49 งานเกษียณอายุราชการ 26 กันยายน พ.ศ.2565 โครงการ คณบดีพบบุคลากรพบบุคลากรคณะแพทยศาสตร์ ปี 2565 29 กันยายน พ.ศ.2565 พิธีไหว้ครู ประจ าปีการศึกษา 2565
50 ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ จัดโครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง โครงการพัฒนาด้านการเรียนการสอน และการบริการของภาควิชาและคณาจารย์ 30 กันยายน พ.ศ.2565 ศูนย์การแพทย์ธรรมศาสตร์คูคต ตรวจคัดกรองเพื่อป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ให้กับประชาชน ณ ศูนย์การแพทย์ธรรมศาสตร์คูคต ต าบลคูคต อ าเภอล าลูกกา จังหวัดปทุมธานี 3-7 ตุลาคม พ.ศ.2565 กิจกรรมพบอาจารย์ที่ปรึกษา ประจ าปีการศึกษา 2565
51 5-28 ตุลาคม พ.ศ.2565 โครงการ TU’s Freshy Week 2022 6 ตุลาคม พ.ศ.2565 สาขาวิชาสถานเวชศาสตร์ชุนชน สถานเวชศาสตร์ชุมชนและเวชศาสตร์ครอบครัว จัดอบรมการดูแลสุขภาพเบื้องต้นของนักท่องเที่ยวส าหรับมัคคุเทศก์ 6 ตุลาคม 2565 และ 31 ตุลาคม 2565 อาจารย์ เจ้าหน้าที่ และนักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสร้างเสริมสุขภาพ เชิงนวัตกรรม ชั้นปีที่ 4 คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เข้าศึกษาดูงานด้านสร้าง เสริมสุขภาพแบบองค์รวมและระบบการด าเนินการด้านสุขภาพ ณ ศูนย์การแพทย์ธรรมศาสตร์คูคต
52 6 ตุลาคม-30 ธันวาคม พ.ศ.2565 อบรมหลักสูตรประกาศนียบัตรเวชศาสตร์ทางเพศ (Diploma in Sexual Medicine) และหลักสูตรระยะสั้นเพศวิทยาคลินิก (Diploma in Clinical Sexology) 23-25 ตุลาคม พ.ศ.2565 Meddream: ค่ายฝั นเป็นหมอขอได้ไหม ครั้งที่ 21 25-28 ตุลาคม พ.ศ.2565 นักศึกษาแพทย์จิตอาสา (หมอโดมอาสา) เข้าปฏิบัติงานในงานประชุมวิชาการ ครั้งที่ 37 ราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย และการประชุมสามัญประจ าปี พ.ศ.2565
53 8 พฤศจิกายน พ.ศ.2565 คณะผู้บริหาร ส านักวิชาแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์เข้าศึกษาดูงานการบริหารจัดการ หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิตและโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย 9 พฤศจิกายน พ.ศ.2565 โครงการดนตรีสะพานดาว 10-11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565 การบรรยายพิเศษโดย Professor Neal Maynard Davies จาก University of Alberta ประเทศแคนาดา 10 และ 17 พฤศจิกายน พ.ศ.2565 ศูนย์การแพทย์ธรรมศาสตร์คูคต จัดอบรมฟื้นฟูความรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพอาสามัครสาธารณสุข พื้นที่ หมู่ที่ 4 หมู่ที่ 5 และหมู่ที่ 18 ต าบลคูคต อ าเภอล าลูกกา จังหวัดปทุมธานี
54 14 พฤศจิกายน พ.ศ.2565 กาบรรยายพิเศษ Special Seminar on Herbal Medicine โดย รองศาสตราจารย์ ดร.เภสัชกรหญิง อรุณพร อิฐรัตน์ ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ล าปาง 16 พฤศจิกายน พ.ศ.2565 โครงการพัฒนาทักษะการสื่อสารและการบริหารข้อขัดแย้งส าหรับนักศึกษาแพทย์ 16-17 พฤศจิกายน พ.ศ.2565 MedTU Open House 2022: เปิดบ้านคณะแพทย์ มธ. 18 พฤศจิกายน พ.ศ.2565 การน าเสนอผลงานวิจัยของนักศึกษาหลักสูตรแพทย์แผนไทยประยุกต์ ชั้นปีที่ 4
55 19 พฤศจิกายน พ.ศ.2565 นักศึกษาหลักสูตรแพทย์แผนไทยประยุกต์ ชั้นปีที่ 2 เข้าร่วมโครงการศึกษาตัวอย่างสมุนไพรจ าแนกตามหลักอนุกรมวิธาน โครงการเปิดรั้วโรงเรียนแพทย์ 21 พฤศจิกายน พ.ศ.2565 กิจกรรมการแข่งขันกอล์ฟการกุศล 23 พฤศจิกายน พ.ศ.2565 ศูนย์การแพทย์ธรรมศาสตร์คูคต จัดกิจกรรมการให้ความรู้เรื่อง วัยรุ่นยุคใหม่ รู้เท่าทัน เรื่องกัญชา แก่ครู บุคลากรและนักเรียนโรงเรียนวัดลาดสนุ่น ต าบลคูคต อ าเภอล าลูกกา จังหวัดปทุมธานี
56 ภาควิชาศัลยศาสตร์จัดโครงการ Distinguished guest lecture, Thammasat Medical school 24 พฤศจิกายน พ.ศ.2565 ศูนย์การแพทย์ธรรมศาสตร์คูคต จัดอบรมฟื้นฟูความรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข ประจ าปีงบประมาณ 2566 เรื่อง “3 หมอ : อสม. หมอคนที่ 1 ที่พึ่งชุมชนส่งเสริมสุขภาพ” แก่อาสาสมัครสาธารณสุขประจ าหมู่บ้าน เทศบาลเมืองล าสามแก้ว 25 พฤศจิกายน พ.ศ.2565 งานขอบคุณรุ่นพี่แพทย์แผนไทยประยุกต์ (งาน Thank)
57 ศูนย์วิจัยมหาจักรีสิริธรฯ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เข้าศึกษาดูงานการบริหารจัดการภายในศูนย์วิจัยทางคลินิก 26-27 พฤศจิกายน พ.ศ.2565 สถานการแพทย์แผนไทยประยุกต์ จัดกิจกรรมการอนุรักษ์ภูมิปั ญญาของหมอพื้นบ้าน ให้กับนักศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา หลักสูตรแพทย์แผนไทยประยุกต์ 28 พฤศจิกายน พ.ศ.2565 โครงการผู้บริหารพบนักศึกษา
58 1 ธันวาคม พ.ศ.2565 พิธีไหว้ครูและครอบครูแผนไทย และมอบเสื้อกาวน์ ประจ าปีการศึกษา 2565 2 ธันวาคม พ.ศ.2565 คณาจารย์และนักเรียนโรงเรียนพิมานพิทยาสรรค์ จังหวัดสตูล เข้าศึกษาเยี่ยมชมสาขากายวิภาค สถานวิทยาศาสตร์พรีคลินิก ภาควิชาระบาดวิทยาคลินิก จัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อสนับสนุนบุคลากรท าการวิจัย เรื่อง “Data collection method and REDCap for clinical research”
59 2-3 ธันวาคม พ.ศ.2565 ภาควิชาจักษุวิทยา จัดการฝึกปฏิบัติการท าหัตถการทางด้านจักษุวิทยา 8-9 ธันวาคม พ.ศ.2565 โครงการทบทวน ปรับปรุง และพัฒนาศักยภาพอาจารย์และบุคลากรงานบัณฑิตศึกษา 9-19 ธันวาคม พ.ศ.2565 งานพัฒนาคุณภาพ เข้าตรวจประเมินคุณภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน จ านวน 16 หน่วยงาน
