The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

+++รายงานประจำปีการศึกษา 2566

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Developer Software, 2024-03-04 23:36:08

+++รายงานประจำปีการศึกษา 2566

+++รายงานประจำปีการศึกษา 2566

รายงานประจำปี 2566 | 1 สารจากคณบดี ในปี 2566 นี้ คณะฯ ได้พัฒนาผลงานด้านต่าง ๆ อย่างเป็นรูปธรรมหลาย ๆ ด้าน ด้านการจัดการศึกษา ที่ประสบความสำเร็จ ได้รับความนิยม มีคะแนนสอบ ที่สูงขึ้น เป็นโรงเรียนแพทย์แนวหน้าของประเทศ มีหลักสูตรใหม่ที่เกิดจากการบูรณาการระหว่าง แพทยศาสตร์กับสังคมศาสตร์ ทางด้านการวิจัยก็มี การพัฒนาทั้งการดำเนินการของศูนย์วิจัยทางคลินิก ห้องปฏิบัติการการวิจัย บริษัทร่วมทุนกับโรงเรียน แพทย์อื่น ๆ ในการดำเนินการวิจัย ด้านบริการสุขภาพ ได้มีการเกิดบริการใหม่ ๆ ขึ้นที่ศูนย์การแพทย์ ธรรมศาสตร์คูคต เช่น ศูนย์ไตเทียม ศูนย์ดูแลความผิดปกติ การนอนหลับ ทางด้านกายภาพมีการเปิดใช้ตึกใหม่ คือ ศูนย์ฝึกทักษะทางการแพทย์ธรรมศาสตร์ (TMEd) ทั้งในส่วนของห้องประชุม ศูนย์ผ่าตัดศพสด Simulation Center ในส่วนของตึกคุณากรรวมถึงห้องพักแพทย์ อาคารกิตติวัฒนา ที่ได้มีการปรับปรุงให้ผู้ใช้งาน สามารถทำงานได้อย่างมีความสุขและมีประสิทธิภาพ เป็นต้น คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ยังคงมี ภารกิจต่าง ๆ ที่ไม่เสร็จสิ้นเพียงเท่านี้ การเดินทาง ต่อไปในอนาคตยังคงต้องการความร่วมมือของทุกท่าน อย่างเต็มที่ ในโอกาสนี้ ผมขอขอบคุณคณาจารย์ เจ้าหน้าที่ สนับสนุนวิชาการ และนักศึกษา ที่ร่วมกันพัฒนางาน ของคณะฯ เพื่อให้คณะบรรลุเป้าหมายที่ได้ตั้งไว้ และ เป็นที่ยอมรับในระดับชาติ และระดับนานาชาติต่อไป รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ดิลก ภิยโยทัย คณบดีคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานประจำปี 2566 | 3 สารบัญ 1 สารจากคณบดี 89 คณาจารย์และนักศึกษาที่ได้รับรางวัล 4 ความเป็นมาของคณะแพทยศาสตร์ 102 การได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ และการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งสำคัญ 6 คณะกรรมการประจำคณะแพทยศาสตร์ 104 การส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรและนักศึกษา 7 คณะกรรมการบริหารคณะแพทยศาสตร์ 106 ศูนย์การแพทย์ธรรมศาสตร์คูคต 8 การเรียนการสอน 107 ศูนย์วิจัยทางคลินิก (Clinical Research Center: CRC) 9 นักศึกษา 108 สำนักงานคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในคน 13 บุคลากร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (สาขาแพทยศาสตร์) 14 อาคารและสถานที่ 110 คลินิกแพทย์แผนไทยประยุกต์ 16 งบประมาณและผลการดำเนินงาน 111 ศูนย์ฝึกทักษะการผ่าตัด (Surgical Skill (ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566) And Cadaveric Training Center) 18 ความร่วมมือด้านการศึกษากับ 112 หน่วยห้องปฏิบัติการวิจัยกลาง สถาบันนานาชาติ 114 สื่อสิ่งพิมพ์ของคณะ 21 ผลงานวิจัย/วิชาการ 116 ตำราของคณาจารย์คณะแพทยศาสตร์ 23 กิจกรรม/ประชุม/อบรม/ สัมมนาทางวิชาการ/การจัดบรรยายพิเศษ


4 | คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ความเป็นมาของคณะแพทยศาสตร์


รายงานประจำปี 2566 | 5 วิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยมองค์กร วัฒนธรรมองค์กร


6 | คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คณะกรรมการประจ าคณะแพทยศาสตร์ ประธานกรรมการ รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ดิลก ภิยโยทัย กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ศาสตราจารย์ ดร.ชุมพล ผลประมูล ศาสตราจารย์ แพทย์หญิงบุญมี สถาปัตยวงค์ นายแพทย์สุวัฒน์ เลิศสุขประเสริฐ ศาสตราจารย์ นายแพทย์สุรศักดิ์ ฐานีพานิชสกุล ศาสตราจารย์ ดร.สุรศักดิ์ ลิขสิทธิ์วัฒนกุล ศาสตราจารย์ นายแพทย์สุชาติ อินทรประสิทธิ์ ศาสตราจารย์ นายแพทย์สมศักดิ์ โล่ห์เลขา ศาสตราจารย์คลินิกเกียรติคุณ นายแพทย์อุดม คชินทร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประภัสสร เลียวไพโรจน์ รองศาสตราจารย์ นายแพทย์พฤหัส ต่ออุดม กรรมการ รองศาสตราจารย์ แพทย์หญิงนงลักษณ์ คณิตทรัพย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์สกล มนูสุข ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์ฉัตรชัย มิ่งมาลัยรักษ์ รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ขจร ลักษณ์ชยปกรณ์ เลขานุการ รองศาสตราจารย์ แพทย์หญิงอัจฉรา ตั้งสถาพรพงษ์ ผู้ช่วยเลขานุการ แพทย์หญิงกัญญารัตน์ จรูญผล นางสุวรรณี คล้ายเชียงราก


