The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วัดพัฒนาตัวอย่าง วัดพระธาตุขิงแกง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tobesam14249, 2022-08-08 05:05:42

วัดพัฒนาตัวอย่าง วัดพระธาตุขิงแกง

วัดพัฒนาตัวอย่าง วัดพระธาตุขิงแกง

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 48

ประธาน จุดธูปเทยี นบูชาพระรตั นตรัย และนายจตุภมู ิ แจม่ หม้อ ผู้อา้ นวยการโรงเรยี นจุนวทิ ยาคม
อ้าเภอจุน จังหวดั พะเยา กลา่ วตอ้ นรับคณะจากมหาวทิ ยาลัยราชภัฏเชียงราย

พิธีมอบผ้าไตรพระราชทาน

ผ้เู ข้ารับมอบผา้ ไตรพระราชทาน
และถ่ายภาพรวมกบั คณะญาติโยมผ้อู ุปถมั ภ์โครงการบรรพชาอุปสมบทฯ

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 49

พธิ ีขอขมา บิดามารดา ลาบวช และพธิ ีมอบผ้าไตรบรรพชาอุปสมบท

พธิ บี รรพชาอปุ สมบท และพิธีจบั ชายผา้ เหลอื ง อธิษฐานบญุ แห่งการได้ร่วมพธิ ีบรรพชาอุปสมบท

ในการเขา้ รว่ มอบรมโครงการฯ จะมีการออกบิณฑบาต ทุกเชา้ เพือ่ เป็น การโปรดสรรพสตั ว์ทง้ั หลาย
และ การฉนั ภัตตาหาร จะฉันในบาตร เพ่อื เปน็ การขจัดความโลภ โกรธ หลง

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 50

ปราชญช์ าวบา้ นต้าบลพระธาตขุ งิ แกง มาถวายความรดู้ ้านอาชีพ การสานตะกรา้ ลายดาว
งานหัตถกรรมท้องถิ่น และการท้าวัตรเช้า เย็น เพอื่ สวดมนต์ ภาวนา กรรมฐาน

กจิ กรรมทศั นศึกษาธรรมะ และเข้าเยี่ยมให้กา้ ลงั ใจคณะผู้ดา้ เนินงานโครงการฯ
ณ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชยี งราย

กจิ กรรมเดนิ ธรรมยาตรา เพือ่ การเผยแพร่พระพทุ ธศาสนา
และการรับบิณฑบาตภัตตาหาร ระหว่างการเดนิ ธดุ งค์

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 51

การนง่ั ทา้ สมาธิ ภาวนาจิต ในป่าสุสาน
และการพจิ ารณาสงั ขาร ไม่เทย่ี ง “เกิด แก่ เจ็บ ตาย”

กิจกรรมฝกึ การบรรยายธรรมเทศนา ภาคพุทธสภุ าษิต แห่งธรรมบท
และ เรืออากาศตรี อดลุ ย์ พรหมวาทย์ นายอ้าเภอจนุ ถวายความร้พู ระภิกษุสามเณร กอ่ นปดิ โครงการฯ

พิธีมอบวฒุ ิบัตร และทนุ การศึกษา ใหก้ บั ผู้เข้ารว่ มโครงการฯ
และพิธปี ดิ โครงการฯ และถ่ายภาพหมู่เป็นที่ระลกึ

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 52

4. โครงการลานธรรม ลานวถิ ีไทย
ของศาสนสถาน วดั พระธาตุขงิ แกง อาเภอจนุ จังหวดั พะเยา

๑. ช่อื ผู้นาศาสนสถาน พระครูนิปณุ พัฒนกิจ

๒. สถานท่ตี ้ังของศาสนสถาน
เลขท่ี ๓๑๘ หมํูท่ี ๕ ถนนจุน-ปง บ๎านธาตุขิงแกง ตาบลพระธาตุขิงแกง อาเภอจุน จังหวัด

พะเยา รหัสไปรษณีย์ ๕๖๑๕๐ โทร ๐๘๒-๑๘๒๒๗๙๒

๓. หลักการและเหตุผล
โครงการลานธรรม ลานวิถีไทย ของศาสนสถานวัดพระธาตุขิงแกง ตาบลพระธาตุขิงแกง

อาเภอจุน จังหวัดพะเยา เป็นโครงการที่จัดสรรพื้นที่ของศาสนสถานให๎เป็นลานแหํงความร๎ูเพ่ือสร๎าง
ปัญญา วิถีธรรมสูํวิถีไทย ด๎วยการถํายทอดและเรียนรู๎จากรํุนสูํรุํน เป็นการสํงเสริมสร๎างเศรษฐกิจเชิง
สร๎างสรรค์บนพื้นฐานความสัมพันธ์ท่ีดีและความเอ้ืออาทร ความมีน้าใจและการแบํงปันความรู๎ โดย
ถาํ ยทอดภมู ปิ ญั ญาใหแ๎ กํเดก็ เยาวชนและคนในชุมชน ตลอดจนถึงคนในชุมชนสามารถได๎มีสํวนรํวมสร๎าง
ประโยชน์ตอํ สงั คมได๎

ในปจั จุบนั ทุกหนวํ ยงานมํุงเน๎นที่เศรษฐกิจ จนทาให๎เกิดส่ิงที่เป็นกระแสนิยม เรียกวําวัตถุนิยม
หรอื บรโิ ภคนยิ ม อนั เป็นที่มาของมวลมนุษย์ท่ีเกิดขาดสามัญสานึก ผดิ ชอบชั่วดี จนทาให๎เกิดปัญหาทาง
สงั คมมากมาย ทาให๎ทุกหนํวยงานทราบถึงปัญหาและความย่ังยืนที่แท๎จริงของมวลมนุษย์คือการทาให๎
มนษุ ยต์ ้งั อยูํในศีลธรรม จรยิ ธรรม คณุ ธรรม ซึ่งก็ให๎เกิดกจิ กรรมตํางๆ มากมายท่ีมํุงเน๎นปลูกฝังคุณธรรม
จริยธรรม ศีลธรรม และเศรษฐกิจพอเพียง โครงการลานธรรม ลานวิถีไทยก็เป็นอีกโครงการท่ีมุํงเน๎น
ตามวตั ถุประสงคด์ ังกลาํ ว

๔. ความมุ่งหมายของศาสนสถานที่เขา้ ร่วมโครงการลานธรรม ลานวถิ ไี ทย
๔.๑. เพ่ือเปิดศาสนสถานวัดพระธาตุขิงแกง ให๎เป็นพ้ืนที่สร๎างสรรค์ในการเรียนร๎ู เสริมสร๎าง
ปัญญาใหแ๎ กเํ ดก็ เยาวชน และคนในชมุ ชน
๔.๒. เพ่ือจัดพื้นท่ีศาสนสถานวัดพระธาตุขิงแกง ให๎คนในชุมชนมีสํวนรํวมในการรํวมทา
กจิ กรรมสรา๎ งสรรค์ สนบั สนนุ และสํงเสรมิ การทาความดีและมีคุณธรรม
๔.๓. เพ่ือใช๎ศาสนสถานวัดพระธาตุขงิ แกง ให๎คนในชุมชนรํวมกันสร๎างชุมชนให๎เข็มแข็งภายใต๎
ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง
๔.๔. เพือ่ ใหศ๎ าสนสถานวัดพระธาตขุ ิงแกง ต๎องการให๎นักเรียน,ผ๎ูนาชุมชน ประชาชนทั่วไป รัก
และเทิดทูลสถาบนั หลักของชาติ คอื ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์
๔.๕. เพื่อให๎ชุมชนอยํูรํมเย็นเป็นสุข โดยมีลานธรรม ลานวิถีไทย วัดพระธาตุขิงแกงเป็น
ศูนยก์ ลางในการจดั กจิ กรรมสร๎างสรรคเ์ พือ่ พฒั นาคุณภาพชวี ติ

๕. จานวนโครงการท่จี ะดาเนนิ การในปี ๒๕๖๑
จานวน ๘ โครงการ มีผูร๎ ับผิดชอบโครงการ รวม ๑๐ คน

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 53

๖. จานวนงบประมาณทีใ่ ช้ดาเนนิ การในปี ๒๕๖๑
- เปน็ เงินรวมทัง้ สน้ิ ๒๐,๐๐๐ บาท
- ขอรบั การสนับสนนุ จานวน ๓ โครงการ เปน็ เงินจานวน ๒๐,๐๐๐ บาท

๗. เปา้ หมาย
มีจานวนผู๎เข๎ารํวมโครงการ รวมทุกโครงการ กาหนดไว๎เดือนละ ๒๐๐ คน ตลอด ๑๒ เดือน

(ตลุ าคม ๒๕๖๐ - กันยายน ๒๕๖๑) จานวน ๒,๔๐๐ คน

๘. ระยะเวลาดาเนนิ การ
เดอื นตลุ าคม ๒๕๖๐ - กันยายน ๒๕๖๑ รวม ๑๒ เดือน

๙. ผลทคี่ าดวา่ จะได้รบั จากการดาเนินโครงการตา่ งๆตามแผนปฏิบัตกิ ารของศาสนสถาน
๙.๑. นกั เรียน,ผ๎ูนาชมุ ชนและประชาชนท่ัวไปเข๎าใจในความสาคญั ของวนั สาคญั และบญุ
ประเพณี
๙.๒. กํอใหเ๎ กิดคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ศลี ธรรมแกนํ กั เรยี น ผ๎ูนาชมุ ชนและประชาชนท่ัวไปมาก
ย่งิ ขึน้
๙.๓. กอํ ใหเ๎ กิดความรักความสามคั คขี องทกุ ภาคสวํ นโดยผาํ นขบวนการทางกิจกรรมทาง
พระพทุ ธศาสนา
๙.๔. นักเรียน,ผู๎นาชุมชนและประชาชนท่วั ไป มคี วามรักและเทดิ ทูล สถาบัน ชาติ ศาสนา
พระมหากษัตริย์
๙.๕. ศาสนสถานวัดพระธาตุขงิ แกง สามารถให๎คนในชุมชนมสี ํวนรวํ มในการรวํ มทากจิ กรรม
สรา๎ งสรรค์ สนบั สนนุ และสํงเสริมการทาความดแี ละมคี ุณธรรม
๙.๖. ศาสนสถานวดั พระธาตุขิงแกง สามารถให๎คนในชุมชนรวํ มกันสรา๎ งชมุ ชนเขม๎ แข็งภายใต๎
ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง

10. สรปุ แผนงานและโครงการท่ีดาเนินงานในปงี บประมาณ พ.ศ.25๖๑
๑๐.๑ ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การจัดศาสนสถานให้เอ้ือต่อการเป็นศูนย์การเรียนรู้ปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพียง
๑) โครงการที่ ๑ โครงการจัดภูมิทัศน์ของศาสนสถานให้สะอาด สงบ ร่มร่ืน

สวยงามตามธรรมชาตแิ บบเรียบง่าย โดยให้คนในชมุ ชนที่มจี ิตอาสามารว่ มดาเนนิ การ
วัตถปุ ระสงค์
๑. เพื่อพัฒนาให๎ศาสนสถานพรอ๎ มเปน็ ศูนย์การเรียนรู๎หลกั ปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี ง
๒. เพื่อเป็นแบบอยํางท่ีดีในการเป็น “ศาสนสถานพอเพียง” ให๎ชุมชนนาไป
ปฏบิ ตั ิ
ระยะเวลาดาเนนิ การ เดือนธนั วาคม ๒๕๖๐ – เดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๖๑

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 54

เปา้ หมาย ผู๎รํวมกจิ กรรม จานวน ๕๐ รปู /คน
เชงิ ปริมาณ ศาสนสถานสะอาด สงบ รํมรน่ื สวยงามตามธรรมชาติ
เชงิ คุณภาพ มีความพรอ๎ มเปน็ แหลํงเรยี นรหู๎ ลักปรัชญาของเศรษฐกิจ

งบประมาณ พอเพยี ง
ผ้รู บั ผิดชอบโครงการ -

พระสัตยา สจฺจาภจิ ิณโฺ ณ
เลขานุการโครงการลานธรรม ลานวิถีไทย

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 55

๒) โครงการที่ ๒ โครงการพัฒนาคณะทีมงานภายในศาสนสถานให้มีความรู้และ

อุดมการณย์ ดึ ม่นั ในปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

วัตถปุ ระสงค์

๑. เพ่ือพัฒนาบุคลากรในศาสนาให๎มีความรู๎ ความเข๎าใจในปรัชญาของ

เศรษฐกจิ พอเพยี งและการเปน็ หมบํู ๎านรกั ษาศลี ๕ ให๎เปน็ ทีมงานทม่ี ศี ักยภาพ

๒. เพือ่ ใหบ๎ คุ ลากรในศาสนสถานมีอดุ มการณ์ ยึดมนั่ ในปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพียงและการยกระดับใหเ๎ ป็นหมูํบ๎านรักษาศีล ๕

