รายงานประจ�ำ ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
11.3 รางวัลการวิจัยแห่งชาติ ประจำ� ปีงบประมาณ 2564 จากสำ� นกั งานการวจิ ยั แห่งชาติ
รองศาสตราจารย์ ดร. เภสัชกรหญิงอรุณพร อิฐรัตน์ อาจารย์ประจ�ำสถานการแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ต์ และ
คณะผวู้ จิ ยั ผลงานวจิ ยั เรื่อง การพัฒนายาสมุนไพรรักษาโรคเรื้อรงั จากสารสกัดเบญจกูล (Devlopment of Herbal
Druge for Chronic Diseases From Benjakul Extract) ไดร้ ับรางวลั การวิจยั แหง่ ชาติ : รางวลั ผลงานวจิ ยั ระดบั ดี
สาขาวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ ประจ�ำปงี บประมาณ 2564 จากสำ� นักงานการวิจยั แหง่ ชาติ
11.4 รางวลั นกั ศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี
ในงาน “พธิ ไี หวค้ รู คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประจ�ำปกี ารศกึ ษา 2563”
เมือ่ วันท่ี 3 กนั ยายน พ.ศ. 2563 ตัง้ แต่เวลา 09.00 - 11.30 น. ณ หอ้ งเรียน
500 ทนี่ ัง่ อาคารเรียนและปฏบิ ตั กิ ารรวม (ปิยชาติ 2) มหาวทิ ยาลยั
ธรรมศาสตร์ ศนู ย์รงั สติ
- นกั ศกึ ษาแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ต์จ�ำนวน 3 คน ได้รบั โล่เชดิ ชเู กียรติ
“นักศกึ ษาผู้มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและความประพฤตดิ เี ด่น
ประจ�ำปกี ารศกึ ษา 2563”
- นกั ศึกษาจ�ำนวน 3 คน ผูไ้ ดร้ บั โล่
เชิดชูเกยี รติ “โลร่ างวลั
นกั ศึกษาแพทย์เรยี นดี
พร้อมทุนการศกึ ษา”
50
รายงานประจำ�ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
11.5 รางวลั นักศึกษาระดบั บณั ฑิตศึกษา
นางสาวนภสั รญั ชน์ ฤกษเ์ รอื งฤทธิ์ นกั ศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาเอก ปรชั ญาดษุ ฎบี ณั ฑติ (การแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ต)์
ได้รับรางวัลวิทยานิพนธ์ดีเด่น มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประจ�ำปีการศึกษา 2561 สาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ เร่ือง
“EFFICACY OF GINGER EXTRACT ON PAIN RELIEF FOR FIRST NORMAL POSTPARTUM WOMEN”
51
รายงานประจำ�ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
ผลการด�ำเนนิ งาน
ศูนย์วจิ ยั ทางคลินิก
53
รายงานประจำ�ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์
ศนู ย์วิจัยทางคลนิ ิก
1. ผู้อำ� นวยการศนู ยว์ ิจัยทางคลนิ ิก ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. นายแพทยส์ ริ ะ นันทพศิ าล
รองผู้อำ� นวยการศูนยว์ จิ ยั ทางคลนิ ิก ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ แพทยห์ ญงิ สุดาทพิ ย์ โฆสติ ะมงคล
ผจู้ ดั การศูนยว์ จิ ัยทางคลนิ กิ นายเสรมิ เกยี รติ ทานชุ ิต
2. ภารกจิ
1. ใหบ้ ริการงานวจิ ัยทางคลินกิ ใหม้ ีคุณภาพตามมาตรฐานสากลอย่างเตม็ รูปแบบ โดยแบ่งเปน็ 3 งาน ดงั น้ี
1.1 งานทดลองวจิ ัยทางคลนิ กิ
- จดั หาแพทยผ์ วู้ จิ ยั หลกั และประสานงานดา้ นการประเมนิ ความเปน็ ไปไดข้ องโครงการวจิ ยั ทางคลนิ กิ
(Feasibility study)
- ให้บริการทบทวนงบประมาณโครงการวิจัย การลงนามข้อตกลงการทำ� วจิ ัยทางคลนิ กิ (CTA) และ
การขนย้ายสงิ่ ส่งตรวจ (MTA)
- ใหบ้ รกิ ารพยาบาลวจิ ยั นกั เทคนคิ การแพทย์ และผชู้ ว่ ยวจิ ยั ในการดำ� เนนิ การทดลองวจิ ยั ทางคลนิ กิ
- จัดหาอาสาสมัครเข้าร่วมโครงการ แนะน�ำข้อมูลโครงการวิจัย การขอค�ำยินยอม บันทึกข้อมูล
การตดิ ตามและนดั หมายอาสาสมัคร
- ประสานงานและเตรียมการวิจัยเกยี่ วกบั ยาวจิ ยั
- ใหบ้ รกิ ารจดั หานกั วจิ ยั พยาบาลวิจัย เภสัชกรวจิ ยั และผชู้ ่วยวิจยั
- ประสานงานและจดั หาทรพั ยากรจ�ำเปน็ ในการท�ำวจิ ัยทางคลินกิ
- เฝ้าระวังและติดตามสถานะของอาสาสมคั รและรายงานเหตุการณ์ไม่พงึ ประสงค์
- ให้บริการบันทึกข้อมูลอาสาสมัครตาม Case Record Form
1.2 งานสนับสนนุ การวิจยั ทางคลนิ กิ
- ให้บรกิ ารจดั เตรยี ม จดั เกบ็ จัดส่งสิ่งสง่ ตรวจ
- ให้บริการตรวจวเิ คราะหท์ างห้องปฏบิ ตั กิ ารวจิ ัยทางคลนิ กิ
- ให้บริการวางแผนและออกแบบแบบบันทกึ ขอ้ มลู วิจัย (Case Record Form)
- ให้บรกิ ารวิเคราะหข์ ้อมลู โดยใชโ้ ปรแกรม SPSS, STATA
- ให้บรกิ ารโปรแกรม REDCap
- จดั อบรมให้ความรู้และทกั ษะดา้ นการวจิ ยั ทางคลนิ กิ ตามมาตรฐานสากล
1.3 งานคลนิ กิ วจิ ยั
- ให้ค�ำแนะน�ำและปรึกษาการพัฒนาโครงร่างการวิจัย การค�ำนวณขนาดตัวอย่าง ระเบียบวิธีวิจัย
สถิติทใี่ ชว้ เิ คราะห์ขอ้ มูล การเขยี นรายงานผลการวิจัย
54
- ให้คำแนะนำและปรกึ ษาการพัฒรานยางโคานรงปรร่าะงจกำ�าปรี ว2จิ 5ัย63กาครณคำะแนพวทณยขศนาาสดตตรวั ์ อมยหา่ างวิทระยเาบลยี ยั บธวริธรวี มิจศัยาสตร์
สถิตทิ ่ีใช้วิเคราะห์ข้อมูล การเขียนรายงานผลการวจิ ัย
ทีเ่ ก ยี่ วข ้อ23ง ..ก เพบัปัฒ 32 -กน็ ..น าอเพ- ราป งจวฒับคน็ดัจทจิ ์กคุนอัอดีเ่ยั รกลางบอททาย่ีบคบรากี่สวก์ุคมงรรขารลคมเขม้อชทาลเอาชงิงกส่ีนิ ปรกงิงรากิศถปับฏขมพูนฏกิบอายงึ่าริบงตั ต์วรถศัตกิ จินวพนู ิกาิจัยเยง่ึราอัยทตเว์รงกทานจิเไกยี่งาดยัเควอ่ียงอ้ทคกลวงยาไลับกินา่งดินับิกกคง้อยิกาใกลยหรง่ัาินา่ยใม้รกิงหนืใคียใหค้ วห่ังว้คายม้ าวมนืคีมาเวชรมาทู้ย่ีรมู้ทวาเชงาชดาง่ยี ญา้ดวน้าชนรดาะ้วรญบยะบกาดดาาว้ รวดยใทิวกฝิทยาร่ ายรูอ้ คใายฝลคู่ต่รินลลูอ้ กิินอยิกดตู่แเลลวแอะลลชดาะีวเชวสลีวถสาิตถิแิตกิแบ่ กคุ ่บลุคาลการกร
333. ..1ผผ จลลำกกน3าาว.รร1นดด โำ�ำคเเจรนน�ำงนิินนกงงวาาานรนนวโคจิ ยัรงทกมี่ าารขวอิจใยั ชทบ้ ี่มรากิ ขาอรใชบ้ ริการ
ůŝŶŝĐĂů dƌŝĂů EŽŶͲĐůŝŶŝĐĂů dƌŝĂů
ϯϯ ϱ
Ϯ
ϭϭ
ϭϭ
WĞĚŝĂƚƌŝĐƐ KƌƚŚŽƉĞĚŝĐ WŚLJƐŝŽůŽŐLJ
3.2 การ3ใ.ห2้บ รกิกาารรใกหาบ้ รรศิกึกาษรากคาวราศมกึ เษปาน็ คไปวาไมดเ้ ป(F็นeไaปsไibดi้ li(tFyeSastuibdilyit)yแยSกtuตdาyม)สาแขยากคตวาามมสเชาขยี่ าวคชวาาญมเเฉชพย่ี าวะชดา้าญนเฉรพวามะด้าน
รจวำมนจว�ำนนโวคนรโงคกรางรกวาิจรัยวทิจัง้ัยหทม้ังดหม6ด0 โ6ค0รงโกคารรงกแาลระไแดลร้ ับะไกดา้รรับAกwารardAewdarจdำeนdวนจ�ำ1น1วโนคร1งก1ารโคไรดง้แกกา่รOnไดc้แoกlo่ gOyn(c2ology
(2โคโรคงรกงากรา)รH) eHmeamtoatloo gloyg(y2(2โคโรคงรกงากรา)รP)ePdeiadtiraictrsic(s1(1โคโรคงรกงากรา)รO) pOthpathmaamloagloygy(1(1โคโรคงรกงากรา)รG)IG( I2(2โคโรคงรกงากรา)ร)
NNeepphhrorolologgyy(2( 2โคโรคงรกงากรา)รD) eDremrmataotlolgoygy(1(โ1ครโงคกรางรก)าร)
88
66 55
4 33
3 2
22 111
3.3 จำนวนโครงการการให้บรกิ ารทบทวน Clinical Trial Agreement (CTA) และ Material Transfer
Agreement (MTA) 55
CTA MTA
3 33
22
2
รายงานประจำ�ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ 111
A gA3r.ge3 reeจmeำm3นe.nว3eนt nโ(tคMจ(ร�ำMTงนAกTว)าAนร)โกคารรงใกหาบ้ รรกกิ าารรใทห้บบทริกวานรทCบlinทiวcนal CTlriinalicAaglreTerimaleAngtr(eCeTmAe) nแtละ(CMTAat)eแriลalะTMraantsefreiar l Transfer
CTA MTA
ϯ
Ϯ ϮϮϮ Ϯ
ϭ ϭϭ
ϭ ϭϭ
GI Oncology Pediatrics Ophthamology
