The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปีคณะแพทยศาสตร์ 2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Developer Software, 2021-03-23 05:02:29

รายงานประจำปีคณะแพทยศาสตร์ 2563

รายงานประจำปีคณะแพทยศาสตร์ 2563

รายงานประจ�ำ ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

สารบญั

02 สารจากคณบดี
03 ประวตั คิ ณะแพทยศาสตร์
04 คณะกรรมการประจ�ำคณะแพทยศาสตร์
05 คณะกรรมการบริหารคณะแพทยศาสตร์
ผลการดำ� เนินงานสถาน/ศนู ย์
07 สถานวิทยาศาสตรพ์ รคี ลนิ ิก
19 สถานวิทยาศาสตรค์ ลินิก
29 สถานเวชศาสตร์ชมุ ชนและเวชศาสตร์ครอบครัว
37 สถานการแพทย์แผนไทยประยุกต์
53 ศนู ยว์ จิ ัยทางคลินิก
ผลการด�ำเนนิ งานภาควิชา
58 ภาควชิ าอายรุ ศาสตร์
65 ภาควิชากมุ ารเวชศาสตร์
70 ภาควิชาศัลยศาสตร์
82 ภาควิชาสูติศาสตร-์ นรีเวชวทิ ยา
87 ภาควชิ าออร์โธปดิ กิ ส์
94 ภาควิชาวิสัญญวี ทิ ยา
100 ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวทิ ยา
103 ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู
106 ภาควชิ าเวชศาสตร์ฉกุ เฉิน
110 ภาควชิ ารงั สีวิทยา
115 ภาควชิ าจักษุวิทยา
120 ภาควชิ าพยาธวิ ทิ ยาและนิติเวชศาสตร์
124 ภาควิชาจิตเวชศาสตร์
126 ภาควิชาระบาดวิทยาคลนิ ิก
ผลการด�ำเนนิ งานสำ� นักงานเลขานุการ
130 งานบรหิ ารทรัพยากรมนษุ ย์
135 งานคลังและพสั ดุ
138 งานบริการการศกึ ษา
147 งานบริการสงั คม
152 งานนโยบายและแผน
157 งานบริหารการวจิ ัย
165 งานบรหิ ารทวั่ ไป
170 งานเทคโนโลยที างการศึกษา
173 งานกจิ การนักศกึ ษา
180 งานบัณฑิตศกึ ษา
188 งานพฒั นาคณุ ภาพ
191 งานวิเทศสมั พันธ์

รายงานประจำ�ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

สารจากคณบดี

รายงานผลการด�ำเนินงานประจ�ำปี 2563 ฉบับน้ีนับเป็นปีที่สาม
และปสี ดุ ทา้ ยของการดำ� รงตำ� แหนง่ คณบดใี นสมยั แรกของผม ซง่ึ ในรายงาน
ฉบับนี้จะเห็นผลงานเป็นรูปธรรมในหลายด้านไม่ว่าจะเป็นเรื่องของ
การเรยี นการสอน การวจิ ยั การบรกิ ารสขุ ภาพและวชิ าการ รวมถงึ การบรหิ าร
องค์กร ถงึ แม้วา่ ในปนี ี้จะเกิดปญั หาจากการแพร่ระบาดของโรค COVID-19
ก็ตาม แต่ก็นับว่าท�ำให้มีการพัฒนาอย่างก้าวกระโดดในหลาย ๆ ด้าน
อาทเิ ชน่ การเรยี นการสอนออนไลน์ การพฒั นาระบบการทำ� งานแบบ Work
From Home เปน็ ต้น ในแงก่ ารดูแลบคุ ลากรรวมทัง้ นักศึกษาของคณะก็ได้
ท�ำอย่างเต็มที่โดยค�ำนึงถึงความปลอดภัยและสวัสดิภาพความเป็นอยู่ใน
ทุก ๆ ด้าน อีกส่ิงหนึ่งที่มีการเปลี่ยนแปลงเป็นอย่างมากในคณะก็คือ
การพัฒนาด้านกายภาพทั้งตึกคุณากรเดิมและอาคารศูนย์กายวิภาคและ
ฝึกทักษะคลินิกแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ที่ได้เร่ิมก่อสร้างไปแล้วและจะเสร็จสมบูรณ์ในอีกสองปีข้างหน้า
โดยทงั้ หมดทเ่ี กดิ ขนึ้ จากการรว่ มแรงรว่ มใจในการทำ� งานของชาวคณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตรเ์ องนจี้ ะเปน็
รากฐานทสี่ �ำคญั ของคณะในการทจ่ี ะก้าวต่อไปอย่างไมห่ ยดุ ยัง้

รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ดลิ ก ภยิ โยทยั
คณบดคี ณะแพทยศาสตร์

2

รายงานประจ�ำ ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

ประวัตคิ ณะแพทยศาสตร์

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มีนโยบายจัดต้ังคณะแพทยศาสตร์ ตั้งแต่ศาสตราจารย์ประภาศ อวยชัย
เปน็ อธิการบดี เมอื่ ปี พ.ศ. 2522 มกี ารจัดต้งั คณะกรรมการร่างโครงการจดั ตง้ั ข้ึนหนง่ึ ชดุ และได้ดําเนนิ การอยา่ งจรงิ จัง
ในสมยั ศาสตราจารย์ คณุ หญงิ นงเยาว ์ ชยั เสรี ดาํ รงตาํ แหนง่ อธกิ ารบดี โดยสภามหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ในการประชมุ
ครงั้ ที่ 8/2526 ไดใ้ ห้ความเห็นชอบเกย่ี วกบั นโยบายทางวิชาการของมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ในการที่จะสง่ เสริมและ
สนับสนุนการศกึ ษาทางวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ประยุกต์ โดยเฉพาะการผลติ บัณฑิตแพทย์ และมอบหมายใหอ้ ธกิ ารบดี
ดาํ เนนิ การตามนโยบาย
25 สงิ หาคม 2529 แตง่ ตงั้ คณะกรรมการจดั หาทนุ สรา้ งโรงพยาบาลธรรมศาสตรเ์ ฉลมิ พระเกยี รติ โดยมศี าสตราจารย์
สธุ ี นาทวรทนั เปน็ ประธานกรรมการ และ นายประมวล สภาวสุ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงการคลงั
ในขณะน้ัน เป็นประธานกิตติมศักด์ิ ระดมทุนจากศษิ ยเ์ ก่าทั้งในประเทศและตา่ งประเทศ
สิงหาคม 2531 สภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตรอ์ นมุ ัติโครงการจดั ตงั้ คณะแพทยศาสตร์
30 มกราคม 2533 คณะรฐั มนตรมี มี ติใหจ้ ัดตงั้ คณะแพทยศาสตร์ขนึ้ ในมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
19 มีนาคม 2533 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร
สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชกฤษฎีกา การจัดต้ัง
คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ เปน็ คณะแพทยศาสตร์อนั ดบั ที่ 9 ของประเทศไทย
พ.ศ. 2543 ศาสตราจารย์ คุณหญิงนงเยาว์ ชัยเสรี นายกสภามหาวิทยาลยั มีคําสง่ั ให้การบริหารโรงพยาบาล
ธรรมศาสตรเ์ ฉลมิ พระเกยี รติ เปน็ อสิ ระ โดยสงั กดั สาํ นกั งานอธกิ ารบดี แยกออกจากคณะแพทยศาสตร์
พ.ศ. 2553 คณะแพทยศาสตร์ ครบรอบ 20 ปี “20 ปี แพทย์ธรรมศาสตร์”
เข้ามาสู่ปัจจุบัน ในปี พ.ศ. 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้ด�ำเนินการจัดการเรียน
การสอนมาเป็นระยะเวลาครบ 30 ปี ซ่ึงเป็นพนั ธกิจหลักของคณะ อีกทง้ั ยังมกี ารวิจัย การบรกิ ารสขุ ภาพและวิชาการ
รวมถงึ การบรหิ ารจดั การองคก์ รใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพและดำ� เนนิ การอยา่ งตอ่ เนอื่ งจนเหน็ ผลลพั ธเ์ ปน็ รปู ธรรมหลาย ๆ อยา่ ง
อาทิเช่น การพัฒนาอาจารย์ การรับรองหลักสูตรในระดับสากล การตีพิมพ์ของงานวิจัยในวารสารระดับนานาชาติ
ภายใต้โครงสร้างบริหารที่แยกเป็น 5 หน่วยงานหลัก ได้แก่ สถานวิทยาศาสตร์พรีคลินิก สถานวิทยาศาสตร์คลินิก
สถานเวชศาสตรช์ มุ ชนและเวชศาสตรค์ รอบครวั สถานการแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ต์ และบณั ฑติ ศกึ ษา คณะแพทยศาสตร์
จะก้าวสู่อนาคตที่เป็นไปตามวิสัยทัศน์ท่ีตั้งใจไว้ คือ “คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จะเป็นสถาบัน
แพทยศาสตร์ชน้ั นำ� เพอื่ ประชาชน สร้างผู้นำ� ทางการแพทย์และงานวจิ ยั ม่งุ สูส่ ากล”

3

รายงานประจำ�ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

รายนามคณะกรรมการประจ�ำคณะแพทยศาสตร์

รองศาสตราจารย์ นายแพทยด์ ิลก ภิยโยทัย ประธานกรรมการ
ศาสตราจารย์ ดร.ชุมพล ผลประมลู กรรมการผทู้ รงคณุ วุฒิ
ศาสตราจารย์ แพทย์หญิงบญุ มี สถาปัตยวงค์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
นายแพทย์สวุ ัฒน์ เลศิ สุขประเสรฐิ กรรมการผู้ทรงคณุ วุฒิ
ศาสตราจารย์ นายแพทยส์ รุ ศกั ด์ิ ฐานีพานชิ สกลุ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
ศาสตราจารย์ ดร.สรุ ศกั ด์ิ ลขิ สทิ ธว์ิ ฒั นกุล กรรมการผทู้ รงคณุ วุฒิ
ศาสตราจารย์ นายแพทย์สชุ าต ิ อนิ ทรประสิทธ์ิ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
ศาสตราจารย์ นายแพทยส์ มศักด ์ิ โล่ห์เลขา กรรมการผทู้ รงคุณวุฒิ
ศาสตราจารย์ นายแพทยธ์ ีระวัฒน์ เหมะจุฑา กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
ผู้ช่วยศาสตราจารยป์ ระภสั สร เลียวไพโรจน์ กรรมการผทู้ รงคุณวฒุ ิ
รองศาสตราจารย์ นายแพทย์พฤหัส ตอ่ อดุ ม กรรมการผ้ทู รงคณุ วฒุ ิ
รองศาสตราจารย์ แพทย์หญงิ อจั ฉรา ตง้ั สถาพรพงษ์ กรรมการ
รองศาสตราจารย์ แพทย์หญงิ นงลกั ษณ ์ คณติ ทรัพย์ กรรมการ
ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์สกล มนูสุข กรรมการ
รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ขจร ลกั ษณช์ ยปกรณ์ กรรมการ
ศาสตราจารย์ ดร. นายแพทยป์ ระกิตพันธ์ ุ ทมทิตชงค ์ เลขานกุ าร

4

รายงานประจำ�ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

คณะกรรมการบรหิ ารคณะแพทยศาสตร์

รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ดลิ ก ภยิ โยทยั คณบดี
ศาสตราจารย์ ดร. นายแพทยป์ ระกติ พันธ ์ุ ทมทิตชงค ์ รองคณบดีฝา่ ยบรหิ ารและวเิ ทศสัมพันธ์
รองศาสตราจารย์ แพทย์หญิงอจั ฉรา ตั้งสถาพรพงษ ์ รองคณบดฝี า่ ยการคลงั และแผน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์สกล มนูสุข รองคณบดีฝ่ายบริการสุขภาพ
รองศาสตราจารย์ แพทย์หญิงนงลกั ษณ ์ คณติ ทรพั ย ์ รองคณบดฝี า่ ยวิชาการ
รองศาสตราจารย์ นายแพทยส์ มบัต ิ ม่งุ ทวีพงษา รองคณบดีฝา่ ยวิจยั
รองศาสตราจารย์ศริ เิ พ็ญ ต่ออดุ ม รองคณบดฝี ่ายการนกั ศกึ ษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทยป์ ระกาศิต สงวนจิตร ผชู้ ่วยคณบดีฝา่ ยนโยบายและแผน
รองศาสตราจารย์ แพทยห์ ญงิ วนิ ทิ รา นวลละออง ผูช้ ่วยคณบดีฝ่ายบรหิ ารทรพั ยากรมนษุ ย์
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ แพทยห์ ญิงศิริภทั ร เกียรติพันธุ์สดใส ผู้ช่วยคณบดฝี า่ ยพัฒนาคุณภาพ
รองศาสตราจารย์ แพทยห์ ญงิ ทพิ าพร ธาระวานิช ผชู้ ่วยคณบดฝี ่ายวิจัย
รองศาสตราจารย์ นายแพทยอ์ สั นี ทองอย่ ู ผชู้ ว่ ยคณบดฝี า่ ยเทคโนโลยที างการศกึ ษา
รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ภาสกร ศรีทพิ ย์สโุ ข ผ้ชู ่วยคณบดีฝ่ายบณั ฑิตศกึ ษา
อาจารย์ แพทยห์ ญิงนพิ ัทธา วินะยานวุ ัตคิ ณุ ผชู้ ว่ ยรองคณบดีฝา่ ยการคลงั และแผน
ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. นายแพทย์สิระ นันทพศิ าล ผชู้ ่วยรองคณบดฝี า่ ยบรหิ ารและวิเทศสัมพนั ธ์
รองศาสตราจารย์ นายแพทยธ์ นา ขอเจรญิ พร ผชู้ ่วยรองคณบดฝี า่ ยบรกิ ารสขุ ภาพ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทยพ์ สฐิ พล วัชรวงศว์ าน ผชู้ ว่ ยรองคณบดีฝา่ ยบรกิ ารสุขภาพ
รองศาสตราจารย์ แพทย์หญิงอารยา ศรทั ธาพุทธ ผู้ช่วยรองคณบดีฝา่ ยวิชาการ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กัลยา อารยี ์ ผชู้ ่วยรองคณบดีฝ่ายวชิ าการ
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์ภทั รวนิ ภัทรนิธมิ า ผูช้ ่วยรองคณบดีฝ่ายวชิ าการ
ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ นายแพทยอ์ ินทนนท ์ อิม่ สวุ รรณ ผู้ชว่ ยรองคณบดฝี ่ายวชิ าการ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทยช์ นิ กาจ บุญญสิรกิ ูล ผ้ชู ว่ ยรองคณบดฝี ่ายการนกั ศกึ ษา
ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.นนั ทวรรณ ศนู ย์กลาง ผู้ชว่ ยรองคณบดฝี า่ ยการนกั ศึกษา
อาจารย์ ดร.ปรรณณวชั ญ์ ไชยวัฒนนันทน์ ผชู้ ่วยรองคณบดีฝา่ ยวิจยั
รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ณรงคก์ ร ซา้ ยโพธ์กิ ลาง ผชู้ ว่ ยรองคณบดีฝา่ ยบริหารและวิเทศสัมพันธ์

