The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วัดพัฒนาตัวอย่าง วัดพระธาตุขิงแกง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tobesam14249, 2022-08-08 05:05:42

วัดพัฒนาตัวอย่าง วัดพระธาตุขิงแกง

วัดพัฒนาตัวอย่าง วัดพระธาตุขิงแกง

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า |

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า |

คานา

รายงานเพื่อขอรับการคัดเลือกเป็นวัดพัฒนาตัวอยํางท่ีมีผลงานดีเดํน ของวัดพระธาตุขิงแกง
ตาบลพระธาตขุ ิงแกง อาเภอจุน จงั หวัดพะเยา ไดร๎ ายงานตามที่มหาเถรสมาคมและรัฐบาล มนี โยบายใน
การสํงเสริมพัฒนาวัดให๎เป็นศูนยก์ ลางของชมุ ชนในทกุ ด๎าน ซง่ึ สานักงานพระพุทธศาสนาแหํงชาติ ได๎รับ
สนองนโยบายดงั กลําว ดาเนินการคัดเลือกวัดที่มีคณุ ลักษณะที่พงึ ประสงค์ 4 ประการ คือ สะอาด, สงบ,
สวําง, และสร๎างความสุขให๎กับคนในสังคม เพื่อสามารถเป็นต๎นแบบในการพัฒนาวัด อาทิ มีการ
บรู ณปฏิสงั ขรณ์เสนาสนะให๎ม่ันคงถาวร ปรับปรุงภูมิทัศน์ภายในวัดและชุมชนรอบวัดให๎สะอาด รํมร่ืน
เปน็ ระเบียบเรยี บร๎อยสวยงาม นาภมู ปิ ัญญาท๎องถ่ินมาประยุกต์ใช๎อยํางเหมาะสม ให๎ทุกภาคสํวนเข๎ามา
มีสํวนรํวมในการดาเนินกิจกรรมตํางๆ รํวมกับวัดตามหลัก "บวร" บ๎าน วัด โรงเรียนและสํวนราชการ
เพือ่ ประชาชนได๎เห็นคณุ คําและประโยชน์ของวัด ซ่ึงเป็นศาสนสถานของศาสนาพุทธและมีภิกษุสงฆ์ซึ่ง
เป็นแกนหลกั สาคญั ในการหลอํ หลอมและปลูกฝงั ให๎คนเป็นคนดมี ศี ลี ธรรม

วดั พระธาตขุ ิงแกง ตาบลพระธาตุขงิ แกง อาเภอจุน จังหวัดพะเยา เปน็ วดั พัฒนาตัวอยําง เม่ือปี
พ.ศ.2548 ซึง่ ตลอดระยะเวลาท่ไี ด๎รับรางวัล วัดพระธาตุขิงแกง ได๎พัฒนาวัดมาอยํางสม่าเสมอ โดยใช๎
หลักการ (วัดพัฒนา ชุมชนสนับสนุน) "บวร" บ๎าน วัด โรงเรียนและสํวนราชการ ในปัจจุบันมีผลเป็นท่ี
นํายินดี สมควรจัดทารายงานเพื่อขอรับการคัดเลือกเป็นวัดพัฒนาตัวอยํางท่ีมีผลงานดีเดํน และเป็น
เกียรติประวตั แิ กํวดั หมบํู า๎ น องคก์ รสบื ไป

พระครูนปิ ุณพฒั นกิจ
เจ๎าอาวาสวดั พระธาตขุ ิงแกง/ รองเจ๎าคณะอาเภอจุน

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า |

สารบญั

หน้า

คานา ๑
สารบัญ 1
7
แบบรายงานเพ่อื ขอรับการคดั เลอื กเปน็ วดั พฒั นาตัวอยํางทีม่ ีผลงานดีเดนํ 63
1. ขอ๎ มลู ทวั่ ไป 63
2. รายงานผลงานการพัฒนาวัดทไี่ ดด๎ าเนนิ การไปแลว๎ ฯ 75
81
แผนงาน/ โครงการพฒั นาวัดท่สี ํงเสรมิ คณุ ธรรม จริยธรรม ฯ 84
3. รายงานผลการดาเนินการภารกิจ 6 ด๎านของคณะสงฆ์ 96
104
ดา๎ นที่ 1 การสาธารณูปการ 111
ดา๎ นที่ ๒ การปกครอง
ด๎านท่ี ๓ การศาสนศกึ ษา 112
115
ด๎านที่ ๔ การเผยแผํ 118
ดา๎ นที่ 5 การศึกษาสงเคราะห์

ด๎านท่ี 6 การสาธารณสงเคราะห์
แบบความเห็นเจา๎ คณะพระสงั ฆาธิการ และเจา๎ หนา๎ ท่ฝี าุ ยบ๎านเมือง
ภาคผนวก

- เอกสารแนบ
- ประวัตแิ ละผลงาน พระครูนิปุณพัฒนกิจ (เจ๎าอาวาสวัดพระธาตขุ งิ แกง)

- รางวลั ท่วี ดั พระธาตขุ งิ แกงเคยไดร๎ ับ

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 1

แบบรายงานเพ่ือขอรบั การคัดเลือกเป็นวัดพฒั นาตวั อยา่ งท่ีมผี ลงานดเี ด่น

1. ชอื่ วดั พระธาตขุ งิ แกง สงั กัด ( / ) มหานกิ าย ( ) ธรรมยุต

ตงั้ อยูบํ ๎าน ธาตุขิงแกง เลขที่ 318 หมทํู ี่ 5 แขวง/ตาบล พระธาตขุ ิงแกง

เขต/อาเภอ จนุ จังหวัด พะเยา รหัสไปรษณีย์ 56150 โทร 082-1822792

นามเจา๎ อาวาส พระครนู ิปณุ พฒั นกิจ ฉายา อภปิ ุญโฺ ญ นามเดิม อินพฒั น์ ปิจดี

ดารงตาแหนํงเจ๎าอาวาส เม่ือ พ.ศ. 2527

ตาแหนงํ เจ๎าคณะปกครองสงฆ์ รองเจา้ คณะอาเภอจนุ

ไดร๎ ับอนญุ าตให๎ต้ังเป็นวดั เม่ือวนั ท่ี - เดือน - พ.ศ. 2470 (เอกสารแนบท่ี 01 )

ไดร๎ บั พระราชทานวสิ งุ คามสมี า เม่ือวนั ที่ 10 เดือน มกราคม พ.ศ. 2528 (เอกสารแนบที่ 02 )

ไดร๎ บั คัดเลอื กเปน็ วดั พัฒนาตัวอยาํ ง เมอื่ พ.ศ. 2548

วดั ไดเ๎ ข๎ารํวมโครงการ วัด ประชา รัฐ สรา๎ งสขุ เม่อื พ.ศ. 2561

จานวนพระภกิ ษุ สามเณร ในวดั

ปี จานวนพระภิกษุ จานวนสามเณร รวม

พ.ศ.2562 9 รูป 11 รูป 20 รปู

พ.ศ.2561 9 รูป 9 รูป 18 รูป

พ.ศ.2560 7 รูป 8 รูป 15 รปู

ข๎อมลู : สานักงานวดั พระธาตุขิงแกง (ฝาุ ยทะเบียนและงานปกครอง) วนั ท่ี 1/ เม.ย./ 2563

2. รายงานผลงานการพัฒนาวัดที่ได้ดาเนินการไปแล้ว และที่จะดาเนินการต่อไป
ตามภารกจิ 6 ด้าน ของคณะสงฆ์โดยสังเขป และให้ตรงตามความเป็นจริง พร้อมแนบ
ภาพถา่ ยกจิ กรรมท่จี ดั ประกอบทุกหมวด และแผนงานหรือโครงการพัฒนาวัดที่ส่งเสริม
คุณธรรม จริยธรรม หรือเอื้อประโยชน์ต่อชุมชนอย่างต่อเน่ือง จานวนอย่างน้อย
3 โครงการ พร้อมรายละเอยี ดการดาเนนิ โครงการ

วัดพระธาตขุ ิงแกง

วดั พระธาตขุ ิงแกง ตงั้ อยเํู ลขที่ ๓๑๘ บ๎านธาตุขิงแกง หมูํที่ ๕ ตาบลพระธาตุขิงแกง อาเภอจุน
จังหวัดพะเยา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย วัดพระธาตุขิงแกง สร๎างเมื่อพ.ศ.๒๔๗๐ ได๎รับพระราชทาน
วิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ ๑๐ มกราคม พ.ศ.๒๕๒๘ เขตวิสุงคามสีมากว๎าง ๔๐ เมตร ยาว ๘๐ เมตร

การบรหิ ารและการปกครอง มเี จา๎ อาวาสเทําทที่ ราบนามคือ ระหวาํ ง
พ.ศ.๒๔๙๕ – ๒๕๐๐ พระบญุ ยนื

พ.ศ.๒๕๐๐ – ๒๕๐๓ พระเขียน
พ.ศ.๒๕๐๓ – ๒๕๑๐ พระอธกิ ารแก๎ว
ตง้ั แตํ พ.ศ.๒๕๒๒ – ปัจจุบนั พระครนู ิปณุ พฒั นกจิ (อินพัฒน์ อภปิ ญุ โฺ ญ)

พระธาตขุ งิ แกง เป็นเจดีย์ทรงลา๎ นนาขนาดใหญํ ฐานกว๎างด๎านละ ๑๕ เมตร สูง ๒๐ เมตร ประดิษฐาน
พระพุทธรูปในซ๎ุมเรือนแก๎วท้ังสี่ด๎าน ชํวงกลางองค์เจดีย์ประดับกระจกสี มีกาแพงแก๎วล๎อมรอบแล ะ

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 2

เจดยี บ์ รวิ ารท้งั ส่ีมุม พระธาตุเจดีย์ขิงแกง เป็นพระธาตุเจดีย์ที่ศักดิ์สิทธิ์ องค์พระธาตุได๎บรรจุพระเกศา

ธาตุ และพระธาตุกระดูกเท๎าข๎างขวาของพระพุทธเจ๎า เป็นปูชนียสถานท่ีสาคัญเกําแกํโบราณของ

อาเภอจุน จะมีประเพณีสรงน้าพระธาตุขิงแกง ในวันข้ึน ๑๕ ค่า เดือน ๕ (เดือน ๗ เป็ง) ของทุกปี

จากนั้นพระธาตขุ ิงแกงไดข๎ น้ึ ทะเบยี นโบราณสถานของจังหวัดพะเยา เมือ่ วันที่ ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๔๗

ท่ดี ินท่ีตง้ั วดั มเี นอ้ื ที่ 1๒ ไรํ ๓ งาน ๘๒ ตารางวา โฉนดทดี่ ิน เลขที่ ๒๖๓๑๑, ๒๖๓๑๒, ๒๖๓๑๓

อาณาเขตวัด ทิศเหนอื จด ทางสาธารณะประโยชน์

ทศิ ใต๎ จด ทางสาธารณะประโยชน์

ทิศตะวนั ออก จด เหมอื งสาธารณะประโยชน์

ทิศตะวนั ตก จด ทางสาธารณะประโยชน์

ปูชนียวัตถุ ที่สาคัญในวัดมี พระธาตุขิงแกง ขนาด กว๎าง ๑๕ เมตร สูง ๒๐ เมตร สร๎างเม่ือ

พ.ศ. ไมํไดร๎ ะบุอยาํ งชัดเจน (อายุมากกวาํ ๕๐๐ ปี) เปน็ ท่เี คารพศรัทธายิ่งของชาวตาบลพระธาตุขิงแกง

เป็นศูนย์กลางทางการศึกษาของคณะสงฆ์ในเขตการปกครอง และเป็นศูนย์กลางในการเผยแผํ

พระพทุ ธศาสนาเชิงรุก ของอาเภอจนุ

ในด๎านทุนวัฒนธรรม และภูมิปัญญา วัดพระธาตุขิงแกงตั้งอยูํในหมํูบ๎านโบราณดั้งเดิมที่มี

ประวัติความเป็นมายาวนาน และโดยเฉพาะอยํางยิ่งความเข๎มแข็งทางทุนภูมิปัญญาท๎องถ่ิน วัดจึงมี

ศักยภาพสงู ในการพัฒนาใหเ๎ ป็นแหลํงการเรียนรแู๎ ละศูนย์กลางทางวฒั นธรรม ของตาบลพระธาตุขิงแกง

วัดพระธาตุขิงแกง เป็นชุมชนท่ีมีวัฒนธรรม ประเพณี เป็นของตัวเอง มีเอกลักษณ์ชัดเจนคือ

ประเพณีสรงน้าพระธาตุขิงแกง ในวันข้ึน 15 คา่ เดอื น 5 (เดอื น 7 เป็ง) ของทุกปี จะมีขบวนแหํผ๎าหํม

พระธาตุท่ียาวท่ีสุดในจังหวัดพะเยา มีขบวนครัวทาน และขบวนอัญเชิญเคร่ืองสักการะที่ยิ่งใหญํ จะมี

นกั ทอํ งเที่ยวมาสกั การะพระธาตุขงิ แกงตลอดท้ังปี มีวัฒนธรรมการฟูอนท่ีเป็นเอกลักษณ์ คือ การฟูอน

เล็บ มีชํางฟูอน มากกวาํ ๕๐๐ คน ซ่ึงปีหน่ึงจะรวมตัวกันฟูอนแคํปีละ ๒ คร้ัง คือ งานประเพณีสรงน้า

พระธาตุขงิ แกง และงานถวายสลากภัตต์ มีผลิตภณั ฑ์ทางวฒั นธรรมมากมาย เชนํ ตะกร๎าสานลายดาวท่ี

มีอายุความเป็นมามากกวํา ๑๐๐ ปี มีลายสานที่เป็นเอกลักษณ์สวยงามสํงออกจาหนํายทั้งในและ

ตํางประเทศ, ผ๎าทอพระธาตขุ ิงแกง, งานสลาํ รบิ บ้ิน และผลิตภัณฑข์ งิ แกงดอง นอกจากนี้ยังมีภูมิปัญญา

พื้นบา๎ นทยี่ งั คงอยํู และสืบทอดกันรํนุ ตอํ รนํุ คอื การนวดแผนไทย (ยาหมอเมือง) ในชุมชนมีคนเดินทาง

มาใชบ๎ ริการจากทกุ ทัว่ สารทิศ มีศนู ย์การเรยี นรู๎ทางวัฒนธรรมเป็นของชมุ ชน

ในด๎านทุนทรัพยากรสนับสนุนฝุายฆราวาส วัดพระธาตุขิงแกงมีคณะศรัทธาสนับสนุนวัดใน

การจัดกิจกรรมการพัฒนาสาธารณปู การและการศาสนศกึ ษาของวัดซ่ึงทาอยํางโปรํงใส มีสํวนรํวม และ

ตอํ เน่อื ง ทาใหว๎ ัดพระธาตุขิงแกงเปน็ ตน๎ แบบในการสร๎างองคก์ รเครือขาํ ยรวํ มพัฒนาวัด และชุมชน คอื

บ / ว / ร / ส = บา๎ น / วดั / โรงเรียน / โรงพยาบาลสงํ เสรมิ สุขภาพตาบล

อยํางไรก็ตาม ด๎วยเหตุท่ีในปัจจุบัน วัดพระธาตุขิงแกงมีการพัฒนาวัดในหลายด๎าน เพื่อให๎

การพัฒนาวัดในระยะตํอจากน้ี สามารถรองรับการเปล่ียนแปลงของคณะสงฆ์ การเปล่ียนแปลงใน

ระดับตาบล/อาเภอ/จังหวัด แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด คณะสงฆ์ กรรมการวัด ทายก ทายิกา

สัปบุรุษ ประชา สังคม และปราชญ์ชุมชน จึงได๎รํวมกันกาหนดวิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์การพัฒนา

วัดพระธาตขุ งิ แกงให๎สอดคล๎องกบั ศักยภาพของวัดและหมูํบ๎าน พร๎อมท้ังกาหนดเปูาหมายการพัฒนาที่

กํอใหเ๎ กดิ ประโยชนต์ ํอสวํ นรวมของชุมชนได๎อยํางมีประสิทธิภาพและยั่งยืน โดยได๎จัดทาแผนพัฒนาวัด

ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2560-2564) เพ่ือเป็นแนวทางในการบริหารยุทธศาสตร์ และบูรณาการการพัฒนา

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 3

งาน ๖ ดา๎ นคอื งานสาธารณปู การ งานปกครอง การศาสนศึกษา การเผยแผํ การศึกษาสงเคราะห์ และ
การสาธารณสงเคราะห์ ตามหลักเกณฑแ์ ละวิธกี าร และระเบยี บแบบแผนของคณะสงฆ์ให๎เป็นไปอยํางมี
ประสทิ ธิภาพ หลักเกณฑ์ยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาวัดแบบย้งั ยืน ดงั นี้

นโยบาย (policy)
“วดั พระธาตุขิงแกงรํมรืน่ ศูนย์รวมศรทั ธา
นาการศาสนศึกษา พฒั นาเยาวชน
ชุมชนรํวมประสาน งดงามตานําอยํู
แหลํงเรียนรภู๎ ูมิปัญญา รักษาวัฒนธรรมไทยยั่งยนื ”

วสิ ยั ทัศน์ (vision)
จัดการพัฒนาวัดแบบบูรณาการตามหลักไตรสิกขา คือ สะอาด สงบ สวําง โดยการมีสํวนรํวม

แบบ“รฏั ฐะ-บวรสถาน (ภาครัฐ บา๎ น วดั และโรงเรียน)”

พนั ธกจิ (mission)
๑. สร๎างจิตสานกึ ในความเปน็ ภกิ ษสุ ามเณรและศาสนบคุ คลทด่ี มี ีคณุ ภาพ
๒. ยกระดบั คณุ ภาพและมาตรฐานการศาสนศกึ ษาทกุ ระดบั
๓. จดั ระบบและรูปแบบการเผยแผพํ ระพทุ ธศาสนาให๎มีประสิทธิภาพ
๔. จดั และสํงเสริมการศกึ ษาสงเคราะห์อยํางทั่วถงึ มีคณุ ภาพ
๕. บูรณะ พฒั นา และสร๎างศาสนวตั ถอุ ยํางเหมาะสมตามหลักมัชฌมิ าปฏปิ ทา
๖. บาเพญ็ กจิ กรรมสํวนรวม ประสานความรวํ มมือทกุ ภาคสวํ นโดยใชห๎ ลกั พุทธวธิ นี าวิถีชีวิต

หลกั เกณฑ์ยุทธศาสตร์ (strategies)
๑. เนน๎ ฝึกอบรมพระกัมมฏั ฐานทง้ั สมถกรรมฐาน/วิปสั สนากรรมฐานตามหลกั มหาสติปัฏฐาน
๒. สรา๎ งโอกาสทางการศึกษาและการเรียนร๎ตู ลอดชวี ิต
๓. ยกระดับการเผยแผํพระพุทธศาสนาใหส๎ อดคลอ๎ งกบั สถานการณป์ จั จุบัน
๔. พฒั นาการศกึ ษาสงเคราะห์ตามแนวพุทธวิธีและวถิ ีพทุ ธ
๕. พฒั นาวดั ใหเ๎ ป็นศูนยร์ วมจิตใจและแหลํงปัญญาธรรม คารวธรรม และสามคั คธี รรม
๖. เสริมสร๎างคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคแ์ กํสงั คม ชุมชน ปจั เจกชนและสถาบันทางสงั คม
ทุกภาคสวํ น

