The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิชาธุรกิจการเป็นผู้ประกอบการ 30200-0003

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by papawarin4218, 2021-01-08 03:10:33

วิชาธุรกิจการเป็นผู้ประกอบการ 30200-0003

วิชาธุรกิจการเป็นผู้ประกอบการ 30200-0003

6. ประเภทของเงินทนุ ทน่ี ำมาใช้ในการประกอบธรุ กิจคือข้อใด

1. ทนุ สว่ นตวั และทรพั ย์สินส่วนตวั 2. เงนิ ก้ยู ืมจากธนาคารและทุนท่ีนำออกขาย

3. สว่ นของผู้ถอื หนุ้ และสว่ นของหนีส้ นิ 4. ส่วนของผถู้ อื หุน้ และส่วนของเจา้ ของ

5. เงนิ ก้ยู มื และสว่ นของหนส้ี ิน

7. เงนิ ทนุ ในการประกอบธุรกิจท่เี ป็นส่วนของผถู้ ือหนุ้ หรือส่วนของเจ้าของตรงกบั ข้อใด

1. เงนิ สดเคร่ืองจกั ร อปุ กรณ์ต่าง ๆ 2 เงินกยู้ มื หนุ้ บรุ ิมสิทธิ เงินฝากธนาคาร

3. เงินสดหนุ้ สามัญ หนี้จากสถาบนั การเงนิ 4. เงนิ เดอื น หุ้นปนั ผล ทนุ กู้

5. หน้ีสิน ทรัพยส์ ิน ทุน

8. ขอ้ ใดคือเงินทนุ ในการประกอบธรุ กจิ ที่เป็นส่วนของหนสี้ ิน

1. เงนิ สดและเงนิ ญาติพี่น้อง 2. เงนิ กยู้ ืมและหุ้นกู้

3. เงนิ สดและเงนิ กยู้ ืม 4. เงนิ ญาติพ่ีน้องและหุน้ กู้

5. ไมม่ ีข้อใดถกู ต้อง

9. เงินทุนในข้อใดที่ใช้ในการประกอบธุรกจิ ซ่ึงผู้ประกอบการไม่จำเปน็ ต้องเสียดอกเบี้ย

1. เงนิ กูย้ ืมและหนุ้ กู้ 2. เงนิ กู้ยมื และหน้ีจากสถาบันการเงนิ

3. เงนิ สดและห้นุ สามญั 4. ห้นุ กู้และหุ้นบรุ ิมสิทธิ

5. ถูกทุกข้อ

10. แหลง่ เงินทุนที่ได้จากการออกห้นุ สามญั และหุ้นบรุ มิ สทิ ธิคือข้อใด

1. ส่วนของหุ้นสว่ น 2. สว่ นของผ้ถู อื ห้นุ

3. ส่วนของเจา้ ของ 4. ส่วนของผู้ถอื ห้นุ และสว่ นของหนส้ี ิน

5. สว่ นของหนส้ี นิ

แบบทดสอบก่อนเรยี น หน่วยที่ 4 กฎหมายทเ่ี ก่ยี วกบั การเป็นผู้ประกอบการ
คำส่ัง จงเลือกคำตอบทถ่ี กู ต้องที่สุดเพยี งขอ้ เดียว (คะแนนเต็ม 10 คะแนน)

1. กฎหมายกำหนดใหจ้ า่ ยเงนิ ค่าแรงขัน้ ต่ำ 300 บาท แก่พนักงานบริษัท ตรงกบั พระราชบญั ญตั ใิ ด

1. พระราชบัญญัติขายตรงและตลาดแบบตรง 2. พระราชบญั ญตั คิ ุ้มครองแรงงาน

3. พระราชบญั ญตั ลิ ขิ สิทธ์ิ 4. พระราชบญั ญัติสิทธิบตั ร

5. พระราชบัญญตั ใิ ห้ใชบ้ ทบัญญัติแหง่ ประมวลรษั ฎากร

2. กิจการมีการดำเนนิ ธรุ กิจเกีย่ วกบั เพลงและทำนองเพื่อนำไปจำหน่ายผ่านแผน่ บนั ทึกเสียงต่าง ๆ ตรงกับ

พระราชบัญญัติใด

1. พระราชบัญญัติขายตรงและตลาดแบบตรง 2. พระราชบัญญตั คิ ุ้มครองแรงงาน

3. พระราชบัญญตั ิลิขสิทธิ์ 4. พระราชบัญญัตสิ ทิ ธิบัตร

5. พระราชบญั ญัตใิ ห้ใช้บทบัญญตั ิแหง่ ประมวลรัษฎากร

3. ผปู้ ระกอบการได้รับกรรมวิธผี ลติ ยางรถยนตใ์ หม่เพ่ือเพ่ิมคณุ ภาพหนา้ ยางตรงกับพระราชบัญญัตใิ ด

1. พระราชบญั ญัติขายตรงและตลาดแบบตรง

2. พระราชบญั ญัติคมุ้ ครองแรงงาน

3. พระราชบญั ญตั ลิ ขิ สิทธิ์

4. พระราชบญั ญตั สิ ทิ ธิบัตร

5. พระราชบัญญัติให้ใชบ้ ทบัญญตั ิแห่งประมวลรษั ฎากร

4. ห้ามชกั ชวนบคุ คลเข้ารว่ มเปน็ เครือข่ายโดยตกลงใหผ้ ลประโยชน์ตอบแทนการเขา้ ร่วมทเี่ พม่ิ ข้ึนตรงกับ

พระราชบัญญตั ิใด

1. พระราชบญั ญัติขายตรงและตลาดแบบตรง 2. พระราชบญั ญตั ิคุ้มครองผบู้ ริโภค

3. พระราชบญั ญตั ิประมวลรัษฎากร 4. พระราชบญั ญตั ิสิทธิบตั ร

5. พระราชบัญญัติโรงงาน

5. สรรพากรจดั เก็บภาษีรายได้สุทธิจากห้างหนุ้ สว่ นจำกัดและบรษิ ทั จำกดั ในอตั ราเดียวกัน เปน็ รอ้ ยละ 30

ต่อปตี รงกับพระราชบญั ญัติใด

1. พระราชบญั ญัติขายตรงและตลาดแบบตรง 2. พระราชบญั ญตั ิคุม้ ครองผ้บู รโิ ภค

3. พระราชบญั ญัติประมวลรัษฎากร 4. พระราชบญั ญัตสิ ทิ ธิบัตร

5. พระราชบัญญัตโิ รงงาน

6. ธุรกจิ ตอ้ งแจง้ ให้ทราบถึงราคาปรมิ าณวธิ ีใชข้ อ้ แนะนำคำเตือนและวนั เดือนปีทหี่ มดอายไุ วต้ รงกับ

พระราชบัญญัติใด

1. พระราชบัญญัติขายตรงและตลาดแบบตรง 2. พระราชบญั ญัติคุ้มครองผบู้ รโิ ภค

3. พระราชบญั ญัตปิ ระมวลรัษฎากร 4. พระราชบัญญัตสิ ิทธิบตั ร

5. พระราชบัญญตั โิ รงงาน

7. กจิ การท่ีมีเครอื่ งจักรไม่เกิน 20 แรงม้าและคนงานไม่เกนิ 20 คนไม่ต้องแจง้ กรรมวธิ กี ารผลิตตรงกับ

พระราชบญั ญัติใด

1. พระราชบัญญัตโิ รงงาน 2. ทะเบียนพาณิชย์

3. พระราชบญั ญตั ปิ ระมวลรัษฎากร 4. พระราชบัญญตั เิ คร่ืองหมายการค้า

5. พระราชบญั ญัตภิ าษโี รงเรือนและทดี่ ิน

8. ธรุ กิจไดจ้ ัดตงั้ สำนกั งานใหญ่อยใู่ นท้องถน่ิ ใดให้ไปจดทะเบยี นณสำนักงานทอ้ งถ่นิ น้นั ตรงกบั

พระราชบญั ญัติใด

1. พระราชบญั ญตั ิโรงงาน 2. ทะเบียนพาณชิ ย์

3. พระราชบญั ญตั ิประมวลรัษฎากร 4. พระราชบญั ญตั ิเครือ่ งหมายการค้า

5. พระราชบญั ญัติภาษีโรงเรือนและท่ดี นิ

9. การบ่งบอกถงึ สนิ ค้าหรือบรกิ ารของกจิ การว่ามสี ีรปู ทรง และลกั ษณะทแี่ ตกต่างไปจากผู้อนื่ ตรงกับ

พระราชบญั ญตั ิใด

1. พระราชบญั ญตั โิ รงงาน 2. ทะเบยี นพาณิชย์

3. พระราชบัญญัติประมวลรัษฎากร 4. พระราชบัญญัติเครอ่ื งหมายการค้า

5. พระราชบญั ญตั ภิ าษโี รงเรือนและทด่ี นิ

10. ผเู้ รียนคดิ วา่ พระราชบัญญัติใดที่มีความสำคัญต่อการดำเนนิ กิจการมากทสี่ ุดเพราะเหตใุ ด

1. พระราชบัญญตั ิภาษีปา้ ย เพราะการมีปา้ ยโฆษณาจะทำให้ลูกค้าได้รจู้ ักสินคา้ และกจิ การทด่ี กี วา่

2. พระราชบัญญตั บิ ำรงุ ท้องท่ี เพราะการบำรุงท้องทจ่ี ะทำให้ท้องถิ่นมีการพัฒนา และทำให้กจิ การ

เตบิ โต

3. พระราชบญั ญตั ิทดี่ ินและโรงเรือน เพราะการใชป้ ระโยชนใ์ นท่ดี นิ และโรงเรือนทำใหเ้ กิดการจ้างงาน

4. พระราชบญั ญตั คิ ุ้มครองผู้บริโภค เพราะผู้บริโภคมสี ิทธิทีจ่ ะไดร้ ับความปลอดภยั จากสนิ คา้ และ

บริการ

5. ถูกทกุ ขอ้

หนว่ ยท่ี 4
กฎหมายท่ีเก่ียวกับการเปน็ ผู้ประกอบการ

สาระสำคัญ

ต้องให้ความสำคัญต่อการดำเนินธุรกิจที่ถูกต้องตามกฎหมาย เพื่อป้องกันมิให้มีการกระทำผิดต่อ
กฎหมายในรปู แบบตา่ ง ๆ

การดำเนินธุรกิจของผู้ประกอบการจะมีความแตกต่างกันตามลักษณะของธุรกิจและประเภทของ
ธุรกิจ การใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินธุรกิจมี 2 ลักษณะ ได้แก่ ประมวลกฎหมายแพ่งและ
พาณิชย์ทีน่ ำมาใช้ในการควบคมุ ธรุ กจิ โดยทว่ั ไป และพระราชบัญญัติต่าง ๆ ที่นำมาใช้ในการควบคุมธุรกิจ
เปน็ การเฉพาะ