ม Sศ เมชeกัหหมวเ3เมทียปวrยันาา.หหางv4ช้า ววภใทงiาาศcหทิหิทกากวว่ีeามยพม2ยาทิิทาสร3วาา3าร่ใCยยตแยลนนัล.สมeาา4รพทยัยัทรกหกลลn เ์ ้ามธทจี่าข่ีราัยยัt2งรรหะกeวกตยเธ3เรแชเิทคrาดิรฏร์ขปมขยีกรรอ้รลยใอาน็ศ่งสงนรมอืนคางขแใการศดลขปมหOันสลา้ฎจัยาา่า้รมงะตรnา2ายสนธะเ่ะบกรคe5คแตรกเมด์ทมรม6รลรรากหSบัษิมศ3หือ์ะรบัพtากสทัศทขคาoวมแ.บัาวศา่าวำค�pิทบกลีกทิสยวา.ณคยะาวัลม2Sิจตแยราณเหะ5เeยัลรราพลลพแล6่ว์ลrทะะัยิ่มงvอ่ืพมมว3ัยแคานธiศงเcหมทมงพวมพราเักeควาอืาหยรมทกี่มิยมลนวกมศดิาCบยรภิทนิรเารศาลeศาจนั า่วรยลิกสายnอาทพมทแงาตสไสtรเนมึกลใลดำตeรพต์นจาวือขัยะ์้ใrรร่อืจกมนจิำ�อ้มกบ์์ใยามกาัยบกจตาหนรกกรดัทหรานาักษิดิดแรทกราาทลจทัจ้าละขววง�ำงนกฬุึดัจด่งิจคทิวรบมขกตขุฬาบัยัิจลว่ยัวอ้หลางนัั้ทาแมยันิาหเรตงาลรปลทลากิกทกลกวะงงะัยนน็ัารำิทลดวกคพงมทวณงงบัยบรลคฒัหจิเรำณาสม์ินวรลว่ัยวดิลนษินาหนิกิมม์ิจทลัยกาเทัจากิกยัหาจสนลวามนัทงาอCงเวิทกคหวทพาขรLัตตยทิลงา์ำ�ลื่อIกจN่าคานิววยาเรงลำิทลจพิIากินXปรกยัยินัลยิ่มคมIรดัเRทยักิารพมรทะลาาินจโหเมอ่ืารงยัดยทดัทงาคยะหสยไศกตวหรกลดางมาิทงั้์วนิรใ้วขเีรเคนยิทะปา่ปกิลแณงกดายา้าน็พรลาหบันาะคะทรยัลบมแคเณหววขยัยลรารวจิชะข์อขยิษินะา่ยัศแอนอทพทังททาพงแนจ่ีฒัครสปาทCกะแ์ณงตนรคน่LเยกคประาะณIศ่นลN์เเนน็มแขาทนิะIพวหXตสOศกิตัทารตIRจnกว้อแรยาeทิรน์ลโศกดรยะSามยาจสเtพoมลาตpิ่มกยัีร์
ต่างประเทศ
56
รายงานประจ�ำ ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์
ผลการด�ำเนินงาน
ภาควิชา
57
รายงานประจำ�ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
ภาควชิ าอายรุ ศาสตร์
1. หัวหนา้ ภาควชิ า ศาสตราจารย์ นายแพทย์ก้องเกียรติ กณู ฑ์กันทรากร
รองหวั หน้าภาควิชา อาจารย์ แพทย์หญิงบุบผา พรธิสาร
รองหวั หนา้ ภาควิชา รองศาสตราจารย์ นายแพทย์อดิศยั บัวค�ำศร ี
เลขานกุ ารภาควชิ า
1. นางสาวนงลักษณ์ ราไม้ เจา้ หนา้ ทีบ่ ริหารงานทว่ั ไป
2. นางรุ่งทวิ า อินทร์พรหม เจ้าหนา้ ที่บริหารงานทัว่ ไป
3. นางสาวอรยา จอ้ งสระ พนกั งานธรุ การ
4. นางสาวธนดิ า เจรญิ สุข พนกั งานธุรการ
2. ปรัชญา และปณธิ าน วิสยั ทศั น์ พันธกจิ
ปรัชญา และปณิธาน
องคก์ รเข้มแข็ง ร่วมแรงสามคั คี เนน้ มคี ุณธรรม บัณฑติ เลศิ ลำ�้ ผู้น�ำวชิ าการ เดน่ ด้านวจิ ยั กา้ วไกลสู่สากล
วสิ ยั ทศั น์
“เป็นองค์กรช้ันน�ำระดับประเทศในการผลิตแพทย์ อายุรแพทย์ และอายุรแพทย์เฉพาะทางที่มีคุณภาพและ
คณุ ธรรม ตลอดจนผลิตงานวิจัย และใหก้ ารบรบิ าลผปู้ ่วยที่ตอบสนองตอ่ ความต้องการของสงั คม”
พันธกิจ
1. ผลิตแพทย์ อายรุ แพทย์ และอายุรแพทย์เฉพาะทางทีม่ ีคณุ ภาพและคณุ ธรรม
2. ส่งเสริม และทำ� งานวิจยั ระดบั สากลทีต่ อบสนองตอ่ ความตอ้ งการของสงั คมไทย
3. ใหก้ ารบรบิ าลผ้ปู ่วยด้านอายุรศาสตรต์ ามความตอ้ งการของประเทศ
4. สง่ เสรมิ ศิลปวฒั นธรรม ธรรมาภิบาล และการจดั การองค์กรท่ดี ี
3. รายนามหัวหนา้ ภาควชิ า
1. นายแพทยส์ มชยั ชพี อารยะ พ.ศ. 2529 - 2530
2. รองศาสตราจารย์ นายแพทย์กมั มาล กมุ าร ปาวา พ.ศ. 2530 - 2535
3. รองศาสตราจารย์ แพทยห์ ญงิ โฉมศร ี โฆษิตชยั รตั น ์ พ.ศ. 2535 - 2538
4. รองศาสตราจารย์ นายแพทยก์ มั มาล กุมาร ปาวา พ.ศ. 2538 - 2540
5. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ นายแพทย์พรี ะพงค์ กิติภาวงค์ พ.ศ. 2540 - 2543
58
รายงานประจำ�ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
6. ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์สุธน พรธิสาร พ.ศ. 2543 - 2546
7. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ นายแพทยด์ ลิ ก ภยิ โยทัย พ.ศ. 2546 - 2551
8. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์อภชิ าติ คณิตทรัพย ์ พ.ศ. 2551 - 2555
9. รองศาสตราจารย์ นายแพทย์สมบัติ ม่งุ ทวพี งษา พ.ศ. 2555 - 2561
10. ศาสตราจารย์ นายแพทยก์ อ้ งเกยี รติ กูณฑ์กนั ทรากร พ.ศ. 2561 - ปัจจบุ ัน
4. ผลงานดา้ นการศกึ ษา
ภาควิชาอายุรศาสตร์จัดการเรียนการสอนนักศึกษาระดับปริญญาตรี และหลักสูตรหลังปริญญา ได้แก่
แพทย์ประจ�ำบา้ นอายรุ ศาสตร์ และแพทย์ผู้เชีย่ วชาญอายุรศาสตรต์ อ่ ยอด (Fellowship)
หลกั สตู รหลงั ปรญิ ญาตรี เปน็ หลกั สตู รวฒุ บิ ตั รแสดงความรคู้ วามชำ� นาญในการประกอบวชิ าชพี เวชกรรมสาขาตา่ ง ๆ ดงั นี้
1. สาขาอายรุ ศาสตร์
2. สาขาอายรุ ศาสตรร์ ะบบประสาทวทิ ยา
3. สาขาอายุรศาสตรต์ ่อยอด ระบบทางเดนิ อาหาร
4. สาขาอายรุ ศาสตร์ตอ่ ยอด ระบบโรคหัวใจและหลอดเลอื ด
5. สาขาอายุรศาสตร์ต่อยอด ระบบโรคไต
6. สาขาอายุรศาสตรต์ ่อยอด ระบบโรคติดเช้ือ
7. สาขาอายรุ ศาสตร์ตอ่ ยอด ระบบโรคผวิ หนงั
8. สาขาอายุรศาสตร์ต่อยอด ระบบโรคตอ่ มไรท้ ่อและเมตาบอลสิ ม
9. สาขาอายุรศาสตร์ตอ่ ยอด โรคระบบหายใจและภาวะวกิ ฤตระบบการหายใจ
10. สาขาอายุรศาสตรโ์ รคเลือด
11. อนสุ าขาหตั ถการปฏิบัติการรกั ษาโรคหวั ใจและหลอดเลอื ด
12. อนุสาขาประสาทวิทยาโรคหลอดเลือดสมองและการตรวจหลอดเลือดสมองด้วยคล่ืนเสียงความถี่สูง
5. ผลงานดา้ นการวจิ ยั
ภาควิชาอายุรศาสตร์ มีจ�ำนวนผลงานวิชาการตีพิมพ์เผยแพร่ในระดับนานาชาติ จ�ำนวน 68 เร่ือง มีผลงาน
วชิ าการตพี มิ พใ์ นหนงั สอื งานประชมุ วชิ าการคณะแพทยศาสตร์ และหนงั สอื งานประชมุ วชิ าการของภาควชิ าอายรุ ศาสตร์
โดยผลิตออกมาอย่างต่อเน่ืองเปน็ ประจำ� ทุกปี
59
รายงานประจ�ำ ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์
6. ผลงานดา้ นการบรกิ ารวิชาการ
ภาควิชาอายุรศาสตร์ มีนโยบายให้บริการทางวิชาการแก่สังคม และมีการจัดท�ำแผนบริการวิชาการประจ�ำปี
ทกุ ปใี หส้ อดคล้องกับความตอ้ งการของสังคม มกี ารจัดโครงการใหค้ วามรูแ้ กป่ ระชาชน ได้แก่
หน่วยโรคระบบการหายใจและเวชบ�ำบัดวิกฤต ภาควิชาอายุรศาสตร์ ร่วมกับ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์
เฉลิมพระเกียรติ จัดประชมุ อบรมเชิงปฏิบตั ิการเร่อื ง “การดแู ลผปู้ ่วยทีใ่ ชเ้ ครอ่ื งช่วยหายใจ New Normal” วันท่ี 12
พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2563 ณ อาคารบริการ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลมิ พระเกียรติ
การซ้อมเตรียมพร้อมดูแลผู้ป่วยโรคโควิด-19 จัดสถานการณ์จ�ำลอง มีบุคลากรแผนกต่าง ๆ เข้าร่วม ได้แก่
อายุรแพทย์ พยาบาลหอ้ งฉกุ เฉิน พยาบาลหอผปู้ ่วยวกิ ฤต เจ้าหนา้ ทเ่ี วรเปล
สถานการณ์: การกูช้ พี ด้วยเครอ่ื งอตั โนมตั เิ มื่อผปู้ ว่ ยหวั ใจหยดุ เตน้ การใสแ่ ละถอดท่อช่วยหายใจ
หน่วยมะเร็งวิทยา จดั โครงการบรรยายให้ความรู้ประชาชน “คดั กรองมะเรง็ รู้เร็ว รกั ษาเร็ว หายขาดได้”
ในช่วงสถานการณ์โควิด-19 ภาควิชาอายุรศาสตร์ให้ความส�ำคัญและตระหนักถึงแนวทางการรักษาและ
การปอ้ งกันการตดิ เช้อื โควิด-19 จึงจัดประชุมหารือเพ่อื เตรียมความพร้อมรบั มือ
นอกจากนนั้ ไดจ้ ดั บรรยายใหค้ วามรเู้ รอื่ ง COVID-19 โดย ศาสตราจารย์ นายแพทยอ์ นชุ า อภสิ ารธนรกั ษ์ อาจารย์
อายรุ ศาสตรโ์ รคติดเชื้อ อย่างต่อเน่อื ง ผ่านระบบออนไลน์
60
รายงานประจ�ำ ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ในปี 2563 มีอาจารย์ และแพทย์ประจำ� บ้าน สาขาอายุรศาสตร์ ได้รบั รางวัล ดงั นี้
รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ประวีณ โล่ห์เลขา อาจารย์สาขาประสาทวิทยา ได้รับ รางวัลชนะเลิศ
การนำ� เสนอ The Best Abstract of the Year Award for Academic Center วจิ ยั เรอ่ื ง Effects of H.Pylori eradication