เป้าประสงค์ (goal)
๑. พระภิกษุสามเณร และศาสนบคุ คลในวัด ได๎รบั การฝกึ อบรมทดี่ ีมีคุณภาพอยํางทวั่ ถึง
๒. พระภิกษสุ ามเณรในวัดได๎รบั การศึกษาทีม่ คี ุณภาพ และมาตรฐานตามฐานานรุ ูป
๓. ศาสนบุคคลของวัด ได๎รับการศึกษาหลักธรรม ตามสมควรแกํอัตภาพ
๔. สถานศึกษาของวดั จดั การศึกษาไดม๎ าตรฐาน
๕. การเผยแผพํ ระพทุ ธศาสนา มปี ระสิทธิภาพ และประสิทธิผล

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 4

๖. การพัฒนาวัดสามารถตอบสนองความต๎องการของสงั คม ท้งั ในดา๎ นปรมิ าณ และคุณภาพ
๗. วัดสามารถเปน็ แบบอยาํ งที่ดขี องสังคมคุณธรรม คุณภาพตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจ

พอเพยี ง

กลยทุ ธ์
๑. เนน๎ ฝกึ อบรมกรรมฐานท้งั สมถกรรมฐานและวิปสั สนากรรมฐาน

๑.๑ ฝกึ อบรมพระกัมมฏั ฐานทกุ วันธรรมสวนะ และวันหยดุ สดุ สปั ดาห์
๑.๒ ฝึกอบรมและปฏิบัตธิ รรม ในวนั สาคัญทางพระพทุ ธศาสนา และวันสาคัญของชาติ
๑.๓ ปฏบิ ตั ธิ ุดงควตั ร เดินจงกรม และเขา๎ คํายอบรมคุณธรรม
๑.๔ สาหรับพระภกิ ษุสามเณร ควรปฏบิ ัติตนตามหลักกิจวัตร ๑๐ ประการ
๒. สรา๎ งโอกาสทางการศาสนศึกษา และการเรียนรูต๎ ลอดชวี ติ
๒.๑ สรา๎ งและประกนั โอกาสการศึกษาเลาํ เรยี นพระแผนกธรรมทุกชน้ั ทุกประโยค
๒.๒ สร๎างและประกันโอกาสการได๎รบั การอบรมวชิ าธรรมศึกษาทกุ ช้ันทุกระดบั
๒.๓ พัฒนาครูและรูปแบบ การจัดการศาสนศึกษาที่หลากหลาย และสอดคล๎องกับวุฒิภาวะ

ของผ๎ูเรยี น
๒.๔ พัฒนาหลกั สตู รและแบบเรียนแผนกธรรมใหเ๎ หมาะสมแกํพระภิกษุสามเณรทุกวยั
๓. ยกระดับการเผยแผํพระพทุ ธศาสนา ให๎สอดคล๎องกบั สถานการณป์ ัจจุบัน
๓.1 พัฒนาเทคนคิ และวธิ ีการเผยแผใํ ห๎เหมาะสมยุคโลกาภวิ ฒั น์
๓.2 พัฒนาเทคโนโลยเี พอื่ การเผยแผํ
๓.3 พฒั นาระบบการประกันคณุ ภาพการเผยแผํ
๓.4 คดั เลือกและสร๎างพระนักเผยแผรํ ํุนใหมํ
๔. พฒั นาการศึกษาสงเคราะห์ตามแนวพุทธวธิ ีและวถิ ีพุทธ
๔.๑ พัฒนาดา๎ นบรหิ ารจัดการตามหลักพทุ ธวิธแี ละธรรมาภบิ าล
๔.2 เสรมิ สร๎างการมีสวํ นรํวมระหวาํ ง พระ/ คร/ู ผู๎ปกครองนักเรยี นและชมุ ชน
๕. พัฒนาวดั ให๎เปน็ ศูนย์รวมจติ ใจ และเปน็ แหลํงปญั ญาธรรม คารวธรรม และสามคั คธี รรม
๕.๑ จัดวัดใหเ๎ ปน็ สถานการศึกษาของชุมชน
๕.2 บริหารจัดการวดั ใหเ๎ ปน็ สถานที่ประชุม สมั มนาและแลกเปลย่ี นเรียนรูช๎ ุมชน
๕.3 สงํ เสรมิ บทบาทของวดั ใหเ๎ ปน็ ผ๎ูนาทางจติ วญิ ญาณ
๕.4 อานวยความสะดวกในการบาเพญ็ กุศลตามสมควร
๕.5 รํวมมอื กบั สํวนราชการ เอกชน องค์กร ชุมชน และสถาบนั ทางสงั คมในการจัดกิจกรรม
๖. เสรมิ สรา๎ งคุณลักษณะอนั พึงประสงค์แกสํ ังคม ชมุ ชน ปัจเจกชน และสถาบนั ทางสังคมทกุ ภาคสวํ น
๖.๑ สํงเสริมกิจกรรมปลกู ฝังคุณธรรม จรยิ ธรรมและวถิ ปี ระชาธิปไตย
๖.๒ สงํ เสริมแนวพัฒนากิจกรรมเศรษฐกิจพอเพยี งในชมุ ชน
๖.๓ สงํ เสริมวฒั นธรรม สันติสขุ และสมั มาชีพในชมุ ชน
๖.๔ สงํ เสริมกิจกรรมสถาบันทางสงั คมทุกภาคสํวน
๖.๕ รวํ มเสรมิ สรา๎ งระเบยี บวนิ ยั เสยี สละ สามคั คี และกตัญญกู ตเวทติ าธรรม

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 5

โครงการหลัก ในการพฒั นาวัดพระธาตุขงิ แกง
พ.ศ. ๒๕๕2
- โครงการสร๎างศาลาปฏิบตั ธิ รรมพระธาตขุ งิ แกงประชารวํ มใจ
- โครงการปรับภูมทิ ัศน์ ภายในบรเิ วณวดั
- โครงการสร๎างอาคารเกบ็ ข๎าวของ ภายในวดั
- โครงการ “ศนู ย์บรู ณาการวฒั นธรรมไทยสายใยชุมชน”
- โครงการบรรพชาอปุ สมบททายาทพุทธศาสนา
พ.ศ.2553
- โครงการสรา๎ งหอ๎ งนา้ เพ่อื ชาวประชา จานวน 20 ห๎อง
- โครงการสรา๎ งศาลาแดง “พิพิธภณั ฑ์พืน้ ถ่นิ ล๎านนา”
- โครงการลานบญุ ลานปญั ญา
- โครงการบูรณะองค์พระธาตขุ งิ แกง โดย กรมศิลปากร
- โครงการบรรพชาอุปสมบททายาทพุทธศาสนา
พ.ศ.2554
- โครงการสร๎างห๎องนา้ ศาลาแดง “พพิ ธิ ภัณฑ์พืน้ ถ่นิ ลา๎ นนา” จานวน 10 หอ๎ ง
- โครงการบรู ณะพระอโุ บสถ (วหิ ารหลวง) โดย กรมศลิ ปากร
- โครงการปรับภมู ิทัศน์ สวนหยํอม บรเิ วณหนา๎ วัด
- โครงการลานบุญ ลานปญั ญา
- โครงการบรรพชาอุปสมบททายาทพทุ ธศาสนา
พ.ศ.2555
- โครงการสร๎างห๎องสมดุ วถิ ีพทุ ธ วิถปี ัญญา เพ่ือนอ๎ ง
- โครงการสร๎างระเบยี งคต ศาลาบาตร รอบพระอโุ บสถ โดย กรมศิลปากร
- โครงการลานธรรม ลานวิถีไทย
- โครงการสรา๎ งกุฏไิ ม๎ 2 ชั้น เพ่ือรบั รองพระภกิ ษุ สามเณร
- โครงการบรรพชาอปุ สมบททายาทพทุ ธศาสนา
พ.ศ.2556
- โครงการสรา๎ งหอระฆัง และหอกลอง โดย กรมศลิ ปากร
- โครงการปรับภมู ทิ ัศน์ภายในบริเวณวดั
- โครงการลานธรรม ลานวถิ ีไทย
- โครงการบรรพชาอุปสมบททายาทพทุ ธศาสนา
พ.ศ.2557
- โครงการลานธรรม ลานวิถีไทย
- โครงการตน๎ ไม๎ พทุ ธปัญญา
- โครงการบรรพชาอุปสมบททายาทพทุ ธศาสนา

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 6

พ.ศ.2558
- โครงการปรับปรงุ ภูมทิ ัศนป์ ูอิฐตัวหนอน รอบวัดพระธาตุขงิ แกง
- โครงการสรา๎ งศาลาปฏบิ ตั ธิ รรมอริยะวงศ์ประชารวํ มใจ อาคารแฝด หลังท่ี ๒
- โครงการปฏบิ ตั ธิ รรมสปั ดาห์สงํ เสริมพระพทุ ธศาสนาเนอ่ื งในวนั วิสาขบชู า
“พระพุทธศาสนา ธรรมะกบั ธรรมชาติ ”
- โครงการหมบํู ๎านรกั ษาศีล ๕
- โครงการบรรพชาอุปสมบททายาทพุทธศาสนา
- โครงการลานธรรม ลานวิถีไทย

พ.ศ.2559
- โครงการปรับปรงุ พร๎อมบรู ณะบันไดนาคคูํ ทางขนึ้ วดั พระธาตขุ ิงแกง
- โครงการปฏบิ ตั ธิ รรมสปั ดาห์สํงเสรมิ พระพุทธศาสนาเนอ่ื งในวนั วสิ าขบชู า
“พระพทุ ธศาสนา ธรรมะกบั ธรรมชาติ ”
- โครงการหมูบํ ๎านรกั ษาศลี ๕
- โครงการบรรพชาอปุ สมบททายาทพทุ ธศาสนา
- โครงการลานธรรม ลานวิถไี ทย

พ.ศ.2560
- โครงการสรา๎ งลานจอดรถ ดา๎ นหลงั วัด
- โครงการปฏบิ ัติธรรมสัปดาห์สํงเสรมิ พระพทุ ธศาสนาเนื่องในวนั วิสาขบชู า
“พระพุทธศาสนา ธรรมะกับธรรมชาติ ”
- โครงการหมูํบา๎ นรกั ษาศีล ๕ การพัฒนาชมุ ชนสูํความยง่ั ยืน
- โครงการชุมชนคณุ ธรรมน๎อมนาหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
- โครงการบรรพชาอุปสมบททายาทพทุ ธศาสนา
- โครงการลานธรรม ลานวิถีไทย

พ.ศ.2561
- โครงการสร๎างลานจอดรถ ดา๎ นหน๎าวดั
- โครงการหมบูํ า๎ นรักษาศลี ๕ การพฒั นาชุมชนสคูํ วามยง่ั ยนื
- โครงการบรรพชาอปุ สมบททายาทพทุ ธศาสนา
- โครงการลานธรรม ลานวถิ ีไทย
- โครงการชุมชนคุณธรรมน๎อมนาหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง

พ.ศ.2562
- โครงการสร๎างอาคารโรงอาหาร หอฉัน
- โครงการปฏิบตั ธิ รรมสัปดาหส์ งํ เสริมพระพุทธศาสนาเน่อื งในวันวิสาขบชู า
“พระพุทธศาสนา ธรรมะกบั ธรรมชาติ ”
- โครงการหมูํบา๎ นรกั ษาศีล ๕ การพัฒนาชมุ ชนสํูความย่งั ยืน
- โครงการบรรพชาอปุ สมบททายาทพทุ ธศาสนา
- โครงการลานธรรม ลานวิถไี ทย
- โครงการชมุ ชนคณุ ธรรมนอ๎ มนาหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 7

แผนงาน/ โครงการพัฒนาวัดที่ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม หรือเอื้อประโยชน์
ตอ่ ชมุ ชนอย่างต่อเนอื่ ง (โครงการท่เี ปน็ รปู ธรรม)

๑. โครงการหมบู่ า้ นรกั ษาศลี ๕ การพฒั นาชมุ ชนสคู่ วามยัง่ ยนื

1. ชือ่ โครงการ หมํูบ๎านรักษาศลี ๕ การพัฒนาชุมชนสํคู วามยง่ั ยนื

2. ผ้รู บั ผิดชอบโครงการ 1. วัดพระธาตุขงิ แกง 2. โรงเรียนบ๎านธาตขุ งิ แกง
3. ปกครองท๎องถน่ิ ตาบลพระธาตุขิงแกง

4. โรงพยาบาลสํงเสรมิ สุขภาพตาบลพระธาตขุ ิงแกง
3. หลกั การและเหตุผล

สภาพการเปลี่ยนแปลงทางสังคมท่ีเกิดข้ึน มีการพัฒนาไปอยํางกว๎างขวาง

เกิดการแลกเปล่ียน วัฒนธรรม สังคม เศรษฐกิจ สินค๎า การค๎าขาย ซึ่งเป็นผลจากการพัฒนาทางด๎าน
สังคม ทาให๎ปัจจัยภายในสังคมเปลี่ยนไป สิ่งนี้เกิดจากการเข๎ามามีบทบาทของปัจจัยภายนอกที่เริ่ม

มีการเปลี่ยนแปลงสภาพของสังคมไทย จากการทาการเกษตรเพ่ือให๎มีอยํูมีกิน เป็นการเกษตรท่ี
ตอบสนองอุตสาหกรรม ประกอบอาชีพค๎าขายที่หวังผลกาไร การประกอบอาชีพท่ีไปแนวทางทุนนิยม
ของระบบสงั คมโลก สภาพสังคม การเมือง เศรษฐกิจ วัฒนธรรมเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงจากสังคมจารีต

เดิมมีการเปลี่ยนแปลงมาเป็นสังคมจารีตใหมํ สิ่งเหลําน้ีที่มีผลตํอการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ซึง่ หลายคนมองวําอาจไกลตวั เรา ซ่ึงความจริงแล๎วเป็นสิ่งท่ีใกล๎ตัวมาก การพัฒนาสังคมทางด๎านวัตถุ มี

มาอยํางตํอเนอื่ ง แตกํ ารพฒั นาคนทางดา๎ นจติ ใจ ถกู ละเลย ทาให๎เกดิ ชํองวาํ ง ท่ีเรียกวํา “ปัญหาสังคม”
ปัจจุบันสังคมไทยเราเน๎นท่ีการพัฒนาส่ิงจาเป็นพ้ืนฐาน ( Basic Needs Approach )

มีการปรับปรุงระบบความเป็นอยูํ ทาให๎คนจนมีรายได๎ มีการบริหารระบบสาธารณะ การบริการและ

สนิ ค๎าตํางๆท่ตี อบสนองความจาเปน็ ของสมาชกิ สังคม ทาให๎ความเป็นอยูํของประชาชนดีขึ้นความเจริญ
ทางด๎านตํางๆ มีการพัฒนามากข้ึน ระบบสาธารณสุข อนามัย ที่อยูํการขนสํง ฯลฯ มีการพัฒนาอยําง

ตอํ เนอ่ื งจนเริม่ มคี วามร๎สู กึ วํา การพัฒนาประเทศไทยไปในแนวทางน้ีจะถูกต๎องหรอื ไมํ
ชํองวํางท่ีเป็นปัญหาของสังคมไทย มาจากหลายประการ ผลกระทบจากสภาวะทันสมัยเกิด

ปัญหาท่ีเป็นรากหญ๎าของสังคมและอยํูคูํกับสังคมไทย ตั้งแตํเริ่มมีการเปล่ียนแปลงมาจนถึงปัจจุบัน

การพัฒนาเป็นไปตามคํานิยมและกระบวนการบรรลุถึงคํานิยมทาง การพัฒนาน้ันจาเป็นต๎อง
มีการเปลย่ี นแปลงสงั คม การเปล่ียนแปลงที่สาคัญก็คือ การเปล่ียนแปลงระบบจัดสรรหรือการกระจาย

ทรัพยากรทั้งทางเศรษฐกจิ และสังคม ซงึ่ ผลจากการพฒั นาดงั กลําว จะกํอให๎เกิดความขัดแย๎งทางสังคม
ปัญหาสงั คมไทย ในรปู ธรรม คือ ปัญหาความยากจน ไร๎ท่ีอยํู ไมํมีท่ีทากินขาดความร๎ู การศึกษาปัญหา
เยาวชน ยาเสพติด ทะเลาะวิวาท ท๎องกํอนวัยอันควร ขาดความเป็นจารีต ฯลฯ ปัญหาท่ีสังคมต๎อง

มีการบรู ณาการแกป๎ ัญหาทั้งระบบ เริม่ ทค่ี นเปน็ ศูนยก์ ลาง ถา๎ ไมแํ กป๎ ัญหาไปพร๎อมกับการพัฒนาคนก็ไร๎
คาํ ยกตัวอยาํ งปัญหาสังคมที่ตํอเนือ่ งเกีย่ วพันกัน เชํน การขาดการศึกษา ส่ิงทตี่ ามมาคือ กํอให๎เกิดความ

ยากจน ขาดอาชพี ไร๎ที่ทากิน ไร๎ท่ีอยํู ปัญหาเหลําน้ีเป็นปัญหาเก่ียวเน่ืองกัน เราควรแก๎ปัญหาโดยมอง
ภาพรวมในสังคม สังคมท่ีมีปัญหาเชํนนี้เกิดท่ัวทุกภาคของสังคมไทย และยังไมํได๎รับการพัฒนาปัญหา
ดงั กลาํ ว เป็นชมุ ชนทีถ่ กู ละเลยทางสังคม จงึ มหี นวํ ยงานท่เี ขา๎ มาชวํ ยกันเรํงพัฒนาชุมชนทุกภาคสํวนของ

สงั คมไทย

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 8

ดงั น้นั จากปัญหาในชมุ ชน เราจะมาดูชุมชนท่ีไมํได๎รับการดูเเลจากภาครัฐเทําท่ีควร จึงเกิดเป็น
ปญั หาทีม่ มี าอยํางตอํ เนอ่ื ง ทาให๎ประชาชนชาวพทุ ธในชุมชนขาดจากการรักษาศีล ๕ ที่ครบบริบูรณ์ เรา
ควรท่จี ะรณรงค์ และขบั เคล่ือนหมบํู ๎านรกั ษาศลี ๕ อยํางแท๎จริง

ข้อมลู ทัว่ ไปของหมบู่ ้านธาตขุ ิงแกงบน หมทู่ ี่ ๕
บ๎านธาตุขงิ แกงบน หมทูํ ี่ ๕ ตาบลพระธาตุขงิ แกง อาเภอจุน จังหวัดพะเยา ๕๖๑๕๐

จานวนประชากร 469 คน แยกเป็นชาย 221 คน แยกเปน็ หญงิ 248 คน
จานวนประชากรที่นบั ถือศาสนาพุทธจานวน 469 คน คิดเปน็ ๑๐๐ %
ไปทาบุญท่ี วัดพระธาตุขงิ แกง ตาบลพระธาตุขิงแกง อาเภอจนุ จงั หวดั พะเยา
ผใู๎ หญบํ ๎านชื่อ นายลาไพร จอมทอง

ทางหมูํบ๎านธาตุขิงแกงบน หมํูท่ี ๕ พร๎อมกับวัดพระธาตุขิงแกง ได๎กํอตั้งให๎เป็นหมํูบ๎านรักษา
ศีล ๕ ขึ้น ในวันท่ี ๑ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๘ โดยใช๎สถานที่วัดพระธาตุขิงแกง เป็นศูนย์กลางใน
การขับเคล่อื นหมํบู า๎ นรกั ษาศีล ๕