1. ประมวลกฎหมายเพ่งและพาณชิ ย์

กฎหมายท่ีเกี่ยวข้องกับผู้ประกอบการและการดำเนนิ ธุรกิจมดี ังนี้
1.1 บรรพ 1 หลกั ทั่วไป
บรรพ 1 ประกอบด้วย เรื่องเบ็ดเสร็จทั่วไป บุคคลธรรมดา นิติบุคคล ทรัพย์ นิติกรรม ระยะเวลา
และอายคุ วามส่ิงทีเ่ กยี่ วข้องกับการดำเนินธรุ กิจของผู้ประกอบการคือการจัดต้ังธุรกจิ เจ้าของคนเดียว ห้าง
หุน้ สว่ น และบรษิ ทั จำกัด
1.2 บรรพ 2 หน้ี
บรรพ 2 ประกอบดว้ ย หนีแ้ ละสัญญาเปน็ สำคญั ไดแ้ ก่ วตั ถุแหง่ หน้ี ผลแหง่ หนี้ เช่น การไม่ชำระ
หนี้ การรับช่วงสิทธิ การใช้สิทธิเรียกร้องของลูกหนี้ การเพิกถอน การฉ้อฉล รวมถึงบุริมสิทธิและสัญญา
ตา่ ง ๆ
1.3 บรรพ 3 เอกเทศสัญญา
บรรพ 3 ประกอบด้วย การซื้อขาย การแลกเปลี่ยน การให้ การเช่าซื้อ การเช่าทรัพย์ การจ้างทำ
ของ การจ้างแรงงาน การรับขนของ การรับขนคนโดยสาร การฝากทรัพย์ การยืม การค้ำประกัน การ
จำนอง การจำนำ การเก็บของในคลังสินค้า ตัวแทน นายหนา้ การประนอมหน้ี และอ่ืน ๆ เอกเทศสัญญา
จะเกย่ี วข้องกบั การดำเนินธุรกจิ ของผปู้ ระกอบการในเรื่องต่าง ๆ
1.4 บรรพ 4 ทรัพยส์ ิน
บรรพ 4 ประกอบดว้ ย การอาศยั ภาระจำยอม สิทธิเก็บกนิ สิทธิเหนือพื้นดนิ และภาระติดพันใน
อสังหาริมทรัพย์ ข้อกฎหมายจะกำหนดเรือ่ งทรัพย์สินในรูปแบบของนิติบคุ คล

1.5 บรรพ 5 และ 6
มัน 5-6 ประกอบดว้ ย ครอบครัวและมรดก มีความสำคัญตอ่ ผปู้ ระกอบการในการดำเนนิ ธุรกจิ
2. พระราชบัญญัตติ ่าง ๆ ท่เี กี่ยวข้องกบั การประกอบธรุ กิจ
2.1 พระราชบัญญตั ิทะเบียนพาณิชย์
ผู้ประกอบพาณชิ ยกิจที่ตงั้ สำนักงานใหญ่อย่ใู นท้องทแี่ ห่งใด ให้จดทะเบียน ณ สำนกั งานทะเบียน
พาณิชย์ในท้องที่แหง่ น้ัน

รูปภาพท่ี 6 การจดทะเบียนพาณชิ ย์
ที่มาของรปู ภาพ: https://www.moc.go.th/index.php

2.2 พระราชบัญญัตใิ หใ้ ชบ้ ทบญั ญตั แิ หง่ ประมวลรัษฎากร

พระราชบัญญัติให้ใช้บทบัญญัติแห่งประมวลรัษฎากรมีสาระสำคัญต่อผู้ประกอบการและการ

ดำเนินธุรกิจส่วนใหญ่เป็นเรื่องของการ เสียภาษีเงินได้นิติบุคคลและภาษีรายได้ต่าง ๆ เช่น ลักษณะ 2

ภาษีอากรที่นำส่งแก่สรรพากร หมวด 3 ภาษีเงนิ ไดน้ ติ บิ ุคคลประเภทต่าง ๆ หมวด 4 ภาษมี ูลค่าเพ่มิ หมวด

5 ภาษธี รุ กิจเฉพาะ และหมวด 6 อากรแสตมป์ เปน็ ต้น การเสยี ภาษีดงั กล่าว สง่ ผลต่อการดำเนินธุรกิจใน

ดา้ นต้นทนุ รายได้ และกำไร ท้ังของกจิ การผูป้ ระกอบการควรศึกษาให้เขา้ ใจว่าการเสียภาษี ประจำปีนั้นมี

ค่าใช้จ่ายอยา่ งไรโดยภาษีทจ่ี ะต้องเสยี รายปี มีดงั น้ี

2.2.1 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ผู้ประกอบการที่มีรูปแบบธุรกิจเจ้าของคนเดียวห้าง

ห้นุ สว่ นสามญั หรอื รา้ นค้าต่าง ๆ จะตอ้ งเสียภาษเี งินได้บคุ คลธรรมดาประจำปีแกส่ รรพากรในอัตราร้อยละ

5, 10, 15, 20 และ 30 ต่อปี หากมีเงนิ ไดส้ ุทธิสูงขนึ้ ตามลำดบั

2.2.2 ภาษีเงินได้นิติบุคคล ผู้ประกอบการที่มีรูปแบบธุรกิจเป็นห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล

และบรษิ ัทจำกัดตา่ ง ๆจะตอ้ งเสยี ภาษนี ิตบิ คุ คลประจำปีแกส่ รรพากรในอตั ราร้อยละ 30 จากกำไรสุทธิ

2.2.3 ภาษีมูลค่าเพิ่ม ผู้ประกอบการและธุรกิจที่มีรายได้ประจำปีเกินกว่า 180,000

บาทตอ่ ปี ให้นำสง่ ภาษีมลู คา่ เพ่ิมจากการขายสนิ ค้าหรือบริการแก่สรรพากรในอตั รารอ้ ยละ 7 และ 0 ตอ่ ปี

2.2.4 ภาษีธุรกิจเฉพาะ ผู้ประกอบการที่ดำเนินธุรกิจในบางประเภท เช่น ธุรกิจการ

ธนาคาร การประกันชีวิต โรงรับจำนำ บริษัทหลักทรัพย์ และการซื้อขายอสังหาริมทรัพย์

เปน็ ต้น ต้องเสยี ภาษธี ุรกิจเฉพาะประจำปีรอ้ ยละ 0.1-3 ของรายรบั ประจำปขี องธุรกิจในแต่ละประเภท

2.2.5 อากรแสตมป์ นำมาใชส้ ำหรบั ปิดลงบนตราสารตา่ ง ๆ เช่น สญั ญากยู้ ืมเงิน ตัว๋ เงิน

ใบมอบอำนาจ และเอกสารท่ีเกย่ี วข้องเปน็ ตน้ โดยอากรแสตมป์มีมลู คา่ ตั้งแต่ 1 บาทเป็นตน้ ไปถ้ามูลค่าใน

ตราสาร ต่าง ๆ มมี ากขึน้ จะต้องติดอากรแสตมปใ์ นอตั ราภาษีท่สี งู ข้นึ

รูปภาพท่ี 7 ภาษีมลู คา่ เพิ่ม
ท่ีมาของรูปภาพ: https://www.facebook.com/welovebunchee/posts/1177467862414746/

2.3 พระราชบญั ญัตเิ คร่อื งหมายการค้า

รปู ภาพท่ี 8 เครือ่ งหมายการค้า
ท่มี าของรปู ภาพ: https://sites.google.com/site/technology5form3/hnwy-thi-5/kheruxnghmaykarkha

2.4 พระราชบัญญตั ิสิทธิบัตร

รูปภาพท่ี 9 สิทธบิ ตั ร
ทมี่ าของรปู ภาพ: https://www.ipthailand.go.th/th/patent-001.html

2.5 พระราชบัญญตั ิลิขสิทธ์ิ

รปู ภาพที่ 10 ลขิ สิทธ์ิ
ที่มาของรปู ภาพ: http://www.ipthailand.go.th/th/copyright-001.html

2.6 พระราชบญั ญตั ภิ าษีปา้ ย

รปู ภาพท่ี 11 ภาษปี า้ ย
ท่ีมาของรปู ภาพ: https://tigersoft.co.th/

2.7 พระราชบัญญัตภิ าษีบำรงุ ท้องที่
2.8 พระราชบญั ญัตภิ าษีโรงเรือนและทด่ี นิ

รูปภาพที่ 12 ข้อแตกต่างระหว่างภาษโี รงเรือนและทด่ี ินกับภาษีบำรงุ ท้องท่ี
ท่ีมาของรปู ภาพ: https://www.dotproperty.co.th/blog/

รูปภาพที่ 13 ภาษที ี่ดนิ และสิ่งปลกู สรา้ ง
ท่มี าของรปู ภาพ: http://www.fpo.go.th/main/General-information-public-service/

รูปภาพท่ี 14 ภาษโี รงเรอื นและทดี่ ิน
ท่มี าของรปู ภาพ: https://mahatpakdotnet.wordpress.com/

2.9 พระราชบัญญตั คิ ุ้มครองแรงงาน

รูปภาพท่ี 15 พรบ. คมุ้ ครองแรงงาน
ท่ีมาของรปู ภาพ: https://www.google.com/

2.10 พระราชบญั ญตั โิ รงงานงาน

รปู ภาพท่ี 16 พรบ. โรงงาน พรบ. เพื่อประชาชน
ทมี่ าของรปู ภาพ: http://www.industry.go.th/center_mng/index.php/

รูปภาพท่ี 17 พรบ. โรงงาน ฉบบั แกไ้ ขใหม่
ท่มี าของรปู ภาพ: https://twitter.com/diwindustrial/status/

2.11 พระราชบัญญตั คิ มุ้ ครองผู้บรโิ ภค

รูปภาพที่ 18 สทิ ธิผู้บรโิ ภค 5 ประการ
ทม่ี าของรปู ภาพ: https://www.facebook.com/ocpb.official/posts/

2.12 พระราชบัญญัติความรับผิดชอบต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย
พระราชบญั ญตั ฉิ บบั นเ้ี ป็นกฎหมายที่ผูป้ ระกอบการควรรูม้ ีสาระสำคญั ดงั น้ี

2.12.1 ความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย รวมถึงความเสียหายต่อ
ร่างกายชีวิต สุขภาพ อนามัย จิตใจ และทรัพย์สิน หมายความว่า ความเจ็บปวด ความทุกข์ทรมาน ความ
หวานกลวั ความวิตกกังวล ความเศร้าโศกเสียใจ ความอบั อาย หรือความเสียหายต่อจิตใจท่ีผู้บริโภคได้รับ
จากการใชส้ ินคา้ ใด ๆ กต็ าม จะตอ้ งได้รบั การชดเชย เชน่ การปนเปอื้ นสารเคมที ี่มีฤทธิ์รา้ ยแรง และความ
เสียหายทางจิตใจ โดยผู้ประกอบการไม่สามารถผลักภาระความรับผิดชอบได้ แม้ว่าจะเป็นเพียงความ
เสยี หายของสินคา้ ที่เกิดจากขน้ั ตอนการผลติ ก็ตาม

2.12.2 ระยะเวลาการฟ้องคดี เนื่องจากสินค้ามีความทันสมัยและมีเทคโนโลยีสูงการท่ี
ผู้บริโภคจะตรวจพบว่าสินค้าไม่ปลอดภัยนั้นกระทำได้ยาก ผู้บริโภคจึงมีสิทธิ์ในการฟ้องคดีได้ภายใน 3 ปี
นับจากวนั ทไ่ี ด้รู้ถึง ความเสยี หายและรู้ตวั ผูป้ ระกอบการที่ต้องรบั ผิดหรือ ไม่เกิน 10 ปี นบั จากวันท่ีได้รู้ถึง
ความเสียหาย

รูปภาพท่ี 19 ความไมป่ ลอดภยั จากการใช้สนิ ค้า
ทีม่ าของรูปภาพ: https://th-th.facebook.com/csdthai/posts/

2.13 พระราชบญั ญตั ิขายตรงและตลาดแบบทางตรง

รูปภาพที่ 20 กฎหมายขายตรงและการตลาดแบบทางตรง
ทม่ี าของรปู ภาพ: http://lamp.oja.go.th

สรุปสาระสำคัญ

ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พระราชบัญญัติต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการประกอบธุรกิจ เช่น
พรบ. ทะเบียนพาณิชย์ พรบ. ภาษีป้าย พรบ. คุ้มครองแรงงาน จะช่วยให้ผู้ประกอบการสามารถดำเนิน
ธรุ กจิ ได้อยา่ งถูกตอ้ งและยุตธิ รรม

แบบฝึกหดั หน่วยท่ี 4 กฎหมายทีเ่ ก่ียวกับการเป็นผปู้ ระกอบการ
คำสัง่ จงตอบคำถามต่อไปน้ีให้ถกู ตอ้ ง (คะแนนเต็ม 10 คะแนน)

