การเพาะเลี้ยง ปลาดุก Department of Fisheries, Ministry of Agriculture and Cooperatives กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ Faculty of Fisheries, Kasetsart University คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
คณะผู้จัดท ำ นายนิวัติ สุธีมีชัยกุล อดีตอธิบดีกรมประมง ประธำนคณะผู้จัดท ำ นายบัญชา สุขแก้ว อธิบดีกรมประมง ที่ปรึกษำ ผศ.ดร. สุริยัน ธัญกิจจานุกิจ คณบดีคณะประมง มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์ที่ปรึกษำ นายวิศณุพร รัตนตรัยวงศ์ ผู้อ ำนวยกำรกองวิจัยและพัฒนำกำรเพำะเลี้ยงสัตว์น ้ำจืด ผู้ร่วมจัดท ำ นายณัฐพงค์วรรณพัฒน์ ประมงจังหวัดชลบุรี ผู้ร่วมจัดท ำ นางสาวศรีจรรยา สุขมโนมนต์ นักวิชำกำรประมงช ำนำญกำรพิเศษ ผู้ร่วมจัดท ำ รศ.ดร. ประพันธศ์ ักดิ์ศีรษะภูมิ อำจำรย์คณะประมง มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์ ผู้ร่วมจัดท ำ นางเกวลิน หนูฤทธิ์ เศรษฐกรช ำนำญกำรพิเศษ ผู้ร่วมจัดท ำ นางสาวสุกัญญา พิมมาดี เศรษฐกรปฏิบัติกำร ผู้ร่วมจัดท ำ นางสาวโชติกานต์ มีจินดา เศรษฐกร (พนักงำนรำชกำร) ผู้ร่วมจัดท ำ ดร. จุฑารัตน์ กิตติวานิช นักวิชำกำรประมงช ำนำญกำรพิเศษ บรรณำธิกำร นางสาวกนกวรรณ รัตนวรรณ ศิษย์เก่ำคณะประมง มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์ ผู้ออกแบบปกและรูปเล่ม
ค ำน ำ ปลำดุกถือว่ำเป็นปลำที่เป็นต ำนำนกำรเพำะเลี้ยงปลำน ้ำจืดของไทย เมนูอำหำรไทยส่วนใหญ่ ก็จะใช้ปลำดุกเป็นส่วนประกอบที่ส ำคัญ เช่น ปลำดุกย่ำงเพื่อประกอบกำรท ำน ้ำพริกต่ำง ๆ ปลำดุกเป็น ปลำที่ทนต่อสภำพแวดล้อมต่ำง ๆ ได้ดีเพรำะมีเหงือกพิเศษทนต่อคุณภำพน ้ำที่ไม่ดีในสมัยก่อน กำรเพำะเลี้ยงปลำดุกต้องขอบคุณนักวิชำกำรประมงรุ่นเก่ำ เพรำะท่ำนมีโอกำสได้ไปเรียนในประเทศ สหรัฐอเมริกำ และน ำวิธีกำรผสมเทียมโดยใช้ต่อมใต้สมองปลำจีนมำเป็นฮอร์โมนในกำรกระตุ้น จำกนั้นใช้ไรแดงและไข่แดงในกำรอนุบำล อย่ำงไรก็ตำม สถำนีประมงน ้ำจืดมีกำรใช้เครื่องให้อำกำศ แบบเครื่องอัดอำกำศ ท ำให้ปริมำณอำกำศอำจไม่เพียงพอ และกำรอนุบำลแบบควำมหนำแน่นสูง ก็ยังไม่มีแต่วิวัฒนำกำรจำกกำรอนุบำลลูกกุ้งก้ำมกรำม ท ำให้เรำรู้จักเครื่องให้อำกำศแบบ Root blower ซึ่งมีปริมำณแก๊สออกซิเจนมำก และกำรใช้ตะแกรงคัดขนำดโคพีพอด (Copepod) และ ไข่แดงเป็นอำหำรในกำรอนุบำล ท ำให้อัตรำรอดตำยของลูกปลำมีจ ำนวนมำกขึ้น และเพี ยงพอ ต่อควำมต้องกำรของบ่อเลี้ยง แต่อย่ำงไรก็ตำม ระยะเวลำกำรเลี้ยงขึ้นอยู่กับสำยพันธุ์โดยปลำดุกอุย เจริญเติบโตช้ำใช้เวลำในกำรเลี้ยง 6 – 7 เดือน และในสมัยแรกเริ่มของกำรเลี้ยงใช้ปลำจำก เรือประมงโดยตรงให้เป็นอำหำร คุณภำพไม่ค่อยดีนัก เมื่อเลี้ยงไปนำน ๆ ก็จะมีปัญหำเรื่องโรค ซึ่งรุนแรงมำกในปี 2528 แต่ก็ต้องขอบคุณนักเพำะพันธุ์ปลำที่ได้เริ่มมีกำรผสมข้ำมสำยพันธุ์กับ ปลำดุกรัสเซีย ซึ่งมีขนำดใหญ่และเจริญเติบโตได้ดีมำก ในช่วงที่เกิดบ่อเพำะพันธุ์หลังบ้ำน (Backyard hatchery) ในเขตบำงปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรำ ท ำให้มีกำรพัฒนำกำรอนุบำลลูกปลำในเขตจังหวัด สุพรรณบุรี จังหวัดนครปฐม และจังหวัดปรำจีนบุรีเกิดแหล่งผลิตลูกพันธุ์ปลำดุกเพิ่มมำกขึ้น ในระยะเปลี่ยนถ่ำยมีกำรเริ่มใช้ฮอร์โมนสังเครำะห์(Synthetic hormone) แทนกำรใช้ต่อมใต้สมอง ปลำจีน ซึ่งสำมำรถก ำหนดปริมำณของสำรที่จะฉีดได้แน่นอนกำรเลี้ยงแบบเดิมที่ใช้ปลำเป็ด (trash fish) เป็นอำหำรมีข้อจ ำกัดเนื่องจำกพื้นที่เลี้ยงต้องอยู่ใกล้ท่ำเรือประมงท ำให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลง มำใช้ซำกไก่จำกโรงเชือด น ำมำบดกับร ำข้ำวให้เป็นอำหำร และค่อยมำกระตุ้นให้ปลำมีขนำดใหญ่ ก่อนจับโดยใช้อำหำรเม็ดอีกประมำณ 1 เดือน แต่อย่ำงไรก็ตำมกำรใช้อำหำรสดท ำให้เกิดน ้ำเสีย เกษตรกรเริ่มใช้จุลินทรีย์เพื่อลดแก๊สไข่เน่ำบริเวณพื้นบ่อ โดยกำรสังเกตพบว่ำมีแก๊สลอยขึ้นมำ จะใช้จุลินทรีย์กลุ่มบำซิลลัสที่มีปริมำณไม่น้อยกว่ำ 109 cfu/g เพื่อให้ผลิตเอนไซม์อะไมเลส โปรติเอส เซลลูเลส และไลเปส ช่วยย่อยเศษอำหำรท ำให้โอกำสเกิดโรคลดลง ปัญหำแก๊สแอมโมเนียและ ไนไตรท์ลดลง นอกจำกนี้อำจจะใช้กลุ่มปูน (CaCO3 ) ช่วยท ำให้น ้ำในบ่อเลี้ยงมีคุณภำพดีและควำมนิยม เนื้อปลำที่เลี้ยงท ำได้โดยเทคนิคกำรปรุงอำหำร ซึ่งโอกำสด้ำนกำรตลำดของปลำดุกก็คงจะ เจริญเติบโตตำมเศรษฐกิจของประเทศต่อไป ต ำรำกำรเพำะเลี้ยงปลำดุกฉบับนี้คงจะเป็นประโยชน์ต่อผู้สนใจ และนิสิตนักศึกษำ โดยเฉพำะ กำรจัดท ำเป็น E-book เพื่อให้สะดวกในกำรค้นคว้ำมำกยิ่งขึ้น ขอขอบคุณอำจำรย์จำกคณะประมง และเจ้ำหน้ำที่กรมประมงทุกท่ำนที่ช่วยจัดท ำต ำรำเล่มนี้ นิวัติ สุธีมีชัยกุล ประธำนคณะผู้จัดท ำ
CONTENTS T A B L E O F 31 1 ชี ว วิ ท ย า 74 ก า ร เ พ า ะ พัน ธ ุ์แ ล ะ ก า ร เ ล้ี ย ง ส ถ า น ก า ร ณ์ สิ น ค้ า ป ล า ดุ ก แ ล ะ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ U n i t 1 U n i t 2 U n i t 3
สารบัญ TABLE OF CONTENTS ค าน า สารบัญ บทที่1 ชีววิทยา ตอนที่1 ความเป็นมา เรื่องที่1 ประวัติการเพาะเลี้ยงปลาดุกในประเทศไทย เรื่องที่2 ลักษณะทั่วไป เรื่องที่3 ลักษณะทางชีววิทยา เรื่องที่4 ลักษณะของสายพันธุ์ ตอนที่2 การพัฒนาสายพั นธุ์ปลาดุก เรื่องที่1 การปรับปรุงพันธุ์ปลาดุก เรื่องที่2 การควบคุมเพศ เรื่องที่3 การผสมข้าม เรื่องที่4 ไจโนเจเนซีส (gynogenesis) เอกสารอ้างอิง บทที่2 การเพาะพันธุ์และการเลี้ยง ตอนที่1 การเพาะพันธุ์ เรื่องที่1 การเลี้ยงและการคัดเลือกพ่อแม่พันธุ์ เรื่องที่2 การผสมพันธุ์วางไข่และการวางไข่ ตอนที่2 การอนุบาล เรื่องที่1 การพัฒนาระยะต่าง ๆ เรื่องที่2 การเตรียมอาหารและการให้อาหารในแต่ละช่วงวัย เรื่องที่3 การอนุบาลในบ่อซีเมนต์/การอนุบาลในบ่อดิน ตอนที่3 การเลี้ยง เรื่องที่1 การคัดเลือกลูกพันธุ์ เรื่องที่2 การล าเลียงและการขนส่งลูกพันธุ์ เรื่องที่3 รูปแบบการเลี้ยง ตอนที่4 อาหารและการให้อาหาร ตอนที่5 โรคและการควบคุม เรื่องที่1 โรคที่มีสาเหตุมาจากปรสิตภายนอก เรื่องที่2 โรคที่มีสาเหตุมาจากแบคทีเรีย เรื่องที่3 โรคที่ไม่ได้มีสาเหตุมาจากการติดเชื้อ เอกสารอ้างอิง บทที่3 สถานการณ์สินค้าปลาดุกและผลิตภัณฑ์ หน้า 1 3 4 5 9 1 1 1 5 1 6 20 2 1 24 26 3 1 33 34 35 39 40 40 4 1 42 43 43 44 45 47 49 56 67 72 74
สารบัญภาพ ภาพที่1 ปลาดุกอุย (Clarias macrocephalus) ภาพที่2 ปลาดุกด้าน (Clarias batrachus) ภาพที่3 ลักษณะกระโหลกท้ายทอยปลาดุกอุยและปลาดุกด้าน ภาพที่4 ปลาดุกยักษ์ (Clarias gariepinus) ภาพที่5 การฉีดฮอร์โมนแม่ปลาดุกอุย ภาพที่6 การรีดไข่แม่ปลาดุกอุย ภาพที่7 การผ่าถุงน ้าเชื้อพ่อปลาดุกเทศ ภาพที่8 การผสมไข่กับน ้าเชื้อ ภาพที่9 การโรยไข่บนผ้ามุ้งเขียวส าหรับฟักไข่ ภาพที่10 ปรสิตภายนอกในกลุ่มโปรโตซัวชนิด Trichodina (เห็บระฆัง) (A), Ichthyophthirius multifilis (B) Epistylis (C) ที่เป็นสาเหตุหลัก ของการเกิดโรคที่เกิดจากปรสิตภายนอกในปลาดุก ภาพที่11 อาการของปลาดุกวัยอ่อนที่ติดเชื้อปรสิตภายนอก โปรโตซัวชนิด Trichodina (เห็บระฆัง) ที่เป็นสาเหตุหลักของการเกิดโรคที่เกิดจาก ปรสิตภายนอกในปลาดุกวัยอ่อน ภาพที่12 อาการของปลาดุกวัยอ่อนที่ติดเชื้อโปรโตซัวชนิด Ichthyophthirius multifilis ที่เรียกว่า“โรคจุดขาว หรือ อิ๊ค (Ich)” ในปลาดุกวัยอ่อน ภาพที่13 ปลิงใสในสกุล Gyrodactylus (A) และ Dactylogyrus (B) ที่เป็นสาเหตุหลัก ของการเกิดโรคที่เกิดจากปรสิตภายนอกในปลาดุก ภาพที่14 ลักษณะอาการภายนอกของปลาดุกที่เป็นโรคที่มีสาเหตุมาจากปรสิตภายนอก กลุ่มปลิงใส ภาพที่15 ลักษณะสัณฐานของเซลล์แบคทีเรียในสกุล Aeromonas ที่เป็นสาเหตุ ของการเกิดโรคท้องบวมน ้าหรือตกเลือดตามล าตัวในปลาดุก ภาพที่16 ลักษณะอาการภายนอกของปลาดุกที่เป็นโรคท้องบวมน ้าและตกเลือด ตามที่เกิดจากเชื้อในสกุล Aeromonas ภาพที่17 ลักษณะอาการภายนอก (บน) และภายใน (ล่าง) ของปลาดุก ที่เป็นโรคท้องบวมน ้าและตกเลือดตามที่เกิดจากเชื้อ Aeromonas hydrophila ภาพที่18 รูปแบบของการให้เกลือเพื่อการป้องกันโรคในปลาดุกในบ่อดิน ภาพที่19 ลักษณะสัณฐานของเซลล์แบคทีเรีย Flavobacterium columnare ที่เป็นสาเหตุของการเกิดโรคตัวด่างในปลาดุก ภาพที่20 ลักษณะภายนอกของปลาที่เกิดโรคตัวด่างที่รุนแรงในปลาดุก ภาพที่21 รูปแบบของการให้เกลือเพื่อการป้องกันโรคในการเลี้ยงหรืออนุบาลปลาดุก ในบ่อดินขนาดเล็ก หรือการเลี้ยงปลาดุกในกระชัง หน้า 7 7 8 8 36 37 37 38 38 49 50 5 1 53 54 57 58 58 6 1 62 63 65
สารบัญภาพ ภาพที่22 การเกิดอาการคดงอในลูกปลาดุกอันเป็นผลมาจากการขาดวิตามิน ซี ในอาหาร (ตัวบน) เทียบกับปลาปกติ (ตัวล่าง) ภาพที่23 การเกิดโรคกะโหลกร้าวหรือคอพับในปลาดุกอันเป็นผลมาจาก การขาดวิตามิน ซี ในอาหาร ภาพที่24 การเกิดอาการหัวเป็นรูในปลาดุกอันเป็นผลมาจากการขาดวิตามิน ซี ในอาหาร ภาพที่25 ลักษณะอาการภายนอกของปลาดุกที่เป็นโรคดีซ่าน ภาพที่26 ลักษณะอาการภายในของปลาดุกที่เป็นโรคดีซ่าน ภาพที่27 ปริมาณผลผลิต และมูลค่าผลผลิตปลาดุกจากการเพาะเลี้ยงปี2561 – 2565 ภาพที่28 เนื้อที่เลี้ยง และผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ปลาดุกจากการเพาะเลี้ยงปี2561 – 2565 ภาพที่29 ราคาปลาดุกที่เกษตรกรขายได้หน้าฟาร์ม ปี2561 – 2565 ภาพที่30 การน าเข้าปลาดุกและผลิตภัณฑ์ ปี 2561 – 2565 ภาพที่31 สัดส่วนมูลค่าการน าเข้าปลาดุกและผลิตภัณฑ์ ปี 2561 – 2565 ภาพที่32 การส่งออกปลาดุกและผลิตภัณฑ์ ปี 2561 – 2565 ภาพที่33 สัดส่วนมูลค่าการส่งออกปลาดุกและผลิตภัณฑ์ ปี 2561 – 2565 หน้า 68 68 69 70 7 1 77 77 78 80 80 82 82
สารบัญตาราง ตารางที่1 ผลผลิต มูลค่า เนื้อที่เลี้ยง และผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ปลาดุก จากการเพาะเลี้ยง ปี2561 – 2565 ตารางที่2 ราคาปลาดุกที่เกษตรกรขายได้หน้าฟาร์ม ปี2561 – 2565 ตารางที่3 ปริมาณและมูลค่าการน าเข้าปลาดุกและผลิตภัณฑ์ ปี 2561 – 2565 ตารางที่4 ปริมาณและมูลค่าการส่งออกปลาดุกและผลิตภัณฑ์ ปี 2561 – 2565 หน้า 76 78 79 81
01 UNIT ชีววิทยา - 1 -
ผู้เขียน นายวิศณุพร รัตนตรัยวงศ์ วุฒิ ปร.ด. (เพาะเลี้ยงสัตว์น ้า) ต ำแหน่ง ผู้อ านวยการกองวิจัยและพัฒนา การเพาะเลี้ยงสัตว์น ้าจืด หน่วยที่เขียน บทที่ 1 ตอนที่ 1-2 - 2 - นางสาวศรีจรรยา สุขมโนมนต์ วุฒิ ปร.ด. (เพาะเลี้ยงสัตว์น ้า) ต ำแหน่ง หัวหน้ากลุ่มวิจัยและพัฒนา การปรับปรุงพันธุ์ กองวิจัยและพัฒนาพันธุกรรมสัตว์น ้า หน่วยที่เขียน บทที่1 ตอนที่1-2
ตอนท ี ่ 1 ความเป็นมา - 3 -