60 14 ธันวาคม พ.ศ.2565 Dr. Arnaud Monteil จาก Institute of Genomic Functional (IGF)-CNRS สาธารณรัฐฝรั่งเศส ให้การบรรยายพิเศษ หัวข้อ Gene Transfer and Genome Editing 17 ธันวาคม พ.ศ.2565 ภาควิชาศัลยศาสตร์จัด Workshop on Common Cardiac Procedures ครั้งที่ 2 โครงการแนะแนวเลือกหน่วยงานชดใช้ทุนส าหรับผู้ปกครองและนักศึกษาแพทย์ ประจ าปีการศึกษา 2565
61 20-21 ธันวาคม พ.ศ.2565 การตรวจประเมินรับรองหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรฉบับปรับปรุง พ.ศ.2563) ตามเกณฑ์ มาตรฐานสากล WFME Global Standards for Quality Improvement Basic Medical Education 21-22 ธันวาคม พ.ศ.2565 พิธีมอบใบประกาศนียบัตรหลักสูตร Clinical Sexology และ หลักสูตร Sexual Medicine 23 ธันวาคม พ.ศ.2565 กิจกรรม Medical Student Well – Being ‘Make up Class’ by Professional Artist K. PARK MAKEUP
62 27 ธันวาคม พ.ศ.2565 คณะผู้บริหาร คณาจารย์และเจ้าหน้าที่ มหาวิทยาลัยสยาม เข้าศึกษาดูงานด้าน Skill Lab 28 ธันวาคม พ.ศ.2565 พิธีเปิดห้องเรียนและห้องประชุม งานส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ พ.ศ.2566
63 ผลงานวิจัย/วิชาการ
64
65 ผลการด าเนินงาน กลุ่มวิจัย (Research Group-RG) จ านวน 15 กลุ่ม ในปี 2565 ผลการด าเนินงาน จ านวน จ านวนเงิน โครงการวิจัยที่ได้รับทุนจากแหล่งทุนภายนอก 17 โครงการ 14,899,200 บาท ผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในฐานข้อมูล Scopus 26 เรื่อง - ผลงานตีพิมพ์ของนักศึกษาและผู้ส าเร็จการศึกษาที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ ระดับการศึกษา Scopus/PubMed TCI น าเสนอผลงานต่อที่ประชุมวิชาการที่มี รายงานการประชุม (Proceeding) ระดับปริญญาโท 1 1 6 ระดับปริญญาเอก 14 5 -
66 คณาจารย์และนักศึกษาที่ได้รับรางวัล รางวัลการวิจัยแห่งชาติ ในงาน “วันนักประดิษฐ์” ประจ าปี 2564-2565 รองศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.อรุณพร อิฐรัตน์ อาจารย์ประจ าสถานการแพทย์แผนไทยประยุกต์ เข้ารับรางวัลการวิจัยแห่งชาติ : รางวัลผลงานวิจัย ประจ าปี 2564 รางวัลระดับดี ผลงานเรื่อง การพัฒนา ยาสมุนไพรรักษาโรคเรื้อรังจากสารสกัดเบญจกูล ในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2565 ณ ศูนย์นิทรรศการ และการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพฯ ภายในงาน “วันนักประดิษฐ์” ประจ าปี 2564-2565 รางวัล Fever Awards 2021 รอ งศ าส ต ราจารย์ ด ร. น าย แพ ท ย์ อ ติ วุท ธ ก มุ ท ม าศ อาจารย์ประจ าภาควิชาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา ได้รับรางวัล Fever Awards 2021 ฐานะผู้น าด้านเพศวิทยาของไทย ในงาน Fever Awards 2021 #5 วันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2565 ณ Siam Pavalai Royal Grand Theatre รางวัลการแข่งขันระดับนานาชาติ SIMPIC ครั้งที่ 11 นายธีรวัฒน์ บุญล้น นักศึกษาชั้นปี ที่ 3 หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ได้รับเหรียญทองแดงประเภทบุคคลในการแข่งขันระดับนานาชาติ SIMPIC ค รั้ ง ที่ 1 1 ( Siriraj International Medical Microbiology, Parasitology and Immunology Competition 2022) ที่จัดขึ้นในวันที่ 5 และวันที่ 12-13 มีนาคม พ.ศ.2565 คณะแพทย์ศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
67 รางวัลการประกวดผลงานวิจัย ในการประชุมวิชาการประจ าปี 2565 สมาคมสภาองค์กรโรคหืดแห่งประเทศไทย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ แพทย์หญิงพิชญาภา รุจิวิชชญ์ อาจารย์ประจ าภาควิชาอายุรศาสตร์ ได้รับรางวัลชนะเลิศ จ า ก ก า รป ร ะ ก ว ด ผ ล ง า น วิ จั ย ส า ห รับ แ พ ท ย์ ในงานประชุมวิชาการปี 2565 ในหัวข้อ Asthma Management in the Year 2022: Simplicity and Complexity สมาคมสภาองค์กรโรคหืดแห่งประเทศไทย ระหว่างวันที่ 17-19 มีนาคม พ.ศ.2565 ณ โรงแรม เดอะ สุโกศล รางวัลประกวดผลงานวิจัย ราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศไทย รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ธนา ขอเจริญพร อาจารย์ภาควิชา อายุรศาสตร์ หน่วยโรคติดเชื้อ ได้รับรางวัลประกวดผลงานวิจัย ประเภท Best Abstract Award: Academic Center รางวัลที่สาม ของราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศไทย ปี พ.ศ. 2565 เรื่อง "Real-life COVID-1 9 Vaccine Effectiveness during Delta and Omicron Variant-dominant Epidemics in Thailand" รางวัลจากการแข่งขันตอบปั ญหาพยาธิวิทยาและนิติเวชศาสตร์ ในการประชุมวิชาการพยาธิวิทยาแห่งชาติ ครั้งที่ 32 วันที่ 28 เมษายน พ.ศ.2565 ทีม Med TU โดย นายมนพัฒน์ มะโนทัย นายชาญวิศว์ บุญชื่น และนายนิรันทร์กาล สุทธิเสริม นักศึกษาชั้นปีที่ 3 หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ได้รับเกียรติบัตร จากการเข้าร่วมแข่งขันตอบปั ญหาพยาธิวิทยาและนิติเวชศาสตร์ ในการประชุมวิชาการพยาธิวิทยาแห่งชาติ ครั้งที่ 32 ณ ห้องศาลาไทย ชั้น 3 โรงแรมแอมบาสซาเดอร์ กรุงเทพฯ ซึ่งจัดโดย ราชวิทยาลัยพยาธิแพทย์แห่งประเทศไทย ร่วมกับ สมาคมแพทย์นิติเวชแห่งประเทศไทยและโรงพยาบาล จุฬาลงกรณ์สภากาชาดไทย โดยมี ผู้ช่วยศาสตราจาย์ นายแพทย์ วรภพ สุทธิวาทนฤพุฒิ อาจารย์ประจ าภาควิชาพยาธิวิทยาและนิติเวชศาสตร์ เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา
68 รางวัลจากการประชุมวิชาการ 2022 Thai-American physicians Foundation Annual Meeting นางสาวบัณฑิษา สมบูรณ์ นักศึกษาชั้นปี ที่ 5 หลักสูตรแพทยศาสตร์บัณฑิต (ภาคภาษาอังกฤษ) คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้รับ รางวัล Second Best Oral Abstract Presentation และ Travel Award จากการน าเสนอผลงานวิจัย เรื่อง COVID-19 mitigation in secondary schools at the height of the pandemic ในงานประชุมวิชาการ 2 0 22 Thai-American physicians Foundation Annual Meeting ที่ จั ด ขึ้ น ระห ว่ า งวั น ที่ 2 8 -2 9 พฤษภาคม พ.ศ.2565 ณ เมืองลาสเวกัส สหรัฐอเมริกา รางวัลโล่เกียรติยศ วันสถาปนามหาวิทยาลัยธรมศาสตร์ พันเอก (พิเศษ) ดร.นายแพทย์ประทิน นาคชื่น (รุ่นที่ 1) และนายแพทย์โชคชัย สาครพานิช (รุ่นที่ 2) ศิษย์เก่าคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้รับโล่เกียรติยศประเภทศิษย์เก่าดีเด่น ในงานวันสถาปนามหาวิทยาลัยธรมศาสตร์ ครบรอบปีที่ 88 รางวัลจากงานประชุม WONCA World Rural Health Conference 2022 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. แพทย์หญิงชื่นชม ชื่อลือชา และ คณะท างานวิจัย ได้รับรางวัล Best poster presentation จ า ก ง า น ป ร ะ ชุ ม WONCA World Rural Health Conference 2022 ที่จัดขึ้นระหว่างวันที่ 17-20 มิถุนายน 2565 ณ ประเทศไอร์แลนด์
69 โครงการ EdPEx200 รุ่นที่ 9 วันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ.2565 คณะแพทยศาสตร์ ได้ผ่านการประเมินระดับ 200 คะแนนให้เข้าร่วมโครงการ EdPEx200 รุ่นที่ 9 จากส านักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) รางวัลการวิจัยแห่งชาติ : รางวัลเมธีวิจัยอาวุโส วช.ประจ าปี 2565 ศาสตราจารย์ นายแพทย์อนุชา อภิสารธนรักษ์ อาจารย์ประจ าภาควิชาอายุรศาสตร์ ได้รับรางวัล การวิจัยแห่งชาติ : รางวัลเมธีวิจัยอาวุโส วช.ประจ าปี 2565 จากสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ใน งานมหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2565 (Thailand Research 2022) ณ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ และบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ กรุงเทพฯ จากโครงการวิจัย เรื่อง กลุ่มวิจัยด้านระบาดวิทยาโรคติดเชื้อการรักษาและการป้ องกัน เกี่ยวกับโรค COVID-19 และโรคติดต่ออื่น ๆ การรับรองคุณภาพคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ระดับชาติ (NECAST) ส านักงานคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในคน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สาขาแพ ทยศาสตร์ (Human Research Ethics Committee of Thammasat University (Medicine) (HREC-TUMED)) ได้รับโล่และ ประกาศนียบัตรรับรองคุณ ภาพคณ ะกรรมการ จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ระดับชาติ (NECAST) จาก ศาสตราจารย์พิ เศษ ดร.เอนก เหล่าธรรมทั ศน์ รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมในมหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2565 หรือ Thailand Research Expo 2022 จาก ส านักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
70 รางวัลผลงานวิจัย งานประชุมใหญ่ประจ าปี 2565 สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย วันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ.2565 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นายแพทย์พิชญ ตันติยวรวงค์ อาจารย์ประจ าภาควิชา ระบาดวิทยาคลินิก ได้รับรางวัลชนะเลิศ การประกวดผลงานวิจัย Best Institutional Research Award ในงานประชุมใหญ่ประจ าปี 2565 สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย ณ ศูนย์ประชุมนานาชาติพีช พัทยา (PEACH) Royal Cliff Hotel พัทยา จ.ชลบุรี รางวัลศิษย์เก่าแห่งความภาคภูมิใจ มหาวิทยาลัยขอนแก่น รองศาสตราจารย์ นายแพทย์พฤหัส ต่ออุดม อาจารย์ ประจ าภาควิชาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา ได้รับรางวัล ศิษย์เก่าแห่งความภาคภูมิใจ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจ าปี พ.ศ. 2563-2564 จากรองศาสตราจารย์ นายแพทย์ชาญชัย พานทองวิริยะกุล ณ ห้องประชุม ส าย สุ รี จุติ กุ ล ค ณ ะศึ ก ษ า ศ า ส ต ร์ แล ะศ าล า พระราชทานปริญญาบัตร (เดิม) มหาวิทยาลัยขอนแก่น รางวัลห้องปฏิบัติการดีเด่นด้านความปลอดภัยที่เกี่ยวข้องกับสารเคมี (ESPReL) สถานวิทยาศาสตร์พรีคลินิก คณะแพทยศาสตร์ ได้รับ โล่รางวัลห้องปฏิบัติการดีเด่นด้านความปลอดภัย ที่เกี่ยวข้องกับสารเคมี (ESPReL) และทุนสนับสนุน การยกระดับความปลอดภัยห้องปฏิบัติการ จาก ส านักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ภายใต้โครงการ มหาวิทยาลัยแม่ข่ายด้านมาตรฐานความปลอดภัย ห้องปฏิบัติการ ปี 2564: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