1. ให้ผ้เู รยี นยกตวั อย่าง ประมวลกฎหมายเพ่งและพาณชิ ย์ อย่างละ 2 ตัวอย่าง ท่ผี ู้เรยี นเหน็ ว่ามี
ความสำคญั ต่อผู้เรียนในการเปน็ ผปู้ ระกอบการในอนาคต
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. ให้ผู้เรียนยกตวั อย่าง พระราชบัญญตั ิ อยา่ งละ 2 ตวั อย่าง ที่ผเู้ รยี นเหน็ วา่ มคี วามสำคัญตอ่ ผเู้ รียนในการ
เปน็ ผูป้ ระกอบการในอนาคต
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ใบมอบหมายงาน หน่วยที่ 4 กฎหมายทเี่ ก่ียวกบั การเปน็ ผูป้ ระกอบการ
คำชี้แจง แบ่งผู้เรียนออกเป็น 5 กลุ่ม เพื่อระดมความคิดเห็นและแลกเปลี่ยน
ความรู้ระหวา่ งกนั จัดทำสรปุ และนำเสนอหนา้ ช้นั เรียนกลุ่มละ 5-10 นาที โดย
ให้แต่ละกลุม่ จบั ฉลากเลือกศกึ ษากฎหมายทเ่ี ก่ียวกบั การเป็นผู้ประกอบการ กลมุ่
ละ 1 เรือ่ ง ดงั นี้
1. พระราชบญั ญัตคิ มุ้ ครองแรงงาน
2. พระราชบัญญัติโรงงาน
3. พระราชบญั ญตั คิ ุ้มครองผูบ้ ริโภค
4. พระราชบญั ญตั คิ วามรับผดิ ต่อความเสยี หายทเี่ กิดข้ึนจากสินคา้ ท่ไี ม่ปลอดภัย
5. พระราชบัญญัตขิ ายตรงและตลาดแบบทางตรง
(คะแนนเตม็ 10 คะแนน)

แบบทดสอบหลังเรียน หนว่ ยที่ 4 กฎหมายท่เี กี่ยวกบั การเปน็ ผ้ปู ระกอบการ
คำสั่ง จงเลอื กคำตอบทถ่ี กู ต้องท่ีสดุ เพยี งขอ้ เดียว (คะแนนเตม็ 10 คะแนน)

1. กฎหมายกำหนดใหจ้ ่ายเงินคา่ แรงข้นั ต่ำ 300 บาท แก่พนักงานบริษัท ตรงกบั พระราชบัญญตั ิใด

1. พระราชบญั ญัติขายตรงและตลาดแบบตรง 2. พระราชบญั ญัติคุ้มครองแรงงาน

3. พระราชบญั ญตั ิลิขสิทธิ์ 4. พระราชบญั ญตั สิ ทิ ธบิ ัตร

5. พระราชบัญญตั ใิ ห้ใช้บทบัญญตั ิแหง่ ประมวลรษั ฎากร

2. กจิ การมกี ารดำเนินธุรกิจเก่ยี วกับเพลงและทำนองเพ่ือนำไปจำหน่ายผ่านแผ่นบันทึกเสียงต่าง ๆ ตรงกับ

พระราชบญั ญตั ิใด

1. พระราชบญั ญัติขายตรงและตลาดแบบตรง 2. พระราชบญั ญัติคุ้มครองแรงงาน

3. พระราชบัญญัตลิ ขิ สิทธิ์ 4. พระราชบัญญตั ิสทิ ธิบตั ร

5. พระราชบญั ญัติให้ใช้บทบัญญตั ิแห่งประมวลรัษฎากร

3. ผู้ประกอบการได้รบั กรรมวิธีผลติ ยางรถยนตใ์ หม่เพื่อเพมิ่ คณุ ภาพหนา้ ยางตรงกับพระราชบญั ญัติใด

1. พระราชบญั ญัติขายตรงและตลาดแบบตรง

2. พระราชบญั ญัติคมุ้ ครองแรงงาน

3. พระราชบญั ญตั ลิ ขิ สิทธิ์

4. พระราชบัญญตั ิสิทธบิ ัตร

5. พระราชบญั ญตั ิให้ใช้บทบัญญัตแิ ห่งประมวลรษั ฎากร

4. หา้ ม ชักชวนบุคคลเขา้ รว่ มเปน็ เครือขา่ ยโดยตกลงใหผ้ ลประโยชนต์ อบแทนการเข้ารว่ มที่เพ่ิมขนึ้ ตรงกับ

พระราชบญั ญัติใด

1. พระราชบัญญัติขายตรงและตลาดแบบตรง 2. พระราชบญั ญัติคุ้มครองผู้บริโภค

3. พระราชบัญญัตปิ ระมวลรัษฎากร 4. พระราชบัญญตั สิ ิทธบิ ตั ร

5. พระราชบัญญตั ิโรงงาน

5. สรรพากรจดั เก็บภาษีรายไดส้ ทุ ธจิ ากหา้ งหุ้นส่วนจำกดั และบรษิ ทั จำกดั ในอตั ราเดยี วกัน เป็นร้อยละ 30

ตอ่ ปตี รงกบั พระราชบัญญัติใด

1. พระราชบัญญัติขายตรงและตลาดแบบตรง 2. พระราชบัญญตั คิ ุ้มครองผู้บริโภค

3. พระราชบญั ญัติประมวลรัษฎากร 4. พระราชบัญญัตสิ ทิ ธิบัตร

5. พระราชบญั ญัตโิ รงงาน

6. ธรุ กจิ ต้องแจ้งให้ทราบถงึ ราคาปรมิ าณวธิ ีใชข้ อ้ แนะนำคำเตือนและวนั เดือนปีทห่ี มดอายุไวต้ รงกับ

พระราชบญั ญัติใด

1. พระราชบัญญตั ิขายตรงและตลาดแบบตรง 2. พระราชบญั ญัติคุ้มครองผูบ้ รโิ ภค

3. พระราชบัญญัตปิ ระมวลรัษฎากร 4. พระราชบัญญัตสิ ทิ ธิบตั ร

5. พระราชบัญญตั ิโรงงาน

7. กจิ การท่ีมเี ครื่องจักรไมเ่ กิน 20 แรงม้าและคนงานไม่เกนิ 20 คนไม่ต้องแจ้งกรรมวธิ กี ารผลิตตรงกับ

พระราชบัญญตั ิใด

1. พระราชบัญญตั โิ รงงาน 2. ทะเบียนพาณิชย์

3. พระราชบัญญตั ิประมวลรัษฎากร 4. พระราชบัญญตั เิ คร่อื งหมายการค้า

5. พระราชบญั ญัตภิ าษโี รงเรือนและทีด่ ิน

8. ธรุ กจิ ไดจ้ ัดตง้ั สำนักงานใหญ่อยใู่ นท้องถิน่ ใดให้ไปจดทะเบยี นณสำนักงานท้องถ่ินนัน้ ตรงกบั

พระราชบญั ญตั ิใด

1. พระราชบญั ญตั โิ รงงาน 2. ทะเบียนพาณชิ ย์

3. พระราชบญั ญตั ปิ ระมวลรัษฎากร 4. พระราชบญั ญตั เิ คร่ืองหมายการคา้

5. พระราชบัญญตั ิภาษีโรงเรือนและทด่ี นิ

9. การบ่งบอกถึงสนิ ค้าหรือบริการของกจิ การว่ามสี ีรปู ทรง และลกั ษณะทแี่ ตกตา่ งไปจากผ้อู น่ื ตรงกบั

พระราชบญั ญตั ิใด

1. พระราชบญั ญตั โิ รงงาน 2. ทะเบยี นพาณิชย์

3. พระราชบญั ญัตปิ ระมวลรัษฎากร 4. พระราชบัญญัติเคร่อื งหมายการคา้

5. พระราชบญั ญตั ภิ าษโี รงเรือนและทดี่ นิ

10. ผู้เรียนคดิ วา่ พระราชบัญญัตใิ ดที่มีความสำคัญต่อการดำเนนิ กิจการมากทสี่ ดุ เพราะเหตใุ ด

1. พระราชบัญญัตภิ าษีป้าย เพราะการมีปา้ ยโฆษณาจะทำให้ลูกค้าได้รจู้ ักสินคา้ และกิจการท่ดี ีกวา่

2. พระราชบัญญัตบิ ำรุงท้องท่ี เพราะการบำรุงท้องทจ่ี ะทำให้ท้องถิ่นมีการพฒั นา และทำใหก้ จิ การ

เตบิ โต

3. พระราชบัญญัติทด่ี ินและโรงเรือน เพราะการใชป้ ระโยชนใ์ นท่ดี นิ และโรงเรือนทำให้เกิดการจ้างงาน

4. พระราชบญั ญัติคุ้มครองผู้บริโภค เพราะผู้บริโภคมีสิทธิทีจ่ ะไดร้ ับความปลอดภัยจากสนิ คา้ และ

บรกิ าร

5. ถกู ทกุ ขอ้

แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยที่ 5 แผนธรุ กิจ
คำสั่ง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องท่ีสดุ เพยี งขอ้ เดียว (คะแนนเตม็ 10 คะแนน)

1. ธรุ กิจประเภทใดท่เี หมาะกับการเขียนแผนธุรกิจมากท่สี ุด

1. ธุรกจิ เจ้าของคนเดยี ว 2. หา้ งหนุ้ สว่ น

3. บรษิ ัทจำกัด 4. ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม

5. ถูกท้งั ข้อ 3 และข้อ 4

2. การวางแผนธุรกจิ เพ่ือนำไปใชใ้ นการจดั หาแหลง่ เงนิ ทุนจากธนาคารพาณชิ ย์ต่าง ๆ คือธรุ กจิ ประเภทใด

1. ธรุ กจิ เจ้าของคนเดยี ว 2. ห้างหุ้นส่วน

3. บรษิ ัทจำกัด 4. ธุรกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อม

5. บริษทั มหาชนจำกดั

3. การวางแผนธรุ กิจทม่ี ีผถู้ ือหุน้ อยา่ งน้อย 7 คน และต้องรบั ผิดชอบตอ่ หนีต้ ามสัดสว่ นที่ถือหุน้ คอื การ

วางแผนธุรกจิ ประเภทใด

1. ธรุ กิจเจา้ ของคนเดยี ว 2. ห้างหุน้ สว่ น

3. บริษัทจำกดั 4. ธรุ กิจขนาดกลางและขนาดย่อม

5. บริษัทมหาชนจำกัด

4. การวางแผนธุรกิจที่มีการร่วมหุ้นอยา่ งนอ้ ย 2 คนข้นึ ไปมีอสิ ระในการทำงาน และรบั ผิดชอบตอ่ หนี้ไม่

จำกดั คอื การวางแผนธรุ กจิ ประเภทใด

1. ธุรกจิ เจา้ ของคนเดียว 2. หา้ งห้นุ ส่วน

3. บรษิ ทั จำกดั 4. ธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอ่ ม

5. บริษทั มหาชนจำกัด

5. ลกู จา้ งไมช่ อบทำงานกบั ธุรกิจประเภทใดเนื่องจากไม่มีความก้าวหนา้ และไดเ้ งนิ เดือนนอ้ ยเหมาะจะ

วางแผน

ธุรกิจประเภทใด

1. ธรุ กจิ เจ้าของคนเดยี ว 2. หา้ งห้นุ ส่วน

3. บรษิ ทั จำกดั 4. ธรุ กจิ ขนาดกลางและขนาดยอ่ ม

5. บริษัทมหาชนจำกัด

6. หากธุรกิจของผู้เรยี นเป็นร้านคา้ ปลกี ธุรกิจของผเู้ รยี นจดั อย่ใู นกลมุ่ ใด

1. กลมุ่ ธรุ กจิ ค้าสง่ และเป็นห้างหุ้นสว่ นจำกดั

2. ธรุ กจิ คา้ ปลกี และเปน็ ธุรกิจเจ้าของคนเดียว

3. บรษิ ัทค้าปลีกจำกดั และเป็นบริษัทมหาชนจำกัด

4. ธุรกจิ ค้าปลีกและเปน็ ธุรกจิ SMEs

5. เปน็ ไปไดท้ ุกข้อ

7. หากตอ้ งการใหธ้ รุ กิจมีการเติบโตอย่างต่อเนอ่ื งและไมม่ ีข้อจำกัดในการจดั หาแหลง่ เงินทนุ ในการขยาย