on symptoms of Parkinson's disease with motor fluctuations: A prospective cohort study (HP-PD trial)
งานประชุมราชวทิ ยาลยั อายรุ แพทย์แห่งประเทศไทยครง้ั ท่ี 36 ณ ศนู ย์ประชุม PEACH Royal Cliff Beach Hotel
พทั ยา จ.ชลบุรี วันท่ี 30 ตลุ าคม พ.ศ. 2563
61
รายงานประจำ�ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
ศาสตราจารย์ นายแพทยอ์ นชุ า อภสิ ารธนรกั ษ์ อาจารยส์ าขาโรคตดิ เชอ้ื ในโอกาสไดร้ บั เขม็ ประกาศเกยี รตคิ ณุ
รางวัลนักเรียนทุนรัฐบาลไทย ประจ�ำปี 2563 ของสมาคมนักเรียนทุนรัฐบาลไทย ณ รอยัล พารากอนฮอลล์
สยามพารากอน กรงุ เทพมหานคร วนั ท่ี 6 ธันวาคม พ.ศ. 2563
62
รายงานประจ�ำ ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์
รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ธนา ขอเจริญพร อาจารย์สาขาโรคติดเช้ือ ในโอกาสได้รับพระราชทานรางวัล
บุคลากรด้านการแพทย์และสาธารณสุขดีเด่น จากสมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าพัชรกิติยาภา นเรนธิราเทพยวดี
กรมหลวงราชสาริณีสิรพิ ัชร มหาวชั รราชธิดา คร้งั ที่ 28 วนั ที่ 1 ธนั วาคม พ.ศ. 2563
นอกจากนี้ แพทย์ประจ�ำบ้านและแพทย์ประจ�ำบ้านต่อยอด อายุรศาสตร์ธรรมศาสตร์ที่ได้รับรางวัล
ประกวดวิจัยคณะแพทยศาสตร์ ดังน้ี
ประเภท Poster presentation ระดบั แพทย์ประจ�ำบ้าน
1. นายแพทย์นวพล ชอบสอาด รางวลั รองชนะอนั ดับ 1
2. แพทย์หญงิ พมิ พ์จริ า กนกทพิ ากร รางวลั รองชนะอันดบั 2
3. แพทยห์ ญิงณัฐวรางค์ อุดมลาภ รางวัลชมเชย
ประเภท Oral presentation ระดบั แพทยป์ ระจ�ำบา้ น
1. แพทย์หญงิ ณฐั วดี มกกงไผ่ รางวัลชนะอนั ดับ 1
2. แพทย์หญงิ ขวญั ศภุ างค์ วอ่ งวัฒนาศานติ รางวลั รองชนะอนั ดับ 1
3. นายแพทย์ธนพล เขยี วอ้น รางวลั รองชนะอันดบั 2
4. แพทย์หญงิ นนั ทวนั โอกาส รางวลั ชมเชย
5. แพทย์หญงิ กชณัช ฤทธิ์เรืองเดช รางวลั ชมเชย
63
รายงานประจำ�ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
ประเภท Oral presentation ระดบั แพทย์ประจ�ำบ้านต่อยอด
1. แพทยห์ ญิงสทุ ธิยา อนมุ าศ รางวลั ชนะอันดับ 1
2. นายแพทย์เอกพงศ์ สุรนิ ทร์รัฐ รางวัลรองชนะอันดับ 1
3. แพทย์หญิงชญั ญา ชมเชย รางวลั รองชนะอนั ดับ 2
64
รายงานประจำ�ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
ภาควชิ ากุมารเวชศาสตร์
1. หัวหนา้ ภาควชิ า รองศาสตราจารย์ แพทย์หญิงศกุ ระวรรณ อินทรขาว
รองหัวหนา้ ภาควิชา ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ แพทย์หญงิ วิราภรณ์ ยอดวศิ ษิ ฎ์ศกั ดิ์
เลขานุการภาควชิ า นางสาวปนดั ดา แย้มอ่�ำ และนางสาวนฤมล ยงั อยู่
2. ปรัชญาและปณธิ าน
คุณธรรมน�ำหน้า วิชาการทันสมัย วิจัยทันยุค เชิงรุกบริการ กุมารฯ พัฒนา เพ่ือความก้าวหน้าสังคมไทย
ก้าวไปสสู่ ากล
วิสัยทศั น์
เปน็ หนว่ ยงานทเ่ี ปน็ เลศิ ในดา้ นวชิ าการ วจิ ยั ทางกมุ ารเวชศาสตร์ และการบรกิ ารสขุ ภาพเดก็ เปย่ี มดว้ ยคณุ ธรรม
จริยธรรม และเป็นท่ยี อมรบั ในระดับสากล
พันธกจิ
1. จดั การเรียนการสอนนกั ศกึ ษาแพทย์ในสาขาวิชากุมารเวชศาสตร์
2. ฝึกอบรมแพทยใ์ ชท้ ุน แพทยป์ ระจำ� บา้ น และแพทย์ประจำ� บา้ นต่อยอดสาขากมุ ารเวชศาสตร์
3. สนบั สนุนและส่งเสริมการวจิ ยั ทงั้ ระดบั ชาติและนานาชาติ
4. ให้การบรกิ ารสขุ ภาพเด็กอย่างองคร์ วมในเชงิ รกุ
5. พฒั นาระบบบรหิ ารจดั การในภาควชิ ากมุ ารเวชศาสตร์ ใหม้ คี ณุ ภาพ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม
6. ทำ� นบุ �ำรงุ ศลิ ปวัฒนธรรม ตลอดจนธ�ำรงไวซ้ ่งึ เอกลักษณ์ไทย
3. รายชือ่ อาจารย์
1. รองศาสตราจารย์ แพทย์หญงิ วลั ลี สตั ยาศัย
2. รองศาสตราจารย์ นายแพทย์จักรชัย จงึ ธรี พานิช
3. รองศาสตราจารย์ แพทยห์ ญิงวนดิ า เปาอนิ ทร์
4. รองศาสตราจารย์ แพทยห์ ญงิ อจั ฉรา ต้ังสถาพรพงษ์
5. ศาสตราจารย์ นายแพทยภ์ าสกร ศรีทพิ ยส์ โุ ข
6. รองศาสตราจารย์ แพทยห์ ญงิ ทพิ วรรณ หรรษคณุ าชัย
7. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ แพทย์หญิงวริ าภรณ์ ยอดวิศษิ ฎ์ศกั ด์ิ
8. รองศาสตราจารย์ แพทย์หญิงศุกระวรรณ อนิ ทรขาว
9. ศาสตราจารย์ แพทย์หญงิ อรพรรณ โพชนกุ ูล
10. รองศาสตราจารย์ นายแพทย์บุญชู ศิรจิ งกลทอง
11. ศาสตราจารย์ แพทย์หญิงสขุ เกษม โฆษติ เศรษฐ
65
รายงานประจ�ำ ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
12. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ แพทย์หญงิ สุดาทิพย์ ผาติชีพ
13. รองศาสตราจารย์ แพทย์หญงิ อิสราภา ช่ืนสวุ รรณ
14. รองศาสตราจารย์ แพทยห์ ญงิ อารยา ศรัทธราพทุ ธ
15. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ แพทย์หญงิ ผกาทิพย์ ศลิ ปมงคลกุล
16. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ นายแพทย์รัฐพล ว่องวนั ดี
17. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ แพทย์หญิงพชั ราภา ทวกี ลุ
18. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ แพทย์หญงิ สดุ าทิพย์ โฆสิตะมงคล
19. รองศาสตราจารย์ แพทย์หญงิ วิไลพร เตชะสาธติ
20. รองศาสตราจารย์ แพทย์หญงิ พรอ�ำภา บรรจงมณี
21. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ แพทยห์ ญงิ ยุวลักษณ์ ธรรมเกษร
22. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ แพทย์หญงิ พรรณพัชร พิรยิ ะนนท์
23. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ แพทย์หญิงพรทิพา อิงคกลุ
24. รองศาสตราจารย์ แพทยห์ ญิงพชรพรรณ สุรพลชัย
25. รองศาสตราจารย์ แพทยห์ ญงิ ศริยา ประจกั ษธ์ รรม
26. รองศาสตราจารย์ แพทยห์ ญิงกติ ิวรรณ โรจนเนอื งนิตย์
27. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ แพทย์หญิงขนษิ ฐา คูศิวไิ ลส์
28. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์บนั ดาล ซือ่ ตรง
29. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร. นายแพทยส์ ริ ะ นันทพศิ าล
4. ผลงานดา้ นการศึกษา
จัดท�ำโปรแกรมคลังข้อสอบส�ำหรับสาขากุมารเวชศาสตร์และเป็นแนวทางปฏิบัติท่ีดีเผยแพร่ให้แก่
หน่วยงานอ่นื ๆ (best practice)
5. ผลงานด้านการวจิ ยั บทความและต�ำรา
1. Vaccine A to Z. ใน: วรี ะชยั วฒั นวรี เดช, กลุ กญั ญา โชคไพบลู ยก์ จิ บรรณาธกิ าร. ตำ� ราวชิ าการ Update
on Pediatric Infectious Diseases 2019.
2. แนวทางเวชปฏิบตั กิ ารรักษาวัณโรคในเด็ก พ.ศ. 2562.
3. Challenging diagnosis and treatment in RTIs: atypical pathogens. ใน: วีระชัย วัฒนวรี เดช,
กลุ กัญญา โชคไพบลู ย์กิจ บรรณาธกิ าร. ต�ำราวชิ าการ Update on Pediatric Infectious Diseases 2019.
4. Design Your Baby Beyond 2020. เวชศาสตรม์ ารดาและทารกในครรภแ์ หง่ อนาคต (MFM Beyond 2020)
5. Infant feeding modification in FGIDs. ใน: วรนชุ จงศรีสวัสด์ิ, นภอร ภาวิจิตร, ภิเษก ยิม้ แย้ม,
อลิสรา ดำ� รงมณ,ี พรรณพชั ร พริ ยิ ะนนท์ บรรณาธิการ. แนวเวชปฏิบัตโิ รคทางเดนิ อาหารและตบั ในเดก็ 5.
66
รายงานประจ�ำ ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์
6. ตับออ่ นอกั เสบเฉยี บพลนั . ใน: วรนชุ จงศรสี วัสด,ิ์ นภอร ภาวิจิตร, ภิเษก ย้ิมแยม้ , อลิสรา ดำ� รงมณ,ี
พรรณพัชร พิริยะนนท์ บรรณาธกิ าร. แนวเวชปฏิบตั ิโรคทางเดนิ อาหารและตบั ในเดก็ 5.
7. การวดั คณุ ภาพชวี ิตดา้ นสุขภาพในเดก็ .