71 รางวัลเยาวชนดีเด่นกรุงเทพมหานคร (ประกายเพชร) ครั้งที่ 17 นายศิรชัช หาญวิวัฒนกูล หัวหน้ากลุ่ม Lessplastic.TU นางสาวศิ รดา พ งษ์ เภ ตรา นางสาวศ รุตยา สุขประกอบ นางสาวรินรดี ลีนะวัต และนางสาว พ รฑิ ตา แซ่หลี่ นักศึ กษ าชั้นปี ที่ 4 หลั กสูตร แพทยศาสตรบัณฑิต (ภาคภาษาอังกฤษ) เข้ารับ รางวัลเยาวชนดีเด่นกรุงเทพมหานคร (ประกายเพชร) ครั้งที่ 17 ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ประเภทกลุ่มเยาวชนประกายเพชร จากนายชัชชาติ สิทธิพันธ์ุผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นประธานในพิธี "เชิดชูเกียรติเยาวชนดีเด่นกรุงเทพมหานคร (ประกายเพชร)" ครั้งที่ 16 ประจ าปี 2564 และ ครั้งที่ 17 ประจ าปี 2565 ณ ศูนย์เยาวชนกรุงเทพมหานคร (ไทย-ญี่ปุ่น) ในวันที่ 3 กันยายน พ.ศ.2565 ณ ศูนย์เยาวชนกรุงเทพมหานคร (ไทย-ญี่ปุ่น) ส านักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว รางวัลวิทยานิพนธ์ดีเด่น มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประจ าปีการศึกษา 2563 วิทยานิพ นธ์นักศึกษาระดับบัณ ฑิ ตศึกษา คณ ะแพ ทยศาสตร์ ได้รับรางวัลวิทยานิพ นธ์ดีเด่น มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประจ าปีการศึกษา 2563 สาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ จ านวน 2 รางวัล วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอกของ นายวรวัฒน์ สุราฤทธิ์ นักศึกษา หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาชีวเคมีและชีววิทยาโมเลกุล เรื่อง "MOLECULAR STUDIES OF Dioscorea birmanica Prain & Burkill EXTRACT AND ITS SUBFRACTION ON PROTECTIVE EFFECTS AGAINST OXIDATIVE STRESS AND INFLAMMATION IN CELLULAR MODELS" โดยมี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พินทุสร หาญสกุล เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโทของนางสาวมินตรา แก้วกิตติคุณ นักศึกษา หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเซลล์ต้นก าเนิดและอณูชีววิทยา (ห ลั ก สู ต ร น า น า ช า ติ ) เรื่ อ ง EFFECTS AND MECHANISMS OF ANDROGRAPHOLIDE ON ADIPOGENIC DIFFERENTIATION OF HUMAN MESENCHYMAL STEM CELLS โดยมี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ดวงรัตน์ ตันติกัลยาภรณ์ ศาสตราจารย์ ดร.ศิริกุล มะโนจันทร์ และ ศาสตราจารย์ ดร. นายแพทย์ภาคภูมิเขียวละม้าย เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา
72 รางวัลบัณฑิตแพทยศาสตร์ดีเยี่ยม ประจ าปี 2565 แพทย์หญิงฟ้ าใส โรจนภาพงศ์ บัณ ฑิตคณ ะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ (ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี) ให้เข้ารับพระราชทานโล่รางวัลและ ใบประกาศเกียรติคุณ "บัณฑิตแพทยศาสตร์ดีเยี่ยม" ประจ าปี 2565 รางวัลการน าเสนอผลงานวิจัยในงานประชุมใหญ่วิชาการประจ าปีครั้งที่ 48 สมาคมโรคติดเชื้อแห่งประเทศไทย นายแพทย์ธนุส เพียรทอง แพทย์ประจ าบ้านต่อยอดหน่วยโรคติดเชื้อ ภาควิชาอายุรศาสตร์ ได้รับรางวัลรองชนะเลิศจากการน าเสนอ ผลงานวิจัย เรื่อง Risk categorization and outcomes among healthcare workers expose to COVID-1 9 : A cohort study from a tertiary-care center in Thailand ในงานประชุมใหญ่ วิชาการประจ าปีครั้งที่ 48 สมาคมโรคติดเชื้อแห่งประเทศไทย รางวัลการน าเสนอผลงานวิจัยในงานประชุมวิชาการประจ าปี 2565 สมาคมโรคจากการนอนหลับแห่งประเทศไทย นายแพทย์รชฏ วงษ์จันทร์ แพทย์ประจ าบ้านต่อยอดหน่วยโรคระบบการหายใจและเวชบ าบัดวิกฤต ภาควิชาอายุรศาสตร์ ได้รับรางวัลชนะเลิศ จากการน าผลงานวิจัยภาคบรรยาย จากผลงานวิจัยเรื่อง The Efficiency of Azelastine Hydrochloride and Fluticasone Propionate Nasal Spray to Improve PAP Adherence in Patients with Obstructive sleep Apnea ในงานประชุมวิชาการประจ าปี 2565 ของ สมาคมโรคจากการนอนหลับแห่งประเทศไทย Up-to-date with Sleep Medicine for General Practice 2022
73 รางวัลการน าเสนอผลงานวิจัยในการประชุม 26th Congress of the Asian Pacific Society of Respirology (APSR 2022) รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ณรงค์กร ซ้ายโพธิ์กลาง อาจารย์ประจ าภาควิชาอายุรศาสตร์ ได้รับรางวัล APSR Travel award จากการน าเสนอผลงานภาคบรรยาย จากผลงานวิจัย เรื่อง Factors Affecting CPAP Adherence in Thai Patients with Obstructive Sleep Apnea และภาคโปสเตอร์ จากผลงานวิจัย เรื่อง Pulmonary Function among COVID-19 Patients in Home Isolation Program และแพทย์หญิงอภิศรา สุริยะกุล แพทย์ประจ าบ้านต่อยอดภาควิชาอายุรศาสตร์ ได้รับรางวัล APSR-ERS Young Investigator Award จากผลงานวิจัยเรื่อง Correlation between Hand Grip Strength and Peak Inspiratory Flow Rate in Patients with Stable Chronic Obstructive Pulmonary Disease ในการประชุม 26th Congress of the Asian Pacific Society of Respirology (APSR 2022) รางวัลในงานมหกรรมคุณภาพแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประจ าปี 2565 (TU - QD Day) คณะแพทยศาสตร์ ได้รับแสดงความยินดีที่หน่วยงานผ่านการประเมิน EdPEx 200 รุ่นที่ 9 ในปี พ.ศ.2564 และห้องปฏิบัติการปลอดภัยด้วยมาตรฐาน ESPReL คณะแพทยศาสตร์ ได้รับรางวัลชมเชย ประเภท TUBest Practices ผลงานการปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่องจนมีประสิทธิผลถึงระดับ “วิธีปฏิบัติที่เป็น แบบอย่างที่ดีเยี่ยม”