5



รายงานประจ�ำ ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

ผลการดำ� เนนิ งาน
สถานวทิ ยาศาสตรพ์ รคี ลนิ ิก

7

รายงานประจำ�ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

สถานวทิ ยาศาสตรพ์ รีคลนิ กิ

1. หวั หน้าสถานฯ รองศาสตราจารย์ นายแพทยข์ จร ลักษณ์ชยปกรณ ์
รองหวั หนา้ สถานฯ ฝ่ายวจิ ยั และประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา รองศาสตราจารย์ ดร.ชัยรัตน์ ตัณทราวฒั น์พันธ์
รองหัวหนา้ สถานฯ ฝา่ ยวิชาการ อาจารย์ ดร. นายแพทย์พลวฒั น์ ตง่ิ เพช็ ร
2. วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์
วิสยั ทศั น์
องค์กรเข้มแขง็ แกรง่ การศกึ ษา พฒั นาวจิ ยั
พนั ธกจิ
1. การเปน็ องค์กรท่ีเข้มแข็ง
2. การผลติ บณั ฑติ ทม่ี ีคณุ ภาพ
3. การผลติ ผลงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
4. การใหบ้ รกิ ารวิชาการแก่สงั คม
5. การท�ำนุบ�ำรงุ ศิลปวัฒนธรรม
เปา้ ประสงค์
1. เปน็ องคก์ รทเ่ี ขม้ แขง็ มรี ะบบการบรหิ ารทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ สามารถตรวจสอบได้ บคุ ลากรมคี วามสามคั คแี ละ
มสี ่วนรว่ มในการทำ� งานอย่างมีความสุข
2. เป็นหน่วยงานท่จี ดั การเรียนการสอนที่มีคุณภาพเป็นท่ยี อมรบั ในระดับบัณฑิตศกึ ษา และระดบั ปรญิ ญาตรี
ทงั้ คณะแพทยศาสตร์ และคณะอนื่ ๆ ในศนู ยส์ ขุ ศาสตร์
3. เป็นหน่วยงานที่โดดเด่นในการผลิตผลงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ที่มีคุณภาพ และเป็นท่ียอมรับ
ในระดับชาตแิ ละระดบั นานาชาติ
4. เปน็ หน่วยงานท่พี ฒั นาบุคลากรทุกระดบั ให้ก้าวหนา้ ตามศกั ยภาพของแตล่ ะบุคคล
5. เป็นหน่วยงานท่ีมีการให้บริการวิชาการแก่สังคม เช่น การให้บริการวิชาการทางการแพทย์ และ
เภสัชศาสตร์ ณ ศนู ยก์ ารแพทย์ปฐมภมู ิ เปน็ ต้น
6. เป็นหน่วยงานท่ีส่งเสริมและสนับสนุนการจัดกิจกรรมท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรมอย่างต่อเนื่องทั้งภายใน
องคก์ ร ระดับคณะฯ และระดบั มหาวิทยาลยั
7. มีการพัฒนาระบบประกันคณุ ภาพการศกึ ษาอย่างต่อเนอ่ื ง

8

รายงานประจ�ำ ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

3. รายชอ่ื อาจารย์ บรู ณจิตร์ภริ มย ์ หวั หน้าสาขา
สาขากายวภิ าคศาสตร ์ ด่านววิ ฒั น์
1. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เดชา ลกั ษณ์ชยปกรณ์
2. รองศาสตราจารย์เกลด็ แกว้ ศูนย์กลาง
3. รองศาสตราจารย์ นายแพทยข์ จร ทรงทวีสนิ
4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นนั ทวรรณ งามจริยาวตั ร
5. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ธนิศรา ราศรี โคลเซ็น
6. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อนงค์นาฎ สุวรรณลขิ ิต
7. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.กมลทิพย์ ธติ โิ อฬาร
8. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฏฐกญั ญา ทับเปยี หัวหน้าสาขา
9. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สมุ น แสนทวสี ุข
10. ผู้ชว่ ยศาสตราจารยอ์ มรณฏั ฐ์ ระบิลทศพร
11. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยศ์ ภุ เกต พันธ์ขาว
12. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ แพทยห์ ญงิ พรรัตน์ จนั ทรต์ รี
13. อาจารย์ ดร.วริ ยิ า แสงไพโรจน์
14. อาจารย์ ดร. นายสตั วแพทยป์ ธานิน
15. อาจารย์ ดร.กานต์

สาขาชวี เคมี กองค�ำ
1. ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.สุปรานี รัตนวรชัย
2. รองศาสตราจารย์ ดร.ตรที ิพย์ โรจน์พิบลู สถติ ย ์
3. รองศาสตราจารย์ปนดั ดา กงั สดาลอ�ำไพ
4. รองศาสตราจารย์ ดร.ศศิชยั ควรพบิ ูลย ์
5. รองศาสตราจารย์ ดร.จารุณี หาญสกลุ
6. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.พินทสุ ร จติ วโรภาส
7. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ร่งุ รัตน์ ชะมด
8. อาจารยพ์ ลสทิ ธิ์ ภูมภิ าค
9. อาจารย์ ดร.นารถวดี รสเครอื
10. อาจารย์ ดร.พิชญานุช



9

รายงานประจำ�ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

สาขาจลุ ชีววทิ ยาและภมู ิคุม้ กนั วทิ ยา รอนไพรนิ หวั หนา้ สาขา
1. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ชาลนิ ี ตอ่ อดุ ม
2. รองศาสตราจารยศ์ ิรเิ พ็ญ ลลี ะวงค์เทวญั
3. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ราตรี อารีย์
4. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.กัลยา หิรโิ อตป์
5. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรรณวรางค์ พินใหม่
6. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์โฆษิต ติ่งเพช็ ร
7. อาจารย์ ดร. นายแพทย์พลวฒั น์ สอนเช้อื
8. อาจารย์ ดร.พรพรรณ

สาขาเภสชั วิทยา
1. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.นชุ นาฏ เสือเลก็ หัวหนา้ สาขา
2. รองศาสตราจารย์ ดร. เภสัชกรหญงิ ลนิ ดา จุฬาโรจน์มนตร ี
3. รองศาสตราจารย์ ดร.นันทยิ า สมภาร
4. รองศาสตราจารย์ ดร.จริญญาพร เนาวบุตร
5. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ เภสัชกรหญงิ อรุ ารัตน์ แนน่ หนา
6. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เภสัชกรหญงิ นิภาพรรณ มะลซิ อ้ น
7. อาจารย์ ดร. แพทยห์ ญิงอมรา ไชยกาญจน์
8. อาจารย์ ดร. เภสชั กรหญงิ สธุ รี า สงั ขศ์ ิร ิ
9. อาจารย์ เภสัชกรธนกร สรุ ารักษ ์

สาขาสรีรวิทยา เอกรัตนวงศ์ หัวหน้าสาขา
1. รองศาสตราจารย์ ดร.โสภาพรรณ ยอ่ ยสูงเนนิ
2. รองศาสตราจารย์ ดร.พรพรหม บัวแกว้
3. รองศาสตราจารย์ ดร.อัญญานยี ์ วรรณศิร ิ
4. รองศาสตราจารย์สุภาพร เปรยี้ วนม่ิ
5. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ รอ้ ยเอกสรุ นิ ทร์ เจรญิ พันธุ์
6. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จันทริมา ปิยะพนั ธ ์ุ
7. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ปริศนา เดือนศกั ด์ ิ
8. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นภัสนนั ท์ ศรสี วัสดิ์
9. อาจารย์ ดร.อัมรัตน์ สขุ ประเสริฐ
10. อาจารย์ นายแพทย์ณัฐพล ทองเสภี
11. อาจารย์ ดร.นาตยา มธรุ ดาวงศ์
12. อาจารย์ นายแพทย์นคร

10

รายงานประจ�ำ ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

สาขาปรสติ วทิ ยา เทเลอร์ หวั หน้าสาขา
1. ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อารี หร่องบตุ รศร ี
2. รองศาสตราจารยโ์ พชฌงค์ มาตยว์ เิ ศษ
3. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.พงศกร

สาขาอณูพนั ธศุ าสตร์-อณูชวี วิทยาการแพทย์ คอนโด หัวหนา้ สาขา
1. รองศาสตราจารย์ ดร.สุมาลี ภมรประวตั ิ
2. รองศาสตราจารย์ ดร.กรณ์กาญจน์

สาขาเซลลช์ วี วทิ ยา ตัณทราวฒั น์พนั ธ์ หัวหนา้ สาขา
1. รองศาสตราจารย์ ดร.ชยั รัตน์ มะโนจนั ทร์
2. รองศาสตราจารย์ ดร.ศริ ิกุล เขยี วละม้าย
3. รองศาสตราจารย์ ดร.ภาคภูมิ ศรวี ิไลเจรญิ
4. รองศาสตราจารย์ ดร.นงลกั ษณ์ ตันตกิ ัลยาภรณ ์
5. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ดวงรัตน์

4. ผลงานด้านการศึกษา
ระดับปรญิ ญาตรี
สถานวทิ ยาศาสตรพ์ รคี ลนิ กิ รบั ผดิ ชอบการจดั การเรยี นการสอนดา้ นวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทยพ์ นื้ ฐานทงั้ หมด 54
รายวชิ า จำ� นวน 186 หน่วยกติ ได้แก่
1. รายวิชาทม่ี ีการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ (PBL) ไดแ้ ก่
- หลกั สตู รแพทยศาสตรบณั ฑติ ระยะที่ 2 รวม 14 รายวชิ า จำ� นวน 67 หนว่ ยกติ สำ� หรบั นกั ศกึ ษาแพทย์
ชน้ั ปที ี่ 1 ชน้ั ปที ี่ 2 และชนั้ ปีท่ี 3 รวม 512 คน
2. รายวิชาที่มีการจัดการเรยี นการสอนลกั ษณะอ่นื ได้แก่
- รายวชิ าเลอื ก รวม 11 วชิ า 34 หนว่ ยกิต สำ� หรับนกั ศึกษาแพทย์ ชนั้ ปีที่ 3 รวม 173 คน
- รายวชิ าสำ� หรบั นกั ศกึ ษาแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ต์ ชน้ั ปที ี่ 1 และชน้ั ปที ี่ 2 และรายวชิ าทเ่ี ปดิ สอนใหก้ บั
คณะตา่ ง ๆ ในศนู ยส์ ขุ ศาสตร์ ไดแ้ ก่ คณะทนั ตแพทยศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ คณะสหเวชศาสตร์ คณะสาธารณสขุ -
ศาสตร์ และคณะเภสัชศาสตร์ รวม 29 รายวชิ า จำ� นวน 85 หน่วยกติ มนี ักศึกษารวมทั้งสน้ิ 690 คน
ระดบั บณั ฑิตศึกษา
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต และหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ชีวเคมีและชีววิทยาโมเลกุล) เร่ิมเปิด
หลกั สูตรในปกี ารศกึ ษา 2551 และในปีการศึกษา 2562 มีจำ� นวนนกั ศึกษารวม 13 คน เป็นนกั ศกึ ษาระดับปรญิ ญาโท
9 คน และนักศกึ ษาระดับปริญญาเอก 4 คน