ระยะเวลาดาเนนิ การ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๖๐ - มกราคม พ.ศ.๒๕๖๑

เปา้ หมาย

เชงิ ปริมาณ ผรู๎ วํ มกิจกรรม จานวน ๓๐ รูป/ คน

เชิงคณุ ภาพ ศาสนสถานมีบุคลากรที่มีคุณภาพ สามารถเป็นแกนนาของ

คนในชุมชน

งบประมาณ -

ผ้รู ับผดิ ชอบโครงการ พระสตั ยา สจจฺ าภิจณิ โฺ ณ

เลขานุการโครงการลานธรรม ลานวิถไี ทย

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 56

๑๐.๒ ยุทธศาสตร์ที่ ๒ สร้างเสริมกระบวนการเรียนรู้หลักธรรมทางศาสนา ปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี ง และร่วมอนรุ กั ษ์สืบสานประเพณีวัฒนธรรมของท้องถ่ินให้แก่ชุมชนด้วยรูปแบบ
กิจกรรมท่ีหลากหลาย

๑) โครงการท่ี ๓ โครงการปลูกผกั ไฮโดรโปนิกส์ปลอดสารพษิ (การปลูกพืชไรด้ นิ )

กระแสโลกในปจั จุบนั มงํุ เนน๎ การดารงชวี ิตแบบพึ่งพาตนเอง ไมํวําจะเป็นด๎าน

การเกษตร ด๎านอาหารการกิน รวมท้ังการผลิตพลังงานเอง เพราะแนวโน๎มพลังงานธรรมชาติมีราคา

สูงขึ้นตลอดเวลา มูลคําการลงทุนและการแขํงขันในด๎านตํางๆ ในการดารงชีวิตจึงมีคําสูงตาม สํงผลให๎

เสถียรภาพและความมัน่ คงลดลง โดยเฉพาะอยํางยิ่ง ในแงํของความมั่นคงปลอดภัยในเร่ืองอาหาร ที่มี

ความเสี่ยงในเรอื่ งของสารพษิ ตกคา๎ งมากขนึ้ เรื่อยๆ ผนวกกับปจั จุบันปัญหาของเสียอินทรีย์เป็นปัญหาที่

สาคัญอีกปัญหาหนึ่ง โดยซึ่งเป็นผลมาจากหลายสาเหตุ ทั้งน้าเสียและขยะอินทรีย์ท่ีเกิดจากบ๎านเรือนท่ี

อยํูอาศัย เป็นต๎น ชุมชนมีความร๎ูในการสร๎างการเรียนรู๎ให๎กับชุมชนมีสุขภาวะที่ดี สามารถนามาปรับ

ประยุกต์ใช๎กับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซ่ึงเป็นการสํงเสริมให๎ชุมชนหันมาใช๎ปุ๋ยชีวภาพแทน

ปุย๋ เคมีมากข้ึน เนื่องจากสามารถผลิตปุ๋ยชีวภาพเองได๎ โดยไมํต๎องยุํงยากในการเตรียมวัตถุดิบ และยัง

เป็นการนาของเสยี กลับมาใช๎ประโยชนไ์ ด๎อยาํ งค๎ุมคาํ ทส่ี ุด

วัตถปุ ระสงค์

๑. เพ่อื เสริมสรา๎ งการเรียนร๎ูเก่ยี วกับสารปลูกพชื ไรด๎ ินให๎กับชุมชน

๒. เพ่ือลดปญั หาเกีย่ วกบั ข๎อจากัดในการทาการเกษตร เชํน การไมํมีพ้ืนที่ทา

กินความแห๎งสภาพดนิ ไมํสมบูรณ์

๓. เพื่อสนับสนุนและสํงเสริมให๎เกษตรหันมาลดการใช๎สารเคมี และยาปราบ

ศตั รพู ชื ซ่งึ จะสํงผลดีตํอผบู๎ รโิ ภคไดบ๎ ริโภคพืชผักที่ปลอดสารพษิ

๔.เพื่อเสริมทกั ษะการเรียนรเู๎ พ่ือจะไดน๎ าไปใช๎ประโยชนใ์ นการประกอบอาชพี

ในชุมชน

ระยะเวลาดาเนนิ การ เดือนพฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๑ – กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๖๑

เปา้ หมาย

เชงิ ปรมิ าณ ผูร้ ่วมกจิ กรรม จำนวน ๕๐ รูป / คน

เชิงคณุ ภาพ ได๎รู๎จักการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ประหยัดพื้นที่ในการปลูก

สาหรบั ผู๎ท่มี พี นื้ ทนี่ ๎อย ลดปริมาณสารเคมีตกค๎างในผกั

และสามารถทาเปน็ อาชพี ได๎ในครัวเรือน

งบประมาณ ๑๐,๐๐๐ บาท

ผู้รบั ผดิ ชอบโครงการ เจา๎ อาวาส, ผู๎นาชุมชน และรพ.สต.พระธาตุขิงแกง

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 57

๒) โครงการที่ ๔ โครงการอนรุ กั ษส์ บื สานการตกี ลองสะบดั ชยั และการตีกลองบูชา

ดนตรพี ืน้ บา๎ นเป็นเสียงดนตรีท่ีถํายทอดกันมาด๎วยวาจาซึ่งเรียนร๎ูผํานการฟัง

มากกวําการอํานและ เป็นสิ่งที่พูดตํอกันมาแบบปากตํอปากโดยไมํมีการจดบันทึกไว๎เป็นลายลักษณ์

อักษรจึงเป็นลักษณะการสืบทอด ทางวัฒนธรรมของชาวบ๎านต้ังแตํอดีตเร่ือยมาจนถึงปัจจุบันซึ่งเป็น

กิจกรรมการดนตรเี พอื่ ผํอนคลายความตึงเครียด จากการทางานและชํวยสร๎างสรรค์ความร่ืนเริงบันเทิง

เปน็ หมํคู ณะและชาวบา๎ นในทอ๎ งถิ่นน้ัน ซงึ่ จะทาให๎เกดิ ความรกั สามัคคีกันในท๎องถ่ินและปฏิบัติสืบทอด

ตอํ มายงั รํุนลูกรํนุ หลาน จนกลายเป็นเอกลักษณ์ทางพื้นบา๎ นของทอ๎ งถนิ่ น้ันๆ สืบตอํ ไป

วตั ถุประสงค์

๑. เพ่ือให๎เด็กและเยาวชนร๎ูจักใช๎เวลาวํางให๎เกิดประโยชน์ มีรายได๎ระหวําง

เรยี นและหํางไกลยาเสพตดิ

๒. เพ่ือให๎เด็กและเยาวชนมีความรู๎ความสามารถเลํนดนตรีพ้ืนบ๎านและตี

กลองสะบัดชัยได๎ สบื ทอดวัฒนธรรมใหค๎ งอยํู

ระยะเวลาดาเนินการ ทกุ วันอาทิตยข์ องเดือนมกราคม - กันยายน ๒๕๖๑

เป้าหมาย

เชงิ ปรมิ าณ ผรู๎ ํวมกิจกรรม จานวน ๕๐ รูป / คน

เชงิ คุณภาพ เยาวชนมีความร๎ูความสามารถในการตีกลองสะบดั ชัยและ

การตกี ลองบูชา

งบประมาณ ๕,๐๐๐ บาท

ผรู้ บั ผิดชอบโครงการ กลมํุ เยาวชนชมุ ชน, พระครนู ปิ ุณพฒั นกจิ ,

พระสตั ยา สจฺจาภจิ ินฺโณ

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 58

๓) โครงการท่ี ๕ โครงการปฏิบัติธรรม “พระพุทธศาสนา ธรรมะ กับธรรมชาติ”

เนอื่ งในวันวิสาขบูชา ประจาปี ๒๕๖๑

ในสภาวะปัจจุบัน โลกอยํูในยุคท่ีมีการเปล่ียนแปลงและการแขํงขันกันอยําง

สูง ซงึ่ นับวันจะทวคี วามรนุ แรงมากยิ่งข้นึ เรอ่ื ย ๆ มกี ารเปลีย่ นแปลงของสภาพสงั คม เศรษฐกิจ การเมือง

และสื่อเทคโนโลยีตํางๆ อยูํตลอดเวลา และในฐานะท่ีประเทศไทยเป็นสํวนหน่ึงของประชาคมโลก จึง

หลกี เลยี่ งไมํไดท๎ ่ีจะได๎รบั ผลกระทบจากการเปลย่ี นแปลงและการแขงํ ขนั อยาํ งรนุ แรงนี้ การเปล่ียนแปลง

คาํ นยิ มและวถิ ชี วี ติ ของคนไปสสํู ังคมบริโภคนิยม ซ่งึ เนน๎ การแขํงขันด๎านวัตถุและฐานะทางเศรษฐกิจ ทา

ให๎เด็ก และเยาวชน ขาดภูมิค๎ุมกันกํอให๎เกิดปัญหาท่ีเก่ียวกับเด็กและเยาวชนอีกมากมาย ทาให๎เกิด

ปัญหาสงั คมทีส่ งํ ผลสะท๎อนตํอเยาวชน เชํน ปัญหายาเสพติด อาชญากรรมตํางๆ การต้ังครรภ์กํอนวัย

อนั ควร ความยากจน เด็กเรํรอํ น การใช๎แรงงานเดก็ ฯลฯ เยาวชนจึงตอ๎ งมคี วามร๎แู ละศีลธรรมควบคํูกัน

ไป เพื่อใหเ๎ ยาวชนมีจรยิ ธรรม มศี ลี ธรรม และมคี าํ นยิ มในการดาเนนิ ชวี ิตท่เี หมาะสม

โ ค ร ง ก า ร ป ฏิ บั ติ ธ ร ร ม สั ป ด า ห์ สํ ง เ ส ริ ม พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า เ นื่ อ ง ใ น วั น วิ ส า ข บู ช า

“พระพุทธศาสนา ธรรมะกับธรรมชาติ” เป็นโครงการที่ชํวยพัฒนาเยาวชน โดยการพัฒนาจิตและ

ปลูกฝงั จริยธรรม คุณธรรม และศีลธรรม ตามหลักพุทธศาสนาอันเป็นแนวทางการประพฤติตนท่ีดี ให๎มี

ทกั ษะในการดาเนินชวี ติ “เกํง ดี และมีความสขุ ” เพ่อื ให๎เดก็ และเยาวชนท่ี นาธรรมะ นาหลักคาสอนที่

ไดร๎ บั ไปประยุกต์ใช๎ในชีวิตประจาวัน คือ การพัฒนากาย โดยการแสดงออกทางกิริยามารยาทชาวพุทธ

มีพฤติกรรมท่ีดีงามเหมาะสม การพัฒนาศีล โดยการอยูํรํวมกับครอบครัวและบุคคลในสังคม ด๎วย

ความเกื้อกูลและประกอบอาชีพที่สุจริต การพัฒนาจิต ให๎เป็นจิตท่ีสมบูรณ์ท้ังคุณภาพจิต พลังจิตและ

สขุ ภาพจติ และสดุ ท๎าย การพฒั นาปัญญา ให๎เกิดปญั ญาในการรูจ๎ รงิ ร๎เู ทําทันทางเจริญทางเสื่อมปัจจัยที่

เกยี่ วข๎อง รูว๎ ิธีการปอู งกนั ร๎ูวธิ แี กไ๎ ขปัญหา สรา๎ งภูมติ ๎านทานให๎กับตนเองด๎วยคุณธรรม ให๎เป็นผ๎ูมีชีวิต

อยูํอยํางรู๎เทําทันโลก นาพาชีวิตสูํความสาเร็จ เพื่อเกื้อกูลแกํตนเองและประเทศชาติในท่สี ดุ

วตั ถปุ ระสงค์

๑. เพ่ือให๎ประชาชนเห็นความสาคัญของหลักธรรมและนาไปปฏิบัติลด ละ

เลิกอบายมุข ดารงชีวติ อยํางพอเพยี ง

๒. เพ่ือให๎ประชาชนได๎เข๎าสูํหลักธรรม โดยมีศีล ๕ เป็นหลักปฏิบัติ และ

เพอ่ื ใหป๎ ระชาชนได๎มโี อกาสในการปฏบิ ัติประจาปี

ระยะเวลาดาเนินการ วันท่ี ๒๘ – ๓๐ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๑

