The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Developer Software, 2023-03-15 02:25:33

MEDTU Annual Report 2022

MEDTU Annual Report 2022

1 สารจากคณบดี การด าเนินงานของคณะแพทยศาสตร์ในปี พ.ศ.2565 ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (COVID-19) เริ่มผ่อนคลาย ท าให้สามารถ ด าเนินงานในสถานการณ์ปกติได้มากยิ่งขึ้น และมีการพัฒนา อย่างต่อเนื่อง มีการรับนักศึกษาเพื่อเข้ามาศึกษา ในปี การศึกษา 2566 หลักสูตรที่มีการบูรณาการร่วมกับ คณะนิติศาสตร์คือการศึกษาในหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิตเพื่อศึกษาต่อในหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชากฎหมายทางการแพทย์และสุขภาพ นอกเหนือจากนี้ คณะแพทยศาสตร์ ได้ผ่านการประเมิน EdPEx 200 มีการตีพิมพ์ผลงาน สร้างสรรค์นวัตกรรม อย่างต่อเนื่อง และมีผลงานได้รับรางวัลในหลากหลายเวที ทั้งระดับชาติและระดับนานาชาติ อีกทั้งยังมีการจัดงาน ประชุมวิชาการต่าง ๆ รวมทั้งการก่อสร้างศูนย์ฝึกทักษะ ทางการแพทย์ธรรมศาสตร์ได้เสร็จเรียบร้อยพร้อมที่จะ เปิดใช้ในปี 2566 ขอขอบคุณ ความร่วมมือร่วมใจของคณาจารย์และเจ้าหน้าที่ทุกท่าน ซึ่งเป็นสิ่งส าคัญต่อการด าเนินงานที่ ผ่านมาเป็นไปอย่างราบรื่นและมีความก้าวหน้าต่อไปในอนาคต รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ดิลก ภิยโยทัย คณบดีคณะแพทยศาสตร์


2 สารบัญ 1 สารจากคณบดี 4 ความเป็นมาของคณะแพทยศาสตร์ 6 คณะกรรมการประจ าคณะแพทยศาสตร์ 7 คณะกรรมการบริหารคณะแพทยศาสตร์ 8 นักศึกษา 12 บุคลากร 13 อาคารและสถานที่ 16 งบประมาณและผลการด าเนินงาน (ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565) 18 กิจกรรม/ประชุม/อบรม/สัมมนา/บรรยายพิเศษ 63 ผลงานวิจัย/วิชาการ 66 คณาจารย์และนักศึกษาที่ได้รับรางวัล 77 การส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรและนักศึกษา 80 คลินิกแพทย์แผนไทยประยุกต์ 81 ศูนย์การแพทย์ธรรมศาสตร์คูคต 82 ศูนย์วิจัยทางคลินิก (Clinical Research Center: CRC) 83 ส านักงานคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในคน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (สาขาแพทยศาสตร์) 84 หน่วยห้องปฏิบัติการวิจัยกลาง 86 สื่อสิ่งพิมพ์ของคณะ 88 ต าราของคณาจารย์คณะแพทยศาสตร์


3 วิสัยทัศน์ พันธกิจ การจัดการศึกษา จัดการศึกษาเพื่อผลิตแพทย์ และบุคลากรทางการแพทย์ที่ มีคุณภาพและคุณธรรม การวิจัย ส่งเสริม สนับสนุนการวิจัยและ นวัตกรรมที่เป็นเลิศทางด้าน การแพทย์ การให้บริการสุขภาพและ วิชาการ ให้บริการสุขภาพและวิชาการ เพื่อสุขภาพของคนในสังคม การบริหารจัดการองค์กร บริหารจัดการองค์กรอย่างมี ประสิทธิภาพและโปร่งใส ค่านิยมองค์กร วัฒนธรรมองค์กร Excellent Organization Excellent Health and Academic Service Excellent Research and Innovation Excellent Education 1 2 3 4


4 ความเป็นมาของคณะแพทยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็ นส่วนราชการระดับคณะวิชา สังกัด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์กระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม โดยเป็น คณะวิชาที่จัดตั้งขึ้นเป็นอันดับ 11 ของมหาวิทยาลัย และเป็นสถาบันทางแพทยศาสตร์ที่จัดตั้งขึ้น เป็นอันดับ 9 ของประเทศ โดย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศร รามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราช กฤษฎีกา การจัดตั้งคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2533 ตามแผนการขยายการเรียนการสอนในสายวิทยาศาสตร์และวิทยาศาสตร์ประยุกต์ นับเป็นคณะแรกในสายวิทยาศาสตร์สุขภาพ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดตั้งขึ้นด้วยแนวคิดการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน (Community-Based Learning : CBL) ซึ่งในขณะนั้นยังไม่มีโรงเรียนแพทย์ใดริเริ่มการเรียนการสอนดังกล่าว การเรียนการสอนของคณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้รับการปรับปรุง หลักสูตรทุก ๆ 5 ปี ตามนโยบายของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในระยะแรกของการก่อตั้ง ทางคณะได้จัดให้มีการเรียนการสอนในรูปแบบ 100% Problem-based learning และ 0% Lectures ตามแนวทางการจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษาแผนใหม่ โดยมีช่วงเวลาที่ให้ นักศึกษาได้เพิ่มเติมความรู้โดยตนเองเป็นผู้ก ากับ (Self-directed learning) ภายหลังได้มี การปรับสัดส่วนดังกล่าวอยู่ในระดับ 80% Problem-based learning และ 20% Lectures หลักสูตรที่ใช้ในปั จจุบันคือ หลักสูตรปี พุทธศักราช 2556 และ 2563 โดยในระดับพรีคลินิก (ชั้นปี ที่ 2-3) มีการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบ Hybrid Problem-based Learning (Hybrid PBL) คือมีการเรียนการสอนแบบบรรยาย ประกอบกับการใช้โจทย์ปั ญหาใน กระบวนการกลุ่มย่อยที่อ้างอิงทางคลินิก และในระดับคลินิก (ชั้นปีที่ 4-6) มีการจัดการเรียน การสอนคล้ายคลึงกับสถาบันอื่น ๆ โดยเน้นการฝึกปฏิบัติการทางคลินิกบนโรงพยาบาล ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติอีกทั้งยังมีศูนย์แพทยศาสตร์ศึกษาทางคลินิก จ านวน 4 แห่ง ร่วมด้วย ได้แก่ โรงพยาบาลสระบุรี โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี โรงพยาบาลชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ และโรงพยาบาลพุทธโสธร ปั จจุบัน คณะฯ มีการด าเนินการจัดการเรียนการสอนทั้งสิ้นจ านวน 15 หลักสูตร แบ่งเป็น ระดับปริญญาตรี 3 หลักสูตร และระดับบัณฑิตศึกษา 12 หลักสูตร คือ หลักสูตรระดับปริญญาตรี ได้แก่ 1. หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต 2. หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรภาคภาษาอังกฤษ) 3. หลักสูตรการแพทย์แผนไทยประยุกต์บัณฑิต