เร ื่องท ี่1 ประวัติกำรเพำะเล ี้ยงปลำด ุ กในประเทศไทย บทที่1 ชีววิทยา - 4 - ตอนที่1 ความเป็นมา ปลำดุก มีถิ่นอาศัยแพร่กระจาย ทั่วไปในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เอเชีย ใต้ แล ะทวีปแอฟริกา (Teugels, 1996) ในประเทศไทยพบปลาดุกอาศัยอยู่ ทั่วไปตามแม่น ้า ล าคลอง หนองบึง (Mongkolprasit et al., 1997) ปลาดุก จัดเป็นปลากลุ่มที่ใหญ่ที่สุดในวงศ์Clariidae ประกอบด้วยปลากว่า 45 ชนิด ในประเทศไทย พบ 2 สกุลคือ Clarias (ปลาดุกอุย ปลาดุกด้าน ปลาดัก) และ Prophagorus (ปลาดุกล าพั น) ชื่อสกุล Clarias ค านี้มา จากภาษากรีกค าว่า chlaros ซึ่งหมายถึง “มีชีวิต” มีความหมายว่าปลาในสกุลนี้ สามารถใช้ชีวิตอยู่ได้ทั้งในน ้าและในสภาพ ขาดน ้า (Froese and Pauly, 2011) เนื่องจากมีอวัยวะช่วยในการหายใจที่ เ รียกว่ า dendrite ห รือ arborescent organ ซึ่งเป็นส่วนของเหงือกปลาที่มีการ ดัดแปลงจนหนาขึ้นเป็นถุงและท่อเส้นใหญ่ แตกกิ่งก้านสาขามากมาย ยื่นออกมาทาง ส่วนบนของเส้นเหงือก คอยท าหน้าที่ แลกเปลี่ยนก๊าซในอากาศโดยตรง จึงท าให้ สามารถอยู่ในสภาพขาดน ้าหรืออยู่ในน ้าที่ ขาดออกซิเจนได้ ปลาดุกชนิดที่เป็นปลาพื้นเมืองที่ นิยมเพา ะเลี้ยงและมีความส าคัญทาง เศรษฐกิจของประเทศไทย ได้แก่ ปลาดุกอุย และปลาดุกด้าน ซึ่งปลาดุกด้านเป็นปลาที่ เกษตรกรนิยมเลี้ยงกันมากในอดีต ทั้งนี้เพราะปลาดุกด้านโตเร็วและต้านทาน โรคได้ดีนอกจากนี้เกษตรกรยังสามารถ เพาะพั นธุ์โดยวิธีเลียนแบบธรรมชาติได้ โดยมีการเพาะพันธุ์กันมากในแถบจังหวัด สมุทรปราการ (อุทัยรัตน์, 2544) อย่างไร ก็ตาม การเพาะเลี้ยงปลาดุกด้านเริ่มลดลง นับตั้งแต่พ.ศ. 2529 เป็นต้นมา สาเหตุ สืบเนื่องมาจากความนิยมในการเลี้ยง ปลาดุกอุยและปลาดุกบิ๊กอุยเพิ่มมากขึ้น และ แหล่งเพาะพันธุ์ปลาดุกด้านมีจ านวนลดลง จน ณ ปัจจุบันการเลี้ยงปลาดุกด้านเชิง พาณิชย์หมดไปโดยสิ้นเชิง ส่วนปลาดุกด้าน ใน ธ ร รม ช าติ อยู่ ในสถ าน ะถูกคุกค าม (threatened) แ ล ะ จั ด ใ ห้ อ ยู่ ใ น ก ลุ่ ม มี แนวโน้มใกล้สูญพั นธุ์ (vulnerable) (ส านักนโยบายและแผนสิ่งแวดล้อม, 2540) เนื่องจากแหล่งที่อยู่อาศัยลดลง หรือเสื่อมโทรมและการถูกคุกคามหรือมีการ ปนเป้ือนทางพันธุกรรมจากปลาดุกต่างถิ่น และปลาดุกลูกผสม ส่วนปลาดุกที่น าเข้ามา จากต่างประเทศที่นิยมเพา ะเลี้ยงคือ ปลาดุกยักษ์ ปลาดุกยักษ์เป็นปลาขนาดใหญ่ มีถิ่นก าเนิดเดิมในแถบลุ่มแม่น ้าอะเมซอน ในทวีปอเมริกาใต้ รัฐบาลประเทศรัสเซียได้ท า การวิจัยพบว่าเป็นปลาน ้าจืดที่โตเร็วในทุก สภาวะดินฟ้าอากาศและขยายพันธุ์ได้ง่าย มีความต้านทานต่อ โรคสูง แล ะ ได้น า ปลาดุกยักษ์ไปเผยแพร่ในประเทศลาว
บทที่1 ชีววิทยา - 5 - ตอนที่1 ความเป็นมา ซึ่งต่อมามีการซื้อขายปลาระหว่างไทยกับ ลาวในพื้นที่แถบริมฝ่ังแม่น ้าโขง ปัจจุบัน พบว่า ปลาดุกยักษ์ได้แพร่กระจายไปทั่ว ทุกภาคของประเทศไทย (ศูนย์วิจัยและพัฒนา ประมงน ้าจืดอุดรธานี, 2531) เป็นปลาที่มี การเจริญเติบโตรวดเร็วมาก สามารถกิน อาหา ร ได้แทบทุกชนิด แต่เนื่องจาก คุณภาพเนื้อไม่เป็นที่ยอมรับของคนไทย เร ื่องท ี่2 ลักษณะทั่วไป ปลำดุก (Walking catfish) เป็นปลาในกลุ่มปลาไม่มีเกล็ด (catfish) มีล าดับตามอนุกรมวิธานดังต่อไปนี้ Kingdom: Animalia Phylum: Chordata Class: Actinopterygii Order: Siluriformes Family: Clariidae จึงมีการน าปลาดุกยักษ์มาผสมข้ามสายพันธุ์ กับปลาดุกอุย (สุจินต์ และคณะ, 2533) ได้ปลาดุกลูกผสมที่มีอัตราการเจริญเติบโตดี และทนทานต่อโรคเช่นเดียวกับปลาดุกยักษ์ เนื้อมีลักษณะและรสชาติดีเหมือนปลาดุกอุย ซึ่งปลาดุกลูกผสมนี้เรียกกันในภายหลังว่า “ปลาดุกบิ๊กอุย” เป็นปลาดุกที่เกษตรกร นิยมเลี้ยงในปัจจุบัน ปลำดุกในสกุล Clarias มีลักษณะ ทั่วไปคือเป็นปลาไม่มีเกล็ด (catfishes) มี รูปร่างล าตัวยาว ส่วนหัวแบนลงมากและ แข็ง มีแผ่นกระดูกบาง ๆ ต่อกันเป็นชิ้น ๆ ปกคลุมทั้งด้านบนและด้านล่าง ภายใน กะโหลกศรีษะมีอวัยวะช่วยหายใจ ส่วนของ กะโหลกหางด้านบน (cranial roof) ประกอบด้วยกระดูก 2 ชิ้น ซึ่งแต่ละชิ้นมี รอยบุ๋มลงไป ปากเฉียงลงอยู่ทางปลายสุด ของหัว มีหนวด 4 คู่ รูจมูกคู่หน้าอยู่หลัง ริมฝีปากบนมีลักษณะเป็นท่อสั้น ๆ ส่วนคู่ หลังอยู่ห ลังแ ละติดกับหนวดที่จมูก ลักษณะไม่เป็นท่อเหมือนคู่แรกแต่กว้างกว่า ตาเล็ก ฐานครีบหลังยาวเกือบตลอดส่วน หลังอาจติดหรือไม่ติดกับครีบหาง โดยปลาดุก ในสกุล Clarias จะมีครีบหลังไม่ติดกับ ค รีบ ห า ง ค รีบ ห ลั ง ไ ม่ มีก้ า นค รีบ แ ข็ ง จ านวนก้านครีบอยู่ระหว่าง 48-78 อัน ฐานครีบก้นยาวมากกว่าครึ่งหนึ่งของฐาน ครีบหลัง มีจ านวนก้านครีบระหว่าง 41-61 อัน ครีบอก มีก้านครีบแข็งใหญ่ 1 อัน เรียกว่า pectoral spine ลักษณะส าคัญคือ อาจจะ หยักเฉพาะด้านหน้าด้านเดียวหรือทั้งสองด้าน ลักษณะปลายกะโหลกท้ายทอย (occipital process) อาจจะแหลมหรือป้าน
บทที่1 ชีววิทยา - 6 - ตอนที่1 ความเป็นมา ความยาวของกระดูกท้ายทอยจะเป็นกี่เท่า ของฐานขึ้นอยู่กับชนิด จุดเริ่มต้นของครีบหลัง อาจจะอยู่ใกล้หรือห่างจากกระดูกท้ายทอย ก็ขึ้นอยู่กับชนิดเช่นเดียวกัน ฟนัมีลักษณะ เป็นซี่เล็ก ๆ (villiform teeth) รวมกัน อยู่เป็นแถบ หนังปิดช่องเหงือกไม่ติดกับ ส่วนของซอกคอ (isthmus) กระดูกซี่ใน โค้งเหงือก (gill racker) มีจ านวน 13-30 อัน ซี่กระดูกกระพุ้งแก้ม (branchiostegal ray) 7-9 อัน ล าตัวมีสีเทาปนด า อาจมีจุด หรือไม่มี (โสภา, 2513) 2.1 ปลำดุกอุย ปลำดุกอุย มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Clarias macrocephalus Gunther (1864) มีลักษณะเด่นคือ ปลายกะโหลกท้ายทอยมี ลั กษณ ะ โค้ งมน ค ว ามก ว้ าง ของฐ าน ประมาณ 3-5 เท่าของความยาว ฐานครีบหลัง ครีบหางและครีบก้นไม่ติดกัน ระยะจาก ปลายกระดูกท้ายทอยถึงจุดเริ่มต้นของ ครีบหลังมีอัตราส่วนประมาณ 1 ใน 5-7 ของความยาวจากปลายสุดของจะงอย ปากถึงปลายกระดูกท้ายทอย ครีบหลังมี ก้านครีบ 68-72 อัน ครีบก้น 47-52 อัน มี จ านวนกระดูกซี่เหงือก (gill racker) ประมาณ 32 ซี่ลักษณะสีของล าตัวมีสีเทาปนด าและ สีเหลือง (โสภา, 2513) (ภาพที่1 และ ภาพที่3) 2.2 ปลำดุกด้ำน ปลำดุกด้ำน Clarias batrachus Linnaeus (1758) มีลักษณะคล้ายปลาดุกอุย แต่ปลายกะโหลกท้ายทอยมีลักษณะแหลม มีรูปร่างยาว ความลึกของล าตัวประมาณ 1 ใน 6-7.5 และหัวยาวประมาณ 1 ใน 3.5-3.67 ของความยาวมาตรฐาน กระดูกท้ายทอย ค่อนข้างแหลม ความกว้างของฐานประมาณ 2 เท่าของความยาว frontal fontanel ใหญ่กว่า occipital fontanel ประมาณ 2 เท่า ลักษณะกระดูกหัวขรุขระ ตาเล็กประมาณ 1 ใน 9-14 ของหัว ช่องว่างระหว่างตาใหญ่ กว่าช่องปากแต่เล็กกว่าหัว 2 เท่า หนวดที่ ขากรรไกรบนยาวถึงก้านครีบหลังอันที่ 7 หรือ 8 หนวดที่จมูกยาวถึง 1 ใน 3 ของ ก้านครีบแข็งของครีบอก และหนวดที่คาง ยาวถึงปลายครีบอก จ านวนก้านครีบหลัง อยู่ระหว่าง 65-77 อัน ก้านครีบก้น 41-58 อัน ครีบหางมีลักษณะกลมและไม่ติดกับครีบ หลังและครีบก้น ครีบท้องกลม มีก้านครีบ 6 อัน ครีบอกกลม มีก้านครีบแข็ง 1 อัน ปลายแหลมหยักทั้งสองด้าน ฟนัที่เพดาน ปากและที่ขากรรไกรมีลักษณะเป็นซี่เล็ก ๆ จ านวนกระดูกซี่กรอง (gill racker) 16-19 อัน ล าตัวมีสีเทาปนด าหรือสีขาว (ดุกเผือก) และสีค่อนข้างแดง (ดุกแดงหรือดุกเอ็น) ส่วนมากจะมีจุดขาวเล็ก ๆ ตามตัว (โสภา, 2513) (ภาพที่2 และ ภาพที่3)
ภำพที่1 | ปลาดุกอุย (Clarias macrocephalus) (ภาพโดยความเอื้อเฟ้อืของศาสตราจารย์ดร.อุทัยรัตน์ ณ นคร) ภำพที่ 2 | ปลาดุกด้าน (Clarias batrachus) (ภาพโดยความเอื้อเฟ้อืของศาสตราจารย์ดร.อุทัยรัตน์ ณ นคร) บทที่1 ชีววิทยา - 7 - ตอนที่1 ความเป็นมา
บทที่1 ชีววิทยา - 8 - ตอนที่1 ความเป็นมา 2.3 ปลำดุกยักษ์ ปลำดุกยักษ์ Clarias gariepinus Burchell (1822) มีชื่อสามัญว่า African sharptooth catfish ชื่อภาษาไทยเรียก ปลาดุกยักษ์ ปลาดุกรัสเซีย และปลาดุกเทศ มีลักษณะทั่วไปคือ มีลักษณะรูปร่างยาว หัว ใหญ่แล ะแบน ก ะ โหลกเป็นตุ่ม ๆ ไม่เรียบและมีรอยบุ๋มตรงกลางเล็กน้อย มีหนวด 4 คู่ โคนหนวดใหญ่ กะโหลกท้ายทอย มีลักษณะหยักแหลมมี3 หยัก ปากป้าน แบนหนา ครีบหูมีก้านครีบแข็งขนาดใหญ่ สั้นนิ่ม ไม่แหลมคมและส่วนของครีบอ่อนหุ้มถึง ปลายครีบแข็ง ปลายครีบหลังมีสีแดง ครีบหางกลมใหญ่ สีเทา ปลายครีบมีสีแดง แล ะมี แถบสี ข า วล าดบ ริเ วณคอดห าง สัดส่วนระหว่างหัวและตัวประมาณ 1:3 ล าตัวมีสีเทาหรือเทาอมเหลือง ไม่มีจุดที่ ล าตัว เมื่อปลาโตขึ้นจะปรากฏลายคล้ายหิน อ่อนอยู่ทั่วตัว บริเวณใต้คางและท้องมี สีขาวตลอดจนถึงโคนหาง (กรมประมง, ม.ป.ป.) (ภาพที่4) ภำพที่ 3 | ลักษณะกะโหลกท้ายทอยปลาดุกอุยและปลาดุกด้าน (ภาพโดยความเอื้อเฟ้อืของศาสตราจารย์ดร.อุทัยรัตน์ ณ นคร) ภำพที่ 4 | ปลาดุกยักษ์ (Clarias gariepinus) (ภาพโดยความเอื้อเฟ้อืของ ศาสตราจารย์ ดร.อุทัยรัตน์ ณ นคร)
เร ื่องท ี่3 ลักษณะทำงชีววิทยำ บทที่1 ชีววิทยา - 9 - ตอนที่1 ความเป็นมา 3.1 แหล่งที่อยู่อำศัย ปลาดุกอาศัยอยู่ในแหล่งน ้าจืดทั่วไป แม้แต่ในหนองน ้าที่มีน ้าเพียงเล็กน้อยก็ยัง พบปลาดุก ทั้งนี้เพราะปลาดุกมีอวัยวะพิเศษ ที่ช่วยในการหายใจ จึงสามารถด ารงชีวิต อยู่ได้ในสภาวะของน ้าที่มีออกซิเจนเพียง เล็กน้อย ถึงแม้ในน ้าที่ค่อนข้างกร่อยในเขต ชลป ร ะท านบ ริเวณช ายท ะเลปล าดุกก็ สามารถอยู่อาศัยได้เป็นอย่างดี 3.2 นิสัยกำรกินอำหำร ลักษณะอุปนิสัยเป็นปลากินเนื้อ รวมทั้งกินซากพืชและสัตว์ ปลาดุกใน ธรรมชาติกินอาหารจ าพวกตัวอ่อนของ แมลงในน ้าและกุ้ง นอกจากนี้ยังชอบกิน อาหารประเภทโปรตีนที่เน่าเป่ือย บางท่าน จึงจัดปลาดุกไว้เป็นประเภทที่กินของ เน่าเป่ือย (scavenger) แต่เมื่อน ามาเลี้ยง ในบ่อ สามารถฝึกหัดให้ปลากินอาหารสด เช่น ปลาเป็ด ไส้ปลาทู ไส้ไก่ อาหารผสม เช่น ปลาป่นผสมร า กากถั่ว และปลายข้าวต้ม หรืออาหารปลาส าเร็จรูปได้ เป็นปลาหากิน หน้าดินแต่ก็มีนิสัยชอบขึ้นมากินอาหารใกล้ ผิวน ้า 3 . 3 ลักษณ ะ เพศ แล ะค ว ำม แตกต่ ำง ระหว่ำงเพศ ในช่วงนอกฤดูผสมพั นธุ์จะสังเกต ความแตกต่างของปลาเพศผู้ และเพศเมีย จากลักษณะของอวัยวะเพศได้ค่อนข้างยาก ส่วน ในฤดูผสมพั นธุ์อวัยว ะเพศของ ปลาดุกจะพัฒนาขึ้นจนสังเกตความ แตกต่าง ได้อย่างเด่นชัด ปลาเพศเมีย ในช่วงฤดูผสมพันธุ์จะสังเกตได้ง่ายเมื่อ มองจากด้านบนของตัวปลาจะมีส่วนท้อง ป่องออกมาทั้งสองข้าง ส่วนปลาเพศผู้จะมี ล าตัวเรียวยาว เมื่อจับปลาหงายท้องขึ้นจะ สังเกตความแตกต่างระหว่างเพศได้จาก อวัยวะเพศ (genital papillae) ที่อยู่ที่ บริเวณทวารหนัก ปลาเพศเมียจะมีอวัยวะ เพศรูปร่างรีรูปไข่ปลายมนในฤดูวางไข่ บริเวณส่วนท้องของปลาเพศเมียจะอูมเป่ง กว่าปลาเพศผู้ ตรงบริเวณท้องจะมีเม็ดไข่ ไหลออกทางรูเปิดของช่องเพศ (cloaca) ส่วนปลาเพศผู้มีลักษณะติ่งเพศยาวเรียว แหลมรังไข่ (ovary) และอัณฑะ (testis) ของปลาดุกมีลักษณะเป็นพู 2 อัน น ้าเชื้อ ปลาดุกมีสีขาวใสไม่สามารถรีดน ้าเชื้อได้ ด้วยมือหรือรีดได้ปริมาณน้อยมาก (เฉิดฉัน และคณะ 2538)