รายงานประจำปี 2566 | 7 คณะกรรมการบริหารคณะแพทยศาสตร์ คณบดี รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ดิลก ภิยโยทัย รองคณบดี รองศาสตราจารย์ แพทย์หญิงอัจฉรา ตั้งสถาพรพงษ์ ฝ่ายการคลังและบริหาร รองศาสตราจารย์ แพทย์หญิงนงลักษณ์ คณิตทรัพย์ ฝ่ายวิชาการ รองศาสตราจารย์ นายแพทย์สมบัติ มุ่งทวีพงษา ฝ่ายวิจัยและนวัตกรรม รองศาสตราจารย์ ศิริเพ็ญ ต่ออุดม ฝ่ายการนักศึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์สกล มนูสุข ฝ่ายบริการสุขภาพและวิชาการ ผู้ช่วยคณบดี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์ประกาศิต สงวนจิตร ฝ่ายบริหารและแผน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์สิระ นันทพิศาล ฝ่ายบริหารและวิเทศสัมพันธ์ รองศาสตราจารย์ แพทย์หญิงวินิทรา นวลละออง ฝ่ายบริหารทรัพยากรมนุษย์ รองศาสตราจารย์ แพทย์หญิงอารยา ศรัทธาพุทธ ฝ่ายวิชาการ รองศาสตราจารย์ แพทย์หญิงทิพาพร ธาระวานิช ฝ่ายคลังและพัสดุ รองศาสตราจารย์ ดร.ศิริกุล มะโนจันทร์ ฝ่ายวิจัยและนวัตกรรม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์ชินกาจ บุญญสิริกูล ฝ่ายการนักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์ ศาสตราจารย์ นายแพทย์ภาสกร ศรีทิพย์สุโข ฝ่ายบัณฑิตศึกษา รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ณรงค์กร ซ้ายโพธิ์กลาง ฝ่ายสื่อสารองค์กรและกิจการพิเศษ รองศาสตราจารย์ นายแพทย์อัสนี ทองอยู่ ฝ่ายเทคโนโลยีทางการศึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ แพทย์หญิงศิริภัทร เกียรติพันธุ์สดใส ฝ่ายพัฒนาคุณภาพ ผู้ช่วยรองคณบดี นายแพทย์ดลลชา วาณิชย์การ ฝ่ายการคลังและบริหาร แพทย์หญิงกัญญารัตน์ จรูญผล ฝ่ายการคลังและบริหาร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กัลยา อารีย์ ฝ่ายวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์อินทนนท์ อิ่มสุวรรณ ฝ่ายวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์ภัทรวิน ภัทรนิธิมา ฝ่ายวิชาการ รองศาสตราจารย์ นายแพทย์วินชนะ ศรีวิไลทนต์ ฝ่ายวิจัยและนวัตกรรม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ แพทย์หญิงติรยา เลิศหัตถศิลป์ ฝ่ายการนักศึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นันทวรรณ ศูนย์กลาง ฝ่ายการนักศึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นายแพทย์พสิษฐ์พล วัชรวงศ์วาน ฝ่ายบริการสุขภาพและวิชาการ รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ธนา ขอเจริญพร ฝ่ายบริการสุขภาพและวิชาการ รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ อดินันท์ อภิวัฒน์การุญ ฝ่ายบริการสุขภาพและวิชาการ


8 | คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การเรียนการสอน การเรียนการสอนของคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้รับการปรับปรุงหลักสูตรทุก ๆ 5 ปี ตามนโยบาย ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในระยะแรกของการก่อตั้ง ทางคณะได้จัดให้มีการเรียนการสอนในรูปแบบ 100% Problem-based learning และ 0% Lectures ตามแนวทางการจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษาแผนใหม่ โดยมี ช่วงเวลาที่ให้นักศึกษาได้เพิ่มเติมความรู้โดยตนเองเป็นผู้กำกับ (Self-directed learning) ภายหลังได้มีการปรับสัดส่วน ดังกล่าวอยู่ในระดับ 80% Problem-based learning และ 20% Lectures หลักสูตรที่ใช้ในปัจจุบันคือ หลักสูตรปี พุทธศักราช 2552 โดยในระดับพรีคลินิก (ชั้นปีที่ 2-3) มีการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบ Hybrid Problem-based Learning (Hybrid PBL) คือมีการเรียนการสอนแบบบรรยาย ประกอบกับการใช้โจทย์ปัญหาในกระบวนการกลุ่มย่อยที่ อ้างอิงทางคลินิก และในระดับคลินิก (ชั้นปีที่ 4-6) มีการจัดการเรียนการสอนคล้ายคลึงกับสถาบันอื่น ๆ โดยเน้นการ ปฏิบัติการทางคลินิกบนโรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ ปัจจุบัน คณะฯ มีการดำเนินการจัดการเรียนการสอนทั้งสิ้นจำนวน 14 หลักสูตร แบ่งเป็นระดับปริญญาตรี 3 หลักสูตร และระดับบัณฑิตศึกษา 14 หลักสูตร คือระดับปริญญาตรี หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรภาคภาษาอังกฤษ) หลักสูตรการแพทย์แผนไทยประยุกต์บัณฑิต ระดับบัณฑิตศึกษา หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ สาขาวิชาชีวเคมีและชีววิทยาโมเลกุล สาขาวิชาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ สาขาวิชาระบาดวิทยาคลินิก สาขาวิชาชีววิทยาและเทคโนโลยีเซลล์ต้นกำเนิด (นานาชาติ) สาขาวิชาศัลยศาสตร์ (นานาชาติ) สาขาวิชาชีววิทยาศาสตร์ประยุกต์ (นานาชาติ) หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ สาขาวิชาชีวเคมีและชีววิทยาโมเลกุล สาขาวิชาเวชศาสตร์ชุมชนและเวชศาสตร์ครอบครัว สาขาวิชาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ สาขาวิชาระบาดวิทยาคลินิก สาขาวิชาชีววิทยาและเทคโนโลยีเซลล์ต้นกำเนิด (นานาชาติ) สาขาวิชาชีววิทยาศาสตร์ประยุกต์ (นานาชาติ)