5 หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา ได้แก่ 1. หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ 2. หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาชีวเคมีและชีววิทยาโมเลกุล 3. หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ 4. หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาระบาดวิทยาคลินิก 5. หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต เซลล์ต้นก าเนิดและและอณูชีววิทยา (นานาชาติ) 6. หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาศัลยศาสตร์ (นานาชาติ) 7. หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ 8. หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาชีวเคมีและชีววิทยาโมเลกุล 9. หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเวชศาสตร์ชุมชนและ เวชศาสตร์ครอบครัว 10. หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ 11. หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาระบาดวิทยาคลินิก 12. หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต เซลล์ต้นก าเนิดและและอณูชีววิทยา (นานาชาติ) ความเป็นมาของคณะแพทยศาสตร์


6 คณะกรรมการประจ าคณะแพทยศาสตร์ ประธานกรรมการ รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ดิลก ภิยโยทัย กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ศาสตราจารย์ ดร.ชุมพล ผลประมูล ศาสตราจารย์ แพทย์หญิงบุญมี สถาปั ตยวงค์ นายแพทย์สุวัฒน์ เลิศสุขประเสริฐ ศาสตราจารย์ นายแพทย์สุรศักดิ์ ฐานีพานิชสกุล ศาสตราจารย์ ดร.สุรศักดิ์ ลิขสิทธิ์วัฒนกุล ศาสตราจารย์ นายแพทย์สุชาติ อินทรประสิทธิ์ ศาสตราจารย์ นายแพทย์สมศักดิ์ โล่ห์เลขา ศาสตราจารย์คลินิกเกียรติคุณ นายแพทย์อุดม คชินทร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประภัสสร เลียวไพโรจน์ รองศาสตราจารย์ นายแพทย์พฤหัส ต่ออุดม กรรมการ รองศาสตราจารย์ แพทย์หญิงนงลักษณ์ คณิตทรัพย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์สกล มนูสุข ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์ฉัตรชัย มิ่งมาลัยรักษ์ รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ขจร ลักษณ์ชยปกรณ์ เลขานุการ รองศาสตราจารย์ แพทย์หญิงอัจฉรา ตั้งสถาพรพงษ์ ผู้ช่วยเลขานุการ แพทย์หญิงกัญญารัตน์ จรูญผล นางสุวรรณี คล้ายเชียงราก


7 คณะกรรมการบริหารคณะแพทยศาสตร์ คณบดี รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ดิลก ภิยโยทัย รองคณบดี รองศาสตราจารย์ แพทย์หญิงอัจฉรา ตั้งสถาพรพงษ์ ฝ่ายการคลังและบริหาร รองศาสตราจารย์ แพทย์หญิงนงลักษณ์ คณิตทรัพย์ ฝ่ายวิชาการ รองศาสตราจารย์ นายแพทย์สมบัติ มุ่งทวีพงษา ฝ่ายวิจัยและนวัตกรรม รองศาสตราจารย์ ศิริเพ็ญ ต่ออุดม ฝ่ายการนักศึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์สกล มนูสุข ฝ่ายบริการสุขภาพและวิชาการ ผู้ช่วยคณบดี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์ประกาศิต สงวนจิตร ฝ่ายบริหารและแผน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์สิระ นันทพิศาล ฝ่ายบริหารและวิเทศสัมพันธ์ รองศาสตราจารย์ แพทย์หญิงวินิทรา นวลละออง ฝ่ายบริหารทรัพยากรมนุษย์ รองศาสตราจารย์ แพทย์หญิงทิพาพร ธาระวานิช ฝ่ายวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร.ศิริกุล มะโนจันทร์ ฝ่ายวิจัยและนวัตกรรม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์ชินกาจ บุญญสิริกูล ฝ่ายการนักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์ ศาสตราจารย์ นายแพทย์ภาสกร ศรีทิพย์สุโข ฝ่ายบัณฑิตศึกษา รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ณรงค์กร ซ้ายโพธิ์กลาง ฝ่ายสื่อสารองค์กรและกิจการพิเศษ รองศาสตราจารย์ นายแพทย์อัสนี ทองอยู่ ฝ่ายเทคโนโลยีทางการศึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ แพทย์หญิงศิริภัทร เกียรติพันธ์ุสดใส ฝ่ายพัฒนาคุณภาพ ผู้ช่วยรองคณบดี นายแพทย์ดลลชา วาณิชย์การ ฝ่ายการคลังและบริหาร แพทย์หญิงกัญญารัตน์ จรูญผล ฝ่ายการคลังและบริหาร รองศาสตราจารย์ แพทย์หญิงอารยา ศรัทธาพุทธ ฝ่ายวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กัลยา อารีย์ ฝ่ายวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์อินทนนท์ อิ่มสุวรรณ ฝ่ายวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์ภัทรวิน ภัทรนิธิมา ฝ่ายวิชาการ รองศาสตราจารย์ นายแพทย์วินชนะ ศรีวิไลทนต์ ฝ่ายวิจัยและนวัตกรรม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ แพทย์หญิงติรยา เลิศหัตถศิลป์ ฝ่ายการนักศึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นันทวรรณ ศูนย์กลาง ฝ่ายการนักศึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นายแพทย์พสิษฐ์พล วัชรวงศ์วาน ฝ่ายบริการสุขภาพและวิชาการ รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ธนา ขอเจริญพร ฝ่ายบริการสุขภาพและวิชาการ


8 นักศึกษา จ านวนนักศึกษาทั้งหมด ระดับการศึกษา คน ระดับปริญญาตรี 1,339 หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต 1,053 หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต (ภาคภาษาอังกฤษ) 187 หลักสูตรการแพทย์แผนไทยประยุกต์บัณฑิต 99 ระดับปริญญาโท 69 หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ 1 หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาชีวเคมีและชีววิทยาโมเลกุล 11 หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ 24 หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาระบาดวิทยาคลินิก 12 หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต เซลล์ต้นก าเนิดและและอณูชีววิทยา (นานาชาติ) 6 หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาศัลยศาสตร์ (นานาชาติ) 15 ระดับปริญญาเอก 92 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ 6 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาชีวเคมีและชีววิทยาโมเลกุล - หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเวชศาสตร์ชุมชนและเวชศาสตร์ครอบครัว 13 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ 26 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาระบาดวิทยาคลินิก 41 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต เซลล์ต้นก าเนิดและและอณูชีววิทยา (นานาชาติ) 6 รวมนักศึกษาทั้งหมด 1,500 นักศึกษาที่รับเข้าศึกษาระดับปริญญาตรีปีการศึกษา 2565 หลักสูตร/โครงการ จ านวนที่ รับเข้า หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต 1. โครงการปกติและโครงการเร่งรัดการผลิตแพทย์ของคณะแพทยศาสตร์ (กสพท.) 68 2. โครงการผลิตแพทย์เพื่อชาวชนบท (CPIRD) - ศูนย์แพทยศาสตร์ศึกษาชั้นคลินิกโรงพยาบาลสระบุรี 32 - ศูนย์แพทยศาสตร์ศึกษาชั้นคลินิกโรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี 30 - ศูนย์แพทยศาสตร์ศึกษาชั้นคลินิกโรงพยาบาลชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ 15 - ศูนย์แพทยศาสตร์ศึกษาชั้นคลินิกโรงพยาบาลพุทธโสธร จ.ฉะเชิงเทรา 28 3. โครงการแพทย์ 5 ปี 2 หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต (ภาคภาษาอังกฤษ) 30 หลักสูตรการแพทย์แผนไทยประยุกต์บัณฑิต 31