11

รายงานประจ�ำ ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑติ และหลกั สตู รปรชั ญาดษุ ฎบี ณั ฑติ สาขาวชิ าเซลลต์ น้ กำ� เนดิ และอณชู วี วทิ ยา
(หลกั สูตรนานาชาติ) เริ่มเปดิ หลักสตู รในปีการศกึ ษา 2557 และในปกี ารศกึ ษา 2562 มจี �ำนวนนักศึกษารวม 11 คน
เปน็ นักศึกษาระดบั ปรญิ ญาโท 6 คน และนักศึกษาระดับปริญญาเอก 5 คน
นอกจากนี้ คณาจารย์สถานวิทยาศาสตร์พรีคลินิก ได้มีส่วนร่วมในการจัดการเรียนการสอนในหลักสูตร
วิทยาศาสตรมหาบณั ฑิตและปรัชญาดษุ ฎีบณั ฑิตสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ และสาขาการแพทย์แผนไทยประยุกต์

5. ผลงานด้านการวิจัยและผลงานวิชาการ
ทนุ วิจัย
คณาจารยส์ ถานฯ พรคี ลนิ กิ ไดร้ บั เงนิ สนบั สนนุ งานวจิ ยั ในปงี บประมาณ 2563 จากแหลง่ ทนุ ภายในและภายนอก
มหาวิทยาลัย จำ� นวน 14 ทุน เป็นจำ� นวนเงินทั้งสน้ิ 6,561,000 บาท
งานวิจัยตพี มิ พ์
สถานฯ พรีคลินิก มีบทความวิจัยท่ีได้ตีพิมพ์ในปี 2563 จ�ำนวน 28 เร่ือง โดยเป็นผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์
ในวารสารวชิ าการระดับนานาชาติ จำ� นวน 27 เร่ือง และระดับชาติ จ�ำนวน 1 เรือ่ ง
บทความวชิ าการ/ต�ำรา
สถานฯ พรีคลนิ ิก มีตำ� ราท้ังหมดท่ไี ด้รับการตพี มิ พห์ รือเผยแพร่ จ�ำนวน 3 เรอื่ ง

รางวัลผลงานวิจยั
งานประกวดผลงานวิจัยของอาจารย์ และนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา นักศึกษาระดับปริญญาตรี
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประจ�ำปี 2563 ไดแ้ ก่
รางวลั ประเภท Oral presentation
รองชนะเลศิ อันดับหน่งึ อาจารย์ ดร.พิชญานชุ รสเครอื
รองชนะเลิศอันดบั สอง อาจารย์ ดร.กานต์ แสงไพโรจน์
รางวลั ชมเชย รองศาสตราจารย์ ดร.สุมาลี คอนโด
รางวลั ประเภท Poster presentation
รางวัลชนะเลศิ รองศาสตราจารย์ ดร.ศิรกิ ลุ มะโนจันทร์
รองชนะเลศิ อันดบั หนง่ึ รองศาสตราจารย์ ดร.จารณุ ี ควรพบิ ลู ย์
รองชนะเลิศอนั ดบั สอง รองศาสตราจารย์ ดร.พรพรหม ย่อยสูงเนนิ
รางวัลชมเชย ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ดวงรตั น์ ตนั ตกิ ลั ยาภรณ์
รางวลั ผลงานวจิ ัยดเี ด่น คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ประจำ� ปงี บประมาณ 2563
รางวัลชมเชย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นุชนาฏ เสอื เลก็
รางวัลชมเชย รองศาสตราจารย์ ดร.จารณุ ี ควรพิบูลย์
รางวัลนกั วจิ ัยร่นุ ใหมด่ เี ด่น ระดับคณะ ประเภทอาจารย์ จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
อาจารย์ ดร.กานต์ แสงไพโรจน์

12

รายงานประจำ�ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

อนสุ ิทธิบตั ร
ผู้ประดิษฐ์ออกแบบ รองศาสตราจารย์ ดร.ลินดา จุฬาโรจน์มนตรี
ชอื่ ที่แสดงถึงการประดษิ ฐ์ นาโนอิมัลชันสมุนไพรส�ำหรบั ผวิ หนังสุนัข
วันออกอนุสทิ ธบิ ัตร วันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2563

จดั ต้ังหนว่ ยวจิ ยั (Research Unit – RU) มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ประจำ� ปีงบประมาณ 2563 คร้ังท่ี 2
จำ� นวน 1 หนว่ ย
- หน่วยวิจัยด้านโภชนเภสชั และความปลอดภยั ทางอาหารแหง่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์
หวั หนา้ หน่วยวิจัย อาจารย์ ดร.กานต์ แสงไพโรจน์
สมาชกิ ในหน่วยวิจัย อาจารย์ ดร.พรพรรณ สอนเชื้อ
อาจารย์ ดร.นาตยา ทองเสภี
อาจารย์ ดร.พงศกร มาตย์วิเศษ
อาจารย์ ดร. นายสตั วแพทย์ปธานนิ จนั ทรต์ รี

6. ผลงานด้านการบรกิ ารวชิ าการแก่สังคม
สถานฯ พรคี ลนิ ิก ไดจ้ ดั โครงการบริการวชิ าการแกส่ งั คม โดยใหบ้ ริการสำ� หรบั บุคคลท่วั ไป นักเรยี น นักศกึ ษา
ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาส แก่ชุมชนโดยรอบมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซ่ึงจัดต่อเนื่องเป็นประจ�ำทุกปี ได้แก่ โครงการ
Pre-clinic Open House โครงการจากห้องเรยี นสูช่ ุมชน และโครงการดว้ ยรกั และห่วงใยจากพรคี ลินิกสู่ชุมชน
นอกจากจัดโครงการบรกิ ารแกส่ งั คม สถานฯ พรีคลินกิ ยงั ใหบ้ รกิ ารแกห่ น่วยงานตา่ ง ๆ ดงั น้ี
ให้ความอนเุ คราะหร์ า่ งอาจารยใ์ หญเ่ พ่ือการศกึ ษาและวจิ ยั
- ภาควชิ าออร์โธปิดิกส์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
- ภาควชิ าโสต ศอ นาสกิ วิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
- ภาควิชาจกั ษวุ ิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
- คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- วทิ ยาลยั แพทยศาสตรน์ านาชาติจุฬาภรณ์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
- คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยรงั สิต
- คณะแพทยศาสตรว์ ชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช
- ราชวิทยาลยั แพทยอ์ อร์โธปดิ กิ สแ์ หง่ ประเทศไทย

13

รายงานประจำ�ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

ใหบ้ รกิ ารหอ้ งปฏบิ ตั ิการสำ� หรับจดั การเรยี นการสอน
- สาขาวิชากายภาพบ�ำบัด คณะสหเวชศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์
- วิทยาลัยแพทยศาสตรน์ านาชาตจิ ุฬาภรณ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- คณะทนั ตแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
- คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์
- คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยชนิ วัตร
- คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั เกษมบัณฑิต
7. ผลงานดา้ นการพฒั นาคุณภาพการศึกษา
ปี พ.ศ. 2563 สถานวิทยาศาสตร์พรีคลินิก ได้รางวัลจากการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจ�ำ
ปกี ารศกึ ษา 2562 จำ� นวน 3 รางวลั ดังนี้
1. ชมเชยหน่วยงานคณุ ภาพ
2. ประกาศนียบัตรยกยอ่ งหนว่ ยงานทีม่ ีแนวปฏิบตั ทิ ีด่ ี
3. ประกาศนียบตั รยกยอ่ งทีน่ ักศึกษาไดร้ บั รางวัลระดับชาติ
8. ผลงานดา้ นการท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรม
สถานฯ พรคี ลนิ กิ มกี ารจดั กจิ กรรมทำ� นบุ ำ� รงุ ศลิ ปวฒั นธรรม โดยจดั งานทำ� บญุ เลย้ี งพระเนอ่ื งในวนั ขน้ึ ปใี หมข่ อง
สถานวิทยาศาสตร์พรีคลินิก ท�ำบุญอุทิศส่วนกุศลให้แก่อาจารย์ใหญ่ก่อนขึ้นเรียน และงานพระราชทานเพลิงศพ
อาจารยใ์ หญเ่ ปน็ ประจำ� ทกุ ปี และบคุ ลากรตระหนกั ถงึ ความสำ� คญั ของการทำ� นบุ ำ� รงุ ศลิ ปวฒั นธรรม โดยเขา้ รว่ มกจิ กรรม
ต่าง ๆ ของคณะฯ เป็นประจ�ำ

14

รายงานประจำ�ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

9. ภาพกิจกรรมของสถานวิทยาศาสตรพ์ รคี ลินกิ
ผลงานวจิ ยั

งานประกวดผลงานวิจัยของอาจารย์ และนักศกึ ษาระดบั บัณฑิตศกึ ษา นักศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรี
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ประจำ� ปี 2563

15

รายงานประจำ�ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

โครงการพฒั นาศักยภาพบคุ ลากรและเสริมสรา้ งบรรยากาศการท�ำวจิ ัย ในหวั ข้อ “เปดิ โลกกว้างสูแ่ หล่งทนุ วจิ ัย
ภายนอก” โดยได้รบั เกียรตจิ าก ศาสตราจารย์ ดร. นายแพทย์ฉัตรชัย เหมอื นประสาท

ในวนั ที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 เวลา 13.00 - 16.00 น. ณ หอ้ งประชมุ สถานวทิ ยาศาสตรพ์ รคี ลินิก
คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

โครงการพฒั นาศกั ยภาพบุคลากรและเสรมิ สร้างบรรยากาศการทำ� วจิ ัย
ในหวั ขอ้ “การบรหิ ารงานวิจยั ให้มปี ระสิทธิภาพ”

วนั พธุ ที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 เวลา 13.00 - 16.00 น. ณ หอ้ งประชมุ สถานวทิ ยาศาสตรพ์ รคี ลนิ กิ
คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

โครงการดว้ ยรกั และห่วงใยจากพรีคลนิ กิ สู่ชมุ ชน สาขาเภสัชวิทยา และสาขาจลุ ชวี วทิ ยาและภมู ิคุม้ กนั วทิ ยา

16

รายงานประจำ�ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

คณาจารย์และเจา้ หน้าท่รี ว่ มผลติ เจลแอลกอฮอลแ์ ละบรจิ าคใหก้ ับผู้ปว่ ย
ณ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกยี รติ

โครงการ “การใช้ยาจากหอ้ งเรยี นสู่ชุมชน”
ณ ชมรมผู้สูงอายุโรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
โครงการงานท�ำบญุ อทุ ศิ สว่ นกศุ ลแดอ่ าจารยใ์ หญ่ ประจ�ำปีการศกึ ษา 2563
ณ หอ้ งประชมุ นานาชาติ อาคารเรยี นรวมและปฏิบตั ิการรวม มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
โครงการสมั มนาเพื่อพัฒนาการจัดการเรยี นการสอน รายวิชาตา่ งคณะ ประจำ� ปีการศกึ ษา 2563
วนั ที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2563 ณ ห้องประชุม 302 ชนั้ 3 อาคารราชสดุ า มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