รายงานประจำปี 2566 | 9 นักศึกษา จ านวนนักศึกษาทั้งหมด คน ระดับปริญญาตรี 1,358 หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต 1,067 หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต (ภาคภาษาอังกฤษ) 187 หลักสูตรการแพทย์แผนไทยประยุกต์บัณฑิต 104 ระดับปริญญาโท หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต 75 สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ - สาขาวิชาชีวเคมีและชีววิทยาโมเลกุล 8 สาขาวิชาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ 19 สาขาวิชาระบาดวิทยาคลินิก 14 สาขาวิชาชีววิทยาและเทคโนโลยีเซลล์ต้นกำเนิด (นานาชาติ)) 8 สาขาวิชาศัลยศาสตร์ (นานาชาติ) 22 สาขาวิชาชีววิทยาศาสตร์ประยุกต์ (นานาชาติ) 4 ระดับปริญญาเอก หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต 92 สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ 7 สาขาวิชาชีวเคมีและชีววิทยาโมเลกุล - สาขาวิชาเวชศาสตร์ชุมชนและเวชศาสตร์ครอบครัว 13 สาขาวิชาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ 28 สาขาวิชาระบาดวิทยาคลินิก 37 สาขาวิชาชีววิทยาและเทคโนโลยีเซลล์ต้นกำเนิด (นานาชาติ) 5 สาขาวิชาชีววิทยาศาสตร์ประยุกต์ (นานาชาติ) 2 รวมนักศึกษาทั้งหมด 1,527 จ านวนนักศึกษาที่รับเข้าศึกษาระดับปริญญาตรีปีการศึกษา 2566 จำนวนที่รับเข้า หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต 1. โครงการปกติและโครงการเร่งรัดการผลิตแพทย์ของคณะแพทยศาสตร์ (กสพท.) 75 2. โครงการผลิตแพทย์เพื่อชาวชนบท (CPIRD) - ศูนย์แพทยศาสตร์ศึกษาชั้นคลินิกโรงพยาบาลสระบุรี 32 - ศูนย์แพทยศาสตร์ศึกษาชั้นคลินิกโรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี 30 - ศูนย์แพทยศาสตร์ศึกษาชั้นคลินิกโรงพยาบาลชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ 15 - ศูนย์แพทยศาสตร์ศึกษาชั้นคลินิกโรงพยาบาลพุทธโสธร จ.ฉะเชิงเทรา 28 หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต (ภาคภาษาอังกฤษ) 31 หลักสูตรการแพทย์แผนไทยประยุกต์บัณฑิต 31


1 0 | คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นักศึกษาที่รับเข้าศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาปีการศึกษา 2566 จำนวนที่รับเข้า หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาชีวเคมีและชีววิทยาโมเลกุล 1 สาขาวิชาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ 4 สาขาวิชาระบาดวิทยาคลินิก 2 สาขาวิชาชีววิทยาและเทคโนโลยีเซลล์ต้นกำเนิด (นานาชาติ) 5 สาขาวิชาศัลยศาสตร์ (นานาชาติ) 7 สาขาวิชาชีววิทยาศาสตร์ประยุกต์ (นานาชาติ) 4 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเวชศาสตร์ชุมชนและเวชศาสตร์ครอบครัว 4 สาขาวิชาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ 3 สาขาวิชาระบาดวิทยาคลินิก 1 สาขาวิชาชีววิทยาศาสตร์ประยุกต์ (นานาชาติ) 2 นักศึกษาส าเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2565 คน ระดับปริญญาตรี หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต โครงการปกติและโครงการเร่งรัดการผลิตแพทย์ของคณะแพทยศาสตร์ (กสพท.) 63 โครงการผลิตแพทย์เพื่อชาวชนบท 69 โครงการกระจายแพทย์หนึ่งอำเภอหนึ่งทุน 34 หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต (ภาคภาษาอังกฤษ) 31 หลักสูตรการแพทย์แผนไทยประยุกต์บัณฑิต 26 ระดับปริญญาโท หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ - สาขาวิชาชีวเคมีและชีววิทยาโมเลกุล 3 สาขาวิชาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ 6 สาขาวิชาระบาดวิทยาคลินิก 1 สาขาวิชาเซลล์ต้นกำเนิดและและอณูชีววิทยา (นานาชาติ) 3 ระดับปริญญาเอก หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ - สาขาวิชาชีวเคมีและชีววิทยาโมเลกุล - สาขาวิชาเวชศาสตร์ชุมชนและเวชศาสตร์ครอบครัว 3 สาขาวิชาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ 5 สาขาวิชาระบาดวิทยาคลินิก 4 สาขาวิชาเซลล์ต้นกำเนิดและและอณูชีววิทยา (นานาชาติ) 1