บา๎ นธาตุขิงแกงบน ตาบลพระธาตขุ งิ แกง อาเภอจนุ จงั หวัดพะเยา เป็นชุมชนที่รวบรวมคนเกํง
คนดี และคนท่ีมีอุดมการณ์ท่ีจะสร๎างสรรค์กิจกรรมดีๆ เพ่ือการรณรงค์ และขับเคล่ือนหมํูบ๎านรักษา
ศีล ๕ รํวมกัน สมาชิกได๎แกํเด็กและเยาวชนตลอดจนประชาชนท่ัวไปในชุมชน การจัดต้ังเป็นไปตาม
หลกั เกณฑข์ องการจัดต้ังหมํบู า๎ นรักษาศลี ๕ บริหารจดั การชุมชนภายใต๎องคป์ ระกอบ ในการดาเนินงาน
ของชมุ ชน ประกอบ ดว๎ ย ๓ ก. และ ๓ ย. คือ

๓ ก. คอื ก. กรรมการ ก. กองทนุ ก. กจิ กรรม
๓ ย. คอื ๓ ยุทธศาสตร์ ประกอบด๎วย
ยทุ ธศาสตร์ที่ ๑ การรณรงคป์ ลุกจิตสานึกและสรา๎ งกระแสนยิ มทเ่ี อ้อื ตอํ การรกั ษาศลี ๕
ยทุ ธศาสตร์ที่ ๒ การเสริมสรา๎ งภูมคิ มุ๎ กันทางจิตใจให๎แกปํ ระชาชนและเยาวชนในหมบูํ ๎าน
ยุทธศาสตรท์ ่ี ๓ การสรา๎ งและพฒั นาเครือขํายหมบํู ๎านรักษาศลี ๕ และองคก์ รรักษาศลี ๕
เพื่อให๎บรรลุเปูาหมายทีว่ ํา
มศี ีล มีสขุ ปรองดอง สมานฉนั ท์ สามคั คี สนั ติสขุ ปลอดยาเสพติด
เพ่อื ประโยชน์สุข แหงํ ประชาชน เพอ่ื สนั ตสิ ขุ แหงํ ประเทศชาติ

4. วตั ถุประสงค์
๑ เพ่อื ถวายเปน็ พระราชกศุ ลแดพํ ระบาทสมเด็จพระเจ๎าอยหูํ วั และสมเดจ็ พระนางเจา๎
ฯ พระบรมราชนิ ีนาถ
2 เพอื่ เสรมิ สรา๎ งความปรองดองสมานฉันท์ ลดปญั หาความขัดแย๎ง สรา๎ งความม่ันคง
ความปลอดภยั ในชีวิตและทรัพยส์ นิ ใหก๎ ับประชาชนในชุมชน
3 เพ่ือให๎ประชาชนไดน๎ าหลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนามาใชใ๎ นการดาเนนิ ชวี ิตอยาํ ง
มคี วามสุข
4 เพ่อื ปลกู ฝังจิตสานกึ และสร๎างความตระหนัก รักและเชิดชสู ถาบนั ชาติ ศาสนา
พระมหากษตั รยิ ใ์ ห๎เป็นสถาบนั หลกั ของประเทศอยํางมนั่ คง

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 9

5. เป้าหมาย
ประชาชนท่ัวไป และเยาวชน อายุ 6 – 24 ปี

6. สถานท่ีต้ัง

ศูนย์ประสานงานขับเคล่ือนหมํูบ๎านรักษาศีล ๕ สานักงานเลขานุการรองเจ๎าคณะ
อาเภอจุน วัดพระธาตุขิงแกง 318 หมํูที่ 5 บ๎านธาตุขิงแกง ตาบลพระธาตุขิงแกง อาเภอจุน จังหวัด
พะเยา 56150 เบอร์โทรศัพท์ 082 – 1822792 E mail : sattaya14249 @ gmail.com,
www.facebook.com // วดั พระธาตขุ ิงแกง อาเภอจุน

7. ฐานข้อมลู ของสมาชกิ ผู้สมัครเข้ารว่ มโครงการหมู่บา้ นรักษาศีล ๕

ขอ๎ มูลแสดงจานวนสมาชิกผ๎สู มัครเขา๎ รวํ มโครงการหมบูํ า๎ นรักษาศีล ๕ บ๎านธาตุขิงแกง
บน หมํูที่ ๕ ตาบลพระธาตขุ งิ แกง อาเภอจนุ จังหวัดพะเยา ยอดผ๎ูสมัคร ณ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕63
เวลา 05:30 น. สมคั รแลว๎ จานวน ๔๒๐ คน จากจานวนประชากรทง้ั หมด 469 คน คดิ เป็น ๙๐ %

ปี พ.ศ. จานวนผสู้ มัครเข้าร่วมโครงการหมบู่ ้านรักษาศลี ๕ ในแต่ละเดือน ของบ้านธาตขุ งิ แกงบน
ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

พ.ศ. ๒๕๕๘ ๑๒๐ ๓๕ ๕๒ ๒๓

พ.ศ. ๒๕๕๙ ๑๗ ๒๓ ๑๐๕ ๔๕

รวมท้งั หมด ๔๒๐ คน

ขอ๎ มูล : www.sila5.com รวบรวมโดย พระสตั ยา สจจฺ าภิจนิ โฺ ณ

8. แผนภมู แิ สดงจานวนผสู้ มคั รเขา้ รว่ มโครงการหมู่บา้ นรักษาศลี ๕ ในแตล่ ะเดอื น
ของ บา้ นธาตุขิงแกงบน หมู่ที่ ๕ ตาบลพระธาตขุ งิ แกง อาเภอจุน จังหวดั พะเยา แยกเป็นจานวน

ผสู้ มคั รในแต่ละเดอื น แยกเปน็ ชาย และหญิง

๑๔๐

๑๒๐

๑๐๐

๘๐
จำนวนผ้สู มคั ร

๖๐ ชำย
๔๐ หญงิ

๒๐



วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 10

9. การสรา้ งองค์กรเครอื ขา่ ยรว่ มในการขบั เคลื่อนโครงการหมบู่ า้ นรักษาศลี ๕
ของวดั พระธาตขุ ิงแกง หมู่ที่ ๕ ตาบลพระธาตขุ ิงแกง อาเภอจนุ จงั หวัดพะเยา

บวรส

บ = บา๎ น
คือ องค์กรท่ีให๎ความอบอุํน สร๎างความรักและอุดมคติให๎กับคนในครอบครัว ที่เอ้ือตํอ

การดาเนนิ งาน และเปน็ องค์กรในการประสานงานทุกระบบใหก๎ บั องคก์ รอื่นๆ
ว = วดั

คือ องค์กรท่ีคอยให๎สุขภาพทางจิตใจ สร๎างศีลธรรม จริยธรรม อันดีให๎กับประชาชนและวัด

ยงั สร๎างวฒั นธรรมทางดา๎ นจติ ใจ เป็นศูนย์กลางในการดาเนนิ งาน เปน็ ท่ีพึ่งทกุ อยํางให๎กับประชาชน
ร = โรงเรียน

คือ องค์กรที่คอยอบรมสั่งสอน สร๎างนิสัยอันดี และให๎ความรู๎กับเด็กและเยาวชน เป็นองค์กร
ท่คี อยประสานงานระหวํางคณะกรรมการดาเนนิ งานกับชุมชน เพ่อื เสริมสร๎างกิจกรรม ๓ ย
ส = โรงพยาบาลสํงเสริมสุขภาพตาบล

คอื องค์กรท่คี อยให๎การดูแลเรื่องสุขภาพกาย ด๎านการออกกาลังกาย สํงเสริมทางด๎านอนามัย
ให๎กบั คนในชุมชน ซ่ึงตามหลกั แล๎วถา๎ หากเราจะดาเนินชีวิตได๎ในสงั คมส่งิ ที่สาคญั ทส่ี ดุ คอื ราํ งกายจะต๎อง

มีสขุ ภาพที่ดี ดังน้ัน ( ส ) จงึ เป็นตัวควบคมุ ในการดาเนนิ งานทงั้ หมด ถา๎ สุขภาพดี ชวี ิตก็จะดี

10. งบประมาณตามแผนการดาเนนิ กจิ กรรมการขบั เคลื่อนโครงการหม่บู า้ นรักษาศลี ๕
ของบ้านธาตุขิงแกงบน ร่วมกบั วัดพระธาตุขิงแกง ต.พระธาตขุ ิงแกง อ.จนุ จ.พะเยา
ประจาปี ๒๕61 – ๒๕63 (ระยะแผน ๓ ป)ี

ท่ี กจิ กรรม งบประมาณ ปี ๒๕61 ปี ๒๕62 ปี ๒๕๖3 สถานท่จี ดั

๑ ขยายเครอื ขํายหมูบํ ๎าน ๕๐,๐๐๐ บาท วดั พระธาตุ
ขงิ แกง
รักษาศลี ๕ ในชมุ ชน
ทอ๎ งถ่นิ ตาบล
โรงเรยี น ในเขตตาบล พระธาตุ
ขงิ แกง
พระธาตุขงิ แกง

ใหค๎ รบ ๙ หมูํบา๎ น

3 โรงเรียน

๒ ตดิ ตามผลการ ๓๐,๐๐๐ บาท

ดาเนินงานของ

เครอื ขาํ ยหมบํู ๎าน

รักษาศลี ๕ ในชมุ ชน

โรงเรียน เขตตาบล

พระธาตุขิงแกง

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 11

ท่ี กิจกรรม งบประมาณ ปี ๒๕61 ปี ๒๕62 ปี ๒๕๖3 สถานทจี่ ดั

๓ จดั กจิ กรรม ๕๐,๐๐๐ บาท ลานกิจกรรม
วัดพระธาตุ
มหกรรมรวมพลคน ขงิ แกง

รกั ษาศีล ๕ ลานกิจกรรม
วดั พระธาตขุ ิง
หัวใจคุณธรรม แกง

ตาบลพระธาตขุ ิงแกง โรงพยาบาล
สงํ เสรมิ
๔ จดั กจิ กรรม SILA 5 ๕๐,๐๐๐ บาท สขุ ภาพตาบล
พระธาตขุ ิง
ROAD SHOW แกง

PROJECT วัดพระธาตุ

ขงิ แกงบนั ทึกความ

รํวมมือกับเครอื ขําย

องคก์ รภาครฐั และ

เอกชนในเขตอาเภอจนุ

ในการรณรงค์

ขับเคลือ่ นหมบํู ๎าน

รักษาศลี ๕

ทั้งอาเภอจนุ

๕ จดั กจิ กรรมเสวนา ๒๐,๐๐๐ บาท

เรื่องการรกั ษาศลี 5

ช า ว ป ร ะ ช า เ ป็ น สุ ข

ภาคระดบั อาเภอ

สรุปแผนการดาเนินกจิ กรรมการขับเคลอ่ื นโครงการหมํูบา๎ นรักษาศลี ๕ ของบ๎านธาตุขิงแกงบน
รํวมกับวดั พระธาตุขงิ แกง ต.พระธาตุขิงแกง อ.จุน จ.พะเยา ประจาปี ๒๕61 – ๒๕๖3 (ระยะแผน ๓
ป)ี มีทัง้ หมด ๕ กิจกรรม รวมงบประมาณ ๒๐๐,๐๐๐ บาท

11. การบริหารจัดการขับเคลื่อนโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕ ของวัดพระธาตุขิงแกง
ต.พระธาตุขิงแกง อ.จุน จ.พะเยา

การขับเคล่ือนโครงการหมูํบ๎านรักษาศีล ๕ ของบ๎านธาตุขิงแกงบน รํวมกับวัดพระธาตุขิงแกง
ต.พระธาตุขงิ แกง อ.จุน จ.พะเยา ดาเนินการตามแนวทาง 3 ก. ดังนี้

ก.1 กรรมการ
คณะกรรมการการดาเนินงานขับเคล่ือนโครงการหมูํบ๎านรักษาศีล ๕ ของบ๎านธาตุขิงแกงบน

รํวมกับวัดพระธาตุขิงแกง ต.พระธาตุขิงแกง อ.จุน จ.พะเยา เกิดจากความสมัครใจและพร๎อมที่จะ
เสียสละในการดาเนินงานรณรงค์และขับเคลื่อนโครงการหมูํบ๎านรักษาศีล ๕ อีกท้ังการสืบทอด

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 12

พระพุทธศาสนา ใช๎หลักธรรม ฟ้ืนฟูชุมชนให๎เข๎มแข็งเพื่อให๎บรรลุเปูาหมายที่วํา มีศีล มีสุข ปรองดอง
สมานฉันท์ สามัคคี สันติสุข ปลอดยาเสพติด เพ่ือประโยชน์สุข แหํงประชาชน เพื่อสันติสุข แหํง
ประเทศชาติ โดยมีคณะกรรมการฝุายตํางๆ ประกอบด๎วย ฝุายจัดหากองทุน ฝุายกิจกรรม ฝุ าย
ประชาสัมพันธ์ ฝาุ ยทะเบียนข๎อมลู และฝุายติดตามผลประเมิน นอกจากนี้ยังมีคณะกรรมการท่ีปรึกษา
ประกอบด๎วยทํานนายอาเภอจุน หัวหนา๎ ราชการที่เกยี่ วขอ๎ ง สนับสนนุ และแนะนาในการดาเนินงาน
การประชมุ ของคณะกรรมการ การดาเนินงานรณรงค์และขับเคล่อื นโครงการหม่บู ้านรักษาศีล ๕
วดั พระธาตุขิงแกง ต.พระธาตขุ ิงแกง อ.จนุ จ.พะเยา

การบริหารงานของคณะกรรมการดาเนนิ งานรณรงค์และขับเคลอื่ นโครงการหมูํบ๎านรักษาศีล ๕
จัดให๎มีการประชุมคณะกรรมการเดือนละ 1 ครั้ง เพื่อวางแผนจัดการและจัดกิจกรรมให๎กับชุมชน
ตลอดจนรายงานความก๎าวหน๎า ปัญหา อุปสรรค ในการทางานของคณะกรรมการฝุายตํางๆเพ่ือนามา
ปรบั ปรงุ การทางานใหเ๎ กดิ ประสทิ ธภิ าพ

การวางแผนของคณะกรรมการดาเนินงานรณรงค์และขบั เคลอื่ นโครงการหมํูบา๎ นรกั ษาศีล ๕
จะประชมุ คณะกรรมการดาเนินงาน คณะกรรมการทป่ี รึกษา และคณะกรรมการอานวยการ

ทกุ วันศุกร์ แรกของเดือน

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 13

บันทึกความรํวมมือนี้ ทาข้ึนพร๎อมกันหลายฉบับ มีความถูกต๎องตรงกันทุกฉบับ ได๎อํานและ
เข๎าใจข๎อความโดยตลอดแล๎ว เห็นวําตรงตามเจตนารมณ์ทุกฝุาย จึงได๎ลงลายมือชื่อและประทับตรา
(ถ๎ามี) ไว๎เป็นสาคัญ และได๎ถือไว๎ฝุายละฉบับ และสามารถเผยแพรํ ขอความรํวมมือให๎ทุกภาคสํวนให๎
การสนบั สนุน โครงการเพื่อใหบ๎ รรลตุ ามวตั ถปุ ระสงค์ของโครงการตํอไป

ก.2 กองทุน

คณะกรรมการโครงการ ฯ ไดจ๎ ัดตง้ั กองทุนเพื่อนาเงนิ รายได๎หมนุ เวียนใช๎จํายในการจัดกิจกรรม

ใหก๎ ับชุมชน ด๎วยการได๎รับปัจจัยจากขันขอศีลของทางวัดพระธาตุขิงแกง ทุกวันพระ ได๎จากการจัดตั้ง

ผ๎าปุา รักษาศีล ๕ ของทาง คณะกรรมการชุมชน วัด และคณะสงฆ์ตาบลพระธาตุขิงแกง เงินจาก

การจาหนํายเสื้อ รณรงค์โครงการหมํูบ๎านรักษาศีล ๕ เงินจากการสนับสนุนจากหนํวยงานภาครัฐ

ผ๎ปู กครองชมุ ชน นอกจากน้ียังไดจ๎ ดั ทาโครงการ“ชมุ ชนหัวใจสีเขียว เพ่ือการพัฒนาชุมชน” ปลูกพืช ผัก

สวนครวั ในเวลาวํางชํวงเย็นออกจาหนํายตลอดทั้งปี โดยมีบัญชีรายรับ-รายจําย ในแตํละเดือนเป็นตัว

ควบคุมการใชเ๎ งินของชมรม และตอ๎ งจํายตามกิจกรรมในแผน

ซง่ึ กองทุนดาเนินงานรณรงค์และขบั เคล่อื นโครงการหมํูบ๎านรกั ษาศีล ๕ บา๎ นธาตุขิงแกงบน

หมทูํ ่ี ๕ รวํ มกับวัดพระธาตขุ ิงแกง ต.พระธาตขุ ิงแกง อ.จุน จ.พะเยา แบงํ กองทนุ ออกเป็น ๒ สํวน คือ

สํวนท่ี ๑ กองทุนจากการสนบั สนุนของหนวํ ยงานองคก์ รภาครฐั และเอกชน มูลนิธติ ํางๆ

สํวนท่ี ๒ กองทนุ จากการระดมทนุ ของชุมชน เกิดจากการท่ชี มุ ชนเป็นผจ๎ู ัดหาทุนเอง

คณะกรรมการการเงิน ประกอบดว้ ย

คณะกรรมการการเบิกจ่ายบัญชีธนาคาร

1. นายลาไพร จอมทอง ประธาน

2. นายสมศักดิ์ อินตะ๏ ปญั ญา รองประธาน

3. พระสตั ยา สจจฺ าภิจนิ ฺโณ กรรมการฝาุ ยกองทนุ / การเงิน

ระเบียบการเบกิ จ่ายงบประมาณ

1. การเบิกจํายงบประมาณการเงินทุกคร้ัง ต๎องได๎รับการอนุมัติเห็นชอบจาก

คณะกรรมการดาเนินงานโครงการหมบํู า๎ นรกั ษาศลี ๕ ของชุมชน ทุกคน ซ่ึงจะงํายตํอ

การดาเนินงาน

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 14

2. คณะกรรมการการบริหารกองทุนและงบประมาณ มีอานาจจัดเก็บเงินสดในมือไมํเกิน
๑๐,000 บาท ต๎องนาไปฝากธนาคารโดยคณะกรรมการบริหารกองทุนและ
งบประมาณ

3. การเบกิ เงิน มอบให๎คณะกรรมการเบิกจํายบัญชีธนาคารจานวน 2 ใน 3 เป็นผู๎มีสิทธ์ิ

เบิกและมอบหมายใหค๎ ณะกรรมการบรหิ ารกองทุนและงบประมาณเปน็ ผเู๎ กบ็ รกั ษา
4. คณะกรรมการฝาุ ยการเงนิ และงบประมาณ มีหนา๎ ทส่ี รุปรายการและแสดงบัญชีรายรับ

– รายจําย งบประมาณหลังดาเนนิ กิจกรรมตาํ งๆ ภายใน 7 วัน

รวมรายรบั – รายจ่าย ท้งั หมดของกองทุน ปี พ.ศ.2560 – 2562

รายรบั – รายจา่ ย รายการ จานวนเงนิ
55,๐๐๐ บาท
รายรับ ๑. กองทุนจากการสนับสนุนของหนวํ ยงานองค์กร
31,๕๕๖ บาท
ภาครฐั และเอกชน มลู นธิ ิตาํ งๆ
86,๕๕๖ บาท
๒. กองทนุ จากการระดมทนุ ของชมุ ชน เกิดจาก 6๐,๐๑๘ บาท
26,53๘ บาท
การที่ชมุ ชนอาสาสมัครเปน็ ผจ๎ู ัดหาทนุ เอง

รวมรายรับทั้งหมด

รายจาํ ย การใชจ๎ ํายเงินกองทนุ ปี พ.ศ.2560 – 2562

ยอดเงนิ คงเหลือ

12. ผลการดาเนนิ งานรณรงค์และขับเคลอื่ นโครงการหมบู่ ้านรกั ษาศลี ๕
วัดพระธาตุขงิ แกง ต.พระธาตุขงิ แกง อ.จุน จ.พะเยา