9 นักศึกษาที่รับเข้าศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาปีการศึกษา 2565 หลักสูตร จ านวน ที่รับเข้า หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ งดรับ หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาชีวเคมีและชีววิทยาโมเลกุล 4 หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ 8 หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาระบาดวิทยาคลินิก 4 หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต ชีววิทยาและเทคโนโลยีเซลล์ต้นก าเนิด (นานาชาติ) 2 หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาศัลยศาสตร์ (นานาชาติ) 8 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ - หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาชีวเคมีและชีววิทยาโมเลกุล - หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเวชศาสตร์ชุมชนและเวชศาสตร์ครอบครัว 2 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ 2 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาระบาดวิทยาคลินิก 5 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ชีววิทยาและเทคโนโลยีเซลล์ต้นก าเนิด (นานาชาติ) 1 นักศึกษาส าเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2564 ระดับปริญญาตรี คน หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต โครงการปกติและโครงการเร่งรัดการผลิตแพทย์ของคณะแพทยศาสตร์ (กสพท.) 62 โครงการผลิตแพทย์เพื่อชาวชนบท 71 โครงการกระจายแพทย์หนึ่งอ าเภอหนึ่งทุน 24 โครงการแพทย์ 5 ปี 1 หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต (ภาคภาษาอังกฤษ) 33 หลักสูตรการแพทย์แผนไทยประยุกต์บัณฑิต 26 ระดับปริญญาโท หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ 1 หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาชีวเคมีและชีววิทยาโมเลกุล - หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ 4 หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาระบาดวิทยาคลินิก 2 หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต เซลล์ต้นก าเนิดและและอณูชีววิทยา (นานาชาติ) 1 ระดับปริญญาเอก หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ 2 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาชีวเคมีและชีววิทยาโมเลกุล 2 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเวชศาสตร์ชุมชนและเวชศาสตร์ครอบครัว - หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ 2 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาระบาดวิทยาคลินิก 5 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต เซลล์ต้นก าเนิดและและอณูชีววิทยา (นานาชาติ) -


10 หลักสูตรวุฒิบัตรแสดงความรู้ความช านาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม (แพทย์ประจ าบ้าน) ประจ าปีการศึกษา 2565 ล าดับ สาขา ระยะเวลา (ปี) ศักยภาพ จ านวนรับ (คน) จ านวนที่ ฝึกอบรม (คน) จ านวน ผู้ส าเร็จการ ฝึกอบรม (คน) สาขา 1 เวชศาสตร์ครอบครัว 3 4 3 10 3 2 อายุรศาสตร์ 3 22 22 63 18 3 กุมารเวชศาสตร์ 3 6 6 18 6 4 สูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา 3 5 5 15 5 5 ศัลยศาสตร์ 4 6 6 24 5 6 ออร์โธปิดิกส์ 4 6 6 23 6 7 รังสีวิทยาวินิจฉัย 3 7 6 20 7 8 วิสัญญีวิทยา 3 7 7 18 4 9 เวชศาสตร์ฉุกเฉิน 3 8 3 21 6 10 จักษุวิทยา 3 9 9 25 6 11 โสต ศอ นาสิกวิทยา 3 3 3 8 2 12 จิตเวชศาสตร์ 3 3 3 7 2 13 ประสาทวิทยา 3 3 3 8 3 14 ตจวิทยา 4 2 2 8 2 15 ประสาทศัลยศาสตร์ 5 3 3 10 1 16 พยาธิวิทยากายวิภาค 3 4 3 5 2 17 อายุรศาสตร์โรคเลือด 3 2 1 1 1 18 ศัลยศาสตร์ยูโรวิทยา 4 2 2 8 2 อนุสาขา 1 กุมารเวชศาสตร์โรคภูมิแพ้และภูมิคุ้มกัน 2 2 2 4 1 2 กุมารเวชศาสตร์โรคหัวใจ 2 1 - - - 3 กุมารเวชศาสตร์โรคติดเชื้อ 2 1 - 1 - 4 กุมารเวชศาสตร์พัฒนาการและพฤติกรรม 2 1 1 2 1 5 อายุรศาสตร์โรคหัวใจ 2 4 4 8 4 6 อายุรศาสตร์โรคระบบทางเดินอาหาร 2 3 3 6 3 7 อายุรศาสตร์โรคไต 2 3 3 6 3 8 อายุรศาสตร์โรคติดเชื้อ 2 2 2 2 1


11 ล าดับ สาขา ระยะเวลา (ปี) ศักยภาพ จ านวนรับ (คน) จ านวนที่ ฝึกอบรม (คน) จ านวน ผู้ส าเร็จการ ฝึกอบรม (คน) 9 อายุรศาสตร์โรคต่อมไร้ท่อและเมตาบอลิสม 2 2 2 4 2 10 อายุรศาสตร์โรคระบบหายใจและภาวะวิกฤตระบบ การหายใจ 2 2 2 4 2 11 ภาพวินิจฉัยชั้นสูง 2 2 2 1 1 12 อายุรศาสตร์โรคข้อและรูมาติซั่ม 2 2 - 1 - 13 มะเร็งวิทยานรีเวช 2 1 1 2 1 14 ศัลยศาสตร์หลอดเลือด 2 1 1 2 - หลักสูตรของคณะแพทยศาสตร์และโรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ 1 ประสาทวิทยาโรคหลอดเลือดสมองและการตรวจ หลอดเลือดสมองด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง 2 1 - - 1 2 โรคจอประสาทตาและวุ้นตา 1 2 2 2 2 3 โรคต้อหิน 1 2 1 1 2 4 กระจกตาและการผ่าตัดแก้ไขสายตา 1 1 1 1 1 5 เวชศาสตร์การกีฬา 1 4 4 3 3 6 ข้อสะโพกและข้อเข่า 1 4 3 3 4 7 ออร์โธปิดิกส์ทางมือ 1 2 2 2 - 8 ออร์โธปิดิกส์กระดูกสันหลัง 1 3 2 2 3 9 เท้าและข้อเท้า 1 2 2 2 2 10 หัตถการปฏิบัติรักษาโรคหัวใจและหลอดเลือด 1 2 2 1 1 11 ศัลยกรรมจักษุตกแต่งและเสริมสร้าง 1 1 1 1 1 12 จักษุวิทยาเด็กและตาเข 1 1 1 1 1 13 ศัลยศาสตร์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง 1 2 2 1 1 14 ศัลยศาสตร์การส่องกล้องและกล้องส่องผ่าตัด ศัลยศาสตร์ทั่วไป 2 2 2 3 - 15 ประสาทศัลยศาสตร์ฐานกะโหลกศรีษะ 1 1 1 1 1