รายงานประจำปี 2566 | 1 1 หลักสูตรวุฒิบัตรแสดงความรู้ความช านาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม (แพทย์ประจ าบ้าน) ประจ าปีการศึกษา 2565 ลำดับ สาขา ระยะเวลา (ปี) ศักยภาพ จำนวนรับ (คน) จำนวนที่ ฝึกอบรม (คน) จำนวนผู้สำเร็จ การฝึกอบรม (คน) สาขา 1 เวชศาสตร์ครอบครัว 3 4 4 11 3 2 อายุรศาสตร์ 3 22 22 65 20 3 กุมารเวชศาสตร์ 3 6 3 15 6 4 สูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา 3 5 5 15 5 5 ศัลยศาสตร์ 4 6 5 22 7 6 ออร์โธปิดิกส์ 4 6 6 25 6 7 รังสีวิทยาวินิจฉัย 3 8 8 18 6 8 วิสัญญีวิทยา 3 7 6 18 6 9 เวชศาสตร์ฉุกเฉิน 3 8 6 19 8 10 จักษุวิทยา 3 9 9 27 7 11 โสต ศอ นาสิกวิทยา 3 3 3 9 2 12 จิตเวชศาสตร์ 3 3 3 8 2 13 ประสาทวิทยา 3 3 2 7 3 14 ตจวิทยา 4 2 2 8 2 15 ประสาทศัลยศาสตร์ 5 3 3 11 1 16 พยาธิวิทยากายวิภาค 3 4 4 9 - 17 อายุรศาสตร์โรคเลือด 3 2 - 1 - 18 ศัลยศาสตร์ยูโรวิทยา 4 2 2 8 2 อนุสาขา 1 กุมารเวชศาสตร์โรคภูมิแพ้และภูมิคุ้มกัน 2 2 2 4 1 2 กุมารเวชศาสตร์โรคหัวใจ 2 1 - - - 3 กุมารเวชศาสตร์โรคติดเชื้อ 2 1 - - - 4 กุมารเวชศาสตร์พัฒนาการและพฤติกรรม 2 1 1 2 1 5 อายุรศาสตร์โรคหัวใจ 2 4 4 8 4 6 อายุรศาสตร์โรคระบบทางเดินอาหาร 2 3 3 6 3 7 อายุรศาสตร์โรคไต 2 4 4 7 3 8 อายุรศาสตร์โรคติดเชื้อ 2 2 2 4 - 9 อายุรศาสตร์โรคต่อมไร้ท่อและเมตาบอลิสม 2 2 2 4 2


1 2 | คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ลำดับ สาขา ระยะเวลา (ปี) ศักยภาพ จำนวนรับ (คน) จำนวนที่ ฝึกอบรม (คน) จำนวนผู้สำเร็จ การฝึกอบรม (คน) 10 อายุรศาสตร์โรคระบบหายใจและภาวะวิกฤตระบบการหายใจ 2 2 2 4 2 11 ภาพวินิจฉัยชั้นสูง 2 2 - 1 - 12 อายุรศาสตร์โรคข้อและรูมาติซั่ม 2 1 1 1 1 13 มะเร็งวิทยานรีเวช 2 1 1 2 1 14 ศัลยศาสตร์หลอดเลือด 2 1 1 2 1 15 เวชศาสตร์ทางเพศ 2 2 2 2 - หลักสูตรของคณะแพทยศาสตร์และโรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ 1 ประสาทวิทยาโรคหลอดเลือดสมองและการตรวจหลอดเลือด สมองด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง 2 1 - - - 2 โรคจอประสาทตาและวุ้นตา 1 2 1 1 2 3 โรคต้อหิน 1 2 1 1 1 4 กระจกตาและการผ่าตัดแก้ไขสายตา 1 1 1 1 1 5 เวชศาสตร์การกีฬา 1 4 4 4 3 6 ข้อสะโพกและข้อเข่า 1 4 4 4 3 7 ออร์โธปิดิกส์ทางมือ 1 2 1 1 2 8 ออร์โธปิดิกส์กระดูกสันหลัง 1 3 2 2 3 9 เท้าและข้อเท้า 1 2 2 1 2 10 หัตถการปฏิบัติรักษาโรคหัวใจและหลอดเลือด 1 2 2 2 2 11 ศัลยกรรมจักษุตกแต่งและเสริมสร้าง 1 1 1 1 1 12 จักษุวิทยาเด็กและตาเข 1 1 1 1 1 13 ศัลยศาสตร์หลอดเลือดสมองและไขสันหลัง 1 3 3 3 3 14 ศัลยศาสตร์การส่องกล้องและกล้องส่องผ่าตัดศัลยศาสตร์ทั่วไป 2 2 2 4 1 15 ประสาทศัลยศาสตร์ฐานกะโหลกศรีษะ 1 1 1 1 1 16 การบาดเจ็บทางออร์โธปิดิกส์ 1 1 1 1 -


รายงานประจำปี 2566 | 1 3 บุคลากร ประเภทบุคลากร สายสนับสนุนวิชาการ สายวิชาการ รวมทั้งหมด ศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อาจารย์ ข้าราชการ - 2 21 17 - 40 ข้าราชการเปลี่ยนสถานภาพ 23 5 13 11 2 54 พนักงานมหาวิทยาลัย 43 10 75 102 41 271 พนักงานมหาวิทยาลัย (คณะแพทยศาสตร์) 104 - - - - 104 พนักงานมหาวิทยาลัยตามภารกิจ - - 4 - - 4 อาจารย์ผู้มีความรู้ความสามารถพิเศษ - - 5 - - 5 ลูกจ้างประจำ 2 - - - - 2 พนักงานเงินรายได้ 8 - - - - 8 ลูกจ้างชั่วคราว 101 - - - - 101 รวม 281 17 118 130 43 589 ต าแหน่งทางวิชาการของอาจารย์ ตำแหน่งทางวิชาการ 308 คน ร้อยละ ศาสตราจารย์ได้รับเงินประจำตำแหน่งสูงขึ้น 4 1.30 ศาสตราจารย์ 13 4.22 รองศาสตราจารย์ 118 38.31 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ 130 42.21 อาจารย์ 43 13.96


1 4 | คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อาคารและสถานที่ ในปี 2566 คณะแพทยศาสตร์ ได้มีการปรับปรุงพื้นที่ ดังนี้ 1. การปรับปรุงห้องอเนกประสงค์เพื่อการเรียนรู้ ชั้น 1 อาคารคุณากร 2. ปรับปรุงห้องเรียนรวมชั้น 3 อาคารคุณากร