ธุรกจิ ควรเลือกทำธุรกจิ ประเภทใด

1. ธรุ กิจเจา้ ของคนเดยี วประเภทหา้ งหุ้นส่วน 2. ห้างหนุ้ สว่ น และบรษิ ทั จำกดั

3. ห้างห้นุ ส่วนสามัญทั่วไป 4. ธุรกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อม

5. บรษิ ัทมหาชนจำกดั

8. เพราะเหตุใดธรุ กิจขนาดกลางและขนาดยอ่ มจึงมีจำนวนมากเมื่อเปรียบเทยี บกับบริษัทจำกดั

1. ใช้เงนิ ทุนไม่มากนัก 2. มธี ุรกจิ ขอบเขตจำกัด

3. มคี วามเช่ียวชาญเฉพาะด้าน 4. ก่อตั้งได้ง่าย

5. ถกู ทกุ ข้อ

9. อุตสาหกรรมการผลติ ท่ีเหมาะกบั การวางแผนธุรกจิ มากทีส่ ดุ คือขอ้ ใด

1. เป็นธรุ กิจซื้อมาและขายไป

2. มรี า้ นค้าจำหนา่ ยสนิ ต้าหลายชนดิ

3. มีผลติ ภัณฑท์ ีเ่ สนอขายแตกต่างจากตลาด

4. มีการให้บรกิ ารด้านตา่ ง ๆ แก่องคก์ รธรุ กิจ

5. มีการสง่ สินค้าทงี่ ่าย

10. หากผู้เรยี นพง่ึ จบการศึกษาและมคี วามต้องการท่ีจะเป็นผู้ประกอบการ ควรจะเริม่ ต้นทำธุรกจิ แบบใด

จงึ จะเหมาะสมทีส่ ดุ

1. ดำเนินธุรกิจท่ีมโี รงงานผลติ สินคา้

2. ดำเนนิ ธุรกิจทีง่ ่ายและสามารถควบคมุ การขายได้

3. ดำเนนิ ธุรกจิ ทีใ่ ชเ้ ทคโนโลยีใหม่ ๆ

4. ดำเนนิ ธรุ กจิ ท่สี ามรถระดมทนุ จากประชาชนได้

5. ดำเนนิ ธรุ กจิ ด้านบริการตา่ ง ๆ

หนว่ ยที่ 5
แผนธรุ กจิ

สาระสำคญั

ผู้ประกอบการควรจัดทำแผนธุรกิจเพื่อนำมาใช้ในการประกอบธุรกิจ และควรศึกษาข้อมูลในเรื่อง
ลักษณะของการประกอบธุรกิจในรูปแบบต่าง ๆ ได้แก่ ธุรกิจเจ้าของคนเดียว ห้างหุ้นส่วนบริษัทจำกัด
ธรุ กิจขนาดกลาง และขนาดยอ่ ม เพ่อื นำข้อมลู มาใช้ในการจดั ทำแผนธุรกิจ

1. ความสำคัญของแผนธรุ กจิ
การเขียนแผนธุรกิจมีความสำคัญเป็นอย่างมาก สำหรับผู้ประกอบการรายใหม่ ๆ หรือผู้ที่กำลัง

เริ่มก่อตั้งกิจการ เพราะนอกจากการเขียนแผนธุรกิจจะเป็นตัวกำหนดกรอบหรือกำหนดแนวทางในการ
ดำเนินธุรกิจแล้ว ยังมีความสำคัญต่อผู้ประกอบการที่ต้องการกู้เงินจากสถาบันการเงิน เพื่อนำมาเป็นทุน
ในการดำเนินธุรกจิ อกี ดว้ ย

แผนธรุ กจิ (Business Plan) คือ คมู่ ือในการดำเนนิ ธุรกจิ ที่จดั ทำขึ้นจากการวิเคราะหร์ ายละเอียด
ในแง่มมุ ตา่ ง ๆเพ่ือใช้เปน็ แนวทางในการดำเนินธุรกิจ เช่น วิเคราะห์ทางด้านการตลาด ดา้ นการบริหารงาน
กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และอุปสรรคต่าง ๆ ของธุรกิจ โดยแผนธุรกิจมีความสำคัญ
คือ ให้รายละเอียดเกี่ยวกับการเริ่มต้นธุรกิจ ทำให้ผู้ประกอบการมีเป้าหมายชัดเจน กำหนดแนวทางของ
ความคิดและช่วยให้ผู้ประกอบการมั่นคงต่อการใช้ทรัพยากรและนำไปสู่เป้าหมาย และเป็นเครื่องมือที่
แสวงหาเงินทุนจากผู้ร่วมลงทุน กองทุน และสถาบันการเงินต่าง ๆ อีกทั้งให้รายละเอียดของกิจกรรม
ตา่ ง ๆ ได้แก่ การจัดหาเงินทุน การพัฒนาผลิตภัณฑ์ การตลาดและอ่นื ๆ ในการบรหิ ารกิจการ เพ่ือใช้ใน
กำหนดการปฏิบัตงิ านทีต่ ่อเน่อื งในอนาคตของกจิ การ

รปู ภาพที่ 21 Business Plan Idea
ท่ีมาของรปู ภาพ: https://www.marketingoops.com

2. โครงสร้างของแผนธุรกจิ

รูปภาพที่ 22 องคป์ ระกอบของแผนธรุ กจิ
ที่มาของรูปภาพ: https://scbsme.scb.co.th

3. ขั้นตอนการเขียนแผนธรุ กจิ
สำหรับผู้ประกอบการ SMEs ส่วนใหญ่แล้ว การจดั ทำแผนธุรกิจหรอื การเขียนแผนธุรกิจขึ้นมาสัก

หนึ่งฉบับ ถือได้ว่าเป็นปัญหาหรอื สิ่งที่สร้างความกังวลให้กับผู้ประกอบการ หรือผู้จัดทำแผนธุรกิจท่ียังไม่
เคยมีประสบการณ์เป็นอย่างมาก หรือแม้แต่ผู้ประกอบการที่ได้เคยผ่านการอบรมเกี่ยวกับการจัดทำแผน
ธรุ กจิ จากหน่วยงานอบรมตา่ ง ๆ มาบ้างแล้ว เนอ่ื งจากไม่รู้ว่าจะเร่มิ ตน้ อย่างไร หรือแมแ้ ตก่ รณที ีม่ คี ู่มือการ
เขียนแผนธรุ กจิ ประกอบการจดั ทำแผนธรุ กิจ แต่กย็ งั ไมร่ ูจ้ ะเริม่ ตน้ เขียนอย่างไรดี จากปัญหาดังกล่าวเห็น
ว่าควรจะได้กล่าวถึงขั้นตอนในการเริ่มต้นการเขียนแผนธุรกิจ แบบง่าย ๆ ไม่ซับซ้อน ซึ่งจะช่วยเป็น
แนวทางเริ่มต้นในการจัดทำหรือการเขียนแผนธุรกิจสำหรับผู้ประกอบการเป็นลำดับให้สามารถใช้เป็น

แนวทางเร่ิมต้น โดยขนั้ ตอนการเร่ิมตน้ ในการเขียนแผนธรุ กจิ สามารถแบ่งออกไดโ้ ดยสังเขปเปน็ 5 ข้นั ตอน
ประกอบด้วย

- เลือกธุรกจิ ศกึ ษาขอ้ มลู เพมิ่ เตมิ
- รวบรวมข้อมูล
- วเิ คราะห์ตลาด วิเคราะห์ธุรกิจ
- กำหนด Business Model
- เรมิ่ ตน้ เขยี นแผน

4. ตัวอยา่ งแผนธุรกิจ

Scan Me
Amazon

ตวั อย่างแผนธรุ กจิ

รูปภาพท่ี 23 แผนธุรกจิ Café Amazon
ทม่ี าของรูปภาพ: https://prezi.com/pf5rvln2cgrz/cafe-amazon/

สรปุ สาระสำคญั
การเขียนแผนธุรกิจ มีความสำคัญต่อผู้ประกอบการ โดยเขียนแผนการคำนึงถึงบทสรุปสำหรับ

ผู้บริหาร บทนำ การวิเคราะห์อุตสาหกรรม รายละเอียดธุรกิจ แผนงานด้านอื่น ๆ วัตถุประสงค์และ
เปา้ หมายของธรุ กิจ รวมถงึ การควบคุมและการประเมนิ ผล

แบบฝกึ หัด หนว่ ยท่ี 5 แผนธุรกิจ
คำส่ัง จงตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง (คะแนนเต็ม 10 คะแนน)

1. ให้ผูเ้ รยี นเลอื กธุรกิจ 1 ประเภท เพ่ือนำมาจดั ทำแผนธรุ กิจ โดยระบุเหตผุ ลที่เลือกทำแผนธุรกจิ และ
ขอ้ ดี ข้อเสียของธรุ กิจท่เี ลือก โดยจดั ทำเปน็ ผงั ความคิด
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ใบมอบหมายงาน หน่วยที่ 5 แผนธุรกจิ
คำช้ีแจง ให้ผู้เรยี นแบง่ กลมุ่ กลุ่มละ 5-6 คน ศึกษาการประกอบธุรกิจในรปู แบบ
ตา่ ง ๆ และวิธเี ขยี นแผนธรุ กิจจากแหล่งความรู้ตา่ ง ๆ เพือ่ นำข้อมูลมาใช้ในการ
เขียนแผนธุรกิจ จากนั้นนำเสนอผู้สอนและวางแผนการปฏิบัติงาน กำหนด
หน้าที่ความรับผิดชอบในการทำงาน ปฏิบัติงานตามขั้นตอนที่วางแผนไว้
สรุปผลการเขยี นแผนธรุ กจิ และอภปิ รายผลงานร่วมกันกับเพื่อนในชั้นเรียน และ
จดั ทำเป็นรปู แบบรายงาน 1 เล่ม (คะแนนเตม็ 10 คะแนน)

แบบทดสอบหลังเรียน หน่วยที่ 5 แผนธุรกิจ
คำสั่ง จงเลอื กคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพยี งขอ้ เดียว (คะแนนเตม็ 10 คะแนน)

1. ธุรกิจประเภทใดท่เี หมาะกับการเขียนแผนธุรกิจมากทส่ี ุด

1. ธรุ กจิ เจ้าของคนเดยี ว 2. หา้ งหุ้นสว่ น

3. บริษัทจำกัด 4. ธุรกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อม

5. ถูกทัง้ ข้อ 3 และข้อ 4

2. การวางแผนธุรกจิ เพื่อนำไปใชใ้ นการจดั หาแหลง่ เงนิ ทนุ จากธนาคารพาณชิ ยต์ ่าง ๆ คือธรุ กจิ ประเภทใด

1. ธรุ กิจเจ้าของคนเดยี ว 2. ห้างหุ้นสว่ น

3. บริษทั จำกดั 4. ธรุ กิจขนาดกลางและขนาดยอ่ ม

5. บริษทั มหาชนจำกัด

3. การวางแผนธุรกิจที่มีผู้ถือหุ้นอยา่ งน้อย 7 คน และต้องรับผดิ ชอบตอ่ หนตี้ ามสดั สว่ นทีถ่ ือหุน้ คอื การ

วางแผนธุรกจิ ประเภทใด

1. ธรุ กิจเจา้ ของคนเดียว 2. ห้างหุน้ สว่ น

3. บริษทั จำกัด 4. ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม

5. บริษัทมหาชนจำกัด

4. การวางแผนธรุ กิจทม่ี กี ารรว่ มหุ้นอยา่ งนอ้ ย 2 คนขึน้ ไปมีอสิ ระในการทำงาน และรบั ผิดชอบต่อหนี้ไม่