บทที่1 ชีววิทยา - 10 - ตอนที่1 ความเป็นมา 3.4 ฤดูวำงไข่ ปลาดุก ในธรรมชาติจ ะผสมพั นธุ์ ว า ง ไ ข่ ใ น ช่ ว ง ฤ ดู ฝ น ร ะ ห ว่ า งเ ดื อ น พฤษภาคม-ตุลาคม ส่วนปลาดุกที่เลี้ยงใน บ่อสามารถน ามาเพาะพันธุ์ได้เกือบตลอดปี (อารีย์, 2514) โดยธรรมชาติปลาดุกเริ่ม วางไข่ตั้งแต่ปลายเดือนกุมภาพันธ์-ตุลาคม และจะวางไข่มากในช่วงฤดูฝนระหว่างเดือน พฤษภาคม-สิงหาคม ซึ่งแต่ละภาคจะมี ความแตกต่างกันบ้างตามสภาวะของลม ฟา้อากาศ แม่ปลาจะวางไข่ปีหนึ่งประมาณ 3-4 ครั้ง ครั้งละ 3,000-15,000 ฟอง ความมากน้อยของไข่ขึ้นอยู่กับขนาดของ ปลา ไข่ปลาดุกเป็นไข่ชนิดจมติดกับวัสดุใต้น ้า 3.5 พฤติกรรมกำรผสมพันธุ์และวำงไข่ ปลาดุกทั้งสองชนิดมีพฤติกรรม การผสมพันธุ์วางไข่ที่แตกต่างกัน โดย ปลาดุกด้านเป็นปลาที่จับคู่ผสมพันธุ์กันแล้ว ปลาเพศผู้จะขุดหลุมหรือโพรงดินลักษณะกลม มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 20-30 ซม. ลึกประมาณ 10 ซม. ในแหล่งน ้าธรรมชาติ ส าหรับวางไข่ซึ่งหลุมหรือโพรงดินนี้จะอยู่ ชายฝ่ังต ่ากว่าระดับผิวน ้าประมาณ 50 ซม. ไข่ของปลาดุกด้านเป็นไข่จม มีสีเหลืองอ่อน มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 1.3-1.6 มม. ปลาจะ วางไข่อยู่บนพื้นก้นหลุมหรือโพรงดิน ไข่ปลาจะฟักเป็นตัวภายในเวลาประมาณ 25 ชั่วโมง ภายใต้อุณหภูมิของน ้าประมาณ 27 องศาเซลเซียส พ่อแม่ปลาจะเฝ้าดูแลไข่ และลูกปลาในหลุมประมาณ 7-10 วัน ในช่วงนี้ลูกปลาจะเกาะกลุ่มกันอยู่ใกล้ชิด พ่อแม่ปลา จากการสังเกตเมื่อเอามือล้วง ลงไปในหลุมลูกปลาดุกวัยอ่อนดังกล่าว จะพบว่ามีลูกปลาดุกมาเกาะพั นและดูดไซ้ ที่บริเวณมือ จึงสันนิษฐานว่าลูกปลาดุกวัย อ่อนหลังจากถุงไข่แดงยุบ จะต้องกินเมือก ปลาก่อนที่จะกินอาหารธรรมชาติส่วนปลาดุกอุย มักจะวางไข่ในที่ตื้น ๆ ตามท้องนาและ ทุ่งหญ้า ที่มีน ้าขังในระดับน ้าลึกประมาณ 20 ซม. โดยพ่อแม่ปลาจะกัดหญ้าหรือโคน ต้นข้าวกล้า ให้เป็นช่องว่าง แล ะคุ้ยดิน บริเวณนั้นให้เป็นแอ่งค่อนข้างกลม ไข่มี สีน ้าตาลเป็นเงาใส ภายหลังปลาวางไข่แล้ว ปลาเพศผู้จะไล่ปลาเพศเมียออกนอกรัง และเฝ้ารักษาไข่อย่างใกล้ชิด ไข่จะฟักเป็น ตัวประมาณ 25-30 ชั่วโมง ภายใต้อุณหภูมิ ของน ้าประมาณ 25-30 องศาเซลเซียส หลังจากนั้นอีก 3-4 วัน ลูกปลาดุกก็จะ ละทิ้งรังไ ข่อ อกไปห าอ า ห า รกินตาม ธรรมชาติ (มงคล, 2559)
เร ื่องท ี่4 ลักษณะของสำยพันธุ์ บทที่1 ชีววิทยา - 11 - ตอนที่1 ความเป็นมา ป ล า ดุ ก อุ ย แ ล ะ ป ล า ดุ ก ด้ า น ใ น ธรรมชาติรวมทั้งปลาดุกยักษ์ที่น าเข้ามาใน ประเทศไทย แบ่งสายพันธุ์ออกเป็นประชากร ต่าง ๆ ซึ่งมีพันธุกรรมแตกต่างกัน ตาม รายงานวิชาการได้ดังต่อไปนี้ 4.1 ปลำดุกอุย ปลาดุกอุยมีลักษณะโครโมโซมแบบ ดิพลอยด์ 2N=54 คาริโอไทป์(karyotype) ประกอบด้วยโครโมโซมแบบ metacentric จ านวน 15 คู่ submetacentric จ านวน 6 คู่ subtelocentric จ านวน 2 คู่ และ แบบ acrocentric จ านวน 4 คู่ (ธวัช แล ะ วิเชียร 2532; วิวัฒน์ และคณะ, 2532) ควำมหลำกหลำยทำงพั นธุกรรม ของปลาดุกอุยในประเทศไทยนั้น มีรายงาน การศึกษาความหลากหลายของประชากร ปลาดุกอุยจากธรรมชาติในประเทศไทย โดยรวมแสดง ให้เห็นว่า ปลาดุกอุย ใน ธ ร ร ม ช า ติ จ า ก แ ห ล่ ง ต่ า ง กั น มี ค ว า ม แตกต่างทางพั นธุกรรมอยู่ ในระดับสูง ซึ่งเป็นสิ่งบ่งบอกถึงศักยภาพของทรัพยากร พันธุกรรมปลาดุกอุยที่สามารถน าประชากร ปลาจากแหล่งต่าง ๆ มาปรับปรุงพัฒนา พั น ธุ์ ไ ด้ ส่ ว น ค ว า ม ห ล า ก ห ล า ย ท า ง พันธุกรรมภายในประชากรนั้น ปลาดุกอุยใน แถบภาคเหนือตอนบนมีความหลากหลาย ทางพันธุกรรมภายในประชากรมีค่าต ่าและ ค่อยสูงขึ้นในประชากรภาคเหนือตอนล่าง และภาคกลางตอนบน ในแถบภาคกลาง ตอนบนมีความหลากหลายภายในประชากร ค่อนข้างสูงและมีความแตกต่างระหว่าง ประชากรในระดับปานกลาง และลดต ่าลงใน ภาคกลางตอนล่าง ประชากรภาคตะวันออก เฉียงเหนือและแถบภาคใต้ พบว่ามีความ หลากหลายภายในประชากรต ่า และมีความ แตกต่างระหว่างประชากรในระดับปานกลาง (อุทัยรัตน์, 2542 ก, อุทัยรัตน์, 2542 ข; ศรีจรรยา, 2546; ธวัชชัย, 2543) อุทัยรัตน์ (2542 ก) และ อุทัยรัตน์ (2542 ข) ศึกษาความหลากหลายทาง พั นธุกรรมของปลาดุกอุยจากธรรมชาติ จ านวน 25 ปร ะชากร โดยวิธีวิเครา ะห์ เครื่องหมายพันธุกรรมไอโซไซม์13 ชนิด และตรวจสอบยีน 18 ต าแหน่ง พบว่าเป็น ยีน ในสภาพหลากรูป (polymorphism) จ านวน 8 ต าแหน่ง พบว่าประชากรปลาดุกอุย ภาคเหนือตอนบนมีความหลากหลาย ภายในประชากรต ่า และค่อย ๆ สูงขึ้นใน ประชากรภาคเหนือตอนล่างและภาคกลาง ตอนบน และลดต ่าลงในประชากรภาคกลาง ตอนล่าง ประชากรภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ มีค่าความหลากหลายภายใน ประชากรต ่า ค่าเฉลี่ยของค่าเฮตเทอโรไซโกซิตี เป อ ร์เ ซ็นต์ยีน ในสภ าพห ล า ก รูป แ ล ะ จ านวนอัลลีลต่อต าแหน่ง จากทั้ง 25 ประชากรมีค่า 0.046, 17.12 เปอร์เซ็นต์ และ 1.288 พบว่าทั้ง 25 ประชากรมีความ แตกต่างทางพันธุกรรมในระดับสูง และพบ การปนเป้ือนของยีนจากปลาดุกยักษ์ใน ประชากรปลาดุกอุย
บทที่1 ชีววิทยา - 12 - ตอนที่1 ความเป็นมา ศ รี จ ร รย ำ (2546) ได้พัฒนา เครื่องหมายไมโครแซทเท ลไ ล ท์ ดีเ อ็ นเ อ (microsatellite DNA) และประยุกต์ใช้เพื่อการศึกษาพันธุศาสตร์ประชากรปลาดุกอุย โดยสามารถออกแบบไพรเมอร์ส าหรับเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอในส่วนของ ไมโครแซทเทลไลท์ ได้ จ านวน 23 คู่ และพบไพรเมอร์ จ านวน 12 คู่ แสดงความหลากหลาย (Sukmanomon et al., 2003) จากนั้นได้น าไพรเมอร์5 คู่ ไปศึกษาความผันแปรทางพันธุกรรมในประชากร ปลาดุกอุยจากภาคเหนือตอนล่าง 5 ประชากร คือ จังหวัดนครสวรรค์จังหวัดสุโขทัย จังหวัดพิษณุโลก (อ าเภอบางร ะก าแล ะวัด โบสถ์) แล ะจังหวัดอุตรดิตถ์ พบว ่า ทุกประชากรมีความผันแปรทางพันธุกรรมภายในประชากรค่อนข้างสูง โดยมีจ านวนอัลลีล ต่อต าแหน่งระหว่าง 8.4-13.6 ค่าเฉลี่ย effective number of allele มีค่า 6.0-8.5 และมีค่าเฉลี่ยเฮตเทอโรไซโกซิจากทุกต าแหน่ง 0 .64-0 .76 มีความถี่จีโนไทป์ของ ทุกประชากร (ยกเว้นจังหวัดนครสวรรค์) มีค่าเบี่ยงเบนจากสมดุลฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก ความ แตกต่างระหว่างประชากรอยู่ในระดับปานกลาง ซึ่งแสดงจากค่า Fst เฉลี่ย เท่ากับ 0.0637 เมื่อน าค่าร ะย ะห่างทางพั นธุกรรมมาจัดแผนผังความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมด้วยวิธี UPGMA พบว่าประชากรปลาดุกอุยจากภาคกลางตอนบน แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มย่อย ที่ สอดคล้องกับสภาพภูมิศาสตร์ คือ กลุ่มจังหวัดสุโขทัย จังหวัดพิ ษณุโลก (อ.บางระก า) จังหวัดนครสวรรค์และกลุ่มจังหวัดพิษณุโลก (อ.วัดโบสถ์) จังหวัดอุตรดิตถ์ ธวัชชัย (2543) ศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของประชากรปลาดุกอุย จาก 7 จังหวัดในภาคใต้ของประเทศไทย คือ จังหวัดชุมพร จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดพั ทลุง จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดสตูล จังหวัดตรัง และจังหวัดยะลา โดยใช้วิธีวิเคราะห์เครื่องหมายพันธุกรรมไอโซไซม์(isozyme) จ านวน 13 ชนิด เป็นยีน ควบคุมจ านวน 18 โลไซ ผลการศึกษาพบว่าในจ านวนยีนที่ศึกษามีโพลีมอร์ฟิคโลไซ (polymorphic loci) จ านวน 4 โลไซ ความผันแปรพั นธุกรรมภายในประชากรมีค่า ค่อนข้างต ่า ทุกประชากรมีจ านวนอัลลีลต่อโลกัส 1.1-1.4 โพลีมอร์ฟิคโลไซ 0-22.2 เปอร์เซ็นต์เฮตเทอโรไซโกซิตี ค่าสังเกต (Ho ) และค่าค านวณ (He ) มีค่า 0.006-0.043 และ 0.007-0.058 ประชากรทุกประชากร (ยกเว้นจังหวัดสุราษฎร์ธานี) มีความถี่จีโนไทป์ อยู่ในสมดุลฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก ความแตกต่างระหว่างประชากรอยู่ในระดับปานกลางโดยมีค่า Fst เท่ากับ 0.1 ค่าระยะห่างทางพันธุกรรม (genetic distance) มีค่าเฉลี่ย 0.003 เมื่อน าค่า ระยะห่างทางพั นธุกรรมไปจัดแบ่งกลุ่มความสัมพั นธ์ทางพั นธุกรรมด้วยวิธี UPGMA (Unweighted Pair Groups with Arithmetric Means Analysis) พบว่าประชากรเหล่านี้ ถูกแบ่งเป็น 4 กลุ่มย ่อย คือ กลุ่มนค รศ รีธร รมร าช พั ทลุง ตรัง กลุ่มยะลา สตูล กลุ่มสุราษฎร์ธานี และกลุ่มชุมพร
บทที่1 ชีววิทยา - 13 - ตอนที่1 ความเป็นมา 4.2 ปลำดุกด้ำน ปล าดุกด้ านมีคว ามหล ากหล าย ภายในประชากรค่อนข้างต ่าแต่มีความ แตกต่างทางพันธุกรรมระหว่างประชากรใน ระดับสูง (อัธยา, 2545) ปลาดุกด้านมี ลักษณะโครโมโซมแบบดิพลอยด์ 2N=100 คาริโอไทป์ ประกอบด้วย โครโมโซมแบบ metacentric จ านวน 2 คู่ submetacentric จ านวน 2 คู่ subtelocentric จ านวน 1 คู่ แ ล ะ แ บ บ acrocentric จ า น ว น 4 5 คู่ (ธวัช และวิเชียร, 2532) อัธยำ (2545) รายงานว่า ประชากร ปลาดุกด้านจากแหล่งต่าง ๆ ทั่วประเทศไทย จ านวน 18 แหล่ง จากการศึกษายีนควบคุม เอนไซม์ 13 ระบบและโปรตีน 1 ระบบ เป็น จ านวนยีนทั้งสิ้นจ านวน 22 โลไซ พบว่าใน จ านวนยีนที่ศึกษามีโพลีมอร์ฟิคโลไซจ านวน 14 โลไซ มีความหลากหลายทางพันธุกรรม ภายในประชากรค่อนข้างต ่า ค่าเฉลี่ยจาก ทุกประชากรมีค่าจ านวนอัลลีลต่อโลกัส เฉลี่ย 1.33±0.10 โพลีมอร์ฟิคโลไซเฉลี่ย เท่ากับ 17.16% เฮตเทอโรไซโกซิตี จากการ ค านวณ (He ) มีค่าเฉลี่ย 0.048±0.022 พบว่าประชากรปลาดุกด้านมีความแตกต่าง ทางพันธุกรรมอยู่ในระดับสูง (Fst=0.545) ระยะห่างทางพันธุกรรม (genetic distance) มีค่าเฉลี่ย 0.066 เมื่อน าค่าระยะห่างทาง พั นธุกรรมไปวิเคราะห์การจัดกลุ่มตามวิธี UPGMA พบว่าประชากรปลาดุกด้าน 18 ประชากร ถูกแบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ (D=0.156) คือ กลุ่มประชากรภาคใต้ และกลุ่มประชากร จากภาคอื่นๆ โดยในกลุ่มนี้พบว่า ประชากร ปลาดุกด้านจาก จังหวัดสุรินทร์ มีความ แตกต่างทางพันธุกรรมจากประชากรอี่น ๆ มากที่สุด (D=0.053) 4.3 ปลำดุกยักษ์ ในปัจจุบันเชื่อว่าปลาดุกยักษ์ที่เลี้ยง ในประเทศไทยน ามาจาก 2 แหล่ง แหล่ง แรกคือ เซ็นทรัล อัฟริกัน รีพั บลิค เข้า ป ร ะเ ท ศ ไ ท ย ผ่ า น ท า ง ป ร ะเ ท ศ รั สเ ซี ย เวียดนาม และลาว ตามล าดับ (อุทัยรัตน์, 2544) แหล่งที่ 2 คือ ประเทศอียิปต์เข้าสู่ประเทศไทย โดยผ่านทางประเทศจีน (อุทัยรัตน์, 2544) ปลาดุกยักษ์ 2 แหล่งนี้มีพันธุกรรมที่ แตกต่างกัน และมีความเป็นไปได้ว่าขณะนี้ สองสายพันธุ์อาจผสมปนกันอยู่ (อุทัยรัตน์ , 2542 ข) จากการศึกษาความหลากหลาย ทางพันธุกกรรมของปลาดุกยักษ์ที่น าเข้า และเลี้ยงในประเทศไทยในโรงเพาะฟัก จังห วัดสุพ ร รณบุ รี จังห วัดอ่ างทอง จังหวัดนครปฐม และจังหวัดนครสวรรค์ พบว่ าปลาดุกยักษ์มีคว ามหลากหลาย ทางพันธุกรรมภายในประชากรค่อนข้างสูง และมีความหลากหลายระหว่างประชากรใน ระดับปานกลาง (อัญลักษณ์, 2551) ปลาดุกยักษ์ มีลักษณะโครโมโซมแบบดิพลอยด์ 2N=56 ค า ริ โอไทป์ ป ร ะกอบด้วย โค ร โม โซม แบบ me t a ce n t ri c จ าน วน 4 คู่ submetacentric จ านวน 12 คู่ และแบบ acrocentric จ านวน 12 คู่ และมีโครโมโซมเพศ แบบ heteromorphic (ZW) (OzoufCostaz et al., 1989)