รายงานประจำปี 2566 | 1 5 3. ปรับปรุงห้องประชุมแพทย์โดม 2 และห้องประชุมแพทย์โดม 4 อาคารคุณากร 4. ปรับปรุงห้องปฏิบัติการวิจัย ชั้น 5 อาคารคุณากร 5. ปรับปรุงชั้น 6 อาคารคุณากร : Co-Learning Center / Smart Classroom / Smart Studio / Conference Room


1 6 | คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ งบประมาณและผลการด าเนินงาน (ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566) แผนการจัดสรรงบประมาณรายจ่าย (จ าแนกตามแหล่งเงินงบประมาณ) หมวดงบประมาณ งบรายได้ โครงการผลิต แพทย์เพิ่ม 2557-2566 โครงการผลิต แพทย์เพิ่ม 2561-2570 โครงการผลิต แพทย์เพื่อ ชาวชนบท กองทุน ค่าธรรมเนียม การศึกษา (2565) รวมทั้งสิ้น คิดเป็น ร้อยละ งบบุคลากร 33,100,000 7,770,000 12,400,000 53,270,000 13.87 งบดำเนินการ 31,000,000 10,000,000 57,730,000 48,409,253 147,139,253 38.32 งบสาธารณูปโภค 1,476,000 1,476,000 0.38 งบลงทุน 48,306,600 18,850,747 67,157,347 17.49 งบเงินอุดหนุน 38,050,000 2,000,000 6,500,000 10,500,000 8,852,360 65,902,360 17.16 สวัสดิการ 14,656,400 14,656,400 3.82 เงินสำรอง 879,800 879,800 0.23 บริการรักษา สุขภาพ 33,500,000 33,500,000 8.72 รวมทั้งสิ้น 200,968,800 12,000,000 72,000,000 90,160,000 8,852,360 383,981,160 100 ตามตัวชี้วัดที่ 2.5 : ความสามารถในการพึ่งพาตนเองด้านการเงิน (งบรายได้หน่วยงาน/รายได้ทั้งหมดไม่รวมงบลงทุน) = (200,968,800*100)/315,546,410 = 63.75 แผนการด าเนินงานโครงการ แผนงาน งบคลัง งบรายได้ งบคูคต งบกองทุน เพื่อคณะ แพทยศาสตร์ รวม งบประมาณ ค่าใช้จ่าย จริง ยุทธศาสตร์ที่ 1 การศึกษาผลิตแพทย์ บุคลากร ทางการแพทย์ (Education strategies) 13,672,185 4,552,245 47,100 18,271,530 7,656,120 ยุทธศาสตร์ที่ 2 การวิจัย (Research strategies) 11,805,370 11,805,370 5,295,214 ยุทธศาสตร์ที่ 3 การให้บริการทางการแพทย์ และทางวิชาการ (Health & Academic service strategies) 969,860 469,010 418,940 1,857,810 637,643 ยุทธศาสตร์ที่ 4 การบริหารจัดการองค์กร (Organization management strategies) 14,491,765 14,117,625 12,600 28,621,990 11,026,287 รวมทั้งสิ้น 40,939,180 19,138,880 431,540 47,100 60,556,700 24,615,264 คิดเป็นร้อยละ 100 ของการดำเนินงานตามแผนโครงการ และ คิดเป็นร้อยละ 50.83 ของการใช้จ่ายจริงตามปีงบประมาณ


รายงานประจำปี 2566 | 1 7 รายงานผลการด าเนินงานตามตัวชี้วัดการปฏิบัติงาน ประเด็นยุทธศาสตร์ จำนวน ตัวชี้วัด จำนวนตัวชี้วัดที่ การบรรลุเป้าหมาย ร้อยละของตัวชี้วัดที่ ดำเนินการบรรลุ เป้าหมาย 1. พัฒนากำลังคนแห่งอนาคต (Future Workforce) 9 5 55.56 2. พัฒนาที่ทำงานแห่งอนาคต (Future Workplace) 6 5 83.33 3. พัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคมแห่งอนาคต (Future Life and Society) 11 8 72.73 4. พัฒนารูปแบบความร่วมมือแห่งอนาคต (Future Collaboration) 5 1 20.00 รวม 31 19 61.29 โครงการเชิงพัฒนาตามข้อตกลงการปฏิบัติงาน ประเด็นยุทธศาสตร์ จำนวน ตัวชี้วัด จำนวนตัวชี้วัด ที่การบรรลุ เป้าหมาย ร้อยละของตัวชี้วัด ที่ดำเนินการบรรลุ เป้าหมาย 1. พัฒนากำลังคนแห่งอนาคต (Future Workforce) 2 1 50 2. พัฒนาที่ทำงานแห่งอนาคต (Future Workplace) 2 2 100 3. พัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคมแห่งอนาคต (Future Life and Society) 2 2 100 4. พัฒนารูปแบบความร่วมมือแห่งอนาคต (Future Collaboration) 2 2 100 รวม 8 7 87.5 สรุปผลการด าเนินงานการบรรลุเป้าหมายการปฏิบัติงานตามข้อตกลงการปฏิบัติงาน 1. ตัวชี้วัดการปฏิบัติงาน คิดเป็นร้อยละ 61.29 2. โครงการเชิงพัฒนาตามข้อตกลงการปฏิบัติงาน คิดเป็นร้อยละ 87.50