17



รายงานประจ�ำ ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

ผลการด�ำเนนิ งาน
สถานวทิ ยาศาสตรค์ ลินกิ

19

รายงานประจ�ำ ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

สถานวิทยาศาสตร์คลินิก

1. พนั ธกิจ
1. การจดั การเรยี นการสอนนักศกึ ษาแพทย์ ในระดบั คลนิ ิก
2. ฝึกอบรมแพทย์ประจ�ำบ้าน และแพทย์ประจำ� บ้านตอ่ ยอด
3. รว่ มมอื กบั คณะต่าง ๆ ของศูนยส์ ุขศาสตร์ในการเรียน การสอนและการปฏิบตั ิงานทางคลินกิ ของนกั ศึกษา
ท้งั ระดบั ปรญิ ญา และหลังปรญิ ญา
4. การพฒั นาดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรมและการสือ่ สารในช้ันคลินิก การสรา้ งความตระหนกั ในการเป็นแพทย์
และการเปน็ อาจารย์แพทย์ทเ่ี ป็นแบบอยา่ ง
5. สนบั สนนุ งานวิจัยทางการแพทย์ของคณาจารย์
6. การพัฒนาการด�ำเนนิ งานในฐานะโรงพยาบาลเพิ่มพูนทักษะ
7. เผยแพร่ความรูด้ ้านวชิ าการทางการแพทยแ์ ก่ผู้ปว่ ย บคุ ลากร และประชาชนทว่ั ไป
8. บรหิ ารจดั การการปฏบิ ตั งิ านของแพทยท์ กุ ระดบั เพอ่ื การรกั ษาผปู้ ว่ ยทว่ั ไปและผปู้ ว่ ยเฉพาะโรค ครอบคลมุ
ทุกสาขาวชิ าท้งั ในและนอกเวลาราชการ
9. การดูแลบุคลากร และการบริหารงานโดยธรรมาภิบาล เน้นการมีส่วนร่วม สนับสนุนการพัฒนา และ
การสร้างสรรคง์ านใหม่ ๆ
2. ผลงานดา้ นการจัดการเรียนการสอน
สถานวิทยาศาสตร์คลินิก คณะแพทยศาสตร์ ท�ำหน้าที่หลักในงานการเรียนการสอนนักศึกษาปริญญาตรี
คณะแพทยศาสตร์ ในชน้ั คลนิ ิก การเพ่ิมพนู ทกั ษะใหก้ ับแพทย์ใช้ทนุ และการฝกึ อบรมแพทยเ์ ฉพาะทาง โดยในแต่ละ
ปีการศึกษามีจ�ำนวนหลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์เฉพาะทางสาขาต่าง ๆ และหลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ต่อยอด/
อนุสาขาเพิ่มขึ้นอย่างต่อเน่ือง มีจ�ำนวนหลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์เฉพาะทางสาขาต่าง ๆ ท้ังหมด 17 สาขา ได้แก่
สาขาเวชศาสตร์ครอบครัว สาขาอายุรศาสตร์ สาขากุมารเวชศาสตร์ สาขาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา สาขาศัลยศาสตร์
สาขาออรโ์ ธปดิ ิกส์ สาขารงั สีวทิ ยาวนิ ิจฉัย สาขาวิสัญญีวิทยา สาขาเวชศาสตรฉ์ ุกเฉนิ สาขาจักษุวทิ ยา สาขาโสต ศอ
นาสกิ วทิ ยา สาขาจติ เวชศาสตร์ สาขาประสาทวทิ ยา สาขาตจวทิ ยา สาขาประสาทศลั ยศาสตร์ สาขาอายรุ ศาสตรโ์ รคเลอื ด
และสาขาพยาธิวิทยากายวิภาค และการฝึกอบรมแพทย์ต่อยอด/ อนุสาขา 20 สาขา ได้แก่ อนุสาขาอายุรศาสตร์
โรคหวั ใจ อายรุ ศาสตรโ์ รคระบบทางเดนิ อาหาร อายศุ าสตรโ์ รคไต อายรุ ศาสตรโ์ รคตดิ เชอ้ื อายรุ ศาสตรโ์ รคตอ่ มไรท้ อ่ และ
เมตาบอลิสม อายุรศาสตร์โรคระบบหายใจและภาวะวิกฤตระบบหายใจ กุมารเวชศาสตร์โรคภูมิแพ้และภูมิคุ้มกัน
กมุ ารเวชศาสตรโ์ รคตดิ เชอื้ กมุ ารเวชศาสตรโ์ รคหวั ใจ อนสุ าขาหตั ถการปฏบิ ตั ริ กั ษาโรคหวั ใจและหลอดเลอื ด แพทยต์ อ่ ยอด
ประสาทวทิ ยาโรคหลอดเลอื ดสมองและการตรวจหลอดเลอื ดสมองดว้ ยคลน่ื เสยี งความถสี่ งู แพทยต์ อ่ ยอดโรคจอประสาท
ตาและวุ้นตา แพทย์ต่อยอดโรคต้อหิน แพทย์ต่อยอดกระจกตาและการผ่าตัดแก้ไขสายตา แพทย์ต่อยอดเวชศาสตร์
การกฬี า แพทยต์ อ่ ยอดขอ้ สะโพกและขอ้ เขา่ แพทยต์ อ่ ยอดศลั ยศาสตรท์ างมอื แพทยต์ อ่ ยอดศลั ยศาสตรก์ ระดกู สนั หลงั และ

20

รายงานประจำ�ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

แพทย์ต่อยอดศัลยศาสตร์ทางเท้าและข้อเท้า อนุสาขากุมารเวชศาสตร์พัฒนาการและพฤติกรรม แพทย์ประจ�ำบ้าน
ต่อยอดสาขามะเร็งวิทยา และแพทยต์ ่อยอดสาขาศลั ยกรรมจักษุตกแตง่ และเสรมิ สรา้ ง
มจี ำ� นวนแพทยป์ ระจำ� บา้ นและแพทยป์ ระจำ� บา้ นตอ่ ยอดรวม 330 คน และมจี ำ� นวนอาจารย์ ในสถานฯ คลนิ กิ
เพมิ่ ขน้ึ เชน่ กนั ซงึ่ แบง่ เปน็ อาจารย์ สงั กดั คณะแพทยศาสตร์ 213 คน และสงั กดั โรงพยาบาลธรรมศาสตรเ์ ฉลมิ พระเกยี รติ
86 คน นอกจากนัน้ ยังมีแพทยใ์ ช้ทุนท้ัง 3 ปรี วมทัง้ สนิ้ 71 คน
มกี ารขยายหอ้ งเรยี นจากเดมิ จำ� นวน 13 หอ้ งเพม่ิ อกี จำ� นวน 2 หอ้ งเรยี นขนาด 140 ทน่ี ง่ั และหอ้ งขนาด 40 ทน่ี ง่ั
ซ่งึ เพียงพอต่อการจดั การเรียนการสอนในช้ันคลินิก และได้นำ� ระบบโฆษณาและเผยแพร่การสื่อสาร (Digital signage)
มาใชแ้ ทนการประชาสมั พนั ธท์ ่บี อร์ด

21

รายงานประจำ�ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

3. ผลงานด้านการบริการผู้ป่วย
สถานวทิ ยาศาสตรค์ ลนิ กิ รบั ผดิ ชอบจดั สรรแพทยใ์ หบ้ รกิ ารตรวจรกั ษาผปู้ ว่ ยนอก ซง่ึ มกี ารใหบ้ รกิ ารผปู้ ว่ ยนอก
เฉล่ียวันละประมาณ 2,000-3,000 คน และใหก้ ารรักษาผู้ปว่ ยในทุกสาขาวิชา ซง่ึ รองรบั ผูป้ ่วยในได้ 706 เตยี ง รวมท้งั
ให้การบริการผู้ป่วยที่แผนกอุบัติเหตุ-ฉุกเฉินตลอด 24 ช่ัวโมง และการให้บริการคลินิกพิเศษเฉพาะทางด้านต่าง ๆ
โดยอาจารย์ แพทยผ์ เู้ ชย่ี วชาญเฉพาะดา้ นอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ และไดม้ าตรฐานทางการแพทย์ เพอื่ ใหผ้ ปู้ ว่ ยพงึ พอใจสงู สดุ
จ�ำนวนผู้ป่วยท่ีมารับบริการเพิ่มจ�ำนวนขึ้นอย่างมาก ท้ังผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน ทั้งน้ีได้มีการเปิดขยาย
การใหบ้ รกิ ารศนู ยก์ ารแพทยเ์ ฉพาะทาง 18 ศนู ยม์ ดี งั น้ี 1) Cardiac center 2) Eye center 3) Emergency medicine
4) DM center 5) Stroke center 6) Arthroplasty center 7) Prenatal center 8) ศนู ย์โรคหืดในเด็ก 9) ศูนย์
เด็กพิการสมอง 10) Child protection center 11) ศูนย์บ�ำบัดทดแทนไต 12) Cancer center 13) Minimal
invasive surgery center 14) Reproductive medicine center 15) ศนู ย์ Sleep lab 16) ศนู ยใ์ หก้ ารดแู ลผถู้ กู กระทำ�
ความรุนแรงในครอบครัว 17) ศนู ยด์ ูแลผู้ทมี่ ีปญั หาดา้ นสุขภาพจิต พฤตกิ รรม และการเรียนรู้ และ 18) ศูนยร์ งั สีรกั ษา
ศนู ยก์ ารแพทยเ์ ฉพาะทาง ที่มีแผนพฒั นาบรกิ ารระยะตอ่ ไป อกี 5 ศูนย์ ไดแ้ ก่ 1) Trauma center 2) Organ
transplant center 3) Allergy and respiratory center 4) Sport injury center และ 5) Aging medicine
4. ผลงานด้านการบริการวชิ าการ
สถานวิทยาศาสตร์คลินิกสนับสนุนให้แพทย์เป็นวิทยากรในการให้ความรู้ด้านการแพทย์ เช่น โรคที่พบบ่อย
การปฏิบตั ิตัวของผู้ป่วยในการดูแลสขุ ภาพ การรักษา การสง่ เสรมิ ฟ้ืนฟสู ขุ ภาพและการป้องกันโรคใหบ้ คุ ลากร รวมทัง้
การตีพมิ พ์ต�ำราทางการแพทยด์ ้วย
สถานวทิ ยาศาสตรค์ ลนิ กิ ยงั ไดส้ นบั สนนุ การจดั ประชมุ วชิ าการตลอดทงั้ ปเี ปน็ ประจำ� ตอ่ เนอื่ งทกุ ปี โดยใหค้ วามรู้
แก่บุคลากรทางการแพทย์ทั้งภายในและภายนอกคณะแพทยศาสตร์ รวมท้ังบุคคลทั่วไป มีการจัดประชุม อบรม
สมั มนาทางวชิ าการสำ� หรบั บคุ ลากรทางการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ รวมทง้ั จดั กจิ กรรมบรกิ ารวชิ าการแกป่ ระชาชนทวั่ ไป
และออกหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ร่วมกับหน่วยงานอ่ืน ๆ ทุกเดือน เช่น การรับบริจาคเลือดร่วมกับธนาคารเลือด การ
ตรวจสุขภาพ ในพิธีพระราชทานปรญิ ญาบตั รและการรับเสด็จ รวมท้งั หนว่ ยตรวจสุขภาพฉกุ เฉินกรณเี หตพุ ิบัตภิ ัย และ
ตั้งแต่การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้มีการจัดตารางเวรแพทย์ตรวจคัดกรองผู้ป่วย
สงสยั ตดิ เชอื้ COVID-19 ตารางแพทยต์ รวจ EID Clinic ผใู้ หญ่ และการจดั แพทยไ์ ปอยเู่ วรปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ ณ State quarantine
ณ โรงแรม Grace Hotel Bangkok ตามนโยบายของรัฐบาลในการควบคุมโรคติดต่อและในส่วนของบุคลากร
สายสนบั สนนุ วิชาการกม็ ีการจดั เวรตรวจคดั กรอง ณ บรเิ วณหน้าหอ้ งกายภาพบ�ำบัดและทค่ี ณะแพทยศาสตร์ เป็นต้น

22

รายงานประจ�ำ ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

5. ผลงานด้านการพฒั นาบคุ ลากร
สถานวิทยาศาสตร์คลินิกได้ก�ำหนดแผนอัตราก�ำลังแพทย์ และเจ้าหน้าท่ีให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาของ
คณะแพทยศาสตรแ์ ละโรงพยาบาลธรรมศาสตรเ์ ฉลมิ พระเกยี รติ สนบั สนนุ ใหอ้ าจารย์ แพทยท์ ง้ั ทสี่ งั กดั คณะแพทยศาสตร์
และโรงพยาบาลธรรมศาสตรเ์ ฉลมิ พระเกยี รติ ศกึ ษาตอ่ ทง้ั ในประเทศและตา่ งประเทศ รวมทง้ั สนบั สนนุ การขอตำ� แหนง่
วิชาการ สนับสนุนให้มีการประชุม ดูงานเพ่ือเพิ่มพูนความรู้ทางวิชาการ ทางแพทยศาสตร์ศึกษา และการบริหาร
ทางการแพทย์ โดยสนบั สนนุ อาจารย์ ไปประชมุ /ดูงาน ทั้งตา่ งประเทศ ในประเทศ และการอบรมภาษาตา่ งประเทศ
สนับสนุนการท�ำงานเป็นทีม เปิดรับฟังความคิดเห็น การประชุมหัวหน้าภาควิชาเป็นประจ�ำทุกเดือน รวม
12 ครง้ั และการประชุมแบบไมป่ ระจ�ำ ตามภารกจิ ต่าง ๆ ทจ่ี �ำเปน็ ต้องหารือ เช่น การพิจารณาครภุ ณั ฑ์ การจัดสรร
อตั รากำ� ลงั การแกป้ ญั หาการทำ� งานระหวา่ งภาควชิ า หรอื กบั โรงพยาบาลธรรมศาสตรเ์ ฉลมิ พระเกยี รติ จดั การพบปะสงั สรรค์
คนในองค์กรแพทย์ทัง้ หมด ซ่ึงจดั ใหม้ ีการพบปะสงั สรรค์ของอาจารย์ ทั้งคณะแพทย์ใชท้ นุ และแพทย์ประจำ� บา้ นทกุ คน
เพื่อดูแลเร่อื งสวสั ดิการ สถานท่ีท�ำงาน ค่าตอบแทนตามภาระงาน องค์กรแพทย์ซึ่งแพทย์ทุกคนเป็นสมาชิก นอกจาก
ก�ำกับดูแลมาตรฐานการปฏิบตั งิ าน และจริยธรรมของแพทย์แลว้ ยังมสี ว่ นร่วมในการเสนอความคิดเหน็ ข้อเสนอแนะ
ตอ่ ผบู้ รหิ ารคณะแพทยศาสตรแ์ ละโรงพยาบาลธรรมศาสตรเ์ ฉลิมพระเกียรติ
นอกจากนั้น สถานวิทยาศาสตร์คลนิ ิกไดด้ ำ� เนนิ กจิ กรรมโครงการบริหารจดั การองคก์ ร (Excellent or smart
organization) ได้แก่ โครงการให้ความรู้ faculty/professional meeting เพ่ือการพัฒนาอาจารย์ แพทย์ใช้ทุน
แพทย์ประจำ� บา้ น เรอ่ื งท่นี ่าสนใจของสังคมทีเ่ กยี่ วข้องกบั ทางการแพทย์โดยอาจารย์ ผู้เชย่ี วชาญเฉพาะทางแตล่ ะเรอ่ื ง
ดังนี้
เร่อื ง Update on the 2019 Novel Coronavirus ตระหนัก แตไ่ มต่ ระหนก พร้อมรบั มอื อยา่ งปลอดภัยและ
Clinical pathological conference เรือ่ ง progressive dyspnea with sever anemia in an elderly patient
กจิ กรรมขององคก์ รแพทย์ “ผบู้ รหิ ารพบสมาชกิ องคก์ รแพทย”์ โดยผอู้ ำ� นวยการโรงพยาบาลธรรมศาสตรเ์ ฉลมิ พระเกยี รติ
รองศาสตราจารย์ นายแพทยพ์ ฤหสั ตอ่ อดุ ม และคณบดคี ณะแพทยศาสตร์ รองศาสตราจารย์ นายแพทยด์ ลิ ก ภยิ โยทยั