เป้าหมาย

เชงิ ปริมาณ ผร๎ู ํวมกิจกรรม จานวน ๑๐๐ คน/ครั้ง

เชงิ คณุ ภาพ พทุ ธศาสนกิ ชนได๎ปฏบิ ัตธิ รรม รกั ษาศีล ๕ และเยาวชนได๎

ลด ละ เลิก อบายมุข

งบประมาณ ๕,๐๐๐ บาท

ผู้รบั ผดิ ชอบโครงการ พระครนู ิปุณพฒั นกิจ, พระสัตยา สจจฺ าภิจินโฺ ณ

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 59

๓) โครงการท่ี ๖ โครงการเสริมสร้างเยาวชนจิตอาสาพัฒนาชุมชน (เยาวชน
ต้นกล้าความดี วถิ พี อเพียง)

จัดกิจกรรมอบรมเยาวชนเสรมิ สรา๎ งจิตอาสาพัฒนาชมุ ชน โดยต้ังกลุํมเยาวชน
ต๎นกล๎าความดี วิถีพอเพียง ข้ึนเพื่อเยี่ยมบ๎านผ๎ูสูงอายุ/ผู๎พิการ/ผ๎ูปุวย ออกให๎การบริการให๎กับชุมชน
สงั คม โดยสร๎างจากพื้นฐานการดารงชวี ติ ตามเศรษฐกิจพอเพียง โดยกลุํมเพื่อนชํวยเพื่อน ให๎คาแนะนา
ปรึกษาแกํกลุํมเยาวชนท่ีมีปัญหาในครอบครวั และในโรงเรียน เพ่ือปลกู ฝ่ังคณุ ธรรมตามหลกั ธรรมสังคหะ
วัตถุ ๔ หลักธรรมที่เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวน้าใจของผ๎ูอ่ืน ผูกไมตรี เอื้อเฟื้อ เกื้อกูล หรือเป็นหลักการ
สงเคราะหซ์ ง่ึ กันและกนั

วตั ถุประสงค์
๑.เพ่ือปลูกฝังคณุ ธรรมแกํเด็กเยาวชนตามหลกั ธรรม สงั คหะวัตถุ ๔
๒.เพ่ือเชอ่ื มความสัมพันธ์ระหวํางวัยเตมิ กาลังใจใหก๎ ันและกันในชุมชน
๓.เพอ่ื เสริมสรา๎ งจิตสานึกเห็นคุณคําของตนเองในเด็กเยาวชน

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 60

ระยะเวลาดาเนินการ เดอื นมกราคม – กันยายน พ.ศ.๒๕๖๑

เป้าหมาย ผร๎ู ํวมกิจกรรม จานวน ๑๕๐ คน/คร้ัง
เชิงปริมาณ ได๎ปฏิบัติธรรม รกั ษาศลี ๕ เยาวชนไดล๎ ด ละ เลกิ อบายมขุ
เชิงคุณภาพ -
พระสตั ยา สจฺจาภจิ ินโฺ ณ
งบประมาณ เลขานกุ ารโครงการลานธรรม ลานวถิ ไี ทย
ผ้รู บั ผดิ ชอบโครงการ

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 61

๑๐.๓ ยุทธศาสตรท์ ี่ ๓ ส่งเสริม สนับสนุน การขยายผลและการพัฒนาเครือข่ายลานธรรม
ลานวถิ ไี ทยสู่ชุมชนคุณธรรมท่ยี ั่งยนื

๑) โครงการท่ี ๗ จัดต้ังศูนย์การเรียนรู้เกษตรพุทธะตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจ

พอเพยี ง

วัตถปุ ระสงค์

๑. เพ่อื ใหค๎ นในชมุ ชน เด็กนักเรียนเยาวชน เจ๎าหน๎าท่ี พนักงานในหนํวยงาน

องค์กร และสถานศึกษาได๎เรียนรู๎และรํวมกันขับเคล่ือนหลักปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพียงผํานการทาการเกษตร สวนสมุนไพร พร๎อมกับธรรมะ

หลักธรรม ไปด๎วยกนั

๒. เพือ่ ใหห๎ นวํ ยงาน องคก์ ร และสถานศึกษาจัดกจิ กรรมจิตอาสา

๓. เพอ่ื ใหค๎ าปรึกษากับผ๎ูที่สนใจในเร่ืองเกษตรทฤษฎีใหมํ หลักธรรม/ธรรมะ

ศึกษาสมุนไพรพ้ืนบ๎าน รํวมถึงเรื่องปัญหาในกลํุมวัยรุํนและปัญหาใน

ครอบครัว

ระยะเวลาดาเนนิ การ ตลอดทงั้ ปี

เปา้ หมาย

เชงิ ปริมาณ ผร๎ู ํวมกจิ กรรมตลอดทง้ั ปี จานวน ๑๐๐ คน/ครงั้

เชิงคณุ ภาพ พทุ ธศาสนกิ ชนได๎ปฏบิ ัตธิ รรม รกั ษาศลี ๕

งบประมาณ -

ผู้รบั ผดิ ชอบโครงการ พระสัตยา สจจฺ าภิจินโฺ ณ

เลขานกุ ารโครงการลานธรรม ลานวิถีไทย

และเจ๎าหน๎าทจ่ี ากโรงพยาบาลสํงเสริมสขุ ภาพตาบล

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 62

๑๐.๔ ยทุ ธศาสตร์ที่ 4 การเผยแพร่ประชาสมั พันธ์
๑) โครงการที่ ๘ โครงการเผยแพรค่ วามรเู้ กีย่ วกบั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง

และเรอื่ งศีล ๕

วตั ถปุ ระสงค์

เพื่อปลุกกระแสชุมชนให๎เข๎าใจและเข๎าถึงหลักความพอเพียงและหลักการ

รกั ษาศลี ๕ ในการดาเนนิ ชีวิต

ระยะเวลาดาเนินการ ตลอดท้ังปี

เป้าหมาย

เชงิ ปรมิ าณ คนในชุมชนและผูท๎ เ่ี ข๎าไปศึกษาเรยี นรใู๎ นศาสนสถาน

เชงิ คุณภาพ คนในชมุ ชนนาหลักความพอเพยี งและหลกั การรกั ษาศลี ๕

ไปใชใ๎ นการดาเนินชีวติ

งบประมาณ -

ผู้รับผิดชอบโครงการ พระครูนิปุณพฒั นกจิ

ประธานโครงการลานธรรม ลานวิถีไทย

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 63

3. รายงานผลการดาเนินการภารกิจ 6 ดา้ นของคณะสงฆ์ ประกอบดว๎ ย

ด้านท่ี 1 การสาธารณูปการ หมายถึง ภารกิจที่วัดหรือพระภิกษุดาเนินการเก่ียวกับการ

พัฒนาวดั ดา๎ นอาคาร สถานท่ี และส่งิ แวดลอ๎ ม การบรู ณปฏิสังขรณ์ในเขตพทุ ธาวาส และเขตสงั ฆาวาส

นโยบาย
๑. พัฒนาถาวรวัตถุ เสนาสนะ และอาคารประกอบ ให๎มีเอกลักษณ์ทางศิลปะสถาปัตยกรรม
ของชาติ ศิลปะ สถาปัตยกรรมและภมู ปิ ญั ญาท๎องถิน่ เนน๎ โครงสร๎างแข็งแรงทนทาน และประหยดั
๒. พัฒนาวัดให๎เป็นศูนย์กลางชีวิตและชุมชนปัญญาธรรม โดยการพัฒนาระบบนิเวศน์ และ
ภมู ิทัศนข์ องวัด ให๎เหมาะสมสอดคล๎องตํอสถานการณป์ ัจจุบัน
๓. พฒั นาเสนาสนะทีพ่ กั อาศัยของพระภกิ ษสุ ามเณร ให๎เปน็ สัปปายะ และมีจานวนเพียงพอแกํ
ผอ๎ู ยูอํ าศัย พร๎อมท้ังพฒั นาระบบสาธารณปู โภคให๎มีมาตรฐาน และเหมาะสมแกํสมณสารูป
๔. พัฒนาวัดให๎เป็นอาราม มีความรํมร่ืน สะอาด ปลอดอบายมุข เป็นธรรมสถาน คารวสถาน
และปุญญสถาน ของชมุ ชน
๕. พฒั นาวดั ให๎เป็นแหลํงศึกษาเรียนร๎ู สํงเสริม อนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมของชุมชน และเป็น
ศูนย์การเผยแพรํศิลปวัฒนธรรมท๎องถิ่น และของชาติ รํวมกับหนํวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาค
ประชาชนตลอดจนสถาบันการศึกษาท่ัวไป

มาตรการ
๑. มกี ารทาแบบแปลน แผนผังวัด รปู ลักษณะอาคาร กุฎีสังฆาวาส กาหนดเขตภายในวัดให๎เป็น
เขตพทุ ธาวาส เขตสงั ฆาวาส เขตการศกึ ษา และเขตสาธารณสงเคราะห์
๒. มีการวางแผนแมํบท เพือ่ จดั ทาระบบนิเวศน์ และจัดภูมิทัศน์ภายในบริเวณวัด โดยคานึงถึง
ความเหมาะสม ประหยัด และเปน็ การพัฒนาแบบย่ังยนื
๓. มกี ารบูรณะและกํอสร๎างเสนาสนะตําง ๆ อาทิ ศาลาบาเพ็ญกุศล ศาลาการเปรียญ กุฎิสงฆ์
กุฎิรับรอง หอประชุม และอาคารอเนกประสงค์ เทําท่ีมีความจาเปน็ และเออ้ื ประโยชนแ์ กสํ าธารณชน
๔. มีการจัดที่ธรณีสงฆ์ และศาสนสมบัติของวัด ให๎เป็นไปตามกฎหมาย กฎมหาเถรสมาคม
กฎกระทรวง ทัง้ น้ี เพื่อปูองกนั ความเสยี หายอนั อาจเกิดขึ้นเพราะเหตุใดเหตุหนึ่งก็ได๎
๕. จัดให๎มีมาตรการในการดูแล รักษา สํงเสริมความเป็นระเบียบเรียบร๎อยอันดีงามภายในวัด
และจดั บริการความสะดวกแกพํ ระภกิ ษุสามเณร สํวนราชการ หนํวยงานเอกชน ชุมชน องค์กรปกครอง
สํวนท๎องถิ่น และสถานศกึ ษา

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 64

ป้ายประชาสัมพนั ธ์ (ข้อมูลสารสนเทศ) รปู แบบ : สแกน QR Code
เม่อื สแกน QR Code จะแสดงประวตั ขิ องวดั แผนผังของวัด
และขอ้ มูลข่าวสารวดั พระธาตุขงิ แกง ในรปู แบบ 3 D

โดย กลุํมงานแผน และพัฒนาวัด สานักงานวัดพระธาตขุ งิ แกง อัปเดตขอ๎ มูล : วนั ท่ี 1 เมษายน 2563

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 65

ป้ายชอื่ วดั ตดิ ตั้ง จากตัวอาเภอ ทกุ ระยะ 4 กิโลเมตร 2 ป้าย
ทางเขา้ วัด 2 ป้าย, ทางขึ้น/หนา้ วดั ๒ ปา้ ย และในบรเิ วณวดั 1 ป้าย

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 66

ปา้ ยแสดงรายนามเจา้ อาวาส ตัง้ แต่ พ.ศ.๒๔๙๕ – ปัจจบุ นั
และปา้ ยสถิตบิ อกจานวนศาสนบคุ คลในวดั พระธาตขุ งิ แกง อ.จนุ จ.พะเยา


ปา้ ยคติธรรม พทุ ธภาษติ ทางกล่มุ สามเณรพาทา เปน็ ผดู้ าเนนิ การ
รว่ มกบั นกั เรยี นโรงเรียนบ้านธาตขุ งิ แกง จัดทาป้าย และตดิ ใต้ตน้ ไม้ รอบบรเิ วณวดั

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 67

ร้วั วัด หรอื กาแพงวดั แสดงอาณาเขตของวดั รวมถึง ถนนและทางเท้าภายในวดั
ห้องสขุ าสาธารณะ มีจานวนทัง้ หมด 20 ห้อง

