The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วัดส่งเสริมสุขภาพ วัดพระธาตุขิงแกง 65

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tobesam14249, 2022-08-08 03:54:04

วัดส่งเสริมสุขภาพ วัดพระธาตุขิงแกง 65

วัดส่งเสริมสุขภาพ วัดพระธาตุขิงแกง 65

วั ด ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า |

วั ด ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า |

คานา

คนไทยร๎อยละ 95 นบั ถือศาสนาพุทธ ซ่ึงใช๎หลักการทางพระพุทธศาสนาเป็นแนวทางการดาเนิน
ชีวิตจนกลายเป็นรากฐานทางประเพณี และวัฒนธรรม พระสงฆ์ถือวําเป็นผู๎มีความสาคัญในการสืบทอด
พระพุทธศาสนา พัฒนาการเรียนร๎ูด๎านคุณธรรม จริยธรรม และการพัฒนาสังคมท๎องถ่ินชุมชน อันเป็น
แบบอยํางท่ดี ใี หก๎ บั ชมุ ชน ในเรื่องการดูแลสขุ ภาพตนเอง ส่งิ แวดลอ๎ มภายในวัด

ปจ๎ จุบันการเจบ็ ปุวยของพระสงฆ์ โดยเฉพาะโรคไมตํ ิดตอํ เรอ้ื รงั ได๎แกํ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง
โรคหัวใจขาดเลือดและภาวะไขมันในเลอื ดสูง ซ่ึงสาเหตุสาคัญสวํ นหน่ึงคือ การทป่ี ระชาชนทาอาหารท่ีไมํถูก
ตามหลักสุขภาพ มาทาบญุ ถวาย ในพฤติกรรมสํวนตัวท่ีเสี่ยงตํอการเกิดโรค คือ การสูบบุหร่ี ด่ืมกาแฟ ดื่ม
เครือ่ งด่ืมชูกาลงั และขาดการออกกาลงั กายที่เหมาะสม หากยงั ไมํไดร๎ ับการแก๎ไขกจ็ ะกลายเป็นผ๎ูปุวยเรื้อรัง
รายใหมํ แม๎มีนโยบายการแก๎ไขป๎ญหาแตํยังขาดการบูรณาการกับภาคสํวนตํางๆอยํางจริงจังให๎ครบวงจร
หรือมีเพียงแคํบางพ้ืนท่ีเทําน้ัน ท๎ายสุดอาจสํงผลให๎กลไกในการสืบทอดพระพุทธศาสนาและการพัฒนา
ความดีงามด๎านคุณธรรม จรยิ ธรรม กจ็ ะออํ นแอลง

จ า ก ส ถ า น ก า ร ณ์ ดั ง ก ลํ า ว รั ฐ บ า ล จึ ง เ ล็ ง เ ห็ น ค ว า ม ส า คั ญ ซ่ึ ง ส อ ด ค ล๎ อ ง กั บ ม ติ เ ถ ร ส ม า ค ม ที่
191/2560 และมตสิ มัชชาแหํงชาติครั้งท่ี 5 ให๎มีการขับเคลื่อนงาน พระสงฆ์กับการพัฒนาสุขภาวะ ซึ่ง
กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข มหี น๎าท่ดี แู ลสุขภาพของประชาชนทุกกลุํมวัย จึงได๎ทาโครงการพระสงฆ์
กับการพฒั นาสุขภาวะขน้ึ เพือ่ ใหม๎ ีความรู๎ดา๎ นสุขภาพ ดูแลตนเองและปรับเปลีย่ นพฤติกรรมสขุ ภาพได๎

วัดพระธาตขุ ิงแกง เป็นสวํ นหนึ่งท่ีเหน็ ความสาคญั ตามแนวทางดงั กลาํ ว จงึ ได๎มีการปรับปรุงพัฒนา
วดั ให๎มคี วามพรอ๎ มในทุกด๎านอยาํ งตํอเนื่อง โดยเน๎นท่ีความรํวมมือของชุมชนและภาคีเครือขําย และได๎รับ
การประเมินมาตรฐานวัดสํงเสริมสุขภาพในระดับจังหวัด ที่สามารถเป็นวัดต๎นแบบด๎านสํงเสริมสุขภาพได๎
อยาํ งย่งั ยืน และมํุงหวังพฒั นาเป็นเครอื ขํายในระดับท่ีสูงขนึ้ สํรู ะดบั ประเทศในอนาคตตํอไป

เจ๎าอาวาสวดั พระธาตขุ งิ แกง

วั ด ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า |

สารบัญ หนา้

ประวตั ิความเป็นมาของวัดพระธาตุขงิ แกง 1
วสิ ัยทัศน์ พนั ธกจิ เปา้ หมาย
การสรา้ งองค์กรเครอื ข่ายร่วมในการขบั เคลื่อนวดั ส่งเสริมสขุ ภาพ 5
หมวด 1 : ชาวประชา รวํ มพฒั นา 7

1.1 มีนโยบาย แผนงานและมกี ารดาเนนิ งานตามแผน 8
หมวด 2 : สะอาด รํมร่นื 8
15
2.1 อาคารสถานที่
2.2 หอ๎ งน้า หอ๎ งส๎วม 15
2.3 สุขาภบิ าลอาหารและนา้ 20
2.4 ขยะ การจดั การน้าเสยี และเหตุราคาญ
2.5 การปูองกนั และควบคุมโรค 23
2.6 การปูองกันอบุ ตั ิเหตุและการจราจร 25
2.7 การควบคุมการบริโภคยาสบู และเครอื่ งด่มื แอลกอฮอล์ 27
หมวด 3 : สงบ รมํ เย็น
3.1 เทศนา บรรยายธรรม 29
3.2 การจดั กิจกรรมและบรรยากาศใหเ๎ ออื้ ตํอการสํงเสรมิ สขุ ภาพ 31
หมวด 4 : สขุ ภาพ รวํ มสรา๎ ง
4.1 การดแู ลสุขภาพบคุ ลากรในวดั 34
4.2 พฤติกรรมสขุ ภาพ 34
4.3 ระบบดแู ลตอํ เนอื่ งและสํงตํอเม่ือเจ็บปุวย 37
หมวด 5 : ศิลปะ รํวมจติ (วิญญาณ)
5.1 สํงเสริมการศกึ ษาธรรมะและสนบั สนุนใหเ๎ ป็นแหลํงศกึ ษาหาความรู๎ ฯ 40
5.2 ประเพณวี ฒั นธรรม 40
5.3 ภูมปิ ๎ญญาการอนุรักษส์ ง่ิ แวดลอ๎ ม
42
46
48

48
57

60

วั ด ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 1

ประวัตแิ ละผลงาน

วดั สง่ เสริมสขุ ภาพดเี ดน่ ระดบั เขตสุขภาพที่ 1 เชยี งใหม่
ประจาปี 2565

ชอ่ื วัด พระธาตขุ งิ แกง รหสั วดั 03560207001

เจา๎ อาวาส พระครนู ิปุณพัฒนกจิ

เลขที่บัตรประชาชน 3 5602 00426 57 5

อายุ ๖๒ ปี เกิดวันท่ี ๒๗ กันยายน ๒๕๐๒

การศึกษา ปรญิ ญาการศกึ ษามหาบัณฑติ (การบริหารการศกึ ษา)

ท่อี ยํู ๓๑๘ หมํู ๕ ต.พระธาตุขิงแกง อ.จุน จ.พะเยา ๕๖๑๕๐

เบอร์โทรศพั ท์ ๐๘๒ ๑๘๒ ๒๗๙๒

E – mail: [email protected] Line: ๐๘๒๑๘๒๒๗๙๒

ผลงานเดน่

- ไดร๎ บั รางวลั พระราชทาน เสาเสมาธรรมจักรทองคา ผ๎ูทาคุณประโยชนต์ ํอพระพุทธศาสนา
- ได๎รับรางวลั “วชริ ป๎ญญา” จาก บุญนิธิจันทรต์ องไชยะวฒุ กิ ลุ สาขา การศกึ ษาสงเคราะห์
- ได๎รับรางวลั ชนะเลิศ หมํบู ๎านรกั ษาศีล ๕ ตน๎ แบบ ระดบั จังหวัดพะเยา ประจาปี พ.ศ.๒๕๕๙
- ได๎รบั รางวลั หมบูํ ๎านรกั ษาศีล ๕ ต๎นแบบ ระดบั ประเทศ ประจาปี พ.ศ.๒๕61
- ได๎รบั รางวัล หนวํ ยอบรมประชาชนประจาตาบลดีเดนํ ระดบั หนเหนือ
- ได๎รบั คัดเลอื กใหเ๎ ปน็ ชุมชนคุณธรรมตน๎ แบบ ระดับจังหวัดพะเยา ประจาปี พ.ศ.๒๕62
- ไดร๎ ับรางวลั “วฒั นคณุ าธร” ผู๎ทาคุณประโยชนต์ อํ กระทรวงวฒั นธรรม ประจาปี พ.ศ.๒๕62
- ได๎รบั รางวลั ๑๐๐ สดุ ยอดชมุ ชนคณุ ธรรมน๎อมนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

ขับเคลอื่ นดว๎ ยพลังบวรต๎นแบบ ประจาปี พ.ศ.๒๕63
- ได๎รับรางวัล วดั พัฒนาตัวอยํางทม่ี ผี ลงานดเี ดํน ประจาปี พ.ศ.๒๕63
- ไดร๎ บั รางวัลชนะเลศิ ประเภทผ๎นู าทางศาสนา ตามกิจกรรมการนอ๎ มนาแนวพระราชดาริของ

สมเดจ็ พระกนษิ ฐาธิราชเจา๎ กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี
สร๎างความมน่ั คงทางอาหารสปํู ฏิบัติการ ๙๐ วัน ปลูกผักสวนครวั เพื่อสรา๎ งความม่นั คงทาง
อาหาร รอบ 2
- ชมรม TO BE NUMBER ONE วดั พระธาตขุ งิ แกง รวํ มกับจังหวดั พะเยา เข๎ารวํ มการแขงํ ขนั
จดั นทิ รรศการ และนาเสนอผลงานจังหวดั TO BE NUMBER ONE ได๎รับรางวลั พระราชทาน
จังหวดั TO BE NUMBER ONE ประเภทดีเดํน พร๎อมเปน็ ตน๎ แบบระดบั เงิน

วั ด ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 2

ผลสาเรจ็ ทภี่ าคภูมใิ จ

ผลสาเร็จของ วดั พระธาตุขงิ แกง มอี ยูหํ ลายประการ จงึ ขออธบิ ายเป็นประเด็นตํอไปนี้
๑. อยู่ในถ่ินที่เหมาะสม (ปฏิรูปเทศ) การท่ีเป็นวัด ท่ีอยูํใจกลางอาเภอจุน ติด

ถนนใหญํ การเดนิ ทางสะดวก จึงทาใหก๎ ารบรหิ ารงานการตดิ ตอํ เปน็ ไปไดง๎ าํ ย รวดเร็วและคลํองตัว สะดวก
ทั้งทางคณะสงฆ์ในตาบลและคณะศรทั ธาในการตดิ ตอํ ประสานงาน

๒. ศรัทธาอุปถัมภ์ วัดพระธาตุขิงแกง มีคณะศรัทธาอยูํจานวน 4 หมูํบ๎านมี
ประชากรจานวนพอสมควรในการใหค๎ วามสนับสนุนกิจกรรมทางพระพุทธศาสนา เนื่องด๎วยวัดพระธาตุขิง
แกง มีกจิ กรรมคอํ นขา๎ งบอํ ย ท้ังกจิ กรรมคณะสงฆแ์ ละกจิ กรรมท่ัวไป คณะศรัทธาจึงให๎มีการสนับสนุน
กิจกรรมแตํละกิจกรรมเปน็ อยาํ งดี

๓. สภาพแวดลอ้ มดี ตาบลพระธาตุขิงแกง เป็นตาบลท่ีมีประชาชนมากกวําร๎อย
ละ ๙๕ นับถือพระพุทธศาสนา ไมํมีเหตุการณ์อันไมํสงบหรือเหตกุ ารณ์ภยั ทางธรรมชาติเกิดขน้ึ จึงทาให๎การ
เผยแพรํพระพทุ ธศาสนาเปน็ ไปไดไ๎ มํยากนกั เพราะประชาชนมีความศรัทธาสงู อยูํแล๎ว

