกษามี
การรายงานและเปิดเผยผลการประเมินคุณภาพของผู้เรียนต่อคณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชน
หน่วยงานต้นสังกัด และผู้มีส่วนเก่ียวข้อง โดยการเผยแพร่ข้อมูลผ่านช่องทางต่างๆ เช่น เว็บไซต์สถานศึกษา ไลน์
กลุม่ และวารสารเซนต์แมรีประชาสมั พันธ์ เป็นต้น

2.6 จดั ระบบเทคโนโลยีสำรสนเทศเพ่ือสนับสนุนกำรบริหำรจัดกำรและกำรจัดกำรเรียนรู้
ผลการประเมนิ ตนเอง ปีการศกึ ษา 2564 พบวา่ โรงเรยี นจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื สนบั สนนุ การ
บรหิ ารจัดการและการจดั การเรียนรู้ อยใู่ นระดบั คณุ ภาพ 4.00 ซงึ่ ตา่ กวา่ เปา้ หมายท่ีสถานศึกษากาหนด โดยได้
ดาเนินการสอดคลอ้ งกับประเด็นการพจิ ารณา ดงั น้ี
มีการประชุมคณะกรรมการท่ีเก่ียวข้อง ร่วมกันอภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเห็นเพ่ือกาหนดแนวทางใน
การจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ ให้เพียงพอกับจานวน
นักเรียน โดยจัดมโี ครงการ/กจิ กรรมทร่ี องรับ เช่น จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศโดยนาการแอปพลิเคช่นั Grader
และChecker สนับสนุนการบริหารจัดการ เพ่ิมช่องทางในการส่ือสัมพันธ์บ้านกับโรงเรียน เพื่อสนับสนุนการ
บรหิ ารจัดการและการเรยี นรทู้ ี่เหมาะสมกับสภาพของโรงเรยี น
ผลการดาเนินงานด้านการจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการ
เรียนรู้ โดยมีการกากับติดตามจากผลการดาเนินกิจกรรมในแต่ละปีโดยได้จัดทาแบบสอบถาม / แบบสัมภาษณ์
ความพึงพอใจกจิ กรรม โครงการต่าง ๆ โดยให้ผมู้ ีสว่ นเก่ยี วขอ้ งทุกฝ่ายมสี ่วนร่วมในการประเมินผลการดาเนนิ งาน
ครูผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม สรุปและรายงานผลให้สถานศึกษาทราบ และดาเนินงานอย่างเป็นระบบและ
ต่อเนื่อง มีการวิเคราะห์สภาพปัญหา ผลการจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในปีท่ีผ่านมา และได้มีการปรับ
กจิ กรรมในการจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ ให้สอดคล้อง
กับสภาพปัญหา และความต้องการของชมุ ชนให้มากยงิ่ ขน้ึ ในปีต่อไป

มีการจัดประชุมผู้ปกครอง ปีการศึกษาละ 2 คร้ัง เพื่อรายงานผลการดาเนินงาน ของสถานศึกษาใน
ทุกๆภาคเรียน มีการจัดส่งรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ให้หน่วยงานต้นสังกัดในทุกปีการศึกษามี

63

การรายงานและเปิดเผยผลการประเมินคุณภาพของผู้เรียนต่อคณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชน
หน่วยงานต้นสังกัด และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง โดยการเผยแพร่ข้อมูลผ่านช่องทางต่างๆ เช่น เว็บไซต์สถานศึกษา ไลน์
กลมุ่ และวารสารเซนต์แมรีสมั พันธ์ เปน็ ต้น

มำตรฐำนที่ 3 กระบวนกำรจดั กำรเรียนกำรสอนทเ่ี นน้ ผู้เรยี นเป็นสำคัญ

กำรปฏิบตั ิงำน จำนวนครู (คน) *** ผลกำร
ผลกำรประเมนิ ประเมิน
ประเด็นพจิ ำรณำ ปฏิบัติ ไม่ เป้ำหมำย บรรจุ ผำ่ นเกณฑท์ ่ี คณุ ภำพที่ได้
ปฏิบัติ (รอ้ ยละ) กำหนด (รอ้ ยละ)
ยอดเยี่ยม
1 จดั การเรียนรู้ผา่ นกระบวนการคดิ และ 95.00 32 32 100
ปฏิบตั ิจรงิ และสามารถนาไปประยุกตใ์ ช้ ยอดเยย่ี ม
ในชีวิตได้  100
ยอดเยย่ี ม
1.1 จดั กจิ กรรมการเรียนรู้ตามมาตรฐานการ  100
เรยี นรู้ ตวั ชวี้ ัดของหลกั สตู รสถานศกึ ษาที่ 
เน้นใหผ้ เู้ รียนได้เรยี นรู้ โดยผ่านกระบวนการ 
คิดและปฏบิ ตั ิจริง 

1.2 มแี ผนการจดั การเรยี นรทู้ ส่ี ามารถนาไป
จดั กจิ กรรมไดจ้ รงิ

1.3 มรี ปู แบบการจดั การเรยี นรเู้ ฉพาะ
สาหรับผู้ทม่ี ีความจาเป็น และตอ้ งการความ
ชว่ ยเหลือพิเศษ

1.4 ฝึกทักษะใหผ้ ูเ้ รยี นได้แสดงออก แสดง
ความคิดเห็น สรปุ องคค์ วามรู้ และนาเสนอ
ผลงาน

1.5 สามารถจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ให้ผูเ้ รียน
สามารถนาไปประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตประจาวนั ได้

2 ใชส้ ่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่  98.00 32 32
เรียนรทู้ ่เี ออื้ ต่อการเรียนรู้  95.00 32 32
2.1 ใชส้ ่อื เทคโนโลยีสารสนเทศในการ 
จดั การเรยี นรู้

2.2 ใช้แหลง่ เรยี นรู้ และภูมิปัญญาทอ้ งถิน่ ใน
การจัดการเรยี นรู้

2.3 สรา้ งโอกาสให้ผเู้ รยี นไดแ้ สวงหาความรู้
ด้วยตนเองจากสอื่ ทีห่ ลากหลาย

3 มกี ารบริหารจัดการชัน้ เรียนเชงิ บวก

3.1 ผ้สู อนมกี ารบรหิ ารจดั การชั้นเรียน 
โดยเนน้ การมปี ฏิสัมพนั ธ์เชงิ บวก 

3.2 ผู้สอนมีการบริหารจดั การชนั้ เรยี น
ให้เดก็ รกั ครู ครรู ักเด็ก และเดก็ รกั เด็ก
เด็กรกั ท่จี ะเรียนรู้ สามารถเรยี นรรู้ ว่ มกนั
อย่างมคี วามสขุ

64

กำรปฏิบตั งิ ำน จำนวนครู (คน) *** ผลกำร
ผลกำรประเมิน ประเมนิ
ประเดน็ พจิ ำรณำ ปฏิบตั ิ ไม่ เป้ำหมำย บรรจุ ผ่ำนเกณฑท์ ี่ คณุ ภำพท่ไี ด้
ปฏบิ ัติ (ร้อยละ) กำหนด (รอ้ ยละ)
ยอดเยย่ี ม
4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็น 97.00 32 32 100
ระบบ และนาผลมาพฒั นาผู้เรยี น ยอดเยี่ยม

4.1 มีการตรวจสอบและประเมินคณุ ภาพการ  ยอดเยี่ยม

จัดการเรียนรู้อยา่ งเป็นระบบ

4.2 มีข้นั ตอนโดยใช้เครื่องมือและวธิ ีการวดั และ 

ประเมนิ ผลทเ่ี หมาะสมกับเปา้ หมายในการ

จดั การเรยี นรู้

4.3 เปิดโอกาสให้ผู้เรยี นและผู้มีสว่ นเกยี่ วข้องมี 

สว่ นร่วมในการวัดและประเมินผล

4.4 ใหข้ ้อมูลย้อนกลบั แกผ่ เู้ รยี นเพ่ือนาไปใชใ้ น 

การพฒั นาการเรยี นรู้

5 มกี ารแลกเปลี่ยนเรียนรู้และใหข้ ้อมลู 98.00 32 32 100

สะท้อนกลับเพื่อพัฒนาปรับปรงุ การ

จดั การเรยี นรู้

5.1 และผมู้ สี ่วนเกีย่ วข้องรว่ มกันแลกเปลย่ี น 

ความรแู้ ละประสบการณ์ในการจดั การเรยี นรู้

5.2 นาข้อมลู ป้อนกลับไปใช้ในการปรับปรุงและ 

พัฒนาการจัดการเรียนรู้ของตนเอง

สรปุ ผลกำรประเมิน = ผลรวมผลการประเมนิ ทกุ ประเด็นพจิ ารณา 100

จานวนประเดน็ พิจารณา

หมายเหตุ กรอกข้อมูลเฉพาะแถบสีขาว

วิธีคานวณ

*** ผลการประเมนิ (ร้อยละ) = 100 x จานวนครผู า่ นเกณฑ์ทโ่ี รงเรยี นกาหนด

จานวนครทู ง้ั หมด

แปลผลการประเมนิ คุณภาพทไ่ี ด้

รอ้ ยละ 00.00 – 49.99 = กาลังพัฒนา

ร้อยละ 50.00 – 59.99 = ปานกลาง

รอ้ ยละ 60.00 – 74.99 = ดี

ร้อยละ 75.00 – 89.99 = ดเี ลิศ

ร้อยละ 90.00 – 100 = ยอดเย่ยี ม

65

จดุ เนน้ และกระบวนกำรพัฒนำที่สง่ ผลต่อระดบั คณุ ภำพของมำตรฐำนที่ 3
จดุ เนน้ จัดกำรเรียนรูท้ เ่ี นน้ กำรบรู ณำกำรคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์

3.1 จัดกำรเรยี นรู้ผ่ำนกระบวนกำรคิดและปฏิบัตจิ ริงและสำมำรถนำไปประยุกต์ใชใ้ นชีวติ ได้
ผลการประเมินตนเองในปกี ารศึกษา 2564 พบวา่ ครูจัดการเรยี นรผู้ า่ นกระบวนการคดิ และปฏบิ ตั จิ รงิ และ
สามารถนาไปประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ติ ได้ คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 ซึง่ สูงกวา่ เป้าหมายท่สี ถานศกึ ษากาหนด โดยได้ดาเนนิ การ
สอดคลอ้ งกับประเด็นการพิจารณา ดังนี้
สถานศึกษาจดั ให้ครูมีคุณวฒุ ิการศึกษาตรงตามสายงานการสอน กาหนดใหค้ รูมกี ารวางแผนการสอนโดย
มีแผนการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษารายปีครบทุกวิชา มีการจัดทาบันทึกหลังสอน มี
เคร่ืองมือสาหรับประเมนิ หลงั การสอน มขี อ้ มูลหรือผลงานของผเู้ รียนที่เกิดข้นึ ภายหลังการเรยี นรู้
สถานศึกษาดาเนินการตามแผนโดยการส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้
ทีเ่ น้นผ้เู รยี นเป็นสาคัญ บูรณาการคุณลักษณะและค่านิยมที่ดี โดยดาเนินโครงการพัฒนาครูสู่ครูมอื อาชีพ โดยการ
อบรมสัมมนา ประชุมบุคลากรด้านหลักสูตร การเรียนการสอนและศกึ ษาดูงาน รวมทัง้ ไดเ้ ชิญ ศน.สาเร็จ ศรอี าไพ
อดีตผู้อานวยการกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
พระนครศรีอยุธยา เขต 1 มาเป็นท่ีปรึกษางานวิชาการ โรงเรียน เน้นการนิเทศการสอนของครูด้วยวิธี Coaching
and Mentoringและสง่ เสริมให้ครูทกุ คนทางานวิจัยในชน้ั เรียนภาคเรยี นละ 1 เรอื่ ง
ครมู กี ารตรวจสอบและประเมินผู้เรยี นตามสภาพจรงิ มขี ้นั ตอนการประเมินแบบตรวจสอบได้ และ
ประเมนิ อย่างมรี ะบบเพื่อมงุ่ เน้นการพฒั นาการเรยี นรขู้ องผู้เรยี นดว้ ยวธิ ที ่ีหลากหลาย และโรงเรยี นมกี ารนเิ ทศ
ติดตามการจดั การเรียนรเู้ พื่อส่งเสรมิ ให้ครมู กี ารพฒั นาการจัดการชนั้ เรียนอยา่ งต่อเน่ือง
มกี ารนาผลการประเมินผู้เรยี นในการจดั การเรียนรทู้ ่ีได้มาวิเคราะหถ์ ึงสาเหตุ และปญั หาท่เี กดิ ข้ึน นาผล
การประเมินผู้เรยี นและข้อเสนอแนะตา่ งๆ มาวางแผนการจดั การเรียนรู้ และดาเนนิ การตามแผนในครั้งตอ่ ไป
มีการแลกเปล่ียนเรียนรู้และให้ข้อมูลป้อนกลับเพ่ือพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน โดยการมี
ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพระหว่างครูและผู้เกย่ี วข้อง โดยมีการจัดกิจกรรม PLC แลกเปล่ยี นเทคนิคการสอน
ในกลุ่มวิชาและในกลุ่มเครือข่ายของสถานศึกษา มีการแลกเปล่ียนเรียนรู้ระหว่างเพ่ือครูที่มีความสนใจในเรื่อง
เดียวกนั มกี ารนเิ ทศ กากับตดิ ตามการจดั การเรียนการสอนจากผเู้ กีย่ วขอ้ ง มีการรายงานผลตอ่ หัวหนา้ สถานศึกษา
และเผยแพรผ่ ลงานต่อผู้ทสี่ นใจ
3.2 ใชส้ ือ่ เทคโนโลยสี ำรสนเทศ และแหลง่ เรียนรูท้ ีเ่ ออื้ ต่อกำรเรียนรู้

ผลการประเมินตนเองในปีการศกึ ษา 2564 พบวา่ ครใู ชส้ ือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรียนรทู้ ่ี
เออื้ ต่อการเรียนรู้ คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 ซง่ึ สูงกวา่ เปา้ หมายท่สี ถานศึกษากาหนด โดยไดด้ าเนินการสอดคลอ้ งกับ
ประเด็นการพจิ ารณาดงั นี้