8. A quality improvement project to improve human milk feeding rate in hospitalized
neonates
9. Adenosine de-aminase two and immunoglobulin M accurately differentiate adult
sneddon's syndrome of unknown cause
10. Bilateral ureteral obstruction is rapidly accompanied by ER stress and activation of
autophagic degradation of IMCD proteins, including AQP2
11. Celastrol attenuates fMLP-induced superoxide anion generation, myeloperoxidase
production, and elastase release by human neutrophils
12. Clinical course, mutations and its functional characteristics of infantile-onset Pompe
disease in Thailand
13. Clinical delineation of 18q11-q12 micro deletion: Intellectual disability, speech and
behavioral disorders, and conotruncal heart defects
14. Costello syndrome with trichorrhexis nodosa: A case report
15. Development and validation of stability indicating HPLC method for determination of
adrenaline tartrate
16. Effect of NUDT15 on incidence of neutropenia in children with acute lymphoblastic
leukemia
17. Identification of Gene Mutations in Primary Pediatric Cardiomyopathy by Whole Exome
Sequencing
18. Infant feeding practices in relation to iron status and other possible nutritional
deficiencies in Pathumthani, Thailand
19. Long-Term Outcomes of Modified St Jude Children's Research Hospital Total Therapy
XIIIB and XV Protocols for Thai Children with Acute Lymphoblastic Leukemia
20. Molecular Diagnosis of Solute Carrier Family 4 Member 1 (SLC4A1) Mutation-Related
Autosomal Recessive Distal Renal Tubular Acidosis.
21. Prevalence and risk factors of allergic rhinitis in children in Bangkok area
22. Prevalence and severity of asthma, rhinoconjunctivitis and eczema in children from the
Bangkok area: The Global Asthma Network (GAN) Phase I
67
รายงานประจ�ำ ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
23. RNA-Seq and protein mass spectrometry in microdissected kidney tubules reveal
signaling processes initiating lithium-induced nephrogenic diabetes insipidus
24. Secondary C1q Deficiency in Activated PI3Kδ Syndrome Type 2
6. ผลงานดา้ นการบรกิ ารวชิ าการ
โครงการ การตรวจสขุ ภาพเด็กนักเรยี น โรงเรียนอนบุ าลแห่งมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์
โครงการ การตรวจสขุ ภาพเด็ก ศนู ย์พัฒนาเดก็ ปฐมวัย คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
7. ผลงานด้านการพัฒนาคุณภาพ
คณะกรรมการแพทยสภา ให้การรับรองมาตรฐานและคุณภาพการฝึกอบรมของ แผนการฝึกอบรมสาขา
กมุ ารเวชศาสตรใ์ นวนั ที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 และมอี ายุ 5 ปนี บั จากวนั ทแี่ พทยสภาใหก้ ารรบั รอง และไดด้ ำ� เนนิ การ
ขอรับรองมาตรฐานและคุณภาพในแผนการฝกึ อบรมอนสุ าขาอีก 4 อนสุ าขาและรอการรบั รองจากแพทยสภา
การตรวจประเมินแพทย์ประจ�ำบา้ น สาขากมุ ารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
68
รายงานประจำ�ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
โครงการตรวจสุขภาพเดก็ นักเรียน โรงเรยี นอนุบาลแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
69
รายงานประจำ�ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
ภาควชิ าศัลยศาสตร์
ภาควชิ าศลั ยศาสตรเ์ ปน็ หนว่ ยงานหนง่ึ ในสถานวทิ ยาศาสตรค์ ลนิ กิ ดำ� เนนิ การจดั การเรยี นการสอนระดบั ปรญิ ญา
ให้แก่คณะแพทยศาสตร์ โดยจัดหลักสูตรบูรณาการศัลยศาสตร์แก่นักศึกษาแพทย์ช้ันปีที่ 4-6 รวมถึงการฝึกอบรม
แพทย์ประจ�ำบ้านสาขาศัลยศาสตร์ทั่วไป สาขาประสาทศัลยศาสตร์และสาขาศัลยศาสตร์ยูโรวิทยา อันเป็นหลักสูตร
หลังปริญญา นอกจากนี้ยังให้บริการทางวิชาการ บริการรักษาผู้ป่วยกลุ่มโรคทางศัลยกรรมให้แก่โรงพยาบาล
ธรรมศาสตรเ์ ฉลิมพระเกียรติ
1. หัวหนา้ ภาควชิ า ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ นายแพทย์ฉตั รชัย ม่ิงมาลัยรักษ์
รองหัวหน้าภาควิชา รองศาสตราจารย์ นายแพทย์อสั นี ทองอยู่
เลขานุการภาควิชา นางสาวสุภาภรณ์ รอ้ ยเพยี
2. ปรชั ญา วสิ ยั ทัศน์ และพันธกจิ
ปรัชญา “เป็นภาควิชาท่ีมีชื่อเสียงระดับประเทศ ผลิตบัณฑิตแพทย์และศัลยแพทย์ที่มีมาตรฐานทุกสาขา
มคี วามรคู้ คู่ ณุ ธรรม สรา้ งงานวจิ ยั ทม่ี คี ณุ ภาพแกป้ ญั หาสาธารณสขุ ไทย ใหบ้ รกิ ารโดยมงุ่ สเู่ ทคโนโลยที ที่ นั สมยั ตอบสนอง
วสิ ัยทศั น์ และพันธกจิ ของคณะแพทยศาสตร์ พฒั นางานบริการส่คู วามเป็นเลิศ”
วสิ ัยทศั น์ “เปน็ ภาควิชามีชอื่ เสยี งระดับประเทศ มีศกั ยภาพในการผลิตศัลยแพทยท์ กุ สาขา”
พนั ธกจิ
1. ผลติ บัณฑิตแพทย์ทีม่ ีคุณภาพและคุณธรรม ท�ำงานได้สอดคลอ้ งกับการเปล่ียนแปลงของสงั คม
2. ผลติ ศลั ยแพทยท์ ี่มีความรแู้ ละทักษะทด่ี ตี ามมาตรฐานราชวิทยาลัยศัลยแพทย์แหง่ ประเทศไทย
3. สร้างและเผยแพรง่ านวิจยั ท่มี คี ณุ ภาพระดับสากล และสร้างองค์ความรใู้ หมท่ ่ีมีคณุ ภาพ
4. ให้บริการทางการแพทย์และวิชาการทางด้านการแพทย์แก่สังคมโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ภายใต้
มาตรฐานสากล เปน็ สถาบันที่มุง่ สู่ความเปน็ นานาชาติทั้งในระดบั ปรญิ ญาตรี แพทย์หลงั ปรญิ ญา และบณั ฑติ ศกึ ษา
5. ทำ� นุบ�ำรุงศลิ ปวัฒนธรรม
3. รายนามหัวหน้าภาควชิ า
1. รองศาสตราจารย์ นายแพทย์จิตตินัดด์ หะวานนท์ พ.ศ. 2536 - 2540
2. รองศาสตราจารย์ นายแพทยว์ รี วฒั น์ เหลืองชนะ พ.ศ. 2540 - 2543
3. รองศาสตราจารย์ นายแพทย์วิวัฒน์ พุทธวรรณไชย พ.ศ. 2543 - 2543
70
รายงานประจำ�ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
4. รองศาสตราจารย์ นายแพทย์สรุ จติ อาวสกลุ สทุ ธิ พ.ศ. 2543 - 2549
5. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ นายแพทยว์ ีรยะ เภาเจรญิ พ.ศ. 2549 - 2552
6. ศาสตราจารย์ ดร. นายแพทย์ประกิตพันธ์ุ ทมทิตชงค์ พ.ศ. 2552 - 2555
7. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ นายแพทยว์ ีระยุทธ โถวประเสรฐิ พ.ศ. 2555 - 2561
8. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์ฉตั รชัย ม่ิงมาลัยรกั ษ์ พ.ศ. 2561 - ปจั จุบัน
4. รายชื่ออาจารย์
71
รายงานประจ�ำ ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
5. ผลงานด้านงานบรกิ าร
ในปี 2563 ได้มกี ารขยายบรกิ ารโดยเปิดห้องผา่ ตัด Hybrid โดยเปน็ หอ้ งผ่าตดั อัจฉริยะ Hybrid Operation
Room ชนิด Biplane ทท่ี นั สมัยและมปี ระสทิ ธภิ าพท่สี ดุ ในประเทศและเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ เม่ือวนั ที่ 27 มถิ นุ ายน
พ.ศ. 2563 ท่ผี ่านมา ท�ำใหส้ ามารถรกั ษาโรคหลอดเลือดท่ีมีความซับซ้อนและขดเค้ยี วได้ โดยเฉพาะหลอดเลอื ดสมอง
หรอื โรคหลอดเลอื ดอนื่ ๆ ที่มคี วามซบั ซอ้ นทางกายวิภาค อกี ทั้งยังมีการติดต้งั เตียงผา่ ตัด อุปกรณ์เสรมิ ตา่ ง ๆ ท่ีเชื่อม
ตอ่ กนั ทงั้ หมดดว้ ยระบบคอมพวิ เตอร์ เพอื่ สามารถรองรบั การรกั ษาทง้ั การผา่ ตดั และการรกั ษาผา่ นสายสวนหลอดเลอื ด
ในทุกส่วนของรา่ งกาย เชน่ หลอดเลือดสมอง หลอดเลือดไขสนั หลงั หลอดเลือดช่องทอ้ งและหัวใจ เป็นต้น
72
รายงานประจำ�ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์
6. ดา้ นบรกิ ารวชิ าการ งาน one day journey in thoracic surgery
73
รายงานประจ�ำ ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Workshop on common cardiac procedure
Central venous access workshop
74
รายงานประจำ�ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
งานประชุม Interhospital grand round
การอบรมแพทยป์ ระจ�ำบา้ นเพอ่ื การส่ือสารอย่างเขา้ ใจ
75
รายงานประจ�ำ ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
การอบรมจรยิ ธรรม โดยรว่ มกบั ราชวทิ ยาลัยศลั ยแพทย์แหง่ ประเทศไทย
การออกหน่วยแพทย์ใหค้ วามรู้ประชาชน ต.บา้ นกรด อยธุ ยา
76
รายงานประจ�ำ ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
อาจารย์แพทย์รว่ มเปน็ วทิ ยากรใหร้ าชวทิ ยาลัยศลั ยแพทย์แหง่ ประเทศไทย