๔. ใกล้แหล่งชุมชน เนื่องด๎วยวัดพระธาตุขิงแกงอยํูในเขตองค์การบริหารสํวน
ตาบล จึงทาให๎การดาเนินกิจกรรมเป็นไปด๎วยความสะดวก เพราะใกล๎แหลํงทุนท่ีจะสนับสนุนกิจกรรม
เป็นอยํางดี ประกอบกับผู๎บริหารในองค์การบริหารสวํ นตาบลพระธาตขุ ิงแกง สวํ นใหญํเปน็ กรรมการของวัด
จึงทาใหเ๎ ม่อื เสนอโครงการเขา๎ ไปเพอ่ื พิจารณาอนมุ ัตโิ ครงการ จงึ มกั จะได๎รับเสนอ

๕. มบี คุ คลพรอ้ มดาเนนิ งาน เน่อื งดว๎ ยวัดพระธาตขุ งิ แกง ทางคณะกรรมการวัด
จะให๎ความสาคัญในการสํงเสริมการศึกษา จึงทาให๎มีพระภิกษุ สามเณรท่ีจาพรรษาในวัดพระธาตุขิงแกง
เป็นจานวนพอสมควรและมีบุคลากรที่มีความสามารถในการดาเนินงานได๎เป็นอยํางดี เพราะได๎รับ
การศกึ ษาดี พรอ๎ มกนั น้ีพระภิกษุสามเณรในวดั พระธาตุขิงแกง หลายรูปได๎ทาหน๎าที่เป็นครูสอนในโรงเรียน
จงึ ทาให๎มีประสบการณใ์ นการชวํ ยงาน วัดพระธาตขุ ิงแกงได๎เปน็ อยํางดี

การมีสวํ นรํวมของพลัง “บ ว ร ส” (บ๎าน วดั โรงเรยี น โรงพยาบาลสํงเสริมสขุ ภาพตาบล) สํงผลให๎
สามารถสรา๎ งความเชอื่ มโยงในชมุ ชน เกิดเป็นความสามัคคีไมํเกิดป๎ญหาความขัดแย๎ง โดยการใช๎หลักธรรม
ทางศาสนาซ่ึง มีวัดพระธาตุขิงแกงเป็นศูนย์กลางและเป็นแกนหลักริเร่ิมสํงเสริมคุณธรรมในเชิงรุก ทาให๎
ชมุ ชนเกิดความเข๎าใจในเจตนารมณ์และหลักคุณธรรมรํวมทจ่ี ะยดึ มน่ั ในแนวทางเดียวกันคือ ความพอเพียง
วนิ ัย สุจรติ จิตอาสา รับผดิ ชอบและเกอื้ กลู ในสิง่ ท่ีขาดแคลน สามารถอยํรู ํวมกนั ไดอ๎ ยาํ งเป็นปกติสุข อีกท้ัง
ยงั มกี ารนอ๎ มนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาใชใ๎ นชวี ิตประจาวนั นอกจากน้ียังมีการสํงเสริมให๎เกิด
การทํองเทย่ี วเชงิ วัฒนธรรมและวถิ ชี ุมชน ซึ่งจะเป็นตัวกระต๎ุนพร๎อมเสริมฐานรากเศรษฐกิจของชุมชนให๎มี
ความเขม๎ แขง็ จนไดค๎ ดั เลือก ให๎เป็น วัดพัฒนาตัวอยํางท่ีมีผลงานดีเดํน โดยวัดเป็นแกนหลักในการพัฒนา
ชุมชน ให๎เกดิ ความย่ังยนื สามารถเปน็ วัดตน๎ แบบด๎านสํงเสริมสุขภาพได๎อยํางย่ังยืน และมุํงหวังพัฒนาเป็น
เครือขาํ ยในระดับที่สูงขน้ึ

วั ด ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 3

วัดพระธาตุขงิ แกง

วัดพระธาตุขิงแกง ต้ังอยูํเลขท่ี ๓๑๘ บ๎านธาตุขิงแกง หมูํท่ี ๕ ตาบลพระธาตุขิงแกง อาเภอจุน
จังหวัดพะเยา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย วัดพระธาตุขิงแกง สร๎างเม่ือพ.ศ.๒๔๗๐ ได๎รับพระราชทาน

วิสุงคามสีมา เมื่อวันท่ี ๑๐ มกราคม พ.ศ.๒๕๒๘ เขตวิสุงคามสีมากว๎าง ๔๐ เมตร ยาว ๘๐ เมตร
การบรหิ ารและการปกครอง มีเจา๎ อาวาสเทาํ ท่ที ราบนามคอื ระหวําง

พ.ศ.๒๔๙๕ – ๒๕๐๐ พระบุญยืน

พ.ศ.๒๕๐๐ – ๒๕๐๓ พระเขียน
พ.ศ.๒๕๐๓ – ๒๕๑๐ พระอธิการแกว๎

ต้งั แตํ พ.ศ.๒๕๒๒ – ปจ๎ จุบนั พระครูนปิ ุณพัฒนกิจ (อนิ พฒั น์ อภิปุํฺโญ)
พระธาตุขิงแกง เป็นเจดีย์ทรงล๎านนาขนาดใหญํ ฐานกว๎างด๎านละ ๑๕ เมตร สูง ๒๐ เมตร ประดิษฐาน
พระพทุ ธรปู ในซ๎ุมเรือนแก๎วทั้งสี่ด๎าน ชํวงกลางองค์เจดีย์ประดับกระจกสี มีกาแพงแก๎วล๎อมรอบและเจดีย์

บรวิ ารทัง้ สีม่ ุม พระธาตุเจดยี ์ขิงแกง เป็นพระธาตุเจดีย์ที่ศักดิ์สิทธิ์ องค์พระธาตุได๎บรรจุพระเกศาธาตุ และ
พระธาตุกระดูกเท๎าข๎างขวาของพระพุทธเจ๎า เป็นปูชนียสถานท่ีสาคัญเกําแกํโบราณของ อาเภอจุน จะมี

ประเพณีสรงนา้ พระธาตขุ ิงแกง ในวนั ขนึ้ ๑๕ คา่ เดอื น ๕ (เดอื น ๗ เป็ง) ของทุกปี จากน้ันพระธาตุขิงแกง
ได๎ขน้ึ ทะเบยี นโบราณสถานของจงั หวัดพะเยา เมือ่ วนั ท่ี ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๔๗
ทีด่ นิ ทีต่ ัง้ วัด มเี น้อื ที่ 1๒ ไรํ ๓ งาน ๘๒ ตารางวา โฉนดทด่ี นิ เลขท่ี ๒๖๓๑๑, ๒๖๓๑๒, ๒๖๓๑๓

อาณาเขตวดั ทิศเหนือ จด ทางสาธารณะประโยชน์

ทิศใต๎ จด ทางสาธารณะประโยชน์
ทิศตะวนั ออก จด เหมืองสาธารณะประโยชน์
ทศิ ตะวนั ตก จด ทางสาธารณะประโยชน์

วั ด ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 4

ปชู นยี วตั ถุ ทสี่ าคญั ในวัดมี พระธาตุขิงแกง ขนาด กว๎าง ๑๕ เมตร สูง ๒๐ เมตร สร๎างเมื่อ พ.ศ.
ไมํได๎ระบุอยํางชัดเจน (อายุมากกวํา ๕๐๐ ปี) เป็นที่เคารพศรัทธาย่ิงของชาวตาบลพระธาตุขิงแกงเป็น
ศนู ย์กลางทางการศกึ ษาของคณะสงฆใ์ นเขตการปกครอง และเป็นศูนย์กลางในการเผยแผํพระพุทธศาสนา
เชิงรกุ ของอาเภอจนุ

ในด๎านทนุ วัฒนธรรม และภูมิป๎ญญา วัดพระธาตุขิงแกงต้ังอยูํในหมูํบ๎านโบราณด้ังเดิมท่ีมีประวัติ
ความเป็นมายาวนาน และโดยเฉพาะอยาํ งยงิ่ ความเขม๎ แขง็ ทางทุนภูมิป๎ญญาท๎องถิ่น วัดจึงมีศักยภาพสูงใน
การพัฒนาให๎เปน็ แหลํงการเรียนรแ๎ู ละศนู ยก์ ลางทางวฒั นธรรม ของตาบลพระธาตุขิงแกง

วัดพระธาตุขิงแกง เป็นชุมชนที่มีวัฒนธรรม ประเพณี เป็นของตัวเอง มีเอกลักษณ์ชัดเจนคือ
ประเพณสี รงน้าพระธาตขุ งิ แกง ในวนั ข้นึ 15 ค่า เดอื น 5 (เดอื น 7 เปง็ ) ของทุกปี จะมีขบวนแหผํ า๎ หํมพระ
ธาตุที่ยาวที่สุดในจังหวัดพะเยา มีขบวนครัวทาน และขบวนอัญเชิญเคร่ืองสักการะท่ีย่ิงใหญํ จะมี
นักทอํ งเที่ยวมาสกั การะพระธาตุขงิ แกงตลอดทั้งปี มวี ัฒนธรรมการฟูอนที่เป็นเอกลักษณ์ คือ การฟูอนเล็บ
มชี ํางฟูอน มากกวาํ ๕๐๐ คน ซง่ึ ปหี น่ึงจะรวมตัวกนั ฟูอนแคํปีละ ๒ ครั้ง คือ งานประเพณีสรงน้าพระธาตุ
ขงิ แกง และงานถวายสลากภัตต์ มีผลติ ภัณฑ์ทางวฒั นธรรมมากมาย เชํน ตะกร๎าสานลายดาวที่มีอายุความ
เปน็ มามากกวํา ๑๐๐ ปี มลี ายสานที่เป็นเอกลักษณ์สวยงามสํงออกจาหนํายทั้งในและตํางประเทศ, ผ๎าทอ
พระธาตขุ งิ แกง, งานสลาํ ริบบนิ้ และผลิตภณั ฑ์ขงิ แกงดอง นอกจากน้ียงั มีภูมปิ ๎ญญาพื้นบ๎านท่ียังคงอยํู และ
สืบทอดกันรุํนตํอรํุน คือ การนวดแผนไทย (ยาหมอเมือง) ในชุมชนมีคนเดินทางมาใช๎บริการจากทุกทั่ว
สารทิศ มศี นู ยก์ ารเรียนร๎ูทางวฒั นธรรมเปน็ ของชมุ ชน

ในดา๎ นทุนทรพั ยากรสนับสนนุ ฝาุ ยฆราวาส วัดพระธาตุขิงแกงมีคณะศรัทธาสนับสนุนวัดในการจัด
กิจกรรมการพัฒนาสาธารณูปการและการศาสนศึกษาของวัดซึ่งทาอยํางโปรํงใส มีสํวนรํวม และตํอเน่ือง
ทาใหว๎ ัดพระธาตขุ ิงแกงเป็นตน๎ แบบในการสรา๎ งองคก์ รเครอื ขาํ ยรํวมพฒั นาวดั และชุมชน คือ
บ / ว / ร / ส = บา๎ น / วัด / โรงเรยี น / โรงพยาบาลสํงเสรมิ สุขภาพตาบล

อยํางไรก็ตาม ด๎วยเหตุท่ีในป๎จจุบัน วัดพระธาตุขิงแกงมีการพัฒนาวัดในหลายด๎าน เพื่อให๎
การพฒั นาวดั ในระยะตํอจากน้ี สามารถรองรับการเปล่ียนแปลงของคณะสงฆ์ การเปล่ียนแปลงใน ระดับ
ตาบล/อาเภอ/จังหวัด แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด คณะสงฆ์ กรรมการวัด ทายก ทายิกา สัปบุรุษ
ประชา สังคม และปราชญ์ชุมชน จึงได๎รํวมกันกาหนดวิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์การพัฒนาวัดพระธาตุขิง
แกงให๎สอดคล๎องกับศักยภาพของวัดและหมํูบ๎าน พร๎อมท้ังกาหนดเปูาหมายการพัฒนาที่กํอให๎เกิด
ประโยชน์ตํอสํวนรวมของชุมชนได๎อยํางมีประสิทธิภาพและย่ังยืน โดยได๎จัดทาแผนพัฒนาวัด ระยะ 5 ปี
(พ.ศ.2560-2564) เพอื่ เป็นแนวทางในการบริหารยุทธศาสตร์ และบูรณาการการพัฒนางาน ๖ ด๎านคือ
งานสาธารณูปการ งานปกครอง การศาสนศึกษา การเผยแผํ การศึกษาสงเคราะห์ และการสาธารณ
สงเคราะห์ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการ และระเบียบแบบแผนของคณะสงฆ์ให๎เป็นไปอยํางมีประสิทธิภาพ
หลกั เกณฑ์ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาวดั แบบยง้ั ยืน ดงั น้ี