23

รายงานประจำ�ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

เป็นต้น ซ่ึงเป็นการแลกเปล่ียนเรียนรู้ด้านวิทยาการใหม่ ๆ ท้ังในเร่ืองวิชาการทางการแพทย์และการเรียนการสอน
ใหแ้ กค่ ณาจารยแ์ พทย์ รวมถงึ แพทยป์ ระจำ� บา้ นและแพทยใ์ ชท้ นุ อยา่ งสมำ่� เสมอ และยงั สง่ เสรมิ การพฒั นาศกั ยภาพของ
อาจารย์ และการบริหารจัดการองค์กรแพทย์ ให้สอดคลอ้ งกับพันธกิจและวิสัยทัศนข์ องคณะแพทยศาสตร์
นอกจากนั้นยังมีการก�ำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงานของแพทย์ และหัวหน้าสาขาให้
ครอบคลุมทุกด้านปีละ 2 ครั้ง เพิ่มอัตราก�ำลังเจ้าหน้าที่ธุรการเพ่ือสนับสนุนการปฏิบัติงานของแพทย์ในแต่ละสาขา
มกี ารพฒั นาและการดแู ลแพทยใ์ ชท้ นุ มคี ณะกรรมการฯ การประชมุ สมำ�่ เสมอทกุ 2 เดอื น รวม 6 ครงั้ มกี ารรบั ฟงั ความ
คดิ เห็น การให้ขอ้ มูลย้อนหลังและการติดตามการลงหตั ถการในระบบ Online ของแพทยสภา
สถานวทิ ยาศาสตรค์ ลนิ กิ ไดด้ ำ� เนนิ การโครงการการตรวจเยยี่ มและประเมนิ สถาบนั ฝกึ ปฏบิ ตั งิ านเพมิ่ พนู ทกั ษะ
ตามท่ีแพทยสภาประกาศแต่งต้ังคณะอนุกรรมการตรวจเย่ียมและประเมินสถาบันฝึกปฏิบัติงานเพ่ิมพูนทักษะวาระ
พ.ศ. 2552 - 2554 น้ัน เครอื ข่ายที่ 8 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ เปน็ ผรู้ บั ผิดชอบตรวจเยยี่ มและ
ประเมนิ สถาบนั ฝกึ ปฏบิ ตั งิ านฯ พรอ้ มใหก้ ารสนบั สนนุ ทางวชิ าการแกส่ ถาบนั ฝกึ ปฏบิ ตั งิ านในจงั หวดั ตอ่ ไปน้ี ไดแ้ ก่ จงั หวดั
ชุมพร จงั หวดั ระนอง จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดสระบรุ ี ประกอบด้วยโรงพยาบาลสระบรุ ี และโรงพยาบาลบ้านหม่ี
จงั หวดั ลพบรุ ี ประกอบดว้ ยโรงพยาบาลอนนั ทมหดิ ล โรงพยาบาลพระนารายณม์ หาราชและโรงพยาบาลบา้ นหม่ี ปจั จบุ นั
โรงพยาบาลอนันทมหิดลไม่ได้ประเมินแล้ว จังหวัดปทุมธานี ประกอบด้วยโรงพยาบาลปทุมธานี และโรงพยาบาล
ธรรมศาสตรเ์ ฉลมิ พระเกยี รติ และในปี 2561 ไดร้ บั มอบหมายจากแพทยสภาใหต้ รวจเยยี่ มและประเมนิ สถาบนั เพมิ่ เตมิ
ได้แก่ โรงพยาบาลสิชล จังหวัดนครศรีธรรมราช

24

รายงานประจำ�ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

อาจารยแ์ พทย์ภาควชิ าต่าง ๆ ไดร้ ับรางวลั ทีเ่ กีย่ วข้องกบั การสรา้ งช่อื เสียงดา้ นตา่ ง ๆ ผลงานทางวิชาการ วิจยั
และนวัตกรรมใหม่ทางการแพทย์ ประจ�ำปี 2563 ดังนี้

1. รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ธนา ขอเจริญพร ได้รับพระราชทานรางวัล “บุคคลด้านการแพทย์และ
สาธารณสุขดีเด่น” จากสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพัชรกิติยาภา นเรนทิราเทพยวดี กรมหลวงราชสาริณีสิริพัชร
มหาวัชรราชธิดา ในงานเทียนส่องใจ เนื่องในวันเอดสโ์ ลก ครัง้ ท่ี 28
2. ศาสตราจารย์ นายแพทยอ์ นุชา อภิสารธนรกั ษ์ ได้รับเขม็ ประกาศเกียรติคุณนักเรยี นทุนรฐั บาลไทยดีเดน่
ประจำ� ปี 2563
3. รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ณัฐพล ธรรมโชติ ได้รบั รางวัลผลงานวจิ ัยดเี ด่นอนั ดบั 1 เรือ่ ง Intravenous
Dexamethasone Injection Reduces Pain From 12 to 21 Hours After Total Knee Arthroplasty: A Double-
Blind, Randomized, Placebo-Controlled Trial

25

รายงานประจ�ำ ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

4. ศาสตราจารย์ นายแพทย์อนุชา อภสิ ารธนรักษ์ ได้รับรางวลั ผลงานวิจัยดีเดน่ อนั ดบั 2 เร่ือง Outcomes
of extended-spectrum beta-lactamases producing Enterobacteriaceae colonization among patients
abdominal surgery patients
5. รองศาสตราจารย์ นายแพทยธ์ นพงษ์ ไวทยะวญิ ญู ไดร้ บั รางวลั ผลงานวจิ ยั ดเี ด่นอันดบั 3 เรื่อง Outcomes
of Endoscopic Carpal Tunnel Release with Ring Finger Flexor Digitorum Superficialis Opponensplasty
in Severe Carpal Tunnel Syndrome
6. รองศาสตราจารย์ นายแพทยส์ มบตั ิ มุ่งทวพี งษา ได้รับทนุ การวิจยั พัฒนาศกั ยภาพงานวิจัย FAST TRACK
จากกองทุนมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ประจำ� ปีงบประมาณ 2563
7. อาจารย์ นายแพทยณ์ ัฐพล อฬุ ารศิลป์ ได้รบั รางวัล WSO ANGELS AWARDS & THAILAND ANGELS
AWARDS 2019
8. รองศาสตราจารย์ นายแพทยศ์ กั ดช์ิ ยั วงศกติ ติรักษ์ ไดร้ บั รางวลั ศิษย์เกา่ แพทยร์ ามาธิบดี ดีเดน่ ประจ�ำปี
2563 ดา้ นวชิ าการ
9. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ นายแพทยฉ์ ตั รชยั ม่ิงมาลัยรกั ษ์ ไดร้ บั โลป่ ระกาศเกยี รตคิ ุณอาจารยแ์ พทยผ์ ู้ประพฤติ
ดีเด่นในเชงิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม จากแพทยสภา ประจำ� ปี 2563
10. อาจารย์ นายแพทยท์ ศนยั พิพัฒน์โชตธิ รรม ได้รบั โล่เชิดชเู กียรติ ครดู ีเดน่ ประจำ� ปกี ารศกึ ษา 2563
11. อาจารย์ นายแพทยช์ นะภัย ไชยกุลศลิ ป์ ไดร้ บั รางวลั นักวิจัยรุ่นใหม่ดเี ด่นประจ�ำปี 2563
จ�ำนวนผู้ดำ� รงตำ� แหน่งทางวิชาการ (เทยี บจากจำ� นวนอาจารย์ ภายใต้โครงสรา้ งของสถานวิทยาศาสตรค์ ลินิก
ทส่ี ังกัดคณะแพทยศาสตร์ จำ� นวน 299 คน)

ตำ� แหนง่ จำ� นวน รอ้ ยละ
อาจารย์ 129 43.14
ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ 88 29.43
รองศาสตราจารย์ 73 24.42
ศาสตราจารย์ 9 3.01
รวม 299 100

จ�ำนวนอาจารย์ แพทยท์ ีไ่ ด้รับแต่งตง้ั ใหด้ ำ� รงตำ� แหนง่ ทางวชิ าการปี 2563 ดงั นี้
1. ศาสตราจารย์ นายแพทยภ์ าสกร ศรที ิพยส์ ุโข
2. รองศาสตราจารย์ นายแพทย์อดศิ ัย บัวค�ำศรี
3. รองศาสตราจารย์ นายแพทยธ์ รรมนาถ เจริญบญุ
4. รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ประสทิ ธ์ิ มหาวงศข์ จติ
5. รองศาสตราจารย์ นายแพทยว์ ศิเทพ ล้มิ วรพทิ กั ษ์

26

รายงานประจำ�ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

6. รองศาสตราจารย์ แพทย์หญงิ พมิ พ์ใจ อันทานนท์
7. รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ณรงคก์ ร ซา้ ยโพธิก์ ลาง
8. รองศาสตราจารย์ แพทย์หญงิ ภัทริน ภิรมยพ์ านชิ
9. รองศาสตราจารย์ แพทยห์ ญิงกิตตวิ รรณ โรจนเนืองนติ ย์
10. รองศาสตราจารย์ นายแพทย์นวพล กาญจรัณย์
11. รองศาสตราจารย์ นายแพทย์กิตติชยั อคั รพิพัฒน์กลุ
12. รองศาสตราจารย์ แพทย์หญิงปิยนุช คงทิม
13. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ นายแพทยบ์ ันดาล ชือ่ ตรง
14. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ แพทยห์ ญิงนพิ ทั ธา วินะยานุวัฒคิ ณุ
สถานวิทยาศาสตร์คลินิก ยังมีส่วนร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ของคณะแพทยศาสตร์ เนื่องในวาระครบรอบ 30 ปี
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

27



รายงานประจ�ำ ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

ผลการดำ� เนนิ งาน
สถานเวชศาสตรช์ มุ ชนและ

เวชศาสตรค์ รอบครวั

29

รายงานประจ�ำ ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

สถานเวชศาสตรช์ ุมชนและเวชศาสตรค์ รอบครัว

1. หัวหนา้ สถานฯ รองศาสตราจารย์ ดร.ศรเี มือง พลงั ฤทธ ิ์
หวั หน้าสาขาเวชศาสตร์ชุมชน ผู้ช่วยศาสตราจารย์สวณ ี เตง็ รังสรรค์
หัวหน้าสาขาเวชศาสตรค์ รอบครัว อาจารย์ แพทยห์ ญิงวศิ รี วายุรกุล
เลขานุการสถานฯ นางสาวอัญญรตั น ์ ศรวี จิ ารณ์

2. วิสัยทศั น์
เป็นองค์กรแห่งความสุข และเป็นต้นแบบในการบูรณาการองค์ความรู้ทางเวชศาสตร์ชุมชนและ
เวชศาสตรค์ รอบครวั เพ่ือการจดั การเรยี นการสอน การวิจยั และการบริการวิชาการ
พนั ธกิจ
1. พัฒนาใหเ้ ปน็ องค์กรแห่งความสุข
2. บูรณาการองค์ความรู้ทางเวชศาสตร์ชุมชนและเวชศาสตร์ครอบครัว ด้านการจัดการเรียนการสอน
ทีเ่ ป็นตน้ แบบใหแ้ กส่ ถาบนั การศึกษาอ่ืน ๆ
3. บูรณาการองค์ความรู้ ทางเวชศาสตร์ชุมชนและเวชศาสตร์ครอบครัว ด้านการวิจัยท่ีเป็นต้นแบบให้แก่
สถาบนั อนื่ ๆ
4. บูรณาการองค์ความรู้ทางเวชศาสตร์ชุมชนและเวชศาสตร์ครอบครัว ด้านการบริการที่เป็นต้นแบบให้แก่
สถาบนั อื่น ๆ

3. รายชื่ออาจารย์
สาขาเวชศาสตร์ชมุ ชน
1. ศาสตราจารย์ ดร. นายแพทย์สุรศักดิ์ บูรณตรเี วทย์
2. รองศาสตราจารย์ ดร.ศรีเมอื ง พลังฤทธิ์
3. รองศาสตราจารย์ชุมพจต์ อมาตยกลุ
4. ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. นายแพทย์พสษิ ฐ์พล วชั รวงศ์วาน
5. ผู้ช่วยศาสตราจารย์สวณี เต็งรงั สรรค์
6. ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ พันโท ดร. นายแพทย์กฤติณ ศลิ านันท ์
7. ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.สภุ ิกา แดงกระจา่ ง
8. อาจารย์ ดร.อภชิ า นอ้ มศริ ิ
9. อาจารย์มานิดา มณอี ินทร์
10. อาจารย์ นายแพทย์ภทั รภณ แจ่มมิน
11. อาจารย์ ดร. แพทย์หญงิ อลิสสา รัตนตะวัน
12. อาจารยณ์ ฐนิ ี พงศ์ไพฑูรยส์ นิ (ลาศกึ ษาตอ่ )
13. อาจารย์ แพทย์หญงิ งามจิต คงสุผล (ลาศึกษาต่อ)