สถานศึกษาวางแผนในการจัดหาสื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ ให้เพียงพอต่อห้องเรียนและจานวน
นักเรียน มีการจัดบรรยากาศภายในโรงเรียนและหอ้ งเรียนให้เอือ้ ต่อการเรียนรู้ กาหนดให้ครูมแี ผนการสอนท่ีใช้ส่ือ
เทคโนโลยีสารสนเทศ และมีแหล่งเรียนรู้ที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ รวมทั้งภูมิปัญญาท้องถ่ินมาใช้ในการจัดการเรียนรู้
โดยสร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้แสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากสอื่ ท่ีหลากหลาย และกาหนดให้ครูผลิตสือ่ การสอนและ
มีทะเบียนสือ่

มีการดาเนินการตามแผนโดยการจัดหาอุปกรณ์ครุภัณฑ์ให้แก่ห้องเรียน เช่น โทรทัศน์ คอมพิวเตอร์
เป็นต้น มีการจัดบรรยากาศภายในโรงเรียนและห้องเรียนให้เอ้ือต่อการเรียนรู้ เช่น การจัดป้ายนิเทศต่างๆทั้ง
ภายในห้องเรียนและอาคารเรียน มีการจัดทาบันไดความรู้ จัดแหล่งเรียนรู้ท่ีหลากหลาย เช่น ห้องสมุด ห้อง
คอมพวิ เตอร์ ห้องปฏบิ ัติการต่างๆ ครูทุกคนมีการนาแผนการจัดการเรยี นการสอนโดยใช้ส่อื เทคโนโลยีสารสนเทศ
และแหลง่ เรียนร้ทู ีเ่ อ้ือต่อการเรียนรไู้ ปใช้ รวมถึงมีการใชแ้ หล่งเรียนรู้จากภายนอกโรงเรียนจากกิจกรรมทัศนศกึ ษา

66

มีการนาภูมิปัญญาท้องถ่ินเข้ามาใช้ในการจัดกิจกรรมชุมนุม ครูทุกคนมีการจัดทาทะเบียนส่ือที่นามาใช้ในการ
จดั การเรยี นการสอนเพื่อใชใ้ นการพฒั นาผู้เรียนตอ่ ไป

ครมู กี ารตรวจสอบและประเมินผเู้ รียนตามสภาพจรงิ มขี ั้นตอนการประเมนิ แบบตรวจสอบได้ และ
ประเมนิ อย่างมรี ะบบเพื่อมงุ่ เนน้ การพฒั นาการเรียนรูข้ องผ้เู รียนดว้ ยวธิ ที ่ีหลากหลาย และมีการนเิ ทศตดิ ตามการ
จดั การเรยี นรูเ้ พ่อื ส่งเสรมิ ให้ครมู กี ารพฒั นาการจดั การชนั้ เรยี นอยา่ งต่อเนอื่ ง

มกี ารนาผลการประเมนิ ผู้เรยี นในการจดั การเรียนรูท้ ไี่ ด้มาวเิ คราะหถ์ งึ สาเหตุ และปัญหาท่เี กดิ ข้ึน นาผล
การประเมินผเู้ รียนและข้อเสนอแนะตา่ งๆ มาวางแผนการจัดการเรียนรู้ และดาเนินการตามแผนในครง้ั ต่อไป

มกี ารแลกเปลีย่ นเรียนรู้และให้ข้อมูลป้อนกลับเพ่ือพฒั นาปรับปรงุ การจดั การเรียนการสอน โดยการมี
ชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวชิ าชพี ระหวา่ งครแู ละผู้เกี่ยวข้อง โดยมกี ารจัดกจิ กรรม PLC แลกเปล่ียนส่ือการสอนใน
กลมุ่ วชิ าและในกลุ่มเครอื ข่ายของสถานศกึ ษา มกี ารแลกเปลยี่ นเรียนรู้ระหวา่ งเพอ่ื ครทู ีม่ คี วามสนใจในเร่อื ง
เดยี วกัน มกี ารนิเทศ กากับติดตามการจัดการเรยี นการสอนจากผเู้ ก่ยี วขอ้ ง มีการรายงานผลตอ่ หวั หน้าสถานศึกษา
และเผยแพร่ผลงานตอ่ ผทู้ สี่ นใจ

3.3 มกี ำรบรหิ ำรจดั กำรช้นั เรยี นเชงิ บวก
ผลการประเมินตนเองในปีการศึกษา 2564 พบวา่ ครูมกี ารบรหิ ารจัดการชน้ั เรียนเชงิ บวก คิดเปน็ รอ้ ยละ
100 ซง่ึ สูงว่าเป้าหมายทสี่ ถานศกึ ษากาหนด โดยไดด้ าเนนิ การสอดคลอ้ งกบั ประเดน็ การพจิ ารณา ดงั นี้
สถานศึกษาจดั ให้ครมู ีคุณวฒุ ิการศกึ ษาตรงตามสายงานการสอน กาหนดใหค้ รูมีการวางแผนการสอนโดยมี
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษารายปีครบทุกวิชา มีการจัดทาบันทึกหลังสอน มี
เคร่ืองมือสาหรับประเมนิ หลงั การสอน มขี อ้ มลู หรือผลงานของผเู้ รยี นทีเ่ กิดขน้ึ ภายหลังการเรียนรู้
จัดให้มีการนิเทศการเรียนการสอนของครูผู้สอนแบบกัลยาณมิตรท้ังระบบ เพ่ือครูผู้สอนจะได้พัฒนาการ
จัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ มีการจัดกิจกรรมการบริหารจัดการชั้นเรียน โดยเน้นการมีปฏิสัมพันธ์
เชิงบวก จัดกิจกรรมให้หลากหลาย เลือกใช้เทคนิคการสอน การวัดและประเมินผล ให้เหมาะสมกบั ผู้เรียน มีการ
สร้างบรรยากาศในห้องเรียน สภาพแวดล้อม ส่ือการเรียน การเสริมแรงบวกให้กับผู้เรียน ตลอดจนเอื้ออานวย
ความสะดวกให้กบั ผเู้ รียน เพ่อื ใหผ้ ู้เรียนเรียนรูไ้ ดอ้ ยา่ งมีความสขุ กล้าคิด กลา้ ทา กล้าแสดงออก ผเู้ รียนมีสว่ นร่วม
ในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ มีการบริหารชั้นเรียนเชิงบวก โดยจัดให้มคี ณะกรรมการห้องเรียน ประกวดห้องเรียน
ดเี ด่นประจาเดือน และครูปฏิบัตงิ านตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล มีการคัดเลือกครู
ดีเดน่ “ครดู ีศรีเซนตแ์ มรี : Super Teacher Model” เป็นต้นแบบของครูดี มีการมอบเกียรตบิ ัตรให้แก่ครูทปี่ ฏบิ ัติ
หน้าที่ด้วยความวิรยิ ะอุตสาหะไม่มีวันลาในรอบปี มีการมอบเกียรติบัตรและเงนิ โบนัสพิเศษแก่ครูที่ปฏิบัติหน้าที่
ในโรงเรียนเกนิ ๕ ปี ในฐานะสมาชกิ ทดี่ ขี องโรงเรยี น จัดสวัสดกิ ารให้แกค่ รูอยา่ งเป็นระบบและต่อเนื่อง
มกี ารตรวจสอบและประเมินการแผนการจดั การเรยี นร้ขู องครู มขี ้ันตอนการประเมินแบบตรวจสอบได้
และประเมินอย่างมรี ะบบเพือ่ มุ่งเน้นการพฒั นาการจดั การเรยี นรู้ของของครูด้วยวิธที ่ีหลากหลาย เปิดโอกาสให้
นกั เรยี นไดป้ ระเมินการจดั การเรียนการสอนของครูเพอ่ื นาผลการประเมนิ มาสะท้อนการจดั การเรียนการสอนของ
ครเู พอ่ื นามาพัฒนาตนเองต่อไปและมกี ารนาผลการประเมินครู มาวิเคราะหถ์ งึ สาเหตุ และปัญหาทเ่ี กดิ ข้ึน นาผล
การประเมินและขอ้ เสนอแนะตา่ งๆ มาวางแผนการจดั การเรียนรู้ และดาเนนิ การตามแผนในครงั้ ตอ่ ไป
มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลป้อนกลับเพ่ือพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน โดยการมี
ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพระหว่างครูและผู้เกี่ยวข้อง โดยมีการจัดกิจกรรม PLC แลกเปล่ียนวิธีการจัดการ
ช้นั เรียนในกลุ่มวิชาและในกลุ่มเครอื ข่ายของสถานศึกษา มีการแลกเปล่ียนเรียนรู้ระหว่างเพื่อครูที่มีความสนใจใน
เร่ืองเดียวกัน มีการนิเทศ กากับติดตามการจัดการเรียนการสอนจากผู้เกี่ยวข้อง มีการรายงานผลต่อหัวหน้า
สถานศึกษาและเผยแพร่ผลงานต่อผู้ที่สนใจ

67

3.4 ตรวจสอบและประเมินผลผ้เู รยี นอย่ำงเปน็ ระบบและนำผลมำพฒั นำผูเ้ รียน
ผลการประเมนิ ตนเองในปีการศึกษา 2564 พบวา่ ครูมกี ารตรวจสอบและประเมนิ ผลผู้เรยี นอย่างเปน็

ระบบและนาผลมาพฒั นาผูเ้ รยี น คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100 ซง่ึ สงู กวา่ เป้าหมายท่ีสถานศกึ ษากาหนดโดยได้ดาเนินการใน
สอดคล้องกับประเด็นการพจิ ารณา ดงั นี้

สถานศึกษามีการวางแผนให้ครูมีเคร่ืองมือสาหรับประเมินผู้เรียนที่หลากหลายตามความเหมาะสมโดย
วเิ คราะห์จากข้อมลู ของผู้เรยี นรายบุคคล มีการจดั ทาแผนการประเมนิ ผลรายวชิ าที่ชดั เจน

ครูได้วิเคราะห์ข้อมูลผู้เรียนเป็นรายบุคคล การจัดทาแผนการประเมินผลรายวิชา โดยการกาหนด
อัตราส่วนน้าหนักของคะแนนด้านความรู้ (Knowlage) ด้านทักษะกระบวนการ(Process) และด้านคุณลักษณะ
อนั พึงประสงค(์ Adtitude) โดยให้ผ้เู รยี นไดม้ สี ่วนรว่ มในการกาหนดเกณฑก์ าร ประเมนิ ผลงาน ภาระงาน/ช้นิ งาน
ร่วมกับครูผู้สอน เพื่อนาไปส่กู ิจกรรมการเรียน การสอน มีการวดั และประเมนิ ผลก่อนเรียน และระหว่างเรียน มี
การทากจิ กรรมซ่อมเสรมิ ในส่วนเนื้อหาที่บกพร่องใหผ้ ่านเกณฑต์ ามเป้าหมายท่ีตงั้ ไว้ มกี ารทารายงานวิจัยในช้ัน
เรียนเพอ่ื หาข้อบกพรอ่ งของผู้เรียนและการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครู เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนใน
แต่ละหน่วยการเรียนรู้มีการวัดและประเมินผลเรียนหลังเรียน ครูผู้สอนมีการสรปุ ประเมินผลการเรียนเม่ือสิ้นสุด
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในภาคเรียนนั้น และดาเนินการตัดสินผลการเรียนรู้ตามหลักการวัดและ
ประเมนิ ผล รายงานผล การเรียนและความก้าวหน้าในการเรยี นให้กบั ผู้เรียน และผ้ปู กครองตอ่ ไป

ครูมกี ารตรวจสอบและประเมินผ้เู รยี นตามสภาพจรงิ มขี ัน้ ตอนการประเมนิ แบบตรวจสอบได้ และประเมิน
อยา่ งมรี ะบบเพ่ือม่งุ เนน้ การพฒั นาการเรยี นรู้ของผู้เรยี นดว้ ยวิธที ห่ี ลากหลาย มกี ารแสดงขอ้ มูลเชงิ พฒั นาการ
รายบคุ คลและการประเมนิ ในภาพรวมของแต่ละรายวชิ า

มกี ารนาผลการประเมินผู้เรยี นในการจดั การเรียนรู้ที่ได้ มาวิเคราะห์ถงึ สาเหตุ และปัญหาท่เี กิดข้นึ นาผล
การประเมินผเู้ รยี นและข้อเสนอแนะต่างๆ มาวางแผนการจัดการเรียนรู้ และดาเนนิ การตามแผนในครั้งตอ่ ไป

มีชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพระหว่างครูและผู้เกี่ยวข้อง โดยมีการจัดกิจกรรม PLC แลกเปลี่ยน
วิธกี ารวดั และประเมินผลในกลุ่มวิชาและในกล่มุ เครอื ข่ายของสถานศึกษา มีการแลกเปล่ียนเรียนร้รู ะหว่างเพอ่ื นครู
ทมี่ ีความสนใจในเร่ืองเดียวกนั มีการนิเทศ กากับติดตามการจัดการเรียนการสอนจากผู้เกย่ี วข้อง มีการรายงานผล
ตอ่ หัวหน้าสถานศึกษาและเผยแพรผ่ ลงานต่อผทู้ ีส่ นใจ

3.5 มีกำรแลกเปลีย่ นเรยี นรู้และให้ข้อมลู สะทอ้ นกลบั เพ่ือพฒั นำและปรบั ปรุงกำรจัดกำรเรียนรู้
ผลการประเมนิ ตนเองในปกี ารศึกษา 2564 พบวา่ ครูมีการแลกเปล่ยี นเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อ
พัฒนาและปรับปรงุ การจดั การเรียนรู้ คดิ เปน็ รอ้ ยละ100 ซงึ่ สูงกวา่ เปา้ หมายท่สี ถานศกึ ษากาหนด โดย
ได้ดาเนินการสอดคล้องกบั ประเด็นการพิจารณา ดงั นี้
สถานศึกษามกี ารวางแผนให้ครมู ีการแลกเปลีย่ นความรู้ และให้ขอ้ มลู สะท้อนกลบั เพ่ือพฒั นาและปรบั ปรุง
การจัดการเรียนการสอน โดยการมี (Professional Learning Community : PLC) มีวิสัยทัศน์ เป้าหมายและ
ภารกจิ รว่ มกนั
สถานศึกษาไดม้ ีการดาเนนิ การตามแผนทก่ี าหนดโดยจัดให้มี กิจกรรม PLC สู่การเรยี นการสอน ครทู กุ กลุ่ม
สาระมีกิจกรรม PLC 2 ส่วน ได้แก่ การสังเกตการณ์สอน และกระบวนการวิจัยในช้ันเรียน เพื่อให้เกิดเป็น
วฒั นธรรมองค์กรและการสร้างนวัตกรรมจากการเข้าร่วมประชุม อบรมในการเรียนรู้ทางวิชาชีพ โดยนาความรู้
ความสามารถ ทกั ษะทไี่ ด้จากการพฒั นาวชิ าชีพ มาพฒั นา นวตั กรรมทักษะการการเรยี นรู้ ท่ีสง่ ผลต่อคุณภาพของ
ผู้เรยี น และนาแอปพลิเคชัน Grader มาใชใ้ นประเมินเพอ่ื พัฒนา และแต่งตั้งคณะกรรมการร่วมกันประชุม กากับ
ติดตาม ประเมินผลและนาผลไปพัฒนาการดาเนินงานอย่างต่อเน่ือง มีการรายงานผลการจัดกิจกรรม PLC ภาค
เรียนละ 1 คร้ัง มีการให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนและผู้ปกครองหรือผู้มีส่วนเก่ียวข้องเพ่ือนาไปใช้พัฒนาการ
เรียนรขู้ องผเู้ รียน มกี ารระบผุ ลความสาเรจ็ ของผู้เรียนทีเ่ กดิ จากกระบวนการจดั การเรียนการสอน