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 68
ทน่ี ่ังพกั ผ่อน สาหรบั ในวัด มจี านวน 5 จดุ และหน้าวดั มีจานวน 2 จดุ

รอบบรเิ วณวัด จะประดบั ตกแตง่ สร้างบรรยากาศใหเ้ ปน็ ธรรมชาติ ด้วยไมด้ อกไมป้ ระดบั

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 69

การสาธารณปู โภคภายในวดั การใชอ้ าคารปฏบิ ัติธรรม เปน็ ศนู ยก์ ลางการประชมุ อบรม
สมั มนา และทากิจกรรมของชุมชน และหน่วยงานตา่ งๆ

การแตง่ ต้งั ไวยาวัจกร

ตามความในมาตรา ๓๗ (๑) แหํงพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ บัญญัติหน๎าท่ีเจ๎า
อาวาสไว๎วํา “บารุงรักษาวัด จัดกิจการและศาสนสมบัติของวัดให๎เป็นไปด๎วยดี” และวิธีจัดการศาสน
สมบัติของวัดซึ่งกาหนดในกฎกระทรวง ก็เป็นวิธีการอันละเอียดและเหมาะแกํคฤหัสถ์ ที่บัญญัติให๎มี
ไวยาวัจกรก็เพื่อให๎ชํวยงานเจ๎าอาวาสในการนี้ ซ่ึง เจ๎าอาวาสจะมอบหมายเป็นหนังสือ
ทางวดั พระธาตขุ งิ แกงได๎ ดาเนินการและปฏบิ ัติ ดังนี้

1. หลกั เกณฑก์ ารแตงํ ตงั้ ให๎แตํงตง้ั ในเมือ่ ไวยาวจั กรวํางลงหรือท่ีมีอยํูไมํเพียงพอกับปริมาณงาน
เฉพาะที่ไวยาวัจกรวาํ งลง จะแตํงตัง้ ผ๎รู กั ษาการในตาแหนํงไวยาวัจกรเป็นการช่ัวคราวกํอนก็
ได๎ การแตํงตง้ั ไวยาวจั กรนั้น กาหนดคุณสมบัติอันเปน็ หลกั เกณฑ์ไว๎หลายอยาํ ง เชํน เป็นชาย
มสี ญั ชาตไิ ทย นบั ถอื พระพุทธศาสนา มอี ายไุ มตํ ่ากวาํ ๒๕ ปีบรบิ ูรณ์ เป็นตน๎

2. วิธแี ตํงตงั้ เจ๎าอาวาสปรกึ ษาสงฆ์ในวัดพิจารณาคัดเลือกคฤหัสถ์ผ๎ูมีคุณสมบัติตามกฎมหาเถร
สมาคมเพื่อขออนุมัติแตํงตั้ง มติแหํงการปรึกษาน้ัน ต๎องเห็นพ๎องกัน เมื่อปรึกษาแล๎วให๎ขอ
อนุมัติจากเจ๎าคณะอาเภอโดยเสนอผํานเจ๎าคณะตาบล รับอนุมัติแล๎วจึงแตํงต้ัง เมื่อแตํงต้ัง
แล๎ว ต๎องรายงานการแตํงตั้งตํอเจ๎าคณะอาเภอและแจ๎งนาย อาเภอเพ่ือแจ๎งสานักงาน
พระพุทธศาสนาแหํงชาติ และควรแจ๎งให๎สงฆ์และทายกทายิกาวัดนั้นทราบด๎วย

3. การแตํงตัง้ ไวยาวจั กร ต๎องให๎เปน็ ไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการ จึงเป็นการแตํงตั้งท่ีชอบด๎วย
กฎหมาย ต๎องทาหนงั สือมอบหมายการงานให๎รบั ปฏิบัติและถ๎าแตํงต้ังแทนคนเดิม ต๎องสั่งให๎
ไวยาวัจกรคนเดิมหรอื ทายาทมอบหมายการงานพรอ๎ มดว๎ ยทรัพย์สินและหลกั ฐานตาํ ง ๆ ซึ่ง
อยูใํ นความรับผดิ ชอบของผู๎นั้นใหแ๎ กไํ วยาวจั กรคนใหมํดว๎ ย

การแต่งตั้งไวยาวัจกร
ข๎อ ๖ คฤหสั ถผ์ ๎ูจะไดร๎ บั การแตงํ ตั้งเป็นไวยาวัจกร ต๎องประกอบด๎วยคุณสมบตั ิ ดงั ตํอไปนี้
(๑) เปน็ ชาย มีสัญชาตไิ ทย นับถือพระพทุ ธศาสนา
(๒) มอี ายไุ มํตา่ กวํา ๒๕ ปบี รบิ ูรณ์
(๓) เปน็ ผูม๎ หี ลักฐานมัน่ คง

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 70

(๔) เปน็ ผ๎ูมคี วามรค๎ู วามสามารถทจ่ี ะปฏบิ ตั ิหน๎าทไี่ วยาวจั กรได๎
(๕) เป็นผู๎เลื่อมใสในการปกครองตามระบอบรัฐธรรมนูญ
(๖) ไมเํ ป็นผ๎ทู ่มี รี าํ งกายทพุ พลภาพ ไรค๎ วามสามารถ หรือมีจิตฟ่ันเฟือนไมํสมประกอบ
หรอื มีโรคเป็นทรี่ ังเกยี จแกสํ ังคม
(๗) ไมํเป็นผ๎ูบกพรํองในศีลธรรมอนั ดี เชนํ มคี วามประพฤติเสเพล เป็นนักเลงการพนัน
เสพสรุ าเป็นอาจณิ หรอื ติดยาเสพติดให๎โทษ
(๘) ไมํเป็นผู๎มีหนี้สนิ ลน๎ พน๎ ตัว
(๙ ) ไมํเป็นผู๎ที่เคยถูกลงโทษให๎ออกจากราชการ หรือองค์การของรัฐบาล หรือบริษัท
ห๎างร๎านเอกชน ในความผดิ หรอื มีมลทนิ มัวหมองในความผดิ เกย่ี วกับการเงนิ
(๑๐) ไมํเป็นผ๎ูที่เคยถูกลงโทษจาคุก เว๎นแตํความผิดที่เป็นลหุโทษหรือความผิดอันได๎
กระทาโดยประมาท
ข๎อ ๗ ในการแตํงตั้งไวยาวัจกรของวัดใด ให๎เป็นอานาจหน๎าที่ของเจ๎าอาวาสวัดน้ันปรึกษาสงฆ์
ในวัดพิจารณาคัดเลือกคฤหัสถ์ผ๎ูมีคุณสมบัติตามความในข๎อ ๖ เม่ือมีมติเห็นชอบในคฤหัสถ์ผ๎ูใดก็ให๎เจ๎า
อาวาสแตงํ ต้ังคฤหสั ถผ์ ๎ูน้ันเปน็ ไวยาวจั กร โดยอนุมตั ิของเจ๎าคณะอาเภอ
ในการแตํงตง้ั ไวยาวจั กรตามความในวรรคต๎น เพือ่ ความเหมาะสมจะแตํงต้ังไวยาวัจกรคนเดียว
หรือหลายคนกไ็ ด๎
ในกรณที ่ีมีไวยาวัจกรหลายคน ให๎เจ๎าอาวาสมอบหมายหน๎าท่ีการงานตามข๎อ ๔ แกํไวยาวัจกร
แตลํ ะคนเป็นหนงั สอื

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 71

การจัดทาทะเบยี นอสงั หารมิ ทรพั ย์และสังหาริมทรพั ย์

ทรัพย์สินอันเป็นศาสนสมบัติของวัด เป็นสมบัติสํวนหน่ึงของพระศาสนา กลําวคือเป็นสมบัติ
สํวนวัด ได๎แกํ เงิน ที่ดิน อาคาร และทรัพย์สินอื่น กลําวรวมได๎แกํ สังหาริมทรัพย์และอสังหาริมทรัพย์
สํวนการจัดการและการเก็บรักษานั้น ให๎เป็นไปตามวิธีการท่ีกาหนดในกฎกระทรวง เพ่ือให๎เจ๎าอาวาส
เข๎าใจวิธีปฏิบัติและปฏิบัติได๎ถูกตามกฎกระทรวง ทางวัดพระธาตุขิงแกง ได๎ใช๎วิธีทาทะเบียนทรัพย์สิน
ของวัด ดังตํอไปน้ี

๑. ทรพั ย์สนิ ท่ตี อ๎ งลงทะเบียน
๒. การไดม๎ าซ่งึ ทรัพยส์ นิ
๓. การจาหนาํ ยทรัพยส์ นิ
๔. วิธีจดั ทาทะเบียน

วธิ ีทาทะเบยี น ใช๎ทะเบียนทรพั ยส์ ินของวัด (ศบว.๑) จดั ทาทะเบยี นทรัพยส์ ินของวัดทกุ
จานวนได๎ถกู ต๎องเรยี บรอ๎ ย และเกบ็ ทะเบียนเลํมนน้ั ไวเ๎ ป็นหลกั ฐาน โดยลงรายการดงั น้ี

ชํองที่ ๑ เลขที่ทรพั ย์สนิ สาหรับลงเลขท่บี อกลาดับทีล่ งทะเบียนกอํ นหลงั
ชอํ งท่ี ๒ วนั เดือน ปี สาหรบั ลงวนั ท่ี เดือน พ.ศ.ซ่งึ ลงทะเบียนทรัพยส์ ินนั้น
ชํองที่ ๓ รายการทรัพยส์ ิน สาหรับลงช่ือทรัพย์สินเชํน ที่วดั กุฎี อาคารพาณิชย์
ชอํ งท่ี ๔ จานวนเน้อื ทส่ี าหรบั จานวนสง่ิ ของ หรือจานวนเน้ือทที่ ่ีดินเชํน ไรํ งาน วา
ชํองที่ ๕ หนงั สอื สาคัญ ฯ สาหรับลงเลขท่ีหนังสือแสดงกรรมสทิ ธ์ทิ ่ีดิน เชํน โฉนด

ที่…….… หรือเครอ่ื งหมายทรพั ยส์ ิน เชํน เบอรพ์ ระพทุ ธรปู
ชอํ งท่ี ๖ ทรพั ยส์ นิ รายนต้ี ง้ั อยํู ฯ สาหรบั ลงท่ีต้ังของทรพั ย์สิน
ชอํ งท่ี ๗ รายการจาหนําย สาหรับลงรายการเมื่อมีการจาหนํายโดยระบุ วนั เดอื น

ปี จานวน และเหตุทจี่ าหนําย
ชอํ งที่ ๘ หมายเหตุ สาหรับใช๎หมายเหตุประกอบในกรณี

ทะเบยี นทรพั ย์สินของวัดพระธาตขุ ิงแกงนี้ จะทารวมเลมํ เดยี วท้งั สงั หารมิ ทรพั ยแ์ ละ
อสงั หาริมทรัพย์

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 72

บญั ชกี ารเงนิ การเกบ็ รกั ษาเงนิ ของวัดพระธาตขุ ิงแกง

การรบั และการเกบ็ รักษาเงินของวัดและการทาบัญชี เป็นงานการศาสนสมบัติของวัดงานหนึ่ง
ซ่ึงอยํูในความดูแลและจัดการของเจ๎าอาวาส ในกฎกระทรวงข๎อ ๕ - ๖ ได๎ระบุไว๎โดยชัดเจน
ทางวดั พระธาตุขงิ แกง ไดม๎ ีวธิ ีปฏิบตั ิเป็น ๓ วธิ ี คือ

๑. วิธรี ับและเก็บรักษาเงนิ ของวัด
๒. วิธีทาบญั ชีรับจําย
๓. วธิ ีทาบญั ชงี บปขี องวดั

วธิ ีรับและเก็บรกั ษาเงนิ ของวดั
ก. วิธีรับเงินของวัด การรับเงินผลประโยชน์ไมํวํากรณีใด ๆ วัดจะออกใบเสร็จรับเงิน

(ศบว.๗) แสดงการรับทุกครั้ง แล๎วจึงนายอดเงินตามใบเสร็จน้ันเข๎าบัญชีรับและลงเลขท่ีใบเสร็จไว๎ใน
บัญชีรับอีกครั้ง แม๎การรับดอกเบ้ียเงินฝากธนาคารเข๎าบัญชีรับ ก็ต๎องปฏิบัติเชํนเดียวกัน สาหรับ
อนโุ มทนาบตั รจะมีหรือไมํก็ได๎