ก.3 กจิ กรรม

ชุมชนของเราได๎ยึด 3 ยุทธศาสตร์หลักของโครงการหมํูบ๎านรักษาศีล ๕ เป็นกลไกในการจัด
กิจกรรมการรณรงค์และขับเคลื่อนโครงการหมํบู า๎ นรกั ษาศลี ๕ ในชมุ ชน ภายใตว๎ ิสัยทศั น์

“ มศี ีล มสี ุข ปรองดอง สมานฉนั ท์ สามัคคี สันตสิ ุข ปลอดยาเสพตดิ
เพอื่ ประโยชนส์ ุข แหง่ ประชาชน เพอื่ สนั ตสิ ขุ แหง่ ประเทศชาติ ”

บา๎ นธาตุขิงแกงบน หมูทํ ี่ ๕ รํวมกบั วัดพระธาตุขงิ แกง ตาบลพระธาตุขิงแกง อาเภอจุน จังหวัด
พะเยา จัดกิจกรรมตามความสนใจ ความถนัด และความต๎องการของสมาชิกสอดคล๎องกับวิถีชีวิตและ
บรบิ ทของชมุ ชน ตลอดจนความเหมาะสมกับวัยของสมาชิกในชุมชนแตํละกลํุม เพื่อให๎สมาชิกในชุมชน
ทกุ คนได๎ทากิจกรรมตามความสนใจของตนเองอยํางมีความสุขและพัฒนาทักษะด๎านตํางๆให๎เป็นชุมชน
ทเี่ กงํ และดี มีคุณธรรม ภายใต๎แนวคิด เด็กดี คิดดี ทาดี ชุมชนดี และทาโดยชุมชนเพื่อกํอผลกับชุมชน
ตามหลักยทุ ธศาสตรข์ องโครงการ ดงั น้ี

ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๑ การรณรงคป์ ลกุ จิตสานกึ และสรา้ งกระแสนยิ มทีเ่ อื้อตอ่ การรักษาศีล ๕
๑.๑ การรับสมคั รสมาชกิ เข๎ารํวมโครงการหมูํบา๎ นรกั ษาศลี ๕ โดยการประชาสัมพันธ์โครงการ

ในชุมชนผํานการประกาศเสียงตามสายและในสื่ออินเตอร์เน็ต www.facebook.com//วัดพระธาตุขิง
แกง อาเภอจนุ โดยการรับสมัครสมาชิกเข๎ารํวมโครงการ มกี ารบันทกึ ขอ๎ มลู ดงั น้ี

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 15

1.ใหก๎ รอกใบสมัครเข๎ารํวมโครงการหมูํบา๎ นรักษาศลี ๕
2.นาข๎อมลู ในใบสมัครกรอกลงทางเวบ็ ไซต์ www.sila5.com

๑.๒ กิจกรรมรณรงค์รกั ษาศีล ๕ ในงานทาบญุ ตํางๆ เพอ่ื การประชาสมั พนั ธ์กจิ กรรมของ
โครงการ และเพ่ือรณรงคใ์ หป๎ ระชาชนรกั ษาศีล ๕

๑.๓ การรณรงคป์ ระชาสัมพันธ์ผํานสอ่ื ตาํ งๆเชํนwww.facebook.com/วดั พระธาตุขงิ แกง
อาเภอจนุ เพื่อประชาสมั พนั ธ์การจดั กิจกรรมของชุมชน วดั โรงเรยี น และ รพ.สต.ปัจจบุ ันมสี มาชิกถึง
๒,๑๐๓ คน และwww.youtube.com//วดั พระธาตขุ งิ แกง

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 16

๑.๔ กจิ กรรมมหกรรมรวมพลคนรักษาศลี ๕ หัวใจคุณธรรม ตาบลพระธาตุขิงแกง เพื่อรณรงค์
ให๎ประชาชนเข๎าใจในการรักษาศีล ๕ มากขึ้น อีกทั้งเพื่อให๎คนในชุมชนรวมตัวทากิจกรรมสร๎างสรรค์
สร๎างสขุ นาภมู ิปญั ญาพ้ืนบ๎าน สินค๎าในชุมชนออกจาหนํายและสาธิต สร๎างรายได๎ให๎กับครอบครัวและ
ชุมชน เพื่อให๎ประชาชนมีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู๎ สามารถถํายทอดประสบการณ์ใน การดาเนินงาน
หมูํบ๎านรักษาศีล ๕ ระหวํางชุมชน โรงเรียน วัด และ รพ.สต. และเพื่อสร๎างกระแสในการรณรงค์ให๎
ประชาชนรกั ษาศีล ๕ และอยํูในศลี ธรรม

๑.๕ โครงการจดั นทิ รรศการ คนรักษาศีล ๕ หนา๎ ตาดี สัญจร เพอ่ื ประชาสมั พนั ธ์การจัด
กจิ กรรมโครงการหมํูบา๎ นรักษาศลี ๕ ของชุมชน วัด โรงเรยี น รพ.สต. เพือ่ รับสมคั รสมาชกิ เพมิ่

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 17

๑.๖ โครงการ ปลกู สมุนไพรพ้ืนบ๎านเพ่อื การอนรุ กั ษ์ “คนรกั ษาศีล ๕ สวยใส ดว๎ ยสมุนไพร
ไทย”เพอ่ื ให๎ประชาชนในชุมชนหาํ งไกลอบายมุข

๑.๗ จัดงานมหกรรมรวมพล TO BE NUMBER ONE ROAD SHOW PROJECT ลงนาม
ข๎อตกลงในการดาเนนิ โครงการ TO BE NUMBER ONE เพ่ือการแก๎ไขปญั หายาเสพตดิ และการท๎องกํอน
วยั อนั ควรในชุมชน (กิจกรรมในการรณรงคร์ กั ษาศีลข๎อท่ี ๓ และข๎อที่ ๕) โดยมีทํานผู๎วําราชการจังหวัด
พะเยา เปน็ ประธานในพิธี

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๒ การเสริมสรา้ งภมู ิคมุ้ กนั ทางจิตใจให้แก่ประชาชน และเยาวชนในหมบู่ า้ น
๒.๑ การจัดคํายพัฒนาศักยภาพเดก็ และเยาวชน ในการขับเคล่ือนและรณรงค์หมูํบ๎านรักษาศีล

๕ คร้งั ท่ี ๑ เพื่อจัดคาํ ยพฒั นาความรู๎ ทักษะการดารงชวี ติ ในสังคมใหแ๎ กํเยาวชน เพ่อื เสรมิ สร๎างภูมิค๎ุมกัน
ทางจิตใจให๎แกเํ ยาวชน และเพื่อสร๎างเยาวชนให๎เป็นแกนนาในการขับเคลื่อนและรณรงค์หมํูบ๎านรักษา
ศลี ๕ ในอาเภอจนุ

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 18

๒.๒ จัดกจิ กรรมคาํ ยล๎มแลว๎ ลกุ คร้งั ท่ี ๑ – 12 เพอื่ บาบัดและสร๎างกาลงั ใจใหก๎ ับเยาวชนและ
ประชาชนท่ีตดิ ยาพรอ๎ มที่จะเลิก เขา๎ สํโู ครงการ “ใครตดิ ยายกมือขน้ึ ”

๒.๓ โครงการพัฒนาคณะทมี งานขับเคลอื่ นและรณรงค์หมํบู ๎านรักษาศีล ๕ เพื่อพัฒนาบุคลากร
ในศาสนาให๎มคี วามรู๎ ความเข๎าใจในปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการเป็นหมูํบ๎านรักษาศีล 5 ให๎
เป็นทีมงานท่มี ีศกั ยภาพ และเพอ่ื ใหบ๎ คุ ลากรในศาสนสถานมอี ุดมการณ์ ยึดมั่นในปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี งและการยกระดับให๎เปน็ หมํบู า๎ นรักษาศลี 5

๒.๔ โครงการ “เยาวชนต๎นกลา๎ ความดี วถิ พี อเพียง” เพื่ อ สํง เสริ มให๎สมาชิก เป็น ผ๎ูท่ีมีจิต
สาธารณะและมีคุณลักษณะตามคํานิยม 12 ประการ โดยการออกให๎บริการประชาชน เพื่อปลูกฝัง
คณุ ธรรมแกํเด็กเยาวชนตามหลักธรรม สังคหะวัตถุ 4 และสามารถนาไปใช๎กับครอบครัว และเพื่อเช่ือม
ความสัมพันธ์ระหวาํ งวยั เตมิ กาลังใจใหก๎ นั และกนั ในชมุ ชน

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 19

๒.๕ โครงการ รวมพลคนตํางวยั ใฝุใจการเรยี นรสู๎ ํูการอนรุ กั ษ์ มี ๖ กจิ กรรม ดังน้ี

๑. กิจกรรมเรียนรู๎ถิน่ เกิด ๒. กิจกรรมอุ๎ยสอนหลานสืบสานงานศลิ ป์

๓. กจิ กรรมสร๎างสมาธิ,ปัญญาด๎วยดนตรีพ้ืนเมอื ง ๔. กิจกรรมเรยี นรง๎ู าน จกั สาน สบื สานให๎คงอยูํ

๕. กจิ กรรมชน่ื ชมอาหารขนมพ้นื บ๎าน ๖. กจิ กรรมรวํ มใจในการบาเพ็ญประโยชน์ในชมุ ชน

- เพือ่ สร๎างความสัมพันธ์ระหวาํ งคนในชุมชน

- เพอ่ื เรยี นรวู๎ ถิ ชี ีวิตชุมชนในดา๎ นตํางๆ

- เพือ่ ใช๎เวลาวํางให๎เกิดประโยชนไ์ มํไปยํุงเกยี่ วกบั อบายมขุ

- เพอ่ื ใหป๎ ระชาชนทกุ เพททุกวยั ได๎ทากิจกรรมรวํ มกัน

- เพ่ือสรา๎ งพลังแหํงความสามคั คี สร๎างสรรคค์ วามดีให๎เกดิ ข้นึ ในชมุ ชน

- เพื่อรวํ มกนั บาเพญ็ ประโยชน์ โดยการพัฒนาทาความสะอาดภายในชุมชนใหเ๎ ปน็ ชุมชนนําอยูํ

- เพ่อื สงํ เสรมิ อาชีพ สร๎างรายไดใ๎ ห๎กับครอบครวั และชุมชนในรูปแบบผลติ ภัณฑ์ OTOP

๒.6 โครงการ ๑ ช่วั โมงเปลีย่ นผืนดนิ เป็นผืนเงิน เพ่ือให๎คนในชุมชนพ่ึงพาตนเองได๎ มีกิจกรรม
ลดรายจํายและเพิ่มรายได๎ในครวั เรอื นจากภมู ิปญั ญาผลิตภัณฑ์ชมุ ชน สรา๎ งความสามัคคีในกลุํมสังคมดัง
ทว่ี ํา บา๎ น วัด โรงเรียน รพ.สต. ตอ๎ งเปน็ หนึ่งเดียวในการพัฒนาประเทศและสังคม เพ่ือเป็นการอนุรักษ์

การปลกู ข๎าวพระราชทานและเพ่ือการแจกจํายให๎กบั ประชาชนนาไปปลูกสร๎างรายไดใ๎ ห๎กบั ครอบครัว

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 20

๒.7 เปดิ วดั สอนธรรมศึกษาทุกวันอาทติ ย์ ใหก๎ บั เด็กเยาวชน และประชาชนทัว่ ไป รนํุ ที่ ๒๕
เพื่อสรา๎ งภมู คิ ุ๎มกนั ทางจติ ใจให๎แกเํ ด็กและเยาวชน และเพ่ือให๎เด็กเยาวชนและประชาชนในชุมชนเข๎าใจ
ในหลักธรรมทางพระพุทธศาสนามากขึน้

๒.8 ปดิ เทอมนี้ ลูกผู๎ชาย ของแมบํ วชภาคฤดูรอ๎ นทดแทนคุณ - เพื่อสร๎างภูมิค๎ุมกันทางจิตใจ
ให๎แกเํ ด็กเยาวชนและประชาชน ทาให๎ผ๎ูบวชสามารถนาหลักธรรมมาใช๎ในการดาเนินชีวิตและสามารถ
อธิบายให๎กบั เพอ่ื น บุคคลทั่วไป ใหเ๎ ขา๎ ใจหลกั ธรรมไดง๎ ําย เพอ่ื สืบทอดพระพุทธศาสนา และเพื่อทดแทน
คณุ บดิ ามารดา ครูอาจารย์

๒.9 โครงการทาบุญตักบาตร รักษาศีล ฟังธรรม กิจกรรมพิเศษ ในวันสาคัญทางศาสนา
วนั นักขตั ฤกษ์ และสถาบนั พระมหากษัตริย์ เพ่ือสํงเสริมให๎พุทธศาสนิกชนได๎ปฏิบัติตามหลัก ศีล สมาธิ
ปญั ญาอยาํ งครบถว๎ น เพือ่ แสดงออกถงึ ความจงรกั ภคั ดีตอํ สภาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษตั ริย์
และเพอ่ื ใหป๎ ระชาชนไดน๎ าหลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนาไปปรับใช๎ในชวี ติ ประจาวัน

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 21

๒.10 โครงการ ๑ หมํบู ๎าน ๑ ทนุ ๑ สืบทอดพระพทุ ธศาสนา เพ่ือสํงเสริมด๎านศกึ ษาสงเคราะห์
ให๎กับเยาวชนในหมํูบ๎าน และพระภิกษุ สามเณร ท่ีจะศึกษาเลําเรียนในระดับมัธยมศึกษา และ
อุดมศึกษา เพ่ือเป็นการสืบทอดพระพุทธศาสนา ตํอไป สืบเนื่องจากบัณฑิตคืนถ่ิน เพื่อนาคว ามร๎ูมา
พัฒนาชุมชน

๒.11 โครงการเผยแพรคํ วามร๎ูเกย่ี วกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งและเร่อื งศีล 5 เพือ่ ปลกุ
กระแสชุมชนใหเ๎ ข๎าใจและเข๎าถึงหลกั ความพอเพยี งและหลกั การรกั ษาศลี 5 ในการดาเนินชีวิต

ยทุ ธศาสตร์ที่ ๓ การสรา้ งและพัฒนาเครือขา่ ยหมบู่ ้านรกั ษาศีล ๕ และองค์กรรกั ษาศลี ๕
บ๎านธาตุขิงแกงบน หมทํู ี่ ๕ และวัดพระธาตุขิงแกง มีเปูาหมาย ท่ีจะสร๎างและพัฒนาเครือขําย

หมูํบ๎านรกั ษาศีล ๕ ต๎นแบบ ทง้ั อาเภอ ภายใน ๓ ปีและมกี ารสร๎างแผนประจาปีทชี่ ัดเจน
๓.๑ โครงการ “ห๎องสมุด พระพุทธศาสนา เพื่อน๎อง” สร๎างเครือขํายห๎องสมุดเพ่ือน๎องให๎กับ

โรงเรยี นทด่ี อ๎ ยโอกาสในถิ่นทุรกันดาร เพื่อสร๎างและพัฒนาเครือขําย และเพื่อสืบทอดพระพุทธศาสนา
ทางปญั ญา

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 22

๓.๒ จดั ทาคมูํ อื ความรค๎ู วามเข๎าใจแผนํ พบั ประชาสมั พนั ธ์ กิจกรรม โครงการ หมํูบ๎านรักษาศีล
๕ เพ่ือสรา๎ งและพฒั นาเครือขํายเพ่ือการขับเคลื่อนและรณรงค์หมํูบ๎านรักษาศีล ๕ เพ่ือเป็นแนวทางใน
การดาเนินงานตามโครงการ

๓.๓ รวํ มตอ๎ นรับคณะศึกษาดงู านการดาเนนิ งานองค์กรรกั ษาศลี ๕ จาก องค์การบริหารสวํ น
ตาบลแมํจัว๊ ะ อาเภอเดํนชยั จังหวดั แพรํ และทากิจกรรมนอ๎ งมา พีจ่ ดั ให๎ โดยการพาทากิจกรรมตํางๆ
ให๎รู๎จัก ๓ ก. ๓ ย. โครงการหมํบู า๎ นรักษาศีล ๕ ของวดั พระธาตขุ ิงแกง

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 23

๓.๔ เข๎ารํวมการประชุมแลกเปลี่ยนความร๎ู และนาเสนองาน ผลการดาเนินงาน ด๎านสุขภาพ
กายและสุขภาพจิตในชุมชน เร่ือง ปัญหายาเสพติดพาหะเริ่มต๎นของปัญหาการท๎องกํอนวัยอันควร
(กจิ กรรมรกั ษาศีลข๎อท่ี ๓ และขอ๎ ท่ี ๕) ณ โรงแรมเกทเวย์ อาเภอเมอื ง จงั หวดั พะเยา

13. ผลลพั ธค์ วามสาเร็จ
จากการจัดกิจกรรมให๎กบั คนในชมุ ชนมาอยํางตอํ เน่ืองไดส๎ ํงผลดังนี้
สมาชกิ ในชมุ ชน ไดเ๎ ขา๎ รํวมโครงการหมบํู ๎านรกั ษาศีล ๕ มากกวํา ๙5 % ของทกุ หลงั คาเรอื น

กวํา ๒๐๐ หลัง มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมท่ีดีท้ังในการกล๎าคิด กล๎าแสดงออก มีจิตอาสา ชํวยเหลือ
สังคม และมีความรบั ผดิ ชอบ ถงึ แมพ๎ นื้ ท่ีเรยี นร๎ู ทางพระพุทธศาสนาของวดั พระธาตุขิงแกง จะเป็นพื้นที่
ธรรมดา พืน้ ทที่ ากิจกรรมของสมาชิกในชุมชนบ๎านธาตุขิงแกงบน กลายมาเป็นพื้นท่ี ที่หลายหนํวยงาน
ท้ังภาครัฐและเอกชนเขา๎ มาศกึ ษาดูงานและแลกเปลย่ี นเรียนรก๎ู บั สมาชกิ ในชมุ ชน นบั วาํ เป็นส่ิงท่ีสมาชิก
ในชุมชนภาคภูมิใจท่ีสามารถเผยแพรํกิจกรรมโครงการหมูํบ๎านรักษาศีล ๕ ให๎แกํผู๎อื่นได๎นาไปใช๎
ประโยชนต์ ํอไป

ผลลัพธ์ความสาเรจ็

๑. ผลทีเ่ กดิ ขึ้นกับคณะกรรมการการดาเนินงานขบั เคลื่อนโครงการหมบํู า๎ นรักษาศีล ๕
- มีความสขุ ทกุ ครงั้ ทีท่ างาน ที่เหน็ ผูร๎ ับมีความสขุ มีรอยยม้ิ อิม่ บุญอิ่มใจทกุ คร้ังท่ี
ทางานให๎กับชุมชน
- กล๎าท่จี ะแสดงออก กล๎าท่ีจะคดิ โครงการ กจิ กรรมใหมๆํ ใหก๎ บั สังคม
- มีประสบการณ์ทางด๎านภาวะความเป็นผนู๎ าท่ีสงู ขึ้น
- มีความพยายาม อดทนอดกล้ัน และมีความรบั ผดิ ชอบมากขึน้
- รูจ๎ กั การแก๎ไขปญั หาด๎วยตนเอง โดยใช๎กระบวนการพัฒนาของชุมชนเป็นหลัก
- ทาใหร๎ ถู๎ งึ คุณคําของงาน สรา๎ งคุณคําของคน
- มคี วามภมู ใิ จในตนเอง และทาให๎ครอบครวั เกิดความภูมิใจดว๎ ย
- มีคนร๎จู กั มากขนึ้ และเป็นทนี่ ับหน๎าถอื ตาในแวดวงชมุ ชนพัฒนาต๎นแบบ
- ผใ๎ู หญํคอยใหก๎ าลงั ใจ คอยชน่ื ชม และคอยสนบั สนนุ คณะผ๎ทู างานตลอดเวลา
- ทาให๎คณะกรรมการดาเนนิ งานมคี วามร๎เู รื่อง หลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนาและ
เรอื่ ง ศีล ๕ มากขนึ้
- ทาใหเ๎ กิดขบวนการของความสามัคคีในหมคํู ณะมากขน้ึ