จำกัด

คอื การวางแผนธรุ กิจประเภทใด

1. ธุรกจิ เจา้ ของคนเดยี ว 2. ห้างห้นุ สว่ น

3. บริษทั จำกัด 4. ธรุ กจิ ขนาดกลางและขนาดย่อม

5. บรษิ ทั มหาชนจำกดั

5. ลกู จ้างไมช่ อบทำงานกบั ธรุ กิจประเภทใดเนอ่ื งจากไม่มีความก้าวหน้าและได้เงนิ เดือนน้อยเหมาะจะ

วางแผนธุรกจิ ประเภทใด

1. ธุรกจิ เจ้าของคนเดียว 2. หา้ งหุ้นส่วน

3. บริษัทจำกดั 4. ธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอ่ ม

5. บริษัทมหาชนจำกดั

6. หากธุรกจิ ของผูเ้ รยี นเปน็ ร้านคา้ ปลกี ธุรกิจของผเู้ รยี นจดั อย่ใู นกลมุ่ ใด

1. กลมุ่ ธรุ กิจคา้ สง่ และเปน็ ห้างหุ้นสว่ นจำกดั

2. ธรุ กจิ คา้ ปลกี และเป็นธรุ กิจเจ้าของคนเดียว

3. บรษิ ัทคา้ ปลีกจำกัดและเป็นบริษัทมหาชนจำกัด

4. ธุรกจิ ค้าปลีกและเป็นธรุ กจิ SMEs

5. เปน็ ไปได้ทุกข้อ

7. หากตอ้ งการให้ธุรกจิ มีการเติบโตอย่างต่อเนอ่ื งและไมม่ ีข้อจำกัดในการจดั หาแหลง่ เงินทนุ ในการขยาย

ธุรกจิ ควรเลือกทำธรุ กจิ ประเภทใด

1. ธรุ กิจเจา้ ของคนเดียวประเภทหา้ งหุ้นส่วน 2. ห้างหนุ้ สว่ น และบรษิ ทั จำกดั

3. ห้างห้นุ ส่วนสามญั ทั่วไป 4. ธุรกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อม

5. บรษิ ัทมหาชนจำกัด

8. เพราะเหตุใดธุรกจิ ขนาดกลางและขนาดยอ่ มจึงมีจำนวนมากเมื่อเปรียบเทยี บกับบริษัทจำกดั

1. ใช้เงนิ ทุนไม่มากนัก 2. มธี ุรกจิ ขอบเขตจำกัด

3. มคี วามเช่ยี วชาญเฉพาะด้าน 4. ก่อตั้งได้ง่าย

5. ถกู ทกุ ข้อ

9. อุตสาหกรรมการผลิตทเ่ี หมาะกบั การวางแผนธุรกจิ มากทีส่ ดุ คือขอ้ ใด

1. เป็นธรุ กจิ ซ้ือมาและขายไป

2. มรี า้ นค้าจำหน่ายสินตา้ หลายชนดิ

3. มีผลติ ภัณฑท์ ่เี สนอขายแตกต่างจากตลาด

4. มีการใหบ้ รกิ ารด้านต่าง ๆ แก่องคก์ รธรุ กิจ

5. มีการสง่ สินค้าท่งี ่าย

10. หากผู้เรยี นพง่ึ จบการศึกษาและมคี วามต้องการท่ีจะเป็นผู้ประกอบการ ควรจะเริม่ ต้นทำธุรกจิ แบบใด

จงึ จะเหมาะสมทสี่ ุด

1. ดำเนินธุรกจิ ทีม่ โี รงงานผลติ สินคา้

2. ดำเนินธุรกิจท่ีงา่ ยและสามารถควบคมุ การขายได้

3. ดำเนินธรุ กิจที่ใช้เทคโนโลยีใหม่ ๆ

4. ดำเนนิ ธุรกิจทส่ี ามรถระดมทนุ จากประชาชนได้

5. ดำเนินธรุ กิจด้านบรกิ ารต่าง ๆ

แบบทดสอบก่อนเรยี น หน่วยท่ี 6 การวางแผนทางการเงินและบัญชี
คำสงั่ จงเลือกคำตอบทถี่ กู ต้องท่ีสุดเพียงขอ้ เดียว (คะแนนเต็ม 10 คะแนน)

1. การวางแผนทางการเงินมีความสำคัญอยา่ งไรบา้ งสำหรบั ผู้ประกอบการ

1. วตั ถปุ ระสงคก์ ารวางแผน 2. ความสำคัญของการวางแผน

3. งบการเงินต่าง ๆ 4. มีแผนการใชเ้ งินด้านต่าง ๆ

5. ถูกทกุ ข้อ

2. วตั ถุประสงค์ท่ีสำคญั ทสี่ ุดของการวางแผนทางการเงินคือขอ้ ใด

1. เพ่อื ให้ทราบถึงความสามารถในการทำกำไร

2. เพอ่ื ให้มสี ภาพคล่องทางการเงนิ ในการบรหิ าร

3. เพื่อแสดงถงึ ความสามารถของผปู้ ระกอบการ

4. ถกู เฉพาะขอ้ 1 และข้อ 2

5. ถกู เฉพาะขอ้ 2 และข้อ 3

3. งบการเงินประกอบด้วยงบอะไรบ้าง

1. งบประมาณโฆษณาและประชาสมั พนั ธ์

2. งบแสดงฐานะการเงินและงบกำไรขาดทนุ เบ็ดเสร็จ

3. งบกระแสเงนิ สดและงบการตลาด

4. กำไรขาดทุนเบด็ เสรจ็ และงบรายได้

5. งบแสดงฐานะการเงนิ และงบกระแสเงินสด

4. ขอ้ ใดเปน็ การวดั ผลดา้ นสภาพคล่องทางการเงินของธุรกจิ

1. โครงการท่ี 1 มผี ลตอบแทนสูงกวา่ โครงการที่ 2

2. โครงการที่ใหผ้ ลตอบแทนสงู จะมีสภาพคล่องทางการเงินสูงกว่า

3. โครงการท่มี ีเงนิ สดกลบั คนื มาในระยะแรกสงู กว่าระยะหลัง

4. โครงการท่ีใหผ้ ลตอบแทนตำ่ จะ มสี ภาพคลอ่ งทางการเงินสูงกว่า

5. เป็นไปได้ทุกข้อ

5. ข้อใดเป็นการวัดผลดา้ นความสามารถในการ ทำกำไรและการมีสภาพคล่องสูงกว่า

1. โครงการท่ี 1 มผี ลตอบแทน 10% คืนทุนภายใน 10 ปี

2. โครงการท่ี 2 มีผลตอบแทน 5% คืนทุนภายใน 5 ปี โครงการท่ี

3. มีผลตอบแทน 10% คืนทุนภายใน 5 ปี

4. โครงการท่ี 4 มีผลตอบแทน 5% คืนทุนภายใน 10 ปี

5. โครงการที่ 5 มผี ลตอบแทน 15% คนื ทุนภายใน 15 ปี

6. การบญั ชีมคี วามหมายตามข้อใด

1. ศลิ ปะการเกบ็ รวบรวมบนั ทกึ จำแนกและสรุปข้อมูลเหตุการณ์ทางเศรษฐกิจในรูปตัวเงนิ

2. รูปแบบการจดบนั ทึกรายรับรายจ่ายกจิ กรรมต่าง ๆ ของกิจการ

3. การรวบรวมขอ้ มลู กิจกรรมตา่ ง ๆ เพื่อให้ทราบถงึ สถานะทางการเงนิ ของกิจการ

4. มีการจัดทำงบการเงินตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ งบแสดงฐานะการเงิน งบกาํ ไรขาดทุนเบ็ดเสรจ็ และงบกระแส

เงนิ สด

5. ขอ้ 1 และ 2 ถูกต้อง

7. การวางแผนทางบัญชีมสี าระทสี่ ำคัญใน 2 ประการคือข้อใด

1. การทำบัญชีและรายงานทางบญั ชี 2. การทำงบการเงินและงบบญั ชี

3. การทำงบการเงินต่าง ๆ 4. การทำบัญชตี า่ ง ๆ

5. ไมม่ ขี ้อใดถูก

8. การวางแผนทางบญั ชมี ีประโยชน์อย่างไร

1. เปน็ การใช้เงินทีเ่ กิดข้ึนในช่วงระยะเวลาหนึ่งของรอบการดำเนนิ ธรุ กิจ

2. เปน็ การทำกจิ กรรมต่าง ๆ เชน่ รายรับ และรายจ่ายของกจิ การ

3. ทำใหท้ ราบถงึ จุดอ่อนและจุดแขง็ ในการบรหิ ารงาน

4. ช่วยใหฝ้ า่ ยงานอืน่ ๆ ในกิจการได้ทราบถงึ คา่ ใชจ้ ่ายของตนเอง

5. ขอ้ 1, 2 และ 4 ถูกต้อง

9. การรายงานทางบัญชจี ะต้องจดั ทำรายงานดา้ นต่าง ๆ ยกเวน้ ขอ้ ใด

1. รายงานทัว่ ไป 2. รายงานการบริหาร

3. รายงานเฉพาะ 4. รายงานงบการเงนิ

5. รายงานการบริหารและงบการเงนิ

10. ผู้ใช้ข้อมลู ทางบัญชโี ดยท่ัวไปเปน็ กลมุ่ ใด

1. กลมุ่ คู่แข่งขนั และลกู คา้ ในกิจการ 2. กล่มุ ผบู้ รหิ ารและผู้ถือหุ้นกิจการ

3. กลุ่มพนักงานและลูกคา้ กจิ การ 4. กลุม่ ผขู้ ายปจั จยั การผลติ

5. เปน็ ไปไดใ้ นทุกข้อ

หนว่ ยท่ี 6
การวางแผนทางการเงินและบัญชี

สาระสำคญั

การวางแผนทางการเงินสำหรับการประกอบธุรกิจจะต้องกำหนดวัตถุประสงค์ของการใช้เงินทุน
และงบการเงิน เพื่อให้ทราบถึงความเป็นไปได้ในการทำกำไรและการสร้างสภาพคล่องทางการเงินของกจิ
การการวางแผนทางการเงินต้องวางแผนทางบัญชีควบคู่กัน เนื่องจากงานด้านบัญชีต้องจัดทำรายงาน
ตา่ ง ๆ แก่ผู้บริหารหรือผ้ปู ระกอบการ เจา้ หน้ี และผ้ใู ห้สินเช่ือ ตัวแทนภาครฐั บาล และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
อ่ืน ๆ

1. การวางแผนทางการเงิน

1.1 การวางแผนทางการเงนิ
การวางแผนทางการเงิน หมายถึง การกำหนดการใช้จ่ายเงินต่าง ๆ ให้สอนคล้องกับแผนงานที่
จดั ทำขึน้ และระบถุ ึงแหล่งท่ีมาของเงินและการใชไ้ ปของเงินในกิจกรรมต่าง ๆ
การวางแผนทางการเงนิ สามารถแบง่ ออกได้ 2 ลกั ษณะ ไดแ้ ก่

1.1.1 การวางแผนการเงนิ ส่วนบุคคล การวางแผนการเงนิ ส่วนบคุ คล คือการบริหารจัด
การเงินหรอื รายได้ทไ่ี ด้มา และใชเ้ งนิ นนั้ ไปอย่างมีประสทิ ธภิ าพมากที่สดุ

1.1.2 การวางแผนการเงินสำหรับธุรกิจ การวางแผนทางการเงินจำเป็นในการ
ดำเนินงานธุรกจิ โดยจะวางแผนล่วงหนา้ ตา่ ง ๆ

1.2 หลกั การวางแผนทางการเงนิ
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม วัฒนธรรมและวิถีชีวิต ทำให้มีความจำเป็นต้องวางแผนการเงินอย่าง
รอบคอบ และไมป่ ระมาทในการใชช้ วี ติ หลักในการวางแผนทางการเงนิ ที่มีประสทิ ธภิ าพมีดังน้ี