สํวนการรับเงินการกุศล ควรออกอนุโมทนาบัตรแล๎วลงบัญชีรับและอ๎างเลขท่ีอนุโมทนาบัตรใน
บัญชรี บั อกี ครัง้ หนงึ่

ข. วิธเี ก็บรักษาเงินของวดั วัดจะเกบ็ รกั ษาเงินผลประโยชนข์ องวัดเองได๎เพียง ๓,๐๐๐ บาท
สํวนท่ีเกิน ๓,๐๐๐ บาท ได๎นาฝาก ธนาคาร โดยระบุชื่อบัญชีวํา “วัดพระธาตุขิงแกง” การเบิกเงินจาก
ธนาคาร กาหนดเงือ่ นไขให๎ลงนามรวํ มกัน ๓ คน คือ เจ๎าอาวาส ๑ ไวยาวัจกรหรือผ๎ูจัดประโยชน์ ๑ ผู๎ท่ี
เจา๎ อาวาสเห็นควร ๑ จึงถอนได๎ หรือเมื่อฝากลงนามรํวมกัน ๓ คน เมื่อจะถอนลงนาม ๒ ใน ๓ มีเจ๎า
อาวาสเป็นหลัก

วธิ ีทาบญั ชรี บั จ่าย
เจ๎าอาวาสมอบให๎ไวยาวจั กรหรอื ผูจ๎ ดั ประโยชนข์ องวัด จัดทาบัญชีรับจํายประจาเดือน โดย

ใช๎แบบ (ศบว.๕) ทุกเม่ือสิ้นเดือน ให๎รวบรวมยอดรับจํายหักยอดคงเหลือและยอดยกไปเดือนตํอไป
ผู๎ทาบัญชลี งนามรบั รองแลว๎ เสนอเจ๎าอาวาสตรวจ และควรให๎ตรวจทกุ เดอื น

วิธที าบัญชีงบปี
เจ๎าอาวาสตั้งให๎ไวยาวัจกรหรือผู๎จัดประโยชน์ของวัด จัดทาบัญชีงบมีตามแบบ (ศบว.๖)

ตัดยอดวันที่ ๓0 มถิ ุนายน โดยปฏบิ ตั ิดังน้ี
(๑) แยกรายรบั ทงั้ ปอี อกเป็นประเภท เชํน ยอดเงนิ ยกมาจากปีเกํา,เงินคําเชํา,เงินคําบารุง

,เงินคําดอกเบย้ี ,เงินการกุศลตําง ๆ และรายรับอ่ืน ๆ แตํละประเภทเป็นเงินเทําใดและรวมทุกประเภท
เปน็ เงนิ เทาํ ใด

(๒) แยกรายจํายท้ังปอี อกเป็นประเภท เชํน คํากํอสร๎างและบูรณะ,คํา ตอบแทน,คําภาษี
,คาํ นา้ ปะปา-ไฟฟูา-โทรศัพท์, คําคนงานวัด และรายจํายอื่น ๆ แตํละ ประเภทเป็นเงินเทําใด และรวม
ทกุ ประเภทเปน็ เงนิ เทําใด

(๓) เมอื่ หักแล๎ว คงเหลือเงนิ เทาํ ใด
(๔) เงินที่เหลอื เปน็ เงนิ สดเทาํ ใด ฝากธนาคารไหน เทําใด

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 73

เม่ือจัดลงรายการในบัญชีงบปีเรียบร๎อยแล๎ว ผ๎ูจัดทาบัญชีลงนามรับรอง แล๎วเสนอเจ๎าอาวาส
ลงนาม และเกบ็ ไว๎ใหผ๎ ๎สู อบบญั ชีตรวจสอบอีกคร้งั หนง่ึ

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 74

สภาพอาคารเสนาสนะภายในวัดพระธาตขุ งิ แกง จดั ระบบให้เปน็ สถานทร่ี ะเบียบเรียบรอ้ ย
ทัง้ ในเขตพทุ ธาวาส เขตสังฆาวาส และพืน้ ที่อนื่ ๆ ในบริเวณโดยรอบวัด ให้สะอาด ตามหลกั 5 ส.
สะสาง คอื การแยกของทีต่ ๎องการ ออกจากของท่ีไมตํ ๎องการและขจัดของทไ่ี มํต๎องการทง้ิ ไป
สะดวก คอื การจัดวางสง่ิ ของตาํ งๆ ในทที่ างาน ใหเ๎ ปน็ ระเบียบเพอื่ ความสะดวก และ ปลอดภัย
สะอาด คอื การทาความสะอาด เครอ่ื งมอื อปุ กรณ์ และสถานทท่ี างาน
สุขลกั ษณะ คอื สภาพหมดจด สะอาดตา ถูกสขุ ลักษณะ และรกั ษาให๎ดตี ลอดไป
สร๎างนิสยั คือ การอบรม สร๎างนสิ ยั ในการปฏิบัติงานตามวนิ ัย ข๎อบังคบั อยาํ งเครํงครัด

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 75

ด้านที่ ๒ การปกครอง หมายถึง ภารกิจที่วัดโดยพระภิกษุผู๎เป็นเจ๎าอาวาส หรือเจ๎าคณะ

ปกครองดาเนนิ การสอดสอํ ง ดแู ล รักษาความเรยี บร๎อยดงี าม เพ่อื ใหพ๎ ระภกิ ษสุ ามเณรท่ีอยใูํ นวัด หรือใน
การปกครองปฏิบัติตามพระธรรมวินัย กฎหมาย กฎ ข๎อบังคับ ระเบียบ คาสั่ง ประกาศของ มหาเถร
สมาคม หรือพระบัญชาของสมเดจ็ พระสงั ฆราช

งานดา้ นการปกครอง ของ พระครูนปิ ุณพัฒนกิจ (เจ๎าอาวาสวดั พระธาตขุ ิงแกง)
พ.ศ. ๒๕๒๗ เป็นเจา๎ อาวาส วัดพระธาตขุ ิงแกง ต.พระธาตุขงิ แกง อ.จนุ จ.พะเยา
พ.ศ. ๒๕๓๙ เปน็ เจ๎าคณะตาบลพระธาตขุ ิงแกง อาเภอจนุ จงั หวดั พะเยา
พ.ศ. ๒๕๓๙ ได๎รับแตงํ ตัง้ เป็นประธานพระวนิ ยาธิการ ประจาอาเภอจนุ จังหวัดพะเยา
พ.ศ. ๒๕๔๑ ไดร๎ ับแตํงตง้ั เป็นคูํสวดกรรมวาจาสังฆกรรม
พ.ศ. ๒๕๔๒ ได๎รับแตงํ ตั้งเปน็ พระอปุ ัชฌาย์
พ.ศ. ๒๕๕๗ ได๎รับแตงํ ตั้งเปน็ รองเจ๎าคณะอาเภอจนุ อาเภอ จนุ จงั หวดั พะเยา
พ.ศ. ๒๕60 มีพระภิกษุจาพรรษา ๗ รปู สามเณร 8 รูป รวม 15 รปู
พ.ศ. ๒๕61 มพี ระภิกษุจาพรรษา 9 รูป สามเณร 9 รูป รวม 18 รปู
พ.ศ. ๒๕62 มีพระภกิ ษุจาพรรษา 9 รูป สามเณร ๑1 รูป รวม ๒๐ รปู

การประชุมของคณะกรรมการวัดพระธาตขุ ิงแกง
การบริหารงานของคณะกรรมการวดั พระธาตุขงิ แกง จัดให๎มีการประชุมคณะกรรมการเดือนละ

1 คร้ัง เพ่ือวางแผนจัดการและจัดกิจกรรมให๎กับวัด ชุมชนตลอดจนรายงานความก๎าวหน๎า ปัญหา
อุปสรรค ในการทางานของคณะกรรมการฝาุ ยตํางๆเพ่ือนามาปรบั ปรุงการทางานให๎เกดิ ประสทิ ธภิ าพ

การวางแผนพัฒนาของคณะกรรมการ
วัดพระธาตุขิงแกง จะประชุมคณะกรรมการ
ดาเนิน ง าน คณะ กร ร มก ารท่ีปรึก ษา และ
คณะกรรมการอานวยการ ทุกวันศุกร์ แรกของ
เดือน

ปจั จบุ นั คณะกรรมการวดั พระธาตขุ งิ แกง
มีจานวนท้งั หมด 40 คน ซงึ่ แบํงออกเป็นฝุายตํางๆ
จานวน 5 ฝุาย

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 76

สมดุ เยย่ี ม และสมุดบนั ทึกประวัตวิ ดั
- จดั ทาสมุดเยี่ยมตามแบบฟอร์ม สภาพเรยี บร๎อยเปน็ ปจั จบุ นั
- สมดุ บนั ทึกประวตั วิ ัด ไดบ๎ ันทึกเปน็ ขอ๎ มลู สมบูรณ์ สภาพเรยี บรอ๎ ย

การจัดทาแผนงาน/โครงการพัฒนาวดั พระธาตขุ งิ แกง
วัดพระธาตุขิงแกง ได๎แบํงการจัดทาแผนงานพัฒนาวัด ออกเป็น 2 ระดับ คือ ๑. แผนการ

ดาเนินงานพัฒนา ระยะแผน ๓ ปี และ 2. แผนการดาเนินงานพัฒนา ประจาปีงบประมาณ ซึ่งในปี
2562 ไดด๎ าเนนิ โครงการตามแผนยทุ ธศาสตร์ จานวน 2๕ โครงการ/กิจกรรม และมีการจดั ทาแผนงาน
โครงการพัฒนาวดั พระธาตขุ งิ แกง ในระบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ Microsoft Word // Microsoft Office

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 77

ทะเบยี นพระภกิ ษุ สามเณร และศษิ ยว์ ดั
วัดพระธาตุขิงแกง ได๎จัดทาทะเบียนพระภิกษุ สามเณร และศิษย์วัด เป็นปัจจุบัน จัดทาและ

เกบ็ รกั ษา โดย ฝาุ ยทะเบยี น และแผนงาน สนง.วัดพระธาตุขิงแกง

สวสั ดกิ ารภายในวัดพระธาตุขิงแกง
ทางวัดพระธาตุขิงแกง มีนโยบายในการสงเคราะห์ ดูแล พระภิกษุสามเณร และบุคคลภายใน

วัดอยํางเตม็ ท่ีเพอื่ เป็นกาลงั ในการพฒั นาวัดตํอไป ซึ่งมีสวัสดกิ าร ดงั นี้
1. ถวายทนุ การศกึ ษาพระภิกษสุ ามเณร ตลอดจนจบการศึกษาปริญญาตรี
2. ถวายคําพาหนะในการเดนิ ทางไปศกึ ษาเลาํ เรยี น เดอื นละ 300 บาท
3. จัดเตรยี มอปุ กรณ์การเรียน และอุปกรณ์ตาํ งๆในการดาเนนิ ชีวิตภายในวดั
4. จัดสถานท่ีพกั (กฏุ ิ) พรอ๎ มอุปกรณ์ในห๎องพกั ให๎พระภกิ ษุสามเณรทกุ รปู
5. ถวายผ๎าไตร ใหก๎ ับพระภิกษสุ ามเณรทุกรูป ปีละ 2 ครงั้
6. มีสหกรณ์ทาความดี สาหรับพระภิกษุสามเณร ได๎ใช๎ประโยชน์ นาสมุดทาความดีมาแลก
ส่ิงของเครื่องใช๎ ตาํ งๆ
7. ดแู ลเรอ่ื งภัตตาหารเช๎า-เพล และน้าปานะ ทุกวัน โดยหาผู๎อุปถมั ภต์ ามกาลังศรัทธา
8. ดูแลคาํ พยาบาล ใหก๎ บั พระภิกษุสามเณรทุกรูป
9. จดั สถานทใ่ี นการศกึ ษาเลําเรยี น ภายในวดั เชํน ห๎องสมุด, ห๎องคอมพวิ เตอร,์ ห๎องเรียน

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 78

ระเบียบปฏบิ ัติของพระภกิ ษุ สามเณร และศษิ ยว์ ดั
- ไดจ๎ ดั ทาระเบียบปฏิบัติฯ กาหนดการเป็นลายลกั ษอ์ กั ษร
- มีระเบียบการปกครองวัดไปตามพระธรรมวินัย พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ระเบียบ กฎ มติ

และคาส่งั ของมหาเถรสมาคม โดยเนน๎ หลกั ทางด๎านพระธรรมวนิ ยั เปน็ หลกั
- มกี ตกิ าภายในวดั สาหรบั พระภิกษุ สามเณร คอื ถ๎าจะขออุปสมบทจะต๎องมาอยูํที่วัดเป็นเวลา