68

มกี ารนาผลการประเมินผู้เรยี นในการจดั การเรยี นร้ทู ไี่ ด้ มาวิเคราะหถ์ ึงสาเหตุ และปัญหาท่ีเกิดข้นึ นาผล
การประเมนิ ผู้เรียนและข้อเสนอแนะต่างๆ มาวางแผนการจัดการเรียนรู้ และดาเนินการตามแผนในครั้งตอ่ ไป เปิด
โอกาสใหผ้ เู้ รียนได้สะทอ้ นการจดั การเรียนการสอนของครูเพือ่ นามาพัฒนาตนเอง

มกี ารแลกเปลี่ยนเรียนรูแ้ ละให้ข้อมลู ปอ้ นกลบั เพ่ือพัฒนาปรับปรงุ การจัดการเรยี นการสอน โดยการมี
ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวชิ าชพี ระหวา่ งครูและผเู้ กีย่ วขอ้ ง โดยมีการจัดกจิ กรรม PLC แลกเปล่ยี นในกลุ่มวิชาและ
ในกลุ่มเครอื ขา่ ยของสถานศกึ ษา มกี ารแลกเปล่ียนเรยี นรู้ระหว่างเพ่อื นครทู มี่ คี วามสนใจในเรือ่ งเดยี วกนั มีการ
นิเทศ กากบั ตดิ ตามการจัดการเรียนการสอนจากผเู้ กี่ยวข้อง มีการรายงานผลตอ่ หวั หน้าสถานศึกษาและเผยแพร่
ผลงานต่อผ้ทู ส่ี นใจ

3. สรปุ ผลกำรประเมินคณุ ภำพตำมมำตรฐำนกำรศึกษำของสถำนศึกษำ
ระดบั ปฐมวยั

มำตรฐำนกำรศกึ ษำ ระดบั คุณภำพ

มำตรฐำนท่ี คณุ ภำพของเดก็ ยอดเยย่ี ม
1 1. มีพัฒนาดา้ นรา่ งกาย แข็งแรง มีสุขนสิ ยั ทดี่ ี และดแู ลความปลอดภัยของตนเองได้ ยอดเยย่ี ม
2. มีพฒั นาการดา้ นอารมณ์ จติ ใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณไ์ ด้ ยอดเยี่ยม
มำตรฐำนที่ 3. มพี ัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเองและเป็นสมาชกิ ท่ดี ขี องสงั คม ยอดเยี่ยม
2 4. มีพัฒนาการด้านสติปัญญา สือ่ สารได้ มีทกั ษะการคิดพ้ืนฐาน และแสวงหา ยอดเย่ียม
ความรไู้ ด้
มำตรฐำนที่ 5. โรงเรียนเพ่มิ เติมได.้ .. ยอดเยย่ี ม
3 กระบวนกำรบริหำรและกำรจัดกำร ยอดเยี่ยม
1. มหี ลกั สูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้งสดี่ า้ น สอดคล้องกับบริบทขอทอ้ งถิน่ ยอดเย่ียม
2. จัดครใู ห้เพียงพอกับช้นั เรยี น ยอดเย่ียม
3. สง่ เสริมใหค้ รมู คี วามเชี่ยวชาญดา้ นการจดั ประสบการณ์ ยอดเยย่ี ม
4. จัดสภาพแวดลอ้ มและสอ่ื เพ่ือการเรียนรูอ้ ยา่ งปลอดภัยและเพยี งพอ ยอดเย่ยี ม
5. ให้บรกิ ารสือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศและสอื่ การเรียนรูเ้ พอื่ สนบั สนุนการจัด
ประสบการณ์ ยอดเยี่ยม
6. มรี ะบบบริหารคณุ ภาพท่ีเปิดโอกาสให้ผ้เู ก่ียวข้องทุกฝ่ายมีสว่ นรว่ ม -
7. โรงเรยี นเพมิ่ เติมได้...
กำรจดั ประสบกำรณท์ เี่ นน้ เดก็ เปน็ สำคัญ ยอดเยี่ยม
1. จดั ประสบการณ์ท่สี ่งเสริมใหเ้ ดก็ มีพัฒนาการทุกด้าน อย่างสมดลุ เต็มศกั ยภาพ ยอดเยย่ี ม
2. สร้างโอกาสใหเ้ ด็กไดร้ บั ประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบตั อิ ยา่ งมคี วามสุข ยอดเยี่ยม
3. จดั บรรยากาศท่เี ออ้ื ต่อการเรียนรู้ ใช้สอ่ื และเทคโนโลยีท่เี หมาะสมกบั วัย ยอดเยี่ยม
4. ประเมนิ พัฒนาการเดก็ ตามสภาพจรงิ และนาผลการประเมินพฒั นาการเดก็ ไป ยอดเยี่ยม
ปรับปรุงการจัดประสบการณแ์ ละพฒั นาเด็ก
5. โรงเรยี นเพมิ่ เติมได.้ .. ยอดเยี่ยม

สรปุ ผลกำรประเมินคุณภำพระดบั ปฐมวยั

69

ระดับกำรศกึ ษำขั้นพื้นฐำน

มำตรฐำน มำตรฐำนกำรศึกษำ ระดบั คุณภำพ
ยอดเยี่ยม
มำตรฐำนที่ คุณภำพของผูเ้ รียน ยอดเย่ียม
ยอดเยี่ยม
1 ผลสมั ฤทธิ์ทำงวิชำกำรของผูเ้ รยี น ยอดเย่ียม

1. มีความสามารถในการอา่ น การเขียน การสือ่ สาร และการคดิ คานวณ ยอดเยี่ยม
ยอดเยี่ยม
2. มคี วามสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอยา่ งมวี ิจารณญาณ อภปิ รายแลกเปล่ียน ยอดเยี่ยม
ยอดเยี่ยม
ความคดิ เห็นและแกป้ ัญหา ยอดเยี่ยม
ยอดเย่ียม
3. มคี วามสามารถในการสร้างนวัตกรรม ยอดเยี่ยม
ยอดเย่ียม
4. มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสอ่ื สาร ยอดเยี่ยม

5. มผี ลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา ดเี ลศิ
ยอดเย่ียม
6. มีความรทู้ ักษะพ้ืนฐาน และเจตคตทิ ่ดี ตี อ่ งานอาชีพ
ดีเลิศ
คณุ ลักษณะที่พงึ ประสงค์ของผูเ้ รียน ดเี ลิศ

7. การมีคุณลักษณะและคา่ นิยมทีด่ ตี ามทส่ี ถานศึกษากาหนด ยอดเยี่ยม
ดีเลิศ
8. ความภมู ใิ จในทอ้ งถ่ินและความเป็นไทย ดีเลศิ

9. การยอมรบั ทจี่ ะอย่รู ่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย ยอดเย่ียม
ยอดเย่ียม
10. สุขภาวะทางรา่ งกายและจติ สงั คม
ยอดเย่ียม
มำตรฐำนที่ กระบวนกำรบริหำรและกำรจดั กำร ยอดเย่ียม
ยอดเย่ียม
2 1. มีเปา้ หมายวิสัยทัศนแ์ ละพนั ธกจิ ทส่ี ถานศึกษากาหนดชดั เจน ยอดเยี่ยม

2. มีระบบบรหิ ารจัดการคุณภาพของสถานศกึ ษา

3. ดาเนนิ งานพฒั นาวชิ าการทเ่ี น้นคุณภาพผ้เู รียนรอบด้านตามหลกั สูตรสถานศึกษา

และทุกกลมุ่ เปา้ หมาย

4. พัฒนาครแู ละบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวชิ าชีพ

5. จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมทเ่ี อ้ือต่อการจัดการเรียนรอู้ ย่างมคี ณุ ภาพ

6. จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื สนบั สนุนการบริหารจัดการและการจดั การเรียนรู้

7. โรงเรยี นเพิม่ เติมได.้ ..

มำตรฐำนที่ กระบวนกำรจดั กำรเรยี นกำรสอนทีเ่ นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคญั

3 1. จัดการเรยี นรผู้ ่านกระบวนการคิดและปฏบิ ัตจิ รงิ และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ใน

ชีวติ ได้

2. ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรียนรู้ที่เอ้ือต่อการเรียนรู้

3. มกี ารบรหิ ารจดั การชนั้ เรียนเชงิ บวก

4. ตรวจสอบและประเมินผเู้ รียนอย่างเปน็ ระบบ และนาผลมาพฒั นาผู้เรยี น

5. มกี ารแลกเปลยี่ นเรยี นรู้และให้ขอ้ มลู สะท้อนกลับเพื่อพัฒนาปรบั ปรุงการจัดการ

เรยี นรู้

6. โรงเรียนเพิ่มเตมิ ได.้ ..

สรุปผลกำรประเมนิ คุณภำพระดับกำรศึกษำขั้นพน้ื ฐำน

*** สรปุ ผลการประเมนิ คุณภาพคดิ แบบเดยี วกบั ระดับปฐมวยั ***

70

4. จดุ เด่น
ระดบั กำรศกึ ษำปฐมวัย

คณุ ภาพของเดก็
1. เด็กมพี ัฒนาการทัง้ 4 ดา้ นสมวยั มีคณุ ลกั ษณะที่สอดคล้องกับอัตลกั ษณ์ของสถานศึกษา คอื “น่าเอ็นดู มี

จิตสาธารณะ”เปน็ มนษุ ย์ทีส่ มบรู ณ์ มจี ติ ใจมน่ั คง มคี วามรทู้ างวชิ าการ รา่ งกายแข็งแรงและเห็นออกเหน็ ใจผอู้ น่ื
ซึ่งเด็กได้รบั การพัฒนาโดยการจดั ประสบการณบ์ ูรณาการการสอน แบบนิโอ-ฮวิ แมนนสิ ต์ สู่ MAPS

2. เดก็ มีทกั ษะทางภาษาสมวยั ได้เรียนรภู้ าษาจีน และภาษาอังกฤษกับครูต่างชาตติ ามหลักสตู รภาษาและ
เทคโนโลยีแบบเข้มข้น(Intensive Language Technology Program) เดก็ คดิ เปน็ ทาเปน็ จากการจดั
ประสบการณแ์ บบโครงการบรู ณาการ STEAMM EDUCATION
กระบวนกำรบริหำรและกำรจัดกำร

1. สถานศึกษามีกระบวนการบริหารและการจดั การทห่ี ลากหลายภายใตห้ ลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
เช่น กระบวนการบรหิ ารแบบมสี ่วนร่วม กระบวนการบรหิ ารคณุ ภาพ PDCA และการบรหิ ารโดยใชโ้ รงเรียนเป็น
ฐาน(SBM)

2. สถานศกึ ษามนี วัตกรรมเด่นและเปน็ แบบอย่างทด่ี ี ตามนโยบาย หนง่ึ โรงเรียน หนึ่งนวตั กรรม ไดแ้ ก่ การ
จดั การศกึ ษาโดยที่เนน้ โรงเรยี นศาสนสมั พนั ธ์

3. สถานศกึ ษามกี ารพฒั นาเดก็ ปฐมวยั โดยการจดั ประสบการณ์บรู ณาการแบบ นโี อ-ฮวิ แมนนสิ ต์ สู่ MAPS
ซงึ่ ประกอบด้วย 1)จติ ใจ(Mental) มคี วามเป็นตวั ของตัวเอง มคี วามคิดสรา้ งสรรค์ 2) วชิ าการ (Academic)
เรยี นรู้และฝึกฝนหาวชิ าเพือ่ พัฒนาตนเอง 3) ร่างกาย (Physical) จะตอ้ งเข้มแขง็ 4) ความมนี า้ ใจ(Spirittual) มี
ความเมตตาชว่ ยเหลอื ผอู้ นื่ โดยไมห่ วังผลตอบแทน ท้งั 4 ดา้ น คอื หลกั การสกู่ ารพฒั นาความเป็นมนุษยท์ ่สี มบรู ณ์
กำรจดั ประสบกำรณ์ท่ีเน้นเดก็ เปน็ สำคญั

1. ครมู ีความสามารถในการนาเทคโนโลยมี าพฒั นาผู้เรยี น โดยใชแ้ อปพลิเคชั่น Checker ในการดแู ล
ชว่ ยเหลือนักเรยี น และพัฒนาคณุ ลักษณอ์ นั พงึ ประสงค์

2. ครจู ัดประสบการณ์แบบโครงการบรู ณาการ STEAMM EDUCATION
3. ครูได้จดั ทานวตั กรรมพฒั นาเด็กปฐมวัยโดยการจดั ประสบการณ์บูรณาการแบบนโี อ-ฮวิ แมนนิสตส์ ู่ MAPS

71

จดุ เดน่
ระดบั กำรศึกษำขนั้ พื้นฐำน
คณุ ภำพของผู้เรียน

1. ผูเ้ รียนทกุ คนสามารถอา่ นออกและเขียนไดเ้ หมาะสมตามวัย ทง้ั ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยกาหนด
ไวเ้ ป็นระเบยี บปฏิบตั ิด้านความสามารถทางวชิ าการไวใ้ นค่มู อื นักเรยี น มขี ้ันตอนการพฒั นาอยา่ งชดั เจนและผล
การใช้เปน็ ทปี่ ระจักษ์