12 บุคลากร ประเภทบุคลากร สายสนับสนุนวิชาการ สายวิชาการ รวมทั้งหมด ศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อาจารย์ ข้าราชการ - 1 22 19 - 42 ข้าราชการเปลี่ยนสถานภาพ 23 5 14 10 3 55 พนักงานมหาวิทยาลัย 39 6 66 107 42 260 พนักงานมหาวิทยาลัย (คณะแพทยศาสตร์) 94 - - - - 94 พนักงานมหาวิทยาลัยตามภารกิจ - - 4 - - 4 อาจารย์ผู้มีความรู้ความสามารถพิเศษ - - 2 - 2 ลูกจ้างประจ า 2 - - - - 2 พนักงานเงินรายได้ 8 - - - - 8 ลูกจ้างชั่วคราว 103 - - - - 103 รวม 269 12 108 136 45 570 ต าแหน่งทางวิชาการของอาจารย์ ต าแหน่งทางวิชาการ 301 คน ร้อยละ ศาสตราจารย์ได้รับเงินประจ าต าแหน่งสูงขึ้น 3 1.00 ศาสตราจารย์ 9 2.99 รองศาสตราจารย์ 108 35.88 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ 136 45.18 อาจารย์ 45 14.95


13 อาคารและสถานที่ คณ ะแพ ทยศาสตร์ ก่อสร้างศูนย์ฝึ กทักษะ ทางการแพทย์ธรรมศาสตร์โดยค านึงถึงการจัด สภาพแวดล้อมเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ส าหรับ นักศึกษาที่ไม่สามารถท าได้ในโรงพยาบาลที่มี ผู้ป่วยจริง อันเนื่องมาจากข้อจ ากัดหลายประการ เช่น พื้นที่ของโรงพยาบาลที่มีจ ากัด บรรยากาศ ของโรงพยาบาลที่ไม่เหมาะกับการเรียนการสอน นักศึกษาแพทย์ และการปฏิบัติต่อผู้ป่ วยจริง บางประการที่อาจไม่สามารถกระท าได้หากเป็น นักศึกษาแพทย์ เป็นต้น หากสามารถจ าลอง สถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในโรงพยาบาลให้กับ นักศึกษาแพทย์ได้ทดลองปฏิบัติก่อนที่จะปฏิบัติ กับ ผู้ ป่ วย จริง ย่ อ ม เพิ่ม ป ระสิ ท ธิภ าพ ข อ ง กระบวนการเรียนรู้ของนักศึกษาได้เป็นอย่างดี ปั จจุบัน ผู้รับบริการทางการแพทย์ตระหนักถึง สิทธิผู้ป่ วยมากขึ้น ความปลอดภัยของผู้ป่ วย เป็นหนึ่งในมาตรฐานการรักษาทางการแพทย์ การท าหัตถการใด ๆ กับผู้ป่ วยของนักศึกษา ควรอยู่ในความดูแลของแพทย์อย่างใกล้ชิด เพื่ อให้ เกิ ดความปลอดภั ยสู งสุ ดกั บผู้ ป่ วย โดยเฉพาะหั ตถการที่มี ความเสี่ยงที่จะเกิ ด ภาวะแทรกซ้อนต่อผู้ป่ วยได้ดังนั้นหากนักศึกษา ได้มีโอกาสฝึกทักษะหัตถการกับผู้ป่วยเสมือนจริง ก่อนที่จะปฏิบัติกับผู้ป่วยจริงจะช่วยเพิ่มทักษะและ ประสบการณ์ให้กับนักศึกษา ท าให้นักศึกษามี ความมั่นใจและลดข้อผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้น เมื่อปฏิบัติต่อผู้ป่ วยจริงได้อาคารดังกล่าวเริ่ม ก่อสร้างตั้งแต่เดือนตุลาคม พ.ศ. 2563 และ ปั จจุบันได้ก่อสร้างเสร็จเรียบร้อยแล้ว


14 ในปี 2565 คณะแพทยศาสตร์ ได้มีการปรับปรุงพื้นที่และพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure) ดังนี้ 1. ปรับปรุงห้องเรียนรวมชั้น 4 และห้องเรียนกลุ่มย่อยชั้น 5 อาคารคุณากร


15 2. ปรับปรุงพื้นที่ชั้น 6 อาคารคุณากรให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ Med TU Co-Learning Center และห้องเรียน Smart Classroom 3. พัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure) ด้านระบบเครือข่าย (Network) เพิ่มสัญญาณอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง เพื่อรองรับการถ่ายทอดสด การประชุมและการเรียนการสอน ทางไกล (Web Conference) พร้อมทั้งเปลี่ยนอุปกรณ์เครือข่ายเทคโนโลยีให้มีความทันสมัยและขยายจุด สัญญาณให้เพียงพอต่อการใช้งาน 4. ติดตั้งอุปกรณ์เพื่อช่วยวิเคราะห์และป้องกันการโจมตีทางไซเบอร์ ติดตั้งระบบมอนิเตอร์เครือข่าย (PRTG) ระบบไฟวอลล์ (Firewall) และระบบ Intrusion Prevention System (IPS) เพื่อวางแผนก าหนดกระบวนการให้บริการเครือข่ายที่มีประสิทธิภาพและปลอดภัย