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 24

๒. ผลทเ่ี กดิ ขน้ึ กบั สมาชิกในชุมชนบา๎ นธาตุขิงแกงบน
- สมาชกิ ในชุมชน มีความรู๎ในการเสรมิ สร๎างอาชพี เพ่มิ รายได๎ ให๎กับตวั เองและ
ครอบครวั ไมไํ ปยํุงเกยี่ วกบั อบายมุข
- สมาชิกในชุมชนใชเ๎ วลาวาํ งใหเ๎ กดิ ประโยชน์ โดยทากิจกรรมที่สร๎างสรรค์
- มกี ลุํมคอยชํวยเหลือและใหก๎ าลังใจซ่ึงกนั และกัน
- เกดิ นวตั กรรมขน้ึ ในกลุํมสมาชกิ ชุมชน คือ มาตรการกลุํม กฎกตกิ ากลุมํ มีระบอบ
ประชาธิปไตยเกิดขน้ึ โดยธรรมชาติ มขี บวนการจัดการ และแกไ๎ ขปัญหาได๎
เหมาะสมกบั กลํุม มีการนาเอาภมู ิปญั ญาพน้ื บ๎านมาผสมผสานกับโครงการหมํบู ๎าน
รกั ษาศีล ๕ ไดอ๎ ยํางกลมกลนื การทากจิ กรรมโดยชุมชน เพอ่ื ชุมชน (คิดเอง
ทาเอง แก๎ไขปัญหาเองได)๎
- สมาชกิ ในชมุ ชนมีจติ อาสา ทีพ่ ร๎อมจะใหค๎ วามชํวยเหลือทุกด๎านให๎กบั คนรอบขา๎ ง
ได๎เสมอ
- สามารถนาความร๎แู ละประสบการณท์ ไี่ ด๎ไปใชใ๎ นชีวิตประจาวนั

๓. ผลทเ่ี กิดขึน้ ตํอสังคมและชุมชน
- ชมุ ชนเกิดความเขม็ แข็ง มคี วามสขุ เกิดการปรองดองสมานฉนั ท์ สรา๎ งสันติสุข
- ทาให๎ผท๎ู ีต่ ิดยาเสพติดในชุมชน ลดลง ณ ปัจจุบนั มคี าํ เทํากบั 0 (ศนู ย์)
- เกิดความสามัคคีของคนในชมุ ชนขนึ้ โดยมีทั้งองค์กรเยาวชน พํอบ๎าน แมบํ า๎ น
ผูส๎ ูงอายไุ ดท๎ ากจิ กรรมรํวมกนั อยํางสรา๎ งสรรค์
- สร๎างความอบอนํุ ในสถาบันครอบครวั และสถาบันชมุ ชนขึ้นทาใหค๎ นในชุมชน ไมํ
ติดอยใํู นอบายมขุ ทุกอยํางและไมยํ งํุ เกย่ี วกับยาเสพตดิ ภายใตห๎ มูํบ๎านรกั ษาศีล 5
- ประชาชนมจี ิตสานกึ และได๎แสดงออกถึงความรับผิดชอบ มีสวํ นรํวมในการ
สรา๎ งสรรคส์ ังคมถนิ่ กาเนิดของตนเอง ด๎วยการสร๎างความรักความสามัคคี ความ
เขา๎ ใจในการอยรํู วํ มกนั ในสงั คมอยาํ งมคี วามสุข เพื่อถวายเปน็ พระราชกุศลแดํ
พระบาทสมเดจ็ พระเจา๎ อยหูํ วั และสมเดจ็ พระนางเจ๎าฯ พระบรมราชินีนาถ
- ทกุ คนในชมุ ชน และสังคมมคี วามรกั ความเขา๎ ใจ เคารพในความคดิ เห็นของกัน
และกนั มีความเอ้ือเฟ้อื เป็นสงั คมเครอื ญาติและมคี วามปลอดภยั ในชีวิตและ
ทรัพย์สนิ
- คนในชมุ ชนเห็นคณุ คาํ และประโยชน์ในการนาหลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนา มา
ดาเนินชวี ิตอยํางมีความสขุ
- คนในชมุ ชนมคี วามตระหนกั รักปกปอู ง เชิดชูสถาบนั ชาติ ศาสนาพระมหากษตั ริย์
ซ่ึงจะสํงผลให๎ประเทศชาตมิ ีความมัน่ คงยั่งยืน

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 25

ความสาเร็จของการเข๎ารํวมโครงการหมูํบ๎านรักษาศีล ๕ ทาให๎ชุมชนเกิดการเปลี่ยนแปลง
มากมาย มชี วี ิตความเปน็ อยทํู ่ดี ีขน้ึ ชุมชนเกิดความเขม็ แขง็ มีความสขุ เกิดความสามัคคีของคนในชุมชน
ขนึ้ โดยมีท้ังองค์กรเยาวชน พํอบา๎ น แมํบา๎ น ผส๎ู งู อายไุ ด๎ทากจิ กรรมรวํ มกนั อยาํ งสร๎างสรรค์
สร๎างความอบอํุนในสถาบันครอบครัว และสถาบันชุมชนข้ึนทาให๎คนในชุมชน ไมํติดอยํูในอบายมุขทุก
อยํางและไมยํ ุงํ เก่ยี วกบั ยาเสพติดภายใต๎หมํูบ๎านรักษาศีล 5 ทุกคนในชุมชน และสังคมมีความรักความ
เข๎าใจ เคารพในความคิดเหน็ ของกนั และกัน มีความเออื้ เฟ้ือ เปน็ สังคมเครอื ญาตแิ ละมีความปลอดภัยใน
ชีวิตและทรัพย์สิน คนในชุมชนเห็นคุณคําและประโยชน์ในการนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา มา
ดาเนินชวี ติ อยํางมีความสขุ

จงึ กํอให๎เกิดโครงการแหํงความสาเร็จเกิดข้ึน น้ันก็คือ โครงการ “ครอบครัวนี้รักษาศีล ๕ ท้ัง
ครอบครัว ” และโครงการ “ครอบครัวต้นแบบปลอดเหล้า” ปัจจุบัน ครอบครัวท่ีได๎รับรางวัลใน
โครงการ “ครอบครวั นีร้ ักษาศีล ๕ ท้ังครอบครัว ” มีจานวนทั้งหมด ๑๓๐ ครอบครัว และครอบครัวท่ี
ได๎รับรางวลั ในโครงการ “ครอบครวั ตน๎ แบบปลอดเหลา๎ ” มีจานวนท้งั หมด ๑๒๓ ครอบครวั

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 26

และกํอเกดิ บุคคลต๎นแบบในการรักษาศีล ๕ ปลอดเหล๎า บหุ รี่ และอบายมุข ทเ่ี ปน็ ผลลพั ธ์
ความสาเร็จในการเข๎ารวํ มโครงการหมํบู ๎านรักษาศีล ๕

ช่อื นางแพน แกนํ เมือง ช่ือเลํน ออ๎ ย

อายุ 53 ปี

วันเกิด วนั พุธ ที่ 15 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ.2511

ท่ีอยํู บา๎ นเลขท่ี 49 หมทํู ี่ 5 ตาบลพระธาตุขงิ แกง

อาเภอจนุ จงั หวัดพะเยา ๕๖๑๕๐

อาชีพ รับจา๎ งทวั่ ไป

บิดา นายฟอง ทองเอก ปจั จบุ ันเสยี ชวี ิตแล๎ว

มารดา นางล๎วน ทองเอก ปจั จุบันเสยี ชีวติ แล๎ว

สามีช่ือ นายสุรศักดิ์ แกนํ เมือง มีบุตรรํวมกัน ๒ คน

ความประทับใจในการเขา้ รว่ มโครงการหมู่บ้านรักษาศีล ๕

ดิฉันดมื่ สุรามายี่สบิ กวําปีแลว๎ คะํ เรียกวําลูกคา๎ ประจาเลยก็วําได๎ ดิฉันสามารถดื่มสุราสามคร้ังหลัง
อาหารทุกๆวัน จนมันกลายเป็นกิจวัตรประจาวันไปแล๎ว แม๎วําสามีและลูกจะห๎ามยังไงฉันก็ไมํสนใจ
หรอกคะํ ยงิ่ เวลาเมามาทีไรชอบทะเลาะกบั สามีบํอยๆ จนสามที นไมํไหวชอบหนอี อกจากบ๎านบํอยๆ เป็น
ประจาแทบทุกวัน อยูํมาวนั หนงึ่ ได๎มีใบสมัครเข๎ารํวมโครงการหมํูบ๎านรักษาศีล 5 ดิฉันได๎มีโอกาสได๎เข๎า
รบั การอบรมเก่ียวกับเรื่องศีล 5 เร่ืองการผิดศีล และโทษของการผิดศีล ทาให๎ดิฉันทราบวําหากเราผิด
ศีลขอ๎ ท่ี 5 แล๎ว ศีลข๎ออน่ื ๆกส็ ามารถท่ีจะขาดได๎เนื่องจากอาการเมา ขาดสติ สร๎างความประมาทได๎ทุก
เม่ือ จากการเข๎ารํวมโครงการหมบูํ ๎านรกั ษาศีล 5 ทาใหด๎ ิฉันมีกาลังใจ อยากที่จะลองเลิกเหล๎า จนบางที
คนรอบขา๎ งพากันมองวาํ ดฉิ ันไมํสามารถทาไดแ๎ นๆํ แตหํ ลังจากท่ีได๎เขา๎ รํวมโครงการ ทาใหด๎ ิฉนั สามมารถ
ลดปริมารการดื่มสุราลงได๎เรื่อยๆ จนปัจจุบันดิฉันสามารถเลิกดื่มสุราได๎แล๎วคํะ ตอนนี้ ครอบครัวของ
ดิฉันมีความสขุ มากๆ

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 27

2. โครงการปฏบิ ตั ิธรรมสปั ดาห์สง่ เสริมพระพทุ ธศาสนาเนอ่ื งในวนั วิสาขบูชา
“พระพทุ ธศาสนา ธรรมะกบั ธรรมชาติ ”

๑. ชอ่ื โครงการ ปฏบิ ัตธิ รรมสปั ดาห์สํงเสริมพระพุทธศาสนาเนื่องในวนั วสิ าขบชู า
“ พระพทุ ธศาสนา ธรรมะกบั ธรรมชาติ ”

๒. ผูร้ บั ผิดชอบโครงการ พระครูนปิ ุณพัฒนกจิ (เจ๎าอาวาสวัดพระธาตุขิงแกง)
พระสัตยา สจจฺ าภิจินฺโณ (ท่ีปรึกษาชมรม TO BE NUMBER ONE)

๓. หน่วยงาน วัดพระธาตุขงิ แกง ตาบลพระธาตขุ ิงแกง อาเภอจุน จังหวดั พะเยา
สานกั งานพระพุทธศาสนาจังหวัดพะเยา
เขตรักษาพันธสุ์ ัตวป์ ุาเวียงลอ อาเภอจนุ จังหวดั พะเยา

๔. แผนงาน กลุํมงานเลขานุการวดั พระธาตขุ ิงแกง
ฝาุ ยกจิ กรรม ชมรม TO BE NUMBER ONE วดั พระธาตุขงิ แกง

๕. หลักการและเหตุผล
ในสภาวะปัจจบุ ัน โลกอยูํในยุคทม่ี ีการเปล่ียนแปลงและการแขํงขันกันอยํางสูง ซ่ึงนับวันจะทวี

ความรุนแรงมากยิ่งขึ้นเร่ือย ๆ มีการเปลี่ยนแปลงของสภาพสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และส่ือ

เทคโนโลยีตาํ งๆ อยตูํ ลอดเวลา และในฐานะที่ประเทศไทยเป็นสํวนหนึ่งของประชาคมโลก จึงหลีกเล่ียง
ไมไํ ดท๎ ่จี ะได๎รบั ผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงและการแขํงขันอยํางรุนแรงนี้ การเปลี่ยนแปลงคํานิยม

และวิถชี วี ติ ของคนไปสูํสังคมบรโิ ภคนิยม ซึ่งเน๎นการแขํงขันด๎านวัตถุและฐานะทางเศรษฐกิจ ทาให๎เด็ก
และเยาวชน ขาดภูมิคุ๎มกันกํอให๎เกิดปัญหาท่ีเกี่ยวกับเด็กและเยาวชนอีกมากมาย ทาให๎เกิดปัญหา
สังคมท่ีสงํ ผลสะท๎อนตอํ เยาวชน เชํน ปญั หายาเสพติด อาชญากรรมตํางๆ การต้ังครรภ์กํอนวัยอันควร

ความยากจน เด็กเรํรอํ น การใชแ๎ รงงานเดก็ ฯลฯ
การเปล่ยี นแปลงในโลกท่เี กิดขนึ้ อยํางรวดเรว็ ทาให๎เยาวชน นิสิต นักศึกษาหลงเพลิดเพลินใน

กระแสคาํ นิยมโลกตะวันตก ละท้งิ คาส่งั สอนในพระพุทธศาสนา เห็นวําเปน็ ส่ิงงมงาย ไรส๎ าระ ลา๎ สมัย จึง
ดาเนินชีวิตโดยขาดหลักธรรมยดึ เหนยี่ วจิตใจ ท่จี ะทาให๎ชีวิตมีความมั่งคงและสามารถแก๎ไขปัญหาตํางๆ
ในชีวิตทเี่ กิดขึน้ ได๎ จึงมีแนวโน๎มในการดาเนินชีวิตท่ีผิด กํอให๎เกิดความเครียดจนอาจจะแก๎ปัญหาด๎วย

การฆําตัวตาย หรอื แก๎ปญั หาดว๎ ยการพึ่งพายาเสพตดิ
เดก็ และเยาวชน คือ พลังสาคญั ในการพฒั นาประเทศชาติในอนาคต เป็นอนาคตของชาติ เป็น

กลํุมคนท่ีมพี ลังอนั สาคญั ที่สามารถชวํ ยกันเสริมสร๎างกิจกรรมทีเ่ ป็นประโยชน์ตํอการพัฒนาประเทศชาติ
ในอนาคต เด็กและเยาวชนเป็นวัยที่มีความคิดสร๎างสรรค์ มีพลังและศักยภาพมาก การกระต๎ุนให๎เด็ก
และเยาวชน กลา๎ คิด กลา๎ ทา กล๎าแสดงออกในสง่ิ ที่ดพี ัฒนาศักยภาพและพลัง ในเชิงสร๎างสรรค์ สร๎างให๎

พวกเขาตระหนักถึงคุณคําของตนเองพร๎อมมีภูมิคุ๎มกัน รู๎เทําทันการเปล่ียนแปลง ไมํตกเป็นเหยื่อหรือ
สร๎างปัญหาให๎กับสังคม แตํกลับจะเป็น ผู๎พร๎อมท่ีจะพัฒนาตนเองให๎เป็นทรัพยากรอันทรงคุณคํา เป็น

พลังขับเคล่ือนการพัฒนาประเทศชาติ เพ่ือความเจริญก๎าวหน๎าและมั่งคงของชาติ เยาวชนจึงต๎องมี
ความรแ๎ู ละศีลธรรมควบคกํู นั ไป เพ่ือให๎เยาวชนมีจรยิ ธรรม มีศีลธรรม และมีคํานิยมในการดาเนินชีวิตที่
เหมาะสม

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 28

โครงการปฏิบัติธรรมสัปดาห์สํงเสริมพระพุทธศาสนาเนื่องในวันวิสาขบูชา “พระพุทธศาสนา
ธรรมะกับธรรมชาติ” เป็นโครงการที่ชํวยพัฒนาเยาวชน โดยการพัฒนาจิตและปลูกฝังจริยธรรม
คุณธรรม และศลี ธรรม ตามหลักพทุ ธศาสนาอันเป็นแนวทางการประพฤติตนท่ีดี ให๎มีทักษะใน การ
ดาเนินชีวิต “เกํง ดี และมีความสุข” เพ่ือให๎เด็กและเยาวชนท่ี นาธรรมะ นาหลักคาสอนที่ได๎รับไป
ประยุกต์ใช๎ในชีวิตประจาวัน คือ การพัฒนากาย โดยการแสดงออกทางกิริยามารยาทชาวพุทธ มี
พฤตกิ รรมทีด่ งี ามเหมาะสม การพฒั นาศลี โดยการอยูํรํวมกับครอบครัวและบุคคลในสังคม ด๎วยความ
เก้ือกูลและประกอบอาชีพที่สุจริต การพัฒนาจิต ให๎เป็นจิตท่ีสมบูรณ์ทั้งคุณภาพจิต พลังจิตและ
สุขภาพจิต และสุดท๎าย การพฒั นาปัญญา ให๎เกดิ ปญั ญาในการรู๎จริง รู๎เทําทันทางเจริญทางเส่ือมปัจจัย
ทเ่ี กย่ี วขอ๎ ง รู๎วธิ ีการปูองกัน ร๎ูวิธีแก๎ไขปัญหา สร๎างภูมิต๎านทานให๎กับตนเองด๎วยคุณธรรม ให๎เป็นผ๎ูมี
ชีวิตอยํอู ยํางร๎ูเทําทันโลก นาพาชีวิตสูํความสาเร็จ เพ่ือเก้ือกูลแกํตนเองและประเทศชาติในท่ีสุด ท้ังนี้
ทางชมรม TO BE NUMBER ONE วดั พระธาตขุ งิ แกง ยังไดจ๎ ดั กจิ กรรม บวชปุา เพื่อเป็นการอนุรักษ์ปุา
ตะเคยี นงามไวใ๎ ห๎คนรนุํ หลงั ได๎สืบทอด และเหน็ ความงามของธรรมะ กับธรรมชาติไปพรอ๎ มกัน เม่อื นามา
ผนวกกนั จงึ เกิดกจิ กรรม“พระพทุ ธศาสนา ธรรมะกับธรรมชาติ”

๖. วัตถปุ ระสงค์
๖.๑ เพอ่ื สร๎างภมู ิค๎ุมกันและปลกู จิตสานึก แกํเยาวชน
๖.๒ เพอื่ เปน็ การปลกู ฝังคุณธรรม จริยธรรม และการเอ้อื อาทรตอํ ผอ๎ู น่ื สามารถนาหลักธรรมไป
ใช๎ในการดาเนนิ ชีวิตไดอ๎ ยาํ งเหมาะสม
๖.๓ เพอ่ื ให๎เยาวชน มจี ติ ใจทีส่ งบ สํงผลใหส๎ ุขภาพจิตดี และสุขภาพกายแข็งแรง
๖.๔ เพ่ือใหเ๎ ยาวชนตระหนกั ถึงสภาพแวดล๎อมที่ถูกทาลาย อันเปน็ ปญั หาของสภาวะโลกร๎อนใน
ปจั จุบนั
๖.๕ เพือ่ ให๎เยาวชนไดเ๎ รยี นร๎ถู งึ คณุ คาํ ของการอนุรกั ษ์ธรรมชาตปิ าุ ตะเคียนงาม
๖.๖ เพื่อเปิดโลกการเรียนรธ๎ู รรมชาติของอาเภอจุน ทเ่ี ยาวชนแทบไมมํ โี อกาส หรอื มีโอกาส
นอ๎ ยทจ่ี ะไดส๎ มั ผัสกับปาุ ตะเคียนงาม