2. ผู้เรยี นระดับชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 6 มีผลการทดสอบระดบั ชาติ (O-NET) สูงกว่าระดบั สงั กัดและระดับ
จงั หวดั และระดับประเทศ อยา่ งตอ่ เน่ือง

3. ผูเ้ รียนมคี วามสามารถในการคดิ วเิ คราะห์และคิดสร้างสรรค์ มีผลงานดา้ นโครงงานและสงิ่ ประดษิ ฐท์ าง
วิทยาศาสตรไ์ ด้รางวลั ระดบั สังกัดและระดบั ภมู ภิ าคและระดบั ชาติ

4. ผู้เรียนมีความสามารถในดา้ นเทคโนโลยี จากการท่สี ถานศึกษาอนุญาตให้ผเู้ รยี นนาโทรศพั ท์มอื ถอื มาเปน็
ส่อื ในการเรยี นได้ และครไู ดอ้ อกแบบบทเรียนใหผ้ เู้ รยี นสามารถใช้โทรศพั ท์มอื ถือเปน็ เครือ่ งมือในการเรยี นรู้ และ
การทางานสง่ ทาให้ผ้เู รียนมีความสามารถในดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศมากขน้ึ

5. ผ้เู รยี นมผี ลงานตามโครงการหน่งึ ห้องเรียน หนึง่ ผลิตภัณฑ์ทกุ ห้องเรียน และมีการพฒั นาผลติ ภณั ฑ์อยา่ ง
ต่อเน่อื ง โดยการประเมนิ ผลการดาเนนิ งานท่ที าและนามาปรับปรงุ เพอื่ ให้ผลติ ภณั ฑ์เป็นท่ตี อ้ งการของผู้ซื้อและ
ขายได้
กระบวนกำรบริหำรและกำรจัดกำร

1. สถานศึกษามกี ระบวนการบรหิ ารและการจัดการทีห่ ลากหลายภายใตห้ ลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง เชน่
กระบวนการบริหารแบบมสี ว่ นร่วม กระบวนการบริหารคุณภาพ PDCA และการบรหิ ารโดยใชโ้ รงเรียนเปน็ ฐาน
(SBM)

2. สถานศึกษามนี วัตกรรมเดน่ และแบบอย่างทดี่ ขี องสถานศึกษา ตามนโยบายหนึง่ โรงเรียน หน่ึงนวัตกรรม
ได้แก่ การบริหารจัดการด้วย STEM MODEL ส่ปู ระชาคมอาเซยี น ซึ่งไดร้ ับรางวัลจากสานักงานเลขาธิการครุ ุสภา
กระทรวงศึกษาธกิ าร

3. สถานศกึ ษานาระบบ แอปพลเิ คชัน่ Checker มาใชใ้ นการดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียน เพ่ือลดความวติ กกงั วล
ของผปู้ กครองที่มีต่อการมาเรยี นของผ้เู รยี น แอปพลเิ คชน่ั Grader มาใชใ้ นการตรวจแบบทดสอบแบบปรนัย ซึง่
บนั ทึกผล วเิ คราะห์ แปลความหมายและประมวลผลผู้เรยี นเปน็ รายบุคคล ทาให้ครสู ามารถนาผลมาใชใ้ นการ
ปรับปรุงการจดั การเรยี นการสอน และพฒั นาผเู้ รยี นไดเ้ ปน็ อยา่ งดี

4. สถานศกึ ษาใชก้ ระบวนการวจิ ยั ในการเกบ็ รวมรวมข้อมลู และประเมินผลการดาเนินงานของโครงการทุก
โครงการ โดยนาเสนอรายงานผลการดาเนนิ งานในรปู วิจัย 5 บท
กระบวนกำรจดั กำรเรยี นกำรสอนท่ีเน้นผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ

1. ครูมคี วามสามารถในการใชแ้ อปพลเิ คชน่ั Checker ในการดูแลช่วยเหลอื นกั เรียน และพัฒนาคุณลกั ษณะ
อันพึงประสงค์ และความสามารถในการใช้แอปพลิเคชน่ั Grader ในการวัดและประเมนิ ผลเพอ่ื พฒั นาผูเ้ รยี นและ
แก้ปญั หาอย่างมีประสิทธผิ ล

2. ครมู ีความสามารถในการจัดการเรียนการอสนและพัฒนาผเู้ รยี นไดเ้ ปน็ อยา่ งดีใช้กระบวนการวิจยั ในการ
เก็บรวมรวมข้อมูล และประเมินผลการดาเนินงานของโครงการทกุ โครงการโดยนาเสนอรายงานผลการดาเนินงาน
ในรปู วจิ ยั 5 บท มีการประเมินผลงานวจิ ยั ในช้นั เรยี นอย่างเป็นระบบ และนาขอ้ เสนอแนะจากการประเมิน
งานวิจยั ไปพฒั นาตอ่ ยอดงานไดอ้ ยา่ งเป็นระบบและตอ่ เน่ือง

72

5. ขอ้ เสนอแนะสู่กำรพัฒนำนวตั กรรมหรือแบบอย่ำงทด่ี ี

ระดับกำรศึกษำปฐมวยั

คณุ ภำพของเดก็
1. เดก็ ควรไดร้ ับการตอ่ ยอดความรู้ในการสรา้ งสรรคช์ ้นิ งาน โดยให้เดก็ แต่ละห้องเรียนไดส้ รา้ งหรือผลติ

ช้นิ งานตามโครงการหนึ่งหอ้ งเรยี นหน่งึ ผลติ ภณั ฑ์ ส่งเสริมใหเ้ ด็กได้ใช้โครงการบรู ณาการ STEAMM
EDUCATION เป็นแกนหลักในการพฒั นาองคค์ วามรู้ และสรา้ งชิน้ งานตามความสนใจของเดก็

2. เดก็ ควรไดร้ ับการส่งเสริมดา้ นกฬี าตามความถนัดและความสนใจ เชน่ กีฬาเทควนั โด กีฬาว่ายน้าและ
กฬี าฟตุ บอลใหม้ ีความโดดเด่น เพอื่ เผยแพร่ความสามารถของเด็ก เพือ่ เป็นขวัญกาลงั ใจให้แกเ่ ด็กและสร้าง
ชอ่ื เสยี งใหแ้ ก่สถานศึกษา
กระบวนกำรบริหำรและกำรจัดกำร

1. สถานศกึ ษาควรดาเนินโครงการหน่ึงหอ้ งเรียนหนึง่ ผลติ ภัณฑ์ ใหม้ คี วามโดดเดน่ โดยใหแ้ ตล่ ะห้อง
สร้างสรรค์นวตั กรรมเดน่ ประจาห้องเรยี น พร้อมขยายผลงานสู่ชมุ ชน และส่งเขา้ ประกวดทั้งในและนอก
สถานศกึ ษาโดยโครงการบรู ณาการ STEAMM EDUCATION แกนหลกั ในการพัฒนาองค์ความรู้ และสร้างช้ินงาน
ตามความสนใจของเด็ก

2. สถานศึกษาควรพัฒนาหลกั สตู รภาษาและเทคโนโลยีแบบเข้มข้น ดา้ นจานวนห้องและต่อยอดให้เปน็
หลกั สูตรตามมาตรฐานสากลใหม้ ากขน้ึ จนเป็นเอกลกั ษณข์ องสถานศกึ ษา
กำรจดั ประสบกำรณ์ท่เี นน้ เดก็ เปน็ สำคญั

ครยู กระดบั การจดั ประสบการณบ์ รู ณาการแบบนีโอ-ฮิวแมนนสิ ต์ สู่ MAPS เพือ่ ต่อยอดและพฒั นาคุณภาพ
ให้เป็นนวัตกรรมท่ยี ่งั ยนื ของครู ควรมีระบบการสงั เกตผลการพฒั นา โดยใช้เคร่อื งมือทห่ี ลากหลายในการประเมิน
พฒั นาการ อยา่ งเปน็ ระบบและต่อเนือ่ ง

ระดับกำรศึกษำขัน้ พื้นฐำน

คุณภำพของผู้เรยี น
1. สถานศกึ ษาควรพัฒนาต่อยอดกิจกรรมตวิ เตอร์การอา่ น โดยใชต้ วั แบบการอา่ น(Model Of Reading)ให้

เป็นนวตั กรรมที่มีความโดดเด่นของสานศกึ ษา มาดาเนินการใหต้ อ่ เนือ่ งเป็นระบบและเผยแพรห่ รอื ขยายผลไปยัง
สถานศึกษาอ่นื ๆ

2. ผเู้ รยี นควรได้รบั การสง่ เสริมกฬี าว่ายน้าให้มคี วามโดดเดน่ และสรา้ งทีมนักกีฬาวา่ ยน้าท่มี ีความสามารถ
เพ่ือสร้างชื่อเสยี งใหก้ ับสถานศกึ ษา

3. ผู้เรียนควรได้รับการสง่ เสรมิ ต่อยอดการพัฒนาการทาโครงงานอยา่ งหลากหลายครบทกุ กลมุ่ สาระการ
เรยี นรู้ บันทกึ ขั้นตอนการทาโครงงานในรปู คลิปวีดีโอและทาเปน็ QR-CODE ติดไว้ท่ีแผงโครงงาน เมือ่ มผี สู้ นใจ
อยากทราบรายละเอียดเกยี่ วกบั โครงงาน สามารถใช้โทรศัพทม์ อื ถอื สแกนเปดิ ดไู ด้ โดยไมต่ อ้ งใหผ้ เู้ รยี นนาเสนอ
ใหม่

4. ใหผ้ ูเ้ รยี นต่อยอดความร้ใู นการสร้างสรรคช์ ิ้นงาน โดยใหเ้ ดก็ แต่ละห้องเรยี นได้สร้างหรือผลติ ชิ้นงานตาม
โครงการหนึ่งหอ้ งเรียนหน่งึ ผลติ ภณั ฑ์ โดยโครงงาน STEAMM EDUCATION เป็นแกนหลกั ในการพัฒนาองค์
ความรู้ และสรา้ งชิ้นงานตามความสนใจของเดก็
กระบวนกำรบริหำรและกำรจัดกำร

1. สถานศกึ ษาควรให้แตล่ ะหอ้ งสร้างสรรคน์ วัตกรรมเดน่ ประจาห้องเรียน โดยใหแ้ ตล่ ะห้องแข่งขันกัน

73

ออกแบบนวัตกรรมประจาหอ้ งเรียน มที ้งั รายเดย่ี วและรายกลุ่ม และนาเสนอผลงานประกวดแขง่ ขนั ภายใน
สถานศกึ ษา พรอ้ มขยายผลงานสชู่ มุ ชนและภายนอกสถานศกึ ษา เพื่อต่อยอดโครงการหนึ่งหอ้ งเรยี นหน่งึ
ผลติ ภัณฑ์

2. สถานศึกษาควรพฒั นาหลกั สตู รภาษาองั กฤษและเทคโนโลยีแบบเขม้ ข้น ดา้ นจานวนห้องและตอ่ ยอดให้
เปน็ หลักสตู รตามมาตรฐานสากลใหม้ ากขึ้น จนเป็นเอกลักษณข์ องสถานศึกษา
กระบวนกำรจดั กำรเรียนกำรสอนท่ีเนน้ ผเู้ รียนเป็นสำคัญ

1. ครูควรพฒั นาตนเองอย่างตอ่ เนอ่ื ง และเรียนรเู้ ครอื่ งมือในการอานวยความสะดวกในการวัดผลและ
ประเมินผล และพัฒนาแบบทดสอบใหม้ มี าตรฐาน และมีคุณภาพ สร้างเครอ่ื งมอื วดั ผลและประเมินผลทม่ี ุง่ เน้นให้
ผู้เรียนไดค้ ิดวเิ คราะห์ คดิ สังเคราะหแ์ ละนาไปใชอ้ ยา่ งหลากหลาย และจดั ทาเปน็ คลงั ขอ้ สอบด้วยการใช้
แอปพลเิ คชน่ั School Bright เพื่อพัฒนาเปน็ นวัตกรรม/แบบอย่างทด่ี ขี องสถานศกึ ษา

2. ครูควรออกแบบกิจกรรมการเรยี นการสอน ด้วยการเพิม่ กจิ กรรมการเรยี นรแู้ บบโครงงาน เพื่อสง่ เสรมิ ให้
ผเู้ รยี นได้ฝกึ กระบวนการคิดวเิ คราะห์ คดิ สังเคราะห์ คิดสรา้ งสรรค์ นาไปสกู่ ารออกแบบนวตั กรรม/ช้นิ งานท่ีเป็น
แบบอย่างทด่ี ขี องสถานศึกษาตามโครงการหน่งึ ห้องเรียน หนง่ึ ผลิตภัณฑ์ รณรงคเ์ รอื่ งการประหยดั น้าประหยัดไฟ
และดาเนนิ การเรอ่ื งธนาคารขยะโดยให้สภานกั เรยี นร่วมดาเนินการกบั ทกุ ชน้ั เรียน และควรทาบันทกึ ขอ้ ตกลง
รว่ มกันกับหน่วยงานภายนอก

6. แนวทำงกำรพฒั นำ

1. นาจดุ เด่นและขอ้ เสนอแนะสู่การพัฒนานวตั กรรมหรือแบบอย่างท่ีดี มาวเิ คราะห์ เพอ่ื วางแผน
การพัฒนา สาหรบั จดุ เดน่ ก็ใหด้ าเนนิ การต่อไป สว่ นขอ้ เสนอแนะสกู่ ารพัฒนานวตั กรรมหรือแบบอย่างทด่ี ี
ออกแบบการพฒั นาสกู่ ารปฏิบตั ติ อ่ ไป

2. นาขอ้ มลู ไปส่กู ารจดั ทาแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปี ดังน้ี
แผนงำน/โครงกำรพัฒนำคณุ ภำพผเู้ รียน
1. การปรบั และพฒั นาหลกั สูตรใหส้ อดคล้องกับความต้องการของชมุ ชน และการจดั ศึกษาใน
ศตวรรษท่ี 21
2. กิจกรรมเสรมิ หลักสตู รทเี่ นน้ คุณภาพผเู้ รยี นรอบดา้ นสอดคลอ้ งกับแนวคิดพหุปญั ญา
3. โครงการพฒั นาจดั การเรยี นการสอนนักเรยี นเรียนร่วม
4. โครงการโรงเรียนคณุ ธรรม
5. พฒั นานวตั กรรม/แบบอย่างที่ดีเพ่อื พฒั นาคณุ ภาพผ้เู รยี นที่โดดเด่น
แผนงำน/โครงกำรพฒั นำระบบบรหิ ำรจัดกำร
1. โครงการการบริหารจดั การเกย่ี วกบั งานวิชาการและการปรับและพฒั นาหลกั สตู รให้

สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของชมุ ชน และการจดั ศกึ ษาในศตวรรษท่ี 21
2. ยกระดบั แผนพัฒนางานสมั พันธ์ชมุ ชน
3. พัฒนานวตั กรรม/แบบอยา่ งท่ดี ีในการบริหารจัดการ

แผนงำน/โครงกำรพัฒนำคณุ ภำพครู
1. โครงการพฒั นาครูสคู่ รมู ืออาชพี
2. พัฒนาระบบนเิ ทศภายในโรงเรียนให้เข้มแข็ง
3. พัฒนานวัตกรรม/แบบอยา่ งทีด่ ีของครูให้โดดเด่น

74

7. ควำมต้องกำรชว่ ยเหลือ
1. การสอบบรรจุครูของภาครัฐในช่วงระหวา่ งการเปิดภาคเรียน ทาใหโ้ รงเรียนขาดครูและบุคลากรใการ

จัดการเรียนการสอน ภาครัฐควรมีการสอบบรรจุและดาเนินการต่าง ๆ ในช่วงก่อนเปิดภาคเรียนเพ่ือไม่ให้เกิด
ผลกระทบตอ่ โรงเรยี นเอกชน

2. เครอื ข่ายอินเตอร์เน็ตความเรว็ สงู เพ่อื การจดั การเรียนร้แู ละการบริหารการศกึ ษาสมู่ าตรฐานสากล
3. การพัฒนาครูผู้สอนในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ท่ีสอดคลอ้ งกับการพฒั นาผเู้ รยี นในศตวรรษที่ ๒๑

75

ภำคผนวก

1. ประกาศโรงเรยี น เรอ่ื ง การกาหนดมาตรฐานการศกึ ษาและคา่ เป้าหมายความสาเรจ็ ของโรงเรยี น
ระดบั ปฐมวยั และระดบั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน
2. รายงานการประชุมหรอื การใหค้ วามเห็นชอบ SAR ของคณะกรรมการบรหิ ารโรงเรยี น
3. คาสัง่ แตง่ ตง้ั คณะทางานจัดทา SAR
4. หลกั ฐานการเผยแพร่ SAR ใหผ้ มู้ สี ว่ นเก่ียวข้องหรอื สาธารณชนรบั ทราบ
5. แผนผงั อาคารสถานที่
6. โครงสรา้ งการบริหารงานโรงเรยี น
7. โครงสรา้ งหลักสูตร เวลาเรียน ของโรงเรยี น
8. เอกสารเพิ่มเติมอนื่ ๆ ทีโ่ รงเรยี นตอ้ งการแนบประกอบ

(ควรแสกนไฟล์เป็นไฟล์ .pdf เพ่อื ให้พร้อมตอ่ การแนบไฟล์ในระบบ)

76

ประกำศโรงเรียนเซนต์แมรี

เรอ่ื ง กำรกำหนดมำตรฐำนกำรศกึ ษำและคำ่ เป้ำหมำยควำมสำเรจ็ ของโรงเรียน

ระดบั กำรศึกษำปฐมวยั

-------------------------------------------------

ตามที่กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศ เร่อื ง ใหใ้ ชม้ าตรฐานการศึกษาระดับการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน
เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2561 ดังน้ัน เพ่ือให้การดาเนินการประกันคุณภาพการศึกษาภายในโรงเรียน เป็นไป
อย่างมีประสิทธิภาพตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 โรงเรียนเซนต์แมรี จึงได้ กาหนด
มาตรฐานการศึกษาและค่าเป้าหมายความสาเร็จของโรงเรียน ระดับการศึกษาปฐมวัย ปีการศึกษา 2564 ไว้ดัง
รายละเอียดแนบทา้ ยประกาศ ตอ่ ไปน้ี

มำตรฐำน คำ่ เป้ำหมำยควำมสำเรจ็
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพเด็ก ระดบั ยอดเยยี่ ม
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ระดับยอดเยยี่ ม
มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณท์ ่ีเนน้ ผู้เรยี นเป็นสาคัญ ระดับยอดเยี่ยม

ประกาศ ณ วนั ที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2564

(นายคมกฤต ชาญเชาวว์ งศ์)
ประธานคณะกรรมการบรหิ ารโรงเรียน

77

กำรกำหนดคำ่ เป้ำหมำยตำมมำตรฐำนกำรศึกษำของสถำนศกึ ษำ

เพ่ือกำรประกนั คุณภำพภำยในของสถำนศกึ ษำ ปกี ำรศึกษำ 2564

เรอ่ื ง กำหนดค่ำเปำ้ หมำยตำมมำตรฐำนกำรศกึ ษำของสถำนศกึ ษำ ระดับปฐมวัย

..................................................................................................

มำตรฐำนกำรศึกษำของสถำนศึกษำ คำ่ เป้ำหมำย ระดับคุณภำพ

มำตรฐำนท่ี 1 คุณภำพของเดก็ ระดบั ยอดเย่ียม

1.1 ร้อยละของเด็กมีกำรพัฒนำดำ้ นร่ำงกำยแข็งแรง มีสขุ นิสัยท่ีดี และ 97.50 ยอดเย่ียม

ดแู ลควำมปลอดภยั ของตนเองได้

1.1.1 รอ้ ยละของเดก็ มีนา้ หนัก ส่วนสงู ตามเกณฑม์ าตรฐาน 97.50 ยอดเยย่ี ม

1.1.2 รอ้ ยละของเดก็ เคล่ือนไหวรา่ งกายคลอ่ งแคลว่ ทรงตัวไดด้ ี ใชม้ อื 97.50 ยอดเยย่ี ม

และตาประสานสมั พันธ์ไดด้ ี

1.1.3 ร้อยละของเด็กดแู ลรกั ษาสขุ ภาพอนามยั ส่วนตนและปฏบิ ตั จิ น 97.50 ยอดเยีย่ ม

เป็นนิสยั

1.1.4 ร้อยละของเด็กปฏบิ ัตติ นตามขอ้ ตกลงเกย่ี วกบั ความปลอดภยั 97.50 ยอดเยี่ยม

หลกี เลี่ยงสภาวะทเ่ี สย่ี งตอ่ โรค สง่ิ เสพตดิ และระวงั ภัยจากบคุ คล

สง่ิ แวดล้อม และสถานการณท์ ีเ่ สี่ยงอันตราย

1.1 รอ้ ยละของเด็กมีกำรพัฒนำด้ำนอำรมณ์ จิตใจ ควบคุมและ 97.00 ยอดเยยี่ ม

แสดงออกทำงอำรมณ์ได้

1.2.1 ร้อยละของเดก็ รา่ งเรงิ แจ่มใส แสดงอารมณ์ ความร้สู กึ ไดเ้ หมาะสม 98.00 ยอดเยย่ี ม

1.2.2 รอ้ ยละของเดก็ ร้จู กั ยับยัง้ ชง่ั ใจ อดทนในการรอคอย 97.00 ยอดเยี่ยม

1.2.3 ร้อยละของเดก็ ยอมรับและพอใจในความสามารถ และผลงานของ 96.00 ยอดเยี่ยม

ตนเองและผู้อ่ืน

1.2.4 รอ้ ยละของเดก็ มจี ติ สานึกและคา่ นิยมทด่ี ี 96.00 ยอดเยี่ยม

1.2.5 ร้อยละของเด็กมีความมนั่ ใจ กล้าพดู กลา้ แสดงออก 96.00 ยอดเยี่ยม

1.2.6 รอ้ ยละของเดก็ ช่วยเหลอื แบง่ ปัน 97.00 ยอดเยยี่ ม

1.2.7 รอ้ ยละของเดก็ เคารพสทิ ธิ รหู้ นา้ ทร่ี ับผดิ ชอบ อดทนอดกล้นั 97.00 ยอดเยี่ยม

1.2.8 ร้อยละของเด็กซ่ือสตั ย์สุจรติ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรมตามท่ี 99.00 ยอดเยย่ี ม

สถานศกึ ษากาหนด

1.2.9 รอ้ ยละของเดก็ มีความสขุ กบั ศิลปะดนตรี และการเคลือ่ นไหว 97.00 ยอดเยี่ยม

1.3. ร้อยละของเด็ก มีกำรพัฒนำกำรดำ้ นสงั คม ช่วยเหลอื ตนเอง และ 97.00 ยอดเยี่ยม

เป็นสมำชิกทีด่ ขี องสังคม

1.3.1 ร้อยละของเดก็ ชว่ ยเหลอื ตนเองในการปฏบิ ัติกิจวตั รประจาวัน มี 96.00 ยอดเยีย่ ม

วนิ ัยในตนเอง

มำตรฐำนกำรศกึ ษำของสถำนศกึ ษำ คำ่ เปำ้ หมำย ระดับคุณภำพ

1.3.2 รอ้ ยละของเดก็ ประหยดั และพอเพยี ง 96.00 ยอดเย่ียม

1.3.3 รอ้ ยละของเด็กมสี ่วนร่วมดูแลรกั ษาส่ิงแวดลอ้ มในนอกห้องเรยี น 98.00 ยอดเยย่ี ม

1.3.4 รอ้ ยละของเด็กมีมารยาทตามวัฒนธรรมไทย เช่น การไหว้ การ 98.00 ยอดเย่ียม

ย้ิม ทักทาย และมสี ัมมาคารวะกบั ผู้ใหญ่ ฯลฯ

78

1.3.5 ร้อยละของเด็กยอมรับหรอื เคารพความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล 97.00 ยอดเยี่ยม
เช่นความคิดพฤตกิ รรมพน้ื ฐานครอบครวั เชือ้ ชาตศิ าสนาวัฒนธรรม เปน็ ตน้ 97.00 ยอดเยีย่ ม
95.00 ยอดเยย่ี ม
1.3.6 รอ้ ยละของเดก็ เลน่ และทางานรว่ มกบั ผ้อู ืน่ ได้ แก้ไขข้อขดั แย้ง 95.00 ยอดเยี่ยม
โดยปราศจากการใช้ความรุนแรง 95.00 ยอดเย่ยี ม
95.00 ยอดเยี่ยม
1.4 ร้อยละของเด็กมพี ฒั นำกำรดำ้ นสติปัญญำ สือ่ สำรได้ มที ักษะกำร 95.00 ยอดเยี่ยม
คิดพนื้ ฐำนและแสวงหำควำมร้ไู ด้ 95.00 ยอดเยย่ี ม
95.00 ยอดเยย่ี ม
1.4.1 รอ้ ยละของเดก็ สนทนาโตต้ อบและเล่าเรื่องใหผ้ ู้อื่นเขา้ ใจ 4.84 ยอดเยี่ยม
ยอดเยี่ยม
1.4.2 รอ้ ยละของเด็กตั้งคาถามในส่ิงทตี่ นเองสนใจหรือสงสยั และ ค่ำเป้ำหมำย
พยายามค้นหาคาตอบ 4.61 ระดบั คุณภำพ
ยอดเย่ียม
1.4.3 รอ้ ยละของเด็กอา่ นนทิ านและเล่าเรือ่ งทต่ี นเองอา่ นได้ตามวยั 4.51
ยอดเยย่ี ม
1.4.4 ร้อยละของเดก็ มีความสามารถในการคดิ รวบยอด การคดิ เชงิ
เหตุผลทางคณติ ศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์ การคดิ แก้ปญั หาและสามารถ
ตดั สินใจในเร่ืองง่าย ๆ ได้

1.4.5 รอ้ ยละของเดก็ สร้างสรรคผ์ ลงานตามความคดิ และจินตนาการ
เช่น งานศลิ ปะ การเคลอ่ื นไหวท่าทาง การเลน่ อิสระ ฯลฯ

1.4.6 ร้อยละของเด็กใช้ส่ือเทคโนโลยี เชน่ แวน่ ขยาย แมเ่ หล็ก กล้อง
ดิจิตอล ฯลฯ เปน็ เครื่องมอื ในการเรยี นร้แู ละแสวงหาความรไู้ ด้

มำตรฐำนท่ี 2 กระบวนกำรบริหำรและจดั กำร
2.1 มีหลักสูตรครอบคลมุ พฒั นำกำรทงั้ 4 ดำ้ นสอดคลอ้ งกับบรบิ ทของ
ทอ้ งถ่นิ

2.1.1 มีหลกั สตู รสถานศกึ ษาทยี่ ดื หยนุ่ และสอดคล้องกบั หลกั สตู ร
การศกึ ษาปฐมวัย

2.1.2 ออกแบบจัดประสบการณ์ทเ่ี ตรียมความพร้อมและไมเ่ ร่งรัดวชิ าการ
2.1.3 ออกแบบการจดั ประสบการณ์ทเ่ี น้นการเรียนรู้ผ่านการเล่น และการลง
มือปฏิบัติ (Active learning)
2.1.4 ออกแบบการจดั ประสบการณ์ท่ตี อบสนองความต้องการและความ
แตกต่างของเดก็ ปกตแิ ละกล่มุ เปา้ หมายเฉพาะทีส่ อดคล้องกับวถิ ีชวี ิตของ
ครอบครัว ชมุ ชนและท้องถน่ิ

มำตรฐำนกำรศึกษำของสถำนศึกษำ
2.1.5 มีการประเมนิ ตรวจสอบและปรับปรุง/พัฒนาหลกั สตู รอยา่ งตอ่ เน่ือง

2.2 จัดครใู ห้เพยี งพอกับชนั้ เรียน
2.2.1 จดั ครูครบชัน้ เรียน

2.2.2 จดั ครใู หม้ ีความเหมาะสมกบั ภารกจิ การจดั ประสบการณ์
2.2.3 จัดครูไม่จบการศกึ ษาปฐมวัยแต่ผา่ นการอบรมการศึกษาปฐมวัย

2.2.4 จดั ครูจบการศกึ ษาปฐมวัย
2.2.5 จัดครจู บการศกึ ษาปฐมวยั และผา่ นการอบรมการศึกษาปฐมวยั