นโยบาย (policy)
“วดั พระธาตขุ ิงแกงรมํ ร่ืน ศนู ย์รวมศรัทธา
นาการศาสนศึกษา พฒั นาเยาวชน
ชุมชนรวํ มประสาน งดงามตานําอยํู
แหลํงเรยี นรู๎ภมู ปิ ญ๎ ญา รักษาวฒั นธรรมไทยยั่งยนื ”

วั ด ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 5

วสิ ยั ทัศน์ (vision)
จัดการพัฒนาวัดแบบบรู ณาการตามหลกั ไตรสกิ ขา คือ สะอาด สงบ สวําง โดยการมีสํวนรํวมแบบ

“รฏั ฐะ-บวรสถาน (ภาครฐั บา๎ น วดั โรงเรยี น และโรงพยาบาลสงํ เสรมิ สขุ ภาพตาบล)”

พันธกิจ (mission)
๑. สรา๎ งจติ สานึกในความเป็นภกิ ษสุ ามเณรและศาสนบุคคลท่ีดีมีคณุ ภาพ
๒. สรา๎ งสขุ ภาพ ปูองกนั ควบคมุ โรค อนามยั สิง่ แวดลอ๎ ม และคม๎ุ ครองผบ๎ู รโิ ภคด๎านสุขภาพสงฆ์
๓. จดั ระบบและรูปแบบการเผยแผพํ ระพทุ ธศาสนาใหม๎ ปี ระสิทธิภาพ
๔. จัดและสงํ เสรมิ ด๎านสุขภาวะสังฆะอยาํ งทัว่ ถงึ มคี ณุ ภาพ
๕. บูรณะ พัฒนา และสร๎างศาสนวัตถุอยํางเหมาะสมตามหลกั มชั ฌิมาปฏปิ ทา
๖. พฒั นาบคุ ลากรใหม๎ สี มรรถนะ ประสานความรวํ มมอื ทกุ ภาคสวํ นโดยใชห๎ ลักพทุ ธวิธนี าวถิ ชี วี ิต

เปา้ ประสงค์ (goal)
๑. พระภิกษสุ ามเณร และศาสนบุคคลในวดั ไดร๎ ับการฝึกอบรมที่ดมี ีคณุ ภาพอยาํ งท่วั ถึง
๒. พระภิกษุสามเณรในวดั ไดร๎ ับการศกึ ษาทีม่ คี ณุ ภาพ และมาตรฐานตามฐานานุรปู
๓. ศาสนบคุ คลของวัด ได๎รบั การศึกษาหลักธรรม ตามสมควรแกํอตั ภาพ
๔. พระภกิ ษสุ ามเณรในวัดมสี ขุ ภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี สามารถเปน็ ตน๎ แบบให๎กับชุมชน
๕. การเผยแผํพระพทุ ธศาสนา มปี ระสทิ ธิภาพ และประสทิ ธผิ ล
๖. การพฒั นาวดั สามารถตอบสนองความตอ๎ งการของสังคม ทัง้ ในดา๎ นปรมิ าณ และคุณภาพ
๗. วดั สามารถเปน็ แบบอยํางท่ีดขี องสงั คมคณุ ธรรม

นอกจากนท้ี างวดั พระธาตขุ งิ แกง ได๎มีการบริหารจัดการวัด เพ่ือให๎มีการบริหารอยํางเป็นข้ันตอน
ในการวางแผนการจดั องคก์ าร การจดั บคุ ลากร การสั่งการ การควบคุม เพ่ือให๎การดาเนินงานกิจกรรมของ
วดั ให๎เปน็ ไปตามวตั ถปุ ระสงค์และสัมฤทธิ์ผลอยํางมีประสิทธิภาพของวัดได๎กาหนดการ การบริหารจัดการ
ตามหลกั ของการบริหารจัดการแบบ P D C A คือ วงจรการบริหารงานคณุ ภาพ ซงึ่ มีหลักของการบริหาร 4
ดา๎ น คือ

P : Plan คอื การวางแผนงานจากวัตถุประสงค์ และเปูาหมายที่ไดก๎ าหนดข้ึน
D : Do คือ การปฏิบัติตามขั้นตอนในแผนงานทไี่ ดเ๎ ขียนไวอ๎ ยํางเป็นระบบและมคี วามตอํ เนอ่ื ง
C : Check คอื การตรวจสอบผลการดาเนินงานในแตํละขน้ั ตอนของแผนงานวาํ มีปญ๎ หาอะไร

เกิดขนึ้ จาเปน็ ต๎องเปล่ยี นแปลงแก๎ไขแผนงานในขัน้ ตอนใด
A : Action คือ การปรบั ปรงุ แกไ๎ ขสํวนทีม่ ีป๎ญหา หรือ ถ๎าไมํมปี ๎ญหาใดๆ ก็ยอมรับวําแนวทางการ
ปฏบิ ัตติ ามแผนงานที่ได๎ผลสาเรจ็ เพอ่ื นาไปใชใ๎ นการทางานครัง้ ตอํ ไป

วั ด ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 6

1. P = Planning (การวางแผน) วดั พระธาตขุ งิ แกงมกี ารบรหิ ารจดั การวัดเพ่ือให๎การบริหารบรรลุ
วัตถุประสงค์ มีการกาหนดเปูาหมาย/ วัตถุประสงค์ในการดาเนินงาน วิธีการและขั้นตอนที่จาเป็นเพื่อให๎
การดาเนนิ งานบรรลุเปูาหมาย เพ่อื กอํ ใหเ๎ กิดการพัฒนาท่ีเป็นไปในแนวทางเดียวกันทั่วองค์กร การวางแผน
ในบางครั้งมกี ารกาหนดมาตรฐานของวธิ ีการทางานหรือเกณฑ์มาตรฐานตํางๆ ไปพร๎อมกันด๎วย ข๎อกาหนด
ทเ่ี ปน็ มาตรฐานนี้จะชํวยให๎การวางแผนมคี วามสมบูรณ์ยิง่ ขนึ้ เพราะใชเ๎ ป็นเกณฑ์ในการตรวจสอบได๎วําการ
ปฏบิ ตั งิ านเป็นไปตามมาตรฐานที่ไดร๎ ะบุไว๎หรือไมํ เม่ือคณะสงฆ์ประชุมกันแล๎วจะมีการประกาศออกมาให๎
ทั้งพระภิกษุสงฆ์ พุทธศาสนิกชนทราบ ยังมีการประกาศประชาสัมพันธ์ทั้งทางเอกสารและส่ือด๎าน
Internet เพอื่ ใหส๎ ามารถแจ๎งแผนงานให๎ทราบให๎ทั่วถึงกันมากท่ีสดุ

2. D = Do (การปฏิบัติตามขั้นตอน) หมายถึง การปฏิบัติให๎เป็นไปตามแผนท่ีได๎กาหนดไว๎ ซึ่ง
กอํ นท่จี ะปฏบิ ัตงิ านใดๆ จาเปน็ ต๎องศกึ ษาขอ๎ มูลและเง่ือนไขตํางๆของสภาพงานท่ีเก่ียวข๎องเสียกํอน แตํถ๎า
เปน็ งานใหมํหรอื งานใหญํทตี่ ๎องใช๎บคุ ลากรจานวนมากอาจต๎องจัดให๎มีการฝึกอบรมกอํ นที่จะปฏบิ ตั ิจริง การ
ปฏบิ ัติจะต๎องดาเนนิ การไปตามแผน วิธกี ารและข้ันตอนที่ได๎กาหนดไว๎ และจะต๎องเก็บรวบรวมและบันทึก
ขอ๎ มูลทเ่ี กี่ยวขอ๎ งกบั การปฏิบตั ิงานไวด๎ ๎วยเพ่อื ใช๎เป็นขอ๎ มลู ในการดาเนินงานในขน้ั ตอนตอํ ไป

3. C = Check (การตรวจสอบ) เป็นกิจกรรมที่มีข้ึนเพื่อประเมินผลวํามีการปฏิบัติงานตามแผน
หรอื ไมํ มปี ๎ญหาเกดิ ขน้ึ ในระหวํางปฏิบัติงานหรือไมํ ข้ันตอนนี้มีความสาคัญ เนื่องจากในการดาเนินงานใด
ๆ มักจะเกิดป๎ญหาแทรกซ๎อนท่ีทาให๎การดาเนินงานไมํเป็นไปตามแผนอยํูเสมอ ซ่ึงเป็นอุปสรรคตํอ
ประสิทธิภาพและคุณภาพของการทางาน การติดตาม การตรวจสอบ และการประเมินป๎ญหาจึงเป็นสิ่งท่ี
สาคัญท่ตี ๎องกระทาควบคูํไปการดาเนินงาน เพื่อจะได๎ทราบข๎อมูลท่ีเป็นประโยชน์ในการปรับปรุงคุณภาพ
ของการดาเนินงานตํอไป ในการตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงาน จะต๎องตรวจสอบด๎วยวําการ
ปฏบิ ตั ิงานน้นั เป็นไปตามมาตรฐานที่กาหนดหรือไมํ ทัง้ นเ้ี พ่ือเปน็ ประโยชน์ตํอการพัฒนาคณุ ภาพของงาน

4 . A = Action (การปรับปรงุ ) เป็นกจิ กรรมเพอื่ แก๎ไขปญ๎ หาที่เกิดข้นึ หลังจากได๎ทาการตรวจสอบ
แลว๎ การปรบั ปรุงอาจเปน็ การแก๎ไขแบบเรํงดํวน เฉพาะหนา๎ หรอื การค๎นหาสาเหตุที่แท๎จริงของป๎ญหา เพื่อ
ปอู งกันไมใํ หเ๎ กิดป๎ญหาเข๎ารอยเดิม การปรับปรุงอาจนาไปสํูการกาหนดมาตรฐานของวิธีการทางานที่ตําง
จากเดิม เม่ือมีการดาเนินงานตามวงจร P D C A ในรอบใหมํ ข๎อมูลที่ได๎จากการปรับปรุงจะชํวยให๎การ
วางแผนมีความสมบูรณ์และมคี ณุ ภาพเพมิ่ ขึ้นไดด๎ ๎วย

มาตรฐานวัดสง่ เสริมสขุ ภาพ วดั พระธาตขุ ิงแกง ต.พระธาตขุ ิงแกง อ.จุน จ.พะเยา
“พระแขง็ แรง วัดม่นั คง ชุมชนเป็นสุข”

วั ด ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 7

การสรา้ งองคก์ รเครือข่ายร่วมในการขบั เคล่ือนวัดสง่ เสริมสขุ ภาพ

ของ วัดพระธาตขุ ิงแกง ตาบลพระธาตุขิงแกง อาเภอจนุ จังหวดั พะเยา

บวรส

บ = บา้ น
คือ องค์กรที่ให๎ความอบอํุน สร๎างความรักและอุดมคติให๎กับคนในครอบครัว ท่ีเอ้ือตํอ

การดาเนินงาน และเป็นองคก์ รในการประสานงานทุกระบบให๎กบั องคก์ รอนื่ ๆ
ว = วัด

คือ องค์กรท่ีคอยให๎สุขภาพทางจิตใจ สร๎างศีลธรรม จริยธรรม อันดีให๎กับประชาชนและวัด
ยังสร๎างวฒั นธรรมทางดา๎ นจติ ใจ เป็นศูนย์กลางในการดาเนนิ งาน เปน็ ทีพ่ ึ่งทุกอยํางให๎กับประชาชน
ร = โรงเรยี น