16 งบประมาณและผลการด าเนินงาน (ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565) แผนการจัดสรรงบประมาณรายจ่าย (จ าแนกตามแหล่งเงินงบประมาณ) หมวดงบประมาณ งบรายได้ โครงการขาด แคลนฯ โครงการผลิต แพทย์เพิ่ม 2561-2564 โครงการผลิต แพทย์เพื่อ ชาวชนบท กองทุน ค่าธรรมเนียม การศึกษา (2564) รวมทั้งสิ้น คิดเป็น ร้อยละ งบบุคลากร 29,000,000 2,600,000 5,500,000 12,500,000 - 49,600,000 11.95 งบด าเนินการ 25,826,000 27,400,000 51,500,000 48,445,250 - 153,171,250 36.90 งบสาธารณูปโภค 430,000 - - - - 430,000 0.10 งบลงทุน 80,906,100 - - 24,118,750 - 105,024,850 25.30 งบเงินอุดหนุน 28,849,700 - 3,000,000 4,900,000 21,613,840 58,363,540 14.06 สวัสดิการ 14,756,400 - - - - 14,756,400 3.56 เงินส ารอง 210,100 - - - - 210,100 0.05 บริการรักษา สุขภาพ 33,500,000 - - - - 33,500,000 8.07 รวมทั้งสิ้น 213,478,300 30,000,000 60,000,000 89,964,000 21,613,840 415,056140 100 ตามตัวชี้วัด: ความสามารถในการพึ่งพาตนเองด้านการเงิน (งบรายได้หน่วยงาน/รายได้ทั้งหมดไม่รวมงบลงทุน) = (213,478,300*100)/310,031,290 = 68.86 แผนการด าเนินงานโครงการ แผนงาน งบคลัง งบรายได้ งบคูคต งบเงินกองทุน เพื่อคณะ แพทยศาสตร์ รวม งบประมาณ ค่าใช้จ่าย จริง ยุทธศาสตร์ที่ 1 การศึกษาผลิตแพทย์ บุคลากรทางการแพทย์ (Education strategies) 29,274,015 2,919,975 32,193,990 7,719,302 ยุทธศาสตร์ที่ 2 การวิจัย (Research strategies) 11,853,740 11,853,740 7,908,727 ยุทธศาสตร์ที่ 3 การให้บริการทาง การแพทย์และทางวิชาการ (Health & Academic service strategies) 780,480 2,258,735 418,300 532,000 3,989,515 2,344,547 ยุทธศาสตร์ที่ 4 การบริหารจัดการ องค์กร (Organization management strategies) 9,208,055 6,052,235 15,260,290 4,265,003 รวมทั้งสิ้น 51,116,290 11,230,945 418,300 532,000 63,297,535 22,237,579 คิดเป็นร้อยละ 98.03 ของการด าเนินงานตามแผนโครงการ และ คิดเป็นร้อยละ 52.10 ของการใช้จ่ายจริงตามปีงบประมาณ


17 รายงานผลการด าเนินงานตามตัวชี้วัดการปฏิบัติงาน ประเด็นยุทธศาสตร์ จ านวน ตัวชี้วัด จ านวนตัวชี้วัดที่ บรรลุเป้าหมาย ร้อยละของตัวชี้วัดที่ ด าเนินการบรรลุ เป้าหมาย 1. พัฒนาก าลังคนแห่งอนาคต (Future Workforce) 8 3 37.50 2. พัฒนาที่ท างานแห่งอนาคต (Future Workplace) 6 5 83.33 3. พัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคมแห่งอนาคต (Future Life and Society) 11 9 81.82 4. พัฒนารูปแบบความร่วมมือแห่งอนาคต (Future Collaboration) 5 0 0.00 รวม 30 17 56.67 โครงการเชิงพัฒนาตามข้อตกลงการปฏิบัติงาน ประเด็นยุทธศาสตร์ จ านวน ตัวชี้วัด จ านวนตัวชี้วัด ที่บรรลุ เป้าหมาย ร้อยละของตัวชี้วัด ที่ด าเนินการบรรลุ เป้าหมาย 1. พัฒนาก าลังคนแห่งอนาคต (Future Workforce) 2 2 100 2. พัฒนาที่ท างานแห่งอนาคต (Future Workplace) 1 1 100 3. พัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคมแห่งอนาคต (Future Life and Society) 2 2 100 4. พัฒนารูปแบบความร่วมมือแห่งอนาคต (Future Collaboration) 3 3 100 รวม 8 8 100 สรุปผลการด าเนินงานการบรรลุเป้าหมายการปฏิบัติงานตามข้อตกลงการปฏิบัติงาน 1. ตัวชี้วัดการปฏิบัติงาน คิดเป็นร้อยละ 56.67 2. โครงการเชิงพัฒนาตามข้อตกลงการปฏิบัติงาน คิดเป็นร้อยละ 100


18 กิจกรรม/ประชุม/อบรม/สัมมนา/บรรยายพิเศษ 1 สิงหาคม พ.ศ.2564-31 กรกฏาคม พ.ศ.2565 โครงการคลินิกสุขภาพจิตส าหรับนักศึกษาแพทย์ 1 ธันวาคม พ.ศ.2564-31 กรกฏาคม พ.ศ.2565 โครงการส่งเสริมออกก าลังกายสร้างเสริมสุขภาพส าหรับนักศึกษาแพทย์ 5 มกราคม พ.ศ.2565 โครงการพัฒนาทักษะการสื่อสารและการบริหารข้อขัดแย้งส าหรับนักศึกษาแพทย์ครั้งที่ 1 15 มกราคม พ.ศ.2565 งานแนะแนวเลือกหน่วยงานชดใช้ทุนส าหรับผู้ปกครอง และนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 6 20-21 มกราคม พ.ศ.2565 โครงการเพลงสัมพันธ์(นักศึกษา) 27 มกราคม พ.ศ.2565 ศูนย์การแพทย์ธรรมศาสตร์คูคต จัดกิจกรรมให้ความรู้เพื่อสุขภาพดี แก่โรงเรียนวัดโพสพผลเจริญ ต าบลคูคต อ าเภอล าลูกกา จังหวัดปทุมธานี 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2565 ภาควิชาโสต ศอ นาสิก จัดโครงการแลกเปลี่ยนความรู้ด้าน โสต ศอ นาสิก Management of TVC Paralysis ภาควิชาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน จัดโครงการอบรมการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานให้แก่นักเรียน โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


19 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2565 พิธีมอบรางวัลหน่วยงานคุณภาพ QA DAY จากการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับภาควิชา / สถานฯ ประจ าปีการศึกษา 2563 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2565 สถานการแพทย์แผนไทยประยุกต์ จัดพิธีไหว้ครูและครอบครูแผนไทย ประจ าปีการศึกษา 2564 12-13 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2565 โครงการสานสัมพันธ์น้องพี่ชาวหมอโดม 17 กุมภาพันธ์-27 พฤษภาคม พ.ศ.2565 โครงการแข่งขันกีฬาและสร้างเสริมสุขภาพ