บทที่1 ชีววิทยา - 14 - ตอนที่1 ความเป็นมา อัญลักษณ์ (2551) ศึกษาความหลากหลายทางพั นธุกรรมของปลาดุกยักษ์ใน โรงเพาะฟัก 4 ประชากร จากจังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดอ่างทอง จังหวัดนครปฐม และจังหวัดนครสวรรค์โดยใช้วิธีวิเคราะห์เครื่องหมายพันธุกรรมไมโครแซทเทลไลท์ดีเอ็นเอ (microsatellite DNA) จ านวน 6 ต าแหน่ง ผลการศึกษาพบว่า ประชากรปลาดุกยักษ์ จากทั้ง 4 แหล่งมีความหลากหลายทางพั นธุกรรมค่อนข้างสูง โดยมีจ านวนอัลลีล เฉลี่ยต่อต าแหน่งระหว่าง 4.83-12.33 และมีค่าเฉลี่ยเฮตเทอโรไซโกซิตีสังเกต (Ho ) จาก ทุก ต าแหน่งระหว่าง 0.50-0.69 ความถี่จีโนไทป์ของทุกประชากร ยกเว้นจังหวัดนครสวรรค์ มี ค่าเบี่ยงเบนจากสมดุลฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก โดยสามารถแบ่งกลุ่มประชากรที่มีพันธุกรรม แตกต่างกันอย่างชัดเจน (Fst=0.144) ออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มจังหวัดนครปฐม จังหวัดนครสวรรค์และกลุ่มจังหวัดสุพรรณบุรีจังหวัดอ่างทอง ซึ่งความหลากหลายทาง พั นธุกรรมภายในประชากรมีค่าปานกลาง สรุปได้ว่าปลาดุกยักษ์ในประเทศไทยมีความ หลากหลายพันธุกรรมอยู่ในระดับน่าพอใจ สามารถใช้เป็นทรัพยากรในการสร้างประชากร เพื่อการปรับปรุงพันธุ์ได้ต่อไป
ตอนท ี ่ 2 การพัฒนาสายพันธุ์ปลาดุก - 15 -
เร ื่องท ี่1 กำรปรับปรุงพันธุ์ปลำดุก บทที่1 ชีววิทยา - 16 - ตอนที่2 การพัฒนาสายพันธุ์ปลาดุก กำรปรับปรุงพั นธุ์ปลาดุกอุยโดยวิธี คัดเลือก (selection) ส่วนใหญ่เป็นการ คัดเลือกเพื่อปรับปรุงอัตราการจริญเติบโต โดยวิธีการคัดเลือกแบบดูลักษณะตัวเอง หรือการคัดเลือกแบบหมู่ (mass selection) ซึ่งเป็นวิธีการที่ง่ายและไม่ต้องการใช้ ทรัพยากรมาก และเริ่มมีการคัดเลือกจาก คุณค่าการผสมพันธุ์ (estimated breeding value, EBV) ซึ่งมีความแม่นย าในการ คัดเลือกที่สูงขึ้น ส าหรับการปรับปรุง ลักษณะอื่น ๆ ได้แก่การต้านทานโรคที่เกิด จากแบคทีเรีย Aeromonas hydrophila นอกจากนั้นใช้วิธีควบคุมเพศ และวิธี จัดการ โคร โม โซม (chromosome manipulation) มีรายงานการปรับปรุง พันธุ์ปลาดุกด้วยวิธีการต่าง ๆ ดังนี้ พรรณศรี และคณะ (2533) ท าการ คัดพั นธุ์ปลาดุกอุยโดยดูลักษณะตัวเอง จากการเจริญเติบโต ท าการผสมเทียมปลาดุก จ านวน 35 คู่น าลูกปลาที่อนุบาลอายุ 11 วันลงปล่อยเลี้ยงในบ่อดินขนาด 200 ตร.ม. เลี้ยงเป็นเวลา 9 เดือน น ามาคัดปลา ที่โตที่สุดจ านวน 10 เป อ ร์เ ซ็นต์ ข อ ง ประชากรทั้งหมดเป็นปลาสายคัด และสุ่ม ปลาเพื่อเป็นสายพันธุ์เปรียบเทียบ (control) จ านวน 10 เปอร์เซ็นต์ของประชากรปลา จากนั้นเพา ะพันธุ์ปลาสายคัดและสาย เปรียบเทียบในรุ่นต่อไปเป็นจ านวน 4 รุ่น ผลการศึกษาพบว่าปลาดุกอุยคัดพันธุ์แล้ว เจริญเติบโตดีกว่าสายเปรียบเทียบในทุกรุ่น ทั้งน ้าหนักและความยาว หลังจากคัดเลือก พันธุ์ปลาได้ 4 รุ่น ผลปรากฏว่าปลาสายพันธุ์ ที่คัดเลือกมีน ้าหนักและคว ามยา ว ม า ก ก ว่ า ส า ย พั น ธุ์เ ป รี ย บเ ที ย บ 1 8.1 เปอร์เซ็นต์ และ 2 เปอร์เซ็นต์ ตามล าดับ ผลการวิเคราะห์ความแปรปรวนของน ้าหนัก ปลาพบว่าปลาทั้ง 2 สายพั นธุ์มีความ แตกต่างอย่างมีนัยส าคัญยิ่งทางสถิติ (p<0.01) ผลการตอบสนองการคัดพั นธุ์ จากความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยของ ประชากรสายพันธุ์คัดรุ่นที่4 กับสายพันธุ์ เปรียบเทียบรุ่นเดียวกัน มีค่า 50.5 กรัม และ 0.88 เซนติเมตร โดยน ้าหนักและความยาว ตามล าดับ และอัตราพั นธุกรรมประจักษ์ (realize heritability) มีค่า 0.81 และ 0.39 โดยน ้าหนักและความยาว ตามล าดับ กฤษณุพันธ์ และคณะ (2547) ปรับปรุง พั นธุ์ปลาดุกอุยด้วยวิธีคัดเลือกแบบหมู่ (mass selection) เพื่อเพิ่มอัตราการ เจริญเติบโต โดยน าประชากรปลาดุกอุย จากแหล่งน ้าธรรมชาติในจังหวัดสุราษฎร์ธานี น าม าส ร้ างป ร ะ ช าก ร รุ่นพ่ อ แม่ ( P 0 ) แล้วคัดเลือกปลาเพื่อแบ่งประชากรเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มคัดเลือกที่คัดปลาขนาดโต ที่สุดของประชากรทั้งหมดเป็นพ่อแม่พันธุ์ เรียกว่า “สายคัดเลือก” และกลุ่มที่ใช้พ่อแม่ พันธุ์ขนาดเท่ากับค่าเฉลี่ยของประชากร ทั้งหมดเป็นพ่อแม่พันธุ์เรียกว่า “สายควบคุม”
จากนั้นท าการเพาะและคัดพันธุ์ปลาทั้ง 2 กลุ่ม จ านวน 2 รุ่น แล้วน ามาค านวณ ผลตอบสนองต่อการคัดเลือกและอัตราพั นธุกรรมประจักษ์ ผลจากการปรับปรุงพั นธุ์ ปรากฏว่า ปลาดุกอุยเพศผู้รุ่นที่1 และ 2 ที่อายุ9 เดือนในสายคัดเลือก มีความยาวและ น ้าหนักมากกว่าปลาเพศผู้สายควบคุมอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติค่าอัตราพันธุกรรม ประจักษ์ที่ได้จากปลารุ่นที่1 ในลักษณะความยาวและน ้าหนักมีค่าอยู่ในระดับสูง โดยเพศผู้มี ค่า 0.83 และ 0.98 ตามล าดับ เพศเมียมีค่า 0.54 และ 0.66 ตามล าดับ ในเวลาต่อมา เมตตา และคณะ (2554) ได้น าปลาดุกอุยรุ่นที่2 มาคัดเลือกแบบหมู่เพื่อเพิ่มอัตราการ เจริญเติบโตจนได้ปลารุ่นที่3 และ 4 พบว่าปลาดุกอุยรุ่นที่4 ที่อายุ9 เดือนของสาย คัดเลือกมีความยาวและน ้าหนักเฉลี่ยมากกว่าสายควบคุมอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติและมี ค่าอัตราพันธุกรรมประจักษ์ของความยาวและน ้าหนักเท่ากับ 0.23 และ 0.26 ตามล าดับ อำจินต์ (2539) ปรับปรุงพั นธุ์ปลาดุกอุยโดยใช้วิธีคัดพั นธุ์แบบสองทิศทางใน อัตราการเจริญเติบโต จ านวน 2 รุ่น เมื่อท าการคัดพันธุ์ที่อายุ210 วัน พบว่า อัตราการ เจริญเติบโตของปลาดุกกลุ่มคัดพั นธุ์ทางบวกและปลากลุ่มคัดพั นธุ์ทางลบ มีความ แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญ ผลการศึกษาการตอบสนองต่อการคัดพันธุ์แบบสองทิศทาง พบว่า มีผลตอบสนองต่อการคัดพันธุ์ทางบวกเพื่อเพิ่มอัตราการเจริญเติบโต แต่ไม่มี ผลตอบสนองต่อการคัดพันธุ์ทางลบ และมีผลตอบสนองต่อการคัดพันธุ์แบบสองทิศเป็น แบบไม่สมมาตรกัน โดยมีค่าอัตราพันธุกรรมประจักษ์ของการคัดพันธุ์ทางบวก มีค่าเท่ากับ 0.62 และ 0.41 โดยน ้าหนักและความยาว ตามล าดับ ค่าอัตราพันธุกรรมประจักษ์ของการ คัดพันธุ์ทางลบมีค่าเท่ากับ -0.48 และ -0.12 โดยน ้าหนักและความยาว ตามล าดับ ส่วนค่า อัตราพันธุกรรมของการคัดพันธุ์แบบสองทิศทางมีค่าเท่ากับ 0.31 และ 0.23 โดยน ้าหนัก และความยาว ตามล าดับ Na-Nakorn et al. (1994) รายงานผลการปรับปรุงความต้านทานโรคในปลาดุกอุย 2 ประชากร โดยวิธีการฉีดเชื้อ Aeromonas hydrophila เข้าช่องท้อง และเก็บปลา ที่รอดชีวิตไว้เป็นพ่ อแม่พั นธุ์ พบว่าจากการคัดเลือก 1 ชั่วอายุปลากลุ่มคัดเลือกและ กลุ่มควบคุมมีความต้านทานโรคไม่แตกต่างกันทางสถิติทั้งในลักษณะเปอร์เซ็นต์ การรอดชีวิต (ประชากรที่ 1 มีค่า 33.33±4.87 และ 40.32±6.11 ในกลุ่มควบคุมและ กลุ่มคัดเลือก ตามล าดับ ส่วนประชากรที่ 2 มีค่า 30.73±3.98 และ 34.67±8.07 ในกลุ่ม ควบคุมและกลุ่มคัดเลือก ตามล าดับ) และเวลาที่ปลาตาย 50% (ประชากรที่ 1 มีค่า 14.55±2.27 และ 11.69±0.84 ในกลุ่มควบคุมและกลุ่มคัดเลือก ตามล าดับ ส่วนประชากร ที่ 2 มีค่า 13.42±1.34 และ 11.96±3.08 ในกลุ่มควบคุมและกลุ่มคัดเลือกตามล าดับ) แต่เป็นที่น่าสังเกตว่ากลุ่มคัดเลือก มีแนวโน้มจะมีอัตรารอดสูงขึ้นทั้ง 2 ประชากร บทที่1 ชีววิทยา - 17 - ตอนที่2 การพัฒนาสายพันธุ์ปลาดุก
เด่นนภำ (2539) ศึกษาค่าอัตราพันธุกรรมของลักษณะความต้านทานโรค น ้าหนักตัว และความยาวล าตัวของปลาดุกอุย โดยวิธีวางแผนการผสมพันธุ์แบบ nested design ใช้ปลาพ่อพันธุ์จ านวน 12 ตัว แต่ละตัวผสมกับแม่ปลา 2 ตัว ได้ลูกครอกเดียวกันทั้งสิ้น 24 ชุด น าลูกปลาไปอนุบาลและเลี้ยงในบ่อคอนกรีต ท าการทดลอง 2 ซ ้า แล้ววัดระดับความต้านทาน โรคกกหูบวม ซึ่งเกิดจากแบคทีเรีย Aeromonas hydrophila ในปลาอายุ 93 วัน โดยวิธีฉีดเชื้อเข้าช่องท้องในอัตรา 1.38×108 เซลล์ต่อมิลลิลิตร (LD50 96 ชั่วโมง) น าเปอร์เซ็นต์การรอดมาค านวณค่าอัตราพันธุกรรม พบว่า ค่าอัตราพันธุกรรมเนื่องมาจาก ความแปรปรวนของพ่ อ (h 2 S ) เท่ากับ 2.34±0.07 ค่าอัตราพันธุกรรมเนื่องจากความ แปรปรวนของแม่ (h 2 D ) เท่ากับ 0.15±0.22 และค่าอัตราพั นธุกรรมเนื่องจากความ แปรปรวนของพ่ อและแม่ (h 2 S+D) มีค่าเท่ากับ 1.09±0.12 ค่าอัตราพันธุกรรมของน ้าหนักตัว ที่อายุ 53 และ 78 วัน มีค่า h 2 S เท่ากับ 2.01±0.95 และ 3.07±1.26 ตามล าดับ ค่า h 2 D เท่ากับ 0.31±0.51 และ 0.14±0.12 ตามล าดับ h 2 S+D มีค่าเท่ากับ 1.16±0.58 และ 1.61±0.64 ส่วนอัตราพันธุกรรมของลักษณะความยาวล าตัวที่อายุ 53 และ 78 วัน มีค่า h 2 S เท่ากับ 1.00±0.71 และ 2.46±0.12 ตามล าดับ ค่า h 2 D เท่ากับ 0.52±0.84 และ 0.11±0.23 ตามล าดับ h 2 S+D มีค่าเท่ากับ 0.76±1.42 และ 1.28±1.88 ตามล าดับ อุทัยรัตน์ และคณะ (2562) และ อุทัยรัตน์ (2563) ได้รายงานผลการปรับปรุงพันธุ์ ปลาดุกอุยเป้าหมายเพื่อปรับปรุงอัตราการเจริญเติบโตและความต้านทานเชื้อ Aeromonas hydrophila ประชากรพื้นฐานในการคัดเลือก คือ KU strain เป็นประชากรที่เกิดจากการ ผสมพั นธุ์ปลาดุกอุยจากโรงเพาะฟัก 2 แหล่ง ในจังหวัดนครปฐมและจังหวัดอ่างทอง ปลาประชากรธรรมชาติจากจังหวัดอุทัยธานี ท าการคัดเลือกแบบหมู่ (mass selection) โดยคัดลักษณะน ้าหนักตัวจ านวน 5 ชั่วอายุมีผลตอบสนองต่อการคัดเลือกโดยรวม ประมาณ 20% โดยปลาประชากรนี้ได้เก็บรักษาไว้โดยไม่มีการคัดเลือกตั้งแต่ปี2551 จากการ เลี้ยงเปรียบเทียบกับปลาประชากรธรรมชาติและศึกษาความหลากหลายทางพั นธุกรรม โดยเครื่องหมายไมโครแซทเทลไลท์ดีเอ็นเอของ Muiocha et al. (2017) พบว่าปลาประชากรนี้ มีการเจริญเติบโตดีกว่าประชากรธรรมชาติ และมีความหลากหลายทางพันธุกรรมในระดับ ปานกลาง สามารถใช้เป็นประชากรเริ่มต้นในการคัดเลือกได้ใช้พ่อแม่พันธุ์ในประชากร ดังกล่าวจับคู่ผสมพันธุ์แบบ nested design โดยพ่อปลาแต่ละตัวผสมพันธุ์กับแม่ปลา 2-3 ตัว ผสมแบบแยกเป็นคู่ ๆ ได้ครอบครัวจ านวน 74 ครอบครัว ได้ปลาที่เป็น half-sib 31 ชุด จากนั้นติดเครื่องหมายโดยการฉีดสี elastomer เพื่อแยกครอบครัว และเลี้ยงปลาแบบรวม ในบ่อผ้าใบ polyethylene (PE) ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางขนาด 5 เมตร มีระบบน ้าหมุนเวียน จ านวน 2 ซ ้า บทที่1 ชีววิทยา - 18 - ตอนที่2 การพัฒนาสายพันธุ์ปลาดุก