1 8 | คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ความร่วมมือด้านการศึกษากับสถาบันนานาชาติ จากวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ที่ต้องการก้าวสู่ความเป็นมหาวิทยาลัยในระดับนานาชาติ ทำให้คณะ แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้ดำเนินกิจกรรม นำมาสู่ผลลัพธ์ด้านความเป็นนานาชาติที่เป็นรูปธรรมในปี พ.ศ. 2566 โดยได้รับการจัดอันดับโลกจาก QS World Ranking 2023 by subject ให้ติดอันดับ 551-600 อันดับแรกของ โรงเรียนแพทย์โลก ด้านความร่วมมือทางวิชาการ มีการต่อสัญญาความร่วมมือทางวิชาการกับคู่สัญญาที่เป็นโรงเรียนแพทย์ 5 แห่ง คือ University of Hawai'i at Mañoa ประเทศสหรัฐอเมริกา Osaka Metropolitan University ประเทศญี่ปุ่น Yokohama City University ประเทศญี่ปุ่น Nihon University ประเทศญี่ปุ่น และ Tohoku University ประเทศญี่ปุ่น และได้มีการประสานงานจนเกิดการลงนาม ใน Letter of Intent จำนวน 3 แห่ง กับสถาบันทางการแพทย์ในสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ได้แก่ (1) Kliniken Nordoberpfalz AG, Weiden Medical Center, (2) Kliniken Nordoberpfalz AG, Weiden Medical Center และ (3) Faculty of Medicine, Ludwig-Maximilians-Universitat (LMU) Munich / LMU University Hospital 0 5 10 15 20 2010 2011 2012 2013 2014 2015 2016 2017 2018 2019 2020 2021 2022 2023 1 1 2 7 9 9 9 16 16 17 17 17 17 15 (MOU)


รายงานประจำปี 2566 | 1 9 นักศึกษาแลกเปลี่ยนขาเข้า มีนักศึกษาแลกเปลี่ยนขาเข้ามาศึกษาที่คณะแพทยศาสตร์จำนวน 77 คน นักศึกษาแลกเปลี่ยนขาออก มีนักศึกษาแลกเปลี่ยนที่ไปเรียนวิชาเลือกกับสถาบันการศึกษาต่างประเทศ จำนวน 26 คน โดยมีนักศึกษาไปเรียนวิชา เลือกกับสถาบันการศึกษาคู่สัญญา จำนวน 18 คน และสถาบันอื่น ๆ จำนวน 8 คน


2 0 | คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Visiting Professor คณะแพทยศาสตร์ ได้ต้อนรับ Visiting Professor ที่มามาดำเนินการสอนที่คณะแพทยศาสตร์ จำนวน 26 ท่าน จ านวนผู้ที่เข้ามาเยี่ยมเยือนคณะแพทยศาสตร์ ผู้ที่เข้ามาเยี่ยมเยือนคณะแพทยศาสตร์ที่เป็นแพทย์ บุคลากรทางการแพทย์ หรืออาจารย์แพทย์จากต่างประเทศ เพื่อ ศึกษาดูงาน ร่วมการฝึกอบรม หรือแม้แต่มาเข้ารับการฝึกอบรมในระยะยาว มีเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในปี พ.ศ. 2566 มี จำนวนผู้ที่เข้ามาเยี่ยมเยือนคณะแพทยศาสตร์จำนวน 41 คน 0 20 40 60 80 100 120 2012 2013 2014 2015 2016 2017 2018 2019 2020 2021 2022 2023 5 22 20 39 119 117 93 28 18 4 8 41 Visitors


รายงานประจำปี 2566 | 2 1 ผลงานวิจัย/วิชาการ ผลงานตีพิมพ์ของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษาที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ ระดับการศึกษา Scopus/PubMed TCI น าเสนอผลงานต่อที่ประชุมวิชาการที่มี รายงานการประชุม (Proceeding) ระดับปริญญาโท 1 1 6 ระดับปริญญาเอก 14 5 -


2 2 | คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานประจำปี 2566 | 2 3 กิจกรรม/ประชุม/อบรม/สัมมนา/บรรยายพิเศษ ปี 2566 สถานวิทยาศาสตร์พรีคลินิก จัดกิจกรรม Med TU: มอบความรู้สู่นักเรียน (Preclinical Sciences Knowledge Preparation Course) เพื่อเสริมความรู้พื้นฐานวิทยาศาสตร์การแพทย์ จากคณาจารย์ระดับมหาวิทยาลัยหลากหลาย สาขา (ชีวเคมี กายวิภาคศาสตร์ สรีรวิทยา ภูมิคุ้มกันและจุลชีววิทยา ปรสิตวิทยา เภสัชวิทยา เซลล์ชีววิทยา และอณูพันธุศาสตร์) ให้กับนักเรียน จำนวน 16 กิจกรรม และมีผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 984 คน 5 มกราคม พ.ศ. 2566 การศึกษาดูงานการรักษาทางแพทย์แผนไทย ณ คลินิกแพทย์แผนไทยประยุกต์ ศูนย์การแพทย์ธรรมศาสตร์คูคต ของคณะอาจารย์และนักศึกษาโครงการนักศึกษาแลกเปลี่ยนสหรัฐอเมริกา-ไทย 12-13 มกราคม พ.ศ. 2566 Prof. HYANG YEOL LEE และ Prof. JAEHONG HAN และ Prof. GI SEONG MOON จากประเทศเกาหลีใต้ เป็นวิทยากรบรรยาย ในงานสัมมนา Special seminar on Herbal Medicine


2 4 | คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 25-27 มกราคม พ.ศ. 2566 งานประชุมวิชาการแพทยศาสตรศึกษาแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 22 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566 พิธีมอบตัวศิษย์แพทย์แผนไทยของนักศึกษาแพทย์แผนไทยประยุกต์ชั้นปีที่ 1 4-5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566 ภาควิชาศัลยศาสตร์จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ Thammasat neurosurgery spine workshop 2023


รายงานประจำปี 2566 | 2 5 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566 การศึกษาดูงานของคณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช 6-10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566 โครงการพบอาจารย์ที่ปรึกษาประจำปีการศึกษา 2565 ครั้งที่ 2 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566 งานสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อทบทวนวิสัยทัศน์ พันธกิจ และแผนยุทธศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ 2566