30

รายงานประจำ�ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

สาขาเวชศาสตร์ครอบครัว
1. รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ววิ ัฒน์ พทุ ธวรรณไชย
2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทยฉ์ ตั รนรินทร์ เมธกี ลุ
3. อาจารย์ แพทยห์ ญงิ วศิ รี วายรุ กลุ
4. อาจารย์ แพทยห์ ญงิ นติมา ติเยาว์
5. อาจารย์ แพทยห์ ญงิ เพชรรัตน์ บนุ นาค
6. อาจารย์ แพทย์หญงิ เรือนขวัญ กัณหสงิ ห์
7. อาจารย์ แพทย์หญงิ วดี วงศ์ประดิษฐ์
4. ผลงานดา้ นการศกึ ษา
4.1 ระดับปรญิ ญาตรี สถานฯ รบั ผดิ ชอบท้งั หมด 6 รายวิชาบงั คับ (สอนนกั ศกึ ษาแพทย์ชั้นปที ี่ 2-6) และ
4 รายวชิ าเลอื ก ชว่ ยประสานงาน 4 รายวชิ ากลางของคณะแพทยศาสตร์ ชว่ ยสอนรายวชิ าชน้ั ปที ี่ 1 และบางรายวชิ าของ
สถานวทิ ยาศาสตรพ์ รคี ลนิ กิ ของหลกั สตู รแพทยศาสตรบณั ฑติ อกี ทงั้ ชว่ ยสอนบางรายวชิ าของหลกั สตู รแพทยแ์ ผนไทย
ประยกุ ต์ และช่วยสอนบางรายวชิ าของหลกั สตู รปริญญาโท คณะพยาบาลศาสตร์

4.1.1 ชน้ั ปที ี่ 2 รายวชิ าการดแู ลสขุ ภาพแบบองคร์ วม 1 (พศ.251) ปกี ารศกึ ษา 2563 เปลย่ี นชอ่ื เปน็ รายวชิ า
เวชศาสตร์ชุมชนและเวชศาสตร์ครอบครัว 1 (พศ.251) เพื่อศึกษาการเข้าถึงชุมชน รวมทั้งสุขภาพและปัจจัยก�ำหนด
สขุ ภาพของคนในชมุ ชน โดยแบง่ เปน็ 15 - 16 กลมุ่ ยอ่ ย แตล่ ะกลมุ่ ยอ่ ยมอี าจารย์ ประจำ� กลมุ่ ยอ่ ย 1 คน เขา้ ศกึ ษาชมุ ชน
กลมุ่ ยอ่ ยละ 1 หมบู่ า้ น ในภาพปกี ารศกึ ษา 2562 (วนั ที่ 24 มถิ นุ ายน - วนั ที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2562) สำ� หรบั ปกี ารศกึ ษา
2563 (วนั ที่ 27 กรกฎาคม - วันที่ 21 สงิ หาคม พ.ศ. 2563) สถานฯ ไม่สามารถพานักศกึ ษาแพทยช์ ้นั ปที ่ี 2 เข้าศกึ ษา
ชุมชนได้ เนื่องจากมีการระบาดของโรค COVID-2019 จึงใช้การสอน Online โดยน�ำเนอ้ื หาภาคทฤษฎีของช้ันปีท่ี 3
มาสอนด้วย และจะน�ำภาคปฏิบัติไปสอนตอนข้นึ ชัน้ ปที ่ี 3

ศกึ ษาทโ่ี รงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำ� บล สัมภาษณค์ นในชมุ ชน ศกึ ษาการเขา้ ถึงชุมชน

4.1.2 ช้ันปีที่ 3 รายวิชาการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม 2 (พศ.351) เพ่ือร่วมกับชุมชนท�ำโครงการ
สรา้ งเสรมิ สุขภาพ หมู่บ้านละ 1 โครงการ ผลลัพธ์ได้ 15 - 16 โครงการต่อปี ในภาพ ปีการศกึ ษา 2563 (วนั ท่ี 16
พฤศจกิ ายน - วนั ที่ 11 ธนั วาคม พ.ศ. 2563) ออกชมุ ชนท่ี จงั หวดั ปทมุ ธานี เปน็ รนุ่ แรกทจ่ี ดั แบบไปกลบั (ไมพ่ กั คา้ งคนื )

ท่ีโรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตำ� บล จดั โครงการร่วมกบั ชุมชน นำ� เสนอในรูปแบบโปสเตอร์

31

รายงานประจ�ำ ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

4.1.3 ชนั้ ปที ี่ 4 รายวชิ าการดแู ลสขุ ภาพแบบองคร์ วม 3 (พศ.451) ศกึ ษาดงู านที่ ศนู ยบ์ รกิ ารสาธารณสขุ
ของกรุงเทพฯ และที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล (รพ.สต.) ในจังหวัดปทุมธานี ในปีการศึกษา 2562
(วันท่ี 17 กมุ ภาพันธ์ - วนั ท่ี 13 มนี าคม พ.ศ. 2563)

ศกึ ษาดูงานที่ศนู ย์บรกิ ารสุขภาพ กทม. ศกึ ษาดูงานท่ี สถานอี นามยั Workshop งานวจิ ยั

สำ� หรับปกี ารศกึ ษา 2563 (วนั ท่ี 8 - 26 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2563) สถานฯ ไมส่ ามารถพานักศึกษาแพทย์ชัน้ ปีท่ี 4
เขา้ ศึกษาชมุ ชนได้ เนื่องจากมีการระบาดของโรค COVID-2019 จึงใช้การสอน Online

4.1.4 ชน้ั ปที ี่ 5 รายวชิ าการดแู ลสขุ ภาพแบบองคร์ วม 4 (พศ.551) ฝกึ ออกตรวจผปู้ ว่ ยนอก ทศ่ี นู ยแ์ พทย์
ปฐมภมู แิ ละแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ต์ และทโี่ รงพยาบาลธรรมศาสตรเ์ ฉลมิ พระเกยี รติ ออกเยย่ี มบา้ นผปู้ ว่ ย 3 ครงั้ /บา้ น/
กลุม่ ย่อยนักศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2563 (วนั ที่ 31 สงิ หาคม พ.ศ. 2563 - วันท่ี 12 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2564 แบบหมุนกล่มุ )

ออก OPD เยยี่ มครอบครวั ผปู้ ่วย ใหส้ ขุ ศึกษาที่ครอบครวั ผปู้ ว่ ย

4.1.5 ชน้ั ปที ี่ 6 รายวชิ าการดแู ลสขุ ภาพแบบองคร์ วม 5 (พศ.651) ฝกึ งานทโ่ี รงพยาบาลชมุ ชน ทำ� กจิ กรรม
ในชมุ ชน ปีการศึกษา 2562 (วนั ท่ี 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 - วันท่ี 6 มนี าคม พ.ศ.​ 2563 แบบหมุนกลมุ่ )

ฟงั Orientation ฝกึ ปฏบิ ตั งิ านทโี่ รงพยาบาลอำ� เภอ

32

รายงานประจำ�ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

ส�ำหรับปีการศึกษา 2563 (วันที่ 5 พฤษภาคม - วันท่ี 2 เมษายน พ.ศ. 2563 แบบหมุนกลุ่ม) สถานฯ
ไมส่ ามารถพานักศึกษาแพทยช์ ั้นปีที่ 6 ไปฝึกปฏิบตั ิท่ีชุมชนได้ เนือ่ งจากมกี ารระบาดของโรค COVID-2019 จงึ ใช้การ
สอน Online ในภาคการศึกษาที่ 1

4.1.6 โครงการพัฒนาการจดั การเรียนการสอน รายวิชาการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม 1-5 ของสถานฯ

วันท่ี 25 - 26 มนี าคม พ.ศ. 2562 มอี าจารย์ และเจ้าหน้าท่ี จากศนู ย์แพทยศาสตรศกึ ษาเขา้ รว่ มด้วย
4.2 ระดับหลงั ปริญญา สถานฯ มหี ลกั สตู รหลงั ปริญญา 2 หลักสูตร ไดแ้ ก่
1) หลักสตู รปรชั ญาดษุ ฎบี ัณฑติ สาขาวชิ าเวชศาสตรช์ มุ ชนและเวชศาสตรค์ รอบครัว
2) หลกั สูตรแพทย์ประจำ� บ้าน สาขาเวชศาสตรค์ รอบครวั
สำ� หรบั ปกี ารศกึ ษา 2563 สถานฯ จดั ประชมุ แบบ Online รว่ มกบั ทางศนู ยแ์ พทยฯ์ เนอ่ื งจากมกี ารระบาดของ
โรค COVID-2019
4.2.1 การเรยี นการสอนระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา (ปรญิ ญาเอก) จดั สมั มนาบณั ฑติ ทง้ั In class และทาง Online
ปีการศกึ ษา 2562 มผี ู้ส�ำเรจ็ การศึกษา 1 คน

ชว่ั โมงสมั มนาบณั ฑติ In class
4.2.2 แพทย์ประจ�ำบ้าน สาขาเวชศาสตร์ครอบครัว

ส�ำเร็จการศึกษา ปี 2562 มี Half Day ทุกบา่ ยวันพุธ

33

รายงานประจ�ำ ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

5. ผลงานด้านการวจิ ัย
ผลงานตีพมิ พ์ทง้ั หมด (พ.ศ. 2562) 8 เรื่อง (ระดบั ชาติ 6 เรื่อง ระดับนานาชาติ 2 เรอ่ื ง)
อาจารย์ ทไ่ี ดร้ บั ทุนวิจยั คณะแพทยศาสตร์ มธ. 5 ทา่ น
อาจารย์ เสนอขอทนุ วิจัยภายนอก 1 ท่าน
ผลงานทไ่ี ด้รบั การอ้างองิ (Citation) 9 บทความ
6. ผลงานดา้ นบรกิ ารวชิ าการ
ปงี บประมาณ 2563 ไมส่ ามารถจดั โครงการเพม่ิ พนู ความรดู้ า้ นสขุ ภาพใหก้ บั บคุ ลากรและอาสาสมคั รสาธารณสขุ ได้
เนื่องจากมกี ารระบาดของโรค COVID-2019
7. เขา้ รว่ มกิจกรรมคณะแพทยศาสตร์
งานพิธีไหวค้ รูและมทุ ิตาจติ รว่ มกจิ กรรมวนั ท่ี 3 กันยายน พ.ศ. 2563 ณ หอ้ งประชมุ นานาชาติ 500 ที่นงั่
อาคารเรียนและปฏิบตั กิ ารรวม

ครดู ีเด่น ด้านเวชศาสตร์ชุมชนฯ

34

รายงานประจ�ำ ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

8. ผลงานดา้ นการพัฒนาคณุ ภาพ
8.1 การประกันคุณภาพการศึกษา ผลงานประจ�ำปีการศึกษา 2561 ได้รับการประเมินจากคณะกรรมการ
ประกันคุณภาพการศึกษา วันท่ี 10 กันยายน พ.ศ. 2562 และได้รับประกาศนียบัตร 3 รางวัล วันท่ี 21 มกราคม
พ.ศ. 2563 ดังน้ี
1) มีแนวทางปฏิบตั ทิ ด่ี ีดา้ นการประกันคุณภาพการศึกษา
2) มกี ารส่งเสรมิ และสนับสนนุ นักศึกษาให้ได้รับรางวัลทางวิชาการระดับนานาชาติ
3) อาจารย์ มผี ลงานทางวิชาการท่ไี ดร้ ับรางวลั ระดบั นานาชาติ 2 คน
8.2 การประเมินหลักสูตรปรชั ญาดุษฎบี ณั ฑติ สาขาเวชศาสตร์ชมุ ชนและเวชศาสตร์ครอบครัว
คณะกรรมการประเมนิ หลกั สตู รฯ มาประเมนิ เมอ่ื วนั ท่ี 27 สงิ หาคม พ.ศ. 2563 ผลการประเมนิ ได้ 3.86 คะแนน
จากเตม็ 5 คะแนน จดั อยูใ่ นระดับดี

35



รายงานประจำ�ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ผลการดำ� เนินงาน
สถานการแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ต์

37

รายงานประจำ�ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

สถานการแพทยแ์ ผนไทยประยุกต์

1. หวั หน้าสถานฯ อาจารย์ ดร.ศรีโสภา เรอื งหนู
รองหัวหนา้ สถานฯ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ พท.ป.ปฐมพงษ์ เผือกลี