คือ องค์กรที่คอยอบรมสั่งสอน สร๎างนิสัยอันดี และให๎ความร๎ูกับเด็กและเยาวชน เป็นองค์กร
ทคี่ อยประสานงานระหวาํ งคณะกรรมการดาเนนิ งานกบั ชุมชน เพ่อื เสริมสร๎างกิจกรรม
ส = โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล

คือ องค์กรที่คอยให๎การดูแลเร่ืองสุขภาพกาย ด๎านการออกกาลังกาย สํงเสริมทางด๎านอนามัย
ใหก๎ ับคนในชุมชน ซึ่งตามหลักแล๎วถา๎ หากเราจะดาเนินชีวิตได๎ในสังคมส่ิงท่ีสาคัญที่สุดคือ รํางกายจะต๎องมี
สุขภาพท่ีดี ดงั นน้ั ( ส ) จงึ เป็นตวั ควบคุมในการดาเนนิ งานทง้ั หมด ถา๎ สขุ ภาพดี ชีวติ กจ็ ะดี

วั ด ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 8

การขบั เคลอ่ื นวดั ส่งเสรมิ สขุ ภาพดเี ดน่

วดั พระธาตุขงิ แกง ตาบลพระธาตขุ งิ แกง อาเภอจนุ จงั หวัดพะเยา

หมวด 1 : ชาวประชา รว่ มพฒั นา

คณุ สมบตั ิ รายละเอียดกจิ กรรมท่ปี ระเมนิ

1. ชาวประชา รว่ มพัฒนา 1.1 มีนโยบาย แผนงานและมกี ารดาเนินงานตามแผน

- มสี ํวนรวํ มในการพัฒนา 1. มีคณะกรรมการดาเนนิ งานวดั สงํ เสรมิ สขุ ภาพ

- การบรหิ ารกรรมการ กฎระเบียบ ประกาศนโยบาย การดาเนนิ งาน และสอื่ สารให๎

- กระบวนการพฒั นาสูํ”วัดสงํ เสรมิ สุขภาพ” ประชาชนรับทราบ

2. มกี ารจัดทาแผนการดาเนินงาน และ/หรือไดร๎ บั

การสนบั สนนุ จากทอ๎ งถนิ่ และภาคเี ครือขําย โดย

ชุมชนมสี ํวนรํวม พร๎อมสรปุ ผลการดาเนินงาน

3. มีการสร๎าง/พฒั นาแกนนาพระสงฆ์ เชํน พระคิลานุ

ปฏ๎ ฐาก (พระอาสาสมคั รสงํ เสริมสุขภาพประจาวัด-

อสว.) พระสงฆ์นักพฒั นา เปน็ ตน๎

4. ประเมนิ ผลการดาเนินงาน “วดั สํงเสริมสุขภาพ”

ผาํ นระบบข๎อมลู วัดสํงเสรมิ สุขภาพและพระคิลานุ

ปฏ๎ ฐาก กรมอนามยั ในเวบ็ ไซต์

https://healthtemple.anamai.moph.go.th/

วัดพระธาตุขิงแกง มีนโยบายการดาเนินงานโดยยึดวิสัยทัศน์ วัดพระธาตุขิงแกงเป็นองค์กรด๎าน
การพระพุทธศาสนาที่มีความมั่นคงย่ังยืน สร๎างสังคมแหํงความสุขด๎วยหลักพุทธธรรม “พระแข็งแรง
วัดมั่นคง ชุมชนเป็นสุข” ทางวัดจึงได๎ใช๎หลักวงจรการบริหารงานคุณภาพแบบ PDCA แนวทางการ

บริหารงานเป็นกจิ การของคณะสงฆ์ 6 ด๎าน และการบริหารจดั การตามหลกั สัปปายะ 7 อยํางตํอเน่ือง และ
ทาการปรบั ปรงุ แกไ๎ ขใหม๎ คี วามเหมาะสมอยูเํ สมอ

วัดพระธาตขุ งิ แกง ไดแ๎ ตํงตง้ั คณะกรรมการขับเคล่ือนวัดสํงเสริมสุขภาพโดยเฉพาะ ประกอบด๎วย
พระสงฆ์ภายในวัด และพระสงฆ์ในเขตตาบล ผ๎ูนาชุมชน โรงเรียน โรงพยาบาลสํงเสริมสุขภาพตาบล
ผู๎ทรงคุณวุฒิ และคณะทางาน อสม. รวมถงึ เยาวชนแกนนา เพือ่ ชํวยแบํงเบาภาระ และชํวยสนองงานคณะ

สงฆ์วัดพระธาตุขงิ แกง มีการจดั ประชมุ คณะกรรมการเปน็ ประจาทุกเดือน และตํอเนือ่ ง
วัดพระธาตุขิงแกงรํวมกับชุมชน ประชุมประชาคมในการดาเนินงานตลอดจนกาหนดมาตรการ

ภายในวดั เชนํ วัดเปน็ เขตปลอดอบายมุข ปลอดสารเสพติด ปลอดการพนนั มหรสพทกุ ประเภท
วดั พระธาตุขิงแกงได๎ดาเนินการโครงการและจดั กิจกรรมสาธารณะประโยชน์ทั้งในและนอกชุมชน

โดยไดร๎ ับการสนับสนุนและความรํวมมือทกุ ภาคสวํ น เชนํ โครงการลานธรรม ลานวิถไี ทย, โครงการหมํูบ๎าน

รักษาศีล 5 การพัฒนาชุมชนสูํความย่ังยืน, โครงการรณรงค์ปูองกันและแก๎ไขป๎ญหายาเสพติด TO BE
NUMBER ONE เป็นหน่ึงโดยไมพํ ึ่งยาเสพติด, การจัดตงั้ โรงเรียนผส๎ู งู อายเุ ป็นต๎น

วั ด ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 9

การบรหิ ารจดั การขบั เคล่ือนวัดสง่ เสรมิ สุขภาพ ของวัดพระธาตุขิงแกง

การขับเคล่ือนวัดสํงเสริมสุขภาพ ของวัดพระธาตุขิงแกง ตาบลพระธาตุขิงแกง อาเภอจุน
จังหวดั พะเยา ดาเนนิ การตามแนวทาง ดังนี้

1. กรรมการดาเนนิ งานวดั ส่งเสรมิ สขุ ภาพ
คณะกรรมการการดาเนินงานขับเคล่ือนวัดสํงเสริมสุขภาพ ของวัดพระธาตุขิงแกง ต.พระธาตุขิง

แกง อ.จนุ จ.พะเยา เกิดจากความสมัครใจและพร๎อมท่ีจะเสียสละในการดาเนินงานรณรงค์และขับเคลื่อน
งานวัดสํงเสริมสุขภาพ อีกท้ังการสืบทอดพระพุทธศาสนา ใช๎หลักธรรม ฟ้ืนฟูวัด ชุมชนให๎เข๎มแข็งเพ่ือให๎
บรรลเุ ปาู หมายท่ีวํา “พระแข็งแรง วัดม่ันคง ชุมชนเป็นสุข” โดยมีคณะกรรมการฝุายตํางๆ ประกอบด๎วย
ฝุายจัดหากองทุน ฝุายกิจกรรม ฝุายประชาสัมพันธ์ ฝุายทะเบียนข๎อมูล และฝุายติดตามผลประเมิน
นอกจากน้ียังมีคณะกรรมการที่ปรึกษา ประกอบด๎วยทํานนายอาเภอจุน, สาธารณสุขอาเภอจุน, หัวหน๎า
ราชการทเ่ี ก่ียวขอ๎ ง สนบั สนุนและแนะนาในการดาเนินงาน

การประชมุ ของคณะกรรมการ การดาเนินงานขบั เคล่ือนวัดสง่ เสรมิ สขุ ภาพ ของวดั พระธาตุขิงแกง
การบริหารงานของคณะกรรมการดาเนินงานรณรงค์และขับเคล่ือนโครงการหมํูบ๎านรักษาศีล ๕

จัดให๎มีการประชุมคณะกรรมการเดือนละ 1 คร้ัง ทุกวันศุกร์แรกของเดือน เพื่อวางแผนจัดการและจัด
กิจกรรมของวัด รํวมกับชุมชน ตลอดจนรายงานความก๎าวหน๎า ป๎ญหา อุปสรรค ในการทางานของ
คณะกรรมการฝาุ ยตํางๆเพ่ือนามาปรบั ปรุงการทางานใหเ๎ กิดประสทิ ธิภาพ

วั ด ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 10

วั ด ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 11

วั ด ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 12
2. แผนการดาเนินงาน พรอ้ มสรุปผลการดาเนนิ งาน

มีการจัดทาแผนการดาเนินงาน และ/หรือได๎รับการสนับสนุนจากท๎องถิ่นและภาคีเครือขําย โดย
ชุมชนมีสวํ นรํวม พรอ๎ มสรุปผลการดาเนินงาน

บันทกึ ความรวํ มมือนี้ ทาขึน้ พร๎อมกันหลายฉบับ มีความถูกต๎องตรงกันทุกฉบับ ได๎อํานและเข๎าใจ
ขอ๎ ความโดยตลอดแล๎ว เหน็ วาํ ตรงตามเจตนารมณท์ กุ ฝาุ ย จงึ ได๎ลงลายมือชื่อและประทับตรา (ถ๎ามี) ไว๎เป็น
สาคัญ และได๎ถือไว๎ฝุายละฉบับ และสามารถเผยแพรํ ขอความรํวมมือให๎ทุกภาคสํวนให๎ การสนับสนุน
โครงการเพื่อให๎บรรลุตามวัตถปุ ระสงคข์ องโครงการตอํ ไป

วั ด ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 13

3. การสร้าง/ พัฒนาแกนนาพระสงฆ์
มีการสร๎าง/ พัฒนาแกนนาพระสงฆ์ เชํน พระคิลานุป๎ฏฐาก (พระอาสาสมัครสํงเสริมสุขภาพ

ประจาวัด - อสว.) พระสงฆน์ กั พฒั นา เปน็ ตน๎

วั ด ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 14

4. ประเมินผลการดาเนินงาน “วัดส่งเสรมิ สขุ ภาพ”
ประเมนิ ผลการดาเนินงาน “วดั สํงเสรมิ สุขภาพ” ผาํ นระบบขอ๎ มลู วดั สงํ เสริมสขุ ภาพและพระคิลานุ

ป๎ฏฐาก กรมอนามยั ในเวบ็ ไซต์ https://healthtemple.anamai.moph.go.th/

วั ด ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 15

หมวด 2 : สะอาด รม่ รนื่

คณุ สมบตั ิ รายละเอยี ดกิจกรรมท่ปี ระเมิน

2. สะอาด รม่ รื่น 2.1 อาคารสถานที่
1. อาคารสถานที่มคี วามม่นั คง แขง็ แรง โดยมพี ้ืน
- อาคาร สถานที่ ฝาผนงั เพดาน อยูใํ นสภาพดี และสะอาด เหมาะ
- บริเวณ และสภาพแวดล๎อมภายในวดั ตอํ การเป็นสถานที่สปั ปายะ
2. มีการระบายอากาศทด่ี ี ไมมํ ีกลนิ่ เหมน็ กลนิ่ อับ
และมกี ารจัดแสงสวาํ งให๎เหมาะสมตอํ การทา
กจิ กรรม
3. พื้นอาคารสะอาด ปลอดภยั ไมลํ ื่น ไมํเสยี่ งตํอ
การเกิดอบุ ัตเิ หตุ

วดั พระธาตุขงิ แกง สภาพแวดลอ๎ มโดยรอบ มตี ๎นไม๎ พรรณไม๎หลากหลายชนิดชํวยสร๎างความรํมรื่น
ตามธรรมชาติ พ้ืนท่ีใชส๎ อย มีการวางผังการกํอสร๎างท่ีเป็นสัดสํวนเหมาะสมกับชุมชนและตัวอาคารในการ
ทาศาสนกิจ ประกอบด๎วย อโุ บสถ ศาลาการเปรยี ญ หอฉัน กุฏิ อาคารพิพิธภัณฑ์ หอปฏิบัติธรรม กํอสร๎าง
ดว๎ ยวัสดุคงทน ตัวอาคารถูกออกแบบใหม๎ คี วามโปรงํ อากาศมกี ารถาํ ยเท ไมํกํอให๎เกิดกล่ินอับ มีแสงสวํางที่