เก็บข้อมูลน ้าหนักและความยาวเมื่อปลาอายุ 304-312 วัน ปลามีน ้าหนักเฉลี่ย เท่ากับ 118.10±49.2 กรัม (ค่าเฉลี่ยครอบครัวมีค่าระหว่าง 56.07-180.28 กรัม) ความยาว เฉลี่ย 24.50±2.35 เซนติเมตร (ค่าเฉลี่ยครอบครัวมีค่าระหว่าง 20.7-27.46 เซนติเมตร) อัตรารอดรวมทุกครอบครัวกับ 86.93% (ไม่สามารถจ าแนกเป็นรายครอบครัวได้เนื่องจาก tag สูญหายบางส่วน) ผลการวิเคราะห์สถิติแสดงว่าอัตราพันธุกรรม ของน ้าหนักมีค่าปานกลาง ค่อนข้างต ่า (h 2=0.09±0.03) เช่นเดียวกับความยาว (h 2=0.13±0.04) ส่วนลักษณะ ความต้านทานต่อเชื้อ Aeromonas hydrophila ได้ทดสอบโดยการฉีดเชื้อที่มีรายละเอียด รายงานโดย Srisapoome et al. (2019) พบว่าลักษณะอัตรารอดเฉลี่ยของแต่ละครอบครัว หลังการฉีดเชื้อมีค่าอัตราพันธุกรรมปานกลางเท่ากับ 0.27±0.15 แต่อัตราพันธุกรรมของ ลักษณะความต้านทานโรคโดยวัดแบบอื่นมีค่าต ่ามาก โดยระยะเวลานับจากเริ่มฉีดเชื้อถึงเวลา ตายมีอัตราพันธุกรรมเท่ากับ 0.05±0.02 และลักษณะเป็น-ตาย มีอัตราพันธุกรรมเท่ากับ 0.06±0.03 จึงใช้ข้อมูลอัตรารอดเฉลี่ยของแต่ละครอบครัวหลังการฉีดเชื้อเป็นเกณฑ์การ คัดเลือก จากข้อมูลที่ได้สามารถค านวณค่าประมาณของคุณค่าการผสมพันธุ์ (estimated breeding value, EBV) ของความยาวและน ้าหนักตัวเพื่อใช้ในการคัดเลือก จากนั้นท า การคัดเลือกแบบครอบครัว (family selection) โดยคัดครอบครัวที่มีอัตรารอดภายหลัง การฉีดเชื้อมากกว่า 39% ซึ่งเป็นค่าเฉลี่ย ได้ครอบครัวทั้งหมด 38 ครอบครัว จากจ านวน ทั้งสิ้น 74 ครอบครัว จากนั้นคัดครอบครัวที่มีค่าเฉลี่ย EBV ของความยาวสูงที่สุด 16 ครอบครัว มาเป็นกลุ่มคัดเลือก พร้อมทั้งสุ่มเก็บตัวแทนของครอบครัวก่อนการคัดเลือก จ านวนเท่ากันเพื่อใช้เป็นกลุ่มควบคุม การศึกษาผลตอบสนองต่อการคัดเลือกโดยการ เพาะพันธุ์ปลาทั้งสองกลุ่มแยกกันและเมื่อลูกปลามีขนาดเหมาะสม ท าการติดเครื่องหมายและ น าไปเลี้ยงรวมกันเพื่อเปรียบเทียบการเจริญเติบโต พบว่า ปลาที่อายุ 195 วัน ทั้งกลุ่มควบคุม (22.60±2.71 เซนติเมตร) และกลุ่มคัดเลือก (22.50±8.71 เซนติเมตร) มีความยาวไม่ แตกต่างกัน การที่การคัดเลือก ไม่ก้าวหน้ามีสาเหตุหลายประการ ทั้งในด้านอัตราพันธุกรรม ที่ต ่าและความเข้มการคัดเลือกที่ต ่า (คัดไว้ 16 ครอบครัว จากครอบครัวที่ต้านทานโรค 38 ครอบครัว) รวมถึงผลที่ได้นี้อาจเกิดจากความสัมพันธ์ทางลบระหว่างลักษณะความต้านทาน โรคกับการเจริญเติบโต ส่วนลักษณะความต้านทานโรคนั้นยังไม่ได้ศึกษาการตอบสนองต่อ การคัดเลือก แต่คาดว่าน่าจะมีความก้าวหน้า บทที่1 ชีววิทยา - 19 - ตอนที่2 การพัฒนาสายพันธุ์ปลาดุก
เร ื่องท ี่2 กำรควบคุมเพศ บทที่1 ชีววิทยา - 20 - ตอนที่2 การพัฒนาสายพันธุ์ปลาดุก นวลมณี (2537) ท าการควบคุมเพศ ปลาดุกอุยให้เป็นเพศเมียทั้งหมดโดยให้ลูก ปลาดุกอุยอายุตั้งแต่ 7 วันจนถึง 42 วัน กินอาหารผสมฮอร์โมน β-estradiol (β-EST) ในอัตรา 50 มิลลิกรัม/อาหาร 1 กิโลกรัม หรือแช่ลูกปลาอายุ 7 วัน ใน ฮอร์โมน β-estradiol ความเข้มข้น 200 ไมโครกรัม/ลิตร เป็นระยะเวลานาน 28 วัน โดยปลาดุกอุย เพศเมียที่ได้จากทั้ง 2 วิธี มีความยาวและดัชนีความสมบูรณ์ของ อวัยวะสืบพันธุ์ (GSI) ไม่แตกต่างจากปลา เพศเมียปกติ มีลักษณะและขนาดรังไข่ ใกล้เคียงกับรังไข่ของปลาเพศเมียปกติ หลังจากนั้นสามารถสืบพันธุ์ได้ในเวลาต่อมา ณรงค์ศักดิ์และคณะ (2541) ศึกษา ผ ล ข อ ง ก า ร ใ ช้ ฮ อ ร์ โ ม น สั ง เ ค ร า ะ ห์ Ethynylestradiol-17α (EE2 ) ต่อการ เปลี่ยนเพศปลาดุกอุย โดยแช่ลูกปลาอายุ 1 และ 7 วัน ในสารละลายฮอร์โมนเข้มข้น 400 ไมโครกรัม/ลิตร เป็นเวลา 0-8 ชั่วโมง จากการตรวจสอบเพศปลาด้วยตาเปล่าและ ด้วยวิธีทางพยาธิสภาพ พบว่าการแช่ ลูกปลาอายุ 1 วัน สามารถเพิ่มเปอร์เซ็นต์ปลา เพศเมียจาก 52.5 เปอร์เซ็นต์ เป็น 75-80 เปอร์เซ็นต์ การแช่ลูกปลาอายุ 7 วัน เป็น เวลา 1 ชั่วโมง สามารถเปลี่ยนเพศเป็น เพศเมียทั้งหมด แต่เมื่อเพิ่มเวลาการแช่ให้ นานขึ้น กลับพบว่าเปอร์เซ็นต์เพศเมียกลับ ลดลงสู่ระดับปกติเมื่อแช่นาน 4 และ 8 ชั่วโมง และพบว่าปลาเพศเมียที่ได้จากวิธี แช่ฮอร์โมน มีอัตราการเจริญเติบโต อัตรา รอดและ GSI ไม่แตกต่างจากปลาเพศเมียปกติ นวลมณี และมำนพ (2542) ศึกษา ผลของฮอร์โมน 17α-methyltestosterone (MT) และ 11-hydroxyandrostenedione (HAS) ต่อการเปลี่ยนเพศปลาดุกเทศ (Clarias gariepinus) โดยทดลองแช่ ลูกปลาอายุ 3 และ 4 สัปดาห์ ในสารละลาย ฮอร์โมน MT พบว่าการแช่ลูกปลาอายุ 3 สัปดาห์ ในฮอร์โมนเข้มข้น 20 ไมโครกรัม/ลิตร เป็นระยะเวลา 4 สัปดาห์ มีผลท าให้ลูกปลา เป็นเพศเมียสูงสุดเฉลี่ย 85.43±9.06 เปอร์เซ็นต์ ปลาเพศเมียดังกล่าวมีความยาว น ้า ห นัก GSI แ ล ะ อัต ร า ร อ ด เ ฉ ลี่ย 16.33±1.20 เซนติเมตร 30.99±4.59 กรัม 0.094±0.032 เปอร์เซ็นต์ และ 55.83±5.20 เปอร์เซ็นต์ ตามล าดับ ฮอร์โมน MT มีผล ท าให้ปลาดุกเทศถูกเปลี่ยนเป็นเพศผู้ได้ สูงสุดเฉลี่ย 59.66±10.48 เปอร์เซ็นต์เมื่อ แช่ลูกปลาอายุ 3 สัปดาห์ ในฮอร์โมน MT เข้มข้น 50 ไมโครกรัม/ลิตร เป็นระยะเวลา 3 สัปดาห์ โดยปลาเพศผู้ดังกล่าวมีความยาว น ้า ห นัก GSI แ ล ะ อัต ร า ร อ ด เ ฉ ลี่ย 20.37±3.31 เซนติเมตร 59.74±33.15 กรัม 0.058±0.031 เปอร์เซ็นต์ และ 45.56±31.51 เปอร์เซ็นต์ ตามล าดับ ส่วนฮอร์โมน HAS พบว่าไม่มีผลต่อการเปลี่ยนเพศปลาดุกเทศ
เร ื่องท ี่3 กำรผสมข้ำม บทที่1 ชีววิทยา - 21 - ตอนที่2 การพัฒนาสายพันธุ์ปลาดุก กำรผสมข้ำมชนิดหรือข้ำมสำยพั นธุ์ ท าให้เกิดปรากฏการณ์ที่เรียกว่าเฮตเทอโรซีส (h e t e r o s i s ) ห รื อ ไ ฮ บ ริ ด วิเ ก อ ร์ (hybrid vigour) (Falconer and Mackay, 1996) ส่งผลให้ลูกผสมมีลักษณะดีกว่ารุ่น พ่อแม่อย่างไรก็ตาม ปรากฏการณ์นี้มัก เกิดในลูกผสมรุ่นที่1 เท่านั้นแต่สามารถ น า ม าป ร ะ ยุ กต์ ใ ช้ กั บ ก า ร ผ ลิต ป ล าดุ ก ลูกผสมบิ๊กอุย หรือปลาดุกลูกผสมระหว่าง สายพันธุ์ต่าง ๆ ท าให้ผลิตลูกพันธุ์ที่มี ลักษณะดีกว่ารุ่นพ่อแม่เพื่อจ าหน่าย เผยแพร่ให้ผู้ประกอบการน าไปเพิ่มผลผลิต ปลาดุกได้ วิวัฒน์ (2533) ท าการผสมข้ามสายพันธุ์ ปลาดุกอุยแบบกึ่งพบกันหมด (semidiallel cross) เพื่อศึกษาผลการผสมข้าม สายพันธุ์ต่อลักษณะการเจริญเติบโต และ ความต้านทานโรค โดยท าการรวบรวม ปลาดุกอุยพื้นเมืองจากจังหวัดสงขลาและ สระบุรีผสมข้ามสายพันธุ์แบบกึ่งพบกัน หมด จากนั้นเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของ ลักษณะการเจริญเติบโตและความต้านทาน เชื้อ Aeromonas hydrophila ของปลา ทุกคู่ผสม พร้อมทั้งศึกษาค่าเฮตเทอโรซีส ในลักษณะดังกล่าว พบว่า ลูกปลาที่เกิด จากการผสมข้ามระหว่างปลาเพศเมียจาก จังหวัดสงขลา (ภาคใต้) กับปลาเพศผู้จาก จังหวัดสระบุรี (ภาคกลาง) มีการเจริญเติบโต สูงกว่าปลาชุดอื่น และแสดงค่าเฮตเทอโรซีส ในลักษณะน ้าหนักตัวและความยาว เฉลี่ยที่อายุ 2, 3 และ 3.5 เดือน ส่วนปลาที่ เกิดการผสมระหว่างปลาเพศเมียภาคกลาง กับปลาเพศผู้ภาคใต้ไม่แสดงเฮตเทอโรซีส ในส่วนของการศึกษาการต้านทานเชื้อ A. hydrophila พบว่าไม่มีความแตกต่าง ทางสถิติในกลุ่มปลาทดลองและไม่แสดง เฮตเทอโรซีส แต่ลูกปลาที่เกิดจากการผสม ข้ามทั้ง 2 ชุดการทดลอง มีแนวโน้มที่จะ ทนทานเชื้อ ดังกล่าวได้มากกว่าปลาที่เกิด จากการผสมภายในกลุ่มอีก 2 ชุดการ ทดลอง และความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะ การเจริญเติบ โตกับความต้านทาน โรค ลักษณะการเจริญเติบโตกับอัตรารอด และ อัตรารอดกับความต้านทานโรค พบว่าไม่มี ความสัมพั นธ์กันทางสถิติ ในทุกคู่ของ ลักษณะที่ท าการศึกษา อุไร (2558) ศึกษาความแตกต่าง ทางพันธุกรรมระหว่างประชากรภายในชนิด ของปลาดุกยักษ์และปลาดุกอุยชนิดละ 3 ปร ะชากร โดยเก็บตัวอย่างปลาดุกอุย ประชากรธรรมชาติจาก อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.นครศรีธรรมราช อ.เมือง จ.อุบลราชธานี และประชากรที่ผ่านการปรับปรุงพันธุ์ ภาควิชาเพาะเลี้ยงสัตว์น ้า คณะประมง มห า วิทย า ลัยเกษต รศ าสต ร์ แ ล ะเก็บ ตัวอย่างปลาดุกยักษ์ประชากรโรงเพาะฟัก ณ ฟ า ร์ ม อ.โ ช ค ชั ย จ .น ค ร ร า ช สี ม า ศูนย์วิจัยพัฒนาปร ะมงน ้าจืดร ะยอง อ.ปลวกแดง จ.ระยอง และประชากรที่ผ่าน การปรับปรุงพันธุ์ภาควิชาเพาะเลี้ยงสัตว์น ้า
คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์น าไปเลี้ยงไว้ณ ส านักงานประมงจังหวัด นครราชสีมาเป็นเวลา 1 ปีแล้วน าไปเพาะเพื่อท าการทดลองที่ภาควิชาเพาะเลี้ยงสัตว์น ้า คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (ยกเว้นประชากรปลาดุกยักษ์ปรับปรุงพั นธุ์) ท าการวิเคราะห์เครื่องหมายพันธุกรรมไมโครแซทเทลไลท์ดีเอ็นเอ จ านวน 5 ต าแหน่ง เปรียบเทียบการแสดงออกของปลาลูกผสมที่เกิดจากพ่อและแม่ปลาสายพันธุ์ต่าง ๆ กัน และ ศึกษาผลของสายพันธุ์ปลาดุกยักษ์และปลาดุกอุยที่มีต่อลักษณะที่ส าคัญทางเศรษฐกิจของ ปลาดุกลูกผสม ผลการศึกษาแสดงว่า ความหลากหลายทางพันธุกรรมภายในประชากรปลาดุกอุย มีค่าสูง ส่วนปลาดุกยักษ์มีค่าต ่า มีความแตกต่างทางพันธุกรรมระหว่างทุกคู่ประชากร อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ ระยะห่างทางพันธุกรรมภายในชนิดของปลาดุกอุยมีค่า 0.031- 0.044 ของปลาดุกยักษ์มีค่า 0.031-0.065 ท าการผสมระหว่างปลาดุกอุยเพศเมีย 3 สายพันธุ์ และปลาดุกยักษ์เพศผู้ 3 สายพันธุ์ ได้ปลาลูกผสม 9 คู่ผสม และท าการผสมภายในสายพันธุ์ อีก 6 คู่ผสม น าลูกผสมเลี้ยงในถังพลาสติกและในกระชังจนมีอายุ 25 สัปดาห์ พบว่า อิท ธิพลของส ายพั น ธุ์พ่ อ แม่ แล ะอิท ธิพล ร่วม ร ะหว่ างส ายพั น ธุ์พ่ อ แม่ มีผลต่อ ค่าการเจริญเติบโตจ าเพาะ (specific growth rate, SGR) ในช่วงอายุ 4-12 สัปดาห์ อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ แต่สายพั นธุ์พ่อแม่และอิทธิพลร่วมระหว่างสายพันธุ์พ่อแม่ ไม่มีผลต่อ SGR ระหว่างอายุ 13-25 สัปดาห์ และลักษณะอื่นๆ ได้แก่อัตรารอด เปอร์เซ็นต์ซากและการตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน ส่วนค่าเฉลี่ยเฮตเทอโรซีสมีค่าต ่า (น้อยกว่า 1 เปอร์เซ็นต์) ยกเว้นอัตรารอดที่อายุ 13-25 สัปดาห์ซึ่งมีค่าเฉลี่ย 5.43-19.59 เปอร์เซ็นต์ ค่าเฉลี่ยเฮตเทอโรซีสของปลาลูกผสมระหว่างปลาดุกอุยเพศเมีย จังหวัดอุบลราชธานี และปลาดุกยักษ์เพศผู้จากภาควิชาเพาะเลี้ยงสัตว์น ้า คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มีค่าสูง (4.29 เปอร์เซ็นต์) และมีค่าเป็นบวกในเกือบทุกลักษณะ (91.66 เปอร์เซ็นต์) ของลักษณะทั้งหมดที่ศึกษา อุทัยรัตน์ และคณะ (2562) และ อุทัยรัตน์ (2563) ได้รายงานผลการปรับปรุงพันธุ์ ปลาดุกยักษ์ในลักษณะการเจริญเติบโตในด้านน ้าหนักตัว ในการใช้ประโยชน์จากศักยภาพ ทางพันธุกรรม เพื่อปรับปรุงพันธุกรรมของปลาชนิดนี้ให้ดีขึ้นกว่าเดิม ซึ่งมีความเป็นไปได้ ที่จะเป็นปร ะโยชน์ต่อกา รผลิตปลาดุกบิ๊กอุยต่อไป โดยในการสร้างประชากรเริ่มต้น Wachirachaikarn and Na-Nakorn (2019) ได้ศึกษาความแตกต่างทางพันธุกรรมของ ปลาดุกยักษ์จากฟาร์มที่มีประวัติการเลี้ยงยาวนานมากกว่า 10 ปีด้วยเครื่องหมายไมโครแซทเทลไลท์ ดีเอ็นเอ จ านวน 6 ต าแหน่ง แล้วเลือกประชากรที่มีความแตกต่างกันมา 3 ปร ะชากร จากนั้นท าการผสมแบบ nested design โดยน ้าเชื้อจากปลาเพศผู้1 ตัว ผสมกับ ไข่ ปลาเพศเมียจากประชากรต่างๆ 2-3 ตัว ได้ครอบครัวที่เป็น full-sib 90 ครอบครัว บทที่1 ชีววิทยา - 22 - ตอนที่2 การพัฒนาสายพันธุ์ปลาดุก