1. การประเมนิ สถานการณ์ 2. กำหนดเป้าหมาย
3. การจัดทำแผนทางการเงนิ 4. การนำแผนไปปฏบิ ตั ิ
5. การวดั ผลและการปรบั ปรุงแก้ไข
บคุ คลทเี่ กย่ี วขอ้ งกับการวางแผนทางการเงิน
1. รฐั บาล เป็นผจู้ ดั หาสินคา้ หรือบรกิ ารสาธารณะ

2. ธุรกิจ เป็นผู้จัดหาสินค้าและบริการ ซึ่งในการผลติ สินค้ากต็ ้องการแรงงาน ที่ดิน และ
ปจั จัยการผลิตอ่นื ๆ ท่ีเกีย่ วขอ้ ง

3. ผ้บู ริโภค เป็นผมู้ บี ทบาทในการวางแผนทางการเงินมาก คือ การตดั สนิ ใจในการเลือก
ซื้อสินค้าหรือบริการของผ้บู รโิ ภค

1.3 การจัดการทางการเงนิ
การจัดการทางการเงิน หมายถึง การวางแผนการจัดระเบียบและการควบคุมกำกับกิจกรรม
ทางการเงิน เช่น การจัดซอื้ และการใชป้ ระโยชนจ์ ากเงนิ ทนุ ซ่ึงใชห้ ลกั ทั่วไปของทรัพยากรทางการเงินของ
ธรุ กจิ
ขอบเขตการดำเนนิ งาน
1. การตดั สนิ ใจลงทนุ
2. การตัดสินใจทางการเงิน
3. การตดั สนิ ใจเก่ยี วกับผลตอบแทน
หนา้ ท่ขี องการจัดการทางการเงนิ
1. การประมาณคา่ ของความตอ้ งการของการลงทนุ
2. ความมุ่งม่ันในการลงทุน
3. แหลง่ ท่มี าของเงนิ ทุน
4. แผนการลงทุน
5. การจัดการด้านกำไรส่วนเกนิ ต่าง ๆ
6. การควบคมุ ทางการเงิน
1.4 งบการเงนิ และงบประมาณ
รายได้บุคคล หมายถึง รายได้ทั้งหมดที่ครัวเรือนได้รับจากแหล่งต่าง ๆ ในรอบปีซึ่งอาจจะได้มา
จากเงินเดือน ค่าจ้างแรงงาน รายได้จากงานส่วนตัว โบนัส ค่านายหน้า ดอกเบี้ย เงินปันผล ผลที่ได้จาก
เงินออมและการลงทุนการจำหน่ายสนิ ทรัพย์ และรายไดอ้ ่ืน ๆ
ปัจจัยที่กำหนดรายได้ของบุคคล
1. อายุ มีความสมั พันธ์ต่อการหารายได้ของบคุ คล
2. การศกึ ษา จะเปน็ เครื่องกำหนดรายได้ของบคุ คล
3. อาชพี การเลอื กอาชพี มคี วามสมั พันธก์ ับการศกึ ษาของบุคคล
4. คุณสมบัติเฉพาะตัว บุคคลแต่ละคนจะแตกตา่ งกันโดยเฉพาะในส่วนที่เป็นคุณสมบตั ิเฉพาะตวั
5. แหล่งรายได้ต่าง ๆ ของบุคคล

1.5 งบการเงินส่วนบคุ คล
งบการเงินส่วนบุคคล เป็นงบสรุปผลการใช้จ่ายเงิน และช่วยวางแผนทางการเงินในอนาคตซ่ึง
ประกอบด้วย งบแสดงฐานะการเงิน งบรายได้รายจ่ายและบันทึกต่าง ๆ งบการเงินส่วนบุคคลที่นำมาใช้
บันทึกรายการ มดี ังน้ี

1.5.1 งบรายได้และรายจ่ายส่วนบุคคล เป็นงบสรุปรายละเอียดรายได้และรายจ่าย
ในชว่ งระยะเวลาหน่ึงท่ีผ่านมา หรือเปน็ รายงานทีแ่ สดงทม่ี าของรายไดแ้ ละทไี่ ปของรายจ่าย

1.5.2 งบแสดงฐานะการเงนิ ส่วนบคุ คล เป็นงบท่ีแสดงฐานะการเงนิ ของบุคคล ณ เวลา
ใดเวลาหนึ่งวา่ มีสนิ ทรพั ย์ หนส้ี นิ และทนุ จำนวนเท่าใด ประกอบดว้ ย 3 ส่วน คอื

2.1 สนิ ทรัพย์
2.2 หนส้ี นิ
2.3 ส่วนของเจ้าของ
1.5.3 การบันทึกรายการทรัพย์สินส่วนบุคคล เช่น เสื้อผ้า เครื่องประดับ เครื่องเรือน
และเครื่องใช้ต่าง ๆ การเกบ็ บันทกึ รายการควรระบุชื่อทรัพยส์ นิ /วนั ทีซ่ ้อื /รา้ นที่ซอ้ื และราคาท่ซี ื้อ
1.5.4 บันทึกรายการเสียภาษี การเก็บรวบรวมบนั ทกึ รายการเสยี ภาษไี ว้อย่างเป็นระบบ
จะช่วยให้ทราบถึงกำหนดของการชำระภาษี รวมทั้งจำนวนเงินที่ต้องใช้จ่ายได้ถูกต้องว่ารายการภาษี
ประเภทใดบ้างที่จะตอ้ งชำระ
1.5.5 บันทึกหลักฐานกรรมสทิ ธิ์ในทรพั ย์สนิ ไม่หมุนเวียน ได้แก่ โฉนดที่ดนิ พิมพ์เขียว
แบบบา้ นและบนั ทึกรายจา่ ยการตอ่ เตมิ หรือปรับปรุงอาคารบ้านท่ีอยู่อาศัย
1.5.6 บันทึกหลักฐานการประกันภัย เมื่อบุคคลนั้นได้รับความเสียหายที่มีต่อทรัพย์สนิ
หรือชีวิตโดยที่บุคคลนั้นมีกรมธรรม์ประกันภัย และเก็บรักษาไว้เป็นระบบที่ปลอดภัย บุคคลหรือผู้รับ
ผลประโยชน์ตามกรมธรรมจ์ ะสามารถนำหลักฐานไปอ้างสทิ ธ์ิในการรับสินไหมทดแทนได้ภายในกำหนดที่
บรษิ ทั รับประกัน
1.5.7 บันทึกหลักฐานการลงทุน เมื่อมีการลงทุนซื้อหลักทรัพย์ หรือพันธบัตรรัฐบาล
การบันทกึ รายการตา่ ง ๆ จะเปน็ ส่ิงสำคัญและจำเปน็
1.5.8 บันทึกหลกั ฐานสำคนั อนื่ ๆ
1.6 งบประมาณสว่ นบคุ คล
งบประมาณ คือ การวางแผนการทคี่ าดว่าจะต้องจา่ ย โดยการคดิ ลว่ งหน้าและแสดงข้อมูลออกมา
เปน็ ตัวเลขและอาจแสดงออกมาในรูปของตวั เงิน
งบประมาณสว่ นบคุ คล หมายถงึ การวางแผนประมาณรายได้รายจา่ ยล่วงหน้า เพื่อจัดสรรเงินท่มี ี
อยอู่ ย่างจำกัดให้ประสบความสำเร็จตามเปา้ หมาย

1.7 การจดั การเงินสดและสินทรพั ยส์ ภาพคลอ่ ง
การจัดการเงินสด คือ การบริหารที่เกี่ยวกับประสิทธิในการเก็บรวบรวมเงินสด การจ่ายเงินสด
และการลงทุน
สินทรัพยส์ ภาพคล่อง คอื สินทรพั ย์ในรูปของเงนิ สดและสินทรพั ย์อนื่ ท่มี สี ภาพใกล้เคียงเงนิ สด แต่
สามารถเปลีย่ นเป็นเงินสดไดง้ ่ายภายในระยะเวลาไม่เกิน 1 ปี
เงินสดสำรอง หมายถึง เงนิ ทไี่ ด้เกบ็ ออมไว้ สามารถนำมาใช้ได้ทนั ทีทจ่ี ำเป็น เงินสดท่ีสำรองไว้จะ
ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ถ้าไม่นำมาใช้ จึงต้องหาทางบริหารเงินสำรองให้มีค่าเพิ่มขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพ
โดยนำไปลงทุนในหลักทรพั ย์อ่นื ๆ
กลยุทธ์การบริหารการเงินบุคคล หมายถึง การบริหารการเงินของบุคคลอย่างฉลาด ด้วยการนำ
หลักและวธิ กี ารบริหารการเงนิ ที่มีประสิทธภิ าพมาใชใ้ นการตดั สินในจนทำให้เกดิ ผลสำเร็จตามเป้าหมายท่ี
กำหนดไว้
1.8 องคป์ ระกอบของงบการเงิน
งบการเงินสามารถแบง่ ออกเป็น 5 ส่วนหลกั ๆ ดังตอ่ ไปนี้

1.8.1 งบแสดงฐานะการเงนิ คอื งบท่ีจัดทำขนึ้ เพอื่ แสดงฐานะการเงินของกิจการ ณ จุด
เวลาใดเวลาหน่งึ เชน่ ณ วนั ที่ 31/12/61 เปน็ ต้น

1.8.2 งบกำไรขาดทุน คือ งบที่จัดทำขึ้นเพื่อแสดงผลการดำเนินงานของกิจการใน
ช่วงเวลาใดเวลาหน่งึ เชน่ สำหรบั ชว่ งเวลา 01/01/61 - 31/12/61 เป็นตน้

1.8.3 งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้น คือ งบที่แสดงการเปลี่ยนแปลง
ส่วนของผู้ถือหุ้น ว่าเกิดจากอะไรบ้าง เช่น เพิ่มทุน กำไร(ขาดทุน) และ เงินปันผล เป็นต้นใน ช่วงเวลาใด
เวลาหนึ่ง เช่น สำหรบั ช่วงเวลา 01/01/61 - 31/12/61 เปน็ ตน้

1.8.4 งบกระแสเงินสด คือ งบที่แสดงให้เห็นถึงที่มาที่ไปของกระแสเงินสดว่ามีกระแส
เงินสดรับเข้าและจ่ายออกในระหว่างงวดเป็นจำนวนเท่าใดใน ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง เช่น สำหรับช่วงเวลา
01/01/61 - 31/12/61 เป็นต้น

1.8.5 หมายเหตปุ ระกอบงบการเงิน คือ ส่วนท่เี อาไว้ใช้ในการอธิบายงบการเงนิ เพิ่มเติม
เชน่ นโยบายบัญชี รายละเอียดเพิม่ เติมในแต่ละบัญชี เปน็ ต้น

วธิ ที างบการเงนิ แบบตา่ ง ๆ
Scan Me

2. การวางแผนทางบญั ชี

2.1 การบญั ชี หมายถงึ กระบวนการจดั การในส่วนของบนั ทกึ รายการทางการค้า ได้แก่ การเขยี น
บันทกึ รายการทางการค้า การจำแนกแยกประเภทหมวดหมู่ทางการค้า การสรปุ ผลการดำเนนิ งาน รวมไป
ถึงการวิเคราะห์และการแปลความหมายขอ้ มลู ของนักบัญชี

2.2 แผนทางบญั ชี (Accounting plan)
2.2.1 การทำบญั ชี (Book-keeping)
2.2.2 รายงานทางบญั ชี (Accounting report)

2.3 รายงานทางบญั ชีและผ้ใู ช้ขอ้ มูล (Accounting report and user)
2.3.1 รายงานทางบัญชี (Accounting report)
1) รายงานการบริหาร หรือบญั ชีบริหาร
2) รายงานเฉพาะเรอ่ื ง
3) รายงานงบการเงนิ
2.3.2 ผ้ใู ชข้ ้อมูลทางบัญชี (User of accounting information)
1) ผ้ถู ือหนุ้ หรือเจา้ ของกิจการ
2) เจ้าหน้ีและผ้ใู หส้ นิ เชอ่ื
3) ฝา่ ยบรหิ าร
4) ตวั แทนภาครัฐ