2. ปรัชญาและปณธิ าน วสิ ัยทัศน์ พันธกิจ
วสิ ยั ทัศน์
“เป็นสถาบนั ชัน้ น�ำทางการแพทยแ์ ผนไทยประยุกต์ และบูรณาการองคค์ วามรู้ สู่สากล”
พนั ธกิจ
1. ผลติ แพทยแ์ ผนไทยประยุกต์ทีม่ คี ณุ ภาพและสามารถบรู ณาการองคค์ วามรูร้ ว่ มกบั สหวิชาชพี
2. ผลติ พัฒนา และสง่ เสรมิ ภมู ิปญั ญาไทยสู่งานวจิ ยั แบบบูรณาการในระดบั สากล
3. ใหบ้ ริการทางวิชาการด้านการแพทย์แผนไทยประยกุ ต์อยา่ งมคี ณุ ภาพและได้มาตรฐานวิชาชพี เพือ่ สังคม
4. บรหิ ารจดั การองค์กรอยา่ งมีคุณภาพ

3. ผลงานดา้ นการศกึ ษา
3.1 การผลิตบณั ฑติ
สถานฯ ได้จดั การศึกษา จำ� นวน 5 หลักสูตร และผลติ บณั ฑิต

จำ� นวนนักศึกษาแยกตามหลกั สูตร และระดับการศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2563

หลกั สูตร นกั ศกึ ษารับใหม่ ปีการศึกษา 2563 ผ้สู ำ� เรจ็ ปกี ารศึกษา
นักศึกษาคงอยู่ 2562
1. หลักสูตรการแพทย์แผนไทยประยุกต์ 25 11
บณั ฑิต 7 99
2
2. หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต 4 30 7
สาขาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ 38
3. หลกั สตู รปรชั ญาดษุ ฎีบัณฑติ 31 4
สาขาการแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ต์
4. หลักสูตรปรัชญาดษุ ฎบี ณั ฑิต 92
สาขาวทิ ยาศาสตร์การแพทย์
172 24
รวมท้งั หมด

38

รายงานประจ�ำ ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

3.2 ผลสมั ฤทธ์ขิ องการผลติ บัณฑิต
ผลการสอบใบประกอบวิชาชพี
➢ นักศึกษาหลกั สูตรการแพทยแ์ ผนไทยประยุกต์บัณฑติ ชนั้ ปี 3 ปีการศกึ ษา 2562
ได้สอบผา่ นเพือ่ รับใบประกอบวิชาชพี ขั้น 1 • ร้อยละ 85.71
➢ บณั ฑิตหลักสตู รการแพทย์แผนไทยประยกุ ต์บัณฑติ ช้นั ปี 4 ปีการศกึ ษา 2562
ไดส้ อบผ่านเพื่อรบั ใบประกอบวชิ าชพี ขั้น 2 • ร้อยละ 100
➢ บัณฑิตหลกั สตู รการแพทยแ์ ผนไทยประยุกต์บณั ฑติ ชั้นปี 4 ปีการศึกษา 2562
ไดส้ อบผ่านเพ่ือรบั ใบประกอบวชิ าชีพ ขน้ั 3 • รอ้ ยละ 100

3.3 ผลสมั ฤทธ์ขิ องการประกนั คณุ ภาพการศึกษาระดับหลักสูตร
สถานฯ มกี ารประกนั คณุ ภาพภายในระดบั หลกั สตู รตามเกณฑ์ IQA ของ สกอ. จำ� นวน 5 หลกั สตู ร โดยหลกั สตู ร
การแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ตบ์ ณั ฑติ ปกี ารศกึ ษา 2562 (หลกั สตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2562 และหลกั สตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2561)
ประเมินคณุ ภาพภายในตามเกณฑ์ (AUN-QA)

คะแนนการประเมนิ จากการประกันคุณภาพภายในระดบั หลกั สตู ร

หลกั สตู ร 2559 ปีการศึกษา 2562
3.35 2560 2561 3.00
1. หลักสูตรการแพทย์แผนไทยประยกุ ต์บัณฑิต 3.13 3.24 3.66 3.67
2. หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาการแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ต์ 2.89 3.83 3.73 3.72
3. หลักสูตรปรัชญาดุษฎบี ัณฑติ สาขาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ 3.13 3.56 3.83 3.18
4. หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ 2.79 3.47 3.25 3.53
5. หลักสตู รปรัชญาดษุ ฎีบณั ฑิต สาขาวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ 3.45 3.36

39

รายงานประจ�ำ ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

3.4 การพัฒนาระบบการเรยี นการสอน
3.4.1 จัดตั้งสวนสมุนไพร เพือ่ ใช้เปน็ สอ่ื ในการเรยี นการสอน
3.4.2 จดั ตั้งห้องปฏิบัตกิ ารส�ำหรับนกั ศึกษา อาคารคุณากร คณะแพทยศาสตร์
3.4.3 โครงการศกึ ษาตัวอย่างสมนุ ไพรจ�ำแนกตามหลกั อนกุ รมวธิ าน
น�ำนักศึกษาแพทย์แผนไทยประยุกต์ ช้ันปีที่ 2 เข้าร่วม “โครงการศึกษาตัวอย่างสมุนไพรจ�ำแนกตาม
หลักอนุกรมวธิ าน” ในรายวิชา ผท.202 เภสัชกรรมพฤกษศาสตรแ์ ละเภสชั เวช เมื่อวันที่ 7 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2563
ณ อทุ ยานธรรมชาติวทิ ยาสริ ีรกุ ขชาติ มหาวิทยาลยั มหดิ ล ตำ� บลศาลายา อ�ำเภอพุทธมณฑล จงั หวัดนครปฐม โดยมี
รองศาสตราจารย์รงุ่ ระวี เต็มศิริฤกษก์ ลุ เป็นวทิ ยากร

40

รายงานประจำ�ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

3.4.4 โครงการอนรุ ักษภ์ ูมิปญั ญาของหมอพ้นื บา้ น
นักศึกษาระดับปริญญาโท หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการแพทย์แผนไทยประยุกต์
เข้ารว่ มศกึ ษาและสำ� รวจสมุนไพรในโครงการอนรุ กั ษ์ภมู ิปัญญาของหมอพ้นื บ้าน จังหวัดราชบรุ ี ระหว่างวันท่ี 14 - 16
พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2563 ณ อทุ ยานธรรมชาตวิ ทิ ยา ตามพระราชดำ� รสิ มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี
อำ� เภอสวนผง้ึ จังหวดั ราชบุรี
3.4.5 พธิ ีมอบใบประกาศนยี บตั ร
มอบใบประกาศนียบัตรรางวัลนักศึกษาแพทย์แผนไทยประยุกต์ผู้ท่ีมีผลการเรียนดีเด่น จ�ำนวน
13 คน ประจ�ำปีการศึกษา 2562 เมื่อวันท่ี 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563 ณ ห้องสโมสร ชั้น 4 อาคารคุณากร
คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ศนู ยร์ งั สติ โดยไดร้ บั การสนบั สนนุ เงนิ รางวลั จากผลติ ภณั ฑ์ DOME HERB
3.4.6 พิธมี อบเสือ้ กาวนแ์ พทย์แผนไทยประยกุ ต์
มอบเสอื้ กาวนแ์ พทยแ์ ผนไทยประยกุ ต์ ใหแ้ กน่ กั ศกึ ษาชนั้ ปที ่ี 4 ปกี ารศกึ ษา 2563 เมอื่ วนั ที่ 26 พฤศจกิ ายน
พ.ศ. 2563 ณ หอ้ งสโมสร ช้นั 4 อาคารคุณากร คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ศนู ยร์ ังสิต

41

รายงานประจ�ำ ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

เสวนาแสดงความคดิ เหน็ หลกั สตู รการเรยี นการสอน และการประเมนิ ผลบณั ฑติ แพทยแ์ ผนไทยประยกุ ต์
รุ่นท่ี 11 ในวันท่ี 22 ตลุ าคม พ.ศ. 2563 ณ ห้องเรียนรวม 4533 ช้นั 5 อาคารคณุ ากร คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั
ธรรมศาสตร์ ศูนยร์ ังสิต

4. ผลงานดา้ นการวิจยั
4.1 จำ� นวนเงินสนบั สนุนงานวิจัย
ในปี พ.ศ. 2563 ได้รบั เงินสนบั สนุนงานวจิ ัยจากแหลง่ ทนุ ภายนอกจำ� นวน 300,000 บาท และจากแหล่งทุน
ภายในจ�ำนวน 500,000 บาท
4.2 จ�ำนวนผลงานวิจัยทไ่ี ดร้ ับการตพี มิ พ์ ปี พ.ศ. 2563

ช่ือวารสารท่ตี พี มิ พ์เผยแพร่ ฐานข้อมลู ชื่อผู้วิจยั
Improvement of dioscorealide B production by elicitation in ทอ่ี า้ งอิง - อรุณพร อิฐรตั น์
shoot cultures of Dioscorea membranacea Pierre ex Prain & scopus - ศรีโสภา เรอื งหนู
Burkill scopus
Anti-Tumor Activity of Intravenously Administered Plumbagin Scopus - อินทชั ศกั ดิ์ภักดเี จริญ
Entrapped in Targeted Nanoparticles
Anti-Helicobacter pylori, Anti-Inflammatory, Cytotoxic, and scopus - อรมณี ประจวบจินดา
Antioxidant Activities of Mace Extracts from Myristica fragrans scopus - รฐั กร วไิ ลชนม์
- ภาณฐั เดชะยนต์
Phytochemical analysis of Leard-Ngam remedy and its - ปฐมพงษ์ เผือกลี
composition - อรุณพร อฐิ รัตน์
Validation of HPLC Method for the Determination of - อรุณพร อฐิ รัตน์
Anti-allergic Compounds in Ethanolic Extract of Prasaprohyai
remedy, a Thai Traditional Medicine - นวลจันทร์ ใจอารยี ์
- อรณุ พร อฐิ รัตน์

42

รายงานประจ�ำ ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

ชือ่ วารสารทตี่ พี ิมพ์เผยแพร่ ฐานขอ้ มลู ช่ือผ้วู จิ ัย
The role of Piper chaba Hunt. and its pure compound, ทอ่ี า้ งองิ - สุมาลี ปานทอง
piperine, on TRPV1 activation and adjuvant effect pubmed - อรณุ พร อิฐรตั น์
Anti-inflammatory Effect and Total Flavonoid Content of The scopus - สุมาลี ปานทอง
Ethanolic Seed Extracts of Three Umbelliferae Species pubmed - อรุณพร อิฐรตั น์
Integrin—Mediated Tissue—Specific Homing of Lymphocytes scopus - อรมณี ประจวบจนิ ดา
and Exosomes to the Gut Scimagojr/ - อรณุ พร อิฐรัตน์
The clinical trial phase I of Prasaprohyai extract capsules PubMed - อินทัช ศักดิ์ภกั ดีเจริญ
Anti-Tumor Activity of Intravenously Administered Plumbagin scopus - อรุณพร อฐิ รตั น์
Entrapped in Targeted Nanoparticles scopus - ภูริทตั กนกกังสดาล
Anti-angiogenic and anti-proliferative effects of benja-ummarit Scopus - อรุณพร อิฐรตั น์
extract in rats with hepatocellular carcinoma - อรุณพร อฐิ รตั น์
Clinical Efficacy and Safety of Ya-Ta-Pra-Sen in Treating Primary TCI
Osteoarthritis of Knee Compared with Analgesic Cream an - กตัญชลี ห่วงเอย่ี ม
Open Label Randomized Controlled Trial scopus - กตญั ชลี ห่วงเอ่ียม
Accelerated stability on anti-allergic anti inflammatory - อรุณพร อิฐรัตน์
Activities and Phytochemical contents of the ethanolic extract scopus - ไวพจน์ จันทรว์ ิเมลือง
of Zingiber officinale roscoe - ปฐมพงษ์ เผือกลี
ETHNOMEDICAL STUDY OF ORYZA SATIVA USED FOR MEDICAL - จติ พสิ ทุ ธิ์ จนั ทรท์ องออ่ น
TREATMENT OF THAILAND - ภาณฐั เดชะยนต์
The development of blush product from Dracaena lourieri - อรณุ พร อิฐรตั น์
Gagnep. and Biancaea sappan Linn. - อรณุ พร อิฐรตั น์
Ginger extract versus loratadine in the treatment of allergic
rhinitis: A randomized controlled trial
ฤทธิ์ต้านอนุมูลอสิ ระ ฤทธต์ิ า้ นการแพ้ ฤทธ์ิต้านการอกั เสบและปรมิ าณ
สารกล่มุ ฟีนอลคิ ท้ังหมดของตำ� รบั ตรีเกสรมาศ

Application of film-forming solution as a transdermal
delivery system of piperine-rich herbal mixture extract for
anti-inflammation

43

รายงานประจำ�ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

ชอื่ วารสารทต่ี พี มิ พ์เผยแพร่ ฐานขอ้ มลู ชอ่ื ผวู้ ิจัย
In Vitro Wound Healing Activities of Three Most Commonly ทอ่ี ้างอิง - อรุณพร อฐิ รตั น์
Used Thai Medicinal Plants and Their Three Markers scopus - ผกากรอง ทองดียิ่ง
In Vitro and in Vivo Anti-Inflammatory Activities of Benjakul: scopus - อรณุ พร อฐิ รตั น์
A Potential Medicinal Product from Thai Traditional Medicine scopus
Cytotoxicity against cervical and breast cancer cells of leard- - อรุณพร อิฐรัตน์
ngam remedy and its plant compositions - นวลจนั ทร์ ใจอารีย์
- ศรีโสภา เรืองหนู
Anti-inflammatory activity of extracts from Thai herbal com- scopus - อรณุ พร อฐิ รตั น์
press ball and its plant ingredients - สุมาลี ปานทอง
- ภรู ิทัต กนกกังสดาล
Validated high performance liquid chromatographic (HPLC) scopus - ภรู ทิ ัต กนกกงั สดาล
method for anti-inflammation activity of lom-am-ma-preuk scopus - อรุณพร อฐิ รัตน์
remedy
Effect of Court-Type Thai Traditional Massage Versus Senokot - จุไรรตั น์ บุญรวบ
Treatment on Chronic Constipation: A Randomized Controlled
Trial