๗ วัน เพ่อื ทอํ งขานนาคบวชให๎ได๎ และดคู วามประพฤตถิ า๎ จะขอบรรพชาจะต๎องมาอยํูวัดเป็นเวลา ๓ วัน
เพือ่ ทํองศีลให๎ได๎ และดูความประพฤติ จะต๎องมหี ลกั ฐานครบทกุ รายการ

๑. สาเนาบตั รประชาชน
๒. สาเนาทะเบียนบ๎าน
๓. หนงั สอื รับรองความบรสิ ุทธิจ์ ากกานันหรือผใ๎ู หญํบา๎ น
๔. ใบรบั รองแพทย์
๕. ใบรบั รองการตรวจปสั สาวะ
- จดั ให๎มกี ารทาวัตรเช๎า - เยน็ ตลอดทง้ั ปี มีพระภกิ ษุสามเณร และศิษย์วดั ตลอดทง้ั ปี
- จัดเวรในการทาความสะอาดวัด หอฉัน ศาลาการเปรียญ ตามเวลาอันสมควร และจัดพระ
เจ๎าหนา๎ ทคี่ อยอานวยความสะดวกแกผํ ู๎ท่ีเข๎ามาจัดพธิ ีกรรมตาํ ง ๆ

การประชุมอบรมศีลาจารวตั รของพระภิกษุสามเณร และศิษยว์ ัดพระธาตุขงิ แกง
จะจดั ประชมุ ทุกวนั พระข้นึ - แรม ๑๕ ค่า เพือ่ เป็นการอบรม สอนธรรมปฏบิ ัตใิ ห๎กบั พระภิกษุ

สามเณร และศิษย์วัด มกี ารสอนปฏบิ ัตพิ ระกรรมฐานเบื้องต๎น

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 79

การทาวตั รเช้า – เย็น ของพระภกิ ษุสามเณร และศษิ ยว์ ดั พระธาตุขิงแกง

การทาความสะอาดวัดของพระภิกษุสามเณร และศษิ ยว์ ดั พระธาตขุ งิ แกง

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 80

การประพฤติปฏิบตั ขิ องพระภกิ ษุสามเณร และศิษยว์ ัดพระธาตขุ ิงแกง

ระเบียบปฏบิ ัตสิ าหรบั บคุ คลภายนอกทมี่ าร่วมกจิ กรรมหรอื ใชส้ ถานที่ของวัดจัดกิจกรรมตา่ งๆ
๑. ตอ๎ งไดร๎ บั อนญุ าตจากเจ๎าอาวาสกํอนทกุ คร้งั
๒. ต๎องแสดงบัตรประจาตัวประชาชนหรือใบขับข่รี ถยนต์ พรอ๎ มกับทะเบยี นรถที่จะเข๎าพัก
๓. ตอ๎ งแจ๎งเจา๎ อาวาสกอํ นออกจากที่พัก
๔. ต๎องไมํสํงเสยี งดงั รบกวนพระภกิ ษุ - สามเณรในวดั
๕. ต๎องชดใชค๎ ําเสยี หาย เมอื่ ส่งิ ของเสยี หายหรอื ชารุดตามราคาสงิ่ ของนน้ั ๆ
๖. ตอ๎ งทาความสะอาดสถานทใ่ี ห๎เรยี บร๎อยกํอนจากไป
๗. ต๎องบารุงคาํ นา้ คาํ ไฟ ตามสมควร
๘. ห๎ามนาสรุ าหรอื สงิ่ เสพติดเข๎ามาในบรเิ วณวดั โดยเด็ดขาด
๙. หา๎ มเลนํ การพนันทุกชนดิ
๑๐. ถา๎ ไมํปฏิบัตติ ามระเบียบข๎างต๎นจะเชญิ ออกจากสถานที่พักทันที
วดั พระธาตขุ งิ แกง ได๎จัดการปกครองอยาํ งสามคั คธี รรม มีพระธรรมวินัยเป็นบรรทัดฐาน โดยมี

เจา๎ อาวาสเปน็ ประธาน ไมแํ ยกคณะ จัดระบบเป็นหมเํู ดียวกนั ฉันภัตตาหารรวมกนั ท้ังวดั เม่ือมกี จิ กรรม
สงฆเ์ กดิ ขน้ึ จะมกี ารประชมุ ตักเตอื นผบ๎ู กพรํอง และยกยํองผ๎ูปฏบิ ตั ิดีทกุ โอกาส

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 81

ดา้ นที่ ๓ การศาสนศึกษา หมายถึง ภารกิจดา๎ นการจัดการศึกษาพระปริยัติธรรมของคณะ

สงฆ์ท้ังแผนกธรรม - บาลี แผนกสามัญ การอุดมศึกษาในมหาวิทยาลัยสงฆ์ทั้งสองแหํง ภารกิจด๎านน้ี
ครอบคลุมถงึ การทพ่ี ระภกิ ษทุ าหน๎าทเี่ ป็นครูสอน เปน็ กรรมการตรวจข๎อสอบธรรมบาลีสนามหลวง เป็น

เลขานุการ สอบธรรม – บาลีสนามหลวง เป็นผ๎ูอานวยการหรือเป็นประธานจัดสอบธรรม – บาลี
สนามหลวง และเปน็ เจา๎ สานักเรยี น ในฐานะทเ่ี ป็นเจา๎ อาวาส นอกจากนี้ ยังรวมถงึ การสํงเสริมการศึกษา
พระปรยิ ตั ธิ รรมทุกๆ วธิ ที ่ีไมํขดั ตํอพระธรรมวนิ ยั

การดารงตาแหนง่ ดา้ นการศาสนศกึ ษา ของ พระครนู ปิ ณุ พฒั นกจิ (เจา๎ อาวาสวัดพระธาตขุ งิ แกง)
พ.ศ. ๒๕๔๑ ดารงตาแหนงํ ผอู๎ านวยการโรงเรยี นห๎วยขา๎ วกา่ วิทยา
พ.ศ. ๒๕๓๙ ดารงตาแหนงํ ผูอ๎ านวยการสานกั ศาสนศกึ ษาวดั พระธาตขุ งิ แกง

พ.ศ. ๒๕๔๖ ดารงตาแหนํง กรรมการสนามหลวงแผนกธรรม
พ.ศ. ๒๕๔๖ ดารงตาแหนํง ประธานกลุมํ โรงเรยี นปริยัติธรรมแผนกสามัญศกึ ษา พะเยา
พ.ศ. ๒๕๔๙ เปน็ ผอ๎ู านวยการศูนย์พระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ วดั พระธาตขุ ิงแกง

พ.ศ. ๒๕๕๐ เป็น พระสอนศลี ธรรมในโรงเรียนประจาอาเภอจนุ จงั หวดั พะเยา
พ.ศ. ๒๕๕๓ เป็น รองประธานกลุํมโรงเรียนปริยัตธิ รรมแผนกสามญั ศกึ ษา กลมุํ ๖
พ.ศ. 2553 จดั ตัง้ กองทุนเพอื่ การศกึ ษาพระภกิ ษุสามเณร และนกั เรียนผ๎ูยากไร๎ อาเภอจนุ

สถิตินักเรียนแผนกธรรม – บาลี

พ.ศ. ๒๕60 มีนักเรยี นแผนกธรรมภายในวดั ดังน้ี

น.ธ. ตรี จานวน 3 รูป สมัครสอบ 3 รูป

สอบไดจ๎ านวน 2 รูป สอบตก 1 รูป

น.ธ. โท จานวน ๕ รูป สมคั รสอบ 5 รูป

สอบไดจ๎ านวน 4 รูป สอบตก ๑ รปู

น.ธ. เอก จานวน 2 รูป สมัครสอบ 2 รปู

สอบไดจ๎ านวน 2 รูป สอบตก 0 รปู

รวมนกั เรยี น ๑0 รปู เขา๎ สอบ ๑0 รูป สอบได๎ 8 รปู สอบตก 2 รูป

พ.ศ. ๒๕61 มนี ักเรยี นแผนกธรรมภายในวดั ดังนี้

น.ธ. ตรี จานวน 2 รูป สมัครสอบ 2 รูป

สอบไดจ๎ านวน 2 รปู สอบตก 0 รปู

น.ธ. โท จานวน 3 รปู สมัครสอบ 3 รูป

สอบได๎จานวน 3 รปู สอบตก 0 รปู

น.ธ. เอก จานวน 4 รปู สมคั รสอบ ๔ รปู

สอบได๎จานวน 3 รปู สอบตก 1 รปู

รวมนักเรยี น 9 รปู เขา๎ สอบ 9 รูป สอบได๎ 8 รปู สอบตก 1 รูป

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 82

พ.ศ. ๒๕62 มีนักเรียนแผนกธรรมภายในวัด ดงั นี้

น.ธ. ตรี จานวน 3 รูป สมคั รสอบ 3 รปู

สอบได๎จานวน 3 รูป สอบตก 0 รูป

น.ธ. โท จานวน 2 รูป สมัครสอบ 2 รปู

สอบได๎จานวน 2 รปู สอบตก 0 รูป

น.ธ. เอก จานวน 4 รปู สมคั รสอบ 4 รปู

สอบไดจ๎ านวน 3 รปู สอบตก 1 รปู

รวมนกั เรยี น 9 รปู เข๎าสอบ 9 รูป สอบได๎ 8 รปู สอบตก ๑ รปู

วิธสี ง่ เสริมการศกึ ษา ดังนี้
๑. จัดตั้งกองทนุ เพ่อื การศึกษาของพระภิกษุสามเณรวดั พระธาตุขงิ แกง ตาบลพระธาตขุ งิ แกง

อาเภอจนุ จงั หวัดพะเยา โดยพระครนู ปิ ุณพฒั นกิจ เพื่อสํงเสริมใหแ๎ กนํ กั เรียนทม่ี ีความประพฤติ
ดี เรยี นดี แตํยากจน มอบทุนการศึกษาใหก๎ ับโรงเรียนบา๎ นธาตุขิงแกง โรงเรียนหว๎ ยขา๎ วก่าวิทยา
๒. จัดหาวัสดุอุปกรณก์ ารเรียนการสอนให๎พระภกิ ษสุ ามเณรภายในวัดพระธาตขุ ิงแกง เชนํ สมดุ

ปากกา หนังสอื เป็นต๎น
๓. มีการมอบทุนการศกึ ษาแกํผู๎ทส่ี อบได๎ นักธรรม ทุกชน้ั ตามกาลงั เปน็ ประจาทกุ ๆปี

๔. จัดกจิ กรรมโครงการเยาวชน ต๎านภยั ยาเสพตดิ , โครงการครอบครวั อบอนุํ
๕. จัดทาแหลํงข๎อมลู หอ๎ งสมดุ หอ๎ งคอมพวิ เตอร์ และอทุ ยานการศึกษาภายในวดั
๖. สนับสนนุ สอ่ื – อุปกรณ์ การเรียนการสอน และการกฬี าให๎กบั ครแู ละนักเรียน

โรงเรียนบา๎ นแมํทะลาย, โรงเรยี นบา๎ นธาตขุ ิงแกง, โรงเรยี นห๎วยข๎าวกา่ วทิ ยา
๗. ได๎สงํ เสริมและสนับสนุนให๎พระภกิ ษุ สามเณรในอาเภอจนุ เขา๎ รับการศกึ ษาเลําเรียน

พระปริยัติธรรมแผนกธรรมบาลี และแผนกสามญั ศึกษา ณ โรงเรียนหว๎ ยขา๎ วกา่ วิทยา
ตาบลหว๎ ยข๎าวก่า อาเภอจุน จังหวดั พะเยา และ ได๎เข๎ารบั การศึกษาเลําเรยี นตอํ ใน
ระดับอุดมศกึ ษา ณ มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั วิทยาเขตพะเยา

นโยบาย

๑. พัฒนาการผลิตครูผู๎สอนแผนกธรรม ให๎มคี วามรค๎ู วามชานาญทางวิชาการ
มปี ฏปิ ทานาํ เล่อื มใสศรัทธา มบี ุคลิกภาพนํายกยํองนับถือ มีวิสัยทัศน์กว๎างไกล ใฝุรู๎ ใฝุคิด และ
รจ๎ู ักเสยี สละเพื่อสวํ นรวม