3. การวเิ คราะห์งบการเงนิ

3.1 อัตราส่วนสภาพคลอ่ ง (Liquidity ratio)
อัตราส่วนที่นำมาใช้วัดสภาพคล่องทางการเงินระยะสั้นของกิจการ เพื่อประเมินความสามารถใน
การชำระหนี้คนื ในส่วนของหน้สี ินหมนุ เวียนให้แก่ผู้ใหก้ ู้หรือสถาบันการเงินท่ีกจิ การได้กยู้ ืมเงนิ มาใช้ในการ
ดำเนินงาน

3.1.1 อตั ราสว่ นหมุนเวยี น
3.1.2 อัตราส่วนหมนุ เร็ว
3.2 อตั ราสว่ นการบรหิ ารสินทรพั ย์ (Asset management ratio)
อัตราส่วนกลุ่มที่สองที่ใช้ในการวัดหาค่าความสามารถในการใช้สินทรัพย์ของธุรกิจว่ากิจการ
สามารถใช้สินทรัพย์ที่มีอยู่ให้เกิดประสิทธิภาพในการบริหารงานมากน้อยเพียงใด ไม่ว่าจะเป็นสินค้า
คงเหลือ ระยะเวลาในการเก็บหนี้ หรือการใชส้ ินทรพั ย์ถาวร และสนิ ทรัพยร์ วม
3.2.1 อัตราส่วนหมุนเวียนของสนิ ค้าคงเหลือ
3.2.2 คา่ เฉลีย่ ในการเก็บหนี้

3.2.3 อตั ราสว่ นหมุนเวยี นของสินทรัพย์ถาวร
3.2.4 อัตราส่วนหมุนเวยี นของสินทรพั ย์รวม
3.3 อตั ราสว่ นการบริหารหนส้ี นิ (Debt management ratio)
การใช้อัตราส่วนที่แสดงถึงความสามารถในการก่อหนี้ระยะยาวของธุรกิจ ผู้ให้กู้จะพิจารณาว่า
การดำเนินงานของกิจการทางด้านการเงินเป็นอย่างไร โดยพิจารณาจากสัดส่วนหนี้สินต่อโครงสร้างของ
เงินทุนวา่ ธุรกิจมคี วามสามารถในการจา่ ยชำระดอกเบีย้ และเงนิ ต้นคนื ในระยะยาวไดห้ รือไม่
3.3.1 อตั ราส่วนหนส้ี นิ ต่อสนิ ทรพั ย์
3.3.2 อตั ราส่วนหนส้ี นิ ตอ่ สว่ นของเจ้าของ
3.4 อตั ราสว่ นความสามารถในการทำกำไร (Profitability ratio)
เป็นอตั ราส่วนทีใ่ ชว้ ัดความสามารถในการหารายไดจ้ ากการดำเนินงานของธรุ กิจในด้านการลงทุน
ในสินทรัพย์ซึ่งเป็นตัวชี้วัดความสามารถในการทำกำไร เช่น กำไรสุทธิ ผลตอบแทนในส่วนของเจ้าของ
ผลตอบแทนจากการใช้สินทรัพย์รวม และกำไรต่อหุ้นสามัญว่ามีการใช้สินทรัพย์ต่าง ๆ ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพเพียงใด
3.4.1 อัตราส่วนกำไรสทุ ธิ
3.4.2 อตั ราส่วนผลตอบแทนในส่วนของเจา้ ของ
3.4.3 อัตราส่วนผลตอบแทนตอ่ สินทรพั ยร์ วม
3.4.4 กำไรต่อหนุ้

4. การจดั ทำงบประมาณ

4.1 งบประมาณการตลาดและการขาย
งบประมาณการตลาดและการขายเป็นงบประมาณท่สี ำคัญต่อการดำเนนิ กจิ การ เพราะการตลาด
และการขายทำให้มีเงินสดเข้ามายังกิจการในรูปของการขายสินค้าหรือบริการแก่ลูกค้า โดยจะมีการ
พยากรณ์ยอดขายรายเดอื นและรายปเี พ่ือเป็นแหลง่ รายได้ของธรุ กจิ
4.2 งบประมาณการผลิต
เมื่อกำหนดรายได้จากการพยากรณ์ยอดขายจากฝ่ายการตลาดได้แล้ว ฝ่ายผลิตจะสามารถ
กำหนดค่าใช้จ่ายในการผลิตได้จากการนำยอดขายประจำปีมาวางแผนด้านการผลิตสินค้าหรือให้บริการ
ตามแผนการตลาด
4.3 งบการบัญชแี ละการเงิน
ฝ่ายบัญชีและการเงินจะนำข้อมูลจากแผนงานด้านการตลาด การขาย และการผลิตมาใช้ในการ
วเิ คราะหเ์ พือ่ จดั ทำแผนทางการเงิน โดยสามารถนำมากำหนดงบประมาณประจำปีใหก้ ับธรุ กิจได้

สรปุ สาระสำคญั

การวางแผนการเงินมีขั้นตอนและกระบวนการคล้าย ๆ กับการวางแผนงาน ได้แก่ การกำหนด
เปา้ หมายที่เหมาะสม การดำเนนิ งานการติดตามผล

การวางแผนทางบัญชี ผู้ประกอบการจะต้องรแู้ ละเขา้ ใจแผนผงั บญั ชี เนือ่ งจากการประกอบธุรกิจ
ต้องจดั ทำบญั ชี

การวิเคราะห์งบการเงิน ชว่ ยใหผ้ ูป้ ระกอบการทราบสถานะการเงินและงบกำไร ขาดทุน
การจัดทำงบประมาณช่วยให้ผูป้ ระกอบการสามารถคาดการณก์ ารใช้เงินในธรุ กจิ ได้

แบบฝกึ หดั หน่วยท่ี 6 การวางแผนทางการเงินและบญั ชี
คำส่งั จงตอบคำถามตอ่ ไปน้ีให้ถกู ตอ้ ง (คะแนนเตม็ 10 คะแนน)

1. องค์ประกอบของงบการเงินมอี ะไรบา้ ง จงอธิบาย
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. การวเิ คราะหง์ บการเงินมีอะไรบา้ ง จงอธบิ าย
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. การจัดทำงบประมาณมอี ะไรบ้าง จงอธบิ าย
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ใบมอบหมายงาน หน่วยที่ 6 การวางแผนทางการเงนิ และบญั ชี
คำชแ้ี จง ให้ผเู้ รียนจบั คู่อภิปรายถงึ ประโยชนข์ องการวางแผนทางการเงนิ พรอ้ ม
จัดทำสรุปเป็น Mind mapping เพื่อนำเสนอหน้าชั้นเรียน กลุ่มละ 3-5 นาที
(คะแนนเต็ม 10 คะแนน)

แบบทดสอบหลังเรยี น หน่วยท่ี 6 การวางแผนทางการเงินและบัญชี
คำสงั่ จงเลือกคำตอบทถี่ กู ต้องที่สดุ เพียงขอ้ เดียว (คะแนนเต็ม 10 คะแนน)

1. การวางแผนทางการเงนิ มีความสำคญั อยา่ งไรบา้ งสำหรับผู้ประกอบการ

1. วตั ถปุ ระสงคก์ ารวางแผน 2. ความสำคัญของการวางแผน

3. งบการเงินต่าง ๆ 4. มแี ผนการใชเ้ งินด้านต่าง ๆ

5. ถูกทุกข้อ

2. วตั ถปุ ระสงค์ท่ีสำคญั ทส่ี ุดของการวางแผนทางการเงินคือขอ้ ใด

1. เพ่อื ใหท้ ราบถึงความสามารถในการทำกำไร

2. เพอ่ื ให้มสี ภาพคล่องทางการเงนิ ในการบรหิ าร

3. เพ่ือแสดงถงึ ความสามารถของผปู้ ระกอบการ

4. ถูกเฉพาะขอ้ 1 และข้อ 2

5. ถกู เฉพาะขอ้ 2 และข้อ 3

3. งบการเงินประกอบด้วยงบอะไรบา้ ง

1. งบประมาณโฆษณาและประชาสมั พนั ธ์

2. งบแสดงฐานะการเงินและงบกำไรขาดทนุ เบ็ดเสรจ็

3. งบกระแสเงนิ สดและงบการตลาด

4. กำไรขาดทุนเบด็ เสรจ็ และงบรายได้

5. งบแสดงฐานะการเงนิ และงบกระแสเงินสด

4. ขอ้ ใดเป็นการวดั ผลดา้ นสภาพคล่องทางการเงินของธุรกจิ

1. โครงการท่ี 1 มผี ลตอบแทนสงู กวา่ โครงการที่ 2

2. โครงการที่ใหผ้ ลตอบแทนสูงจะมสี ภาพคล่องทางการเงินสูงกว่า

3. โครงการท่มี ีเงนิ สดกลบั คนื มาในระยะแรกสงู กวา่ ระยะหลัง

4. โครงการท่ีใหผ้ ลตอบแทนต่ำจะ มสี ภาพคลอ่ งทางการเงินสูงกว่า

5. เป็นไปได้ทุกข้อ

5. ข้อใดเป็นการวัดผลดา้ นความสามารถในการ ทำกำไรและการมีสภาพคล่องสูงกว่า

1. โครงการท่ี 1 มผี ลตอบแทน 10% คืนทุนภายใน 10 ปี

2. โครงการท่ี 2 มีผลตอบแทน 5% คืนทุนภายใน 5 ปี โครงการท่ี

3. มีผลตอบแทน 10% คืนทุนภายใน 5 ปี

4. โครงการท่ี 4 มีผลตอบแทน 5% คืนทุนภายใน 10 ปี

5. โครงการที่ 5 มผี ลตอบแทน 15% คนื ทุนภายใน 15 ปี

6. การบญั ชีมคี วามหมายตามข้อใด

1. ศลิ ปะการเกบ็ รวบรวมบนั ทกึ จำแนกและสรุปข้อมูลเหตุการณ์ทางเศรษฐกิจในรูปตัวเงนิ

2. รูปแบบการจดบนั ทึกรายรับรายจ่ายกจิ กรรมต่าง ๆ ของกิจการ

3. การรวบรวมขอ้ มลู กิจกรรมตา่ ง ๆ เพื่อให้ทราบถงึ สถานะทางการเงนิ ของกิจการ

4. มีการจัดทำงบการเงินตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ งบแสดงฐานะการเงิน งบกาํ ไรขาดทุนเบ็ดเสรจ็ และงบกระแส

เงนิ สด

5. ขอ้ 1 และ 2 ถูกต้อง

7. การวางแผนทางบัญชีมสี าระทสี่ ำคัญใน 2 ประการคือข้อใด

1. การทำบัญชีและรายงานทางบญั ชี 2. การทำงบการเงินและงบบญั ชี

3. การทำงบการเงินต่าง ๆ 4. การทำบัญชตี า่ ง ๆ

5. ไมม่ ขี ้อใดถูก

8. การวางแผนทางบญั ชมี ีประโยชน์อย่างไร

1. เปน็ การใช้เงินทีเ่ กิดข้ึนในช่วงระยะเวลาหนึ่งของรอบการดำเนนิ ธรุ กิจ

2. เปน็ การทำกจิ กรรมต่าง ๆ เชน่ รายรับ และรายจ่ายของกจิ การ

3. ทำใหท้ ราบถงึ จุดอ่อนและจุดแขง็ ในการบรหิ ารงาน

4. ช่วยใหฝ้ า่ ยงานอืน่ ๆ ในกิจการได้ทราบถงึ คา่ ใชจ้ ่ายของตนเอง

5. ขอ้ 1, 2 และ 4 ถูกต้อง

9. การรายงานทางบัญชจี ะต้องจดั ทำรายงานดา้ นต่าง ๆ ยกเวน้ ขอ้ ใด

1. รายงานทัว่ ไป 2. รายงานการบริหาร

3. รายงานเฉพาะ 4. รายงานงบการเงนิ

5. รายงานการบริหารและงบการเงนิ

10. ผู้ใช้ข้อมลู ทางบัญชโี ดยท่ัวไปเปน็ กลมุ่ ใด

1. กลมุ่ คู่แข่งขนั และลกู คา้ ในกิจการ 2. กล่มุ ผบู้ รหิ ารและผู้ถือหุ้นกิจการ

3. กลุ่มพนักงานและลูกคา้ กจิ การ 4. กลุม่ ผ้ขู ายปจั จยั การผลติ

5. เปน็ ไปไดใ้ นทุกข้อ

แบบทดสอบก่อนเรยี น หน่วยที่ 7 การบรหิ ารงานคุณภาพและการเพิม่ ผลผลติ
คำสั่ง จงเลอื กคำตอบทถี่ กู ต้องท่ีสุดเพยี งขอ้ เดียว (คะแนนเตม็ 10 คะแนน)