74 รางวัลการน าเสนอผลงานในมหกรรมการแสดงผลงานระดับชาติของบุคลากรสายสนับสนุน ในสถาบันอุดมศึกษา ครั้งที่ 5 พ.ศ. 2565 บุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ คณะแพทยศาสตร์ ได้เข้าร่วมการน าเสนอผลงานในมหกรรมการแสดง ผลงานระดับชาติของบุคลากรสายสนับสนุนในสถาบันอุดมศึกษา ครั้งที่ 5 พ.ศ.2565 ที่จัดขึ้นระหว่างวันที่ 24-25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565 ณ โรงแรมภูเก็ตเกรซแลนด์ รีสอร์ทแอนด์ สปา หาดป่าตอง จังหวัดภูเก็ต และ ได้รับรางวัลดังนี้ คุณวัชรินทร์ ปะนันโต ได้รับรางวัลชนะเลิศจากการน าเสนอผลงาน ประเภทบรรยาย ( Oral Presentation) ประเภทคู่มือปฏิบัติงาน จากผลงานชื่อ การควบคุมคุณภาพร่างดองอาจารย์ใหญ่ คุณพรเพ็ญ ก ๋านารายณ์ ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 จากการน าเสนอผลงานภาคโปสเตอร์ ประเภทการพัฒนางานประจ า จากผลงานชื่อ ห้องปฏิบัติการปลอดภัยด้วยมาตรฐาน ESPRel คุณนันทิกานต์ รุญรักษา ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 จากการน าเสนอผลงานภาคโปสเตอร์ ประเภทคู่มือปฏิบัติงาน จากผลงานชื่อ การจัดการของเสียประเภทสารเคมีส าหรับ ห้องปฏิบัติการ สถานวิทยาศาสตร์พรีคลินิก รางวัลการวิจัยแห่งชาติ : รางวัลผลงานวิจัย ประจ าปีงบประมาณ 2566 ผลงานวิจัย เรื่อง การเพิ่มศักยภาพการแบ่งตัวและการเจริญพัฒนาไป เป็นเซลล์กระดูกของเซลล์ต้นก าเนิดมีเซนไคม์ที่แยกจากเนื้อเยื่อรกของ มนุษย์โดยสารแอนโดรกราโฟ ไลด์ (Enhanced Proliferative and Osteogenic Potentials of Human Placenta-Derived Mesenchymal Stem Cells by Andrographolide) ของผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดวงรัตน์ ตันติกัลยาภรณ์ (หัวหน้าโครงการวิจัย) ได้รับรางวัลการวิจัยแห่งชาติ : รางวัลผลงานวิจัย ประจ าปี งบประมาณ 2566 รางวัลระดับดี (สาขา วิทยาศาสตร์การแพทย์)โดยมีนายนฤพงศ์ ภูนิคม ดร.นิตยา บุญหมื่น ศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์ภาคภูมิ เขียวละม้าย นางสาวกนกเนตร สุขเสน ศาสตราจารย์ ดร.ศิริกุล มะโนจันทร์ และรองศาสตราจารย์ ดร. ชัยรัตน์ ตัณทราวัฒน์พันธ์ เป็นผู้ร่วมวิจัย
75 รางวัลการน าเสนอผลงานวิจัยในงานประชุมวิชาการนานาชาติ SIDCER-FERCAP International Conference General Assembly (FERCAP 2022) รองศาสตราจารย์ แพทย์หญิงทิพาพร ธาระวานิช อาจารย์ประจ าภาควิชาอายุรศาสตร์ ได้รับรางวัล "Best Surveyor Award" for contributions to quality surveying of ethics committees in the Asia-Pacific region ในการประชุมวิชาการนานาชาติ SIDCER-FERCAP International Conference General Assembly (FERCAP 2022) และคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในคน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สาขาแพทยศาสตร์ ได้รับการต่ออายุการรับรองมาตรฐานจริยธรรมการวิจัยในคน (Renewal of recognition of the Human Research Ethics Committee of Thammasat University: Medicine) ระดับนานาชาติโดย The Strategic Initiative for Developing Capacity in Ethical Review - Forum for Ethical Review Committees in the Asian and Western Pacific region (SIDCER-FERCAP) แ ล ะ ร า ง วั ล Best Virtual Poster (EC/IRB Profile) ซึ่งมี รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ไวพจน์ จันทร์วิเมลือง ประธานคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย ในคน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สาขาแพทยศาสตร์ และคณะฯ เป็นผู้แทนเข้ารับมอบประกาศนียบัตรการ รับรองมาตรฐานฯ และรางวัลการประกวดการน าเสนอผลงานแบบโปสเตอร์ รางวัลการน าเสนอผลงานวิจัยในงานประชุม International Medical Student Research Conference 2022 (IMRC 2022) นายศิรชัช หาญวิวัฒนกูล นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 หลักสูตร แพทยศาสตรบัณฑิต (ภาคภาษาอังกฤษ) ได้รับรางวัล "BRONZE MEDAL" จากการน าเสนอผลงานวิจัย เรื่อง Knowledge, Attitude toward COVID-1 9 , Vaccine Acceptance and Related Adverse Effects Among Health Sciences and Non-Health Sciences Students from Two Large Public Universities in Thailand ใ น งานประชุม International Medical Student Research Conference 2022 (IMRC 2022) (แบบออนไลน์)
76 รางวัลวันเชิดชูเกียรตินักวิจัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประจ าปี 2565 คณาจารย์ คณะแพทยศาสตร์ ได้รับรางวัลในงานวันเชิดชูเกียรตินักวิจัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประจ าปี 2565 ณ ห้อง Concert Hall ชั้น 2 อุทยานการเรียนรู้สวนป๋ วย 100 ปี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ดังนี้ ผู้ได้รับโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้ด ารงต าแหน่งศาสตราจารย์ ศาสตราจารย์ ดร.ศิริกุล มะโนจันทร์ ศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์ภาคภูมิ เขียวละม้าย ผู้ได้รับการก าหนดต าแหน่งศาสตราจารย์ ได้รับเงินเดือนขั้นสูง ศาสตราจารย์ นายแพทย์ก้องเกียรติ กูณฑ์กันทรากร ผู้ได้รับรางวัลผลงานวิจัยดีเด่น มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศาสตราจารย์ นายแพทย์ภาสกร ศรีทิพย์สุโข (หัวหน้าโครงการวิจัย) ผลงานวิจัยเรื่อง ประสิทธิผลของวัคซีนโควิด-19 ในประเทศไทย: การศึกษาในสถานการณ์จริง (COVID-19 Vaccine Effectiveness in Thailand: a Real World Study) ผู้ได้รับรางวัลนักวิจัยรุ่นใหม่ดีเด่นระดับส่วนงาน ประเภทอาจารย์ อาจารย์ แพทย์หญิงวีร์วะรินทร์ เจริญพร (อาจารย์พิเศษ) ผู้ได้รับรางวัลประกาศเกียรติคุณทางด้านการวิจัยจากหน่วยงานภายนอก รองศาสตราจารย์ นายแพทย์สมบัติ มุ่งทวีพงษา