การร่วมเป็นแพทย์อาสา โรงพยาบาลสนามธรรมศาสตร์
77
รายงานประจ�ำ ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
7. ดา้ นงานวิจยั
จำ� นวนผลงานวจิ ัยทไ่ี ดร้ ับการตพี มิ พ์ในปี 2562 มีจ�ำนวนท้ังสิน้ 23 เร่อื ง เปน็ ฐานข้อมูล scopus 9 เร่ือง
8. ดา้ นการศึกษา
นกั ศึกษาแพทย์
ส่งนักศึกษาแพทย์เข้าร่วมกิจกรรม “Born to be Surgeons 2020” งานประชุมราชวิทยาลัยศัลยศาสตร์
แหง่ ประเทศไทย คร้งั ท่ี 45 ภายใตห้ ัวขอ้ “Surgical Challenges in Transformative Era 2020” วนั ที่ 19 กันยายน
พ.ศ. 2563 และ วันท่ี 10 ตลุ าคม พ.ศ. 2563 ณ ราชวทิ ยาลยั ศัลยแพทย์แหง่ ประเทศไทย
กิจกรรม Surgical Quiz
ผู้ที่ได้คะแนน 3 ล�ำดับสูงสุด ได้แก่ 1. นายณัฐสาร แสนแสง (มหาวิทยาลัยขอนแก่น) 2. นางสาวมานิตา
ทรงวศนิ (มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร)์ 3. นายธนกฤต เบญจธรรมนนท์ (มหาวิทยาลยั ขอนแก่น)
กิจกรรมประกวด VDO contest (Title : Surgical Challenges in Transformative Era 2020)
รางวลั ที่ 1 (ได้รบั เงนิ รางวัล 3,000 บาท) คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่
รางวัลที่ 2 (ไดร้ ับเงนิ รางวลั 2,000 บาท) คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
รางวลั ท่ี 3 (ได้รบั เงนิ รางวลั 1,000 บาท) คณะแพทยศาสตร์ศริ ริ าชพยาบาล มหาวิทยาลยั มหดิ ล
รางวลั ชมเชย (ได้รับของทร่ี ะลึก) คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั
78
รายงานประจำ�ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์
9. ดา้ นการฝกึ อบรมแพทยป์ ระจำ� บา้ น
ภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ไดจ้ ัดท�ำหลกั สตู รและเกณฑ์การฝกึ อบรม
แพทย์ประจ�ำบ้านเพื่อวุฒิบัตรแสดงความรู้ความช�ำนาญในการประกอบอาชีพเวชกรรม สาขาศัลยศาสตร์ท่ัวไป สาขา
ประสาทศลั ยศาสตรแ์ ละสาขาศลั ยศาสตรย์ โู รวทิ ยา ซงึ่ มวี ทิ ยาศาสตรก์ ารแพทยป์ ระยกุ ตท์ เี่ กย่ี วขอ้ งกบั โรค การบาดเจบ็
ทต่ี อ้ งการการรกั ษาดว้ ยการทำ� หตั ถการหรอื การผา่ ตดั หลกั ซง่ึ ศลั ยแพทยน์ น้ั จะตอ้ งมคี วามรแู้ ละทกั ษะในการวนิ จิ ฉยั และ
การดูแลรักษาผู้ป่วยในระยะก่อน ระหว่างและหลังการผ่าตัด ตลอดจนการดูแลผู้ป่วยในภาวะวิกฤต โดยมีพันธกิจ
ในการดํารงความเป็นสถาบันทางวิชาการศัลยศาสตร์ ท่ีมุ่งการพัฒนาและการใช้ความรู้ทางศัลยศาสตร์ อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพและการฝึกอบรมดงั นี้
1. มุ่งเน้นให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ความสามารถในการท�ำงานด้านศัลยศาสตร์แบบมืออาชีพ
ได้มาตรฐานสากล และสามารถปรับใช้ให้เข้ากับบริบทการท�ำงานของระบบบริการสุขภาพของประเทศไทย ใส่ใจใน
ความปลอดภัยเพื่อการแก้ไขปัญหาและการส่งเสริมสุขภาพ โดยยึดถือผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางบนพื้นฐานของการดูแล
แบบองค์รวม รวมท้ังสามารถปฏบิ ตั ิงานแบบสหวชิ าชีพไดเ้ ป็นอยา่ งดี
2. มุ่งเน้นให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมพัฒนาความรู้ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือแสวงหา
ความรดู้ ้วยตนเองและท�ำงานวิจยั ทต่ี ามเจตนารมณแ์ ละเตรียมความพร้อมท่ีจะเรยี นร้ตู ลอดชีวติ
3. มงุ่ เนน้ ใหผ้ เู้ ขา้ รบั การฝกึ อบรมมคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรมทางการแพทยท์ ด่ี ใี นการดแู ลรกั ษาผปู้ ว่ ย มคี วามรบั ผดิ ชอบ
และมพี ฤตกิ รรมทเ่ี หมาะสมตอ่ เพอื่ นรว่ มงานทง้ั ในวชิ าชพี ของตนเองและวชิ าชพี อนื่ ๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ งรวมทง้ั ผปู้ ว่ ยและญาติ
4. มุ่งเนน้ ให้ผเู้ ขา้ ฝึกอบรมมคี วามรู้และทักษะทีด่ ตี ามมาตรฐานราชวทิ ยาลัยศัลยแพทย์แห่งประเทศไทย
79
รายงานประจ�ำ ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
หลกั สตู ร ระยะเวลาการฝึกอบรมและจำ� นวนแพทย์ทอี่ ย่รู ะหว่างการฝกึ อบรมในปีการศกึ ษา 2563
หลกั สตู ร ระยะเวลาการฝกึ อบรม จำ� นวนแพทยท์ อี่ ยู่ระหวา่ งการฝกึ อบรม
สาขาศลั ยศาสตร์ท่ัวไป 4 ปี 24
สาขาประสาทศลั ยศาสตร์ 5 ปี 10
สาขาศลั ยศาสตรย์ ูโร 4 ปี 8
หลกั สตู รประจำ� บา้ นตอ่ ยอด
- สาขาศลั ยศาสตร์หลอดเลือด
- สาขาศัลยศาสตร์ระบบประสาทหลอดเลอื ด
- สาขาศลั ยกรรมผ่าตัดผ่านกล้อง
- สาขาศลั ยศาสตร์ลำ� ไสใ้ หญแ่ ละทวารหนัก
หลกั สูตร Dual Degree
ภาควชิ าไดจ้ ดั ต้งั หลักสตู ร Dual Degree ในการฝึกอบรมแพทยป์ ระจ�ำบา้ น โดยใหเ้ รยี นหลกั สูตรปริญญาโท
ทางศัลยศาสตร์ควบคู่ไปกับการฝึกอบรมวุฒิบัตร เพื่อให้เป็นศัลยแพทย์ที่มีความรู้ด้านวิจัยเป็นอย่างดีท�ำให้เกิด
องคค์ วามรู้ใหม่ตอ่ ไปในอนาคต
หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการแพทยค์ ลินิกศัลยศาสตร์
หลกั สตู รวิทยาศาสตรดุษฎีบณั ฑติ สาขาการแพทยค์ ลินกิ ศัลยศาสตร์
แพทย์ประจำ� บา้ นส�ำเรจ็ การศึกษา ปี 2563
80
รายงานประจ�ำ ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
10. ดา้ นจรยิ ธรรม
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ นายแพทยฉ์ ตั รชยั มงิ่ มาลยั รกั ษ์ ไดร้ บั โลเ่ กยี รตคิ ณุ อาจารยแ์ พทยผ์ ปู้ ระพฤตติ นดเี ดน่ จาก
แพทยสภา
81
รายงานประจำ�ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
ภาควิชาสูติศาสตร์-นรเี วชวิทยา
1. หัวหน้าภาควิชา รองศาสตราจารย์ ดร. นายแพทยอ์ ติวุทธ กมุทมาศ
รองหวั หนา้ ภาควิชา รองศาสตราจารย์ แพทยห์ ญิงอรวรรณ เลก็ สกลุ ไชย
เลขานุการภาควิชา อาจารย์ แพทย์หญงิ อวัสดา บณุ ยัษเฐียร
2. ปรัชญา วสิ ัยทัศน์ พันธกจิ
ปรัชญา
ผลิตบณั ฑิตแพทย์ และผู้เชยี่ วชาญ บรหิ ารงานวิจัย ใสใ่ จประชาชน
วิสยั ทัศน์
เป็นภาควิชาท่ีมีมาตรฐานด้านการเรียนการสอน การบริการวิชาการ และการวิจัยทางด้านสูติศาสตร์-
นรีเวชวทิ ยา เป็นท่ยี อมรบั ในระดับสากล
พนั ธกจิ
ภาควิชาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มีพันธกิจสอดคล้องตามท่ี
ราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทยก�ำหนดคือ เพ่ือฝึกอบรมวิชาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยาซ่ึงเป็นสาขาวิชา
ทางการแพทยเ์ ฉพาะทางทตี่ อ้ งอาศยั ความรอู้ ยา่ งกวา้ งขวางและลกึ ซง้ึ รว่ มกบั ความสามารถในการทำ� หตั ถการทปี่ ระณตี
และซับซ้อน ในการดูแลสุขภาพของสตรีวัยก่อนเจริญพันธุ์ วัยเจริญพันธุ์ และวัยหมดประจ�ำเดือน แพทย์ผู้เข้ารับ
การฝึกอบรมเพื่อเป็นผู้เชี่ยวชาญสาขาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยาจึงควรมีความรู้ครอบคลุมเนื้อหาดังกล่าวท้ังในด้าน
ทฤษฎแี ละปฏิบตั ิ
นอกจากความรแู้ ละทกั ษะดา้ นสตู ศิ าสตรแ์ ละนรเี วชวทิ ยาแลว้ แพทยผ์ เู้ ขา้ รบั การฝกึ อบรมเปน็ แพทยป์ ระจำ� บา้ น
สาขาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยาจะต้องมีความรู้และทักษะด้านอ่ืน ๆ ท่ีส�ำคัญ ได้แก่ ความสามารถในการเรียนรู้
อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ความสามารถดา้ นการวจิ ยั เพอื่ สรา้ งองคค์ วามรู้ การสอื่ สารและปฏสิ มั พนั ธ์ การทำ� งานเปน็ ทมี การปฏบิ ตั งิ าน
แบบสหวชิ าชพี ความรคู้ วามเขา้ ใจในระบบสขุ ภาพของประเทศ ปรบั ตวั ตามความหลากหลายทางวฒั นธรรม การบรหิ าร
จัดการ ความรู้ความเข้าใจในระบบสุขภาพ กระบวนการคุณภาพและความปลอดภัยเพ่ือให้มีการพัฒนาอย่างต่อเน่ือง
ตลอดจนมีความรับผิดชอบ มีจริยธรรม ทัศนคติ และเจตคติท่ีดีต่อผู้ป่วย ผู้ร่วมงาน และองค์กรเพ่ือก่อให้เกิด
ประโยชนส์ งู สุดต่อสังคมในการบรกิ ารทางสูติศาสตร์และนรเี วชวทิ ยา
82
รายงานประจ�ำ ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
3. รายนามหวั หนา้ ภาควชิ า พ.ศ. 2533 - 2543
1. รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ปรีชา วาณชิ ยเศรษฐกุล พ.ศ. 2543 - 2546
2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์สกล มนูสุข พ.ศ. 2549 - 2552
3. รองศาสตราจารย์ นาวาอากาศโท นายแพทย์คมสันติ์ สุวรรณฤกษ์ พ.ศ. 2552 - 2555
4. รองศาสตราจารย์ แพทย์หญงิ อรวรรณ เลก็ สกุลไชย พ.ศ. 2555 - 2558
5. รองศาสตราจารย์ นายแพทย์พฤหัส ตอ่ อดุ ม พ.ศ. 2558 - ปจั จบุ นั
6. รองศาสตราจารย์ ดร. นายแพทยอ์ ติวุทธ กมทุ มาศ
4. รายช่อื อาจารย์
1. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์สกล มนสู ุข
2. รองศาสตราจารย์ ดร. นายแพทย์อตวิ ทุ ธ กมทุ มาศ
3. รองศาสตราจารย์ นายแพทย์พฤหัส ตอ่ อดุ ม
4. รองศาสตราจารย์ นายแพทย์เจริญไชย เจียมจรรยา
5. รองศาสตราจารย์ แพทยห์ ญงิ จรินทร์ทพิ ย์ สมประสิทธ์ิ
6. รองศาสตราจารย์ นายแพทยเ์ ดน่ ศักดิ์ พงศโ์ รจนเ์ ผา่
7. รองศาสตราจารย์ นาวาอากาศโท นายแพทยค์ มสันต์ิ สุวรรณฤกษ์
8. รองศาสตราจารย์ แพทยห์ ญงิ อรวรรณ เลก็ สกลุ ไชย
9. รองศาสตราจารย์ ดร. นายแพทย์ช�ำนาญ แทน่ ประเสรฐิ กลุ
10. รองศาสตราจารย์ แพทย์หญิงอธติ า จันทเสนานนท ์
11. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ นายแพทยย์ ุทธเดช ทวกี ุล
12. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ นายแพทยอ์ าทิตย์ บญุ ยรางกรู
13. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ แพทย์หญิงกรชิ า ไม้เรียง
14. รองศาสตราจารย์ แพทย์หญงิ เย็นฤดี ภูมิถาวร
15. อาจารย์ แพทย์หญิงต้องตา นนั ทโกมล
16. อาจารย์ แพทยห์ ญงิ นิพทั ธา วินะยานวุ ตั คิ ณุ
17. อาจารย์ แพทย์หญิงอวัสดา บณุ ยัษเฐียร
83
รายงานประจำ�ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
อาจารยป์ ระจ�ำตามสญั ญา
รองศาสตราจารย์ นายแพทยป์ รชี า วาณิชยเศรษฐกลุ
5. ผลงานด้านการศึกษา
5.1 การเปน็ Education Excellent Center
5.2 การจัดการพัฒนาการเรียนการสอนแกอ่ าจารย์ และแพทย์ประจ�ำบ้าน
5.3 การจัดการปรบั ปรงุ ข้อสอบนกั ศึกษาแพทยท์ ุกเดอื น
5.4 การจดั การสอบ MEQ, MCQ, OSCE ใหก้ ับแพทยป์ ระจำ� บ้าน
5.5 การจดั Interhospital conference เป็นประจ�ำทกุ 1 เดอื น
6. ผลงานดา้ นการวจิ ยั ในปี 2563
• Cold Therapy for Pain Relief in Postoperative Cesarean Section: Randomized Controlled
Trial
• Comparative Study in Quality of Life between Thai Endometrial Cancer Survivors and Healthy
Women in Thammasat University Hospital
• The Use of Levobupivacaine With or Without Ketorolac in Post Cesarean Pain Management:
A Randomized Double-blinded Control Trial
• Comparison of Wound Infiltration of Lidocaine with and without Ketorolac on Episiotomy
Wound for Pain Management: A Randomized Double-Blinded Controlled Trial
• Comparison of Wound Infiltration of Lidocaine with and without Dexamethasone on Episi
otomy wound for Pain Management: A Randomized Double-Blinded Controlled Trial
• Incidence of Recurrent High Grade Cervical Intraepithelial Neoplasia after Treatment of
Preinvasive Cervical Lesion: A-3 Year Follow-up at Thammasat University Hospital
84
รายงานประจ�ำ ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
7. ผลงานด้านการบรกิ ารวชิ าการในปี พ.ศ. 2563
ภาควิชาสูตศิ าสตร์-นรีเวชวทิ ยา จัดโครงการให้บริการวิชาการที่มีคุณภาพและไดม้ าตรฐาน ไดแ้ ก่
• อบรมหลักสูตรประกาศนียบัตรเพศวิทยาคลินิกและเวชศาสตร์ทางเพศปีละ 2 ครั้ง ได้แก่ กลางปี
(วันที่ 1 มิถนุ ายน ถึง วันท่ี 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2563) และ ปลายปี (วนั ที่ 1 ตุลาคม ถึง วนั ท่ี 24 ธันวาคม พ.ศ. 2563)
ณ หอ้ งเรียน ช้นั 6 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
8. ผลงานด้านการพัฒนาคณุ ภาพ
ภาควิชาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา ได้รับการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ประจ�ำปีการศึกษา 2562 เม่ือวันที่
2 กันยายน พ.ศ. 2563
อบรมหลกั สูตรประกาศนยี บัตรเพศวิทยาคลนิ กิ และเวชศาสตรท์ างเพศ ประจำ� ปี 2563 ณ ห้องเรยี น ช้นั 6
คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
85
รายงานประจ�ำ ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
โครงการพฒั นาแพทยผ์ ู้ช่วยสอนและแพทย์ใชท้ นุ
สาขาสตู ศิ าสตร์-นรีเวชวิทยา ปีการศึกษา 2563
วันที่ 27 - 28 สงิ หาคม พ.ศ. 2563 ณ จังหวัดชลบรุ ี
86
รายงานประจำ�ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
ภาควิชาออรโ์ ธปดิ กิ ส์
1. หัวหนา้ ภาควิชา รองศาสตราจารย์ นายแพทยบ์ ัญชา ช่ืนชูจิตต์
รองหัวหนา้ ภาควิชา รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ปิยะ ปิ่นศรศักด์ิ
เลขานกุ ารภาควชิ า นางสาววจิ ิตรา พลศรลี า
นางสาวปรารถนา สง่ั สอน
2. ปณิธานและพันธกิจ
ปณธิ าน
“Thammasat for People เป็นคณะแพทยศาสตร์ชั้นน�ำ เพ่ือประชาชน สร้างผู้น�ำทางการแพทย์ และ
งานวิจยั มุ่งสสู่ ากล”
พนั ธกิจ
1. ผลิตบัณฑิตแพทย์ออร์โธปิดิกส์ที่มีคุณภาพและคุณธรรม ท�ำงานได้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของ
สังคม และสามารถพฒั นาตนเองไดอ้ ย่างตอ่ เน่ือง
2. ผลิตบัณฑิตแพทย์ออร์โธปิดิกส์ท่ีมีความรู้และทักษะท่ีดีตามมาตรฐานราชวิทยาลัยออร์โธปิดิกส์แห่ง
ประเทศไทย
3. ผลิตงานวิจัยและนวัตกรรมด้านออร์โธปิดิกส์ที่มีคุณภาพระดับสากล และสร้างองค์ความรู้ใหม่ในการ
แกป้ ญั หาเกยี่ วกบั การบาดเจบ็ และโรคทางออรโ์ ธปดิ กิ สไ์ ดอ้ ยา่ งมมี าตรฐาน เปน็ ทย่ี อมรบั ในระดบั นานาชาติ
4. ให้บริการทางการแพทย์และวิชาการทางด้านการแพทย์แก่สังคม อย่างมีคุณภาพ ตามมาตรฐานสากล
เป็นสถาบนั ท่มี งุ่ ส่คู วามเป็นนานาชาตทิ งั้ ในระดบั ปริญญาตรี แพทย์หลังปริญญาและบณั ฑติ ศึกษา
5. พฒั นาบคุ ลากรในภาควชิ าใหม้ ศี ักยภาพ มีความกา้ วหนา้ ในด้านวิชาการและทางวิชาชีพอย่างสมำ�่ เสมอ
6. ทำ� นุบ�ำรุงศลิ ปวัฒนธรรม
87
รายงานประจำ�ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์
3. รายช่ืออาจารย์
1. รองศาสตราจารย์ นายแพทยบ์ ญั ชา ชืน่ ชจู ติ ต์
2. รองศาสตราจารย์ นายแพทยส์ ญั ญาณ เนยี มปกุ
3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พันต�ำรวจตรี นายแพทย์ธงชยั สนุ ทราภา
4. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ นายแพทย์ประกาศติ สงวนจติ ร
5. รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ณฐั พล ธรรมโชติ
6. รองศาสตราจารย์ นายแพทยป์ ยิ ะ ปน่ิ ศรศักดิ์
7. รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ธนพงษ์ ไวทยะวญิ ญู
8. รองศาสตราจารย์ นายแพทย์บญุ ชนะ พงษเ์ จรญิ
9. ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ นายแพทย์เจน จิตะพนั ธก์ ุล
10. รองศาสตราจารย์ นายแพทยม์ ารุต อรณุ ากรู
11. รองศาสตราจารย์ นายแพทย์รฐั ฤกษ์ อรุณากรู
12. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทยช์ ินกาจ บุญญสิรกิ ูล
13. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์สคุ ณศิ ฉ่ำ� ชื่น
14. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ นายแพทยอ์ ดนิ ันท์ อภวิ ฒั นก์ ารุญ
15. รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ก้พู งษ์ ศริ ิบ�ำรุงวงศ์
16. ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ นายแพทย์กฤต บญุ ธนาพบิ ลู ย์
17. อาจารย์ นายแพทย์วรุตม์ พลสวสั ดชิ์ ัย
88
รายงานประจ�ำ ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
4. ผลงานด้านการศกึ ษา
รายวิชาที่รบั ผดิ ชอบ
1. รายวชิ าการดแู ลผปู้ ว่ ยเลือกเฉพาะทาง (พศ.501) ส�ำหรบั นักศกึ ษาแพทยช์ ้ันปที ่ี 5
2. รายวชิ าศลั ยศาสตร์ออร์โธปิดกิ สเ์ วชปฏบิ ัติ (พศ.661) ส�ำหรับนกั ศกึ ษาแพทยช์ ัน้ ปที ี่ 6
5. ผลงานด้านการวจิ ยั
งานวจิ ยั ท่ีได้ตพี มิ พ์ ปี 2563 ดังนี้
รองศาสตราจารย์ นายแพทยบ์ ญั ชา ช่นื ชูจติ ต์
- Apivatgaroon A, Tharakulphan S, Kongmalai P, Chernchujit B. The acromion in supraspinatus
outlet and Rockwood caudal tilt views from three-dimensional computed tomography scan
of the shoulder. Asia Pac J Sports Med Arthrosc Rehabil Technol. 2020 Feb 14;20:12-16.
doi: 10.1016/j.asmart.2020.02.001. eCollection 2020 Apr. PMID: 32095430
- Chernchujit B, Artha A. High grade acromioclavicular injury: Comparison of arthroscopic
assisted acromioclavicular joint fixation and anatomic acromioclavicular joint reconstruction.
J Orthop. 2020 Apr 25;22:151-157. doi: 10.1016/j.jor.2020.04.007. eCollection 2020 Nov-Dec.