20 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2565 ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟูจัดกิจกรรมเวชศาสตร์ฟื้นฟูสู่สังคม 2565 ครั้งที่ 9 “Integrated Modern-Thai-Chinese Medicine for Post Stroke Care” 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2565 ภาควิชารังสีวิทยาจัดงานปฐมนิเทศและพัฒนาศักยภาพแพทย์ประจ าบ้าน และ สัมมนาเชิงปฏิบัติการด้านแพทยศาสตรศึกษา หัวข้อ “Non-Technical Skills for Radiologists” 21-25 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2565 โครงการพบอาจารย์ที่ปรึกษา 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2565 ส านักงานคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในคน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์สาขาแพทยศาสตร์ จัด ประชุม เรื่อง “Case-based research ethics training: Risk and benefit assessment, vulnerability and informed consent process” 1-29 มีนาคม พ.ศ.2565 โครงการอบรมเข้มข้นระยะสั้นสถิติศาสตร์ (Short Intensive Course Diploma in Clinical Statistic 2022)


21 2 มีนาคม- 31 พฤษภาคม พ.ศ.2565 สถานการแพทย์แผนไทยประยุกต์จัดโครงการเผยแพร่งานวิจัยทางคลินิกสู่หน่วยบริการแพทย์แผนไทย 3 มีนาคม-1 กรกฎาคม พ.ศ.2565 ศูนย์การแพทย์ธรรมศาสตร์คูคต จัดโครงการตรวจสุขภาพนักเรียนและโครงการทันตกรรมป้องกัน ในนักเรียนโรงเรียนวัดโพสพผลเจริญ โรงเรียนอนุบาลเทศบาลเมืองคูคต ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เทศบาลเมืองคูคต (ศูนย์ที่ 3) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลเมืองคูคต (ศูนย์ที่ 2 วังทองธานี) และ โรงเรียนอนุบาลลัดดาวรรณ ต าบลคูคต


22 8 มีนาคม พ.ศ.2565 ภาควิชาโสต ศอ นาสิก จัดโครงการแลกเปลี่ยนความรู้ด้าน โสต ศอ นาสิก “Paliative care” 9-11 มีนาคม พ.ศ.2565 ภาควิชาโสต ศอ นาสิก จัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “Temporal bone course” 12-13 มีนาคม พ.ศ.2565 ภาควิชาจักษุวิทยา จัดโครงการพัฒนาหลักสูตรวุฒิบัตรแสดงความรู้ความช านาญ ในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม 12-30 มีนาคม พ.ศ.2565 โครงการพัฒนาสุนทรียะทักษะทางดนตรีและทักษะการเต้น 14-30 มีนาคม พ.ศ.2565 โครงการ TU’s Freshy Week 2021 15 มีนาคม 2565 การประกวดผลงานวิจัยระดับอาจารย์/เจ้าหน้าที่ แพทย์ประจ าบ้าน นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา และนักศึกษาระดับปริญญาตรีครั้งที่ 1


23 16 มีนาคม พ.ศ.2565 โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมนักศึกษาแพทย์ 18 มีนาคม พ.ศ.2565 วันสถาปนาคณะแพทยศาสตร์ ครบรอบ 32 ปี 19 มีนาคม พ.ศ.2565 ภาควิชาศัลยศาสตร์ จัดประชุมวิชาการภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประจ าปี “Microvascular anastomosis workshop ครั้งที่ 1” 28 มีนาคม พ.ศ.2565 งานปั จฉิมนิเทศและเลี้ยงอ าลา อาจารย์-ศิษย์


24 30 มีนาคม พ.ศ.2565 ภาควิชาจักษุวิทยา จัดโครงการสัปดาห์ต้อหินโลก “รวมพลังระวังต้อหิน” 19 เมษายน พ.ศ.2565 และ22 เมษายน พ.ศ.2565 สถานเวชศาสตร์ชุมชนและเวชศาสตร์ครอบครัว จัดโครงการพัฒนาการจัดการเรียนการสอน รายวิชาบังคับของสถานเวชศาสตร์ชุมชนและเวชศาสตร์ครอบครัว ปีการศึกษา 2565 20 เมษายน พ.ศ.2565 โครงการ Research club (ตลาดนัดวิจัย) เรื่อง เกณฑ์ต าแหน่งทางวิชาการรูปแบบใหม่ กพอ.2564 โดย ศาสตราจารย์ ดร.ผดุงศักดิ์ รัตนเดโช คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


25 23 เมษายน พ.ศ.2565 สถานการแพทย์แผนไทยประยุกต์จัดโครงการศึกษาบูรณาการกับสมุนไพรในป่าธรรมชาติ ให้กับนักศึกษาชั้นปีที่ 3 สาขาแพทย์แผนไทยประยุกต์) โครงการประชุมสัมมนาคณะกรรมการนักศึกษาแพทย์ 25 เมษายน พ.ศ.2565 โครงการเตรียมความพร้อมของนักศึกษาเพื่อก้าวเข้าสู่ชั้นคลินิค (ค่ายนพลักษณ์) 25-26 เมษายน พ.ศ.2565 การสัมมนาปรับปรุงหลักสูตรแพทยศาสตร์บัณฑิต ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2556 ระยะที่ 3 ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ จัดกิจกรรมสุขภาพจิต “การดูแลใจว้าวุ้นให้สงบอย่างรวดเร็ว” ผ่านโปรแกรม ZOOM และ Facebook live ของ TU Psychiatry


26 26 เมษายน พ.ศ.2565 โครงการนวัตกรรมสุขภาพคลินิกอบอุ่น คืนชีวิตใหม่สู่สังคม เข้าศึกษาดูงานคณะแพทยศาสตร์ 27 เมษายน พ.ศ.2565 พิธีมอบเสื้อกาวน์ นักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 4 (รุ่นที่ 30) ประจ าปีการศึกษา 2564 2-19 พฤษภาคม พ.ศ.2565 ศูนย์การแพทย์ธรรมศาสตร์คูคต ให้บริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ส าหรับประชาชนกลุ่มเสี่ยง ณ ศูนย์การแพทย์ธรรมศาสตร์คูคต ต าบลคูคต อ าเภอล าลูกกา จังหวัดปทุมธานี


27 2 พฤษภาคม-22 กันยายน พ.ศ.2565 ศูนย์การแพทย์ธรรมศาสตร์คูคต จัดโครงการชวนน้องอาสาท าความดีเพื่อสังคม ณ ศูนย์การแพทย์ธรรมศาสตร์คูคต และพื้นที่รับผิดชอบในต าบลคูคต อ าเภอล าลูกกา จังหวัดปทุมธานี 3 พฤษภาคม พ.ศ.2565 ภาควิชาศัลยศาสตร์ จัดโครงการ Visiting Professor Keynote lecture- Thammasat Medical School โดย Professor Banjamin Starnes, MD., FACS, DFSVS, School of Medicine, University of Washington, USA 6 พฤษภาคม พ.ศ.2565 ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟูจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ การดูแลช่องปาก ประเมินและฟื้นฟูการกลืนเบื้องต้น ส าหรับบุคลากรสาธารณสุขโรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ ครั้งที่ 1