77 คณะแพทยศาสตร์ มีนโยบายส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรและนักศึกษา โดยการให้ทุน สนับสนุนการศึกษาต่อ การเขียนต ารา/สื่อการสอน และรางวัลการตีพิมพ์บทความ วิชาการให้กับบุคลากร และสนับสนุนทุนให้กับนักศึกษาไปน าประชุม อบรม สัมมนา และ การน าเสนอผลงานทั้งในและต่างประเทศ อีกทั้งยังให้การดูแลช่วยเหลือนักศึกษาที่ ประสบปั ญหาด้านการเงินทุกปีการศึกษา การส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรและนักศึกษา บุคลากร 1. ทุนการศึกษาต่อระดับปริญญาโท ปริญญาเอก วุฒิบัตร หรือประกาศนียบัตร ภายในประเทศและต่างประเทศ จ านวน 8 ทุน 2. ทุนการเขียนต ารา/สื่อการสอน (ทุนจากคณะแพทยศาสตร์) ส าหรับสื่อการสอน จ านวน 1 ทุน และทุนการเขียนต ารา จ านวน 13 ทุน 3. ทุนน าเสนอผลงานวิชาการ/เพิ่มพูนความรู้ต่างประเทศ จ านวน 24 ทุน 4. รางวัลการตีพิมพ์บทความวิชาการ จ านวน 6 รางวัล 5. สนับสนุนการอบรมด้าน EdPEx และพัฒนาไปจนถึงเป็นผู้ตรวจประเมินระดับ TQA Assessor โดยมีอาจารย์อบรมผู้ประเมิน TQA Assessor จ านวน 2 ท่าน ได้แก่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ แพทย์หญิงศิริภัทร เกียรติพันธ์ุสดใส และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อารี เทเลอร์ 6. สนับสนุนการอบรมหลักสูตร AUN-QA และพัฒนาไปจนถึงเป็นผู้ตรวจประเมิน ระดับ AUN-QA โดยมีอาจารย์อบรมผู้ประเมิน AUN-QA จ านวน 3 ท่าน ได้แก่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ แพทย์หญิงศิริภัทร เกียรติพันธ์ุสดใส ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อารี เทเลอร์ และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปรรณณวัชญ์ ไชยวัฒนนันทน์ นักศึกษา 1. ทุนการศึกษาจากภายนอก จ านวน 55 ทุน เป็นเงิน 2,880,800 บาท และทุนภายใน จ านวน 21 ทุน เป็นเงิน 584,200 บาท 2. ทุนการศึกษาเต็มจ านวนให้ส าหรับนักศึกษาระดับปริญญาโท-เอก ปีการศึกษา 2565 จ านวน 25 ทุน 3. ทุนสนับสนุนนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาไปเสนอผลงานในที่ประชุมวิชาการ ระดับนานาชาติ จ านวน 4 ทุน 4. ทุนปริญญาเอก มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประจ าปีการศึกษา 2565 จ านวน 5 ทุน 5. ทุนผู้ช่วยสอน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประจ าปีการศึกษา 2565 ส าหรับนักศึกษา ระดับปริญญาโท และระดับปริญญาเอก จ านวน 4 ทุน
78 คณะแพทยศาสตร์ มีการส่งเสริมนักศึกษาให้เกิดทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตโดยมีสถานที่ส าหรับ ให้นักศึกษาได้ศึกษาหาความรู้ด้วยตนเอง Self-directed learning (SDL) ให้มีศักยภาพรองรับ ความต้องการที่แท้จริงของนักศึกษา ดูแลบริหารจัดการเองโดยนักศึกษา ทั้งนี้เพื่อสร้างให้เกิดบรรยากาศ สังคมแห่งการเรียนรู้อย่างแท้จริง (school of active learner) ภายใต้โครงการ 24/7 Learning Area (SDL) เพื่อให้นักศึกษามีพื้นที่การเรียนรู้ที่สะดวก สะอาด ปลอดภัย และทันสมัย เข้าถึงแหล่งข้อมูล ทางวิชาการ (internet access online) ได้อย่างสะดวก รวดเร็ว เพื่อศึกษาหาความรู้ได้ 24 ชั่วโมง ตลอด สัปดาห์ ซึ่งมีนักศึกษาเข้าใช้อย่างต่อเนื่องทั้งก่อนเข้าเรียน หลังเลิกเรียน และตอนเย็น การส่งเสริมศักยภาพของนักศึกษาตามความถนัดและความสนใจของนักศึกษา เช่น ด้านวิชาการ วิจัย ดนตรี กีฬา ร าไทย และศิลปการเต้น และมีเวทีให้นักศึกษาได้แสดงความสามารถและศักยภาพของตนผ่าน โครงการและกิจกรรมต่าง ๆ ส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมของชมรมกีฬาทุกชมรม ทั้งอุปกรณ์ฝึกซ้อม สนามฝึกซ้อม และครูฝึก ส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมของชมรมดนตรีไทย ดนตรีสากล ดนตรีคลาสสิก ร าไทย และชมรมศิลปการเต้น สนับสนุนด้านงบประมาณในการจัดซื้อเครื่องดนตรีใหม่ ซ่อมแซม เครื่องดนตรีที่ช ารุด เครื่องแต่งกายประกอบการแสดง รวมทั้งมีเวทีให้นักศึกษาแต่ละชมรมได้แสดงออก ถึงความสามารถด้านอื่นนอกเหนือจากวิชาชีพแพทย์ อีกทั้งยังเป็นการสนับสนุนให้นักศึกษาได้ใช้เวลาว่าง ให้เกิดประโยชน์และเป็นการผ่อนคลายความเครียดที่เกิดจากการเรียนได้อีกทางหนึ่ง