2.3 สง่ เสรมิ ใหค้ รูมีควำมเช่ยี วชำญดำ้ นกำรจดั ประสบกำรณ์
2.3.1 มกี ารพฒั นาครแู ละบุคลากรให้มีความร้คู วามสามารถในการวิเคราะห์

และออกแบบหลกั สตู รสถานศกึ ษา

79

2.3.2 ส่งเสรมิ ครูใหม้ ีทักษะในการจดั ประสบการณแ์ ละการประเมนิ

พัฒนาการเดก็

2.3.3 สง่ เสริมครูใช้ประสบการณส์ าคัญในการออกแบบการจัดกิจกรรม จัด

กจิ กรรม สงั เกตและประเมินพัฒนาการเด็กเปน็ รายบุคคล

2.3.4 สง่ เสรมิ ให้ครมู ปี ฏสิ มั พันธท์ ่ดี ีกบั เด็กและครอบครัว

2.3.5 สง่ เสริมใหค้ รูพัฒนาการจดั ประสบการณ์โดยใช้ชุมชนแหง่ การเรียนรู้

ทางวชิ าชพี (PLC)

2.4.จดั สภำพแวดล้อมและส่อื เพอื่ กำรเรยี นรู้อยำ่ งปลอดภัยและเพียงพอ 4.57 ยอดเยยี่ ม

2.4.1 จัดสภาพแวดลอ้ มภายในหอ้ งเรยี นทค่ี านึงถึงความปลอดภยั ยอดเยย่ี ม

2.4.2 จดั สภาพแวดล้อมภายนอกห้องเรียนทคี่ านึงถงึ ความปลอดภยั ระดับคุณภำพ
ยอดเยีย่ ม
2.4.3 สง่ เสริมให้เกิดการเรียนรูท้ ี่เปน็ รายบคุ คลและกลุม่ เลน่ แบบร่วมมอื
ยอดเย่ียม
ร่วมใจ ยอดเย่ยี ม

2.4.4 จดั ใหม้ ีมุมประสบการณ์หลากหลาย มีสอ่ื การเรียนรู้ ทีป่ ลอดภยั และ

เพยี งพอ เช่น ของเลน่ หนังสือนทิ าน ส่ือจากธรรมชาติ สื่อสาหรบั เดก็ มุดลอด

ปีนปา่ ย สอื่ เทคโนโลยกี ารสบื เสาะหาความรู้

2.4.5 จดั ห้องประกอบท่ีเออื้ ต่อการจัดประสบการณแ์ ละพัฒนาเดก็

2.5 ใหบ้ รกิ ำรส่ือเทคโนโลยีสำรสนเทศและสื่อกำรเรยี นรู้เพ่ือสนับสนุนกำร 4.87

จดั ประสบกำรณ์

2.5.1 อานวยความสะดวกและใหบ้ รกิ ารสือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศ วัสดุ

อุปกรณ์และสอ่ื การเรียนรู้

2.5.2 พฒั นาครูให้มีความรู้ความสามารถในการผลิตและใช้สอ่ื ในการจดั

ประสบการณ์

2.5.3 มกี ารนเิ ทศติดตามการใชส้ อื่ ในการจัดประสบการณ์

2.5.4 มีการนาผลการนเิ ทศตดิ ตามการใช้ส่อื มาใชเ้ ป็นขอ้ มูลในการพัฒนา

มำตรฐำนกำรศกึ ษำของสถำนศกึ ษำ ค่ำเป้ำหมำย

2.5.5 ส่งเสริม สนับสนนุ การเผยแพรก่ ารพฒั นาสื่อ และนวัตกรรมเพอ่ื การ

จดั ประสบการณ์

2.6 มีระบบบรหิ ำรคณุ ภำพที่เปดิ โอกำสให้ผู้เกยี่ วขอ้ งทกุ ฝ่ำยมีสว่ นร่วม 4.84

2.6.1 กาหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษาทีส่ อดคลอ้ งกับมาตรฐาน

การศึกษาปฐมวัยและอัตลกั ษณ์ของสถานศกึ ษา

2.6.2 จัดทาแผนพัฒนาการศึกษาที่สอดรับกบั มาตรฐานทีส่ ถานศึกษา

กาหนดและดาเนนิ การตามแผน

2.6.3 มีการประเมินผลและตรวจสอบคณุ ภาพภายในสถานศึกษา

2.6.4 มีการติดตามผลการดาเนนิ งาน และจัดทารายงานผล การประเมิน

ตนเองประจาปีและรายงานผลการประเมนิ ตนเอง ให้หน่วยงานตน้ สงั กดั

2.6.5 นาผลการประเมินไปปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา โดย

ผูป้ กครองและผเู้ ก่ียวข้องทุกฝา่ ยมสี ่วนรว่ ม

มำตรฐำนที่ ๓ กำรจัดประสบกำรณท์ ่ีเนน้ เด็กเป็นสำคญั

3.1 ครูทกุ คนจดั ประสบกำรณท์ สี่ ่งเสรมิ ใหเ้ ดก็ มกี ำรพฒั นำกำรทุกด้ำนอย่ำง 95.00

สมดลุ เตม็ ศกั ยภำพ

80

3.1.1 รอ้ ยละของครมู กี ารวเิ คราะหข์ อ้ มูลเดก็ เป็นรายบคุ คล 95.00 ยอดเยย่ี ม

3.1.2 ร้อยละของครูจดั ทาแผนและใชแ้ ผนการจดั ประสบการณจ์ ากการ 95.00 ยอดเยยี่ ม
วเิ คราะหม์ าตรฐานคุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ในหลักสตู รสถานศกึ ษา คำ่ เป้ำหมำย ระดบั คุณภำพ

3.1.3 ร้อยละของครูจดั กิจกรรมทีส่ ่งเสรมิ พฒั นาการเดก็ ครบทุกด้าน ท้งั 95.00 ยอดเย่ียม
ดา้ นรา่ งกาย ดา้ นอารมณ์จติ ใจ ดา้ นสงั คม และด้านสตปิ ัญญา โดย ไม่
มุ่งเน้นการพฒั นาดา้ นใดดา้ นหนึง่ เพียงด้านเดียว

3.2 สรำ้ งโอกำสใหเ้ ด็กได้รับประสบกำรณ์ตรง เลน่ และปฏิบัติอย่ำงมี
ควำมสขุ

3.2.1ร้อยละของครจู ดั ประสบการณ์ทเี่ ชือ่ มโยงกบั ประสบการณเ์ ดิม

3.2.2 ร้อยละของครใู ห้เด็กมีโอกาสเลือกทากจิ กรรมอย่างอิสระ ตาม
ความตอ้ งการความสนใจ ความสามารถ ตอบสนองต่อวิธกี ารเรียนรูข้ อง
เดก็ เป็นรายบคุ คล หลากหลายรปู แบบจากแหลง่ เรยี นรู้ท่หี ลากหลาย

3.2.3 ร้อยละของครใู ห้เดก็ ไดเ้ ลือกเล่น เรยี นร้ลู งมือ กระทา และสรา้ ง
องค์ความรู้ดว้ ยตนเอง

3.3 ครูทกุ คนจดั บรรยำกำศทีเ่ ออื้ ตอ่ กำรเรยี นรใู้ ชส้ อ่ื เทคโนโลยที ี่
เหมำะสมกบั วยั

3.3.1 ร้อยละของครจู ดั บรรยากาศและสภาพแวดลอ้ มในหอ้ งเรยี นได้
สะอาด ปลอดภัย และอากาศถา่ ยเทสะดวก

มำตรฐำนกำรศึกษำของสถำนศึกษำ

3.3.2 ร้อยละของครจู ัดใหม้ พี ้ืนทแี่ สดงผลงานเดก็ พืน้ ที่สาหรับมมุ
ประสบการณ์และการจดั กจิ กรรม

3.3.3 ร้อยละของครจู ดั ใหเ้ ดก็ มสี ว่ นร่วมในการจัดภาพแวดลอ้ มใน
ห้องเรยี น เช่น ป้ายนิเทศ การดแู ลต้นไม้ เป็นต้น

3.3.4 ร้อยละของครใู ช้ส่อื และเทคโนโลยที ่ีเหมาะสมกบั ชว่ งอายุ ระยะ
ความสนใจ และวถิ กี ารเรียนร้ขู องเดก็ เช่น กล้องดิจติ อล คอมพวิ เตอร์
สาหรับการเรยี นรกู้ ลุม่ ยอ่ ยสอื่ ของเล่นทกี่ ระต้นุ ให้คิดและหาคาตอบเป็นต้น

๓.๔ ครูทกุ คนประเมนิ พฒั นำกำรเด็กตำมสภำพจริงและนำผลประเมิน
พัฒนำกำรเดก็ ไปปรบั ปรุงกำรจดั ประสบกำรณแ์ ละพฒั นำเดก็

3.4.1 รอ้ ยละของครูประเมนิ พฒั นาการเดก็ จากกจิ กรรมและกิจวตั ร
ประจาวนั ดว้ ยเคร่อื งมือและวธิ ีการท่หี ลากหลาย

3.4.2 ร้อยละของครวู เิ คราะห์ผลการประเมนิ พฒั นาการเดก็ โดย
ผูป้ กครองและผเู้ กีย่ วขอ้ งมสี ว่ นรว่ ม

3.4.3 รอ้ ยละของครนู าผลการประเมินที่ได้ไปพัฒนาคุณภาพเดก็ อยา่ ง
เปน็ ระบบและต่อเนื่อง

3.4.4 ร้อยละของครนู าผลการประเมินแลกเปล่ียนเรียนรูโ้ ดยใช้
กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนร้ทู างวิชาชพี

81

แนวทำงกำรเก็บรวบรวมขอ้ มลู และแปลผล

ระดบั กำรศกึ ษำปฐมวยั

ดำ้ นคุณภำพเด็ก

วธิ คี านวณ

*** ผลการประเมนิ (ร้อยละ) = 100 x จานวนเดก็ ผา่ นเกณฑ์ท่ีโรงเรยี นกาหนด

จานวนเด็กท้งั หมด

แปลผลการประเมินคุณภาพทีไ่ ด้

ร้อยละ 00.00 – 49.99 = กาลงั พฒั นา

รอ้ ยละ 50.00 – 59.99 = ปานกลาง

รอ้ ยละ 60.00 – 74.99 = ดี

ร้อยละ 75.00 – 89.99 = ดเี ลิศ

รอ้ ยละ 90.00 – 100 = ยอดเยี่ยม

ดำ้ นกำรกระบวนกำรบรหิ ำรและกำรจัดกำร

*** ค่าเป้าหมาย = จานวนข้อการปฏบิ ัตใิ นแตล่ ะประเดน็ พิจารณา

แปลผลกำรประเมินคุณภำพทไี่ ด้ ค่ำเฉลย่ี ผลกำรประเมินคณุ ภำพทไี่ ด้
ปฏิบัติ 1 ขอ้ ไดร้ ะดับคุณภาพ กาลังพัฒนา 1.00 – 1.49 ระดับคณุ ภาพ กาลงั พฒั นา
ปฏบิ ตั ิ 2 ข้อ ไดร้ ะดับคุณภาพ ปานกลาง 1.50 –2.49 ระดับคณุ ภาพ ปานกลาง
2.50 – 3.49 ระดบั คณุ ภาพ ดี
ปฏิบตั ิ 3 ข้อ ไดร้ ะดบั คณุ ภาพ ดี 3.50 – 4.49 ระดับคุณภาพ ดเี ลศิ
ปฏบิ ัติ 4 ข้อ ได้ระดับคุณภาพ ดเี ลศิ 4.50 – 5.00 ระดับคุณภาพ ยอดเยีย่ ม
ปฏิบตั ิ 5 ขอ้ ไดร้ ะดับคุณภาพ ยอดเย่ียม

ประสบกำรณ์ทเ่ี นน้ เดก็ เป็นสำคญั ด้ำนกำรจดั
วธิ คี านวณ
100 x จานวนครผู ่านเกณฑ์ทโี่ รงเรียนกาหนด
*** ผลการประเมนิ (รอ้ ยละ) = จานวนครทู ง้ั หมด

แปลผลการประเมินคณุ ภาพทไ่ี ด้ = กาลงั พัฒนา
ร้อยละ 00.00 – 49.99 = ปานกลาง
รอ้ ยละ 50.00 – 59.99 = ดี
ร้อยละ 60.00 – 74.99 = ดีเลศิ
ร้อยละ 75.00 – 89.99 = ยอดเยีย่ ม
ร้อยละ 90.00 – 100

82

ประกำศโรงเรยี นเซนต์แมรี

เรือ่ ง กำรกำหนดมำตรฐำนกำรศกึ ษำและค่ำเปำ้ หมำยควำมสำเร็จของโรงเรียน

ระดับกำรศกึ ษำขน้ั พ้ืนฐำน

-------------------------------------------------

ตามทกี่ ระทรวงศึกษาธกิ ารไดป้ ระกาศ เรอื่ ง ให้ใชม้ าตรฐานการศกึ ษาระดบั การศึกษาข้ันพ้นื ฐาน
เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2561 ดังนั้น เพ่ือให้การดาเนินการประกันคุณภาพการศึกษาภายในโรงเรียน เป็นไป
อย่างมีประสิทธิภาพตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 โรงเรียนเซนต์แมรี จึงได้ กาหนด
มาตรฐานการศึกษาและค่าเปา้ หมายความสาเรจ็ ของโรงเรยี น ระดบั การศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน ปกี ารศกึ ษา 2564 ไวด้ งั
รายละเอียดแนบท้ายประกาศ ตอ่ ไปนี้

มำตรฐำน ค่ำเปำ้ หมำยควำมสำเรจ็
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพผู้เรยี น ระดบั ยอดเยีย่ ม
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ระดบั ยอดเยยี่ ม
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเี่ นน้ ผู้เรยี นเป็นสาคัญ ระดบั ยอดเยี่ยม

ประกาศ ณ วนั ท่ี 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2564

(นายคมกฤต ชาญเชาวว์ งศ์)
ประธานคณะกรรมการบรหิ ารโรงเรยี น

83

รำยละเอยี ดแนบท้ำยประกำศ
เร่ือง กำรกำหนดมำตรฐำนกำรศึกษำและคำ่ เปำ้ หมำยควำมสำเร็จของโรงเรยี นเซนต์แมรี