และ half-sib 29 ชุด ในระยะแรกเลี้ยงปลาแต่ละครอบครัวแยกในกระชังที่ตรึงในบ่อ PE เส้นผ่าศูนย์กลาง 10 เมตร จ านวน 2 บ่อ ครอบครัวละ 2 กระชัง แยกในแต่ละบ่อ (เพื่อให้เกิดความแปรปรวนของสิ่งแวดล้อม เพื่อประโยชน์ในการค านวณความแปรปรวน ทางพันธุกรรม) เมื่อปลามีขนาดพอที่จะติดเครื่องหมายได้(อายุประมาณ 100 วัน) ท าการ ติดเครื่องหมายรายครอบครัว และปล่อยเลี้ยงรวมกันทุกครอบครัวในบ่อ PE 2 บ่อ และ เพื่อศึกษา genotype x environment interaction ได้น าปลาอีกชุดหนึ่งเลี้ยงในบ่อดิน จ านวน 2 บ่อ ท าการชั่งวัดเมื่ออายุ138 วัน น าข้อมูลที่ได้มาค านวณความแปรปรวน ทางพันธุกรรม คุณค่าการผสมพันธุ์ (EBV) และอัตราพันธุกรรม โดยใช้ animal model ผลการศึกษาพบว่า ประชากรเริ่มต้นนี้มีอัตราพันธุกรรมของน ้าหนักตัวอยู่ในระดับปานกลาง (h2=0.35±0.07) และ Srimai et al. (2019) รายงานว่าไม่พบปฏิกิริยาระหว่างพันธุกรรม และสิ่งแวดล้อม เมื่อเลี้ยงปลาดุกยักษ์ประชากรเริ่มต้นในสิ่งแวดล้อมต่างกัน แสดงว่าปลา ที่จะปรับปรุงพันธุ์นี้สามารถเลี้ยงในบ่อ PE หรือบ่อดินได้โดยพั นธุกรรมยังแสดงออกได้ เหมือนเดิม ดังนั้นการคัดเลือกท าโดยใช้ค่า EBV เฉลี่ยของครอบครัวเป็นเกณฑ์โดยค่า EBV เฉลี่ยรายครอบครัวมีค่าระหว่าง -13.77 และ 18.51 กรัม ท าการคัดเลือกครอบครัวที่มีค่า EBV สูงสุด 17 ครอบครัว (EBV=7.47-18.51 กรัม) ไว้เป็นพ่อแม่พันธุ์คิดเป็นสัดส่วนที่คัดไว้ 20.73% มีความเข้มของการคัดเลือก (selection intensity, i) เท่ากับ 1.372 โดยก่อน การคัดเลือก ได้เก็บตัวแทนครอบครัวที่มีค่า EBV ใกล้เคียงกับค่าเฉลี่ยไว้17 ครอบครัว เช่นกัน เพื่อใช้เป็นประชากรควบคุม ปลาที่คัดไว้น าไปเลี้ยงจนเจริญพันธุ์อายุประมาณ 1 ปี จึงเพาะพันธุ์เพื่อศึกษาการตอบสนองต่อการคัดเลือก (response to selection) โดยวางแผนการผสมพั นธุ์แบบ partial factorial คือ น ้าเชื้อปลาตัวหนึ่งผสมกับ ปลาครอบครัวอื่นๆ 4-6 ครอบครัว โดยผสมแยกครอบครัว ในท านองเดียวกัน ไข่จากปลา แต่ละตัวก็แบ่งออกเป็น 4-6 ส่วน แต่ละส่วนผสมกับน ้าเชื้อปลาต่างครอบครัว รวมแล้วได้ full-sib 51 ครอบครัว half-sib 14 ชุด ส่วนกลุ่มควบคุมก็ท าเช่นเดียวกันได้ full-sib 62 ครอบครัว half-sib 16 ชุด เมื่อปลาโตได้ขนาด ท าการติดเครื่องหมายรายครอบครัวและ เลี้ยงรวมกันในบ่อดิน 2 ซ ้า ท าการชั่งวัดเมื่อปลามีอายุ160 วัน ปลากลุ่มคัดเลือกมีน ้าหนักตัว เฉลี่ย 297.78±119.37 กรัม และกลุ่มควบคุมมีน ้าหนักเฉลี่ย 2 7 1.16±10 7.8 5 ก รัม จากนั้น Srimai et al. (2020) ได้น าข้อมูลที่ได้จากการศึกษาผลตอบสนองต่อการคัดเลือก มาวิเคราะห์ความแปรปรวน และเนื่องจากในการเลี้ยงเปรียบเทียบมีปัจจัยหลายประการ ที่อาจส่งผลต่อน ้าหนักตัวปลา จึงได้น าปัจจัยเหล่านั้นได้แก่บ่อ ครอบครัว และเพศ เป็นปัจจัยร่วมในการวิเคราะห์ และท าการเปรียบเทียบ least square mean (LSM) บทที่1 ชีววิทยา - 23 - ตอนที่2 การพัฒนาสายพันธุ์ปลาดุก
พบว่า LSM ของน ้าหนักตัวกลุ่มคัดเลือกมีค่าเท่ากับ 297.78±1.93 กรัม และกลุ่มควบคุม เท่ากับ 269.00±1.93 กรัม มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ (P<0.0001) คิดเป็นความก้าวหน้าของการคัดเลือก 10.37% ผลตอบสนองการคัดเลือกระดับนี้นับว่าอยู่ ในช่วงเดียวกับที่มีรายงานในปลาชนิดอื่นๆ อย่างไรก็ตามการคัดเลือกไว้ถึง 20.73% นับว่า มีความเข้มของการคัดเลือกต ่า แต่ในกรณีนี้มีความจ าเป็นเนื่องจากครอบครัวทั้งหมด มีน้อย หากคัดเลือกในสัดส่วนที่น้อยกว่านี้อาจท าให้เกิดการผสมเลือดชิดได้ บทที่1 ชีววิทยา - 24 - ตอนที่2 การพัฒนาสายพันธุ์ปลาดุก เร ื่องท ี่4 ไจโนเจเนซีส (gynogenesis) มีรายงานการวิจัยด้านการผลิต ปลาดุกอุยที่ได้รับพันธุกรรมจากแม่ฝ่ายเดียว หรือไจโนเจเนซีส (gynogenesis) ซึ่งเป็น การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศแบบหนึ่งซึ่งพบ น้อยมาก ในธรรมชาติ เป็นการสืบพั นธุ์ ตามปกติแต่เมื่อนิวเคลียสของเชื้อเพศผู้ เข้าไปภายในไข่สารพันธุกรรมของเชื้อเพศผู้ จะสูญเสียคุณสมบัติไป การปฏิสนธิไม่ เกิดขึ้นและส่วนหัวของเชื้อเพศผู้จะถูก ก าจัดไปหลังการผสมกับไข่ได้ไม่นาน โดย จะเกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม 2 ประการ คือ การกลายที่ท าให้สารพันธุกรรม ของเชื้อเพศผู้เสียคุณสมบัติไป (inactivation) และการกลายที่ท าให้ไข่ของปลาชนิดนั้น ๆ มี โคร โม โซม 2 ชุด การสืบพันธุ์แบบนี้ สังเกตได้จากการที่สัตว์น ้าชนิดนั้น ๆ มีแต่ สัตว์เพศเมียในธรรมชาติ (Kirpichnikov, 1981) กระบวนการเหนี่ยวน าไจโนเจเนซีสประกอบ ไปด้วยการน าไข่ปลามาผสมกับน ้าเชื้อ สัตว์น ้าชนิดเดียวกันหรือต่างชนิดกันที่ถูก ท าลายสารพั นธุกรรม โดยการฉายรังสี อัลตราไวโอเลตที่ความเข้มข้นรังสีและ ระยะเวลาฉายรังสีที่เหมาะสมกับสัตว์น ้า แต่ละชนิด แล้วน าไข่ที่ได้รับการผสมไปช็อค ด้วยอุณหภูมิสูงหรือต ่า (temperature shock) เพื่อให้เกิดการเพิ่มจ านวนชุด โครโมโซม โดยให้ตัวอ่อนที่มีชุดโครโมโซม ชุดเดีย ว (haploid) ก ล ายเป็น 2 ชุด (diploid) หรือมากกว่านั้น (polyploid)
วิเชียร (2533) ศึกษาการเหนี่ยวน า ไจ โนเจเนซีสในปลาดุกอุย พบว่ า รังสี อุลตราไวโอเลตที่ความเข้มข้นระหว่าง 201.38-604.14 erg2mm2-sec และ ระยะเวลาฉายรังสีนาน 2 และ 7 นาที เป็น สภาวะที่เหมาะสมในการ inactivate น ้าเชื้อ ปลาสวาย ส่งผลให้อัตราฟักของลูกปลา haploid สูงกว่าชุดการทดลองอื่นๆ พบว่า การช็อคด้วยอุณหภูมิ 7 องศาเซลเซียส (cold shock) โดยช็อคทันทีหลังการ ผสมเทียม (0 นาที) และช็อคนาน 20 นาที สามา รถเหนี่ยวน า ให้เกิดตัวอ่อนที่มี โครโมโซม 3 ชุด หรือ triploid (3n=81) ได้สูงสุดที่ 80 เปอร์เซ็นต์ โดยมีอัตราฟัก และอัตรารอด 55.19 และ 3.50 เปอร์เซ็นต์ ตามล าดับ หลังจากนั้นท าการเหนี่ยวน า ไจโนเจเนซีสด้วยสภาวะที่เหมาะสมดังกล่าว พบว่าสามารถเหนี่ยวน าให้เกิดไจโนเจเนซีส ในปลาดุกอุยได้อย่างไรก็ตาม ลูกปลาที่ เกิดจากขบวนการไจโนเจเนซีสมีอัตราฟัก และอัตรารอดต ่า (0.32-20.05 และ 0.00- 9.25 เปอร์เซ็นต์ ตามล าดับ) สำยใจ (2539) ทดลองเหนี่ยวน าให้ เกิดไจโนเจเนซีสในปลาดุกอุย พบว่า การ เหนี่ยวน าที่ระยะเวลาผสมไข่กับน ้าเชื้อนาน 4.5 นาที ช็อคเป็นระยะเวลานาน 14 นาที ด้วยความเย็นอุณหภูมิตั้งแต่ 6- 1 1 องศาเซลเซียสพบว่าให้อัตราฟักของลูกปลา ดิพลอยด์ ไจ โนเจเนซีสไม่แตกต่างกัน โดยมีค่าอยู่ระหว่าง 30.65-48.24 เปอร์เซ็นต์ และการเหนี่ยวน าด้วยความร้อนอุณหภูมิ 42 องศาเซลเซียส ช็อคนาน 1 นาที ให้ อัตราฟักของลูกปลาดิพลอยด์ไจโนเจเนซีส สูงสุดที่21.79 เปอร์เซ็นต์และเมื่อศึกษา เปรียบเทียบระหว่างการเหนี่ยวน าด้วย ความเย็น (อุณหภูมิ 7 องศาเซลเซียส นาน 14 นาที) แล ะความร้อน (อุณหภูมิ 42 องศาเซลเซียส นาน 1 นาที) จากแม่ปลา จ านวน 11 ตัว พบว่า การเหนี่ยวน าด้วย ความเย็นให้เปอร์เซ็นต์การเกิดดิพลอยด์ ไจโนเจเนซีส 13.40-30.47 เปอร์เซ็นต์ สูงกว่าการเหนี่ยวน าด้วยความร้อน (2.52- 10.88 เปอร์เซ็นต์) บทที่1 ชีววิทยา - 25 - ตอนที่2 การพัฒนาสายพันธุ์ปลาดุก
เอกสำรอ้ำงอิง - 26 - กรมประมง. ม.ป.ป. การเพาะเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุย. เอกสารค าแนะน า. ฝ่ายเผยแพร่, ส านักพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีการประมง, กรมประมง. 36 หน้า. กฤษณุพันธ์ โกเมนไปรรินทร์, สง่า ลีสง่า และสุภัทรา อุไรวรรณ์. 2547. การคัดเลือก ปลาดุกอุยโดยวิธีการคัดเลือกแบบหมู่เพื่อเพิ่มอัตราการเจริญเติบโต. สัมมนาวิชาการประมงประจ าปี2547. กรมประมง. หน้า 599-612. เด่นนภา รัษฐปานะ. 2539. การศึกษาค่าอัตราพันธุกรรมของ ลักษณะความต้านทานโรค น ้าหนักตัวและความยาวล าตัว ของปลาดุกอุย Clarias macrocephalus. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เพาะเลี้ยงสัตว์น ้า), ภาควิชา เพาะเลี้ยงสัตว์น ้า, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 67 หน้า. เฉิดฉัน อมาตยกุล, สืบพงษ์ฉัตรมาลัย, สุรางค์ สุมโนจิตราภรณ์, ประดิษฐ์ศรีรัตนประสิทธิ์, ยรรยง ตันตาปกุล, สันติชัย รังสิยาภิรมย์, สง่า ลีสง่า, อัญชลี ตันติกุล, สุภรณ์ กิ้มสงวน และวัชรินทร์ รัตนชู. 2538. ปลาดุก. กองประมงน ้าจืด, กรมประมง. 171 หน้า. ธวัช ดอนสกุล และวิเชียร มากตุ่น. 2532. การศึกษาโครโมโซมของปลาดุกด้านและ ปลาดุกอุยที่พบในประเทศไทย. ในการประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 27 สาขาสัตว์ สัตวแพทย์ ประมง. หน้า 421-428. ธวัชชัย งามศิริ 2543. การศึกษาความหลากหลายทางพั นธุกรรมของปลาดุกอุย (Clarias macrocephalus) ในภาคใต้ของประเทศไทยโดยวิธีวิเคราะห์ไอโซไซม์. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เพาะเลี้ยงสัตว์น ้า). ภาควิชา เพาะเลี้ยงสัตว์น ้า, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 65 หน้า. นวลมณี พงศ์ธนา. 2537. การควบคุมปลาดุกอุยให้เป็นเพศเมียทั้งหมด. เอกสารวิชาการ ฉบับที่ 6. สถาบันวิจัยและพัฒนาพันธุกรรมสัตว์น ้า, กรมประมง. 26 หน้า. นวลมณีพงศ์ธนา และมานพ ตั้งตรงไพโรจน์. 2542. ผลของฮอร์โมน 17α-methyltestosterone และ 11-hydroxyandrostenedione ต่อการเปลี่ยนเพศปลาดุกเทศ. เอกสาร วิชาการฉบับที่ 24/2542. สถาบันวิจัยและพัฒนาพันธุกรรมสัตว์น ้า, กรมประมง. 23 หน้า. ณรงค์ศักดิ์ศิริชัยพันธุ์, นฤพล สุขุมาสวิน, โชคชัย ศุภศันสนีย์ และสุดชดา อักขราสา. 2541. ผลของ17α-Ethynylstradiol ต่อการเปลี่ยนเพศของปลาดุกอุย. เอกสาร วิชาการฉบับที่ 7/2541. กองประมงน ้าจืด, กรมประมง. 24 หน้า. มงคล ว่องสมบัติ. 2559. การเพาะพันธุ์และการเลี้ยงปลาดุก. พิมพ์ครั้งที่ 3. เกษตรสยาม, กรุงเทพฯ. 128 หน้า.