เพยี งพอเพอื่ ใหใ๎ ชป๎ ระโยชนอ์ ยํางสูงสดุ และมีความปลอดภัย
สวํ นของอาคารได๎รับการบูรณะอยาํ งตํอเน่อื ง เพอ่ื ไมํให๎เกิดการทรดุ โทรม สภาพแวดล๎อมได๎รับการ

ดแู ลโดยพระสงฆ์สามเณร และชมุ ชนรํวมกันอยาํ งสมา่ เสมอ

นโยบาย

๑. พฒั นาถาวรวตั ถุ เสนาสนะ และอาคารประกอบ ให๎มีเอกลกั ษณ์ทางศิลปะสถาป๎ตยกรรมของ
ชาติ ศิลปะ สถาปต๎ ยกรรมและภูมปิ ๎ญญาทอ๎ งถ่นิ เนน๎ โครงสร๎างแข็งแรงทนทาน และประหยดั

๒. พัฒนาวัดให๎เป็นศนู ยก์ ลางชวี ติ และชมุ ชนป๎ญญาธรรม โดยการพฒั นาระบบนิเวศน์ และ
ภูมทิ ศั น์ของวดั ให๎เหมาะสมสอดคลอ๎ งตํอสถานการณป์ จ๎ จบุ ัน

๓. พฒั นาเสนาสนะทพ่ี ักอาศัยของพระภกิ ษุสามเณร ใหเ๎ ป็นสัปปายะ และมีจานวนเพียงพอแกํ

ผอ๎ู ยอํู าศยั พรอ๎ มทั้งพฒั นาระบบสาธารณูปโภคใหม๎ มี าตรฐาน และเหมาะสมแกํสมณสารูป
๔. พฒั นาวัดให๎เปน็ อาราม มคี วามรมํ รน่ื สะอาด ปลอดอบายมขุ เปน็ ธรรมสถาน คารวสถาน และ

ปญุ ญสถานของชมุ ชน
๕. พฒั นาวดั ใหเ๎ ปน็ แหลงํ ศึกษาเรียนรู๎ สํงเสริม อนุรักษส์ ืบสานวัฒนธรรมของชุมชน และเป็นศูนย์

การเผยแพรํศิลปวฒั นธรรมท๎องถนิ่ และของชาติ รวํ มกบั หนํวยงานภาครฐั ภาคเอกชน และ

ภาคประชาชนตลอดจนสถาบนั การศกึ ษาท่ัวไป

มาตรการ
๑. มกี ารทาแบบแปลน แผนผังวัด รูปลักษณะอาคาร กุฎสี งั ฆาวาส กาหนดเขตภายในวดั ใหเ๎ ป็น

เขตพทุ ธาวาส เขตสงั ฆาวาส เขตการศกึ ษา และเขตสาธารณสงเคราะห์

วั ด ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 16
๒. มกี ารวางแผนแมํบท เพือ่ จัดทาระบบนิเวศน์ และจัดภูมิทัศน์ภายในบรเิ วณวัด โดยคานึงถึง

ความเหมาะสม ประหยดั และเปน็ การพฒั นาแบบย่งั ยนื
๓. มีการบรู ณะและกํอสรา๎ งเสนาสนะตําง ๆ อาทิ ศาลาบาเพ็ญกุศล ศาลาการเปรยี ญ กุฎิสงฆ์ กฎุ ิ

รับรอง หอประชมุ และอาคารอเนกประสงค์ เทาํ ท่ีมีความจาเป็น และเอื้อประโยชน์แกํ
สาธารณชน
๔. มีการจัดท่ีธรณสี งฆ์ และศาสนสมบัตขิ องวัด ให๎เป็นไปตามกฎหมาย กฎมหาเถรสมาคม
กฎกระทรวง ท้ังน้ี เพ่อื ปูองกนั ความเสยี หายอันอาจเกดิ ขึ้นเพราะเหตใุ ดเหตหุ น่ึงก็ได๎
๕. จดั ให๎มีมาตรการในการดแู ล รักษา สงํ เสรมิ ความเปน็ ระเบียบเรียบร๎อยอนั ดงี ามภายในวดั และ
จดั บรกิ ารความสะดวกแกํพระภิกษุสามเณร สวํ นราชการ หนํวยงานเอกชน ชุมชน องค์กร
ปกครองสํวนท๎องถนิ่ และสถานศึกษา

อาคารสถานทีม่ ีความมนั่ คง แข็งแรง โดยมีพนื้ ฝาผนัง เพดาน อยใู่ นสภาพดี และสะอาด
เหมาะตอ่ การเปน็ สถานท่ีสัปปายะ

วั ด ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 17

ป้ายประชาสมั พันธ์ (ขอ้ มูลสารสนเทศ) รปู แบบ : สแกน QR Code
เมอ่ื สแกน QR Code จะแสดงประวัติของวดั แผนผังของวดั
และข้อมลู ข่าวสารวดั พระธาตุขิงแกง ในรปู แบบ 3 D

โดย กลํมุ งานแผน และพัฒนาวัด สานักงานวัดพระธาตขุ ิงแกง อปั เดตข๎อมลู : วันที่ 1 เมษายน 2565

วั ด ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 18
ป้ายชอ่ื วดั ติดตั้ง จากตัวอาเภอ ทุกระยะ 4 กโิ ลเมตร 2 ปา้ ย
ทางเข้าวดั 2 ปา้ ย, ทางข้นึ /หน้าวัด ๒ ป้าย และในบรเิ วณวดั 1 ปา้ ย
ป้ายคตธิ รรม พทุ ธภาษิต ทางกลุ่มสามเณรและกลมุ่ เยาวชนจดั ทาปา้ ย และติดใต้ตน้ ไม้ รอบบริเวณวดั

พืน้ อาคารสะอาดและทางเดนิ บริเวณในวดั ปลอดภัย ไมล่ น่ื ไมเ่ สยี่ งต่อการเกิดอุบตั เิ หตุ

วั ด ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 19
ทน่ี ่งั พักผอ่ น สาหรับในวัด มจี านวน 5 จดุ และหนา้ วัด มีจานวน 2 จดุ

รอบบริเวณวดั จะประดบั ตกแต่งสร้างบรรยากาศใหเ้ ป็นธรรมชาติ ด้วยไม้ดอกไม้ประดบั

วั ด ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 20

คณุ สมบัติ รายละเอยี ดกจิ กรรมทีป่ ระเมนิ

2. สะอาด รม่ ร่นื 2.2 หอ้ งนา้ ห้องส้วม
1. ห๎องน้า หอ๎ งส๎วมสะอาด มจี านวนเพยี งพอ และ
- อาคาร สถานที่ อุปกรณภ์ ายในห๎องน้าพร๎อม ใชง๎ าน ไมํชารุด
- บรเิ วณ และสภาพแวดล๎อมภายในวัด เสยี หาย
2. มีการแยกห๎องนา้ พระและฆราวาส พร๎อมปูาย
หรอื สญั ลกั ษณท์ ีบ่ งํ ช้ี แยกห๎องนา้ ชดั เจน
3. มแี ผนและผู๎รบั ผิดชอบการทาความสะอาด
หอ๎ งน้า
4. มสี ๎วมแบบนงั่ ราบ และมีราวจับ สาหรบั ผ๎ูสงู อายุ
และ/หรือผพ๎ู กิ าร

5. ผํานเกณฑม์ าตรฐานสว๎ มสาธารณะระดับประเทศ
(HAS)

หอ๎ งนา้ หอ๎ งส๎วม ในพืน้ ที่วดั พระธาตุขิงแกงทง้ั หมด สร๎างข้นึ ตามจุดตํางๆ เพอ่ื อานวยความสะดวก

ให๎แกผํ ๎ทู ่ีมาใช๎บริการให๎เพียงพอตามเกณฑ์ (หอ๎ งส๎วมชาย/หญิง 1 : 50 ห๎องสว๎ มพระสงฆส์ ามเณร 1 : 5

ท่ีปส๎ สาวะชาย 1 : 30) ตั้งอยูใํ นพน้ื ทท่ี ปี่ ลอดภยั มีปูายสญั ลกั ษณ์ตดิ ชัดเจน โดยแยกเป็นสดั สวํ น และแบํง

ประเภท ดังนี้

สว๎ มชาย จานวน 18 หอ๎ ง (ความเพียงพอผูม๎ ารบั บรกิ าร 900 คน)

สว๎ มหญิง จานวน 18 หอ๎ ง (ความเพยี งพอผ๎ูมารับบริการ 900 คน)

ส๎วมพระสงฆ์ จานวน 8 ห๎อง (ความเพยี งพอ พระภิกษุสามเณร 40 รปู )

ทป่ี ๎สสาวะชาย จานวน 10 ท่ี (ความเพียงพอผู๎มารับบริการ 300 คน)

สว๎ มสาหรบั ผ๎สู งู อายแุ ละผพู๎ ิการ จานวน 2 ห๎อง , อํางลา๎ งมือ จานวน 12 ท่ี ผํานการประเมิน

มาตรฐานส๎วมสาธารณะระดบั ประเทศ ท้ัง 16 ขอ๎ 3 หมวด (สะอาด เพียงพอ ปลอดภยั ) โดยทมี เครือขําย

สาธารณสขุ จังหวัดพะเยา

วั ด ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 21

มีการแยกหอ้ งนา้ พระและฆราวาส พรอ้ มปา้ ยหรอื สญั ลักษณท์ ีบ่ ง่ ชี้ แยกหอ้ งน้าชดั เจน
มีแผนและผูร้ บั ผิดชอบการทาความสะอาดห้องนา้

วั ด ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 22

มสี ้วมแบบนั่งราบ และมีราวจบั สาหรบั ผูส้ งู อายุและ/หรือผูพ้ ิการ
ผา่ นเกณฑ์มาตรฐานสว้ มสาธารณะระดับประเทศ (HAS)

วั ด ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 23

คณุ สมบตั ิ รายละเอยี ดกจิ กรรมทีป่ ระเมนิ

2. สะอาด รม่ ร่ืน 2.3 สขุ าภิบาลอาหารและนา้
1. มีนา้ ดื่ม/น้าใชท๎ ่ีสะอาด มีปริมาณเพยี งพอ และ
- อาคาร สถานท่ี ภาชนะกักเกบ็ นา้ มฝี าปดิ มิดชิด
- บริเวณ และสภาพแวดลอ๎ มภายในวดั 2. โรงครัว/ห๎องครวั วัด สะอาด เป็นระเบียบ
3. โรงครัว/ห๎องครวั วัด มกี ารจดั การภาชนะและ
อาหารให๎ถูกสขุ ลกั ษณะ และจดั เก็บใหป๎ ลอดจาก
ฝนุ และสตั วน์ าโรค

น้าทใี่ ชบ๎ ริโภค มเี ครื่องกรองน้าที่ไดม๎ าตรฐาน ดแู ลล๎างไสก๎ รองตอํ เนอ่ื ง , ตก๎ู ดน้าดืม่ มกี ารทาความ

สะอาดตํอเนอ่ื ง และตรวจจุลนิ ทรีย์ (SI2) โดยเจา๎ หน๎าทสี่ าธารณสุข ปลี ะ 4 ครัง้
ภายในวัดมีโรงครัวท่ปี รุงอาหารเปน็ ประจา มีหอฉันเปน็ สดั สํวน ได๎จัดเตรียมพ้นื ที่ไว๎สาหรับ การ

เตรยี มอาหารเพอ่ื เลี้ยงพระและรองรบั การเตรยี มอาหารในวนั ทมี่ ีการจัดงานบุญตาํ งๆ โดยใช๎หลัก 5 ส. เพอ่ื
ความเป็นระเบยี บเรยี บรอ๎ ย มีพืน้ ทที่ ่ีสะอาด เหมาะสม

ได๎รับการประเมนิ มาตรฐาน Clean Food Good Test เพ่ือพัฒนาในสวํ นท่ีสามารถดาเนนิ การได๎