ระดับกำรศกึ ษำขั้นพ้ืนฐำน ปีกำรศกึ ษำ 2564

มำตรฐำนกำรศกึ ษำของสถำนศกึ ษำ ค่ำเปำ้ หมำย ระดบั คุณภำพ

มำตรฐำนท่ี 1 คณุ ภำพผู้เรียน ยอดเยีย่ ม

1. ผลสัมฤทธ์ทิ ำงกำรเรยี น 90.00 ยอดเย่ยี ม
90.00 ดีเลิศ
1.1 มีควำมสำมำรถในกำรอำ่ น กำรเขยี น กำรส่อื สำรและกำรคิดคำนวณ ดีเลศิ
90.00
1.1.2 ร้อยละของผเู้ รยี นมที ักษะในการอา่ นในแตล่ ะระดับชัน้ ตามเกณฑ์ที่ ดีเลศิ
สถานศกึ ษากาหนด 90.00
ดเี ลิศ
1.1.2 รอ้ ยละของผู้เรยี นมีทักษะในการเขยี นในแต่ละระดับชนั้ ตามเกณฑ์ท่ี 90.00
สถานศึกษากาหนด ดเี ลิศ
87.00
1.1.3 รอ้ ยละของผ้เู รยี นมีทักษะในการสื่อสารในแต่ละระดับชนั้ ตามเกณฑ์ที่ ดีเลิศ
สถานศึกษากาหนด 85.00
ดีเลศิ
1.1.4 ร้อยละของผเู้ รยี นมที กั ษะในการคดิ คานวณในแตล่ ะดบั ชั้นตามเกณฑ์ 88.00
ทีส่ ถานศึกษากาหนด 88.00 ดีเลศิ
90.00 ดเี ลศิ
1.2 มีควำมสำมำรถในกำรคิดวเิ ครำะห์ คิดอย่ำงมีวจิ ำรณญำณ อภปิ รำย 90.00 ดเี ลิศ
แลกเปลี่ยนควำมคดิ เหน็ และแกป้ ญั หำ ดเี ลิศ
90.00
1.2.1 รอ้ ยละของผเู้ รยี นมคี วามสามารถในการคดิ จาแนกแยกแยะ ดเี ลิศ
ใคร่ครวญ ไตรต่ รองอยา่ งรอบคอบโดยใชเ้ หตุผลประกอบการตดั สนิ ใจ 98.00
98.00 ยอดเยี่ยม
1.2.2 ร้อยละของผเู้ รยี นมกี ารอภปิ รายแลกเปลี่ยนความคิดเหน็ ยอดเยยี่ ม
98.00
1.2.3 ร้อยละของผูเ้ รียนมีการแกป้ ญั หาอยา่ งมีเหตผุ ล ยอดเย่ียม

1.3 มคี วำมสำมำรถในกำรสรำ้ งนวตั กรรม

1.3.1 รอ้ ยละของผู้เรยี นมีความสามารถในการรวบรวมความรไู้ ด้ท้ังตวั เอง
และการทางานเป็นทมี

1.3.2 รอ้ ยละของผเู้ รยี นสามารถเชอ่ื มโยงองคค์ วามรแู้ ละประสบการณม์ า
ใชใ้ นการสรา้ งสรรคส์ ่ิงใหม่ๆอาจเปน็ แนวความคิดโครงการ โครงงาน ช้ินงาน
ผลผลิต

1.4 มีควำมสำมำรถในกำรใช้เทคโนโลยสี ำรสนเทศ และกำรสอ่ื สำร
1.4.1 รอ้ ยละของผเู้ รยี นมคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและ

การสื่อสาร

1.4.2 ร้อยละของผเู้ รยี นมคี วามสามารถในการนาเทคโนโลยสี ารสนเทศและ
การสื่อสารเพอื่ พัฒนาตนเองและสงั คมในดา้ นการเรยี นรู้
การสอื่ สาร การทางานอย่างสรา้ งสรรค์ และมคี ุณธรรม

84

มำตรฐำนกำรศึกษำของสถำนศกึ ษำ ค่ำเปำ้ หมำย ระดบั คุณภำพ
ยอดเยย่ี ม
1.5 มผี ลสมั ฤทธิ์ทำงกำรเรียนตำมหลกั สูตรสถำนศกึ ษำ 94.00 ยอดเยย่ี ม
ยอดเยย่ี ม
1.5.1 ร้อยละของผเู้ รียนบรรลุการเรยี นร้ตู ามหลักสตู รสถานศกึ ษา 95.00
ยอดเยย่ี ม
1.5.2 ร้อยละของผเู้ รียนมีความกา้ วหนา้ ในการเรียนรู้ตามหลักสูตร 93.00
ยอดเยี่ยม
สถานศกึ ษาจากพ้นื ฐานเดิม ยอดเยี่ยม

1.5.3 รอ้ ยละของผเู้ รยี นมคี วามก้าวหน้าในผลการทดสอบระดบั ชาติ หรือ 91.00 ยอดเยย่ี ม

ผลการทดสอบอ่ืน ๆ ยอดเยย่ี ม
ยอดเยี่ยม
1.6 มคี วำมร้ทู ักษะพ้นื ฐำน และเจตคติท่ดี ตี อ่ งำนอำชพี 98.00 ยอดเย่ียม

1.6.1 รอ้ ยละของผู้เรยี นมีความรู้ ทักษะพ้ืนฐานและเจตคตทิ ่ดี ีในการศกึ ษา 98.00 ยอดเยี่ยม

ต่อ ยอดเย่ยี ม
ยอดเยี่ยม
1.6.2 ร้อยละของผู้เรียนมีความรู้ ทกั ษะพ้นื ฐานและเจตคติทีด่ ีในการจดั การ 98.00 ยอดเยี่ยม

การทางานหรอื งานอาชพี ยอดเยย่ี ม
ยอดเยี่ยม
2. คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 98.75
ยอดเยยี่ ม
2.1 กำรมีคณุ ลักษณะและค่ำนิยมที่ดีตำมท่ีสถำนศกึ ษำกำหนด 98.75 ยอดเยย่ี ม

2.1.1 ร้อยละของผู้เรียนมีพฤติกรรมเปน็ ผูท้ ม่ี คี ณุ ธรรม จริยธรรม เคารพใน 99.75 ยอดเยย่ี ม

กฎกติกา ยอดเยย่ี ม

2.1.2 รอ้ ยละของผเู้ รียนมีค่านิยมและจิตสานกึ ตามท่สี ถานศกึ ษากาหนด 99.75 ยอดเยย่ี ม

โดยไมข่ ัดกับกฎหมายและวัฒนธรรมอนั ดีของสงั คม ยอดเย่ียม

2.2 ควำมภมู ใิ จในท้องถนิ่ และควำมเปน็ ไทย 99.00

2.2.1รอ้ ยละของผ้เู รียนมีความภูมใิ จในทอ้ งถ่นิ เหน็ คุณคา่ ของความเป็นไทย 99.00

2.2.2 รอ้ ยละของผู้เรยี นมสี ว่ นรว่ มในการอนรุ กั ษ์วัฒนธรรมและประเพณี 99.00

ไทยรวมทั้งภมู ิปญั ญาไทย

2.3 กำรยอมรบั ทจี่ ะอยูร่ ว่ มกนั บนควำมแตกต่ำงและหลำกหลำย 99.00

2.3.1 รอ้ ยละของผเู้ รยี นยอมรบั และอยรู่ ่วมกนั บนความแตกต่างระหวา่ ง 99.00

บคุ คลดา้ นเพศ วยั เชื้อชาติ ศาสนา ภาษาวัฒนธรรม ประเพณี

2.4 สุขภำวะทำงรำ่ งกำยและจติ สงั คม 98.00

2.4.1 รอ้ ยละของผู้เรยี นมนี า้ หนกั สว่ นสงู และพฒั นาการทางรา่ งกาย 98.00

เจริญเตบิ โตตามเกณฑม์ าตรฐานของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ

2.4.2 รอ้ ยละของผเู้ รียนมสี มรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มาตรฐานของกรม 98.00

พลศึกษา

2.4.3 ร้อยละของผู้เรียนมีสุขภาพแข็งแรง แต่งกายสะอาดเรยี บรอ้ ย 98.00

เคร่อื งใชส้ ว่ นตวั สะอาดและปฏบิ ตั ติ นตามสขุ บัญญัติ 10 ประการ

2.4.4 รอ้ ยละของผเู้ รยี นสามารถอยรู่ ว่ มกับคนอ่นื อย่างมคี วามสขุ เขา้ ใจ 98.00

ผอู้ นื่ ไมม่ ีความขัดแย้งกบั ผ้อู ่นื

2.4.5 ร้อยละของผเู้ รียนผา่ นการประเมินสมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น ด้าน 98.00

ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวิต อย่ใู นระดบั ดี

85

มำตรฐำนกำรศึกษำของสถำนศกึ ษำ คำ่ เปำ้ หมำย ระดบั คณุ ภำพ
4.70 ระดบั ยอดเยีย่ ม
มำตรฐำนท่ี ๒ กระบวนกำรบรหิ ำรและจัดกำร
4.70 ยอดเยย่ี ม
2.1 มเี ป้ำหมำยวสิ ยั ทัศนแ์ ละพันธกจิ ทส่ี ถำนศึกษำกำหนดชัดเจน
2.1.1 กาหนดเปา้ หมายที่สอดคลอ้ งกับบริบทของสถานศกึ ษา ความ 4.70 ยอดเยีย่ ม

ตอ้ งการของชมุ ชน ทอ้ งถนิ่ วัตถุประสงค์ของแผนการศึกษาชาติ นโยบายของ ยอดเยย่ี ม
รัฐบาลและตน้ สังกัด

2.1.2 กาหนดวสิ ัยทัศน์ และพนั ธกจิ ทสี่ อดคลอ้ ง เชอื่ มโยงกับเป้าหมาย
แผนยุทธศาสตร์ชาติ แผนการศึกษาแห่งชาติ นโยบายของรฐั บาลและตน้ สังกดั

2.1.3 กาหนดเป้าหมาย วสิ ัยทัศน์และพันธกิจ ทันตอ่ การเปล่ยี นแปลงของ
สังคม

2.1.4 นาเป้าหมาย วสิ ยั ทัศน์และพนั ธกิจผา่ นความเหน็ ชอบ จาก
คณะกรรมการบรหิ ารโรงเรยี น

2.1.5 นาเป้าหมาย วิสัยทศั น์ และพนั ธกจิ ของโรงเรยี นเผยแพร่ ต่อ
สาธารณชน

2.2 มีระบบบรหิ ำรจัดกำรคณุ ภำพของสถำนศึกษำ

2.2.1 มกี ารวางแผนพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษาอย่างเปน็ ระบบ

2.2.2 มกี ารนาแผนไปปฏิบตั ิ ติดตามตรวจสอบประเมนิ ผลและปรับปรุง
พัฒนางานอยา่ งต่อเน่อื ง
2.2.3 มีการบริหารอตั รากาลงั ทรพั ยากรทางการศึกษาจดั ระบบดูแล
ชว่ ยเหลือนักเรียน และระบบการนิเทศภายใน

2.2.4 สถานศึกษามกี ารนาข้อมลู มาใชใ้ นการพฒั นาสถานศึกษา

2.2.5 สถานศึกษาใหบ้ ุคลากรและผทู้ เี ก่ียวขอ้ งทกุ ฝ่ายมสี ว่ นรว่ มในการ
วางแผน ปรบั ปรงุ พฒั นา และรว่ มรับผดิ ชอบต่อผลการจดั การศึกษา
2.3 ดำเนนิ งำนพฒั นำวิชำกำรทเี่ นน้ คณุ ภำพผู้เรยี นรอบด้ำนตำมหลกั สตู ร
สถำนศึกษำและทกุ กลุ่มเปำ้ หมำย

2.3.1 บรหิ ารจดั การเกยี่ วกบั งานวิชาการ ในดา้ นการพัฒนาหลกั สูตร
สถานศกึ ษาเทียบเคยี งมาตรฐานสากล

2.3.2 บรหิ ารจดั การเกยี่ วกบั งานวชิ าการ ในดา้ นการพฒั นาหลกั สตู รตาม
ความต้องการของผ้เู รยี น ทีส่ อดคล้องกับบรบิ ทของสถานศึกษา ชมุ ชน และ
ท้องถิ่น

2.3.3 บรหิ ารจดั การเก่ยี วกบั กจิ กรรมเสรมิ หลกั สูตรทเ่ี น้นคุณภาพผู้เรยี น
รอบดา้ นเช่ือมโยงวถิ ชี วี ติ จริง

2.3.4 กาหนดหลกั สตู รสถานศึกษาครอบคลมุ การจดั การเรียนการสอนทกุ
กล่มุ เปา้ หมาย

2.3.5 สถานศึกษามีการปรบั ปรุง และพฒั นาหลักสตู รใหท้ ันต่อการ
เปล่ยี นแปลงของสังคม

86

มำตรฐำนกำรศึกษำของสถำนศึกษำ คำ่ เปำ้ หมำย ระดบั คณุ ภำพ
ยอดเย่ียม
2.4 พัฒนำครูและบุคลำกรใหม้ ีควำมเชี่ยวชำญทำงวิชำชพี 4.80
ยอดเยีย่ ม
2.4.1 ส่งเสรมิ สนบั สนนุ พัฒนาครู บุคลากร ใหม้ ีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ
ยอดเยย่ี ม
2.4.2 จัดให้มชี มุ ชนการเรียนรทู้ างวชิ าชีพ

2.4.3 นาชมุ ชนการเรยี นรูท้ างวชิ าชพี เขา้ มาใช้ในการพฒั นางานและการ

เรยี นรขู้ องผูเ้ รียน

2.4.4 มีการตรวจสอบ ทบทวน การปฏบิ ตั ิงานของครู บคุ ลากร ทีม่ ผี ลต่อ

การเรียนรูข้ องผ้เู รียน

2.4.5 ถอดบทเรียนเพือ่ สร้างนวตั กรรมหรือวธิ กี ารท่ีเปน็ แบบอยา่ งทด่ี ีท่ี

สง่ ผลต่อการเรยี นรู้ของผเู้ รยี น

2.5 จัดสภำพแวดล้อมทำงกำยภำพและสังคมท่ีเอ้อื ต่อกำรจดั กำรเรียนรู้ 4.60

อย่ำงมคี ณุ ภำพ

2.5.1 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพภายในหอ้ งเรียน ทเี่ อ้ือตอ่ การเรียนรู้

และคานึงถงึ ความปลอดภัย

2.5.2 จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพภายนอกห้องเรยี น ทีเ่ ออ้ื ต่อการเรียนรู้