เอกสำรอ้ำงอิง - 27 - เมตตา ทิพย์บรรพต, สุชาติ จุลอดุง และกฤษณุพั นธ์ โกเมนไปรรินทร์. 2554. การตอบสนองการคัดเลือกแบบหมู่เพื่อเพิ่มการเจริญเติบโตปลาดุกอุยในรุ่นที่ 3 และรุ่นที่ 4. การประชุมวิชาการกรมประมง ประจ าปี 2554. กรมประมง. หน้า 239-248. พรรณศรี จริโมภาส, สมโภชน์ อัคคะทวีวัฒน์, อภิรัตนา คุ้มเณร และสมาน วงศ์จันทร์. 2533. การคัดพันธุ์ปลาดุกอุยโดยดูลักษณะตัวเองจากการเจริญเติบโต 4 รุ่น. รายงานการสัมมนาวิชาการประจ าปี 2533. กรมประมง. หน้า 722-730. วิเชียร เหลืองพรหมพร. 2533. การเหนี่ยวน าให้เกิดไจโนเจเนซีสในปลาดุกอุย. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตร์การประมง). โครงการ วิทยาศาสตร์การประมง, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 40 หน้า. วิวัฒน์ ชวนะนิกุล, สุมิตรา วัฒโนดร และวัฒนา วัฒนวิจารณ์. 2532. การศึกษาจ านวน และรูปร่างโครโมโซมในปลานา ้จืดของไทย 7 ชนิด. รายงานผลการวิจัยทุนวิจัย งบประมาณแผ่นดิน 2531. คณะสัตวแพทย์ศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 15 หน้า. วิวัฒน์ ปรารมภ์. 2533. ผลการผสมข้ามสายพั นธุ์ของปลาดุกอุยต่อลักษณะ การเจริญเติบโตและความต้านทานโรค. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตร์การประมง). โครงการวิทยาศาสตร์การประมง, มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์. 71 หน้า. สายใจ วิชญ์สันต์กุล. 2539. การศึกษาประสิทธิภาพของการเหนี่ยวน าดิพลอยด์ ไจโนเจเนซีสในปลาดุกอุยโดยวิธีการช็อคด้วยความเย็นและความร้อน. วิทยานิพนธ์ ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตร์การประมง). โครงการวิทยาศาสตร์ การประมง, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 40 หน้า. สุจินต์ หนูขวัญ, ก าชัย ลาวัณยวุฒิ, มานพ ตั้งตรงไพโรจน์และปรัชชัย วีรสิทธิ์. 2533. การเพาะพันธุ์ปลาดุกลูกผสมกับปลาดุกอุยและปลาดุกเทศ ในรายงานผลการวิจัย สาขาสัตว์ สัตวแพทย์และประมง การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ครั้งที่ 28. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ โสภา อารีรัตน์. 2513. พันธุ์ปลาดุกที่พบในประเทศไทย. เอกสารวิชาการฉบับที่ 9. กองบ ารุงพันธุ์สัตว์น ้า, กรมประมง. 19 หน้า. ส านักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดล้อม. 2540. สถานภาพทรัพยากรชีวภาพของประเทศไทย. กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม, กรุงเทพฯ. ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน ้าจืดอุดรธานี. 2531. การเพาะเลี้ยงปลาดุกยักษ์. กองประมงน ้าจืด, กรมประมง. 7 หน้า.
เอกสำรอ้ำงอิง - 28 - ศรีจรรยา สุขมโนมนต์. 2546. การพัฒนาไมโครแซทเทลไลท์ไพรเมอร์ส าหรับปลาดุกอุย และการประยุกต์เพื่อการศึกษาพันธุศาสตร์ประชากร. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยา ศาสตรมหาบัณฑิต (เพาะเลี้ยงสัตว์น ้า). ภาควิชาเพาะเลี้ยงสัตว์น ้า, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 105 หน้า. อารีย์ สิทธิมังค์. 2514. การเพาะเลี้ยงปลาดุก. เอกสารวิชาการฉบับที่ 11. กองบ ารุงพันธุ์สัตว์น ้า, กรมประมง. 19 หน้า. อาจินต์ ช านาญคุรุเวท. 2539. ผลตอบสนองการคัดพันธุ์แบบสองทิศทางในอัตรา การเจริญเติบโตของปลาดุกอุย. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เพาะเลี้ยงสัตว์น ้า). ภาควิชาเพาะเลี้ยงสัตว์น ้า, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์. 61 หน้า. อัธยา อรรถอินทรีย์. 2545. ความหลากหลายทางพันธุกรรมของปลาดุกด้าน (Clarias batrachus) ในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เพาะเลี้ยงสัตว์น ้า), ภาควิชาเพาะเลี้ยงสัตว์น ้า, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์. 68 หน้า. อัญลักษณ์ วชิรไชยการ. 2551. การใช้เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อการปรับปรุงพันธุ์ปลาดุกยักษ์ (Clarias gariepinus) วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (พันธุวิศวกรรม), โครงการสหวิทยาการระดับบัณฑิตศึกษา, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 80 หน้า. อุไร กุลบุญ. 2558. ผลของสายพันธุ์ปลาดุกยักษ์ Clarias gariepinus (Burchell, 1822) และปลาดุกอุย Clarias macrocephalus Gunther, 1864. ต่อการ แสดงออกของลูกผสม “บิ๊กอุย”. ปริญญาปรัชญาดุษฏีบัณฑิต (เพาะเลี้ยงสัตว์น ้า). ภาควิชาเพาะเลี้ยงสัตว์น ้า, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. 101 หน้า. อุทัยรัตน์ ณ นคร. 2544. ปลาดุก. พิมพ์ครั้งที่ 2. ส านักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 140 หน้า. อุทัยรัตน์ ณ นคร. 2563. การปรับปรุงพันธุ์สัตว์น ้าเบื้องต้น. คณะประมง, มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 160 หน้า อุทัยรัตน์ ณ นคร, ธวัชชัย งามศิริ, วงศ์ปฐม กมลรัตน์, สมศรี งามวงศ์ชน และ พงศ์เชฏฐ์ พิชิตกุล. 2542 ก. การศึกษาความหลากหลายของ isozymes ภายในชนิดของ ปลาดุกอุย, Clarias macrocephalus. หน้า 587-588, ในรายงานผลการวิจัย ด้านความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย. โครงการพัฒนาองค์ความรู้และ ศึกษานโยบายการจัดการทรัพยากรชีวภาพในประเทศไทย, กรุงเทพฯ.
เอกสำรอ้ำงอิง - 29 - อุทัยรัตน์ ณ นคร, พนม สอดสุข, ประจิตร วงศ์รัตน์ และ สมหมาย เจนกิจการ. 2542 ข. การศึกษาความแตกต่างระหว่างชนิดของปลาสกุล Clarias ด้วยการวิเคราะห์ isozyme. หน้า 593-602, ในรายงานผลการวิจัยด้านความหลากหลายทางชีวภาพ ของประเทศไทย. โครงการพัฒนาองค์ความรู้และศึกษานโยบายการจัดการ ทรัพยากรชีวภาพในประเทศไทย, กรุงเทพฯ. อุทัยรัตน์ ณ นคร, ศกร คุณวุฒิฤทธิรณ, ประพันธ์ศักดิ์ศีรษะภูมิ, สุภาวดี พุ่มพวง, สุรินทร บุญอนันธนสาร, อุไร กุลบุญ, วันศุกร์ เสนานาญ, ณิชนันท์ แมคมิลแลน, ฉัตรชัย ไทยทุ่งฉิน, สาทิต ฉัตรชัยพั นธ์, อัญลักษณ์ วชิรไชยการ, ระบือศักย์ ขุมทอง, วิรุฬห์ มณีอภัย, อนุรักษ์ บุญน้อย, ประไพพรรณ ชัยวิชู, อรปราง สุทธเกียรติ, วิษณุศรีไม้และ พีระ เอี่ยมภัทรพงศ์. 2562. โค รงก า รพั นธุศ าสต ร์แล ะ เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อการปรับปรุงผลผลิตสัตว์น ้า: รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์. ส านักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม. 108 หน้า. Falconer, D.S. and T.F.C. Mackay. 1996. Introduction to Quantitative Genetics. Longman, Essex, UK. Froese, R. and D. Pauly. 2011. Species of Clarias in FishBase. December 2011 version. แหล่งที่มาhttps://en.wikipedia.org/wiki/Clarias#cite_note- fishbase-1 ค้นเมื่อ 18 เมษายน 2566. Kirpichnikov, V.S. 1981. Genetic of Fish Selection. Springer-verlag, New York, U.S.A. 410 p. Mongkolprasit, S., S. Sontirat, S. Vimollohakarn and T. Songsirikul. 1997. Checklist of Fishes in Thailand. Office of Environmental Policy and Planning, Bangkok, Thailand. 353p. Muiocha, D.A., S. Onming and U. Na-Nakorn. 2017. Growth performance, genetic diversity and morphometric traits of and introduced wildand a hatchery population of Clarias macrocephalus Günther, 1864. Journal of Fisheries and Environment 41(2): 1-19. Na-Nakorn, U., S. Chantsawang and W. Tarnchalanukit. 1994. Response to mass selection for resistance to Aeromonas hydrophila in Clarias macrocephalus. Journal of Applied Aquaculture 4(4): 65-74. Ozouf-Costaz, C., G.G. Teugels and M. Legendre. 1989. Karyological analysis of three strains of the African catfish, Clarias gariepinus (Clariidae), used in aquaculture. Aquaculture 87:271-277.
เอกสำรอ้ำงอิง - 30 - Srimai, W., S. Koonawootrittriron, W. Manee-aphai, S. Cahtchaiphan, U. Koolboon and U. Na-Nakorn. 2019. Genetic parameters and gynotype-environment interaction for growth traits of North African catfish, Clarias gariepinus (Burchell, 1822). Aquaculture 501: 104-110. Srimai, W., S. Koonawootrittriron, P. Chaivichoo, W. Manee-aphai, A. Phuonnim, U. Koolboon and U. Na-Nakorn. 2020. Selection response for growth and genetic parameters of North African catfish, Clarias gariepinus (Burchell, 1822). Aquaculture 513: 734431. Srisapoome, P., S. Cahtchaiphan, A. Bunnoy, S. Koonawootrittriron and U. Na-Nakorn. 2019. Heritability of immunity traits and disease resistance of bighead catfish, Clarias macrocephalus Günther, 1864. Fish and Shellfish Immunology 92: 209-215. Sukmanomon, S., S. Poompuang and M. Nakajima. 2003. Isolation and characterization of microsatellites in the Asian walking catfish Clarias macrocephalus. Molecular Ecology Notes 3(3): 350-351. Teugels, G.G. 1996. Taxonomy, phylogeny, and biogeography of catfishes (Ostariophysi, Siluroidei): an overview. Pp. 9-34 In Lenendre, M. and J.P. Proteau (eds.) Aquatic Living Resources 9. Hors Serie. Wachirachaikarn, A. and U. Na-Nakorn. 2019. Genetic diversity of North African catfish hatchery stocks in Thailand. Science Asia 45: 301-308.
02 UNIT การเพาะพันธุ์ - 31 - และการเล ี ้ ยง
ผู้เขียน นายณัฐพงค์วรรณพัฒน์ วุฒิ วท.บ. (วิทยาศาสตร์ทางทะเล) ต ำแหน่ง ประมงจังหวัดชลบุรี หน่วยที่เขียน บทที่2 ตอนที่1-4 - 32 - รศ. ดร. ประพันธ์ศักดิ์ศีรษะภูมิ วุฒิ Ph.D. Aquatic Biosciences (Genetics and Biochemistry) ต ำแหน่ง อาจารย์คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ หน่วยที่เขียน บทที่2 ตอนที่5
ตอนท ี ่ 1 การเพาะพันธุ์ - 33 -
เร ื่องท ี่1 กำรเล ี้ยงและกำรคัดเล ื อกพ่อแม่พันธ ุ์ บทที่2 การเพาะพันธุ์และการเลี้ยง - 34 - ตอนที่1 การเพาะพันธุ์ ปัจจุบันเกษตรกรนิยมเลี้ยงปลำดุกอุยเทศ หรือปลำดุกลูกผสม หรือปลำดุกบิ๊กอุย ที่เกิดจากการผสมระหว่างพ่อปลาดุกเทศ และแม่ปลาดุกอุย เนื่องจากมีการเจริญเติบโตที่ดี ทนทานต่อโรค เลี้ยงได้ง่ายในอัตราที่หนาแน่นสูง ระยะเวลาการเลี้ยงสั้น กินอาหารได้ หลากหลายชนิด รสชาติเป็นที่ต้องการของตลาด โดยฟาร์มเพาะพันธุ์ส่วนหนึ่งมีการเลี้ยง พ่อแม่พันธุ์เอง เฉพาะพ่อพันธุ์ดุกเทศ และแม่พันธุ์ดุกอุย บางฟาร์มมีการเลี้ยงพ่อแม่พันธุ์ ดุกเทศ และพ่อแม่พันธุ์ดุกอุยไว้เป็นพ่อแม่พันธุ์เอง เพื่อจ าหน่ายทั้งปลาดุกเทศพันธุ์แท้และ ปลาดุกอุยพันธุ์แท้บางฟาร์มใช้วิธีซื้อพ่อแม่พันธุ์มาส าหรับเพาะทั้งหมดโดยไม่มีการเลี้ยงเลย บางฟาร์มใช้วิธีจ าหน่ายลูกพันธุ์ดุกอุยแท้หรือลูกดุกเทศแท้ให้กับฟาร์มเลี้ยง แล้วซื้อพ่อแม่ ปลาดุกอุยหรือพ่อแม่ปลาดุกเทศแท้กลับมาเพาะอีกครั้ง อย่างไรก็ตามเกษตรกรจะใช้วิธีใดก็ ต้องค านึงถึงการจัดการพ่อแม่พันธุ์ตามหลักพันธุศาสตร์เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการผสมเลือด ชิดซึ่งจะท าให้เกิดปัญหาต่อลูกพันธุ์ที่ใช้ในการเลี้ยงต่อไป กำรเลี้ยงพ่อแม่พันธุ์ควรเลี้ยงในบ่อดินที่มีระดับความลึกของน ้าประมาณ 1.0-1.5 เมตร โดยปล่อยในอัตรา 5-10 ตัวต่อตารางเมตร ควรมีการถ่ายเทน ้าอย่างสม ่าเสมอ เพื่อ พัฒนาระบบสืบพันธุ์ของปลาให้มีไข่และน ้าเชื้อโดยเฉพาะช่วงก่อนฤดูผสมพันธุ์ประมาณ 2-3 เดือน ซึ่งโดยทั่วไปปลาดุกอุย และปลาดุกเทศจะมีความสมบูรณ์เพศพร้อมผสมพันธุ์ในช่วง เดือนมีนาคม-พฤศจิกายน ทั้งนี้ความสมบูรณ์เพศยังขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง เช่น อาหาร ที่ใช้เลี้ยงพ่อแม่พันธุ์อุณหภูมิน ้า อุณหภูมิอากาศ และปริมาณฝน เป็นต้น อาหารที่ใช้เลี้ยง พ่ อแม่พั นธุ์ปลาดุกส่วนใหญ่จะใช้อาหารเม็ดส าเร็จรูประดับโปรตีน ประมาณ 32-40 เปอร์เซ็นต์ และควรเสริมวิตามินและแร่ธาตุรวมประมาณ 0.3 เปอร์เซ็นต์ วิตามินอีประมาณ 0.3 เปอร์เซ็นต์ และวิตามินซีประมาณ 0.2 เปอร์เซ็นต์ (ธนาภรณ์, 2557) กำรคัดเลือกพ่อแม่พันธุ์ พ่อแม่พันธุ์ปลาดุกที่น ามาใช้ควรเป็นปลาที่สมบูรณ์ไม่พิการ ไม่บอบช ้า ไม่ควรมีขนาดอ้วนหรือผอมจนเกินไป ควรมีอายุตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป ลักษณะปลา เพศเมียที่ดีสังเกตได้จากส่วนท้องจะอูมเป่ง ผนังท้องบาง ไม่นิ่มหรือแข็งจนเกินไป ติ่งเพศ จะมีลักษณะกลมมีสีแดง หรือชมพูอมแดง ถ้าเอามือบีบเบา ๆ ที่ท้องจะมีไข่ลักษณะเป็นเม็ด กลมไหลออกมา ส่วนปลาดุกเพศผู้จะมีติ่งเพศยาวเรียวมีสีชมพูกรณีเพาะปลาดุกอุยแท้ ขนาดพ่อแม่พันธุ์ปลาดุก ควรมีขนาดน ้าหนักตัวมากกว่า 200 กรัมขึ้นไป ส่วนปลาดุกเทศ เพศผู้นิยมใช้ขนาดน ้าหนักตัวมากกว่า 500 กรัมขึ้นไป