โดย เจา๎ หน๎าทสี่ าธารณสุขเครือขํายอาเภอจนุ โดยใชแ๎ บบตรวจโรงอาหารตามข๎อกาหนดด๎านสุขาภิบาล
(30 ขอ๎ 7 เรื่อง) ผาํ นเกณฑ์ 30 ข๎อ

ตรวจหาจุลินทรีย์ เน๎นในภาชนะ นา้ ด่มื และผเ๎ู ตรียมอาหารใหพ๎ ระภกิ ษุ (เนื่องจากไมํมีอาหารสด)
ผาํ นเกณฑ์ รอ๎ ยละ 100

วั ด ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 24

โรงครัว/ หอ้ งครัววัด สะอาด เปน็ ระเบียบ มีการจัดการภาชนะและอาหารให้ถกู สุขลักษณะ
และจัดเกบ็ ใหป้ ลอดจากฝนุ่ และสตั ว์นาโรค มีพระสงฆ์และศิษย์วัดคอยดแู ล
ทาความสะอาด วันละ 2 ครั้ง เช้า/เยน็

วั ด ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 25

คณุ สมบตั ิ รายละเอียดกิจกรรมทป่ี ระเมนิ

2. สะอาด ร่มรืน่ 2.4 ขยะ การจดั การน้าเสยี และเหตรุ าคาญ
1. มกี ารกาหนดตาแหนํงทตี่ ้ังของภาชนะสาหรับใสํ
- อาคาร สถานที่ ขยะท่ชี ดั เจน และมปี ริมาณภาชนะสาหรับใสขํ ยะ
- บริเวณ และสภาพแวดล๎อมภายในวัด
เพียงพอ
2. มกี ารคัดแยกขยะ (อยาํ งนอ๎ ย 3 ประเภท ไดแ๎ กํ

ขยะท่วั ไป ขยะรีไซเคลิ ขยะอันตราย) พร๎อมปูาย
ระบปุ ระเภทขยะ
3. มีการจัดการขยะตามหลกั สขุ าภิบาล และเกิดผล
กระทบตํอสงิ่ แวดล๎อมน๎อยท่สี ดุ
4. มกี ารรณรงค์สํงเสริมเพื่อลดปรมิ าณขยะ เชนํ

การใช๎ปน่ิ โต การใช๎พวงหรดี ทเ่ี ปน็ มิตรกบั
สงิ่ แวดลอ๎ ม และมกี ารนาขยะมลู ฝอยไปแปร
สภาพและใช๎ประโยชน์ เชนํ ทาปุ๋ยชีวภาพ ปุย๋
หมกั ฯลฯ
5. มกี ารจดั การเหตรุ าคาญ ไมมํ กี ล่นิ เหมน็ ควนั ฝุน
ละออง เสยี งดงั หรือสง่ิ อนื่ ใดทสี่ ํงผลกระทบตอํ ผ๎ู
อยอูํ าศัยใกล๎เคยี ง

สภาพแวดล๎อม ในวดั ไมํมีน้าขงั หรอื ขยะมลู ฝอย ท่ีอาจกอํ ใหเ๎ กดิ ผลเสยี ตอํ สขุ ภาพ เนือ่ งจากมีการ

ดแู ลควบคมุ ให๎เป็นไปตามหลกั สขุ าภิบาล โดยไดร๎ ับความรวํ มมอื ของชุมชนและเครอื ขํายสขุ ภาพ
- มถี งั รองรบั ขยะที่เพียงพอกบั ปริมาณขยะในวดั และถังได๎มาตรฐานความแข็งแรง มีการแยกขยะ

เพ่ือสามารถนาไปใช๎ประโยชนห์ รอื ลดการกระจายของเชือ้ โรค
- ขยะนากลบั มาใชใ๎ หมํ (รีไซเคลิ ) มีรถรบั ซอื้ ในชมุ ชน จัดแยกเป็นประเภทแก๎วและพลาสตกิ
- ขยะอนั ตราย รวมขยะติดเช้ือจากภายในวัด ใสถํ ุงแดงนาไปฝากกาจัดที่ รพ.สต.พระธาตขุ ิงแกง

- ขยะทว่ั ไป กลมํุ ไมํยํอยสลาย รวบรวมทง้ิ ทีบ่ ํอขยะตาบลพระธาตุขิงแกง สํวนที่ยํอยไดแ๎ ยกฝง๎ กลบ
เพ่ือลดมลภาวะทางอากาศและกลิ่น

- ขยะอนิ ทรีย์ ยอํ ยสลายได๎ นาไปทาเปน็ ปุ๋ยหมักใช๎ประโยชนใ์ นวัดหรอื ชุมชน
ทั้งนี้ เพ่อื เปน็ การลดขยะ วัดพระธาตขุ งิ แกง ยังมนี โยบายการไมใํ ช๎ภาชนะบรรจโุ ฟมเขา๎ มาในวดั
และสํงเสรมิ การใช๎ถงุ ผา๎ เมอื่ ซื้อของมาถวายพระในวัดอีกดว๎ ย

วั ด ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 26

มกี ารคัดแยกขยะ (อย่างน้อย 3 ประเภท ไดแ้ ก่ ขยะทัว่ ไป ขยะรไี ซเคิล ขยะอนั ตราย)
พร้อมป้ายระบปุ ระเภทขยะ และมีการจัดการขยะตามหลักสขุ าภิบาล
และเกดิ ผลกระทบต่อส่ิงแวดลอ้ มน้อยทส่ี ดุ

มกี ารรณรงค์ส่งเสริมเพ่อื ลดปริมาณขยะ เชน่ การใชป้ น่ิ โต การใช้พวงหรีด ทีเ่ ปน็ มิตรกับสิ่งแวดล้อม
และมกี ารนาขยะมลู ฝอยไปแปรสภาพและใชป้ ระโยชน์ เช่น ทาปยุ๋ ชวี ภาพ ปุ๋ยหมัก ฯลฯ

วั ด ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 27

คุณสมบตั ิ รายละเอียดกจิ กรรมทีป่ ระเมิน

2. สะอาด ร่มรน่ื 2.5 การป้องกันและควบคุมโรค
1. ภาชนะขงั น้าทุกภาชนะ ไมํมลี ูกนา้ ยงุ ลาย และมี
- อาคาร สถานท่ี การประเมนิ ผลการดาเนินงานควบคมุ ลูกน้า
- บรเิ วณ และสภาพแวดล๎อมภายในวัด ยุงลาย โดย อสม. หรือบุคลากรอื่นๆ ทกุ เดือน
2. สนุ ัขและแมวได๎รับการฉดี วัคซีนปอู งกันโรคพษิ
สุนขั บ๎า และได๎รับการคมุ กาเนดิ

การดาเนนิ กจิ กรรม
วดั พระธาตุขิงแกงมกี ารดาเนินงานการปอู งกนั ควบคมุ โรค

มกี ารสารวจภาชนะในวดั และมีการประเมนิ ผลคาํ ดัชนลี ูกนา้ ยุงลายโดยคณะกรรมการ
และ อสม. ทุกเดือน มีคําดชั นลี ูกนา้ ยุงลายเทาํ กบั 0

การควบคุมลูกน้ายุงลายดว๎ ยการปฏบิ ตั ิ 5 ป.
- ปดิ ภาชนะท่ใี ช๎เก็บน้าใหส๎ นิท
- เปลย่ี นนา้ ในแจกันทกุ 7 วนั

- ปลํอยปลากินลกู น้าในอํางบวั หรอื อํางมีพืชประดบั ทกุ ประเภท โดยฆราวาสเปน็
ผ๎ูดาเนนิ การ

- ปรบั ปรุงส่ิงแวดลอ๎ มที่เปน็ แหลงํ เพาะพนั ธยุ์ งุ
- ปฏบิ ตั ิเปน็ ประจา

วั ด ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 28

การควบคุมการขยายพนั ธสุ์ ุนขั และแมว
สุนัขและแมวได๎รับการฉีดวัคซีนปูองกันพิษสุนัขบ๎า และ ฉีดยาคุมในเพศเมีย โดยปศุสัตว์ ทุกตัว

และมีโรงเรอื นเฉพาะสาหรับ สุนขั ไวเ๎ ป็นสดั สวํ น ชุมชนรํวมพฒั นาทาความสะอาดวดั ในวันสาคัญ หรือตาม
วันทกี่ าหนดทกุ เดอื น

วั ด ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 29

คุณสมบัติ รายละเอียดกิจกรรมท่ีประเมนิ

2. สะอาด ร่มร่นื 2.6 การป้องกันอุบตั ิภยั และการจราจร
1. มปี าู ยจราจร/สญั ลกั ษณ์ เพ่อื ความปลอดภัยใน
- อาคาร สถานที่ การสัญจรภายในวัด
- บริเวณ และสภาพแวดล๎อมภายในวดั 2. มกี ารจดั สถานทีจ่ อดรถโดยเฉพาะใหเ๎ ปน็ ระเบยี บ
3. มีอปุ กรณห์ รือมาตรการปูองกันอัคคภี ยั และมี
เอกสารแสดงถึงการตรวจสอบสภาพการใชง๎ าน
ของถังดบั เพลิง และอปุ กรณ์ไฟฟาู ตํางๆ
4. มีการฝึกอบรมความปลอดภัยจากระบบไฟฟูา
และการปอู งกันอคั คภี ัยเปน็ ประจาทุกปี

การดาเนินกจิ กรรม

วัดพระธาตุขิงแกงมกี ารดาเนินงานการปูองกนั อุบตั ภิ ยั และการจราจร
ด๎านอาคารสถานที่

- พ้นื อาคารมีสภาพแขง็ แรงไมลํ ่นื ลานจอดรถ ไมมํ คี วามเสี่ยงตํอการเกดิ อุบตั ิเหตุ มีความปลอดภยั

- มีอปุ กรณแ์ ละมาตรการปูองกันอคั คีภัย ทีไ่ ดม๎ าตรฐานปลอดภัย มีอุปกรณป์ ูองกนั อัคคีภยั พรอ๎ ม
ใชง๎ าน ในพื้นที่ 200 ตารางเมตร/1 ถัง มีวิธใี ช๎และเปลยี่ นนา้ ยาเคมีทุก 2 ปี

- มสี ัญญาณเตือนภัย โดยใช๎ระฆงั
- มีการจัดสถานที่พักชวั่ คราวแกํผ๎ูประสบสาธารณภยั ในวัด เพื่อเตรยี มความพร๎อมกรณีการเกดิ ภยั
- มแี ผนรองรบั กรณีเกิดเหตุสาธารณภัยโดยการมสี วํ นรวมของชมุ ชน

วั ด ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 30

วั ด ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 31

คุณสมบตั ิ รายละเอยี ดกิจกรรมท่ีประเมิน

2. สะอาด รม่ รื่น 2.7 การควบคมุ การบรโิ ภคยาสูบและเคร่ืองด่ืม
แอลกอฮอล์
- อาคาร สถานที่
- บรเิ วณ และสภาพแวดลอ๎ มภายในวัด 1. มีการติดปูายเคร่อื งหมายเขตปลอดบหุ ร่แี ละ
เคร่อื งด่ืมแอลกอฮอล์ในบริเวณวัด

2. บริเวณวดั ไมํมีการจาหนํายและบริโภคเครอ่ื งดืม่
แอลกอฮอล์

3. พระภิกษุสงฆไ์ มํสูบบหุ ร่ีเพ่ือเป็นตวั อยาํ งและผู๎นา
ทางสขุ ภาพของชมุ ชน

4. สรา๎ งการมีสํวนรวํ มในชุมชน โดยมีนโยบาย และ
มาตรการปูองกันสงิ่ เสพติด เชนํ ใหว๎ ัดเป็นพ้ืนท่ี

ปลอดบหุ รี่ 100% เทศนาบรรยายธรรม
กิจกรรมงดเหล๎าเข๎าพรรษา งานศพปลอดเหลา๎

การดาเนินกจิ กรรม

วดั พระธาตขุ งิ แกง มกี ารดาเนินงานการควบคุมการบริโภคยาสบู และเครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอล์
- มปี ูายแสดงเขตปลอดบุหร่แี ละเครอ่ื งดื่มแอลกอฮอล์ทช่ี ดั เจนมองเหน็ ได๎งําย ทีป่ ระตู