2 6 | คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566 พิธีมอบรางวัลหน่วยงานคุณภาพ QA DAY จากการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับภาควิชา / สถานฯ ประจำปีการศึกษา 2564 และ การตรวจประเมินคุณภาพการปฏิบัติงานระดับหน่วยงาน 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566 งานปฐมนิเทศบุคลากรใหม่ สายสนับสนุนวิชาการ ประจำปี 2566 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566 การศึกษาดูงานของโรงเรียนกันตังพิทยากร ณ สาขากายวิภาค สถานวิทยาศาสตร์พรีคลินิก


รายงานประจำปี 2566 | 2 7 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566 สถานการแพทย์แผนไทยประยุกต์ ให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ณ ชุมชนบางพูด จังหวัดปทุมธานี 19-22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566 ภาควิชาศัลยศาสตร์ จัดงานสัมมนาเชิงปฏิบัติการด้านศัลยกรรมประสาท (Thammasat Neurosurgery’s Microvascular Anastomoses and Live Surgery Workshop): The Golden Touch with Simple Aneurysm


2 8 | คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566 สถานการแพทย์แผนไทยประยุกต์จัดโครงการสร้างเสริมสุขภาพด้วยแพทย์แผนไทยลดปวดกายสบายชีวี 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566 การบรรยายพิเศษเรื่อง เทคนิคการตีพิมพ์และจริยธรรมการตีพิมพ์ผลงานวิจัย


รายงานประจำปี 2566 | 2 9 โครงการพัฒนาด้านวิชาการและด้านวิจัยในผู้สูงอายุและการออกกำลังกาย 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566 การประชุมวิชาการสู่บุคลากรทางการแพทย์ในภูมิภาค ครั้งที่ 1/2566 เรื่อง โลหิตจางในเด็กและสตรีวัยเจริญพันธุ์: ความสำคัญที่ควรตระหนัก 5-6 มีนาคม พ.ศ. 2566 ภาควิชาออร์โธปิดิกส์ จัดกิจกรรมเชื่อมสัมพันธ์ 2566 ณ ภูเดอะบันยัน ลีฟ รีสอร์ท (The Banyan Leaf Resort) ต.สวนผึ้ง อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี


3 0 | คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาควิชาจักษุวิทยา จัดกิจกรรมพัฒนาหลักสูตรวุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม 8 มีนาคม พ.ศ. 2566 ศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์รัตถพล เจริญพันธุ์ สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดล ให้การบรรยายพิเศษ เรื่อง เจาะลึกเรื่อง Authorship ของบทความวิชาการ ตำรา หนังสือ ใครบ้างที่สามารถมีชื่อเป็นผู้ประพันธ์ 15 มีนาคม พ.ศ. 2566 ศาสตราจารย์ ดร.ผดุงศักดิ์ รัตนเดโช นักวิจัยดีเด่น เมธีวิจัยอาวุโส สกว. คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ให้การบรรยายพิเศษเรื่อง เทคนิคการเข้าถึงแหล่งเงินทุนวิจัยภายนอก ภายใต้บริบทใหม่


รายงานประจำปี 2566 | 3 1 16 มีนาคม พ.ศ. 2566 งานประชุมวิชาการนานาชาติศูนย์สุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประจำปี 2566 17 มีนาคม พ.ศ. 2566 วันสถาปนาคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ครบรอบ 33 ปี


3 2 | คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ งานคืนสู่เหย้า "แพทย์ธรรมศาสตร์ แพทย์ของประชาชน" การอบรมกฎหมายทางการแพทย์ 23 มีนาคม พ.ศ. 2566 ทพ.จเร วิชาไทย ผู้จัดการงานวิจัย สวรส. ให้การบรรยายพิเศษเรื่อง การชี้แจงกรอบการวิจัยจากสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ประจำปีงบประมาณ 2567


รายงานประจำปี 2566 | 3 3 25-26 มีนาคม พ.ศ. 2566 สถานเวชศาสตร์ชุมชนและเวชศาสตร์ครอบครัว จัดโครงการพัฒนาองค์กร (Organization Development: OD) ณ Health Land Resort & Spa (เฮลท์ แลนด์ รีสอร์ต แอนด์ สปา) เมืองพัทยา อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี 28 มีนาคม พ.ศ. 2566 การอบรมเชิงปฏิบัติการนักวิจัย ครั้งที่ 1 เรื่อง การหาหัวข้อการทำวิจัย การหาทิศทางการทำวิจัย การออกแบบและกระบวนการทำวิจัย ภาควิชาจักษุวิทยา เข้ารับการตรวจประเมินมาตรฐานการรับรองคุณภาพสถาบันฯ จากราชวิทยาลัยจักษุแห่งประเทศไทย


3 4 | คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 31 มีนาคม พ.ศ. 2566 ศูนย์การแพทย์ธรรมศาสตร์คูคต จัดโครงการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในประชาชนกลุ่มเสี่ยง 3 เมษายน พ.ศ. 2566 งานปัจฉิมนิเทศนักศึกษา และ Bye Grand


รายงานประจำปี 2566 | 3 5 4 เมษายน พ.ศ. 2566 สถานเวชศาสตร์ชุมชนและเวชศาสตร์ครอบครัว จัดโครงการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนรายวิชาบังคับของสถานฯ 5 เมษายน พ.ศ. 2566 และ 21 เมษายน พ.ศ. 2566 ศูนย์การแพทย์ธรรมศาสตร์คูคต คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดกิจกรรมการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในประชาชนกลุ่มเสี่ยง


3 6 | คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 3-4 เมษายน พ.ศ. 2566 และ 10 เมษายน พ.ศ. 2566 งานบริหารทรัพยากรมนุษย์ จัดโครงการส่งเสริมความก้าวหน้า และพัฒนาศักยภาพบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการประจำปี 2566 10 เมษายน พ.ศ. 2566 ภาควิชาระบาดวิทยาคลินิก ให้บริการวิชาการแก่สังคม เรื่อง Survival prediction models