PMID: 32382217
- Apivatgaroon A, Chernchujit B. All-Arthroscopic Long Head of the Biceps Transfer: An Optional
Technique for Soft-Tissue Biceps Tenodesis. Arthrosc Tech. 2020 Apr 10;9(5):e611-e615. doi:
10.1016/j.eats.2020.01.015. eCollection 2020 May. PMID: 32489834
- Prasetia R, Sukhapradit B, Chernchujit B. Clinical features and repair integrity after knotless
- In situ suture bridge technique in high-grade bursal side rotator cuff tears. J Orthop. 2020
Jul 8;20:352-358. doi: 10.1016/j.jor.2020.06.019. eCollection 2020 Jul-Aug. PMID: 32684672
- Chernchujit B, Gajbhiye K, Wanaprasert N, Artha A. Percutaneous Partial Outside-In Release
of Medial Collateral Ligament for Arthroscopic Medial Meniscus Surgery With Tight Medial
Compartment by Finding a “Magic Point”. Arthrosc Tech. 2020 Jun 9;9(7):e935-e940. doi:
10.1016/j.eats.2020.03.009. eCollection 2020 Jul. PMID: 32714801
- Chernchujit B, Artha A. Osteochondritis Dissecans of the Knee: Arthroscopic Suture Anchor
Fixation. Arthrosc Tech. 2020 Aug 7;9(8):e1203-e1209. doi: 10.1016/j.eats.2020.04.021.
eCollection 2020 Aug. PMID: 32874902
- Chernchujit B, Anilabol P, Malonzo VNF. Percutaneous Lateral Collateral Ligament
Reconstruction. Arthrosc Tech. 2020 Oct 16;9(10):e1577-e1580. doi: 10.1016/j.
eats.2020.06.023. eCollection 2020 Oct. PMID: 33134063
89
รายงานประจำ�ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
- Chernchujit B, Agrawal S, Sukhapradit B. Does the position of interference screw in tibial
tunnel effect anatomic orientation in single bundle anterior cruciate ligament reconstruc-
tion?. Asia Pac J Sports Med Arthrosc Rehabil Technol. 2020 Jul 16;22:15-19. doi: 10.1016/j.
asmart.2020.06.003. eCollection 2020 Oct. PMID: 33204646
รองศาสตราจารย์ นายแพทยป์ ยิ ะ ปิน่ ศรศักด์ิ
- Pinsornsak P, Kanitnate S, Boontanapibul K. The effect of immediate post-operative knee
range of motion photographs on post-operative range of motion after total knee arthroplasty
: An assessor-blinded randomized controlled clinical trial in sixty patients. Int Orthop. 2020
Nov 24. doi: 10.1007/s00264-020-04877-3. Online ahead of print. PMID: 33230607
รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ณัฐพล ธรรมโชติ
- Tammachote N, Kanitnate S. Intravenous Dexamethasone Injection Reduces Pain From 12
to 21 Hours After Total Knee Arthroplasty: A Double-Blind, Randomized, Placebo-Controlled
Trial. J Arthroplasty. 2020 Feb;35(2):394-400. doi: 10.1016/j.arth.2019.09.002. Epub 2019 Sep
7. PMID: 31587982
รองศาสตราจารย์ นายแพทยธ์ นพงษ์ ไวทยะวญิ ญู
- Luria S, Badir S, Schwarcz Y, Peleg E, Waitayawinyu T. Approach to the Perpendicular
Fixation of a Scaphoid Waist Fracture-A Computer Analyzed Cadaver Model. J Hand Surg Am.
2020 Mar;45(3):203-212. doi: 10.1016/j.jhsa.2019.07.009. Epub 2019 Aug 24. PMID: 31451321
รองศาสตราจารย์ นายแพทย์บญุ ชนะ พงษ์เจริญ
- Pongcharoen B, Timjang J. The outcomes of mobile bearing unicompartmental knee
arthroplasty and total knee arthroplasty on anteromedial osteoarthritis of the knee in the
same patient. Arch Orthop Trauma Surg. 2020 Nov;140(11):1783-1790. doi: 10.1007/s00402-
020-03527-y. Epub 2020 Jul 24. PMID: 32710343
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์อดินนั ท์ อภวิ ฒั น์การญุ
- Apivatgaroon A, Tharakulphan S, Kongmalai P, Chernchujit B. The acromion in supraspinatus
outlet and Rockwood caudal tilt views from three-dimensional computed tomography scan
of the shoulder. Asia Pac J Sports Med Arthrosc Rehabil Technol. 2020 Feb 14;20:12-16.
doi: 10.1016/j.asmart.2020.02.001. eCollection 2020 Apr. PMID: 32095430
- Chuaychoosakoon C, Duangnumsawang Y, Klabklay P, Boonriong T, Apivatgaroon A.
Coracoclavicular Stabilization With Two Loops of Equal Tension Using a Double O Loops
Technique in the Distal Clavicle Fracture. Arthrosc Tech. 2020 Feb 7;9(3):e345-e349. doi:
10.1016/j.eats.2019.11.010. eCollection 2020 Mar. PMID: 32226741
90
รายงานประจ�ำ ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์
- Tharakulphan S, Chaiperm C, Apivatgaroon A, Sangkomkamhang T. Analgesic efficacy of
a single-dose, intraoperative, intra-articular morphine application in ACL reconstruction.
Asia Pac J Sports Med Arthrosc Rehabil Technol. 2020 Mar 30;20:28-31. doi: 10.1016/j.
asmart.2019.12.001. eCollection 2020 Apr. PMID: 32257822
- Apivatgaroon A, Chernchujit B. All-Arthroscopic Long Head of the Biceps Transfer: An Optional
Technique for Soft-Tissue Biceps Tenodesis. Arthrosc Tech. 2020 Apr 10;9(5):e611-e615. doi:
10.1016/j.eats.2020.01.015. eCollection 2020 May. PMID: 32489834
6. ผลงานดา้ นการบริการวิชาการ
มีโครงการบริการวิชาการแก่สังคม ท่ีเป็นบริการแบบให้เปล่า 1 โครงการ ได้แก่ การประชุมวิชาการ
ออร์โธปิดกิ ส์ “COMPREEHENSIVE CARE IN HAND PROBLEMS”
91
รายงานประจ�ำ ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
กจิ กรรมวิชาการแกส่ งั คม วันท่ี 22 กันยายน พ.ศ. 2563
กิจกรรมเชื่อมสมั พนั ธ์ 2563 วนั ที่ 10 - 11 มกราคม พ.ศ. 2563
92
รายงานประจำ�ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
กจิ กรรมเรียนรูก้ ารผา่ ตัดจากศพสด
กิจกรรมประกวดงานวจิ ัย คณะแพทยศาสตร์
International Fellowship Program
93
รายงานประจ�ำ ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิสัญญวี ทิ ยา
1. หัวหน้าภาควิชา ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ นายแพทยส์ ดุ สยาม มานุวงศ์
รองหวั หนา้ ภาควิชา ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ แพทยห์ ญงิ ปริฉัตร เคอร์ร่ี
2. วสิ ยั ทัศน์ พันธกิจ ปรัชญา และวฒั นธรรมองค์กร
วสิ ัยทศั น์
เปน็ สถาบนั แพทยศาสตร์ช้ันนำ� เพอ่ื ประชาชน สร้างผู้น�ำทางการแพทยแ์ ละงานวจิ ัย มุง่ ส่สู ากล
พนั ธกจิ
1. ดา้ นการศึกษา ผลติ แพทย์ บคุ ลากรทางการแพทย์ทมี่ ีคณุ ภาพและคณุ ธรรม (Excellent education)
2. ดา้ นการวิจยั ส่งเสรมิ ใหม้ ีการสรา้ งงานวจิ ยั ก่อเกดิ องคค์ วามรู้ใหมท่ างวิทยาศาสตร์การแพทย์ (Excellent
Research & innovation)
3. ด้านการให้บริการทางการแพทย์และทางวิชาการเพื่อสรรค์สร้างสุขภาพที่ดีแก่คนในสังคม (Excellent
health and academic service)
4. ดา้ นการบรหิ ารจดั การองค์กร (Excellent or Smart organization)
ปรัชญา
แพทย์โดมเด่น เนน้ คณุ ธรรม น�ำสังคม
วฒั นธรรมองค์กร
1. มีนำ้� ใจในการชว่ ยเหลือเก้ือกลู กันในการทำ� งาน
2. เคารพในความคดิ เห็นของผรู้ ่วมงานอยา่ งมเี หตุผล
3. ยอมรับและปฏบิ ัติตามกติกาและขอ้ ตกลงร่วมของภาควชิ า
3. รายช่อื อาจารย์
1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์สดุ สยาม มานุวงศ์
2. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ แพทยห์ ญงิ ศริ วิ ัน ตตยิ านพุ นั ธว์ งศ์
3. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ นายแพทยว์ รางกรู อฬุ ารางกรู
4. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ แพทยห์ ญิงปรฉิ ัตร เคอรร์ ่ี
5. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ แพทย์หญงิ อลสิ า เสียงลิว่ ลือ
6. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ แพทย์หญิงปรยี พรรณ อรุณากรู
94
รายงานประจำ�ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
7. อาจารย์ แพทยห์ ญงิ สุขมุ ากร วรธงไชย
8. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทยเ์ จษฎายุทธ ศกั ดอิ์ รุณชยั
9. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ แพทย์หญงิ ชลทชิ า ศรีภักดี
10. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ แพทย์หญิงธีรดา จันทรด์ ี
11. อาจารย์ แพทย์หญงิ วรัญญา เลศิ ไพฑูรยพ์ นั ธ์
12. อาจารย์ แพทยห์ ญิงอารยา วัฒนติ านนท์
13. อาจารย์ แพทยห์ ญงิ เนรัญชลา สนุ ทรเกส
14. อาจารย์ แพทย์หญงิ อาภากร คุณาวฒุ ิ
15. อาจารย์ แพทย์หญงิ ภัทรา เมตตาสิทธกิ ร
16. อาจารย์ นายแพทยน์ ริ จุ ิ แสงสมส่วน
17. อาจารย์ นายแพทยศ์ ิรชิ ยั เพชรอทุ ัยรงุ่
18. อาจารย์ แพทย์หญิงชุตมิ า ผลกึ มณฑล
4. ผลงานดา้ นการศึกษา
ในปัจจุบันภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มีการเรียนการสอนใน
หลักสูตรแพทยศาสตร์ท่ีใกล้เคียงกับคณะแพทยศาสตร์แห่งอ่ืน ๆ ซ่ึงหลักสูตรแพทยศาสตร์ท้ังหมดอยู่ภายใต้การดูแล
ของแพทยศาสตร์ และภาควิชาฯ เป็นส่วนหนึ่งของการจัดการเรียนการสอน โดยจะเป็นหลักสูตร 1 สัปดาห์ส�ำหรับ