ทางเข๎า - ออกของวดั ภายในอาคาร และบรเิ วณวดั
- ไมํมกี ารจาหนาํ ยและบรโิ ภคเครือ่ งด่มื แอลกอฮอล์ในบรเิ วณวดั
- ไมมํ ีการถวายยาสบู แกํพระภิกษุสงฆ์ ไมํมีการสบู บุหร่หี รอื พบการสูบบหุ รใ่ี นบรเิ วณวัด

- การสอดแทรกเนื้อหาเกี่ยวกบั โทษพษิ ภยั ของเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ และยาเสพติด
ในการเทศนาบรรยายธรรม

- วดั มีนโยบายในด๎านปลอดบหุ ร่แี ละเครอื่ งด่ืมแอลกอฮอล์
- สร๎างการมสี ํวนรํวมในชมุ ชนโดยทาข๎อตกลงความรวํ มมอื ดาเนินงานโครงการสรา๎ งความ
ปรองดองสมานฉนั ทโ์ ดยใช๎หลักธรรมพระพทุ ธศาสนา “หมูํบา๎ นรกั ษาศลี ๕”

วั ด ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 32

วั ด ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 33

วั ด ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 34

หมวด 3 : สงบ ร่มเยน็

คุณสมบัติ รายละเอยี ดกิจกรรมที่ประเมนิ

3. สงบ ร่มเยน็ 3.1 เทศนา บรรยายธรรม
1. มกี ารสอดแทรก เรอื่ งการสํงเสรมิ สุขภาพและ
- การเทศนา ปฏบิ ัติธรรม ทาบญุ ปอู งกันโรค ในการเทศนาและบรรยายธรรมแกํ
- กจิ กรรมท่เี อื้อตํอการสงํ เสริมสุขภาพ ประชาชน
2. มีการสอ่ื สาร/ ประชาสมั พนั ธ์/ เผยแพร/ํ ให๎
คาแนะนา การสํงเสรมิ สุขภาพ การปอู งกนั โรค
ภายในวดั และชมุ ชน เชํน ปูายรณรงค์ ปูาย
ความร๎ู เสยี งตามสาย ทาง Line, Facebook
เปน็ ตน๎

ในการบรรยายธรรมเทศนาจะมกี ารสอดแทรกในเร่ืองของการสํงเสริมสุขภาพและการปูองกันโรค
ใหแ๎ กํคนในชุมชน โดยจะเนน๎ ในเรื่องของโรคเรอ้ื รงั เชํน โรคเบาหวาน จะสอดแทรกในเร่ืองของป๎จจัยเส่ียง

ทท่ี าใหเ๎ กิดโรคเบาหวาน ไดแ๎ กํ พันธุกรรม นา้ หนักเกิน อ๎วน ขาดการออกกาลังกาย น้าตาลในเลือดสูงกวํา
ปกติ การรับประทานอาหารหวานมนั เคม็ เกิน เปน็ ตน๎

โรคความดนั โลหิตสูงก็จะบรรยายถงึ อาการของผู๎ปุวยโรคความดันโลหิตสูงวํามีอาการอยํางไรบ๎าง
เพื่อที่ชาวบ๎านจะได๎สังเกตตัวเองได๎รู๎วิธีการปูองกันโรคด๎วยวิธีการปรับเปล่ียนพฤติกรรมและการบริโภค
อาหารและในเรอ่ื งของโรคโควดิ -19 วําประชาชนควรปฏิบัติตนอยํางไร ให๎ชาวบ๎านรู๎จักการเว๎นระยะหําง

ทางสังคม การกินร๎อน ใช๎ช๎อนกลาง การล๎างมือบํอยๆ และการสวมใสํหน๎ากากอนามัยทุกครั้งที่ออกจาก
บา๎ น

จัดนิทรรศการ จัดบอรด์ ประชาสมั พันธแ์ ละสอื่ ประชาสัมพันธ์เพ่ือเผยแพรํในเร่ืองของสุขภาพและ
โรคภัยตาํ งๆที่มีผลกระทบตํอชาวบ๎านเพื่อใหช๎ าวบ๎านมีความรแู๎ ละสามารถนาไปประเมินสุขภาพของตนเอง
และบคุ คลในครอบครวั ได๎ ผําน Line : วดั พระธาตุขงิ แกง, Facebook : วัดพระธาตขุ ิงแกง อาเภอจนุ

มีการให๎คาปรึกษาแกํชุมชนในกลํุมชาวบ๎าน กลํุมผู๎สูงอายุ ในเรื่องของป๎ญหาสุขภาพและการ
ชํวยเหลอื ในกรณีที่มผี ๎สู งู อายตุ ดิ บา๎ น ติดเตยี ง ก็จะชวํ ยสนับสนุนอปุ กรณ์เครื่องใชต๎ าํ งๆเชํน แพมเพสิ

กระดาษชาระ เตียงผู๎ปุวย เครื่องวัดความดันโลหิต ข๎าวสารอาหารแห๎ง เป็นต๎น และชํวยชาวบ๎าน
ประสานงานกบั ทาง รพ.สต.พระธาตขุ งิ แกง และทางโรงพยาบาลจนุ กรณีมีเหตุเรํงดํวน

วั ด ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 35

ทกุ ครั้งท่อี อกบรรยายธรรมจะมกี ารสอดแทรกในเรือ่ งของการสํงเสรมิ สุขภาพและการปอู งกนั โรค
ให๎แกคํ นในชุมชน และเด็กนักเรียนเยาวชน รํวมถึงสนับสนนุ งานวจิ ัยด๎านสมุนไพรให๎กบั สถาบนั ตํางๆ

จัดนิทรรศการ “รักษาศีล ๕ รกั ษาสขุ ภาพ เพ่อื ชวี ิตทีด่ ี” สญั จร
เพื่อประชาสมั พันธก์ ิจกรรมและสงํ เสริมการเรยี นรเู๎ รือ่ งสขุ ภาพท่ดี ผี ํานกิจกรรม 5 ส.

รวมถงึ กิจกรรมโครงการหมํูบ๎านรกั ษาศลี ๕ ของชุมชน วดั โรงเรียน รพ.สต.
ต้ังแตปํ ี 2560 – 2565 ได๎จัดนิทรรศการผาํ นกิจกรรมกับหนวํ ยงานตาํ งๆ มากกวาํ 50 คร้ัง

วั ด ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 36

มกี ารส่ือสาร/ ประชาสมั พันธ์/ เผยแพร/ํ ให๎คาแนะนา การสงํ เสรมิ สขุ ภาพ การปูองกันโรค
ภายในวดั และชมุ ชน ผํานทาง Line : วัดพระธาตขุ ิงแกง, Facebook : ชุมชนคณุ ธรรมวดั พระธาตุขงิ แกง

มีการใหค๎ าปรึกษาแกํชุมชนในกลุมํ ชาวบา๎ น กลํุมผส๎ู งู อายุ ในเร่ืองของป๎ญหาสขุ ภาพและการชํวยเหลอื ใน
กรณีท่ีมผี ูส๎ ูงอายตุ ิดบ๎าน ติดเตยี ง ก็จะชํวยสนับสนุนอปุ กรณ์เครอื่ งใช๎ตาํ งๆเชํน แพมเพสิ

กระดาษชาระ เตยี งผปู๎ วุ ย เครอ่ื งวดั ความดันโลหิต ขา๎ วสารอาหารแห๎ง เปน็ ตน๎ และชวํ ยชาวบ๎าน
ประสานงานกับทาง รพ.สต.พระธาตุขิงแกง และทางโรงพยาบาลจุน กรณมี เี หตุเรํงดํวน

วั ด ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 37

คณุ สมบัติ รายละเอยี ดกิจกรรมที่ประเมนิ

3. สงบ รม่ เยน็ 3.2 การจัดกิจกรรมและบรรยากาศใหเ้ ออ้ื ต่อการ
ส่งเสรมิ สขุ ภาพ
- การเทศนา ปฏิบตั ิธรรม ทาบญุ
- กจิ กรรมทีเ่ ออ้ื ตอํ การสงํ เสรมิ สขุ ภาพ 1. มีการปลกู ฝง๎ ศีลธรรม คุณธรรม จรยิ ธรรมและ
ขนบธรรมเนียมประเพณีอันดงี าม แกํเดก็ และ
เยาวชนในพนื้ ท่ใี กลเ๎ คยี ง

2. เปน็ ท่ศี ึกษาดงู าน จัดการอบรม ประชุม สมั มนา
ในด๎านสุขภาพจิตชมุ ชนและดา๎ นอื่นๆ ได๎

1. มกี ารปลูกฝงั ศลี ธรรม คุณธรรม จริยธรรมและขนบธรรมเนยี มประเพณอี นั ดงี าม แก่เดก็ และ
เยาวชนในพืน้ ทใี่ กล้เคยี ง

โครงการเสรมิ สร้างเยาวชนจิตอาสาพัฒนาชมุ ชน (เยาวชนตน้ กลา้ ความดี วถิ พี อเพียง)
จัดกิจกรรมอบรมเยาวชนเสริมสร๎างจิตอาสาพัฒนาชุมชน โดยตั้งกลํุมเยาวชนต๎นกล๎าความดี วิถี

พอเพียง ข้ึนเพ่ือเย่ียมบ๎านผ๎ูสูงอายุ/ผู๎พิการ/ผู๎ปุวย ออกให๎การบริการให๎กับชุมชน สังคม โดยสร๎างจาก

พน้ื ฐานการดารงชวี ิตตามเศรษฐกิจพอเพียง โดยกลํมุ เพอื่ นชํวยเพื่อน ใหค๎ าแนะนาปรกึ ษาแกํกลุํมเยาวชนท่ี
มีป๎ญหาในครอบครัวและในโรงเรียน เพื่อปลูกฝ๎่งคุณธรรมตามหลักธรรมสังคหะวัตถุ ๔ หลักธรรมที่เป็น

เครอื่ งยดึ เหนีย่ วน้าใจของผู๎อ่นื ผูกไมตรี เอื้อเฟือ้ เกื้อกลู หรอื เป็นหลักการสงเคราะหซ์ ึ่งกนั และกนั

วั ด ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 38

วั ด ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 39
2. เปน็ ที่ศกึ ษาดงู าน จัดการอบรม ประชมุ สัมมนาในดา้ นสขุ ภาพจติ ชมุ ชนและดา้ นอนื่ ๆ ได้

วั ด ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 40

หมวด 4 : สขุ ภาพ รว่ มสรา้ ง

คณุ สมบัติ รายละเอียดกจิ กรรมทปี่ ระเมนิ

4. สขุ ภาพ รว่ มสร้าง 4.1 การดูแลสขุ ภาพบุคลากรในวดั
1. พระสงฆ์ สามเณรและบคุ ลากรในวัด มคี วามร๎ู
- กิจกรรม สํงเสรมิ สุขภาพบคุ ลากรในวัด ความเขา๎ ใจในสถานการณโ์ รคไมํติดตํอเร้อื รงั และ
โรคอุบตั ใิ หมํ เพ่ือดแู ลสงํ เสรมิ สุขภาพและ
ปูองกันโรคของตนเอง
2. พระสงฆ์ สามเณรมกี ารตรวจสขุ ภาพข้ันพื้นฐาน
3. พระสงฆ/์ พระคลิ านปุ ฏ๎ ฐาก (พระอาสาสมัคร
สงํ เสริมสขุ ภาพประจาวัด - อสว.) เป็นแกนนาใน
การดาเนินงานด๎านการสงํ เสริมสขุ ภาพและ
ปอู งกนั โรค เพอื่ ลดป๎จจัยเสยี่ งด๎านสุขภาพและ
การเจบ็ ปุวยทัว่ ไป

- เข๎ารับการอบรมเพอื่ เพิ่มองค์ความร๎ู ในเร่ืองการดูแลสุขภาพตนเอง การสงํ เสริมสุขภาพ และ
ปอู งกนั โรคเบอ้ื งตน๎ เชนํ ในเรอ่ื งของยาสมนุ ไพร อาการเบื้องตน๎ ของโรคตํางๆ การปรับเปลี่ยน