1. การผลิตมีความหมายตามข้อใด

1. การเปล่ยี นแปลงสภาพปัจจยั นำเข้าตา่ ง ๆ 2. การแปรเปลย่ี นใหเ้ ป็นสินค้าสำหรับบริการ

3. สินคา้ ทีส่ ร้างประโยชน์ตอ่ ความตอ้ งการ 4. บริการท่สี ร้างประโยชน์ ตอ่ ความต้องการ

5. ถูกทุกข้อ

2. ระบบการผลติ คืออะไร

1. กระบวนการผลติ สินค้าและบริการ

2. ปจั จยั นำเขา้ เชน่ วัตถุดิบ แรงงาน เงนิ ทุน ท่ดี นิ และวิธีการ

3. กระบวนการเปลยี่ นสภาพเป็นผลผลติ

4. การมีผลผลิต คือ สนิ คา้ หรือบรกิ าร

5. ถกู ทุกข้อ

3. การนำแรงงาน อุปกรณ์ และเคร่อื งจักรมาใช้ในการผลติ คือข้อใด

1. ปัจจัยนำเข้า 2. กระบวนการผลติ

3. ผลผลิต 4. สนิ ค้าและบรกิ าร

5. การแปรสภาพ

4. การนำวัตถดุ ิบ แรงงาน และเคร่ืองจักร มาใช้ในการผลติ สินคา้ ตามท่ีต้องการคือข้อใด

1. ปัจจัยนำเข้า 2. กระบวนการผลิต

3. ผลผลติ 4. สนิ คา้ และบรกิ าร

5. ทกุ ข้อ

5. คำวา่ ”ปฏบิ ัตกิ าร” ใช้สำหรบั การดำเนนิ ธุรกจิ ประเภทใด

1. สนิ คา้ 2. สินคา้ และบริการ

3. บรกิ าร 4. บริการและสนิ คา้

5. สินคา้ หรือบรกิ าร

6. การออกแบบกระบวนการผลติ มีกีร่ ูปแบบ อะไรบา้ ง

1. 1 รปู แบบ คอื คำส่ังซือ้

2. 2 รปู แบบ คือ คำส่งั ซ้ือ และจำนวนทเี่ พียงพอ

3. 3 รปู แบบ คือ คำสง่ั ซ้ือ จำนวนทีเ่ พียงพอ และสายการผลติ

4. 4 รปู แบบ คอื คำสัง่ ซ้อื จำนวนท่ีเพยี งพอ สายการผลิต และการผลิตแบบต่อเน่ือง

5. 5 รูปแบบ คอื คำสั่งซือ้ จำนวนท่ีเพยี งพอ สายการผลติ การผลติ แบบตอ่ เนื่อง และจำนวนมาก

7. การผลติ รถยนตใ์ ห้ไดผ้ ลผลิตจำนวนมากและมีมาตรฐานแบบเดียวกันคือการผลติ ตามขอ้ ใด

1. การผลติ ตามคำส่งั ซื้อ 2. การผลติ ตามจำนวนที่เพยี งพอ

3. การผลติ ตามสายการผลติ 4. การผลิตแบบต่อเนื่อง

5. การผลติ จำนวนมาก

8. การผลิตเฟอรน์ ิเจอร์ห้องนอนที่ออกแบบเปน็ การเฉพาะ เป็นการผลติ ตามข้อใด

1. การผลิตตามคำสั่งซื้อ 2. การผลติ ตามจำนวนที่เพียงพอ

3. การผลิตตามสายการผลติ 4. การผลิตแบบต่อเน่ือง

5. การผลติ จำนวนมาก

9. กิจการขนาดเล็กควรมกี ารผลิตแบบใด

1. การผลิตตามคำสง่ั ซ้ือ 2. การผลติ ตามจำนวนที่เพียงพอ

3. การผลติ ตามสายการผลิต 4. การผลติ แบบต่อเนื่อง

5. การผลติ จำนวนมาก

10. กจิ การขนาดใหญ่ใชแ้ รงงานจำนวนน้อยควรมีการผลิตแบบใด

1. การผลิตตามคำส่ังซื้อ 2. การผลติ ตามจำนวนที่เพยี งพอ

3. การผลิตตามสายการผลติ 4. การผลติ แบบต่อเน่ือง

5. การผลิตจำนวนมาก

หน่วยท่ี 7
การบรหิ ารงานคณุ ภาพและการเพม่ิ ผลผลติ

สาระสำคญั

ผู้ประกอบการต้องมีความเข้าใจเรื่องการตลาดและการผลิต โดยเฉพาะการใช้กลยุทธ์ในการตลาด
ในแต่ละขั้นของวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ การบริหารการผลิตการเพิ่มผลผลิต และ
การควบคุมคุณภาพสินคา้ หรือบริการในการดำเนนิ ธรุ กิจ เพือ่ ใหส้ ินคา้ และบริการมีคณุ ภาพและตอบสนอง
ความต้องการของผ้บู รโิ ภคมากท่ีสุด เพอื่ ผลกำไรและการเติบโตของธรุ กิจในอนาคต

1. ความรู้เก่ียวกับผลติ ภัณฑ์หรือผลผลิต

ผลิตภัณฑ์สิ่งหนึ่งสิ่งใดที่มีการนำมาเสนอขายเพื่อสร้างความสนใจให้เกิดความต้องการ และเป็น
ส่งิ ทสี่ ร้างความพงึ พอใจท่จี ะจัดหามาอปุ โภคหรอื บริโภค

1.1 สว่ นประกอบของผลติ ภณั ฑ์ (the total product)
ผลิตภัณฑ์ที่สามารถตอบสนองความจําเป็นและความต้องการของผู้ซื้อหรือผู้บริโภคเพื่อให้ได้รับ
ความพงึ พอใจสงู สดุ ไดน้ นั้ มสี ว่ นประกอบ ดังนี้

1.1.1 ผลิตภัณฑ์ (product) ประกอบด้วยผลิตภัณฑ์ที่สามารถจับต้องได้ และ
ผลิตภัณฑท์ ไ่ี ม่สามารถจับตอ้ งได้หรือการบริการต่าง ๆ ที่นำมาเสนอขายตามลกั ษณะของสนิ ค้าและบริการ
ส่วนประกอบที่เปน็ ตัวผลิตภัณฑน์ ้สี ามารถสรา้ งความพึงพอใจต่อผ้บู ริโภคได้

1.1.2 คณุ ลกั ษณะของผลติ ภณั ฑ์ (product identification) ผลิตภัณฑ์อาจมีสถานะ
แตกต่างกันตามลักษณะของการใชง้ าน ได้แก่ ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส ดังนั้นจึงต้องสรา้ งภาชนะและ
บรรจุภัณฑ์มาห่อหุ้ม เพื่อป้องกันมิให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสถานะหรือสมบัติของผลิตภัณฑ์ที่เป็นอยู่
นอกจากนี้ตราสินค้า รูปแบบ สัญลักษณ์และลักษณะที่บ่งบอกถึงคุณภาพหรือประโยชน์ในการใช้งานจะ
ชว่ ยไมใ่ ห้เกิดความสบั สน ในการเลอื กซ้อื และการซื้อซ้ำในครั้งตอ่ ไป เช่น สินคา้ แฟชนั่ จะมีรูปแบบลักษณะ
และตราสินคา้ ทแี่ ตกต่างกัน

1.2 ประเภทของผลิตภัณฑ์ (product classification)
การแบ่งประเภทของผลิตภัณฑ์จะแบ่งตามลักษณะและพฤติกรรมการซื้อของผู้ซื้อ ซึ่งเป็นลูกค้า
เป้าหมายที่ต้องการซื้อสินค้าและบริการมาใช้ในการอุปโภคและบริโภคแก่ตนเองการแบ่งประเภทของ
ผลิตภณั ฑ์สามารถแบง่ ได้ ดงั นี้

1.2.1 สนิ ค้าผู้บรโิ ภค (Consumer goods) เป็นสนิ ค้าทผี่ บู้ ริโภคซ้ือไปเพ่ือการอุปโภค
และบรโิ ภคของตนเองหรือบคุ คลในครอบครวั โดยจะแบง่ สินค้าตามอุปนสิ ัยในการซอื้ สนิ คา้ และบริการของ
ผ้บู รโิ ภคท่มี คี วามแตกต่างกันตามปจั จัยทสี่ ่งผลกระทบตอ่ การซือ้ เชน่ แรงจูงใจ ทศั นคติ กลมุ่ อ้างองิ ฐานะ
ทางสังคม

1.2.2 สินค้าอุตสาหกรรม (Industrial goods) ผู้ซื้อและผู้ใช้สินค้าอุตสาหกรรมส่วน
ใหญ่เป็นองค์กรธุรกิจที่มีการซื้อสินค้า เพื่อนำไปใช้ในการผลิตหรือจำหน่ายต่อ โดยจะซื้อในปริมาณมาก
และมีการพจิ ารณาอย่างรอบคอบกอ่ นตัดสินใจซอ้ื

1.3 วงจรชวี ิตผลติ ภณั ฑ์ วงจรชีวติ ผลิตภัณฑ์ (Product life cycles)
เป็นแนวคิดที่สำคัญของการบริการการตลาดและธุรกิจ เนื่องจากจะทำให้เห็นภาพของการ
หมนุ เวียนและการเปลยี่ นแปลงของตลาดไปตามลักษณะอปุ สงคข์ องผลิตภณั ฑใ์ นช่วงเวลาตา่ ง ๆ

1.3.1 วงจรชีวิตผลติ ภัณฑ์ (Stages in the product Life Cycle : PLC) วงจรชวี ติ
ผลิตภัณฑ์สามารถอธิบายได้ตามขั้นตอนของการนำผลิตภัณฑ์ไปเสนอขายหรือการแนะนำเข้าสู่ตลาดใน
ครั้งแรกจนสิ้นสุดการขายเมื่อความต้องการที่จะซื้อผลิตภัณฑ์ของผู้บริโภคลด ลงจนไม่สามารถขายได้อีก
ต่อไปในตลาด วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ในแต่ละชิ้นเป็นการนำเอาปัจจัยด้านยอดขายและกำไรมาพิจารณา
ร่วมกับช่วงระยะเวลาที่มีการขายอยู่ในตลาดของผลิตภัณฑ์ใดผลิตภัณฑ์หนึ่ง ดังนั้น การแบ่งขั้นตอนใน
วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์สามารถแบ่งเป็น 4 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นแนะนำเข้าสู่ตลาด ขั้นเจริญเติบโต ขั้ นอิ่มตัว
และขั้นตกต่ำ โดยในแต่ละขั้นของวงจรชีวิตผลติ ภัณฑ์จะใช้กลยุทธ์การตลาดแตกต่างกันตามลักษณะของ
ตลาดท่เี ปน็ อยใู่ นขณะนนั้

รปู ภาพท่ี 24 วงจรชวี ติ ผลิตภณั ฑ์
ท่ีมาของรปู ภาพ: https://www.iok2u.com/index.php


Click to View FlipBook Version