และคานงึ ถงึ ความปลอดภัย

2.5.3 จัดสภาพแวดลอ้ มทสี่ ง่ เสริมให้ผ้เู รียนเกิดการเรยี นรเู้ ป็นรายบุคคล

และเป็นกลมุ่

2.5.4 จดั สภาพแวดลอ้ มทางสงั คม ทีเ่ ออื้ ตอ่ การจดั การเรียนรู้ และมีความ

ปลอดภยั

2.5.5 จัดให้ผ้เู รยี นไดใ้ ช้ประโยชนจ์ ากการจัดสภาพแวดลอ้ มตามศกั ยภาพ

ของผเู้ รียน

2.6 จดั ระบบเทคโนโลยีสำรสนเทศเพอื่ สนบั สนุน กำรบริหำรจดั กำรและ 4.60

กำรจัดกำรเรยี นรู้

2.6.1 ไดศ้ ึกษาความตอ้ งการเทคโนโลยสี ารสนเทศ ทเ่ี หมาะสมกับสภาพ

ของสถานศึกษา

2.6.2 จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพือ่ บรหิ ารจัดการและการจดั การ

เรียนร้ทู ่เี หมาะสมกับสภาพของสถานศกึ ษา

2.6.3 พัฒนาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือบรหิ ารจดั การและการจัดการ

เรียนรูท้ ่เี หมาะสมกับสภาพของสถานศกึ ษา

2.6.4 ใหบ้ ริการเทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื ใช้ในการบริการจดั การและการ

จดั การเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา

2.6.5 ติดตามผลการใช้บรกิ ารระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของสถานศกึ ษา

เพ่ือใช้ในการบรกิ ารจดั การและการจัดการเรียนรทู้ ี่เหมาะสมกับสภาพของ

สถานศึกษา

87

มำตรฐำนกำรศึกษำของสถำนศกึ ษำ ค่ำเป้ำหมำย ระดบั คณุ ภำพ
ยอดเยี่ยม
มำตรฐำนที่ ๓ กำรจดั ประสบกำรณ์ท่ีเนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ ยอดเยี่ยม

3.1 จัดกำรเรียนรู้ผำ่ นกระบวนกำรคิดและปฏิบตั ิจริง และสำมำรถนำไป 95.00 ยอดเย่ยี ม

ประยุกต์ใช้ในชวี ติ ได้ ยอดเยี่ยม
ยอดเยี่ยม
3.1.1 ร้อยละของครูจดั กิจกรรมการเรียนรูต้ ามมาตรฐานการเรยี นรู้ ตัวชว้ี ดั

ของหลกั สูตรสถานศกึ ษาทเี่ น้นให้ผเู้ รยี นได้เรยี นรู้ โดยผา่ นกระบวนการคดิ และ

ปฏิบตั จิ รงิ (Active Learning)

3.1.2 รอ้ ยละของครมู แี ผนการจัดการเรยี นรทู้ ส่ี ามารถจดั กิจกรรมไดจ้ ริง

3.1.3 ร้อยละของครมู รี ปู แบบการจัดการเรยี นรเู้ ฉพาะสาหรบั ผู้ท่มี ีความ

จาเปน็ และต้องการความชว่ ยเหลือพิเศษ

3.1.4 ร้อยละของครฝู กึ ทักษะใหผ้ เู้ รยี นไดแ้ สดงออก แสดงความคดิ เหน็

สรุปองคค์ วามรู้ และนาเสนอผลงาน

3.1.5 รอ้ ยละของครสู ามารถจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ใหผ้ ้เู รยี นสามารถนาไป

ประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ิตประจาวันได้

3.2 ใชส้ ื่อ เทคโนโลยีสำรสนเทศ แหล่งเรยี นรู้ทเี่ อื้อตอ่ กำรเรยี นรู้ 98.00

3.1.1 ร้อยละของครใู ช้สื่อ เทคโนโลยสี ารสนเทศในการจัดการเรยี นรู้

3.1.2 รอ้ ยละของครใู ชแ้ หล่งเรียนรู้ และภูมปิ ัญญาทอ้ งถิ่นในการจดั การ

เรยี นรู้

3.1.3 รอ้ ยละของครสู ร้างโอกาสให้ผเู้ รียนไดแ้ สวงหาความรู้ดว้ ยตนเองจาก

ส่อื ที่หลากหลาย

3.3 มกี ำรบรหิ ำรจัดกำรช้นั เรยี นเชงิ บวก 95.00

3.3.1 รอ้ ยละของครูมกี ารบรหิ ารจัดการชั้นเรยี นโดยเน้นการมปี ฏิสมั พันธ์

เชิงบวก

3.3.2 ร้อยละของครู มกี ารบรหิ ารจดั การช้นั เรยี น ใหเ้ ดก็ รักครู ครรู กั เดก็

และเด็กรักเด็ก เด็กรักทจ่ี ะเรยี นรู้ สามารถเรียนรรู้ ว่ มกันอย่างมคี วามสุข

3.4 ตรวจสอบและประเมินผูเ้ รยี นอย่ำงเป็นระบบ และนำผลมำพัฒนำ 97.00

ผ้เู รยี น

3.4.1 รอ้ ยละของครูมกี ารตรวจสอบและประเมินคุณภาพการจดั การเรยี นรู้

อย่างเป็นระบบ

3.4.2 รอ้ ยละของครูมขี ้นั ตอนโดยใช้เครอ่ื งมอื และวิธีการวดั และประเมนิ ผลที่

เหมาะสมกับเป้าหมายในการจดั การเรยี นรู้

3.4.3 ร้อยละของครเู ปิดโอกาสให้ผู้เรียนและผู้มีส่วนเกี่ยวขอ้ งมีส่วนรว่ มใน

การวัดและประเมนิ ผล

3.4.4 รอ้ ยละของครใู ห้ขอ้ มูลยอ้ นกลบั แกผ่ ู้เรยี นเพือ่ นาไปใช้ในการ

พฒั นาการเรยี นรู้

88

มำตรฐำนกำรศกึ ษำของสถำนศกึ ษำ คำ่ เป้ำหมำย ระดบั คุณภำพ
98.00 ยอดเย่ียม
3.5 มกี ำรแลกเปลีย่ นเรยี นรแู้ ละให้ขอ้ มลู สะท้อนกลบั เพอ่ื พฒั นำปรับปรุง
กำรจัดกำรเรยี นรู้

3.5.1 รอ้ ยละของครูและผู้มสี ่วนเกี่ยวขอ้ งรว่ มกนั แลกเปลี่ยนความรู้และ
ประสบการณ์ในการจดั การเรยี นรู้

3.5.2 ร้อยละของครนู าขอ้ มลู ป้อนกลับไปใช้ในการปรับปรงุ และพัฒนาการ
จัดการเรียนร้ขู องตนเอง

89

คำส่ังโรงเรยี นเซนต์แมรี
ท่ี 14/2564

เร่อื ง แต่งตง้ั คณะกรรมกำรพัฒนำระบบประกนั คณุ ภำพภำยในสถำนศกึ ษำ
ประจำปกี ำรศกึ ษำ 2564
**********************

อาศัยอานาจตามความในพระราชบัญญัติการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับ
ท่ี 2) พ.ศ.2545 ในมาตรา 48 ให้หน่วยงานต้นสังกัด และสถานศึกษาจัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายใน
สถานศึกษา และให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้อง
ดาเนินการอย่างต่อเน่ือง ฉะน้ันเพื่อให้การดาเนินการเป็นไปตามเจตนารมณ์ดังกล่าว จึงขอแต่งต้ังคณะกรรมการ
พฒั นาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา ดงั ตอ่ ไปนี้

1. นายชวชาต ชาญเชาวว์ งศ์ ประธานท่ปี รกึ ษา
2. นางมาดี ชาญเชาวว์ งศ์ รองประธานที่ปรกึ ษา
3. นายคมกฤต ชาญเชาวว์ งศ์ ประธานคณะกรรมการ
4. นางอัชรี ชาญเชาว์ รองประธาน
5. นายสาเร็จ ศรอี าไพ ผู้ทรงคณุ วุฒิ
6. นางชชั ฎา รกั วโิ รจนส์ ขุ กรรมการ
7. นางเสาวลกั ษณ์ รัตนานิพนธ์ กรรมการ
8. นางจันทรว์ มิ ล นัยพนั ธ์ กรรมการ
9. นางสาวพริ าวรรณ ประไพมนตรี กรรมการ
10. นางอรณุ รตั น์ แสงบญุ ส่ง กรรมการ
11. นายชนิน ทองประเสริฐ กรรมการ
12. นายสมควร ห่อทอง กรรมการและเลขานกุ าร

ให้คณะกรรมการดังกลา่ ว ปฏิบัตหิ น้าท่ีพฒั นาระบบการประกันคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษาให้ตอ่ เน่ือง
เพื่อรองรบั การประเมนิ คุณภาพภายนอกอย่างมีคณุ ภาพตอ่ ไป

ท้งั น้ี ตง้ั แตบ่ ดั นี้เปน็ ตน้ ไป

ส่ัง ณ วนั ที่ 14 พฤษภาคม 2564

ลงชอ่ื
(นายคมกฤต ชาญเชาว์วงศ์)
ผรู้ ับใบอนุญาตโรงเรยี นเซนต์แมรี

90

คำสงั่ โรงเรียนเซนตแ์ มรี
ท1่ี 6/2564

เรือ่ ง แตง่ ตั้งคณะทางานจดั ทารายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
ประจาปกี ารศกึ ษา 2564
**********************

อาศัยอานาจตามความในพระราชบัญญัติการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพมิ่ เติม (ฉบับ
ที่ 2) พ.ศ.2545 ในมาตรา 48 ให้หน่วยงานต้นสังกัด และสถานศึกษาจัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายใน
สถานศึกษา และให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการบริหารการศึกษาท่ีต้อง
ดาเนินการอย่างต่อเนื่อง และจัดให้มีการประเมินคุณภาพเมื่อสิ้นปีการศึกษา ฉะนั้นเพื่อให้การดาเนินการเป็นไป
ตามเจตนารมณด์ งั กล่าว จึงขอแตง่ ต้ังคณะกรรมการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศกึ ษา ดงั ตอ่ ไปนี้

1. นายคมกฤต ชาญเชาวว์ งศ์ ทีป่ รกึ ษา
2. นางอัชรี ชาญเชาว์ ทปี่ รกึ ษา
3. นายสมควร ห่อทอง ประธานกรรมการ
4. นางชัชฎา รกั วโิ รจนส์ ุข รองประธานกรรมการ
5. นายสาเร็จ ศรีอาไพ ผู้ทรงคุณวฒุ ิ
6. ดร.บัญชา ปลืม้ อารมณ์ ผทู้ รงคุณวฒุ ิ
7. นายคมสนั เป่ียมชชู าติ ผ้ทู รงคณุ วฒุ ิ
8. นางเสาวลกั ษณ์ รัตนานพิ นธ์ กรรมการ
9. นางจนั ทรว์ ิมล นัยพนั ธ์ กรรมการ
10. นางสาวพริ าวรรณ ประไพมนตรี กรรมการ
11. นางสาวสุพตั รา โอพิน กรรมการ
12. นายชนิน ทองประเสรฐิ กรรมการ
13. นางอรณุ รตั น์ แสงบญุ สง่ กรรมการและเลขานกุ าร

ใหค้ ณะกรรมการดงั กล่าว ปฏิบัตหิ น้าที่จดั ทารายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา เพอื่ นา
ข้อมูลไปจดั ทารายงานประจาปีต่อไป

ทั้งนี้ ตง้ั แต่บดั นี้เปน็ ต้นไป

ส่ัง ณ วนั ท่ี 16 พฤษภาคม 2564

ลงชือ่
(นายคมกฤต ชาญเชาวว์ งศ)์
ผรู้ บั ใบอนญุ าตโรงเรียนเซนต์แมรี

91

แบบลงนำมให้ควำมเหน็ ชอบรำยงำนประจำปีของสถำนศกึ ษำ ปีกำรศกึ ษำ 2564
ของคณะกรรมกำรบรหิ ำรโรงเรยี นเซนต์แมรี

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 มาตรา 48 ได้กาหนดให้หน่วยงานต้นสังกัดและ
สถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วน
หนึง่ ของกระบวนการบริหารการศกึ ษาที่ต้องดาเนินการอย่างต่อเน่ือง โดยให้มกี ารจัดทารายงานประจาปเี สนอต่อ
หน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องและเปิดเผยต่อสาธารณชน เพื่อนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพมาตรฐาน
การศกึ ษา และรองรับการประกันคณุ ภาพภายนอก

โรงเรียนเซนต์แมรี จึงดาเนินการจัดทารายงานประจาปีของสถานศึกษา ประจาปีการศึกษา 2564
เพื่อรายงานผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน เสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัดและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารโรงเรียน เพื่อนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา
เพื่อรองรบั การประกันคณุ ภาพการศกึ ษาของโรงเรยี นต่อไป

ให้ไว้ ณ วันที่ 25 พฤษภาคม 2565

ลงนาม ประธานกรรมการ ลงนาม กรรมการและเลขานุการ

(นายคมกฤต ชาญเชาวว์ งศ)์ (นายสมควร หอ่ ทอง)

ลงนาม ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ ลงนาม ผจู้ ดั การ

(นายคมสนั ต์ เปยี่ มชูชาติ) (นางอัชรี ชาญเชาว)์

ลงนาม ผทู้ รงคุณวฒุ ิ ลงนาม ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ
(นางมาดี
ชาญเชาว์วงศ์) (นางสาวกฤตยา ชาญเชาว์วงศ์)

ลงนาม ผู้แทนผูป้ กครอง ลงนาม ผแู้ ทนครู

(นางชัชฎา รกั วโิ รจนส์ ขุ ) (นางจันทรว์ ิมล นยั พนั ธ)์

92

หลักฐำนกำรเผยแพร่ SAR ให้ผูม้ สี ว่ นเกี่ยวขอ้ งหรอื สำธำรณชนรบั ทรำบ
(กำรเผยแพร่)

แผนผงั อำคำรสถำนที่
โครงสรำ้ งกำรบริหำรโรงเรยี น
โครงสร้ำงหลกั สตู ร เวลำเรยี น ของโรงเรียน

เอกสำรประกอบอนื่ ๆ


Click to View FlipBook Version