5. ผลงานด้านการบรกิ ารวิชาการ
5.1 การให้การสนบั สนนุ เจลแอลกอฮอลช์ ว่ งการระบาดของ covid-19
มอบเจลแอลกอฮอล์ ให้กับคณะแพทยศาสตร์ จ�ำนวน 50 ลิตร เมื่อวันท่ี 19 มีนาคม พ.ศ. 2563 โดยมี
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ นายแพทยป์ ระกาศติ สงวนจติ ร ผชู้ ว่ ยคณบดฝี า่ ยนโยบายและแผน และ อาจารย์ ดร.ปรรณณวชั ญ์
ไชยวฒั นนนั ทน์ ผชู้ ว่ ยรองคณบดฝี า่ ยวจิ ยั รบั มอบ เพอื่ ใหค้ ณะไดน้ ำ� ไปใชป้ ระโยชนต์ อ่ บคุ ลากรทางการแพทย์ นกั ศกึ ษา
และศนู ย์การแพทยป์ ฐมภูมคิ คู ตต่อไป

44

รายงานประจ�ำ ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

5.2 การให้บริการคลินกิ แพทยแ์ ผนไทยประยกุ ต์
เปิดใหบ้ รกิ ารคลินกิ แพทยแ์ ผนไทยประยุกต์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ โดยไมม่ ีคา่ ใช้จา่ ย
ส�ำหรับนักศึกษา และบุคลากรธรรมศาสตร์ โดยมีบริการตรวจรักษา จ่ายยาสมุนไพร โดยแพทย์แผนไทยประยุกต์
ตง้ั แตว่ นั ที่ 10 สิงหาคม - วันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2563 เวลา 08.30 - 16.30 น. ณ Thammasat Well Being Center
อาคารเรยี นรวมสังคมศาสตร์ SC (ชัน้ ลา่ ง)

6. ผลงานด้านการพฒั นาคุณภาพ
6.1 โครงการตรวจประเมนิ คุณภาพภายใน (AUN-QA) ปีการศึกษา 2562
หลกั สูตรการแพทย์แผนไทยประยกุ ต์บัณฑติ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562
และหลกั สูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2561) ประจ�ำปีการศกึ ษา 2562 ในวนั ท่ี 26 สิงหาคม
พ.ศ. 2563 ณ ห้องประชมุ สถานเวชศาสตรช์ ุมชนและเวชศาสตร์ครอบครวั ชน้ั 8
อาคารคณุ ากร คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ศนู ย์รงั สติ
6.2 การประกนั คุณภาพ (SAR) ระดบั สถานการแพทย์แผนไทยประยกุ ต์ ประจ�ำปีการศึกษา 2562
ในวันท่ี 2 กันยายน พ.ศ. 2563 ณ ห้องประชุมอารี วัลยะเสวี ช้ัน 3 อาคารคุณากร คณะแพทยศาสตร์
มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ศูนยร์ งั สติ

6.3 โครงการประชมุ เชงิ ปฏิบตั ิการจัดท�ำแผน
จดั โครงการประชมุ เชงิ ปฏิบัติการจดั ท�ำแผนและสรุปผลงานด�ำเนนิ งานประจำ� ปี 2562 ในวันที่ 6 - 7 สงิ หาคม
พ.ศ. 2563 ณ โรงแรมชวาลนั รีสอรท์ จังหวดั นครปฐม

45

รายงานประจำ�ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

7. ผลงานด้านทำ� นบุ �ำรงุ ศิลปวัฒนธรรม
7.1 พิธีไหว้ครแู พทยแ์ ผนไทย
พธิ ไี หวค้ รแู ละครอบครแู พทยแ์ ผนไทยประจำ� ปกี ารศกึ ษา2563จดั ในวนั ท่ี26พฤศจกิ ายนพ.ศ.2563ณหอ้ งสโมสร
ชนั้ 4 อาคารคณุ ากร คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รงั สติ

7.2 กจิ กรรมรับขวัญนอ้ งแพทย์แผนไทยประยกุ ต์ รนุ่ ที่ 16 ประจำ� ปี 2563
เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2563 มีการแนะแนวชีวิตนักศึกษา การศึกษาต่อ การประกอบอาชีพของแพทย์
แผนไทยประยกุ ต์ ร่วมทัง้ ไดร้ ว่ มพธิ สี ักการะหมอชีวกโกมารภจั จ์และพระราชบดิ า ณ ห้องสโมสร ช้นั 4 อาคารคุณากร
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

8. ผลงานดา้ นวเิ ทศสมั พันธ์
ในวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2563 รองศาสตราจารย์เกศินี วิฑูรชาติ
อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ รว่ มพธิ ลี งนามบนั ทกึ ขอ้ ตกลงความรว่ มมอื
ทางวชิ าการ กบั Korea National University of Transportation สาธารณรฐั
เกาหลี เพอ่ื สรา้ งเครอื ข่ายความร่วมมอื การด�ำเนนิ งานทางวชิ าการ อันจะเปน็
ประโยชนต์ อ่ การพฒั นากจิ กรรมทางวชิ าการ การแลกเปลย่ี นขอ้ มลู ทางวชิ าการ
และการวิจัยในสาขาวิชาด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ โดยมี รองศาสตราจารย์
นายแพทย์สมบตั ิ มงุ่ ทวีพงษา รองคณบดฝี า่ ยวิจยั รองศาสตราจารย์ ดร. เภสชั กรหญิงอรณุ พร อฐิ รตั น์ ผูอ้ �ำนวยการ
ศูนย์แห่งความเป็นเลิศทางวิชาการด้านการแพทย์แผนไทยประยุกต์ และคณาจารย์สถานการแพทย์แผนไทยประยุกต์
คณะแพทยศาสตร์ รว่ มเปน็ สกั ขพี ยานในการลงนามบนั ทกึ ขอ้ ตกลง ณ หอ้ งประชมุ โดมบรหิ าร 2 ชน้ั 6 อาคารโดมบรหิ าร
มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รงั สติ

46

รายงานประจ�ำ ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

9. ผลงานดา้ นทรัพยากรบคุ คล
9.1 โครงการถา่ ยทอดความรจู้ ากงานวจิ ยั เพอ่ื พฒั นาบุคลากร
จัดโครงการเพ่ิมพูนทักษะทางคลินิกแพทย์แผนไทยประยุกต์ เม่ือ
วันท่ี 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 ณ ห้องเรียน 4429 ช้ัน 4 อาคารคุณากร
คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ศนู ยร์ งั สติ
9.2 โครงการพัฒนาอาจารย์ ประจำ� แหล่งฝึก
จัดโครงการพัฒนาอาจารย์ ประจ�ำแหล่งฝึก เม่ือวันท่ี 24 กรกฎาคม
พ.ศ. 2563 ณ หอ้ งประชมุ อารี วลั ยะเสวี ชนั้ 3 อาคารคณุ ากร คณะแพทยศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ศนู ยร์ งั สติ โดยมกี ารบรรยายเรอื่ ง “งานวจิ ยั ทางดา้ นการ
แพทยแ์ ผนไทยประยกุ ต”์ วทิ ยากร โดย รองศาสตราจารย์ ดร. เภสชั กรหญงิ อรณุ พร
อฐิ รตั น์ หวั หนา้ ศนู ยแ์ หง่ ความเปน็ เลศิ ทางวชิ าการดา้ นการแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ต์
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Center of Excellence in
Applied Thai Traditional Medicine) และเร่ือง “ภาพรวมในการฝึกปฏิบตั ิงานด้านวิชาชพี แพทย์แผนไทยประยุกต์
ในปีการศึกษา 2562” วิทยากร โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กตัญชลี ห่วงเอ่ียม อาจารย์ประจ�ำสถานการแพทย์
แผนไทยประยกุ ต์ โดยมตี วั แทนอาจารยป์ ระจำ� แหลง่ ฝกึ จากโรงพยาบาลสงู เนนิ จงั หวดั นครราชสมี า โรงพยาบาลพระปกเกลา้
จงั หวดั จนั ทบุรี โรงพยาบาลอู่ทอง จงั หวัดสุพรรณบุรี โรงพยาบาลวฒั นานคร จังหวัดสระแกว้ โรงพยาบาลลาดบวั หลวง
จังหวัดอยุธยา และคณาจารย์ประจ�ำสถานการแพทย์แผนไทยประยุกต์ ร่วมกันอภิปรายในหัวข้อเร่ืองแนวทางในการ
ฝกึ ปฏบิ ัติงานดา้ นวิชาชพี พร้อมท้ังรว่ มกันสรุปแนวทางในการปฏิบัตงิ านด้านวชิ าชพี ในปกี ารศึกษา 2563
10. ผลงานดา้ นสารสนเทศ
10.1 กจิ กรรมการให้ความรู้ เรอื่ ง สมุนไพรกบั ผ่ืนคนั
จัดกจิ กรรม Live สดผ่าน Facebook เพอ่ื ให้ความรู้ เรือ่ ง การใหส้ ขุ ศกึ ษา : สมนุ ไพรกบั ผืน่ คัน ณ คลนิ ิก
แพทย์แผนไทยประยกุ ต์ ศูนยแ์ พทยป์ ฐมภมู แิ ละแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ต์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
โดยนักศึกษาแพทย์แผนไทยประยุกต์ ชน้ั ปีท่ี 4

47

รายงานประจำ�ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

10.2 การใหค้ วามรผู้ า่ นสื่อ Online เร่อื ง “โคโรนาไวรัสกบั การดูแลสุขภาพดว้ ยอาหารและสมุนไพร”
VDO ออนไลน์ เร่ือง “สมุนไพรไกลโรคแต่ใกล้ตัว” เรื่อง “ไวรัส why ร้าย” และ เรื่อง “โคโรนาไวรัสกับ
การดูแลสุขภาพด้วยอาหารและสมุนไพร” โดยนกั ศึกษาแพทย์แผนไทยประยุกต์ ชนั้ ปีที่ 3

การให้ความรู้ผ่านส่ือแผ่นพับวิชาการ เรื่อง “โคโรนาไวรัสกับการดูแลสุขภาพด้วยอาหารและสมุนไพร”
โดย นักศึกษาแพทยแ์ ผนไทยประยุกต์ ชนั้ ปที ี่ 3

11. รางวลั อาจารย์ และนักศกึ ษา
11.1 รางวัลการน�ำเสนอผลงานวจิ ยั
การประกวดน�ำเสนอผลงานวิจัย คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประจ�ำปีงบประมาณ 2563
วนั ท่ี 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 เวลา 9.00 - 13.30 น. ณ หอ้ งประชมุ สโมสร ช้นั 4 อาคารคณุ ากร คณะแพทยศาสตร์
มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์
รางวลั ชมเชย การน�ำเสนอผลงานวิจัยของอาจารย์ ประเภท Poster presentation (งานวิจยั ทว่ั ไป)
อาจารย์ ดร.ปรรณณวชั ญ์ ไชยวฒั นนนั ทน์ ผชู้ ว่ ยรองคณบดฝี า่ ยวจิ ยั และอาจารยป์ ระจำ� สถานการแพทย-์
แผนไทยประยุกต์
รองชนะเลิศ อันดับหนึ่ง การน�ำเสนอผลงานวิจัยของนักศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา ประเภท Oral
presentation
- นางสาวจนั ทรจ์ ิรา อินทรป์ ระสทิ ธ์ิ
รองชนะเลิศ อันดับหนึ่ง การน�ำเสนอผลงานวิจัยของนักศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา ประเภท Poster
presentation
- นางสาวนนิ นาท อินทฤทธิ์

48

รายงานประจำ�ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

รองชนะเลิศ อันดับสอง การน�ำเสนอผลงานวิจัยของนักศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา ประเภท Poster
presentation
- นายจกั รเวทย์ ต้นแทน
รางวัลชมเชย การน�ำเสนอผลงานวจิ ยั ของนกั ศกึ ษา ระดบั บณั ฑิตศกึ ษา ประเภท Poster presentation
- นางสาวกานต์มณี สุขเกษม
รองชนะเลิศ อันดับหนึ่ง การน�ำเสนอผลงานวิจัยของนักศึกษา ระดับปริญญาตรี ประเภท Poster
presentation
- นายพิสิฐพงศ์ สินบุญมี และ นายคณุ ภาช อัคนิมณี
11.2 รางวัลครูแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ตด์ เี ดน่
อาจารย์ ดร. พท.ป.อรมณี ประจวบจินดา
ไดร้ ับโลเ่ ชดิ ชเู กยี รติ ครูแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ตด์ ีเด่น ประจำ� ปกี ารศกึ ษา 2563

49


Click to View FlipBook Version