รายงานประจำปี 2566 | 3 7 ภาควิชาจักษุวิทยา จัดพิธีรดน้ำดำหัวสืบสานประเพณีสงกรานต์ 11 เมษายน พ.ศ. 2566 กิจกรรมสงกรานต์วิถีไทย 20 เมษายน พ.ศ. 2566 การศึกษาดูงาน ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ


3 8 | คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 22 เมษายน พ.ศ. 2566 การศึกษาตัวอย่างสมุนไพรตามหลักเภสัชกรรมไทยประยุกต์ ของนักศึกษาหลักสูตรการแพทย์แผนไทยประยุกต์ ชั้นปีที่ 1 และ 2 24-26 เมษายน พ.ศ. 2566 งานบริหารทรัพยากรมนุษย์ จัดอบรมให้กับบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ เรื่อง การจัดทำคู่มือการปฏิบัติงาน และเรื่อง การทำวิจัยจากงานประจำ 25-26 เมษายน พ.ศ. 2566 การเตรียมความพร้อมของนักศึกษาเพื่อก้าวสู่ชั้นคลินิก (ค่ายนพลักษณ์) ประจำปีการศึกษา 2565


รายงานประจำปี 2566 | 3 9 28 เมษายน พ.ศ. 2566 พิธีมอบเสื้อกาวน์ นักศึกษาหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 4 (รุ่นที่ 31) ประจำปีการศึกษา 2565 29 เมษายน พ.ศ. 2566 โครงการพี่พบน้อง อาจารย์พบศิษย์


4 0 | คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 การศึกษาดูงานของสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 พิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) ระหว่างสมาคมองค์การบริหารส่วนจังหวัดแห่งประเทศไทยกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานประจำปี 2566 | 4 1 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 สถานวิทยาศาสตร์พรีคลินิก จัดอบรมเชิงปฏิบัติการการใช้โปรแกรม GraphPad Prism ภาควิชาระบาดคลินิกวิทยา ให้การบรรยายเรื่อง เทคนิคในการเลือกวารสารเพื่อตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 ภาควิชาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน จัดโครงการอบรมการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานแก่ประชาชน ให้แก่เจ้าหน้าที่ศาลอุทธรณ์ภาค 1


4 2 | คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 18-20 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 โครงการค่ายจริยธรรมสัญจร ครั้งที่ 20 ประจำปีพ.ศ.2566 20-21 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 ภาควิชาจักษุวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดงานประชุมวิชาการจักษุวิทยา ครั้งที่ 1 (1st TROPHY conference :TROPHY RESEARCH AND PHOTO CONTEST)


รายงานประจำปี 2566 | 4 3 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 ผู้บริหาร และ เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลบ้านแพ้ว จ.สมุทรสาคร เข้าศึกษาดูงานเรียนรู้แลกเปลี่ยนประสบการณ์งานวิจัยทางคลินิก ณ ศูนย์วิจัยทางคลินิก 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 พิธีพระราชทานเพลิงศพอาจารย์ใหญ่ ประจำปีการศึกษา 2565 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 สถานวิทยาศาสตร์คลินิก จัดการบรรยาย Clinical Pathological Conference: A 47-year-old Female with Breast Mass


4 4 | คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 การอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนางานวิจัยด้านแพทยศาสตร์ศึกษา 1-19 มิถุนายน พ.ศ. 2566 การอบรมหลักสูตร Diploma in Clinical Sexology 2023 3-5 มิถุนายน พ.ศ. 2566 โครงการค่ายบำเพ็ญประโยชน์และอาสาพัฒนาชนบท ประจำปีการศึกษา 2565


รายงานประจำปี 2566 | 4 5 7-8 มิถุนายน พ.ศ. 2566 ภาควิชาวิสัญญีวิทยาร่วมกับราชวิทยาลัยวิสัญญีแพทย์แห่งประเทศไทยจัดอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรเพื่อ ประกาศนียบัตรในวิชาชีพเวชกรรม ด้านการสงบประสาทสำหรับการทำหัตถการเสริมสวยภาคปฏิบัติ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2566 อบรมบุคลากรสายวิชาการ เรื่อง การจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล (Individual Development Plan) 9 มิถุนายน พ.ศ. 2566 การเข้าเยี่ยมเยือนของ Shandong University สาธารณรัฐประชาชนจีน


4 6 | คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2566 พิธีเปิดศูนย์ความเป็นเลิศด้านการวิจัยเซลล์ต้นกำเนิดและนวัตกรรมทางการแพทย์ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2566 การบรรยายเรื่อง ประสบการณ์การเรียนและทำงานแพทย์เฉพาะทางในอเมริกา โดย นายแพทย์ธนศักดิ์ สืบหลินวงศ์ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2566 อาจารย์สถานการแพทย์แผนไทยประยุกต์ ร่วมเป็นวิทยากรในการอบรมเชิงปฏิบัติการ การจัดการความเครียดเพื่อชีวิตการทำงานที่มีคุณภาพ และสร้างเสริมแนวคิด '7S'


รายงานประจำปี 2566 | 4 7 การศึกษาดูงานของผู้เข้าร่วมโครงการการพัฒนาผู้บริหารสถาบันผลิตแพทย์แห่งประเทศไทย รุ่นที่ 22 15-30 มิถุนายน พ.ศ. 2566 การปฐมนิเทศและการอบรมความรู้ทางวิทยาศาสตร์การแพทย์สำหรับแพทย์ประจำบ้านสาขาต่าง ๆ


4 8 | คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 20 มิถุนายน-6 กรกฎาคม พ.ศ. 2566 การอบรมหลักสูตร Diploma in Sexual Medicine 21 มิถุนายน พ.ศ. 2566 งานบริหารการวิจัย จัดเสวนาในหัวข้อ How to transform GOOD research to GREAT Innovation


Click to View FlipBook Version