28 6-8 พฤษภาคม พ.ศ.2565 โครงการจริยธรรมสัญจร (แพทยสภา) 11-12 พฤษภาคม พ.ศ.2565 ภาควิชาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน จัดงานประชุมวิชาการประจ าปี หัวข้อ “Expert guides: The Emergency Management for General Practitioner” 16-17 พฤษภาคม พ.ศ.2565 สถานเวชศาสตร์ชุมชนและเวชศาสตร์ครอบครัว จัดกิจกรรมพัฒนาองค์กร (Organization Development: OD)


29 18 พฤษภาคม พ.ศ.2565 พิธีมอบใบประกอบวิชาชีพเวชกรรม ประจ าปีการศึกษา 2562-2563 ส านักงานคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในคน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์สาขาแพทยศาสตร์ จัดอบรม เรื่อง หลักจริยธรรมการวิจัยในคน (รูปแบบออนไลน์) 19 พฤษภาคม พ.ศ.2565 สถานการแพทย์แผนไทยประยุกต์ให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย 23 พฤษภาคม พ.ศ.2565 ชมรมบัวหลวงเอสเอ็มอี ธนาคารกรุงเทพ และมูลนิธิทุนแพทย์เพื่อปวงประชา มอบทุนการศึกษา ให้กับนักศึกษาคณะแพทยศาสตร์


30 23 – 27 พฤษภาคม พ.ศ.2565 ภาควิชาจักษุวิทยา จัดงานประชุมวิชาการ Review in Ophthalmology ผ่านระบบออนไลน์ WebEx 27 พฤษภาคม พ.ศ.2565 พิธีพระราชทานปริญญาบัตร ประจ าปีการศึกษา 2562-2563 28 พฤษภาคม พ.ศ.2565 พิธีพระราชทานเพลิงศพอาจารย์ใหญ่ (เป็นกรณีพิเศษ) ประจ าปีการศึกษา 2562-2563


31 30 พฤษภาคม-17 มิถุนายน พ.ศ.2565 อบรมหลักสูตรระยะสั้นเพศวิทยาคลินิก (Diploma in Clinical Sexology) 9 มิถุนายน พ.ศ.2565 สถานการแพทย์แผนไทยประยุกต์จัดโครงการแนวทางปฏิบัติตามพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธ์ุพืช 10 มิถุนายน พ.ศ.2565 การตรวจประเมินจาก ส านักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษ วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อให้เข้าร่วมโครงการ EdPEx 200 รุ่นที่ 9


32 15-16 มิถุนายน พ.ศ. 2565 สถานการแพทย์แผนไทยประยุกต์จัดโครงการพัฒนาการเรียนการสอน เรื่อง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) 15 – 17 มิถุนายน พ.ศ.2565 โครงการเติมใจให้กันสร้างสัมพันธ์ MED TU ประจ าปี 2565 รุ่นที่ 1 16 มิถุนายน พ.ศ.2565 งานปฐมนิเทศและอบรมความรู้ทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ ให้กับแพทย์ประจ าบ้าน และแพทย์ประจ าบ้านต่อยอด


33 17 มิถุนายน พ.ศ.2565 ภาควิชาจักษุวิทยา จัดอบรมความรู้โรคตาส าหรับบุคลากรสาธารณสุข “Into the Multiverse of the EYE the space flight for GPs” 20-22 มิถุนายน พ.ศ.2565 โครงการเติมใจให้กันสร้างสัมพันธ์ MED TU ประจ าปี 2565 รุ่นที่ 2 20 มิถุนายน-8 กรกฎาคม พ.ศ.2565 อบรมหลักสูตรประกาศนียบัตรเวชศาสตร์ทางเพศ (Diploma in Sexual Medicine)


34 23-25 มิถุนายน พ.ศ.2565 โครงการประชาสัมพันธ์และเผยแพร่หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา คณะแพทยศาสตร์ ประจ าปีการศึกษา 2564 ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ล าปาง 24 มิถุนายน พ.ศ.2565 สถานการแพทย์แผนไทยประยุกต์จัดโครงการให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยในยุคโควิด-19 ภาควิชาจักษุวิทยา จัดกิจกรรม Research Day 2022


35 ภาควิชาจักษุวิทยา จัดโครงการปั จฉิมนิเทศแพทย์ประจ าบ้านและแพทย์ประจ าบ้านต่อยอด 25–26 มิถุนายน พ.ศ.2565 ภาควิชาจักษุวิทยา จัดโครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร สาขาจักษุวิทยา โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ 27 มิถุนายน พ.ศ.2565 ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ จัดกิจกรรมการปฐมนิเทศและปั จฉิมนิเทศแพทย์ประจ าบ้านสาขาจิตเวชศาสตร์


36 29 มิถุนายน พ.ศ.2565 พิธีมอบใบประกาศนียบัตรแด่ผู้ส าเร็จการฝึกอบรม แพทย์ประจ าบ้านและแพทย์ประจ าบ้านต่อยอด ประจ าปีการศึกษา 2564 โครงการพัฒนาทักษะการสื่อสารและการบริหารข้อขัดแย้งส าหรับนักศึกษา ครั้งที่ 2 30 มิถุนายน พ.ศ.2565 ภาควิชาศัลยศาสตร์ จัดงานปฐมนิเทศแพทย์ประจ าบ้าน และแพทย์ประจ าบ้านต่อยอด ปีการศึกษา 2565 ภาควิชาศัลยศาสตร์ จัดงานปั จฉิมนิเทศประจ าบ้าน สาขาศัลยศาสตร์ทั่วไป สาขาประสาทศัลยศาสตร์ และสาขาศัลยศาสตร์ยูโรวิทยา ปีการศึกษา 2564


37 3 กรกฎาคม พ.ศ.2565 โครงการค่ายคุณธรรม และเตรียมความพร้อมของนักศึกษาเพื่อก้าวสู่ชั้นพรีคลินิก 6 กรกฎาคม พ.ศ.2565 โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมนักศึกษาแพทย์ 7 กรกฎาคม พ.ศ.2565 นักเรียนโครงการ วมว.มธ. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต เข้าศึกษาดูงานการแพทย์แผนไทยประยุกต์ 7 – 8 กรกฎาคม พ.ศ.2565 โครงการพัฒนาผู้บริหารของคณะแพทยศาสตร์ รุ่นที่ 1 9-10 กรกฎาคม พ.ศ.2565 สถานเวชศาสตร์ชุมชนและเวชศาสตร์ครอบครัว จัดโครงการบูรณาการองค์ความรู้ สู่การบริการวิชาการที่มีคุณภาพในงานปฐมภูมิ


38 11-29 กรกฎาคม พ.ศ.2565 อบรม Advanced Sexology for Therapy Certificate 2022 12 กรกฎาคม พ.ศ.2565 คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในคน สาขาแพทยศาสตร์จัดอบรมหลักจริยธรมการวิจัยในคน และวิธีด าเนินการมาตรฐาน (SOPs) 22 กรกฎาคม พ.ศ.2565 สถานการแพทย์แผนไทยประยุกต์จัดกิจกรรมการส่งเสริมองค์ความรู้แพทย์แผนไทยสู่ชุมชน