๗. กลุ่มเปา้ หมายโครงการ
๗.๑ ประชาชนท่ัวไป
๗.๒ กลมุํ เยาวชนทม่ี ีชํวงอายรุ ะหวําง 8 - 15 ปี จานวน 100 คน

๘. ผลท่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ
๘.๑ เยาวชนสามารถนาหลักธรรมตาํ งๆ ที่อบรมไปใชใ๎ นชีวติ ประจาวันไดอ๎ ยาํ งดี
๘.๒ เยาวชนตระหนกั ถงึ พระคณุ ของผ๎ูดแู ล พีเ่ ลยี้ ง ผูป๎ กครอง
๘.๓ เยาวชนสามารถควบคุมสติ อารมณไ์ ด๎อยํางถูกต๎องและเขา๎ ใจ
๘.๔ เยาวชนได๎เรยี นรู๎ถึงประโยชนแ์ ละเหน็ คณุ คาํ ของปาุ ตะเคียนงาม
๘.๕ เยาวชนได๎เปดิ โลกทัศนใ์ หมํ และสมั ผัสประสบการณ์ในปุาตะเคยี นงาม เพ่อื ผอํ นคลาย
ความกงั วลในชีวิต

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 29

๙. ตวั ชวี้ ัดโครงการ
๙.๑ เยาวชนทีเ่ ข๎ารวํ มโครงการมสี ุขภาพจติ ท่ีดี แจมํ ใส มองโลกในแงํดี มจี ติ สานกึ แหํง
หลักธรรมคาสอนของพทุ ธศาสนา และสามารถนาไปปรับใชใ๎ นชีวิตประจาวนั ได๎
๙.๒ เยาวชนในกลุํมวัยรุํนชมรม TO BE NUMBER ONE วดั พระธาตขุ งิ แกง เลง็ เห็นถงึ
ประโยชน์ของตนเอง ไมํทอ๎ แทส๎ นิ้ หวงั เขา๎ ใจถึงเหตแุ ละผลของการกระทา
๙.๓ เยาวชนเขา๎ ใจถงึ วัตถุประสงคข์ องการอนุรกั ษป์ าุ ตะเคียนงาม และปญั หาโลกรอ๎ น

๑๐. รปู แบบการดาเนนิ กจิ กรรม
การดาเนินโครงการปฏิบัติธรรมสัปดาห์สํงเสริมพระพุทธศาสนาเน่ืองในวันวิสาขบูชา

“พระพุทธศาสนา ธรรมะกบั ธรรมชาติ” เพื่อใหส๎ อดคลอ๎ งกบั วตั ถุประสงคโ์ ครงการ คือ
๑๐.1 คัดเลือกกลํุมเยาวชนในชมรม TO BE NUMBER ONE จากพ้ืนท่ีโดยรอบของอาเภอจุน

และอาเภอดอกคาใต๎
๑๐.2 ประชาชน//กลํุมเยาวชนอายุระหวําง 8 - 15 ปี จานวน 100 คน
๑๐.3 เดินทางจากพ้ืนท่ีอาศัย มายัง คํายเยาวชน“พระพุทธศาสนา ธรรมะกับธรรมชาติ”

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาบุคลากร ชมรม TO BE NUMBER ONE วัดพระธาตุขิงแกง เพื่อเข๎าคําย
ในการอบรมคุณธรรมจริยธรรม และการอนุรักษธ์ รรมชาติ โดยมีรูปแบบและกิจกรรมดงั ตอํ ไปนี้

กจิ กรรมอบรมธรรมะ
วิทยากร : พระสัตยา สจจฺ าภิจินฺโณ / เลขานกุ ารรองเจา๎ คณะอาเภอจนุ
นายหสั พงศ์ งานดี / รองผ๎อู านวยการโรงเรียนบา๎ นธาตุขงิ แกง
นางสาวธัญญารัตน์ อินอร / ฝุายกิจกรรม TO BE NUMBER ONE นางสาว
สวรนิ ทร์ สหุ ล๎า / ฝาุ ยกจิ กรรม TO BE NUMBER ONE
นายภูริวฒั น์ คาหล๎า / ฝุายกิจกรรม TO BE NUMBER ONE
นายวรภพ ใจมา / มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชียงราย
นายนรนิ ทร์ ใจบญุ / สถาบนั การจดั การปัญญาภวิ ฒั น์ จังหวดั นนทบรุ ี
กิจกรรมท่ี 1 เดนิ จงกรม นงั่ สมาธิ
- กิจกรรมฝกึ ทาสมาธิ ด๎วยการน่ังสมาธิ และการเดนิ สมาธิ
กจิ กรรมที่ 2 โยคะกบั การกาหนดสติ โดยสถาบนั โยคะวชิ าการ
- กจิ กรรมฝึกการทาสมาธิ และบริหารกายดว๎ ยวิธโี ยคะ
กิจกรรมท่ี 3 ฟังนทิ านธรรม
- กิจกรรมเรยี นร๎ูหลกั ธรรมคาสอนของพระพทุ ธเจ๎า ในรูปแบบนทิ านชาดก
และนทิ านธรรมะ
กิจกรรมที่ 4 เกมกบั สติ
- กิจกรรมสนั ทนาการธรรมะ ในรปู แบบของเกม เพอ่ื สร๎างความผอํ นคลายใน
การเรียนร๎ู หลกั ธรรมตาํ งๆ
กจิ กรรมท่ี 5 โลกดนตรี
- กิจกรรมสนั ทนาการธรรมะ ในรปู แบบดนตรีท่ี โดยให๎เยาวชนได๎มเี รียนร๎ู
หลักธรรมะในรูปแบบเสยี งเพลง

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 30

กิจกรรมที่ ๖ ฟงั ธรรมและ ตอบปัญหาธรรม
- กิจกรรมการเรียนรู๎ธรรมะ และสรุปบทเรียน ท่ีสามารถนาไปประยุกต์ใช๎กับ
ชวี ิตประจาวันได๎เป็นอยาํ งดี

กจิ กรรมทางอนรุ ักษ์ธรรมชาติ
วทิ ยากร : นายกฤตภาส ขันทะธงสกลุ ดี / หวั หน๎าเขตรักษาพันธสุ์ ตั ว์ปุาเวยี งลอ

เจา๎ หนา๎ ที่เขตรักษาพนั ธุ์สัตว์ปาุ เวยี งลอ
กิจกรรมท่ี 1 โลกของป่าตะเคยี นงาม”

- เปน็ กจิ กรรมแนะนา และทาความร๎ูจักกับ ศูนย์ศึกษาและอนุรักษป์ ุาตะเคียนงามและ

เดนิ สารวจ ทากิจกรรมบวชปาุ ในพ้นื ท่ที างเดินศึกษาธรรมชาติ ปาุ ตะเคยี นงาม
กิจกรรมท่ี 2 โลกร้อน ทาอย่างไร

- ฐานการเรียนร๎ู และเข๎าใจถงึ ปัญหาสภาวะโลกรอ๎ น แนวทางในการแกป๎ ญั หา
กจิ กรรมท่ี 3 พาน้องทอ่ งภูเขา

- กิจกรรมสันทนาการ เพ่ือการผํอนคลายความเครียด จากสภาพแวดล๎อมที่กดดัน

เนอื่ งจากเป็นผ๎รู บั ผลกระทบจาก การเรยี นที่หนกั

๑๑. ระยะเวลาดาเนินการ
ชวํ งสัปดาหส์ ํงเสรมิ พระพทุ ธศาสนาเน่อื งในวันวสิ าขบูชา ของทกุ ปี

๑๒. สถานทด่ี าเนนิ การ
๑๒.๑ ศาลาปฏิบตั ิธรรมประจาวดั พระธาตุขิงแกง อาเภอจุน จังหวัดพะเยา

๑๒.๒ เขตรกั ษาพันธุส์ ัตว์ปาุ เวยี งลอ
๑๒.๓ ศูนยศ์ ึกษาและอนุรักษ์ปุาตะเคยี นงาม

๑๓. งบประมาณ 5,๐๐๐ บาท
๑๓.๑ การบริจาคจากประชาชนท่ัวไปและผมู๎ จี ิตศรัทธา
๕,๐๐๐ บาท
๑๓.๒ กองทุน ชมรม TO BE NUMBER ONE วัดพระธาตุขงิ แกง ๑๐,๐๐๐ บาท
๑๓.๓ สานกั งานพระพุทธศาสนาจงั หวดั พะเยา 20,๐๐๐ บาท

รวมทั้งหมด

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 31

14. สรปุ ผล และข้อเสนอแนะการจดั โครงการปฏบิ ตั ธิ รรมสัปดาหส์ ง่ เสริมพระพุทธศาสนาเน่อื งใน
วนั วสิ าขบูชา “พระพทุ ธศาสนา ธรรมะ กบั ธรรมชาติ” ประจาปี 2562
ณ วัดพระธาตขุ ิงแกง ตาบลพระธาตขุ ิงแกง อาเภอจนุ จังหวัดพะเยา

ก า ร ท า โ ค ร ง ก า ร ป ฏิ บั ติ ธ ร ร ม สั ป ด า ห์ สํ ง เ ส ริ ม พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า เ น่ื อ ง ใ น วั น วิ ส า ข บู ช า
“พระพทุ ธศาสนา ธรรมะ กับธรรมชาติ” ประจาปี 2562 ในครงั้ น้ี มีวัตถปุ ระสงคห์ ลัก ๖ ประการ

๑. เพื่อสร๎างภมู คิ ุ๎มกนั และปลกู จติ สานกึ แกเํ ยาวชน
๒. เพื่อเป็นการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม และการเอ้ืออาทรตํอผ๎ูอื่น สามารถนา
หลกั ธรรมไปใชใ๎ นการดาเนินชวี ติ ได๎อยาํ งเหมาะสม
๓. เพอ่ื ให๎เยาวชน มีจติ ใจที่สงบ สงํ ผลใหส๎ ุขภาพจติ ดี และสุขภาพกายแขง็ แรง
๔. เพ่ือใหเ๎ ยาวชนตระหนกั ถึงสภาพแวดลอ๎ มทถ่ี กู ทาลาย อันเป็นปัญหาของสภาวะโลก
ร๎อนในปจั จุบัน
๕. เพอ่ื ใหเ๎ ยาวชนได๎เรยี นร๎ูถึงคณุ คําของการอนรุ ักษธ์ รรมชาติปุาตะเคยี นงาม
๖. เพื่อเปิดโลกการเรียนร๎ูธรรมชาติของอาเภอจุน ท่ีเยาวชนแทบไมํมีโอกาส หรือมี
โอกาสน๎อยท่จี ะได๎สัมผัสกับปาุ ตะเคียนงาม

กลุํมเปูาหมาย ได๎แกํ เยาวชนและประชาชนในเขตตาบลพระธาตุขิงแกง เครื่องมือท่ีใช๎ใน
การวัดและประเมินในครั้งน้ีมี ๑ ประเภท คือ แบบสอบถามความคิดเห็นของผู๎รํวมกิจกรรมที่มีตํอ
โครงการ ผู๎สรุปผล นาข๎อมูลที่ได๎มาวิเคราะห์โดยหาคําเฉลี่ยและสํวนเบ่ียงเบนมาตรฐานโด ยการใช๎
โปรแกรมคอมพวิ เตอร์สาเรจ็ รปู SPSS for Windows

14.1 สรปุ ผลโครงการ

๑. ผูร๎ ับการอบรมได๎ประโยชนจ์ ากการอบรม ในระดบั ที่ มากที่สดุ
๒. ผรู๎ ํวมกจิ กรรมมคี วามต๎องการใหม๎ ีกิจกรรมตอํ ไป ในระดับที่ มากที่สดุ
๓. ผู๎รับการอบรมมีความตอ๎ งการจะนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาไปใชใ๎ น
ชีวิตประจาวัน ในระดบั ที่ มากที่สดุ

14.2 ข้อมูลเกี่ยวกับกจิ กรรม

โครงการนว้ี ดั พระธาตขุ ิงแกง รวํ มกบั สานักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดพะเยา และเขตอนุรักษ์
พนั ธ์ุสัตวป์ าุ เวยี งลอ ได๎จัดให๎มีกิจกรรมอบรมหลากหลายในการสํงเสริมศีลธรรมและการอนุรักษ์ผืนปุา
ตะเคียนงาม เชํน กิจกรรมเดนิ จงกรม นงั่ สมาธิ กจิ กรรมโยคะกบั การกาหนดสติ กจิ กรรมฟงั นทิ านธรรม
กิจกรรมเกมกับสติ กิจกรรมโลกดนตรี กิจกรรมฟังธรรมและ ตอบปัญหาธรรมกิจกรรมโลกของปุา
ตะเคยี นงาม กิจกรรมโลกร๎อน ทาอยํางไร กิจกรรมพาน๎องทํองภูเขา และกิจกรรมอ่ืนๆ ท่ีปรากฏ ท้ังนี้
เพื่อเป็นการสํงเสรมิ ศีลธรรมใหเ๎ กดิ ขึ้นกับเยาวชนทม่ี สี วํ นรํวมและรักษาไว๎ซึ่งผืนปุาตะเคียนงาม อันดีให๎
อยํูคํูกบั ชมุ ชนตอํ ไป

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 32

สาหรับดา๎ นความคดิ เหน็ ของเยาวชนและประชาชนตอํ โครงการน้นั ผท๎ู ากจิ กรรมได๎ใช๎เกณฑ์ใน
การพจิ ารณาระดับความคดิ เห็นเป็นไปในดา๎ นตํางๆ โดยอาศัยมาตราสํวนประมาณคําความคดิ เหน็ ๔
ระดับ มกี ารกาหนดคะแนนดงั นี้

ระดับ คา่ เฉล่ีย การแปลความ

๔ ๓.๕๐ – ๔.๐๐ เห็นด๎วยมากทส่ี ดุ

๓ ๒.๕๐ – ๓.๔๙ เห็นดว๎ ยมาก

๒ ๑.๕๐ – ๒.๔๙ เห็นด๎วยนอ๎ ย

๑ ๑.๐๐ – ๑.๔๙ เห็นดว๎ ยน๎อยที่สุด

ปรับปรุง พอใช๎ ดี ดีมาก
ต่ากวาํ ร๎อยละ ๕๐ ปี ระหวํางรอ๎ ยละ ระหวาํ งรอ๎ ยละ ต้งั แตรํ อ๎ ยละ ๙๐ ข้ึนไป
มีคุณลกั ษณะตามเกณฑ์ ๕๐ – ๗๔ มีคุณลักษณะ ๗๕ – ๘๙ มคี ณุ ลกั ษณะ คณุ ลกั ษณะตามเกณฑ์

การพจิ ารณา ตามเกณฑ์การพิจารณา ตามเกณฑก์ ารพจิ ารณา พจิ ารณา

ตาราง ๑ คําเฉล่ยี และสวํ นเบยี่ งเบนมาตรฐานของระดบั ความคิดเหน็ ของผ๎ูเข๎ารวํ มการอบรม
แตลํ ะรูปแบบการจัดกิจกรรมอบรม ประจาปี 2562 (N-2562)

ท่ี รายการ คาํ เฉลย่ี สํวน ระดบั ดบั คิดเปน็ ความ
เบย่ี งเบน ความ รอ๎ ยละ หมาย
๑ ประโยชน์ท่ีทํานไดร๎ ับจากการเขา๎ รวํ ม ๓.๗๘ มาตรฐาน คดิ เหน็
กจิ กรรม ๐.๒๒ มากที่สุด ๙๔.๕ ดมี าก
๓.๖๗
๒ ความพอใจที่ทํานได๎รับการเข๎ารํวมกิจกรรม ๓.๗๗ ๐.๗๒ มากทสี่ ดุ ๙๑.๗๕ ดีมาก
๓ วิทยากรในการทากิจกรรม ๓.๙๘ ๐.๒๖ มากท่สี ุด ๙๔.๒๕ ดีมาก
๔ ความเหมาะสมของสถานที่และสง่ิ อานวย ๐.๔๔ มากทส่ี ดุ ๙๙.๕ ดมี าก
๓.๗๒
ความสะดวก ๓.๙๙ ๐.๒๒ มากทส่ี ดุ ๙๓ ดีมาก
๕ ความเหมาะสมของกิจกรรม ๓.๖๗ ๐.๔๔ มากทส่ี ุด ๙๙.๗๕ ดมี าก
๖ ความเหมาะสมของชํวงเวลาการปฏิบตั ธิ รรม ๓.๗๖ ๐.๔๒ มากที่สดุ ๙๑.๗๕ ดีมาก
๗ บรรยากาศในการทากิจกรรม ๓.๗๙ ๓.๒๒ มากทส่ี ุด ๙๔ ดีมาก
๘ มีทศั นคติท่ดี ตี อํ การเข๎ารวํ มกิจกรรม ๓.๖๙ ๐.๒๕ มากทีส่ ุด ๙๔.๗๕ ดมี าก
๙ ความตอ๎ งการในการอยากให๎มีกิจกรรมตอํ ไป ๐.๓๓ มากท่สี ุด ๙๒.๒๕ ดีมาก
๓.๘๒
๑๐ ความต๎องการท่ีจะนาผลปฏบิ ัตไิ ปใช๎ใน ๐.๖๕ มากทสี่ ดุ ๙๔.๕๕ ดมี าก
ชวี ิตประจาวัน
เฉล่ียท้งั ๑๐ รายการ

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 33

จากตาราง ๑ แสดงให๎เหน็ วาํ กลมํุ ตวั อักษรผเู๎ ขา๎ รวํ มอบรมทงั้ เยาวชนและประชาชนท่ัวไปเหน็
ด๎วยในระดบั มากท่ีสดุ กับทกุ รายการ และยง่ิ ดูผลเฉล่ยี ทุกรายการ ปรากฏวํา อยํูในเกณฑ์ ดมี าก ดังนั้น
โครงการประสบผลสาเร็จตามวตั ถุประสงค์ถึงร๎อยละ ๙๔.๕๕ ซึ่งอยใูํ นเกณฑ์ที่ ดีมาก

14.3 ขอ้ เสนอแนะอนื่ ๆ
๑. สง่ิ ท่ที า่ นคิดวา่ ดี และมปี ระโยชน์ ไดแ้ ก่
๑.๑ ความตํอเนื่องของโครงการควรจะมที ุกปี
๒. สงิ่ ที่ทา่ นเหน็ ว่าบกพรอ่ ง และควรปรับปรงุ ในการจดั กจิ กรรมครั้งน้ีไดแ้ ก่
๒.๑ ควรจะจดั ใหม๎ วี นั ปฏิบัติให๎มากกวาํ นี้
๒.๒ ควรหาวทิ ยากรใหห๎ ลายมากกวํานี้
๓. ข้อเสนอแนะเพือ่ การปรับปรุงคร้ังตอ่ ไป
๓.๑ ควรจะขยายฐานการอบรมใหม๎ ากกวาํ นี้

15. รปู ภาพกิจกรรม โครงการปฏิบัติธรรมสัปดาหส์ ่งเสริมพระพทุ ธศาสนาเนอ่ื งในวนั วิสาขบชู า
“ พระพทุ ธศาสนา ธรรมะ กับธรรมชาติ ” ณ วัดพระธาตุขิงแกง อาเภอจนุ จังหวดั พะเยา