พฤติกรรมสุขภาพฯ
- มีการตรวจสุขภาพข้ันพ้นื ฐานโดยการวัดความดนั โลหิตเพือ่ คัดกรอง โรคความดันโลหติ สงู และ

ตรวจหาระดบั นา้ ตาลในเลอื ดเพ่อื คัดกรองโรคเบาหวาน นอกจากนีท้ างวัดไดม๎ ีการจดั ซอ้ื แผนการ

ตรวจสุขภาพให๎พระสงฆ์ทกุ รูปของวัดไดต๎ รวจสุขภาพประจาปเี พื่อจะไดร๎ ท๎ู ันโรคและหากพบวาํ
เปน็ โรคหรือเสี่ยงเปน็ โรคจะไดป๎ อู งกันและรกั ษาไดท๎ ันทํวงที

- กรณีทผ่ี ลตรวจเบ้อื งตน๎ ผิดปกติมีการสงํ ตรวจซ้าท่ี รพ.สต.พระธาตุขงิ แกง เพอ่ื ผลทแี่ นชํ ัดใน
เบอ้ื งตน๎ และสงํ ตอํ พบแพทยเ์ ปน็ ลาดบั ตอํ ไป เพอื่ การรกั ษาท่ถี ูกต๎อง

- เยี่ยมใหค๎ าแนะนาการสํงเสริมสขุ ภาพ การปูองกันโรค การรกั ษาพยาบาล และการฟื้นฟูสุขภาพใน

พระสงฆ์ทีอ่ าพาธตดิ เตยี งเพ่ือเสรมิ กาลังใจ และชํวยจดั หาเตียง พรอ๎ มท้ังมอบอาหารเสรมิ อปุ กรณ์
ทีเ่ หมาะสมใหก๎ บั พระที่เจ็บปวุ ยเพอื่ ชํวยฟน้ื ฟูสภาพราํ งกาย และดแู ลตลอดจนหาย

วั ด ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 41

วั ด ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 42

คณุ สมบัติ รายละเอยี ดกิจกรรมท่ปี ระเมิน

4. สขุ ภาพ รว่ มสรา้ ง 4.2 พฤตกิ รรมสุขภาพ
1. พระสงฆ์ สามเณร มคี วามรู๎ และมพี ฤติกรรม
- กิจกรรม สงํ เสรมิ สุขภาพบุคลากรในวดั การดูแลสุขภาพที่เหมาะสม เชํน การบรโิ ภค

อาหารท่ีถกู ต๎องตามหลักโภชนาการ การดูแล
อนามยั ชอํ งปากตนเอง เป็นต๎น
2. ไดร๎ ับการตรวจสขุ ภาพฟน๎ อยํางนอ๎ ยปีละ 1 ครัง้
และรบั บรกิ ารตามความเหมาะสม
3. พระสงฆ์ สามเณร มีกิจกรรมทางกายและ
กิจกรรมบริหารกายทเ่ี หมาะสม เชนํ การเดิน
บิณฑบาต เดนิ จงกรม กวาดลานวดั ทาความ

สะอาดวดั ซอํ มแซมวดั หรือมีการบริหารราํ งกาย
อยํางเพยี งพอเหมาะสมดว๎ ยอาการสารวมใน
สถานท่อี ันควร
4. วดั มกี ารสนับสนนุ การจัดกจิ กรรมการสร๎างเสริม
สุขภาพ เชนํ การจดั เมนูชูสขุ ภาพ มีมมุ ให๎ความรู๎
สือ่ ประชาสัมพันธ์
5. พระสงฆม์ พี ฤตกิ รรมสขุ ภาพท่ีพึงประสงค์ ทง้ั 7
ด๎าน และเฝูาระวังพระสงฆ์กลุมํ เสี่ยง ได๎รบั
การปรับเปลย่ี นพฤติกรรมสขุ ภาพ พัฒนาทักษะ
กาย ใจ

- พระสงฆ์ สามเณร ในวัดมคี วามรู๎ในเรอื่ งหลกั โภชนาการ คือ มีความรู๎ในเร่อื งการบรโิ ภคอาหาร
เพ่อื ใหไ๎ ดป๎ รมิ าณและคณุ ภาพคณุ คําอาหารอยาํ งพอเพยี งโดยทส่ี ารอาหารตาํ ง ๆ และพลงั งานที่
ได๎รับควรจะสมดลุ กนั ไมํมากหรอื น๎อยจนเกนิ ไป เพอื่ ทร่ี ํางกายมีภาวะโภชนาการที่ดี ไมเํ ป็นโรค
ขาดสารอาหารหรอื เป็นโรครบั สารอาหารเกิน และมีกิจกรรมสํงเสริมดา๎ นโภชนาการ โดยการ
บริโภคอาหารของพระสงฆจ์ ะเนน๎ ในเรือ่ งการลดหวาน มนั เค็ม ไมปํ รงุ รสอาหารเพมิ่ และเนน๎ การ
รับประทานผักและผลไมต๎ ามหลกั โภชนาการ และมกี ิจกรรมการดแู ลอนามัยชอํ งปากตนเอง

-

วั ด ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 43
- มเี จา๎ หนา๎ ที่ทันตกรรมจาก รพ.สต.พระธาตขุ งิ แกง มาอบรมให๎ความรเ๎ู รื่อง ทันตสขุ ภาพ เพื่อให๎

พระสงฆด์ แู ลสุขภาพชํองปากตนเองได๎อยํางถูกต๎องและเหมาะสม
- พระสงฆ์สามารถดแู ลสขุ ภาพชํองปากตนเองในตอนเช๎า และกํอนนอนทกุ วนั
- สนบั สนุนการจัดกจิ กรรมการสร๎างเสริมสขุ ภาพให๎กบั พระสงฆภ์ ายในวดั โดยมีการสนบั สนุน

แปรงสีฟน๎ ยาสฟี ๎น และมีการจัดมมุ ความร๎ู ด๎านทันตกรรมภายในวัด
- มีการตรวจสุขภาพชอํ งปากใหก๎ ับพระสงฆ์อยํางนอ๎ ยปลี ะ 1 คร้งั และให๎บรกิ ารตามความเหมาะสม
- มีการจัดกจิ กรรมใหค๎ วามร๎ูกับประชาชนในชุมชน และใหค๎ วามรู๎กบั เดก็ นกั เรยี นในโรงเรียน

-
-

วั ด ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 44

- มีการออกกาลังกายโดยการทากจิ กรรมตํางๆภายในวัดอยาํ งสมา่ เสมอ เชํน การออกบณิ ฑบาตโดย
การเดนิ การทาความสะอาดบริเวณวัด การเดินจงกรม ซ่งึ นอกจากเป็นการฝึกกรรมฐานแลว๎ ยงั
เป็นการออกกาลังกายภายในตวั ไปดว๎ ย เพราะการออกกาลังกายเป็นสง่ิ จาเป็นตํอสุขภาพ
เนอื่ งจาก
1. ชวํ ยใหร๎ ะบบไหลเวียนของเลือดดีขน้ึ โดยทาใหเ๎ ลือดไปเลีย้ งสํวนตํางๆได๎มากขนึ้
ปูองกัน โรคหวั ใจ โรคความดนั โลหติ สูง มภี มู ิตา๎ นทานโรคดขี ้นึ และปูองกนั โรคตาํ งๆ เชนํ
โรคเบาหวาน โรคอว๎ น โรคขอ๎ เส่ือม
2. ชํวยในการควบคุมน้าหนกั ตัว ทาให๎ทรงตัวดขี ้ึน และทาให๎เคล่อื นไหวคลอํ งแคลํวข้นึ
3. ชํวยให๎ระบบขับถํายทางานไดด๎ ขี ึ้น
4. ชํวยลดความเครยี ด และทาใหก๎ ารนอนหลับพักผํอนดขี ้ึน
เพราะฉะน้ันไมํวาํ จะเปน็ พระสงฆ์หรอื ชาวบ๎านกม็ คี วามจาเป็นท่จี ะตอ๎ งออกกาลงั กายเพือ่ สุขภาพ
ราํ งกายของตนเอง

- เทศน์สงั่ สอนเก่ยี วกบั การออกกาลงั กายใหแ๎ กํชาวบ๎าน
- การออกเดนิ บณิ ฑบาตและการเดินจงกรมเพ่อื สํงเสริมการปฏบิ ตั ธิ รรมและสํงเสริมกจิ กรรมการ

ออกกาลังกายในวดั อยาํ งตอํ เน่ืองสมา่ เสมอ

วั ด ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 45
- วัดมีการสนับสนุนการจัดกจิ กรรมการสรา๎ งเสรมิ สุขภาพ เชํน การจัดเมนูชสู ุขภาพ มมี มุ ให๎ความร๎ู

สือ่ ประชาสัมพันธ์

- พระสงฆม์ พี ฤติกรรมสุขภาพท่ีพึงประสงค์ ท้งั 7 ด๎าน และเฝาู ระวังพระสงฆก์ ลํมุ เสยี่ ง ได๎รับ
การปรบั เปล่ยี นพฤติกรรมสุขภาพ พฒั นาทักษะ กาย ใจ

วั ด ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 46

คณุ สมบตั ิ รายละเอยี ดกจิ กรรมท่ปี ระเมนิ

4. สุขภาพ รว่ มสร้าง 4.3 ระบบดแู ลตอ่ เนอ่ื งและส่งตอ่ เม่อื เจ็บป่วย
1. มีมมุ หรือหอ๎ งพยาบาล มตี ู๎ยาสามัญประจาบ๎าน
- กจิ กรรม สํงเสริมสุขภาพบุคลากรในวดั หรอื สมุนไพร
2. มีระบบการดูแลปฐมพยาบาล โดยพระสงฆด์ แู ล
กันเอง และมรี ะบบการดแู ลพระภกิ ษสุ งฆ์ที่ตดิ
เตยี งหรอื อาพาธ
3. มกี ารดแู ลตํอเน่อื งและประสานการสํงตํอ เม่ือ
เจ็บปวุ ยต๎องรกั ษาในสถานพยาบาล/
โรงพยาบาลสงํ เสรมิ สุขภาพตาบล (รพ.สต.)

- มกี ารจดั มมุ หอ๎ งปฐมพยาบาลเบ้อื งต๎น มีต๎ูยาสามัญประจาบ๎านและยาสมุนไพร ในบริเวณวัดจะมี

สมนุ ไพรขน้ึ อยโูํ ดยรอบและจะมีหมอชาวบ๎านเข๎ามาศกึ ษาและเก็บสมนุ ไพรเหลํานี้ไปทายา
ตวั อยาํ งเชํน ตน๎ ยาํ นาง, ต๎นกระเพรา, ตน๎ มะแวง๎ , ตาลงึ , ฟาู ทะลายโจร เปน็ ตน๎
- มีการประสานสํงตํอ เมอื่ มพี ระสงฆ์ สามเณร เจ็บปวุ ยโดยเบื้องต๎นได๎รบั การดูแลจากพระท่ีผํานการ

อบรมและมีการสงํ ตํอประสานไปยงั รพ.สต.พระธาตขุ งิ แกง เม่ือเกินขีดความสามารถทจี่ ะดูแลและ
เมื่อมกี ารเจบ็ ปวุ ยฉุกเฉนิ ก็จะมีการเรยี กรถฉกุ เฉิน 1669 มารับพระสงฆ์ สามเณรทป่ี ุวย

- มกี ารดแู ลสุขภาพของพระสงฆ์ โดยพระสงฆ์ดแู ลกันเอง โดยการตรวจวัดความดนั โลหิต
- มกี ารดแู ลพระภิกษุสงฆ์ที่ตดิ เตียงโดยการมอบของใชท๎ จ่ี าเป็นตาํ งๆที่ต๎องใช๎ในชีวิตประจาวัน และ

ลงเยี่ยมให๎กาลังใจพระสงฆท์ ีอ่ าพาธตอ๎ งนอนโรงพยาบาล

วั ด ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ วั ด พ ร ะ ธ า ตุ ขิ ง แ ก ง อ . จุ น จ . พ ะ เ ย า | 47


Click to View FlipBook Version