39 สถานเวชศาสตร์ชุมชนและเวชศาสตร์ครอบครัว จัดโครงการบริการวิชาการสู่สังคม เรื่อง หลักการสร้างสื่อสุขศึกษา ด้วย canva ให้กับยุว อสม.และครูอนามัยโรงเรียน 27 กรกฏาคม พ.ศ.2565 คณะอนุกรรมการตรวจเยี่ยมและประเมินห้องปฏิบัติการวิจัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้เข้าตรวจเยี่ยมและตรวจประเมินห้องปฏิบัติการวิจัย 4506 และ 4520


40 เดือนสิงหาคม-กันยายน พ.ศ.2565 งานพัฒนาคุณภาพ เข้าตรวจประเมินการประกันคุณภาพการศึกษา คุณภาพภายใน ระดับภาควิชา/สถานฯ ประจ าปีการศึกษา 2564 1 สิงหาคม พ.ศ.2565 งานปฐมนิเทศนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ประจ าปีการศึกษา 2565


41 2 สิงหาคม พ.ศ.2565 งานปฐมนิเทศนักศึกษาและประชุมผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา 2565 3 สิงหาคม พ.ศ.2565 คุณนลินี งามเศรษฐมาศ มอบทุนการศึกษา ให้กับนักศึกษา ประจ าปีการศึกษา 2565 โครงการรับน้องเข้าคณะ 3-5 สิงหาคม พ.ศ.2565 งานประชุมวิชาการ Medicine in the Metaverse Era 2022


42 4 สิงหาคม พ.ศ.2565 การประกวดผลงานวิจัยระดับอาจารย์/เจ้าหน้าที่ แพทย์ประจ าบ้าน นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา และนักศึกษาระดับปริญญาตรีครั้งที่ 2 6 สิงหาคม พ.ศ.2565 ภาควิชารังสีวิทยา จัดอบรม Ultrasound Workshop: Problem Solving Tool for General Practitioners 10-11 สิงหาคม พ.ศ.2565 ภาควิชาออร์โธปิดิกส์จัดกิจกรรมเชื่อมสัมพันธ์ 2565


43 17 สิงหาคม พ.ศ.2565 โครงการจิตอาสาพัฒนาพื้นที่ วันแม่แห่งชาติ (Big Cleaning Day) 18 – 19 สิงหาคม พ.ศ.2565 โครงการพัฒนาผู้บริหารของคณะแพทยศาสตร์ รุ่นที่ 2 18 สิงหาคม-13 กันยายน พ.ศ.2565 อบรมเข้มข้นระยะสั้นระบาดวิทยาคลินิก ประจ าปี 2565 (Short Intensive Course Diploma in Clinical Epidemiology 2022) 20 สิงหาคม พ.ศ.2565 งานรับขวัญน้องแพทย์แผนไทยประยุกต์รุ่นที่ 18


44 22 สิงหาคม พ.ศ.2565 มูลนิธิทุนแพทย์เพื่อปวงประชา มอบทุนการศึกษาให้กับนักศึกษา คณะแพทยศาสตร์ 23 สิงหาคม พ.ศ.2565 พิธีท าบุญอุทิศส่วนกุศลแด่อาจารย์ใหญ่ (ผู้อุทิศร่างกายเพื่อการศึกษาวิชามหกายวิภาคศาสตร์) ประจ าปี การศึกษา 2565 พิธีลงนามความร่วมมือระหว่างคณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล กับ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


45 อบรมแนวทางการพัฒนาคุณภาพวารสารเพื่อเข้าสู่ฐานข้อมูลระดับนานาชาติแบบออนไลน์ 24 สิงหาคม พ.ศ.2565 ภาควิชาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเย็บแผลฝีเย็บ (Episiotomy workshop) โครงการเมื่อเศร้า...เราสร้าง 27-28 สิงหาคม พ.ศ.2565 โครงการสานสัมพันธ์น้องพี่ชาวหมอโดม 29 สิงหาคม พ.ศ.2565 ภาควิชาโสต ศอ นาสิก จัดโครงการเพิ่มพูนทักษะแพทย์ประจ าบ้าน “Conducting Research in Rhinology & Allergy” 29-30 สิงหาคม พ.ศ.2565 ภาควิชาวิสัญญีวิทยา จัดอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรเพื่อประกาศนียบัตรในวิชาชีพเวชกรรม ด้านการ สงบประสาทสาหรับการทาหัตถการเสริมสวยภาคปฏิบัติ รุ่นที่ 1


46 2 กันยายน พ.ศ.2565 การอบรมเชิงปฏิบัติการการช่วยเหลือชีวิตขั้นพื้นฐาน 3 กันยายน พ.ศ.2565 โครงการแรกพบท่าพระจันทร์และสพท. 5-7 กันยายน พ.ศ.2565 โครงการเพลงสัมพันธ์ 7 กันยายน พ.ศ.2565 พิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ในการพิจารณาจริยธรรมการวิจัยในคน 8-9 กันยายน พ.ศ.2565 การประเมินคุณภาพภายในหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาโดยใช้ระบบ AUN QA (ASEAN University Network Quality Assurance) ปีการศึกษา 2564


47 10 กันยายน พ.ศ.2565 กิจกรรมตอบปั ญหาแพทยศาสตร์วิชาการ ครั้งที่ 18 12-16 กันยายน พ.ศ.2565 งานปฐมนิเทศอาจารย์และฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการความรู้ด้านแพทยศาสตรศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา 2565 14-16 กันยายน พ.ศ.2565 โครงการสอนน้องร้องเพลงและพิธียาหม้อ 16 กันยายน พ.ศ.2565 ภาควิชาศัลยศาสตร์ จัดงานประชุม Meet the Expert in MIS urology TU ครั้งที่ 1


48 19-20 กันยายน พ.ศ.2565 ภาควิชาวิสัญญีวิทยา จัดอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรเพื่อประกาศนียบัตรในวิชาชีพเวชกรรม ด้านการสงบประสาทส าหรับการท าหัตถการเสริมสวยภาคปฏิบัติ รุ่นที่ 2 20 กันยายน พ.ศ.2565 คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ เครือโรงพยาบาลพญาไทและโรงพยาบาลเปาโล เข้าศึกษาดูระบบงาน และการบริหารจัดการ ของ คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในคน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สาขาแพทยศาสตร์ 23 กันยายน พ.ศ.2565 วันมหิดล ประจ าปีการศึกษา 2565 โครงการออกหน่วยแพทย์เคลื่อนที่เนื่องในวันมหิดล


Click to View FlipBook Version