ลงทะเบยี นเขา๎ รวํ มโครงการปฏบิ ัตธิ รรมสัปดาห์สํงเสริมพระพุทธศาสนาเนอ่ื งใน
วันวสิ าขบูชา และกลําวต๎อนรบั ผ๎ูเข๎ารํวมโครงการ โดย พระสตั ยา สจฺจาภจิ นิ ฺโณ

กจิ กรรมที่ 1 เดนิ จงกรม น่ังสมาธิ
กจิ กรรมฝกึ ทาสมาธิ ด๎วยการนัง่ สมาธิ และการเดินสมาธิ

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 34

กจิ กรรมท่ี 1 เดนิ จงกรม นั่งสมาธิ
กจิ กรรมฝกึ ทาสมาธิ ดว๎ ยการนัง่ สมาธิ และการเดินสมาธิ

กิจกรรมท่ี 2 โยคะกับการกาหนดสติ โดยสถาบันโยคะวิชาการ
กจิ กรรมฝึกการทาสมาธิ และบริหารกายด๎วยวธิ โี ยคะ

กิจกรรมท่ี 3 ฟังนทิ านธรรม
กิจกรรมเรียนรู๎หลักธรรมคาสอนของพระพุทธเจา๎ ในรูปแบบนทิ านชาดก และนทิ านธรรมะ

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 35

กิจกรรมที่ 4 เกมกับสติ
กิจกรรมสันทนาการธรรมะ ในรูปแบบของเกม เพอ่ื สร๎างความผํอนคลายในการเรียนร๎ู หลักธรรมตาํ งๆ

กจิ กรรมที่ 5 ฟงั ธรรมและ ตอบปัญหาธรรม
กจิ กรรมการเรยี นรู๎ธรรมะ และสรปุ บทเรยี น ทสี่ ามารถนาไปประยุกตใ์ ช๎กับชีวิตประจาวนั ไดเ๎ ปน็ อยํางดี

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 36

กิจกรรมที่ 6 “โลกของปุาตะเคียนงาม”
เป็นกจิ กรรมแนะนา และทาความรจ๎ู ักกบั ศูนย์ศกึ ษาและอนุรักษ์ปาุ ตะเคียนงาม
และเดินสารวจ ทากิจกรรมบวชปุาในพน้ื ที่ทางเดินศกึ ษาธรรมชาติ ปุาตะเคยี นงาม

กิจกรรมที่ 7 โลกรอ๎ น ทาอยํางไร
ฐานการเรยี นรู๎ และเขา๎ ใจถึงปัญหาสภาวะโลกรอ๎ น แนวทางในการแกป๎ ัญหา

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 37

กจิ กรรมท่ี 8 ตัง้ จิต อธิษฐาน ใสํบาตร
การใสบํ าตร เพื่อความเป็นสริ มิ งคลและสบื สานพระพทุ ธศาสนาอนั เป็นวถิ แี หํงชาวพุทธทด่ี งี าม

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 38

3. โครงการบรรพชาอุปสมบททายาทพุทธศาสนา ประจาปี 2562 เพ่ือถวายเป็น
พระราชกุศล เน่ืองในโอกาสวันคล้ายวันพระราชสมภพ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี วดั พระธาตุขิงแกง ต.พระธาตุขิงแกง อ.จนุ จ.พะเยา

1. ชือ่ โครงการ โครงการบรรพชาอปุ สมบททายาทพุทธศาสนา ประจาปี 2562
เพื่อถวายเป็นพระราชกุศล เน่ืองในโอกาสวนั คล๎ายวันพระราชสมภพ

สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี

2. ผ้รู บั ผิดชอบ วัดพระธาตุขงิ แกง อาเภอจนุ จงั หวดั พะเยา

3. ระยะเวลาดาเนินการ ระหวํางวนั ที่ 29 มีนาคม – 12 เมษายน 2562

4. ผ้ปู ระสานงาน กลมุํ งานเลขานกุ ารรองเจา๎ คณะอาเภอจุน จงั หวดั พะเยา
082-1822792, 089-9521366

5. หลักการและเหตผุ ล

ด๎วย สภาพเหตุการณ์บ๎านเมืองในปัจจุบัน ประสบปัญหาทางด๎านเศรษฐกิจ การเมือง ศีลธรรม
และปัญหาตํางๆ เชนํ ปญั หายาเสพตดิ ปัญหาอาชญากรรม เปน็ ต๎น ปัญหาตํางๆ เหลําน้ี สาเหตุเกิดจาก
การขาดการดาเนินงานสํงเสริมศีลธรรมอยํางจริงจัง โดยเฉพาะสังคมไทยในปัจจุบัน ได๎เปล่ียนแปลงไปตาม

วัฒนธรรมใหมํๆ บทบาทวิถีสังคมไทยเป็นไปตามสถานการณ์บ๎านเมือง ปัญหาตํางๆ จึงตกอยูํกับ
เยาวชนของชาติอยํางหลีกเลี่ยงไมํได๎ เพ่ือเป็นการพัฒนาเยาวชนอันเป็นทรัพยากรของชาติ ให๎มีความ

พรอ๎ ม ทั้งทางด๎านรํางกายและจิตใจ ในการจะดารงชีพอยูํในสังคมปัจจุบันได๎อยํางปกติสุข จึงจาเป็นต๎องนา
หลกั ธรรมในพระพทุ ธศาสนามาหลํอหลอมเยาวชนไทยให๎เป็นบุคลากรท่ดี ีของชาติ

อีกท้งั เยาวชนเป็นทรัพยากรของชาติท่ีสาคัญที่สุด และเยาวชนในวันน้ีจะต๎องเป็นผ๎ูใหญํในวัน

ขา๎ งหนา๎ จะเป็นคนดหี รอื เลวอยํูท่ี สถานบนั ครอบครัวเปน็ ตัวกาหนด สถานบันครอบครัวจึงมีบทบาทตํอ
เยาวชน และสืบตํอไปถึงสังคม กํอนอื่นต๎องเร่ิมท่ีบิดามารดาเป็นคนดี บุตรหรือเยาวชนยํอมเป็นคนดี

ตามไปด๎วย สถาบันทางพระพุทธศาสนาจึงมีบทบาทอบรมบํมนิสัยให๎เยาวชนเหลําน้ันเป็นคนดีได๎ ใน
ปัจจุบัน และในวันข๎างหน๎า เยาวชน ที่มีคุณคําตํอชาติในอนาคต ควรได๎รับการศึกษาและอบรม และ
ไดร๎ ับการพฒั นาทถ่ี กู ตอ๎ งทงั้ ทางราํ งกายและจติ ใจ โดยเฉพาะอยํางยิ่งดา๎ นศีลธรรม ความเข๎าใจท่ีถูกต๎อง

เกย่ี วกบั พระพทุ ธศาสนาและจรยิ ธรรม เม่ือเยาวชนไดร๎ ับการศึกษาจะได๎นาไปประพฤติปฏิบัติได๎ อันจัก
เกดิ สตปิ ัญญาสามารถนามาพัฒนาชวี ติ และประเทศชาตใิ หเ๎ จริญรุงํ เรอื งกา๎ วหน๎าตํอไป

ดงั นัน้ เนอ่ื งในวโรกาสคลา๎ ยวนั พระราชสมภพของสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราช
กุมารีในเดือนเมษายนน้ี ทางคณะสงฆ์จงั หวัดพะเยา, วัดพระธาตุขิงแกง, โรงเรยี นจนุ วิทยาคม อาเภอจุน
จังหวัดพะเยา รํวมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดพะเยา สานักงาน

พระพทุ ธศาสนาจังหวัดพะเยาจงึ ได๎จัดโครงการบรรพชาอุปสมบททายาทพุทธศาสนา ประจาปี 2562
เพ่ือถวายเป็นพระราชกุศล เนื่องในโอกาสวันคล๎ายวันพระราชสมภพ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ

สยามบรมราชกุมารี อีกทั้งเยาวชน ประชาชน ที่ได๎รับการบรรพชาอุปสมบท จะได๎รับการอบรม

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 39

คุณความดีด๎านคุณธรรม จริยธรรมและศีลธรรม ท้ังภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ สามารถนาหลักธรรมไป
ประยุกตใ์ ช๎ในการดารงชีวิตอยํูในสังคมได๎อยํางมีความสุขและชํวยสํงเสริมให๎เป็นลูกที่ดีของพํอแมํ เป็น
ศิษยท์ ดี่ ขี องครูอาจารย์ เปน็ พลเมอื งที่ดีของประเทศชาตติ อํ ไป

6. วตั ถปุ ระสงค์
1. เพือ่ ใหน๎ ักเรียนและประชาชนทว่ั ไปได๎บรรพชาเปน็ สามเณรและอปุ สมบทเป็นพระภิกษถุ วาย
เปน็ พระราชกศุ ลแดํสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี
2. เพื่อเป็นการปลกู ฝังคุณธรรม จรยิ ธรรม ความกตัญญตู อํ บิดา มารดาและผ๎ูมีพระคุณใหแ๎ กํ
เยาวชน
3. เพือ่ เปน็ การปลกู ฝังคํานิยมในด๎านวฒั นธรรมไทย ลดพฤติกรรมทไ่ี มเํ หมาะสมกับวัย เป็นผมู๎ ี
สุขภาพจิตทเี่ ขม๎ แขง็ มคี วามอดทนและสรา๎ งความสามคั คใี ห๎เกดิ ข้ึนในกลุมํ เยาวชน
4. เพ่ือให๎เยาวชนหํางไกลจากสง่ิ เสพตดิ ใหโ๎ ทษและอบายมขุ ทกุ ชนิด
5. เพื่อสํงเสริมให๎เยาวชนไดม๎ โี อกาสเข๎ารับการศกึ ษา อบรม และปฏิบัติธรรม ไดอ๎ ยาํ งถูกต๎อง
สามารถนาหลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนาไปใช๎ในชวี ติ ประจาวันได๎อยาํ งเหมาะสม
6. เพอ่ื ให๎พุทธศาสนกิ ชน ผ๎ูปกครอง มสี ํวนรํวมในการสงํ เสริมใหบ๎ ุตรหลานของตนได๎ศึกษา
คาสอนทางพระพุทธศาสนาและรักษาไวซ๎ ึง่ ขนบธรรมเนยี มประเพณไี ทยอันดีงาม

7. กลุ่มเป้าหมาย
เยาวชนในจงั หวดั พะเยา และจังหวัดใกล๎เคยี ง ทมี่ ีอายุ 10 ปี ขนึ้ ไป จานวน 200 คน

8. งบประมาณ
งบประมาณทใ่ี ช๎ในการดาเนนิ การ 320,000 บาท โดยได๎รับงบประมาณมาจาก
1. มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเชยี งราย
2. คณะกรรมการสงํ เสรมิ กจิ การมหาวิทยาลยั ราชภัฏเชียงราย
3. ผ๎ูมจี ิตศรทั ธาในจงั หวัดพะเยา และจังหวัดใกลเ๎ คียง รํวมบรจิ าค
4. สานักงานวัฒนธรรมจงั หวดั พะเยา
5. สานักงานพระพุทธศาสนาจงั หวัดพะเยา

9. ระยะเวลาดาเนนิ การ
ระหวาํ งวนั ท่ี 29 มีนาคม – 12 เมษายน 2562

10. ผรู้ ับผิดชอบโครงการ
1. วัดพระธาตขุ งิ แกง ตาบลพระธาตขุ ิงแกง อาเภอจนุ จังหวดั พะเยา
2. กลุํมงานเลขานกุ ารรองเจา๎ คณะอาเภอจนุ จังหวดั พะเยา
3. โรงเรียนจุนวิทยาคม อาเภอจุน จงั หวดั พะเยา

11. กจิ กรรม และข้นั ตอนการดาเนินการ
1. ประชมุ ผ๎ูเกยี่ วข๎องทั้งฝาุ ยสงฆฝ์ ุายฆราวาสทราบ
2. เสนอโครงการตอํ มหาวิทยาลยั ราชภฏั เชียงราย
3. ติดตอํ คณะวิทยากรทงั้ ฝุายสงฆ์และฝาุ ยฆราวาส

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 40

4. แตงํ ตัง้ เสนอมอบหมายงานใหค๎ ณะผ๎ูบริหาร
5. ตดิ ปูายประชาสมั พันธต์ ามหมูบํ ๎าน โรงเรียนตาํ งๆ
6. ขอความอุปถมั ภ์จากห๎างร๎าน ประชาชน
7. เปิดรบั สมัครเยาวชน ดาเนนิ การอบรมจนสิ้นสดุ โครงการฯ ประเมินผลการดาเนนิ การ
8. ประสานงานกบั คณะสงฆอ์ าเภอจนุ และอาเภอใกล๎เคยี ง ข๎าราชการ และผู๎มีจิตศรัทธา
9. แจ๎งใหก๎ านนั ผูใ๎ หญํบา๎ น นายกเทศมนตรี นายกองค์การบรหิ ารสํวนตาบล
10. ภาควิชาการ เชนํ ศาสนพิธี พทุ ธประวตั ิ ภาษาบาลี และความรท๎ู วั่ ไป เป็นตน๎
11. ภาคปฏบิ ัติ เชนํ ทาวตั รเชา๎ -เย็น สวดมนต์ ฝึกสมาธิ เดนิ จงกรม ฝึกวาทศลิ ป์ เปน็ ตน๎
12. ภาคกจิ กรรม เชนํ จัดตอบปัญหาธรรม จัดโตว๎ าที จดั อภปิ ราย จัดแสดงธรรม เปน็ ตน๎
13. ภาคสรปุ เชนํ การประเมินผล ติดตามดูการแสดงออกของเยาวชน และเขา๎ รบั การอบรม

12. ตวั ชี้วดั ความสาเรจ็
เชงิ ปริมาณ ความรวํ มมือระหวาํ งวดั บา๎ น โรงเรยี น ฯลฯ
เชงิ คุณภาพ การปฏบิ ตั แิ ละนาไปใชไ๎ ด๎อยาํ งถกู ต๎อง

13. การประเมินผล
1. ตอบปญั หาเป็นข๎อเขียน และยนื ตอบด๎วยปากตนเอง
2. จากการทาวัตรสวดมนต์ การนง่ั สมาธิ การเดินจงกรม การแสดงพฤตกิ รรมเยอื กเย็น
3. การร๎จู กั กราบไหว๎ การตอ๎ นรับ การพูดคยุ การสงบนิ่ง
4. พํอ แมํ ผู๎ปกครอง โดยการกรอกแบบฟอร์มสอบถามความคิดเห็นสงํ

14. ผลท่ีคาดว่าจะไดร้ บั
1. เยาวชนมคี ุณธรรม จริยธรรม ความกตัญญูกตเวทีตํอบิดา มารดา ผ๎ูมีพระคณุ
2. เยาวชนสามารถนาหลักธรรมคาสั่งสอนของพุทธศาสนา และคาํ นยิ มในวัฒนธรรมไทย
ไปปรับใช๎ในการดาเนินชีวิตไดอ๎ ยํางเหมาะสม
3. พสกนกิ รในท๎องถนิ่ ไดร๎ วํ มเฉลิมพระเกยี รตสิ มเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ
สยามบรมราชกมุ ารี
4. มศี าสนทายาทสืบทอดพระพุทธศาสนาในทอ๎ งถิน่

15. รายงานผลการดาเนินงาน โครงการบรรพชาอปุ สมบททายาทพทุ ธศาสนา ประจาปี 2562
15.1 หนว่ ยงาน
วัดพระธาตขุ งิ แกง เลขที่ 318 ถนนจุน – ปง หมูํที่ 5 ตาบลพระธาตุขิงแกง
อาเภอจุนจังหวัดพะเยา รหสั ไปรษณีย์ 56150 โทร 082 - 1822792

15.2 ช่อื เจ้าอาวาสหรอื ผู้อานวยการโครงการฯ
พระครูนปิ ุณพัฒนกจิ
ตาแหนง่ เจ๎าอาวาสวดั พระธาตุขงิ แกง/ รองเจา๎ คณะอาเภอจุน

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 41

15.3 การดาเนินการ

1. ระยะเวลาดาเนินการ
- เรมิ่ ตน๎ โครงการ วนั ท่ี 29 เดือน มนี าคม พ.ศ.2562
- สิ้นสดุ โครงการ วันท่ี 12 เดอื น เมษายน พ.ศ.2562

2. จดั บรรพชา/อปุ สมบทที่
- วัดพระธาตุขิงแกง ตาบลพระธาตุขิงแกง อาเภอจุน จังหวัดพะเยา

3. จัดอบรมที่
- วดั พระธาตขุ งิ แกง ตาบลพระธาตขุ งิ แกง อาเภอจุน จังหวัดพะเยา
- วดั สรอ๎ ยศรี ตาบลจุน อาเภอจุน จังหวดั พะเยา

4. ประธานพธิ ฝี ่ายสงฆ์ พระครนู ปิ ณุ พฒั นกจิ
ตาแหนง่ เจ๎าอาวาสวัดพระธาตขุ งิ แกง

ประธานพิธฝี ่ายฆราวาส ผูช๎ วํ ยศาสตราจารย์ ดร.ศรชยั มงํุ ไธสง
ตาแหนง่ อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชียงราย

5. จดั อบรม จานวน 15 วัน

( √ ) หลักสตู รศาสนศกึ ษาระยะสนั้ ของกรมศาสนา
( √ ) หลักสูตรอืน่ ๆ คอื Active Learning

15.4 จานวนผู้เข้ารว่ มโครงการ

1. จานวนผู๎บรรพชา/อุปสมบท 201 รปู

- พระภกิ ษุ 60 รปู ไมํลาสกิ ขา 2 รปู - สามเณร 141 รปู ไมํลาสกิ ขา 41 รปู

2. จานวนบวชศีลจาริณี 50 คน

3. จานวนวทิ ยากร/ผส๎ู อน 30 คน/รปู

4. จานวนประชาชนท่ีมารวํ มพิธีประมาณ 3,500 คน

5. จานวนประชาชนทีม่ ารํวมทาบุญโดยเฉลีย่ วนั ละ 300 คน

15.5 งบประมาณดาเนนิ การ

1. รายรับ จานวน 426,300 บาท โดยมรี ายละเอยี ดดงั นี้

1.1 ทนุ เดมิ ของวัด 20,000 บาท

1.2 งบบรจิ าคของประชาชน 160,500 บาท

1.3 งบอุดหนุนจากกรมการศาสนา 15,000 บาท

1.4 งบอดุ หนนุ จากหนวํ ยอนื่

(ไดร้ ับงบอดุ หนนุ จากมหาวิทยาลัยราชภัฏเชยี งรายประมาณ 230,800 บาท)

2. รายจา่ ย จานวน 420,800 บาท โดยมีรายการดังน้ี

2.1 จาํ ยคาํ ทุนการศึกษา 201 ทนุ ทนุ ละ 800 บาท 160,800 บาท

2.2 จํายคําภัตตาหารเครอ่ื งด่ืมวันละ 7,000 บาท 15 วนั 105,000 บาท
บาท
2.3 จาํ ยคําเตรียมการสถานทแี่ ละจัดเตรยี มงาน 40,000

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 42

2.4 จํายในการจดั การศกึ ษาอบรม 50,000 บาท
45,000 บาท
คาํ วทิ ยากรรูปละ 5,000 บาท รวม 10 รูป 20,000 บาท
คาํ พระพี่เลีย้ งรปู ละ 3,000 บาท รวม 15 รูป
คําอุปกรณ์ในการจัดอบรมตาํ งๆ

เงนิ คงเหลอื ทัง้ สิ้น ..........5,500.........บาท

15.6 ผลทีไ่ ด้รับจากการดาเนนิ การ
1. ด๎านปรมิ าณเปรียบเทยี บกับเปาู หมายทก่ี าหนดไว๎คดิ เป็นร๎อยละ 100 %
2. ด๎านคุณภาพเปรียบกบั เปูาหมายที่กาหนดไว๎คดิ เปน็ รอ๎ ยละ 95 % (ประมาณ)
3. ผลประโยชน์ทเี่ กิดขึ้นกับประชาชน/สงั คม:

ประชาชนได๎รบั ความร๎คู วามเขา๎ ใจในพระพุทธศาสนาอยาํ งถกู ต๎องเพ่มิ มากขึน้ ได๎รับการปลูกฝัง
ศลี ธรรม วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามรู๎จักนาหลักธรรมไปประยุกต์ใช๎ในชีวิตประจาวัน
ได๎มากกวําเดิม ได๎ประสบการณ์ชีวิตในทางท่ีสร๎างสรรค์อันเป็นประโยชน์ ได๎ประกอบกิจกรรมอันเป็น
ประโยชนต์ อํ ตนเองและผ๎ูอืน่ ตามที่ตนประสงคแ์ ละผ๎ูอ่นื ตามท่ีตนประสงค์และไดร๎ วํ มกนั บาเพญ็ บุญกิริยา
วตั ถทุ ง้ั 10 ประการ ไดร๎ วํ มกันสบื ทอดพระพทุ ธศาสนาและสรา๎ งพุทธทายาท

15.7 ปญั หาอปุ สรรค

1. ปญั หาอปุ สรรคท่เี กดิ ขน้ึ แลว้ แกไ้ ขได้ คือ
1) ไมํมีการสนับสนุนดา๎ นงบประมาณทีส่ ามารถจะนามาใช๎ในการดาเนินงานโครงการ

จากหนวํ ยงานท่เี กีย่ วข๎องไมวํ ําจะเปน็ ระดบั ท๎องถิ่นหรือสํวนกลาง
- แกไ๎ ขโดยการขอรับบรจิ าคคณะศรทั ธาสาธุชนผใู๎ จบุญทั้งหลายเพมิ่ เตมิ

2) เยาวชนนกั เรียนหรือประชาชนท่วั ไปยงั ไมใํ ห๎ความสาคญั ตํอการพัฒนาในด๎านจิตใจ
จงึ ไมคํ อํ ยมีเยาวชนนักเรยี นเข๎ามารํวมในโครงการเทาํ ท่ีควร
- แก๎ไขโดยการประชาสัมพันธ์ไปยงั เขตตาบลอื่นๆทส่ี ามารถเขา๎ มารวํ มในโครงการได๎

3) วทิ ยากรผมู๎ าถวายความร๎มู ไี มเํ พียงพอ
- แกไ๎ ขโดยการขอความอนุเคราะห์จากตาบลอน่ื ๆหรอื พุทธศาสนิกชนผู๎มีความรู๎ทจี่ ะประสงค์
ถวายความร๎เู ปน็ วทิ ยาทาน

4) ผเ๎ู ข๎ารวํ มโครงการเจบ็ ปวุ ยไมสํ บายบํอย
- แกไ๎ ขโดยการขอความอปุ ถมั ภจ์ ากโรงพยาบาลจุน/ รพ.สต.พระธาตุขงิ แกง

2. ปัญหาอปุ สรรคทเ่ี กิดขึ้นแล้วไมส่ ามารถแก้ไขได้ คอื
1) สภาพอากาศในชํวงอบรมเป็นอุปสรรคตํอการจดั กิจกรรม เชํน ฝน ฟาู

พายุ ไฟดบั เปน็ ตน๎

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 43

15.8 ข้อคิดเห็นเสนอแนะ
ผ๎ูทเ่ี ก่ียวขอ๎ งตาํ งๆทั้งในระดบั ท๎องถน่ิ หรือสวํ นกลาง ควรจะจัดสรรงบประมาณไว๎อยํางเพียงพอ

โดยเฉพาะองค์การบริหารสํวนตาบลควรจะมีงบประมาณที่จะพัฒนาประชาชนในด๎านการสืบทอด
พระพุทธศาสนา สืบสานวฒั นธรรม ประเพณีอนั ดงี ามของถ๎องถิ่น ซ่ึงถือเป็นหน๎าที่โดยตรงขององค์การ
บรหิ ารสํวนตาบล

15.9 หน่วยงานที่สนับสนุนโครงการฯ ประจาปี 2562
1. มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเชยี งราย
2. สานักงานวฒั นธรรมจังหวดั พะเยา / กระทรวงวัฒนธรรม
3. สานกั งานพระพุทธศาสนาจงั หวดั พะเยา
4. ปกครองสํวนท๎องถน่ิ อาเภอจนุ
5. โรงพยาบาลจุน
6. ชมรม TO BE NUMBER ONE ชมุ ชนวัดพระธาตุขงิ แกง
7. หนวํ ยอบรมประชาชนประจาตาบลพระธาตุขิงแกง
8. คณะสงฆจ์ ังหวดั พะเยา
9. โรงพยาบาลสํงเสรมิ สขุ ภาพตาบลพระธาตุขิงแกง
10. โรงเรียนจุนวทิ ยาคม
11. โรงเรียนห๎วยข๎าวก่าวทิ ยา
12. สานกั งานสาธารณสุขจังหวดั พะเยา

16. สรุปผล และข้อเสนอแนะ โครงการบรรพชาอุปสมบททายาทพุทธศาสนา ประจาปี 2562
การทาโครงการบรรพชาอุปสมบททายาทพุทธศาสนา ประจาปี 2562 เพ่ือถวายเป็นพระราช

กุศล เน่ืองในโอกาสวันคล๎ายวันพระราชสมภพ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ในคร้ังนี้มีวัตถุประสงคห์ ลัก 6 ประการ
1. เพ่ือให๎นักเรียนและประชาชนท่ัวไปไดบ๎ รรพชาเปน็ สามเณรและอุปสมบทเป็นพระภกิ ษุ ถวายเป็น
พระราชกุศลแดํสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี
2. เพอ่ื เป็นการปลกู ฝังคุณธรรม จริยธรรม ความกตญั ญูตํอบิดา มารดาและผ๎ูมีพระคณุ ให๎แกํเยาวชน
3. เพื่อเป็นการปลูกฝงั คาํ นยิ มในวฒั นธรรมไทย ลดพฤติกรรมท่ีไมํเหมาะสมกบั วัย เป็นผมู๎ ีสุขภาพจิตท่ี
เข๎มแขง็ มีความอดทนและสร๎างความสามคั คีให๎เกิดข้นึ ในกลมํุ เยาวชนด๎วยกันเอง
4. เพื่อใหเ๎ ยาวชนหํางไกลจากสงิ่ เสพติดใหโ๎ ทษและอบายมขุ ทุกชนดิ
5. เพอ่ื สงํ เสริมใหเ๎ ยาวชนได๎มโี อกาสเข๎ารับการศึกษา อบรม และปฏิบตั ธิ รรม ได๎อยํางถูกตอ๎ ง สามารถ
นาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาไปใชใ๎ นชีวิตประจาวนั ได๎อยาํ งเหมาะสม
6. เพ่ือใหพ๎ ทุ ธศาสนิกชน ผ๎ูปกครอง มีสํวนรํวมในการสงํ เสริมใหบ๎ ุตรหลานของตนไดศ๎ กึ ษาคาสอนทาง
พระพุทธศาสนาและรักษาไวซ๎ ่ึงขนบธรรมเนยี มประเพณีไทยอันดงี าม

กลุํมเปูาหมาย ได๎แกํเยาวชนในจังหวัดพะเยา และจังหวัดใกล๎เคียง ท่ีมีอายุ 10 ปี ข้ึนไป
จานวน 200 คน และประชาชนในเขตอาเภอจุน เครื่องมือที่ใช๎ในการวัดและประเมินในคร้ังนี้มี
1 ประเภท คอื แบบสอบถามความคดิ เห็นของผ๎ูรํวมกิจกรรมท่ีมีตํอโครงการ ผู๎สรุปผล นาข๎อมูลท่ีได๎มา

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 44

วิเคราะห์โดยหาคําเฉล่ียและสํวนเบี่ยงเบนมาตรฐานโดยการใช๎โปรแกรมคอมพิวเตอร์สาเร็จรูป SPSS
for Windows

16.1 สรปุ ผลโครงการ
1. ผู๎รับการอบรมได๎ประโยชน์จากการอบรม ในระดบั ที่ มากท่ีสุด
2. ผร๎ู วํ มกิจกรรมมคี วามตอ๎ งการใหม๎ ีกิจกรรมตอํ ไป ในระดบั ที่ มากทสี่ ุด
3. ผร๎ู ับการอบรมมีความต๎องการจะนาหลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนาไปใชใ๎ น
ชวี ติ ประจาวันในระดับที่ มากท่ีสุด

16.2 ขอ้ มูลเกี่ยวกับกจิ กรรม
ด๎วย สภาพเหตุการณ์บ๎านเมืองในปัจจุบัน ประสบปัญหาทางด๎านเศรษฐกิจการเมือง

ศีลธรรม และปัญหาตํางๆ เชํน ปัญหายาเสพติด ปัญหาอาชญากรรม เป็นต๎น ปัญหาตํางๆ เหลําน้ี
สาเหตเุ กดิ จากการขาดการดาเนินงานสํงเสริมศีลธรรมอยํางจริงจัง โดยเฉพาะสังคมไทยในปัจจุบัน ได๎
เปลีย่ นแปลงไปตามวัฒนธรรมใหมํๆ บทบาทวิถสี งั คมไทยเปน็ ไปตามสถานการณ์บ๎านเมือง ปัญหาตํางๆ
จงึ ตกอยํูกับเยาวชนของชาตอิ ยาํ งหลีกเลี่ยงไมํได๎ เพื่อเป็นการพัฒนาเยาวชนอันเป็นทรัพยากรของชาติ
ใหม๎ คี วามพร๎อมทั้งทางด๎านรํางกายและจิตใจ ในการจะดารงชีพอยํูในสังคมปัจจุบันได๎อยํางปกติสุข จึง
จาเปน็ ต๎องนาหลกั ธรรมในพระพุทธศาสนามาหลํอหลอมเยาวชนไทยให๎เป็นบคุ ลากรท่ีดขี องชาติ

อีกท้ังเยาวชนเปน็ ทรพั ยากรของชาติท่ีสาคัญที่สุด และเยาวชนในวันน้ีจะต๎องเป็นผู๎ใหญํใน วัน
ข๎างหน๎าจะเปน็ คนดีหรือเลวอยํทู ่ี สถานบันครอบครัวเปน็ ตวั กาหนด สถานบนั ครอบครัวจึง มีบทบาทตํอ
เยาวชน และสืบตํอไปถึงสังคม กํอนอ่ืนต๎องเริ่มที่บิดามารดาเป็นคนดี บุตรหรือเยาวชนยํอมเป็นคนดี
ตามไปด๎วย สถาบันทางพระพุทธศาสนาจึงมีบทบาทอบรมบํมนิสัยให๎เยาวชนเหลํานั้นเป็นคนดีได๎ ใน
ปัจจุบัน และในวันข๎างหน๎า เยาวชนท่ีมีคุณคําตํอชาติในอนาคต ควรได๎รับการศึกษาและอบรม และ
ไดร๎ บั การพัฒนาที่ถูกตอ๎ งทัง้ ทางรํางกายและจติ ใจ โดยเฉพาะอยาํ งยง่ิ ดา๎ นศีลธรรม ความเข๎าใจที่ถูกต๎อง
เกีย่ วกับพระพุทธศาสนาและจรยิ ธรรม เมื่อเยาวชนไดร๎ ับการศึกษาจะได๎นาไปประพฤติปฏิบัติได๎ อันจัก
เกดิ สติปญั ญาสามารถนามาพฒั นาชีวิตและประเทศชาตใิ หเ๎ จรญิ รํงุ เรืองก๎าวหน๎าตอํ ไป

ดงั นัน้ เน่อื งในวโรกาสคล๎ายวันพระราชสมภพของสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราช
กุมารี ในเดือนเมษายนนี้ ทางคณะสงฆ์จังหวัดพะเยา วัดพระธาตุขิงแกง อาเภอจุน จังหวัดพะเยา
รํวมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดพะเยา สานักงานพระพุทธศาสนา
จังหวัดพะเยาจึงได๎จัดโครงการบรรพชาอุปสมบททายาทพุทธศาสนา ประจาปี 2562 เพ่ือถวายเป็น
พระราชกุศล เนื่องในโอกาสวันคล๎ายวันพระราชสมภพ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช
กุมารี อีกทั้งเยาวชน ประชาชนที่ได๎รับการบรรพชาอุปสมบท จะได๎รับการอบรมคุณความดี ด๎าน
คุณธรรม จริยธรรมและศีลธรรม ท้ังภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ สามารถนาหลักธรรมไปประยุกต์ใช๎ใน
การดารงชวี ิตอยใูํ นสังคมได๎อยํางมีความสุขและชํวยสํงเสริมให๎เป็นลูกที่ดีของพํอแมํ เป็นศิษย์ท่ีดีของ
ครูอาจารย์ เป็นพลเมอื งทีด่ ีของประเทศชาติตอํ ไป

สาหรับดา๎ นความคดิ เห็นของเยาวชนและประชาชนตอํ โครงการน้นั ผ๎ูทากจิ กรรมได๎ใชเ๎ กณฑ์ใน
การพจิ ารณาระดับความคิดเห็นเปน็ ไปในด๎านตํางๆ โดยอาศยั มาตราสวํ นประมาณคําความคิดเหน็ 4
ระดบั มีการกาหนดคะแนนดงั นี้

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 45

ระดับ คา่ เฉลยี่ การแปลความ

4 3.50 – 4.00 เห็นด๎วยมากทีส่ ดุ

3 2.50 – 3.49 เห็นดว๎ ยมาก

2 1.50 – 2.49 เหน็ ด๎วยน๎อย

1 1.00 – 1.49 เห็นด๎วยนอ๎ ยท่สี ุด

ปรบั ปรงุ พอใช๎ ดี ดมี าก
ต่ากวาํ รอ๎ ยละ 50 ปี ระหวาํ งรอ๎ ยละ ระหวาํ งร๎อยละ ต้งั แตํร๎อยละ 90 ข้ึนไป
มคี ณุ ลักษณะตามเกณฑ์ 50 – 74 มคี ณุ ลักษณะ 75 – 89 มีคุณลกั ษณะ
ตามเกณฑ์การพจิ ารณา ตามเกณฑ์การพิจารณา คณุ ลักษณะตามเกณฑ์
การพจิ ารณา พจิ ารณา

ตาราง 1 คาํ เฉลย่ี และสํวนเบยี่ งเบนมาตรฐานของระดบั ความคิดเหน็ ของผู๎เข๎ารวํ มโครงการ
แตลํ ะรูปแบบการจัดกิจกรรมอบรม ประจาปี 2562 (N-2562)

ท่ี รายการ คาํ เฉลี่ย สํวน ระดับดบั คดิ เปน็ ความ
เบ่ียงเบน ความ ร๎อยละ หมาย
1 ประโยชนท์ ที่ าํ นไดร๎ ับจากการเขา๎ รวํ ม 3.85 มาตรฐาน คิดเหน็
กจิ กรรม 0.25 มากทส่ี ดุ 95 ดีมาก
3.70
2 ความพอใจท่ีทาํ นได๎รบั การเข๎ารวํ มกจิ กรรม 3.80 0.74 มากทีส่ ดุ 92 ดีมาก
3 วิทยากรในการทากจิ กรรม 3.98 0.30 มากทส่ี ุด 95 ดีมาก
4 ความเหมาะสมของสถานทีแ่ ละส่งิ อานวย 0.44 มากทีส่ ดุ 99.5 ดีมาก
3.72
ความสะดวก 3.99 0.22 มากทส่ี ดุ 93 ดีมาก
5 ความเหมาะสมของกจิ กรรม 3.67 0.44 มากทสี่ ุด 99.75 ดมี าก
6 ความเหมาะสมของชํวงเวลาการปฏบิ ตั ธิ รรม 3.76 0.42 มากทีส่ ดุ 91.75 ดีมาก
7 บรรยากาศในการทากจิ กรรม 3.79 0.22 มากทีส่ ุด 94 ดมี าก
8 มีทศั นคติทีด่ ีตอํ การเข๎ารํวมกจิ กรรม 3.70 0.25 มากที่สดุ 94.75 ดมี าก
9 ความต๎องการในการอยากให๎มกี จิ กรรมตอํ ไป
3.84 0.33 มากท่สี ุด 93 ดมี าก
10 ความตอ๎ งการทจ่ี ะนาผลปฏบิ ัตไิ ปใช๎ใน
ชีวติ ประจาวัน 0.65 มากที่สุด 95 ดมี าก
เฉลี่ยทัง้ 10 รายการ

จากตาราง 1 แสดงให๎เห็นวํากลมุํ ตวั อกั ษรผูเ๎ ขา๎ รวํ มอบรมทั้งเยาวชนและประชาชนท่วั ไปเหน็

ดว๎ ยในระดับมากทีส่ ุด กับทกุ รายการ และยิ่งดผู ลเฉลีย่ ทุกรายการ ปรากฏวํา อยใํู นเกณฑ์ ดีมาก ดังนั้น
โครงการประสบผลสาเรจ็ ตามวัตถปุ ระสงคถ์ งึ รอ๎ ยละ 95 ซ่งึ อยใูํ นเกณฑท์ ่ี ดมี าก

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 46

16.3 ขอ้ เสนอแนะอนื่ ๆ
1. สิง่ ทีท่ า่ นคิดว่าดี และมปี ระโยชน์ ไดแ้ ก่
1.1 ความตอํ เนือ่ งของโครงการควรจะมีทุกปี
1.2 หลักสูตรที่ใช๎ในการอบรมเปน็ หลกั สตู รที่ดี สามารถไดล๎ งมือปฏบิ ตั จิ รงิ
และสมั ผสั ถงึ คุณคําได๎
2. ส่งิ ทท่ี ่านเห็นวา่ บกพรอ่ ง และควรปรับปรุงในการจดั กิจกรรมครั้งนีไ้ ด้แก่
2.1 ควรจะจดั ใหม๎ ีวันปฏิบตั ิใหม๎ ากกวําน้ี
2.2 ควรหาวทิ ยากรใหห๎ ลากหลายมากกวาํ น้ี
3. ข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรงุ คร้งั ตอ่ ไป
3.1 ควรจะขยายฐานการอบรมให๎มากกวํานี้

17 ภาพกิจกรรม โครงการบรรพชาอปุ สมบททายาทพทุ ธศาสนา ประจาปี พ.ศ.2562
เพอ่ื ถวายเป็นพระราชกศุ ลเนือ่ งในโอกาสวันคลา้ ยวนั พระราชสมภพ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี วดั พระธาตุขงิ แกง ตาบลพระธาตขุ ิงแกง อาเภอจนุ จงั หวดั พะเยา

พธิ ขี อขมา และพธิ ีลา้ งเท้าบดิ ามารดา กอ่ นจะเขา้ สพู่ ธิ บี วชนาค และพิธโี กนผม ก่อนจะเขา้ ส่พู ธิ บี วชนาค

พิธีอาบนา้ นาค ตามพิธีโบราณของชาวล้านนา และการแต่งหนา้ แต่งตวั นาค

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 47

พิธีแหผ่ ้าไตรพระราชทานสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ และพธิ ีแหน่ าค ทัว่ บ้าน ท่วั เมอื งจุน

พิธีอญั เชิญผา้ ไตรพระราชทานสมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ
และพิธีมอบผา้ ไตรพระราชทาน ณ ที่ว่าการอ้าเภอจุน โดย ทา่ นนายอ้าเภอจุน

พิธีสูข่ วัญนาค


Click to View FlipBook Version