79 นอกเหนือจากนี้ยังมีการส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษาโดยให้นักศึกษาเข้าใช้ห้องออกก าลังกายของ คณะพยาบาลศาสตร์โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย และมีการฉีดวัคซีนป้ องกันโรคไวรัสตับอักเสบบี คอตีบ ไอกรน บาดทะยัก สุกใส คางทูม หัด และหัดเยอรมัน ให้กับนักศึกษาก่อนขึ้นเรียนชั้นคลินิก และเอ็กซเรย์ปอดทุกปี และคณะแพทยศาสตร์ ยังมีการด าเนินโครงการคลินิกสบายใจเพื่อให้นักศึกษาเฝ้าระวังและรู้จักวิธีในการ สังเกตตัวเองและผู้คนรอบข้าง คณะแพทยศาสตร์ มีนโยบายปลูกฝั งให้นักศึกษามีจิตอาสา ท าประโยชน์ต่อสาธารณะ จึงได้ส่งเสริม กิจกรรมบ าเพ็ญประโยชน์หลายโครงการให้กับนักศึกษา ซึ่งนอกจากจะเป็นการปลูกฝั งให้นักศึกษา ท าประโยชน์เพื่อสังคมแล้วยังเป็นการปลูกฝั งการท างานเป็นทีมให้เกิดประสิทธิภาพ เช่น โครงการฟั งด้วยใจ ให้ด้วยรัก และ โครงการหมอโดมอาสา และสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมที่เป็ นการอนุรักษ์ ศิลปวัฒนธรรม การปลูกฝั งจิตวิญญาณธรรมศาสตร์ และความภาคภูมิใจในสถาบัน เช่น โครงการพิธีไหว้ครู โครงการค่ายคุณธรรม โครงการรับน้องเข้าคณะ (รับน้องข้ามฟาก) โครงการสอนน้องร้องเพลง โครงการ พิธีมอบเสื้อกาวน์ โครงการปั จฉิมนิเทศ พิธีวางพวงมาลาเนื่องในวันมหิดล
80 คลินิกแพทย์แผนไทยประยุกต์ การบริการ คลินิกแพทย์แผนไทยประยุกต์ เปิดให้บริการตรวจ หัตถบ าบัด ประคบสมุนไพร/เฉพาะที่ อบสมุนไพร ยาสมุนไพร มารดาหลังคลอด และนวดสุขภาพ ผลิตภัณฑ์ยา
81 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้ก่อตั้ง ศูนย์การแพทย์ธรรมศาสตร์คูคต เพื่อด าเนินโครงการศูนย์ฝึกปฏิบัติงานชุมชนเชิงบูรณาการ เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2544 เพื่อให้บริการแก่ประชาชนที่อยู่ใน ต.คูคต อ.ล าลูกกา จ.ปทุมธานี ในการดูแลสุขภาพของ ประชาชน สนับสนุนการเรียนการสอนและงานวิจัย โดยให้บริการดูแลสุขภาพทั้งในสถาน บริการและชุมชน ครอบคลุมการให้การบริการตรวจรักษาพยาบาล การสร้างเสริมสุขภาพ การป้ องกันโรค และการฟื้นฟูสภาพ อาทิเช่น การให้บริการตรวจรักษาโรคเรื้อรัง (NCD) ค ลิ นิ ก ARI (acute respiratory infection) แล ะ Covid-1 9 ค ลิ นิ ก ฝ าก ค รรภ์ (ANC) คลินิกวัคซีนเด็ก (Well baby) คลีนิคอัลตราซาวด์คลินิกตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก คลินิก NAP คลินิกตรวจตาเบาหวาน ศูนย์ไตเทียมและคลินิกแพทย์แผนไทย ประยุกต์ เน้นการใช้ชุมชนเป็นฐานในการเรียนรู้ และเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชนในด้านการดูแล สุขภาพแบบองค์รวม ปั จจุบัน ศูนย์การแพทย์ธรรมศาสตร์คูคต มีสถานะเป็ นหน่วยบริการประจ าและ หน่วยบริการปฐมภูมิ โดยมีหน่วยบริการเครือข่าย จ านวน 3 แห่งได้แก่ โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพต าบลคูคต (หมู่ที่ 6-7 และหมู่ที่ 12) ศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลเมืองคูคต (หมู่ที่ 8-11 และหมู่ที่ 17) และศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลเมืองล าสามแก้ว (หมู่ที่ 1-3) ศูนย์การแพทย์ธรรมศาสตร์คูคต
82 ศูนย์วิจัยทางคลินิก (Clinical Research Center: CRC) ศูนย์วิจัยทางคลินิก (Clinical Research Center: CRC) ได้ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2563 เพื่อให้บริการงานวิจัยทางคลินิกให้มีคุณภาพตามมาตรฐานสากลอย่างเต็มรูปแบบ โดยแบ่งเป็น 3 งาน ได้แก่ 1. งานทดลองวิจัยทางคลินิก 2. งานสนับสนุนการวิจัยทางคลินิก 3. งานคลินิกวิจัย ผลการด าเนินงานของศูนย์วิจัยทางคลินิก (Clinical Research Center: CRC) ชื่อโครงการ ผลการด าเนินงาน การศึกษาความเป็นไป ได้ของโครงการวิจัยทาง คลินิก (Feasibility Study) จ านวน 26 โครงการ และได้รับการ Awarded จ านวน 12 โครงการ ได้แก่ Ophthalmology ( 2 โครงการ) Cardiology ( 2 โครงการ) Gout ( 1 โครงการ) Dematology (3 โครงการ) Diabetes ( 1 โครงการ) Oncology ( 2 โครงการ) Pulmonary diseases (1 โครงการ) โครงการการให้บริการ ทบทวน Clinical Trial Agreement; CTA และ Material Transfer Agreement; MTA CTA จ านวน 13 โครงการ และ MTA จ านวน 7 โครงการ โครงการวิจัยที่ขอใช้ บริการ CRC ป ระเภ ท Sponsor Initiated Trials; SIT มี จ าน ว น โค รงก า ร ที่ขอใช้บริการทั้งหมด 22 โครงการ (อยู่ระหว่างด าเนินการวิจัย) โดยมีทั้งที่ขอใช้บริการแยกเป็นรายกิจกรรม รายบุคคล และ รายคลินิกวิจัย และมีโครงการที่ได้ปิ ดโครงการเรียบร้อยแล้ว จ านวน 9 โครงการ ประเภท Investigator Initiated Trials; IIT มีโครงการที่ก าลัง ด าเนินการวิจัยอยู่จ านวน 5 โครงการ และได้ปิ ดโครงการ เรียบร้อยแล้วจ านวน 6 โครงการ
83 คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในคน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (สาขา แพทยศาสตร์)(Human Ethics Committee of Thammasat University (Medicine), EC) ท าหน้าที่พิจารณาให้ความเห็นชอบเชิงจริยธรรมแก่โครงการวิจัยที่มีการร้องขอ ให้คณะกรรมการฯ พิจารณาเพื่อให้เป็นไปตามข้อบังคับแพทยสภาว่าด้วยการ รักษาจริยธรรมแห่งวิชาชีพเวชกรรม (ฉบับที่ 5 ) พ.ศ. 2544 หมวด 6 การศึกษา และการทดลองในมนุษย์ ลงประกาศในราชกิจจานุเบกษาฉบับประกาศทั่วไป เล่มที่ 118 ตอน 12 ลงวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2544 ส านักงานฯ มีโครงการวิจัยที่ขอรับการรับรองและยังด าเนินการอยู่ทั้งสิ้น 1,557 โครงการ (ข้อมูล ณ วันที่ 27 มกราคม 2566) ในปี พ.ศ.2563-2565 มีโครงการ ที่ขอรับการพิจารณาครั้งแรก จ านวน 952 โครงการ และมีโครงการที่รายงาน ข้อมูลภายหลังการได้รับการรับรอง จ านวน 1,822 โครงการ (สาขาแพทยศาสตร์) ส านักงานคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในคน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