๒. พัฒนาระบบการบริหารจดั การศาสนศึกษาใหม๎ ปี ระสิทธิภาพ โดยเน๎นกระบวนการฝึกอบรม
ครสู อนแผนกธรรม ระบบการจดั การเรียนการสอน และวิธกี ารสอนใหม๎ ปี ระสิทธภิ าพ

๓. พัฒนาการจดั การศาสนศกึ ษาแผนกธรรมใหส๎ ามารถนาไปสํงเสริมเกื้อกลู ในการจัดการศึกษา
๔. จัดต้ังกองทุนการศึกษาพระภิกษุสามเณรวัดพระธาตุขิงแกง เพ่ือสนับสนุนและสํงเสริมให๎
พระภิกษุสามเณรไดม๎ ีโอกาสไปศึกษาตํอในสานักเรยี นหรือสถาบนั ชั้นสูงตํอไป

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 83

ทะเบยี นประวัตกิ ารศกึ ษา ของพระภิกษุและสามเณร วดั พระธาตุขิงแกง

ชอ่ื – นามสกุล/ฉายา อายุ จบการศึกษา จบการศึกษา กาลังศกึ ษาระดบั

พระครนู ิปุณพัฒนกจิ ทางโลก ทางธรรม
พระชาครติ อาภายุตฺโต
พระสัตยา สจจฺ าภจิ นิ ฺโณ 60 ปี ป.โท บริหารการศึกษา น.ธ. เอก -
พระพณิ ธมฺมวโร
พระเสาร์คา มหาคโุ ณ 52 ปี ม.๖ น.ธ. โท น.ธ. เอก
พระวรี วฒั น์ อรยิ วโส
พระมงคล ธมมฺ วิรโิ ย 28 ปี ป.ตรี การสอนภาษาไทย น.ธ. เอก ป.โท การสอนภาษาไทย
ส.ณ.พงศพ์ ัทธ์ ทววี ฒั น์
ส.ณ.สันดษุ ิต ศูนยก์ ลาง 57 ปี ป.4 น.ธ. ตรี น.ธ. โท
ส.ณ.ประมินทร์ ธนะสทิ ธิ์
ส.ณ.ทัตธน ขยะบตุ ร 65 ปี ป.6 น.ธ. เอก -
ส.ณ.นฤเบศ จันทมิ า
ส.ณ.ผรัณชยั สทุ ธวงค์ 29 ปี ปวส. น.ธ. ตรี น.ธ. โท
ส.ณ.จริ วรรธ มณชี ยั
ส.ณ.ทนิ ภทั ร์ ฝั้นแปง 20 ปี ม.5 น.ธ. เอก ม.6
ส.ณ.ธนกฤต ชัยปญั ญา
ส.ณ.ศราวธุ คุณารูป 16 ปี ม.3 น.ธ. โท ม.4/ น.ธ. เอก
ส.ณ.ขจรธรรม ศรวี ชิ ยั
15 ปี ม.2 น.ธ. โท ม.3/ น.ธ. เอก

14 ปี ม.2 น.ธ. ตรี ม.3/ น.ธ. โท

14 ปี ม.2 น.ธ. โท ม.3/ น.ธ. เอก

14 ปี ม.2 น.ธ. ตรี ม.3/ น.ธ. โท

14 ปี ม.2 น.ธ. ตรี ม.3/ น.ธ. โท

13 ปี ม.๑ น.ธ. ตรี ม.2/ น.ธ. โท

13 ปี ม.๑ - ม.2/ น.ธ. ตรี

13 ปี ป.6 - ม.1/ น.ธ. ตรี

12 ปี ป.6 - ม.1/ น.ธ. ตรี

11 ปี ป.6 - ม.1/ น.ธ. ตรี

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 84
ด้านท่ี ๔ การเผยแผ่ หมายถึง ภารกิจด๎านการดาเนินการประกาศพระพุทธศาสนาให๎

ประชาชนได๎รับทราบในทุกๆ วิธี ท่ีไมํขัดตํอพระธรรมวินัย โดยมํุงเน๎นให๎ประชาชนได๎มีความร๎ูความ
เข๎าใจในหลักธรรมแลว๎ น๎อมนาไปปฏบิ ัติในชีวิตประจาวนั

จดั คําย โครงการ “หน่งึ ใจ ให๎ธรรมะ” ณ วดั พระธาตุขงิ แกง อาเภอจุน จงั หวัดพะเยา มีนกั เรียน ๕
โรงเรียนในเขตอาเภอจุน และมี ผู๎สงู อายุ ๙ ชมุ ชน เขา๎ รํวมการอบรมในครัง้ นี้ ๒๒๒ คน

จัดคาํ ยพฒั นาชีวิต ด๎วยคุณธรรม นอ๎ มนาปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง
นกั เรียน ป.๑ – ป.๖ และคณะครู โรงเรียนบ๎านธาตุขิงแกง อาเภอจนุ จังหวัดพะเยา

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 85

จดั โครงการ บรรพชาและอุปสมบทพทุ ธทายาทพทุ ธศาสนา
เพื่อเฉลิมพระเกยี รติสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
เนือ่ งในโอกาสวนั คล๎ายวันพระราชสมภพ เปน็ ประจาทุกปี (1 หมบํู า๎ น 1 พุทธทายาท เฉลิมพระเกียรต)ิ

ซง่ึ ไดร๎ ับพระกรุณาพระราชทานผ๎าไตรแดํผู๎บรรพชาและอปุ สมบท

จดั คาํ ย โครงการ “พระพุทธศาสนา ธรรมะ กับธรรมชาติ ครัง้ ท่ี ๓” เนอ่ื งในสปั ดาหส์ งํ เสริม
พระพทุ ธศาสนา วันวิสาขบูชา ประจาปี ๒๕62 ณ วดั พระธาตขุ ิงแกง อาเภอจุน จงั หวดั พะเยา

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 86

จัดโครงการ “คํายพทุ ธบุตร ๓ วันทฉ่ี ันตนื่ ” นกั เรยี น ม.๑ – ม.๓
และคณะครู โรงเรยี นอนบุ าลจนุ (บา๎ นบวั สถาน) อาเภอจนุ จังหวัดพะเยา

ณ วัดพระธาตุขงิ แกง อาเภอจุน จังหวดั พะเยา

จดั โครงการ “คํายพทุ ธบตุ ร ๓ วนั ท่ฉี นั ตื่น” นักเรยี น ป.๔ – ม.๓ และคณะครู
โรงเรยี นบ๎านหว๎ ยยางขาม อาเภอจุน จงั หวัดพะเยา ณ วัดพระธาตุขงิ แกง อาเภอจนุ จังหวัดพะเยา

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 87

เปน็ พระวทิ ยากร อบรม โครงการ “คุณธรรม พฒั นาชวี ิต สร๎างสขุ ภาพจติ ”
ณ องค์การบริหารสํวนตาบลแมํนาเรอื จังหวัดพะเยา

จัดโครงการ “คํายคุณธรรม พัฒนาศักยภาพแกนนาเดก็ และเยาวชน TO BE NUMBER ONE CAMP ๕
พะเยา ลาพนู สํูการเปน็ เยาวชนท่เี กงํ และดี TO BE NUMBER ONE ประจาปี ๒๕๖1
ณ วดั พระธาตุขงิ แกง อาเภอจุน จังหวดั พะเยา

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 88

ได๎เปน็ พระวทิ ยากรอบรม โครงการ “คาํ ยพฒั นาคุณธรรม จรยิ ธรรม”
นกั เรียน ชน้ั ม.๑ – ม.๖ โรงเรยี นเวียงแกนํ วทิ ยาคม จงั หวัดเชียงราย ณ โรงเรยี นเวียงแกนํ วิทยาคม

อาเภอเวยี งแกนํ จังหวัดเชยี งราย วันที่ ๒๖ – ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๖2

ได๎เป็นพระวทิ ยากรอบรม โครงการ “ธรรมของพระราชา คือ ธรรมะที่ยิ่งใหญํ จงนามาพัฒนา
ใหเ๎ กดิ ประโยชน์ เดินตามรอยพอํ ” ปฏิบัตธิ รรมประจาปี โรงพยาบาลคาํ ยขนุ เจอื งธรรมกิ ราช

ณ โรงพยาบาลคํายขุนเจอื งธรรมกิ ราช อาเภอเมอื ง จังหวัดพะเยา

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 89

ไดจ๎ ัดโครงการ “ห๎องสมุดพระพุทธศาสนา เพอื่ น๎อง” ภายใต๎โครงการการเผยแผพํ ระพุทธศาสนา
เชงิ รกุ ในถิน่ ทรุ กันดาร โดยการสรา๎ งหอ๎ งสมุดใหก๎ ับโรงเรยี น หรอื ชมุ ชนทข่ี าดแคลนหอ๎ งสมดุ

ท่ีด๎อยโอกาสในถนิ่ ทุรกันดาร ปัจจบุ นั สร๎างเครอื ขํายห๎องสมดุ พระพทุ ธศาสนาเพอื่ น๎อง สาเรจ็ แลว๎
ไดแ๎ กํ โรงเรียนบ๎านนา้ รนิ จงั หวดั แมํฮองสอน

ไดเ๎ ปน็ พระวทิ ยากรอบรม โครงการ “แสงเทยี นสํองใจ คํายธรรมะกบั การดาเนินชวี ิต”
นกั ศึกษาวิทยาลยั เทคโนโลยีประชาพฒั น์

ณ วิทยาลยั เทคโนโลยีประชาพัฒน์ อาเภอเมอื ง จังหวัดพะเยา

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 90

ทางวดั พระธาตุขงิ แกงได๎สํงพระสงฆ์ผูม๎ คี วามรู๎ ออกเผยแผพํ ระพุทธศาสนาในโรงเรียน
๓ ตาบล ๔ โรงเรียน ในเขตอาเภอจนุ จงั หวดั พะเยา ในฐานะครพู ระสอนศีลธรรมในโรงเรยี น

ของ มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 91

จดั กิจกรรมคํายล๎มแลว๎ ลุก ครงั้ ที่ ๑ เพอื่ บาบดั และสรา๎ งกาลังใจให๎กับเยาวชนและประชาชนท่ีตดิ ยา
พรอ๎ มทจี่ ะเลกิ เข๎าสํโู ครงการ “ใครติดยายกมอื ข้ึน”

เปดิ วัด สอนธรรมศึกษาทุกวนั อาทิตย์ ให๎กับเดก็ เยาวชน และประชาชนทว่ั ไป รนํุ ที่ ๒๕
เพื่อสรา๎ งภูมิค๎มุ กันทางจติ ใจใหแ๎ กเํ ดก็ และเยาวชน และเพื่อใหเ๎ ด็กเยาวชนและประชาชนในชมุ ชนเข๎าใจ

ในหลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนามากขึ้น

โครงการเผยแพรํความร๎ูเกีย่ วกับปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งและเรอ่ื งศลี 5 เพ่อื ปลุกกระแสชมุ ชนให๎
เขา๎ ใจและเขา๎ ถึงหลักความพอเพยี งและหลกั การรักษาศีล 5 ในการดาเนนิ ชีวิต

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 92

โครงการทาบุญตักบาตร รกั ษาศีล ฟงั ธรรม กิจกรรมพิเศษ ในวันสาคัญทางศาสนา วนั นกั ขัตฤกษ์
และสถาบนั พระมหากษตั รยิ ์ เพอื่ สํงเสริมให๎พุทธศาสนกิ ชนไดป๎ ฏิบัติตามหลกั ศีล สมาธิ ปญั ญา
อยํางครบถว๎ น เพ่ือแสดงออกถงึ ความจงรกั ภัคดีตํอสภาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตรยิ ์

และเพือ่ ใหป๎ ระชาชนไดน๎ าหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาไปปรับใชใ๎ นชวี ิตประจาวนั

การแสดงธรรมเทศนาภายในวัดของพระภกิ ษุสามเณรในชวํ งเข๎าพรรษา – ออกพรรษา

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 93

การจัดกจิ กรรมในวนั สาคญั ทางพระพุทธศาสนา และวันสาคัญอน่ื ๆ
วัดพระธาตขุ งิ แกง ถอื วําเป็นวัดศูนย์กลางของอาเภอจุน ในการจดั กจิ กรรมวันสาคัญทางพระพุทธศาสนา

เชนํ วนั มาฆบชู า, วันวสิ าขบูชา, วนั อาสาฬหบูชา, วนั เข๎าพรรษา, วันออกพรรษา
รวมถึงวนั สาคัญของชาติ เชนํ วันเฉลิมพระเกียรติ, วนั ชาติ เปน็ ต๎น