เร ื่องท ี่2 กำรผสมพันธุ์วำงไข่และกำรวำงไข่ บทที่2 การเพาะพันธุ์และการเลี้ยง - 35 - ตอนที่1 การเพาะพันธุ์ ปัจจุบันการผสมพันธุ์ปลาดุกเทศแท้ ปลาดุกอุยแท้ และปลาดุกอุยเทศใช้วิธีผสมเทียม โดยการรีดไข่แม่พันธุ์ผสมกับน ้าเชื้อเพศผู้ ฮอร์โมนที่นิยมใช้ในการเพาะพันธุ์ปลาดุกได้แก่ฮอร์โมนสังเคราะห์ (Synthetic hormone) ได้แก่ LHRHa หรือ LRH-a มีหน่วยความเข้มข้นเป็นไมโครกรัม (µg) ซึ่งใช้ร่วมกับ สารระงับการท างานของระบบการหลั่งฮอร์โมน คือ โดมเพอริโดน (Domperidone) หรือมีชื่อ ทางการค้าว่าโมทีเลียม (Motilium) ซึ่งมีหน่วยเป็น มิลลิกรัม (mg) ขนาดที่มีขายโดยทั่วไป คือ เม็ดละ 10 มิลลิกรัม กำรฉีดฮอร์โมนผสมเทียมปลำดุกอุย ใช้ฮอร์โมนสังเคราะห์โดยการฉีดแม่ปลา ครั้งเดียวที่ระดับความเข้มข้น 20-30 ไมโครกรัมต่อแม่ปลาน ้าหนัก 1 กิโลกรัม ร่วมกับโดมเพอริโดนที่ระดับความเข้มข้น 5 มิลลิกรัมต่อแม่ปลาน ้าหนัก 1 กิโลกรัม หลังจากฉีดฮอร์โมนสังเคราะห์ ประมาณ 12-16 ชั่วโมง สามารถรีดไข่ผสมน ้าเชื้อได้ (ภาพที่5) กำรฉีดฮอร์โมนผสมเทียมปลำดุกเทศ ใช้ฮอร์โมนสังเคราะห์โดยการฉีดแม่ปลา ครั้งเดียวที่ระดับความเข้มข้น 15-30 ไมโครกรัมต่อแม่ปลาน ้าหนัก 1 กิโลกรัม ร่วมกับโดมเพอริโดนที่ระดับความเข้มข้น 5 มิลลิกรัมต่อแม่ปลาน ้าหนัก 1 กิโลกรัม หลังจากฉีดฮอร์โมนสังเคราะห์ ประมาณ 10 ชั่วโมง สามารถรีดไข่ผสมน ้าเชื้อได้ ในปลำเพศผู้ การกระตุ้นให้พ่อพันธุ์ ทั้งปลาดุกอุยและปลาดุกเทศมีน ้าเชื้อมาก ขึ้นโดยการฉีดฮอร์โมนสังเคราะห์ที่ระดับ ความเข้มข้น 5 ไม โครกรัมต่อพ่ อปลา น ้าหนัก 1 กิโลกรัม ร่วมกับโดมเพอริโดน 5 มิลลิกรัมต่อพ่ อปลาน ้าหนัก 1 กิโลกรัม ก่อนผ่าถุงน ้าเชื้อประมาณ 10 ชั่วโมง ต ำแหน่งที่เหมำ ะสมในกำรฉีด ฮอร์โมนปลำดุก คือ บริเวณกล้ามเนื้อใต้ ครีบหลังส่วนต้นเหนือเส้นข้างตัว โดยใช้ เข็มเบอร์ 22-24 ตามขนาดของปลา แทง เข็มเอียงท ามุมกับล าตัวประมาณ 30 องศา แทงลึกประมาณ 1 เซนติเมตร หลังจาก ฉีดฮอร์โมนปลาดุกแล้วขังในภาชนะที่มี ระดับน ้าเพี ยงท่วมหลังพ่ อแม่พั นธุ์ปลา เท่านั้น เพราะถ้าใส่น ้ามากเกินไปปลาจะ บอบช ้ามาก
บทที่2 การเพาะพันธุ์และการเลี้ยง - 36 - ตอนที่1 การเพาะพันธุ์ ภำพที่ 5 | การฉีดฮอร์โมนแม่ปลาดุกอุย (ภาพโดย: อติราช ไชยค า) หลังจากฉีดฮอร์โมนครบตามก าหนดแล้ว น าแม่ปลามารีดไข่ใส่ในภาชนะผิวเรียบ (ภาพที่6) เช่น กะละมังผิวเรียบ เช็ดให้แห้งและสะอาด หลังรีดไข่ให้ปิดภาชนะเพื่อป้องกัน ไม่ให้น ้าเข้าไปในภาชนะใส่ไข่แล้วผ่าเอาถุงน ้าเชื้อจากพ่อปลามาล้างพร้อมท าความสะอาด เลือดและเศษเนื้อออก น ามาวางบนผ้ามุ้งเขียวแล้วขยี้ให้ละเอียดพร้อมกับเทน ้าเกลือเข้มข้น ประมาณ 0.7% หรือน ้าสะอาด ลงบนผ้ามุ้งเขียวที่ขยี้ถุงน ้าเชื้อให้น ้าไหลผ่านเพื่อให้น ้าเชื้อ ลงไปผสมกับไข่ (ภาพที่7) ผสมไข่กับน ้าเชื้อให้เข้ากันโดยการคนเบา ๆ ด้วยขนไก่ประมาณ 1-2 นาที (ภาพที่8) จึงน าไข่ที่ได้รับการผสมแล้วไปล้างน ้าสะอาด 1 ครั้งแล้วน าไปฟกั น ้าเชื้อจากปลาเพศผู้หนึ่งตัวที่สมบูรณ์สามารถผสมกับไข่ที่ได้จากการรีดปลาเพศเมีย ประมาณ 10 ตัว กำรเตรียมน ้ำส ำหรับฟกั ไข่เป็นอีกขั้นตอนที่มีความส าคัญ เนื่องจากหากสภาพน ้าไม่ เหมาะสมแล้วอาจเกิดปัญหาไข่เสียจากการติดเชื้อรา โดยก่อนเพาะปลาดุกควรเตรียมน ้าด้วย คลอรีนผง หรือแคลเซียมไฮโปคลอไรท์ (Calcium Hypochlorite ; Ca(OCl)2 ) ในอัตรา 10- 30 ppm เปิดระบบเติมอากาศทิ้งไว้5-7 วัน หรือจนกว่าคลอรีนจะสลายตัว โดยตรวจสอบ การสลายตัวของคลอรีนด้วยชุดทดสอบคลอรีนภาคสนาม จึงน าน ้าไปใช้นอกจากนี้อุปกรณ์ ที่ใช้ในการเพาะปลาและฟกั ไข่ควรฆ่าเชื้อด้วยด่างทับทิม (Potassium permanganate, KMnO4 ) ในอัตรา 20-25 ppm แช่นาน 24 ชั่วโมง ไข่ปลาดุกอุยที่สมบูรณ์ควรมีลักษณะกลมสีน ้าตาลเข้ม ส่วนไข่ของปลาดุกเทศที่ สมบูรณ์ควรมีลักษณะกลมสีเขียวเข้ม น าไข่ปลาดุกที่ได้รับการผสมกับน ้าเชื้อแล้วไปฟกั โดย โรยไข่บนผ้ามุ้งเขียวเบอร์ 20 ที่ขึงตึงในระดับต ่ากว่าผิวน ้าประมาณ 5-10 เซนติเมตร โดย ระดับน ้าในบ่อที่ขึงผ้ามุ้งเขียวนั้นมีระดับน ้าลึกประมาณ 20-30 เซนติเมตร (ภาพที่9) เปิดน ้า ไหลผ่านตลอดเวลาและควรมีเครื่องเพิ่มอากาศใส่ไว้ในบ่อฟกั ไข่ปลาด้วยโดยเปิดให้เหมาะสม ไม่ให้แรงจนท าให้ไข่ฟุง้ ได้ ไข่ปลาดุกที่ได้รับการผสมจะพัฒนาและฟกัเป็นตัวโดยใช้เวลา
ประมาณ 21-26 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิของน ้า 28-30 องศาเซลเซียส ลูกปลาดุกที่ฟกัออกเป็นตัว จะหลุดลอดตาของมุ้งเขียวลงสู่พื้นก้นบ่อด้านล่าง หลังจากลูกปลาหลุดลอดลงสู่พื้นก้นบ่อ หมดแล้วจึงย้ายผ้ามุ้งเขียวที่ใช้ฟกั ไข่ออกจากบ่อฟกัจะใช้เวลา 6-8 ชั่วโมง ลูกปลาจะค่อย ๆ พัฒนาเจริญขึ้นเป็นล าดับจนมีอายุประมาณ 48 ชั่วโมง จึงเริ่มกินอาหาร บ่อเพาะฟกั ลูกปลาดุก ควรมีหลังคาปกคลุมป้องกันแสงแดดและน ้าฝนได้แม่ปลาขนาดประมาณ 1 กิโลกรัม จะได้ลูกปลาประมาณ 5,000-20,000 ตัว ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับฤดูกาล ขนาดและความสมบูรณ์ ของแม่ปลา บทที่2 การเพาะพันธุ์และการเลี้ยง - 37 - ตอนที่1 การเพาะพันธุ์ ภำพที่ 6 | การรีดไข่แม่ปลาดุกอุย (ภาพโดย: เทวัฒน์ สุขเกษม) ภำพที่ 7 | การผ่าถุงน ้าเชื้อพ่อปลาดุกเทศ (ภาพโดย: เทวัฒน์ สุขเกษม)
ภำพที่ 8 | การผสมไข่กับน ้าเชื้อ (ภาพโดย: เทวัฒน์ สุขเกษม) บทที่2 การเพาะพันธุ์และการเลี้ยง - 38 - ตอนที่1 การเพาะพันธุ์ ภำพที่ 9 | การโรยไข่บนผ้ามุ้งเขียวส าหรับฟักไข่ (ภาพโดย: เทวัฒน์ สุขเกษม)
ตอนท ี ่ 2 การอนุบาล - 39 -
เร ื่องท ี่1 กำรพัฒนำระยะต่ำง ๆ ไข่ปลาดุกอุยเทศที่ได้รับการผสมจะพัฒนาและฟกัเป็นตัวโดยใช้เวลาประมาณ 20-26 ชั่วโมง ลูกปลาฟกัเป็นตัวระยะเวลา 1 วัน ที่อุณหภูมิของน ้า 28-30 องศาเซลเซียส และ พัฒนาเจริญขึ้นเป็นล าดับจนมีอายุประมาณ 48 ชั่วโมง จึงเริ่มกินอาหาร โดยมีพัฒนาการที่ ส าคัญของปลาดุกอุยและปลาดุกเทศ ดังนี้(อภิชาติ และสิริวรรณ, 2551) พัฒนำกำรของลูกปลำดุกเทศ อายุ 1 วัน มีขนาดความยาว 5.48 มิลลิเมตร ล าตัวเรียวยาว มีถุงอาหารส ารองรูปร่างรี อยู่ที่ด้านท้องติดกับส่วนหัว และส่วนหัว ก าลังจะแยกจากถุงอาหารส ารอง อายุ 2 วัน มีขนาดความยาว 6.04 มิลลิเมตร ถุง อาหารส ารองลดขนาดลงอย่างเด่นชัด ตา มีขนาดใหญ่ขึ้น มีหนวด 3 คู่ ปากเริ่มเปิด อายุ 3 วัน ขนาดยาว 7.78 มิลลิเมตร ท่อ ทางเดินอาหารพัฒนามากขึ้น กระดูก ขากรรไกรพัฒนาชัดเจน บทที่2 การเพาะพันธุ์และการเลี้ยง - 40 - ตอนที่2 การอนุบาล พัฒนำกำรของลูกปลำดุกอุย อายุ 12 ชั่วโมง ขนาดความยาว 4.32 มิลลิเมตร ล าตัวเรียวยาว ถุงอาหารส ารองรูปกลม ค่อนข้างใหญ่อยู่ที่ด้านท้องติดกับส่วนหัว ส่วนหัวยังไม่แยกออกจากถุงอาหาร อายุ 1 วัน ความยาว 4.8 มิลลิเมตร ตาเริ่มปรากฏ ชัดขึ้น ส่วนหัวแยกออกจากถุงอาหารส ารอง แล้ว ปากเริ่มมีการพัฒนาให้เห็นต าแหน่ง ของปาก อายุ 2 วัน ขนาดความยาว 5.16 มิลลิเมตร ลูกตามีจุดสีด ามาสะสม ปากเริ่ม เปิด อายุ 3 วัน ขนาดความยาว 5.82 มิลลิเมตร ทางเดินอาหารมีการพัฒนามาก ขึ้นถุงอาหารส ารองขนาดลดลงกว่าเดิม อายุ 5 วัน ขนาดความยาว 7.61 มิลลิเมตร ขากรรไกรและทางเดินอาหารมีการพัฒนาจน สมบูรณ์ ถุงอาหารส ารองถูกใช้จนหมด เร ื่องท ี่2 กำรเตรียมอำหำรและกำรให้อำหำรในแต่ละช่วงวัย หลังจากถุงอาหารส ารองที่ติดอยู่หน้าท้องลูกปลา (yolk sac) เริ่มยุบ ให้อาหารลูกปลา ด้วยไรแดงมีชีวิตจนเกินพอวันละ 2 ครั้ง เป็นระยะเวลา 1-7 วัน โดยน าไรแดงมาล้างด้วยน ้า สะอาด และแช่ในสารละลายด่างทับทิมความเข้มข้น 100-150 ppm เป็นเวลา 3-5 นาทีเพื่อฆ่า เชื้อโรคที่อาจติดมากับไรแดง และล้างด้วยน ้าสะอาดก่อนน าไปอนุบาล หลังจากนั้นให้อาหารผง ส าหรับลูกปลาวัยอ่อนโปรตีนประมาณ 40 เปอร์เซ็นต์โดยป้ันเป็นก้อนวางไว้บนพื้นวันละ 2 ครั้ง ช่วงเช้าและบ่าย ในปริมาณที่ปลากินหมด จนลูกปลามีอายุประมาณ 15 วัน จะมีขนาด ประมาณ 2-3 เซนติเมตร จากนั้นจึงให้อาหารปลา วัยอ่อนชนิดเม็ด ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ไม่เกิน 2.5 มิลลิเมตร จนลูกปลามีอายุประมาณ 30 วัน จะมีขนาดประมาณ 3-5 เซนติเมตร
เร ื่องท ี่3 กำรอนุบำลในบ่อซีเมนต์/กำรอนุบำลในบ่อดิน กำรอนุบำลบ่อซีเมนต์ การอนุบาลลูกปลาดุกในบ่อซีเมนต์ สามารถดูแลรักษาได้ง่าย ทั้งในการดูดตะกอนเปลี่ยนถ่ายน ้า และสังเกตอาหารที่เหลือ ขนาดของบ่อซีเมนต์ควรมี ขนาดประมาณ 2-5 ตารางเมตร ระดับความลึกของน ้าที่ใช้อนุบาลลึกประมาณ 15-30 เซนติเมตร การอนุบาลลูกปลาดุกที่มีขนาดเล็ก (อายุ 3 วัน) ระยะแรกควรใส่น ้าในบ่ออนุบาล ลึกประมาณ 10-15 เซนติเมตร เมื่อลูกปลามีขนาดใหญ่ขึ้นจึงค่อย ๆ เพิ่มระดับน ้าให้สูงขึ้น การอนุบาลให้ลูกปลาดุกมีขนาด 2-3 เซนติเมตรจะใช้เวลาประมาณ 10-14 วัน น ้าที่ใช้ในการ อนุบาลจะต้องเปลี่ยนถ่ายทุกวัน เพื่อเร่งให้ลูกปลาดุกกินอาหารและมีการเจริญเติบโตดี อีกทั้งเป็นการป้องกันการเน่าเสียของน ้าด้วย การอนุบาลลูกปลาดุกจะปล่อยในอัตรา 3,000-5,000 ตัวต่อตารางเมตร และอาหารที่ใช้คือ ไรแดงในช่วง 1 -7 วัน แล ะอาหารผงส าเร็จรูป ในร ะย ะถัด ไป บทที่2 การเพาะพันธุ์และการเลี้ยง - 41 - ตอนที่2 การอนุบาล กำรอนุบำลในบ่อดิน มีข้อดีคือโตเร็ว มีอาหารธรรมชาติต้นทุนต ่า แต่การดูแลรักษา ยากกว่าบ่อซีเมนต์ หากเตรียมบ่อและจัดการระหว่างการอนุบาลไม่เหมาะสมจะท าให้อัตรา รอดค่อนข้างต ่า บ่อดินที่ใช้อนุบาลลูกปลาดุกควรมีขนาด 200-800 ตารางเมตร เตรียม บ่อโดยระบายน ้าออกให้แห้งท าการปรับปรุงโดยเฉพาะที่พื้นบ่อ คันบ่อ ก าจัดวัชพืชและศัตรู ปลาใส่ปูนขาวโดยโรยให้ทั่วบ่อ อัตรา 100-200 กิโลกรัมต่อไร่ตากบ่อทิ้งไว้5-7 วัน เตรียมน ้าเขียวโดยใส่ปุ๋ยคอกอัตรา 100-200 กิโลกรัมต่อไร่แล้วสูบน ้าเข้าบ่อโดยผ่าน ถุงกรองให้น ้าลึกประมาณ 50-70 เซนติเมตร ทิ้งไว้ประมาณ 3-5 วัน เติมไรแดงในบ่อแล้ว จึงปล่อยลูกปลาในอัตรา 300-500 ตัวต่อตารางเมตร จากนั้นทยอยเพิ่มน ้าเข้าบ่อจนได้ ระดับความลึก 1-1.5 เมตร การอนุบาลลูกปลาให้เติบโตได้ขนาด 3-4 เซนติเมตร ใช้เวลา ประมาณ 14 วัน
ตอนท ี ่ 3 การเล ี ้ ยง - 42 -