84 หน่วยห้องปฏิบัติการวิจัยกลาง หน่วยห้องปฏิบัติการวิจัยกลาง คณะแพทยศาสตร์ รับบริการงานตรวจวิเคราะห์ ส าหรับ นักวิจัยทั้งภายในและหน่วยงานภายนอกที่มาขอใช้บริการ ทั้งหมด 4 ประเภท ได้แก่ 1. งานตรวจวิเคราะห์ปริมาณสารพันธุกรรมและโปรตีน โดยเทคนิค Real time PCR และ Western blot analysis 2. งานตรวจวิเคราะห์ด้วยกล้องจุลทรรรศน์ Bright field microscopy, Phase contrast microscopyและ Inverted fluorescent microscopy 3. งานตรวจวิเคราะห์สมุนไพรและอาหาร โดยใช้ HPLC, GC-MS, Microplate reader และ AAS 4. งานตรวจวิเคราะห์ทางคลินิกด้วยเทคนิค Enzyme-liked immunosorbent assay (ELISA) ห้องปฏิบัติการวิจัยของคณะแพทยศาสตร์ ได้รับการรับรองความปลอดภัยทางชีวภาพระดับ 2 จากคณะกรรมการควบคุมความปลอดภัยทางชีวภาพ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จ านวน ทั้งหมด 5 ห้อง ดังนี้ ห้อง ระยะเวลาการรับรอง ประเภท 4501 ครั้งที่ 1 30 พฤศจิกายน พ.ศ.2564-29 พฤศจิกายน พ.ศ.2565 Cell culture ครั้งที่ 2 27 ธันวาคม พ.ศ.2565-26 ธันวาคม พ.ศ.2566 4506 23 สิงหาคม พ.ศ.2565 – 22 สิงหาคม พ.ศ.2566 Cell culture 4520 23 สิงหาคม พ.ศ.2565 – 22 สิงหาคม พ.ศ.2566 Parasite & Bacteria 4804 ครั้งที่ 1 28 กันยายน พ.ศ.2564 – 27 กันยายน พ.ศ.2565 Cell culture ครั้งที่ 2 25 ตุลาคม พ.ศ.2565 – 24 ตุลาคม พ.ศ.2566 & Bacteria 4839 30 พฤศจิกายน พ.ศ.2564-29 พฤศจิกายน พ.ศ.2565 (อยู่ระหว่างการปรับปรุง) Stem cell
85 เครื่องมือที่ใช้ในการตรวจวิเคราะห์ เครื่องวิเคราะห์สารแบบโครมาโตกราฟฟี ของเหลว (HPLC) ส าหรับให้บริการตรวจวิเคราะห์ แยกสารและหาชนิดและปริมาณสารต่างๆ ทั้งในเชิงคุณภาพและ เชิงปริมาณ โดยสามารถใช้ในงานต่าง ๆ ได้อย่างกว้างขวาง เช่น ในการวิเคราะห์ทางอาหาร ยา สมุนไพร blood urine เป็นต้น เครื่องแก๊สโครมาโตกราฟพร้อมตรวจวัดแบบวิเคราะห์มวล (GC-MS) ส าหรับตรวจวิเคราะห์หาชนิดและปริมาณของสารที่สนใจในตัวอย่างได้ในเชิงคุณภาพและ เชิงปริมาณ โดยลักษณะของสารหรือตัวอย่างที่จะวิเคราะห์จะต้องมีคุณสมบัติในการระเหย กลายเป็นไอได้ง่าย เช่น แอลกอฮอล์ น ้ามันหอมระเหย สารพิษตกค้างในผัก สารในยาขับปั สสาวะ เป็นต้น เครื่องวิเคราะห์ปริมาณโลหะหนักในสารละลาย (Atomic absorption spectrophotometer) ส าหรับตรวจวิเคราะห์ หาธาตุต่างๆ ได้มากกว่า 67 ธาตุ ทั้งในเชิงวิเคราะห์คุณภาพและวิเคราะห์ ปริมาณ สามารถใช้งานหลายๆ ด้าน เช่น การวิเคราะห์ทางการแพทย์ สมุนไพร การวิเคราะห์ทาง โลหิตวิทยา การวิเคราะห์เพื่อการเกษตร เป็นต้น เครื่องวิเคราะห์สารปรอทอัตโนมัติ (Mercury analyzer) ส าหรับตรวจวิเคราะห์ หาปริมาณของสารปรอทในตัวอย่างที่สนใจ
86 สื่อสิ่งพิมพ์ของคณะ วารสาร ASIAN MEDICAL JOURNAL AND ALTERNATIVE MEDICINE (AMJAM) วารสาร AMJAM เป็นวารสารออนไลน์ (Open Access Journal) ตีพิมพ์บทความหลากลาย สาขาวิชา เช่น Health Science, Medicine และ Alternative Medicines มี Editorial BOARD เป็นผู้เชี่ยวชาญทั้งในและต่างประเทศที่มีชื่อเสียง ปั จจุบัน วารสาร AMJAM อยู่ในฐานข้อมูล ของ TCI ระดับ 2 ในปี 2565 วารสาร AMJAM ได้รับการตีพิมพ์จ านวน 4 ฉบับ มีบทความ ที่ตีพิมพ์ ปี 2563-2565 จ านวน 145 บทความ วารสาร Eye South East Asia (EyeSEA) ปี 2563-2565 มีบทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร Eye South East Asia (EyeSEA) จ านวน 63 บทความ
87 จุลสารแพทย์ธรรมศาสตร์ จุลสารแพทย์ธรรมศาสตร์ จัดท าขึ้นเพื่อเผยแพร่ข่าวสาร เรื่องน่ารู้ และกิจกรรมต่าง ๆ ของคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แก่อาจารย์ บุคลากร นักศึกษา ศิษย์เก่าและผู้สนใจทั่วไป โดยจะตีพิมพ์ปีละ 4 ฉบับ
88 ต าราของคณาจารย์คณะแพทยศาสตร์ Internal Medicine in a Pandemic ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์ศิษฎ์ ศิรมลพิวัฒน์ อาจารย์ แพทย์หญิงลัลธริมา ภู่พัฒน์ อาจารย์ นายแพทย์พีรดนย์ วิภาตะวัต อาจารย์ แพทย์หญิงภานุช เอี่ยมประภาพร อาจารย์ นายแพทย์ปั ณฑ์ชนิต วาณิชยเศรษฐกุล ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โภชนาการกับการตั้งครรภ์ในเวชปฏิบัติ รองศาสตราจารย์ แพทย์หญิงจรินทร์ทิพย์ สมประสิทธิ์ การแปลผลภาพเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ของ โรคสมองขาดเลือดจากหลอดเลือดแดง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ แพทย์หญิงอาวีมาศ วัชรากร
89 แร่ใยหิน: ผลต่อสุขภาพ การป้องกัน และการขับเคลื่อนเชิงนโยบาย ศาสตราจารย์ ดร. นายแพทย์สุรศักดิ์ บูรณตรีเวทย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นายแพทย์ณรงค์ภณ ทุมวิภาต การนวดไทยแบบราชส านักในเวชปฏิบัติ (Clinical Practice for Court-Type Thai Traditional Massage) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.แพทย์แผนไทยประยุกต์จุไรรัตน์ บุญรวบ มะเร็งต่อมลูกหมากและการดูแลแบบสหวิทยาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์อรรถพล พินิจพัชรเลิศ
90 พิมพ์ที่: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์พ.ศ. 2566 โทรศัพท์ 0-2564-3104 ถึง 6 โทรสาร 0-2564-3119 http://www.thammasatprintinghouse.com