มกี ิจกรรมหลักๆ คือ การปฏบิ ัตธิ รรม ทาบญุ ตักบาตร ไหว๎พระ ฟงั ธรรม รกั ษาศีล เวียนเทยี น

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 94

“หอ้ งสมดุ พระพุทธศาสนา เพอื่ ชาวประชา”
วัดพระธาตุขิงแกง ได๎ใช๎พ้ืนท่ีกุฏิไม๎ใหญํ (กุฏิรับรอง) เป็นสถานท่ีจัดระบบห๎องสมุด มีห๎อง
คอมพวิ เตอรเ์ พื่อใช๎ในการค๎นหาข๎อมูล ซง่ึ ทางวัดพระธาตุขิงแกงได๎จัดหนังสือมากกวํา 3,000 กวําเลํม
เพ่ือให๎บริการกับน๎องๆเยาวชน และประชาชนท่ัวไป แบํงเป็น 3 หมวดใหญํ คือ 1. หมวดทั่วไป
2. หมวดพระพทุ ธศาสนา 3. หมวดการศกึ ษา “ห๎องสมุด พระพุทธศาสนา เพ่ือชาวประชา” ได๎นาระบบ
การจดั หมวดหมูหํ นงั สอื (ดิวอ้ี) มาจัดเก็บหนังสือภายในห๎องสมุด ซึ่งจะงํายตํอการค๎นหา มีระเบียบของ
ห๎องสมุด มขี อ๎ กาหนด อยาํ งละเอียดชัดเจน และมกี ารเก็บสถิติทุกวันในระบบ สถิติผู๎ใช๎บริการ จากการ
ลงทะเบยี นเข๎าใช๎บริการ ตั้งแตปํ ี 2555 – 2562 มีผ๎ใู ช๎บรกิ ารจานวน 34,574 รปู /คน

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 95

“พิพธิ ภัณฑ์มีชีวติ วิถีชาวนาไทย วัดพระธาตขุ ิงแกง”
เปน็ พิพธิ ภัณฑ์ท่ีจัดแสดงเฉพาะเรื่องเกี่ยวกับการทานา มีทั้งข๎อมูลทางวิชาการ และการลงมือ
ปฏิบตั ิจริง ต้ังแตกํ ารเริ่มทานาปลูกข๎าว จนถึงการเก็บเก่ียวข๎าว การตั้งพิพิธภัณฑ์มีชีวิต วิถีชาวนาไทย
วัดพระธาตุขิงแกง เริ่มจากการนาพระ-เณร นักเรียนโรงเรียนห๎วยข๎าวก่าวิทยา ทานาปลูกข๎าวที่นาของ
วัดพระธาตุขิงแกง เมื่อการต้ังใจทา ตามวัตถุประสงค์ของกิจกรรม มีผู๎คนสนใจเป็นอยํางมาก
ทางวดั พระธาตุขงิ แกงจงึ ไดต๎ งั้ พิพธิ ภัณฑ์มชี ีวติ วถิ ีชาวนาไทย วัดพระธาตขุ ิงแกง ขึ้น โดยได๎รับพระมหา
กรุณาธิคณุ จาก สมเดจ็ พระกนิษฐาธริ าชเจ๎า กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได๎
พระราชทานพันธ์ุข๎าว “ธัญสิริน” เพ่ือใช๎ในการจัดแปลงสาธิตและนาผลผลิตจากพันธุ์ข๎าว ไปแจกจําย
ให๎กับชาวบา๎ นตอํ ไป พิพิธภณั ฑม์ ชี ีวติ วถิ ชี าวนาไทย วัดพระธาตุขิงแกง กํอตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 12 สิงหาคม
พ.ศ.2554 โดยมี ทํานกฤษศญพงษ์ ศิริ (ปลดั กระทรวงวัฒนธรรม) เป็นประธานในการเปิดพิพิธภัณฑ์
ต้ังแตปํ ี 2554 – 2562 มผี ๎ูใชบ๎ รกิ ารเข๎าเย่ยี มชมพิพธิ ภณั ฑ์ จานวน 40,564 คน

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 96

ด้านที่ 5 การศึกษาสงเคราะห์ หมายถึง ภารกิจด๎านการดาเนินการจัดการศึกษาท่ีเน๎น

การปลูกฝงั คุณธรรมจริยธรรมแกเํ ด็กและเยาวชน ใหม๎ ีความร๎ูความเข๎าใจหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
เพ่ือการสํงเสริมการศึกษาแกํเด็กและเยาวชนที่อยํูในวัยเรียน ให๎สามารถดารงตนและดาเนินชีวิตใน

สงั คมได๎อยํางมีความสขุ และเปน็ พลเมืองท่ีมีความรู๎คํูคณุ ธรรมของประเทศ
งานต้งั ทุนการศกึ ษา

พ.ศ. ๒๕๕3 – ปจั จบุ ัน
ไดจ๎ ดั ตั้งกองทุนการศึกษา พระภิกษุ-สามเณร และเด็กนกั เรียน
เพื่อการศึกษาเลาํ เรยี น ปัจจบุ นั มีเงินกองทุนฝากธนาคาร

เพอื่ การเกษตรและสหกรณก์ ารเกษตรจากัด สาขาจุน
เลขที่บญั ชี ๑๗๒-๔-๐๑๕๐๔-๘ ประเภทออมทรพั ย์

เงินทุนจานวน 1๓๓,๒๐๐ บาท
พ.ศ. ๒๕๕๘ – ปัจจุบนั

ได๎จัดต้ังผา๎ ปุา เพื่อจดั หาทนุ ทรพั ย์ จัดซอ้ื อปุ กรณ์

คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอนโรงเรียนหว๎ ยขา๎ วก่าวิทยา
ตาบลห๎วยข๎าวกา่ อาเภอจนุ จงั หวัดพะเยา

เปน็ จานวนเงิน 1,๒๐๐,๐๐๐ บาท
พ.ศ. ๒๕๕8 – ปัจจบุ ัน

ไดจ๎ ัดตั้งกองทนุ เพ่ือสนบั สนนุ ทุนการศึกษา โครงการบรรพชาสามเณรภาคฤดูรอ๎ น

ของคณะสงฆอ์ าเภอจุน และของคณะสงฆต์ าบลพระธาตุขิงแกง
อาเภอจนุ จงั หวดั พะเยา เป็นจานวนเงินปีละ 5๐ ,๐๐๐ บาท

งานมอบทุนการศกึ ษา มอบทนุ การศึกษา ใหแ๎ กนํ กั เรยี นโรงเรยี นห๎วยข๎าวกา่ วิทยา
พ.ศ. ๒๕๕9
ตาบลหว๎ ยข๎าวก่า อาเภอจนุ จังหวดั พะเยา จานวน ๓๖ ทุน ๆ ละ
พ.ศ. ๒๕๕9 ๑,๐๐๐ บาทรวมเปน็ จานวนเงิน ๓๖,๐๐๐บาท

พ.ศ. ๒๕60 มอบทนุ การศกึ ษา ให๎แกํนักเรียนโรงเรียนหว๎ ยขา๎ วกา่ วทิ ยา
ตาบลห๎วยขา๎ วก่า อาเภอจนุ จงั หวัดพะเยา จานวน ๒๐ ทนุ ๆ ละ
พ.ศ. ๒๕61 ๑,๐๐๐ บาท รวมเปน็ จานวนเงนิ ๒๐,๐๐๐ บาท

พ.ศ. ๒๕62 มอบทนุ การศกึ ษา ใหแ๎ กนํ ักเรียนโรงเรียนบา๎ นธาตขุ ิงแกง
ตาบลพระธาตุขิงแกง อาเภอจุน จังหวัดพะเยา จานวน ๑๐ ทนุ ๆ

ละ 1,0๐๐ บาทรวมเปน็ จานวนเงิน 10,๐๐๐บาท
มอบทุนการศกึ ษา ใหแ๎ กนํ กั เรียนโรงเรียนห๎วยขา๎ วก่าวทิ ยา
ตาบลหว๎ ยข๎าวกา่ อาเภอจนุ จังหวดั พะเยา จานวน ๒๐ ทุน ๆ ละ

๑,๐๐๐ บาท รวมเป็นจานวนเงิน ๒๐,๐๐๐ บาท
มอบทุนการศึกษา ให๎แกนํ กั เรียนโรงเรยี นพงศอ์ ัมพรพทิ ยา

ตาบลห๎วยข๎าวกา่ อาเภอจุน จังหวดั พะเยา จานวน ๒๐ ทุน ๆ ละ
๒,๐๐๐ บาท รวมเป็นจานวนเงิน ๔๐,๐๐๐ บาท

วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 97

การจัดตง้ั โรงเรียนพระพทุ ธศาสนาวันอาทติ ย์ (ศพอ.)

ศนู ย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตยว์ ัดพระธาตุขงิ แกง
ต้งั อยํูเลขที่ ๓๑๘ ตาบลพระธาตขุ ิงแกง อาเภอจุน จังหวดั พะเยา
รหสั ไปรษณยี ์ ๕๖๑๕๐ โทรศพั ท์ ๐๘๒-๑๘๒๒๗๙๒ โทรสาร ๐๕๔ – ๔๒๑๓๑๘

ศูนยจ์ ดั ตง้ั เมือ่ วันท่ี ๑ เดอื น ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๗
อยูํในพ้ืนท่ีอันเป็น ชมุ ชน

คณะกรรมการบรหิ าร ประกอบด๎วย

กรรมการโดยตาแหนํง จานวน ๔ ทําน คอื

๑. ผ๎อู านวยการ ช่ือ พระครนู ปิ ุณพฒั นกจิ ตาแหนํงเจา๎ อาวาส

๒. รองผอู๎ านวยการ ชอ่ื พระใบฎีกาใสพล ปยิ วณฺโณ

๓. เลขานุการ ช่ือ พระสตั ยา สจฺจาภิจนิ โฺ ณ

๔. ผูช๎ วํ ยเลขานกุ าร ชื่อ พระไพสิฐ ภูรญิ าโณ

กรรมการโดยแตงํ ต้งั จานวน ๑๐ ทําน คอื

๑. นายสุเทพ เครอื อินทร์ ๒. นายเกรยี งศักด์ิ เรืองนภารัตน์

๓. นายจกั รี สุวรรณกุล ๔. นางผอํ งผิว ไชยจาเรญิ

๕. นายหสั พงศ์ งานดี ๖. นางจันทร์ฉาย ศรีธนะ

๗. นายจันทร์ ทองเอก ๘. นายทวี จอมทอง

๙. นางสธุ รรม พทุ ธิรกั ษ์ ๑๐.นายลาไพร จอมทอง

ครผู สู้ อน จานวน ๘ ทําน คือ บรรพชติ จานวน ๕ รูป คฤหัสถ์ จานวน ๓ คน

มรี ายนามทั้งหมด ดงั น้ี
๑. พระครูนปิ ุณพฒั นกจิ วุฒิ น.ธ.เอก ๒. พระสัตยา สจฺจาภิจินฺโณ วฒุ ิ น.ธ.เอก

๓. พระอดุลย์ คมภฺ ีรปญโฺ ญ วฒุ ิ น.ธ.เอก ๔. พระเฉลิมพล พรหมฺโชโต วุฒิ น.ธ.เอก
๕. พระไพสิฐ ภรู ญิ าโณ วฒุ ิ น.ธ.เอก ๖. นายหสั พงศ์ งานดี วุฒิ ป.โท
๗. นางผอํ งผิว ไชยจาเริญ วฒุ ิ ป.ตรี ๘. นางจันทร์ฉาย ศรีธนะ วุฒิ ป.ตรี

นกั เรียนในปีการศึกษา 2562 จานวน ๕๑๗ คน จาแนกไดด๎ ังนี้

ระดบั ชน้ั ตน้ กลาง สงู รวม

จานวนนกั เรยี น/ คน ๒๕๗ ๖๓ ๑๙๗ ๕๑๗

เปดิ สอนเฉพาะ วันอาทติ ย์, วันศกุ ร์ และวันเสาร์
วันอาทิตย์และวนั เสาร์ ในชวํ งเวลา ๐๘.๐๐ น. ถงึ เวลา ๑๒.๐๐ น.
วันศกุ ร์ ในชวํ งเวลา ๑๓.๐๐ น. ถึงเวลา ๑๖.๐๐ น.
ระหวาํ งเดอื น มนี าคม ถึงเดอื น ธนั วาคม

รวมเวลาตลอดปี จานวน ๒๙๖ ช่งั โมง


Click to View FlipBook Version