นักศึกษาแพทยช์ ัน้ ปที ี่ 5 ซง่ึ มีเน้ือหาเกี่ยวกบั
• Preoperative evaluation and preparation (การเตรียมผปู้ ว่ ยก่อนมารับการระงับความรสู้ กึ )
• การฝกึ การใส่ทอ่ ชว่ ยหายใจ
• การฝกึ หตั ถการ spinal tap
หลงั จากทจี่ บหลกั สตู รจะมกี ารประเมนิ โดยใชข้ อ้ สอบอตั นยั รว่ มกบั การสอบหตั ถการการใสท่ อ่ ชว่ ยหายใจและ
การท�ำ spinal tap โดยในปีการศึกษา 2563 น้ี มีนกั ศกึ ษาแพทยช์ ั้นปที ่ี 5 ทง้ั หมด 88 คน ซ่งึ แบง่ เป็นภาคภาษาไทย
60 คน และภาคภาษาองั กฤษท้ังหมด 28 คน ซึ่งทุกคนสอบผา่ นการประเมิน คดิ เป็นร้อยละ 100
ในส่วนของการเรียนการสอนในระดับหลังปริญญาน้ัน ภาควิชาวิสัญญีได้เปิดการอบรมแพทย์ประจ�ำบ้าน
มาเป็นปีที่ 8 ที่ผ่านมาถ้าเปรียบเทียบการสอบเพ่ือวุฒิบัตรความรู้ความช�ำนาญการประกอบวิชาชีพเวชกรรม
ทางดา้ นวสิ ญั ญีวิทยา ท่ขี นึ้ ตรงกับราชวทิ ยาลัยวิสัญญีแพทยแ์ หง่ ประเทศไทยและแพทยสภาน้ัน แพทยป์ ระจ�ำบ้านของ
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สามารถสอบวุฒิบัตรผ่านได้ร้อยละ 100 โดยในปีการศึกษา 2563 น้ี มีแพทย์ประจ�ำบ้าน
ทั้งหมด 14 คน ประกอบดว้ ย แพทย์ประจ�ำบ้านช้นั ปที ่ี 1 จ�ำนวน 6 คน แพทยป์ ระจ�ำบา้ นชนั้ ปที ่ี 2 จ�ำนวน 4 คน และ
แพทย์ประจ�ำบา้ นชน้ั ปที ี่ 3 จ�ำนวน 4 คน ซึ่งทางภาควชิ ามกี ารจัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎี โดยเน้นใหผ้ ู้เรียนเป็น
ศนู ย์กลาง จัดการเรียนร้หู ลากหลายรปู แบบ เชน่ problem-based learning, self-directed learning โดยคำ� นงึ ถึง
ความต้องการการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นหลัก และน�ำมาใช้เป็นข้อมูลป้อนกลับเพ่ือพัฒนาแผนการเรียนการสอน
95
รายงานประจำ�ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สว่ นภาคทฤษฎเี ปน็ ประจำ� ทกุ ปี นอกจากนภี้ าควชิ ามกี ารนำ� สถานการณจ์ ำ� ลองทางการแพทย์ (simulation) เปน็ สว่ นหนง่ึ ของ
การเรียนการสอน เพื่อให้แพทย์ประจ�ำบ้านได้ฝึกกระบวนการคิด วิเคราะห์ และสะท้อนความรู้สึกของผู้เรียน ท�ำให้
ผูเ้ รียนมีความมั่นใจ และพฒั นาทักษะทั้งทางดา้ นวชิ าการ และ non-technical skills ซ่ึงภาควิชาฯ ไดเ้ หน็ ความส�ำคัญ
ของการเรียนการสอนรูปแบบดงั กล่าว จงึ ได้จัดการสอนสถานการณจ์ �ำลองเปน็ ประจำ� ทุกเดือน
5. ผลงานด้านวิจยั
ภาควชิ าฯ มผี ลงานวจิ ยั อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง และไดร้ บั การนำ� เสนอในระดบั ชาตแิ ละนานาชาติ ซง่ึ ในปกี ารศกึ ษา 2563
นี้มีงานวจิ ยั ทอ่ี ย่ใู นระหวา่ งการเก็บรวบรวมขอ้ มลู ทั้งหมด 5 เรือ่ ง และทีต่ พี มิ พ์ทัง้ หมด 4 เรือ่ ง ดังน้ี
• Comparison of post-operative analgesia between adductor canal block and femoral nerve
block after arthroscopic anterior crucial election ligament reconstruction
• Cardiac-cerebral-renal associations in pediatric traumatic brain injury: Prelininary findings
• Plasma levels, temperal trends and clinical associations between biomakers of
inflammation and vascular hemostasis after pediatric traumatic brain injury
• Prevalence, evaluation, and extent of impaired cerebral auto regulation in children
hospitalized with complex mild traumatic brain injury
6. ผลงานดา้ นการบรกิ ารวชิ าการ
อาจารย์ ในภาควชิ าฯ ไดร้ ับเชิญเป็นวิทยากรในการประชมุ วิชาการ เปน็ อาจารยพ์ ิเศษของสถาบนั ตา่ ง ๆ และ
เป็นกรรมการ อนุกรรมการ ผ้ทู รงคณุ วฒุ ิและท่ีปรึกษาในราชวทิ ยาลยั ฯ ในปี 2563 มีดังนี้
อาจารย์ ท่ีไดร้ บั เชญิ ไปเปน็ วทิ ยากรระดับชาติหรือระดบั นานาชาติ ประจำ� ปี พ.ศ. 2563
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ นายแพทยส์ ดุ สยาม มานุวงศ์
• วทิ ยากรในการประชุมเชงิ ปฏิบตั กิ ารพัฒนาศักยภาพการจัดบริการการผ่าตดั แบบวันเดียวกลับ (One Day
Surgery:ODS) เมือ่ วนั ท่ี 9 มกราคม พ.ศ. 2563 กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
• วทิ ยากรในโครงการอบรม Ultrasound-guided Peripheral nerve block workshop รนุ่ ที่ 1 เมอ่ื วนั ที่
27 - 31 มกราคม พ.ศ. 2563 คณะแพทยศาสตรศ์ ิรริ าชพยาบาล มหาวทิ ยาลัยมหิดล
• วทิ ยากรการประชมุ สัมมนาประเมนิ ผลการด�ำเนนิ งานการให้บริการ One Day Surgery และ Minimally
Invasive Surgery ในโรงพยาบาลของเขตสขุ ภาพท่ี 9 เมอ่ื วนั ที่ 11 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2563 กรมการแพทย์
กระทรวงสาธารณสขุ
• วิทยากรในการประชุมวิชาการประจ�ำปี ครั้งท่ี 91 หัวข้อ Anesthetic Roles in Rescue and
Resuscitation เมอ่ื วันท่ี 7 มีนาคม พ.ศ. 2563 ราชวิทยาลยั วสิ ญั ญีแพทยแ์ หง่ ประเทศไทย
• วทิ ยากรในการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารสญั จรเรอื่ ง เทคนคิ การระงบั ความรสู้ กึ เฉพาะสว่ น (Thai SRA Workshop
On Tour) ครงั้ ท่ี 13 เม่อื วันที่ 3 - 20 มนี าคม 2563 ราชวิทยาลยั วิสัญญีแพทย์แห่งประเทศไทย
96
รายงานประจำ�ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ แพทยห์ ญิงอลสิ า เสียงลิ่วลือ
• วทิ ยากรโครงการอบรม Ultrasound-guided peripheral nerve block workshop ร่นุ ท่ี 1 เมอื่ วันที่
17 - 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 ภาควิชาวิสัญญีวทิ ยา คณะแพทยศาสตรศ์ ิริราชพยาบาล
• วิทยากรในการประชุมวิชาก ารประจ�ำปี คร้ังที่ 91 หัวข้อ Anesthetic Roles in Rescue and
Resuscitation เม่ือวนั ท่ี 7 มนี าคม พ.ศ. 2563 ราชวทิ ยาลัยวสิ ัญญีแพทยแ์ ห่งประเทศไทย
อาจารย์ แพทย์หญงิ อารยา วัฒนติ านนท์
• วิทยากรในการประชุมวิชาก ารประจ�ำปี ครั้งท่ี 91 หัวข้อ Anesthetic Roles in Rescue and
Resuscitation เมอื่ วันท่ี 7 มีนาคม พ.ศ. 2563 ราชวทิ ยาลัยวิสัญญแี พทย์แห่งประเทศไทย
ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ นายแพทย์เจษฎายทุ ธ ศกั ด์อิ รณุ ชยั
• วทิ ยากรบรรยาย ในโครงการการพฒั นาความรทู้ างวชิ าการแกแ่ พทยใ์ ชท้ นุ ครง้ั ท่ี 2 เรอื่ ง Cardiothoracic
anesthesia เมอื่ วันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ
อาจารย์ ทไี่ ด้รับเชิญไปเป็นทปี่ รึกษา/กรรมการวชิ าการ/กรรมการวิชาชีพ ภายนอกมหาวทิ ยาลัยประจำ� ปี
พ.ศ. 2563
ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ นายแพทยส์ ุดสยาม มานวุ งศ ์
• กรรมการพัฒนาระบบบริการผ่าตัดแบบวันเดียวกลับ One Day Surgery (ODS) และการผ่าตัดเล็ก
Minimally Invasive Surgery (MIS) กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ
• คณะอนกุ รรมการในการจดั งานประชมุ วิชาการ ครั้งท่ี 91 ราชวทิ ยาลยั วิสญั ญีแพทย์แห่งประเทศไทย
• คณะกรรมการชมรมการระงับความรู้สึกเฉพาะส่วนแห่งประเทศไทย ราชวิทยาลัยวิสัญญีแพทย์แห่ง
ประเทศไทย
• คณะอนกุ รรมการฝกึ อบรมและสอบความรคู้ วามชำ� นาญในการประกอบวชิ าชพี เวชกรรม สาขาวสิ ญั ญวี ทิ ยา
ราชวทิ ยาลยั วสิ ญั ญีแพทย์แหง่ ประเทศไทย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ แพทย์หญิงอลิสา เสียงลว่ิ ลอื
• กองบรรณาธกิ ารวสิ ญั ญีสาร ราชวิทยาลัยวสิ ญั ญีแพทย์แห่งประเทศไทย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ แพทย์หญงิ ปรฉิ ตั ร เคอร์รี่
• กองบรรณาธกิ ารวิสญั ญีสาร ราชวิทยาลยั วสิ ัญญีแพทย์แหง่ ประเทศไทย
ในสว่ นของการใหบ้ รกิ ารทางวชิ าการเพอื่ สง่ เสรมิ ใหค้ วามรแู้ กค่ นในสงั คม ภาควชิ าวสิ ญั ญวี ทิ ยาซงึ่ ประกอบ
ดว้ ยอาจารย์ และแพทย์ประจ�ำบ้านได้จดั อบรมใหค้ วามรูใ้ นการชว่ ยเหลือชวี ติ ขนั้ พื้นฐาน ความรใู้ นเร่อื งเส้นเลือดใน
สมองแกป่ ระชาชน ใน ต.บงึ คำ� พรอ้ ย อ.ลำ� ลกู กา จ.ปทมุ ธานี ในวนั ท่ี 21 ธนั วาคม พ.ศ. 2562 เพอื่ ใหป้ ระชาชนไดม้ คี วามรู้
ในการปฏบิ ตั ติ ัวและการชว่ ยชวี ติ ขนั้ พน้ื ฐาน
97
รายงานประจ�ำ ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
7. ผลงานด้านการพัฒนาคุณภาพ
ภาควชิ าวิสญั ญไี ดผ้ า่ นการประเมนิ มาตรฐานสากลดา้ นแพทยศาสตร์ศึกษา (WFME) ตงั้ แต่ปี พ.ศ. 2562 และ
ผา่ นการตรวจประเมนิ SAR ทุกปี
8. ผลงานดา้ นการให้บรกิ ารทางวชิ าการ
การใหบ้ รกิ ารทางวชิ าการเพอื่ สง่ เสรมิ ใหค้ วามรแู้ กค่ นในสงั คม ภาควชิ าวสิ ญั ญวี ทิ ยาประกอบดว้ ยอาจารย์ และ
แพทย์ประจ�ำบ้านได้จัดอบรมให้ความรู้ในการช่วยเหลือชีวิตข้ันพ้ืนฐาน ความรู้ในเร่ืองเส้นเลือดในสมองแก่ประชาชน
ใน ต.บึงคำ� พร้อย อ.ลำ� ลกู กา จ.ปทุมธานี เพื่อใหป้ ระชาชนไดม้ ีความรใู้ นการปฏบิ ตั ติ วั และการชว่ ยชวี ิตข้ันพ้ืนฐาน
98
รายงานประจำ�ปี 2563 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
อาจารย์ ในภาควิชาวิสัญญีวิทยารับหน้าที่ในการใส่ท่อช่วยหายใจให้แก่ผู้ป่วย COVID-19 ในโรงพยาบาล
ธรรมศาสตรเ์ ฉลมิ พระเกียรตทิ ม่ี อี าการวิกฤต
ภาควชิ าวสิ ญั ญวี ทิ ยาไดม้ กี ารจดั การเตรยี มความพรอ้ ม วางแผนและสรา้ งแนวทางในการรกั ษาผปู้ ว่ ย COVID-19
ทต่ี ้องเข้ารบั การผา่ ตัดในหอ้ งผา่ ตัดเพือ่ ความปลอดภยั ของผูป้ ่วยและบคุ ลากรในห้องผ่าตดั
99